The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสัมมนากลุ่มอาราฟัต 14092564-1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rusdeen063, 2021-09-14 06:04:21

คู่มือสัมมนากลุ่มอาราฟัต 14092564-1

คู่มือสัมมนากลุ่มอาราฟัต 14092564-1

ลกั ษณะของเลขานกุ าร
1. คณุ ตอ้ งมีใจรกั ในองค์กร ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ ต่อความรบั ผิดชอบทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
2. คุณตอ้ งมีความรับผดิ ชอบสูง
3. คุณต้องสามารถรกั ษาความลับของบรษิ ทั ได้อย่างดี
4. คุณตอ้ งกระตือรอื รน้ และพรอ้ มเรยี นร้สู ง่ิ ใหม่ ๆ เสมอ
5. คณุ ตอ้ งไม่มพี ฤตกิ รรมในทางที่เส่ือมเสียภาพลักษณ์ ไมข่ ายศักดศิ์ รบี นหนา้ ทเ่ี ลขานุการ
6. คณุ ตอ้ งเป็นคนตรงต่อเวลา
7. คณุ ต้องเป็นผู้ท่ีปฏิบตั ิตามกฎและข้อบงั คบั ตา่ ง ๆ ขององคก์ รไดด้ ี
8. คุณต้องสามารถตดิ ตอ่ สือ่ สารกับบคุ คลท้ังภายในองค์กรและนอกองค์กรดว้ ยความมีมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ท่ดี ี

คณุ สมบตั ขิ องเลขานุการ
1. สามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั ทุกสภาวการณ์ไดด้ แี ละเกิดข้อเสียน้อยท่สี ุด
2. สามารถแนะนำขอ้ มลู ในองค์กรไดถ้ ูกต้องครบถว้ น
3. สามารถทำความเข้าใจกบั สงิ่ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ โดยไม่ให้เกดิ ผลเสียตอ่ องคก์ ร
4. มีความซือ่ สตั ย์และรกั ในหน้าท่ี
5. เปดิ กวา้ งรบั ฟังความคิดเห็นและรบั ฟงั ทั้งทัศนคติ ทั้งน้ีจะต้องรับฟงั ความคดิ เห็นในแง่บวกและแง่ลบเพื่อ

นำไปปรบั ปรุงด้านการทำงานต่อไป
6. ประพฤตติ ัวใหเ้ ป็นตัวอย่างทดี่ ีแก่องคก์ ร
7. ไมป่ ระพฤติตัวให้เส่ือมเสียมาถงึ หัวหน้างาน
8. ร้ใู จและเข้าใจในความตอ้ งการของหวั หน้างานและองคก์ รคุณเป็นอย่างดี
9. วางแผนและเป็นผคู้ อยเตือนตารางนดั ต่าง ๆ ให้กบั ผจู้ ัดการหรือหัวหน้างานของคณุ รบั ทราบในแต่ละวนั
10. ต่ืนตัวและกระตอื รือร้นอยตู่ ลอดเวลา

บคุ ลกิ ภาพของการเป็นเลขานุการ
1. การแต่งกาย จะต้องแต่งกายใหม้ คี วามเหมาะสม สะอาด สภุ าพ เรยี บรอ้ ย และถูกกาลเทศะ
2. การนั่ง ควรนั่งตัวตรงขณะที่นั่งพูดกับผู้ใหญ่ ผู้หญิงควรให้เข่าชิดกันเสมอ ผู้ชายนั่งสุภาพไม่ไขว่ห้าง ไม่

เหยียดเทา้ ออกนอกโต๊ะ ไม่นงั่ กระดิกขา
3. การยืน ลำตวั ตง้ั ตรง เทา้ ทง้ั สอบข้างชิดกันสำหรบั สุภาพสตรี และผชู้ ายยืนตัวตรงไม่ล้วงกระเป๋า และไม่

ควรยนื พิงฝา

~ 41 ~

-

4. การวางตวั ควรมกี ริยา วาจาสุภาพ ใช้คำพูดทเ่ี หมาะสม ย้มิ แย้มแจม่ ใสให้การต้อนรบั ด้วยกริยามารยาท

ที่เหมาะสม สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน ต้องให้ความเคารพต่อผู้อาวุโส มีสัมมาคารวะ และสามารถเข้ากับ

ผ้รู ่วมงานไดด้ ี ไม่ถือตวั วางตัวเป็นกลาง

5. ความมีมนุษย์สัมพันธ์ เลขานุการจะต้องมีการปะสานสัมพันธ์กับบุคคลหรือหน่วยงานต่าง ๆ ท้ัง

ภายในและภายนอกค่อนขา้ งมาก เพื่อให้งานบรรลุเปา้ หมาย

ตารางท่ี 5 : เคร่อื งมือในการติดตามงานของเลขานกุ าร

งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ความคบื หนา้ คร้งั ที่ 1 เหตผุ ล

ฝา่ ย สำเรจ็ ไม่สำเร็จ

ร่างกำหนดการสัมมนา /

ร่างคำกล่าวรายงาน /

รา่ งคำกล่าวเปดิ -ปิดพธิ ี /

ทำหนังสอื เชญิ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ /

ทำหนงั สอื เชญิ ประธานในพธิ ีเปดิ /

ทำหนังสือเชิญอาจารย์หลักสูตร /

สาขาพฒั นาสงั คม /
เลขานกุ าร ทำหนังสอื ขอใช้อุปกรณก์ าร

ทำหนังสือขอใช้สถานที่ /

ทำหนังสือขออนุมัติจัดโครงการทำ /

หนังสอื ขอใช้สถานที่

ทำใบโครงการจัดสมั มนา /

42

นางสาวมาซือนะห์ มะสะ , นางสาวฟาดีละห์ เจะหะ , นางสาวซลุ ฝา เจะเลาะ
ฝา่ ยทะเบียนและวิชาการ

ติดตอ่ : 098-3099411 , 065-0510183 , 082-8319747

ความรูใ้ นการปฏบิ ัติงานของทะเบยี นและวิชาการ
ความร้เู ก่ียวกับการดำเนินงาน

ฝา่ ยทะเบยี นและวิชาการมหี น้าทร่ี ับผิดชอบค่อนขา้ งกว้างพอสมควร อาจทำให้เกดิ ความสับสนกบั
เอกสารที่มีความคลายคลงึ กับงานของเลขานกุ ารแต่ในสว่ นงานฝ่ายทะเบยี นและวชิ าการจะมหี น้าท่ีในการ
ประสานงานเปน็ หลกั โดยฝา่ ยทะเบียนและวชิ าการจะคอยประสานงานหรือช่วยเหลือในฝา่ ยอื่นๆและโดยรวม
แล้วหลักๆฝ่ายทะเบียนและวิชาการจะเป็นงานที่เก่ียวข้องกบั การดูแลด้านเอกสารตา่ งๆท าหน้าทีเ่ ตรียมการ
เกย่ี วกับผู้เข้าร่วมสมั มนาทัง้ หมด ท าการสำรวจจำนวนผเู้ ข้ารว่ มสมั มนาและมหี น้าที่จดั เตรยี ม Google Form
ใหผ้ ้เู ข้าร่วมได้ลงทะเบียนเพ่ือท่ีจะได้ทราบถึงจำนวนคนในการเขา้ ร่วมงานสัมมนา
บทบาทหน้าท่ี

1. เตรยี มเอกสารแบบฟอร์มสำหรับลงทะเบยี นของผู้จัดสัมมนา ผู้ทรงคณุ วฒุ ิและคณาจารย์ ผเู้ ข้าร่วม
สมั มนาและผนู้ ำเสนอ

2. เตรยี มขอ้ มลู ของผเู้ ขา้ รว่ มสมั มนาทั้งหมด
3. คู่มอื สมั มนา
คณุ สมบัติของผปู้ ฏิบัตงิ านฝ่ายทะเบียนและวิชาการ
1. เปน็ ผ้มู ีความรบั ผิดชอบและอดทนต่องานที่ทำสงู
2. มีทศั นคติท่ดี ีเปน็ ไปในแงบ่ วก
3. มีความคลอ่ งแคลว่
4. มีมนุษย์สมั พนั ธ์ที่ดีแลมใี จรกั ในงานด้านการบรกิ าร

~ 43 ~

-

5. มีความละเอยี ดรอบคอบ
6. เปน็ คนใจกวา้ ง ยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อืน่
7. การช่วยเหลือผูอ้ ื่นคอื หัวใจหลักแห่งการทำงาน
8. มคี วามใจเยน็ เก็บอารมณไ์ ด้
9. มีความภาคภมู ใิ จในหนา้ ทกี่ ารปฏิบตั งิ านของตน

ภาพท่ี 4: บรรยากาศการลงทะเบยี นผา่ น Google Form ของฝ่ายทะเบียน

ภาพท่ี 5: การจับเวลาในการนำเสนอ

44

ตารางท่ี 6 : ตารางภาระงานของฝ่ายทะเบยี นและวชิ าการ

ฝา่ ย งานที่ได้รับมอบหมาย ความคบื หน้าคร้ังที่ 1 เหตุผล
เหตผุ ล
เสรจ็ ไม่เสรจ็
/
1.เตรียมเอกสารแบบฟอร์มสำหรับ
ทะเบียน ลงทะเบียนของผู้จัดสัมมนา
ผู้ทรงคุณวุฒิและคณาจารย์ผูเ้ ข้าร่วม
สมั มนาและผนู้ ำเสนอ

ฝา่ ย งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ความคืบหน้าครง้ั ท่ี 1
วิชาการ
เสร็จ ไม่เสร็จ
1.เตรียมข้อมูลของผู้เข้าร่วมสัมมนา /
ท้ังหมด

2.คู่มอื สมั มนา /

~ 45 ~

-

นางสาวฟาซีรา เจะเลาะ , นางสาวอานีรา แวเดง็
ฝา่ ยประสานงานและพิธกี าร

ติดตอ่ : 097-1349588 , 0829787833
ความร้ใู นการปฏบิ ัตงิ านของประสานงานและพิธกี าร
ความรเู้ กย่ี วการดำเนินงานในฝ่ายประสานงานและพิธีการ

ฝา่ ยประสานงานและพิธีการ เปน็ การปฏบิ ตั ิงานการทำงานที่มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกันกับการ
จดั ระเบยี บการทำงานกับฝ่ายต่างๆ รว่ มมอื การปฏบิ ัติงาน ไม่ให้เกิดปัญหา และความขัดแย้งในการทำงาน ทำ
ให้งานดำเนินไปได้อย่างราบรื่น เพื่อที่จะให้มีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ก่อนการประสานงานควรกำหนด
วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ชัดเจน และมาตรฐานในการปฏิบัติงานเปน็ หลัก ต้องมีการจัดระเบียบวิธีการทำงาน
รวมทั้งความร่วมมือในการปฏิบัติงาน เป็นหนึ่งเดียวเพื่อที่จะให้เกิดความคิดความเข้าใจตรงกันในการร่วมมือ
ปฏิบัตงิ านอยา่ งชัดเจน

การประสานงานและพิธีการ คือการติดต่อสื่อสารให้มีความคิด ความเข้าใจตรงกัน เพื่อให้การทำงาน
สอดคล้องและมีความสัมพันธ์กัน ไม่ขัดแย้งหรือทำงานทับซ้อน เพื่อให้งานดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้ง
เรอ่ื งเวลาและกจิ กรรมทต่ี ้องทำเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายท่ีกำหนดเอาไว้

46

ภาพที่ 6: บทบาทของฝา่ ยประสานงาน
(ท่ีมา : MILADA สขุ ภาพดี เริม่ ตน้ ทต่ี ัวคุณเอง,2559)
วตั ถปุ ระสงค์ของการปฏบิ ตั งิ านฝา่ ยประสานงานและพธิ ีการ มีดงั น้ี
1. เพอ่ื แจง้ ให้ผู้ท่มี ีสว่ นเกีย่ วข้องในการทำงานทราบ
2. เพอ่ื ขอความชว่ ยเหลือและเพื่อรักษาไวซ้ ง่ึ ความสัมพันธอ์ ันดี
3. เพอ่ื ขอคำยนิ ยอมหรือความเหน็ ชอบ
4. เพ่ือขจดั ข้อขดั แย้งในการปฏบิ ัติงาน
5. เพอ่ื ใชเ้ พ่มิ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลขององค์กร
6. เพือ่ ชว่ ยใหก้ ารดำเนนิ การเป็นไปตามแผนและทำให้มีการวางแผนอยา่ งละเอียดรอบคอบ
7. เพอ่ื ตรวจสอบอปุ สรรคและสภาพปัญหาในการปฏิบตั งิ าน
ฝ่ายประสานงานจะต้องทำหน้าที่ติดต่อกับกลุ่มหรือบุคลากรที่ทำงานร่วมกัน มีการพบปะหารือกัน
สม่ำเสมอ คอยทำให้คนร่วมมือร่วมใจทำงานด้วยการนำเอาความสามารถของคนมาทำให้เกิดผลงานใน
จุดมงุ่ หมายเดยี วกัน ความสามารถของคนพิจารณาไดส้ องดา้ น คอื “ด้านความร”ู้ และ “ด้านความสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น” ผู้ประสานงานต้องมีความรู้ ความสามารถ มองการณ์ไกล มีมนุษย์สัมพันธ์ดี มีทัศนคติที่ดีต่อกัน
ผู้ร่วมงานทุกฝ่าย เข้ากันได้ดีกับทุกคน หากฝ่ายประสานงานทำงานได้ไม่ดี ย่อมส่งผลให้งานที่กำลังทำออกมา
ลา่ ชา้ ไมม่ ปี ระสิทธภิ าพ งานไมม่ คี วามคบื หน้า บางงานอาจเกิดการทำงานท่ีซ้อนทับกัน ในขณะท่ีบางงานไม่มี
คนทำงาน จะเห็นได้ว่าฝ่ายประสานงานเป็นตำแหน่งที่มีความสำคัญในการทำงานร่วมกันเป็นอย่างยิ่ง เพราะ
ทุก ๆ งานย่อมมีการทำงานร่วมกันเกิดขึ้นเสมอ จึงจำเป็นต้องมีผู้ทำหน้าที่ติดต่อประสานงาน เพื่อให้งาน
ดำเนินไปด้วยดี

~ 47 ~

-

ภาพที่ 7 : การปฏิบัตงิ านฝ่ายประสานงานทีส่ ำคัญ

ตารางท่ี 7 : เคร่ืองมอื ในการติดตามงานของประสานงาน

ฝ่ายท่ี งานทไี่ ด้รบั มอบหมาย กำลัง สำเรจ็ ไม่สำเรจ็ หมายเหตุ

รับผดิ ชอบ ดำเนนิ งาน

ข อ ร า ย ช ื ่ อ ผ ู ้ ท ร ง ค ุ ณ ว ุ ฒิ /

ค ณ า จ า ร ย ์ ใ น ส า ข า แ ล ะ ผู้

นำเสนอ

ส่งหนังสือเชิญประธานในพิธี /

ฝ่าย ค ณ า จ า ร ย ์ พ ร ้ อ ม แ น บ ใ บ

ประสานงาน โครงการและกำหนดการ

และพธิ กี าร ประสานงานรายลละเอียดต่างๆ /

กับพธิ ีกร

ประสานงานติดต่อเรื่องอุปกรณ์ /

ต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ รวมถึง

ประสานงานห้องสัมมนา

ออนไลน์

ประสานไปยังกลมุ่ ตา่ งๆ /

48

นางสาวอาฟีฟะห์ อาบู
ฝ่ายเหรญั ญิก
ติดตอ่ : 092-7846726

ความรใู้ นการปฏบิ ตั งิ านของเหรัญญิก
ความรเู้ กี่ยวกบั การดำเนนิ งาน

การดำเนนิ งานสัมมนาต้องมีการจัดสรรวางแผนคา่ ใชจ้ ่ายด้วยความรอบคอบเก่ียวกบั งบประมาณของ
แต่ละฝ่าย เพื่อให้เป็นการใช้จ่ายต่างๆของแต่ละฝ่ายที่เสนอมาทั้งหมดของงาน การจัดสัมมนาจะต้องอยู่ใน
ภาวะทีเ่ พยี งพอไม่ขาดหรือมากเกินไปในการจดั งบประมาณในการสัมมนา ดังนนั้ ผ้จู ัดสัมมนาต้องมีการจัดสรร
วางแผนค่าใช้จ่ายทัง้ หมดของงานอยู่ในภาวะที่เพียงพอไม่ขาดหรือมากจนเกินไปในการดำเนินกิจกรรมในการ
จัดโครงการสัมมนาจะตอ้ งมีการใชง้ บประมาณท่จี ะจดั ดำเนนิ งาน ดำเนินกจิ กรรม หน้าทหี่ ลกั ของฝา่ ยเหรัญญิก
คือควบคุมดูแลเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี งบประมาณค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดสัมมนาสามารถ
ตรวจสอบเกี่ยวกับงบประมาณของแต่ละฝ่ายอย่างเข็มงวดการทำบัญชีรายรับ รายจ่ายทั้งหมดในการจัด
โครงการสัมมนา ซึ่งจะตอ้ งมหี ลักฐานการรับและการจ่ายเงนิ อย่างชัดเจน และงบดุลให้เป็นทเ่ี รียบร้อยเม่ือการ
สัมมนาได้เสรจ็ ส้นิ
บทบาทหนา้ ทข่ี องฝ่ายเหรญั ญกิ

เหรัญญิก มีหน้าที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี งบประมาณค่าใช้จ่ายต่างๆของ แต่ละฝ่าย
สามารถตรวจสอบเกี่ยวกับงบประมาณของแต่ละฝ่ายที่เสนอมา และเข้มงวดเกี่ยวกับการจ่ายเงินให้แก่ฝ่าย
ตา่ งๆ ซงึ่ จะตอ้ งมีหลกั ฐานการรับและการจ่ายเงินอย่างชัดเจน

1. ดแู ลเก่ยี วกับงบประมาณและใบสำคญั ทางการเงิน
2. ควบคุมและรับผดิ ชอบการเงนิ ทั้งหมดในการจัดสมั มนา
3. การทำบญั ชีรายรบั รายจ่าย
4. ทำรายงานสรปุ ผลการใชเ้ งนิ การเก็บหลกั ฐานต่างๆ เกี่ยวกับการเงนิ

~ 49 ~

-

คณุ สมบัตขิ องผู้ปฏิบัติงานฝา่ ยเหรัญญกิ
1. ความซื่อสัตย์ หมายถึงมีความซื่อตรง มั่นคงอยู่ในศีลธรรม มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น มี

ความสุจริตทางกาย ทางวาจา และทางใจ ซึ่งความซื่อสัตย์นี้จะไม่ทำให้บุคคลรอบข้างของเราเดือดร้อนแ ละ
แล้วความซอ่ื สัตย์นัน่ กจ็ ะนาํ พามาซึ่งความเจริญของบ้านเมือง

2. มีความรับผิดชอบ หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลซึ่งแสดงออกโดยมคี วามสนใจ ใส่ใจ ตั้งใจจริงท่ี
จะปฏิบัติหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายด้วยความพากเพียร พยายาม อดทนต่ออุปสรรคใดๆ ที่ขัดข้อง มีการ
วางแผนงานอย่างละเอียดรอบคอบ

3. มีระเบียบ มีเหตุผล มีหลักการในการจัดงบประมาณในการจัดสัมมนา แล้วนํามาสรุปให้สมาชิกใน
กลมุ่ ทราบ เพือ่ สมาชกิ ในกลมุ่ รับรูใ้ นงบประมาณท่ีใช้ในการจัด

ภาพท่ี 8 : การดแู ลในเรื่องงบประมาณงานสัมมนา
(ท่ีมา : https://support.google.com/legal/answer/3463239?hl=en)

50

ภาพท่ี9: การทำบัญชีรายรบั -รายจา่ ย
(ที่มา : https://support.google.com/legal/answer/3463239?hl=en)

ตารางที่ 8 : เคร่อื งมอื ในการตดิ ตามงานของฝา่ ยเหรัญญิก

ฝ่ายที่ได้ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย กำลัง เสร็จ ไมเ่ สรจ็ เหตผุ ล
รับผิดชอบ ดำเนนิ งาน /
/
1.เกบ็ เงินสมาชิกในกล่มุ /
/
2.ซื้อของทีร่ ะลึกสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ

ฝา่ ยเหรัญญิก 2.ทำบญั ชงี บประมาณรายรับรายจ่าย

3.เกบ็ ใบเสรจ็ จากการซือ้ ของ

~ 51 ~

- 69 x1 69 บาท
75 x 5 375 บาท
งบประมาณท่ีใช้ในการจัดโครงการสัมมนา 500 X 1 500 บาท
1. หมวดค่าตอบแทน
40 X 7 280 บาท
ของทร่ี ะลึกสำหรบั ประธานเปิดพิธี 25 X 12 300 บาท
ของทร่ี ะลึกสำหรบั ผู้ทรงคุณวุฒิ
ค่าตอบแทนเจ้าหนา้ ทีด่ ูแลระบบออนไลน์ 40 บาท
2. หมวดค่าใช้สอย 20 บาท
คา่ อาหารเทยี่ ง 45 บาท
ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดื่ม 16 บาท
1,642 บาท
3. หมวดค่าวสั ดุอุปกรณ์

กระดาษห่อของขวญั 10 X 4

เทปใส 20 X 1

ซองกระดาษ 45 X 1

ถ่ายเอกสาร (ใบกำหนดการ) 2X8

รวม

*หมายเหต:ุ คา่ ใช้จ่ายในการดำเนินการทั้งหมดสามารถเฉลีย่ ตามรายการจ่ายจริง

52

นายอดศิ รณ์ เทศอาเสน็ , นางสาวซไู มยะห์ ลาเตะ
ฝ่ายโสตทศั นูปกรณ์และการประชาสมั พันธ์
ติดตอ่ : 063-0740699 , 082-8288766

ความรใู้ นการปฏบิ ตั ิงานของโสตทัศนูปกรณ์และการประชาสัมพนั ธ์
ความรเู้ กี่ยวกบั การดำเนินงาน

โสตทัศนูปกรณ์ คือ อุปกรณ์ในระบบโสตทัศน์ โดยระบบโสตทัศน์เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับเสียงและ
ภาพ ซึ่งโสตทศั น์เป็นสิ่งทีส่ ำคัญสำหรับงานสมั มนา เนื่องจากการจดั สัมมนาเปน็ กิจกรรมที่สื่อสารดว้ ยเสียงกบั
ภาพเปน็ หลัก ดังน้ันความชดั เจนของสารทีส่ ื่อจงึ เป็นหวั ใจหลกั ทท่ี ำให้การประชมุ มปี ระสิทธิภาพ

ฝา่ ยโสตทัศนปู กรณ์จะรับผดิ ชอบในการถา่ ยภาพกิจกรรมท่เี กิดขนึ้ ในวนั จดั สมั มนา ซึ่งแบ่งออกได้ดงั น้ี
1. การจัดหอ้ งสัมมนาออนไลน์และการถ่ายทอดสดบรรยากาศงานสมั มนา
2. ถ่ายภาพบรรยากาศโดยรวมในวนั จดั สัมมนา
3. ถ่ายภาพบุคคล (ประธาน, ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ, คณะกรรมการ, ผูน้ ำเสนอ, ผูเ้ ข้าร่วม)
4. ถา่ ยภาพเพื่อแสดงความร้สู ึก (การบรรยาย, การแลกเปล่ียนความคิดเห็น)
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมภาพบรรยากาศกิจกรรมในงานสัมมนา มีการบันทึกภาพตั้งแต่
ผู้เข้าร่วมงาน การลงทะเบียนเข้างาน การเปิดงาน การนำเสนอ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง
คณะกรรมการและผนู้ ำเสนอ จนจบการสัมมนา

~ 53 ~

-

ภาพที่ 10 : บทบาทหน้าทข่ี องฝ่ายโสตทศั นปู กรณแ์ ละประชาสมั พนั ธ์
ภาพท่ี 11 : บทบาทหนา้ ท่ขี องฝ่ายโสตทศั นูปกรณแ์ ละประชาสัมพันธ์

54

บทบาทหนา้ ทแี่ ละภาระงาน
จัดทำวีดีทัศน์ที่จะนำเข้าสู่หัวข้อการสัมมนา และจัดทำวีดีโอในการเชิญชวนเข้าสัมมนา โดยมีการ

จดั ทำโปสเตอร์เพื่อแจ้งให้ทราบลว่ งหน้า และเผยแพร่บรรยากาศภาพโดยการ Live สด และถา่ ยภาพผูเ้ ข้าร่วม
ผู้จัดสัมมนาและผู้เข้าทำกิจกรรมต่าง ๆ กับบรรยากาศภายในงาน มีการบันทึกภาพเพื่อจัดทำวิดีโอ ประมวล
ภาพบรรยากาศการจัดสัมมนาอุปกรณ์ที่ใช้ คือ กล้องสำหรับบันทึกภาพและวิดีโอ รวมทั้งการออกแบบโล้ โก้
สัมมนา จัดทำโปสเตอร์ในการเชิญชวนสัมมนา และรวมทั้งทำคิวอาร์โค้ดกำหนดการ และคิวอาร์โค้ดแบบ
ประเมิน การดำเนินงานของทีมสื่อสาร จะใช้การสอ่ื สารโดยการเผยแพร่ภาพงานสัมมนาโดยมีขัน้ ตอน ดงั นี้

1. เก็บภาพกจิ กรรมตง้ั เริม่ งาน จนจบงานสัมมนา
2. เก็บภาพบรรยากาศภายในงาน

2.1 เก็บภาพการเปดิ พิธใี นโครงการสมั มนาโครงรา่ งการศึกษาอสิ ระ
2.2 เก็บภาพบรรยากาศในการนำเสนองานวิจัยของนักศึกษา และรวมถึงบรรยากาศการ
แลกเปลี่ยนประเดน็ ระหว่างผูน้ ำเสนอผทู้ รงคุณวฒุ ิ รวมไปถึงคณาจารยแ์ ละผู้เข้ารว่ มโครงการสัมมนาโครงร่าง
ศึกษาอิสระ
2.3เกบ็ ภาพการกล่าวปิดพธิ ี
3. จัดทำโปสเตอร์เชิญชวนเข้าร่วมงานสมั มนา
4. จัดทำวดิ ที ศั น์เพ่อื ที่จะนำเขา้ สูห่ วั ขอ้ สมั มนา
5. ทำโล้โก้งานสัมมนา
6. จดั ทำโปสเตอร์ผู้นำเสนอ
7. จดั ทำวิดโี อแนะนำผ้จู ดั งานสัมมนา
8. จดั ทำเกียรติบตั รออนไลน์

~ 55 ~

-

9. เชญิ ชวนการเข้าร่วมงานสมั มนา

ตารางท่ี 9 : ตัวอยา่ งเครอื่ งมอื ในการติดตามงานของโสตทศั นูปกรณ์

ลำดบั รายการ กำลังดำเนนิ การ ยงั ไม่ดำเนินการ ดำเนนิ การแลว้ หมายเหตุ
/
1 ออกแบบโล้โก้ /
/
2 โปสเตอรส์ มั มนา /
/
3 วิดที ัศน์นำเข้าสหู่ วั ข้อสมั มนา /
/
4 ถา่ ยภาพบรรยากาศในวนั สมั มนา
/
5 จัดทำสอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ /
/
6 เชิญชวนการเข้าร่วมสัมมนา

7 การจัดห้องสัมมนาออนไลน์และการ

ถ่ายทอดสดบรรยากาศงาสัมมนา

8 โปสเตอร์ผนู้ ำเสนอ

9 วิดโี อแนะนำผูจ้ ดั งานสัมมนา

10 จดั ทำเกียรติบัตรออนไลน์

56

นายโดม เกตุสง่า
ฝ่ายพิธีกร
ติดตอ่ : 093-5911141

บทบาทหนา้ ทีแ่ ละการปฏิบัติงานของฝา่ ยพิธีกร
ความรู้เกี่ยวกับการดำเนนิ งานพิธกี ร

ภาษาอังกฤษใชค้ ำยอ่ วา่ “ MC” ซ่งึ มาจากคำเต็มว่า“ Master of Ceremonies” ไทยใชค้ ำว่า“ พิธกี ร
"ซึ่งในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายไว้ว่าผู้ดำเนินการในพิธี, ผู้ดำเนนิ รายการ
ดังนั้น พิธีกรจึงเป็นผู้ที่ดำเนินการในงานพิธีการต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มงานจนจบงาน รู้ขั้นตอนของงาน สามารถ
จัดลำดับขั้นตอนของงานได้อย่างเหมาะสมและราบรื่นเรียบร้อยจนเสร็จงาน โดยเป็นผู้พูดสื่อสารกับผู้ได้รับ
เชิญกบั แขกทมี่ ารว่ มงาน หรอื ผูเ้ ป็นวิทยากรกับผู้เขา้ รว่ มประชมุ สมั มนาเปน็ ตน้

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2551 ให้ความหมายของพิธีกรว่าคือ" ผู้ดำเนินการในพิธี
ผู้ดำเนินรายการ "มีหน้าที่ดำเนินรายการให้เป็นไปตามขั้นตอนที่เตรียมไว้แล้วโดยเริ่มใช้เป็นครั้งแรก
ทางสถานไี ทย

อีกความหมายหนึ่งจากพจนานุกรมว่า พิธีกร คอื ผดู้ ำเนนิ การรายการก็แสดงว่าผู้ท่ีต้องดำเนินรายการ
อย่างใดอย่างหนึ่งต่อหน้าที่ประชุมหรือดำเนินรายการเพื่อออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ใน
ฐานะผู้ที่ทำหน้าที่สื่อสารกับผู้ที่ได้รับเชิญให้มาพูดคุยเร่ืองราวต่าง ๆ หรือมาเพื่อแสดงหรือเมื่อปฏิบัติอย่างใด
อย่างหนึ่งให้ผู้บัง (หรือผู้ดู) ได้รู้ก็เป็นพิธีกรด้วยดังนั้นผู้ที่กำหน้าที่สัมภาษณ์บุคคลที่คนฟัง (หรือคนดู) สนใจ
หรือผู้ที่พูดเพื่อดำเนินรายการเกมโชว์ต่าง ๆ ทางโทรทัศน์ก็ถือว่าเป็นพิธีกรด้วยตามความหมายของ
พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525

~ 57 ~

-

บทบาทหนา้ ทแี่ ละภาระงาน
พิธีกรเป็นบุคคลที่สำคัญในการดึงดูดความสนใจให้ผู้บังหรือผู้ชมนั้นติดตามในสิ่งที่พิธีกรต้องการ

นำเสนอตั้งแต่ต้นไปจนจบรายการพิธีกรที่ดีจะต้องทำให้ผู้บังประทับใ จในการดำเนินรายการให้ได้ทั้งท่วงท่า
วาจา กิริยาอาการต่าง ๆ ตลอดจนความสามารถในการทำให้ผู้ฟังมีความรู้สกึ เป็นส่วนหนึ่งของรายการและให้
ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เป็นอยา่ งดี การเปน็ พิธีกรนัน้ ถือวา่ เปน็ การเรียกความสนใจของคนท่ัวไป
ตั้งแต่ยังไม่ทันได้เห็นตัวผู้พูดเพราะเสียงของพิธีกรสามารถดึงดูดความสนใจของผู้คนได้ในระยะไกล เมื่อเป็น
เช่นนจ้ี ึงจำเปน็ อย่างยิง่ ที่พิธกี รจะตอ้ งมีพลังเสยี งที่นา่ ฟังสามารถสะกดผ้บู งั ใหส้ นใจในสิ่งที่พิธกี รนำเสนอได้และ
จำเป็นต้องมีทักษะอื่น ๆ ประกอบอีกหลายด้านด้วยกัน การเป็นพิธีกรจึงไม่ใช่ใครก็สามารถเป็นกันได้ แต่ก็
ไม่ใช่เรื่องยากเสียทีเดียวหากเพียงฝึกฝนและปรับปรุงทักษะต่าง ๆ อยู่เสมอ สิ่งที่สำคัญในการเป็นพิธีกร คือ
การมนี ำ้ เสียงที่หนักแน่นชัดเจนและน่าฟงั ไม่ใช่พดู เบาหรือค่อยจนเกินไปหรือ พดู ติดๆขอ้ ๆ ไม่มีคำพูดติดปาก
เช่น เอ้อ อ้า ครับ ค่ะ จึงต้องหมั่นฝึกฝนวิธีการพูดทั้งการสะกดอักขระต่าง ๆ การออกเสียง ร ล ตัวควบกล้ำ
ต้องชัดเจน น้ำเสียงตอ้ งฟังง่ายและเป็นมิตรกับคนฟังและยังต้องฝึกการพูดให้มคี วามเรว็ ท่ีเหมาะสมไม่ช้าหรอื
เร็วจนเกินไป ควรฝึกกล้ันลมหายใจเพราะเวลาพดู ต่อกันหลายประโยคนาน ๆ จะได้ไม่เหนื่อย เวลาพูดควรทำ
จติ ใจใหเ้ บิกบานเสียงจะไดม้ คี วามแจ่มใสและควรจะมีรอยยิ้มอยดู่ ้วยเสมอสิ่งเหลา่ น้ีจะเปน็ เสน่หข์ องพธิ ีกร

สิ่งที่จำเป็นอีกอย่างหนึ่ง ก็คือการวางท่าทางกิริยาบุคลิกลักษณะต่าง ๆ ต้องมีความมั่นใจการยืนต้อง
สง่างามการเดินต้องมีมาดภาพพจน์โดยรวมต้องดูดแี ละเป็นไปในทางเดียวกันกับเรือ่ งราวท่ีพูดถึงหรอื นำเสนอ
อยใู่ ชล้ ีลาประกอบใหเ้ หมาะสม ควรฝกึ หนา้ กระจกเพ่ือดูว่าตัวเราเปน็ อยา่ งไรสิ่งเหลา่ น้ีควรฝึกฝนให้เป็นนิสัยมี
บุคลิกที่ดีน่าสนใจอยู่เสมอการใช้สายตาเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องหมั่นฝึกให้มั่นคงเพราะเวลาพูดต้องมีสมาธิ
แยกแยะให้ถูกควรส่งสายตาไปยังผู้ฟัง ณ จุดใดจุดหนึ่งอย่ากวาดสายตาไปมา แต่ควรใช้วิธีหันหน้าแทนเมื่อ
เปลี่ยนมุมมองไม่ควรทำตาหลุกหลิกหรือมองสิ่งอื่นที่ทำให้ไขว้เขวสบตากับผู้บังเป็นระยะ ๆ และประสาน
สายตากบั ทีมงานบา้ งเพือ่ ความเรยี บรอ้ ยของกำหนดการตา่ ง ๆ วา่ เป็นไปตามที่วางไว้หรอื ไม่หรอื หากตอ้ งมีการ
เปลย่ี นแปลงส่งิ ใดกะทนั หนั จะได้เตรียมตัวได้ทนั

การเป็นพิธีกรที่ดี ที่สามารถดำเนนิ รายการได้นา่ สนใจนั้น ต้องรู้จักวางตวั ให้เหมาะสมศึกษากลุม่ ผูฟ้ ัง
ความสนใจต่าง ๆ สร้างบรรยากาศที่ดีในการดำเนินรายการสื่อสารกับผู้บังได้เป็นอย่างดีสร้าง ความเข้าใจท่ี
ตรงกันและให้เกียรติผู้ฟังเสมอเทคนิคที่สำคัญก็คือการทำตัวให้กลมกลืนกับผู้ฟัง เช่นเมื่อเป็นพิธีกรด้าน
กิจกรรมสันทนาการต้องวางบุคลิกท่าทางให้มีความกระฉับกระเฉงคล่องแคล่วการแต่งกายต้องเหมาะสม ย้ิม
แย้มแจ่มใส หากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้บริหารหรือกึ่งทางการก็ต้องแต่งกายให้ดูดีสุภาพเน้นความสะอาด
เรยี บรอ้ ยเปน็ ต้น พธิ ีกรทท่ี ำงานสำเร็จน้นั ต้องทำให้การดำเนินรายการสำเรจ็ ลลุ ่วงไปได้ดว้ ยดเี สมอคือสามารถ
สื่อสารข้อมูลวัตถุประสงค์ของการจัดงานและผู้ฟังหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการจดั งานและสร้างความประทับใจใหก้ ับผู้บังได้รวมถงึ สามารถทำให้ผู้ป่งติดตาม

58

ชมตลอดจนจบรายการพิธีกรที่ทำเช่นนี้ได้จึงจะถือว่าประสบความสำเร็จและสิ่งที่ขาดไม่ได้คือทักษะในการ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้าเพราะเหตุการณ์ไม่คาดคิดต่าง ๆ สามารถเกิดขึ้นได้อยู่เสมอดังนั้นพิธีกรที่ดีจึงควรมี
ปฏภิ าณไหวพริบตา่ ง ๆ ในการแกป้ ญั หาเฉพาะหน้าและตรึงคนดูไว้ให้จดจ่ออยู่กบั การนาเสนอรายการให้ได้ไม่
ว่าเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่เกิดขึ้นจะเป็นอย่างไรพิธีกรทีด่ ีรูว้ ่าควรจะจัดการกับสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างไรโดยมี
บทบาทการดำเนนิ งาน ดงั น้ี
1. เป็นผู้ใหข้ ้อมลู แกผ่ ฟู้ งั ผชู้ มหรือผู้เข้าร่วมพธิ โี ดยอย่างนอ้ ยจะต้องมีกระบวนการดังต่อไปน้ี

1.1 แจง้ กำหนดการ
1.2 แจ้งรายละเอยี ดของรายการ
1.3 แนะนำผบู้ ดู ผแู้ สดง
1.4 ผู้ดำเนินการอภปิ รายและอื่น ๆ
2. เปน็ ผเู้ ร่ิมกจิ กรรม, งานหรือพิธี
2.1 กล่าวทักทายต้อนรบั เชิญสู่งาน
2.2 เชญิ เขา้ สู่พธิ ดี ำเนนิ รายการต่าง ๆ แลว้ แตก่ ิจกรรม
2.3 เชิญเปิดงาน-ปิดงาน
3. เป็นผ้เู ชอื่ มโยงกจิ กรรม, งาน, พธิ หี รอื รายการต่าง ๆ เช่น
3.1 กล่าวเชอื่ มโยงเหตกุ ารณต์ ามลำดบั
3.2 แจง้ ใหท้ ราบเมื่อมกี ารเปล่ียนแปลงกำหนดการ
3.3 แจง้ ขอความร่วมมือ
3.4 กล่าวเชอ่ื มโยงรายการให้ชวนติดตาม
4. เป็นผู้ส่งเสริมจุดเด่นให้งานหรือกิจกรรมและบุคคลสำคัญในงานพิธี รายการ โดยพิธีกรจะต้องเป็นผู้ทำ
หน้าทใี่ นวาระทเี่ หมาะสมเชน่
4.1 กล่าวยกยอ่ งสรรเสรญิ ชนื่ ชมบคุ คลสำคญั ทเี่ กี่ยวขอ้ งในพิธี
4.2 กลา่ วถงึ จดุ เดน่ ของงานพธิ นี น้ั ๆ
4.3 กล่าวแจง้ ผลรางวลั และการมอบรางวัล
5. เป็นผูส้ ร้างสสี ันบรรยากาศของงาน, พิธีหรอื รายการเชน่
5.1 ให้ข้อมูลท่นี า่ สนใจเพมิ่ เตมิ เปน็ ระยะ
5.2 มีมุกตลกเป็นระยะ ๆ
6. เป็นผู้เสรมิ สร้างความสมานฉนั ท์ในงาน, กลมุ่ ผ้รู ่วมงานเชน่
6.1 กลา่ วละลายพฤตกิ รรม
6.2 กล่าวจงู ใจใหร้ ักสามัคคี

~ 59 ~

-

7. เปน็ ผู้เตมิ ช่องวา่ งและแกป้ ัญหาเฉนาะหนา้ ในงานพิธตี า่ ง ๆ เชน่
7.1 กลา่ วชแี้ จงกรณบี ุคคลสำคัญไมส่ ามารถมาชว่ ยงานพธิ ีตา่ ง ๆ ได้

7.2 กลา่ วทำความเข้าใจกรณีต้องเปลยี่ นแปลงกำหนดการ

ภาพที่ 12 : เป็นผดู้ ำเนินรายการวนั งานสมั มนา
บคุ ลกิ ภาพของการเปน็ พธิ ีกร

บคุ ลกิ ภาพมีความสำคัญมากตอ่ การเปน็ พิธกี รเพราะเป็นสิ่งแรกที่ทำใหเ้ กิด“ รกั แรกพบ "แกผ่ ู้ฟงั หาก
พธิ กี รมีบคุ ลิกภาพที่ดยี ่อมทำใหผ้ ฟู้ งั อยากติดตามเนือ้ หา เพราะคนเราจะตัดสินกันว่าชอบหรือไมช่ อบตดิ ตาม
ฟงั รือไม่ฟังแค่เพยี ง 7 วนิ าทแี รกเจอ

การพูดต่อหน้าชมุ ชนหรือสาธารณะผู้บูดยง่ิ ต้องมบี ุคลกิ ท่“ี ตอ้ งตา" ผชู้ มทงั้ นตี้ ้องมบี ุคลกิ ภาพภายใน
ท่ี “ตอ้ งใจ” ผชู้ มด้วยเช่นกนั “ตอ้ งตา” คือชวนมอง “ต้องใจ” คือชวนฟังองค์ประกอบของบคุ ลิกภาพ

1. รูปลักษณ์ คือบุคลิกภาพภายนอกทมี่ องเห็นดว้ ยตาเปล่าตงั้ แต่ศีรษะจรดปลายเทา้ จงึ รวมถงึ รูปร่าง
หน้าตาผวิ พรรณกลน่ิ ตามธรรมชาตแิ ละการแต่งกายดว้ ยเสอ้ื ผา้ ในแบบและสตี ่าง ๆ รูปลักษณจ์ ึงเป็น
องคป์ ระกอบสำคัญทก่ี ่อใหเ้ กิดความประทบั ใจแรกพบ

2. การกระทำ คือการแสดงออกท้ังวจั นภาษา คอื ภาษาทใ่ี ช้พดู ส่ือสาร และอวัจนภาษาคือ สหี น้า
ทา่ ทาง จงั หวะการหายใจ ทว่ งทา่ อิรยิ าบถ ท้งั นี้การกระทำส่งผลใหเ้ สริมบคุ ลิกภาพใหโ้ ดดเด่นนา่ ประทับใจ
มากขึน้ และก่อใหเ้ กดิ ความประทับใจทน่ี านกว่ารปู ลกั ษณ์เช่นพนักงานขายแต่งตวั สวยดงึ ดดู ลกู ค้าให้เข้าไป
สอบถามผลติ ภัณฑ์ แตไ่ มม่ รี อยยมิ้ แสดงสหี น้าเบ่ือระหวา่ งการขายกจ็ ะทำให้ลูกคา้ ไม่พอใจและลมื รปู ลกั ษณ์ท่ี
สวยแรกพบทันที

3. ศกั ยภาพ คือบคุ ลิกภาพภายในทตี่ อ้ งใช้เวลาในการศึกษาศักยภาพรวมไปถึงวิธีคดิ วธิ จี ดั การกบั
ความคิดและแสดงออกภายใต้การกระทำของตนเชน่ พนักงานคนนม้ี ีศักยภาพในการขายคอื พนักงาน

ขายของเก่งหรือหวั หน้าท่านนี้เปน็ หวั หน้าทมี่ ีศักยภาพคือหัวหนา้ ทก่ี ำงานบรรลเุ ป้าหมายองค์กรและ
ดูแลลูกน้องได้ดีทั้งน้ตี อ้ งอาศัยความคิดที่มีศักยภาพกอ่ นการปฏิบตั ิงาน

60

ภาพท่ี 13: บุคลกิ ภาพของการเป็นพธิ กี ร
การเตรียมตวั ในการรบั หน้าท่ีพธิ ีกร

1. ศึกษาข้อมูลวเิ คราะหส์ ถานการณผ์ นู้ ำผู้ชมโอกาสวตั ถปุ ระสงค์ของงานพิธีท่ีกำหนดไว้เมื่อทราบ
ความมุง่ หมายของการทำหนา้ ท่ี

2. เตรยี มเนือ้ หาและคำพูดควรเรม่ิ ต้นอย่างไรใชม้ ุกตลกหรือลกู เล่นแทรกอย่างไรจุดเดน่ ท่ีควรกล่าวถึง
3. ตรวจสอบความเหมาะสมของบทความทเ่ี ตรียมมาว่าเหมาะสมกับเวลาหรือไม่
4. ตอ้ งมกี ารฝึกซอ้ ม
5. ศึกษาสถานทจ่ี ดั งานหรอื วธิ ที ก่ี ำหนดไว้ลว่ งหนา้
6. เตรียมเสอ้ื ผ้าและการแต่งกายให้เหมาะสมกับกจิ กรรม
เทคนิคการใชภ้ าษา
พิธีกรจำเป็นต้องเรียนรู้ถึงวิธีในการใช้ภาษาซึ่งจะทำให้เราสามารถใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ทง้ั กบั บคุ คลสถานท่ีและเวลาท้ังน้ีโดยหมายรวมท้ังภาษาพดู และภาษาทา่ ทาง
ข้อแนะนำในการใชภ้ าษา
- หากมคี ำราชาศพั ท์ เชน่ โปรดเกลา้ ฯ ต้องอา่ นวา่ โปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม เปน็ ตน้
- หากเป็นคำย่อต้องพูดเป็นคำเต็ม เช่นนส. ต้องพูดว่า นางสาว สส. ต้องพูดว่าสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรเปน็ ตน้
- การพดู โดยใช้คาภาษาตา่ งประเทศปะปนไปกับภาษาไทยต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของผู้บัง
และสถานการณ์นัน้ ๆ เป็นหลัก
- การพูดทม่ี เี สน่ห์อาจจะต้องสอดแทรกดว้ ยคาคมสุภาษิตคาบงั เพยพธิ ีกรควรจะรวบรวมสิ่งเหล่าน้ีไว้
และหากจะยกมาเปรยี บเปรยก็ควรจะใช้วิธที ่องจาอกี วา่ ยกขนึ้ มาอ่าน
- ฟังการอ่านขา่ วหรอื การบรรยายในงานพระราชพธิ ีหรืองานพิธีท่ีสำคัญเสมอเพือ่ ใหไ้ ด้แบบอยา่ งของ
การพดู

~ 61 ~

-

สำหรับในส่วนของภาษาท่าทางซึ่งรวมถึงการยืนการเดินการนั่งการทรงตัวการใช้สีหน้าการใชส้ ายตา
การใชท้ ่าทางประกอบการพูดพธิ ีกรต้องตระหนักเสมอว่าพิธีกรคือจดุ เด่นของงานเพราะฉะน้ันทุกสายตาจะจับ
จอ้ งมาทต่ี วั ท่านการเคลอ่ื นไหวของทา่ นทุก ๆ อิรยิ าบถจะมีผลต่อความสำเร็จในการพดู ของท่านการวางท่าทาง
กิริยาบุคลิกลักษณะต่าง ๆ ต้องมีความมั่นใจการยืนต้องสง่างามการเดินต้องมีมาดภาพพจน์โดยรวมต้องดูดี
และเป็นไปในทางเดยี วกนั กบั เรื่องราวทพ่ี ดู ถึง
เทคนิคการใชส้ ายตา

พิธีกรต้องมีการใช้สายตาที่ทำให้ผู้ฟังประทับใจและทำให้พิธีกรดูมีชีวิตชีวาและเป็นธรรมชาติมากขน้ึ
โดยวธิ ีการใช้สายตาใหน้ ่าประทบั ใจมดี ังนี้

-เลือกมองยงั รายบุคคล หน่ึงในการสรา้ งกาลังใจของผู้พูดคือเลือกท่จี ะมองหรือสบสายตาคนท่ีสนใจที่
จะสบตาเราก่อนก่อนที่จะพูดจึงควรหยุดเมื่อสแกนใบหน้าของผู้บังที่เป็นมิตรและสร้างความสัมพันธ์ให้ผู้บัง
รู้สกึ จดจ่อกบั สิง่ ทีเ่ รากาลงั จะพูดทง้ั นี้จะชว่ ยเรียกความมน่ั ใจของผพู้ ูดได้ดี

-เน้นการมีส่วนร่วมของผู้บังให้มากแม้ตอนเริ่มต้นแนะนาให้มองผู้บังที่เป็นมิตร แต่ระหว่างพูดต้องมี
การเปลี่ยนไปสบตาผู้บงั ท่านอื่นบ้างทั้งนี้ใหแ้ บ่งผู้บังในห้องกว้างเป็นสามส่วนและเปลี่ยนผู้บังให้ครบสามสว่ น
โดยระวังไม่ให้มองใครคนใดคนหนึง่ มากเกนิ ไป

-หยุดมองผู้ฟังจนสามารถสะกดผู้ฟังได้ผู้พูดที่ดีจะใช้เวลาสบตาประมาณ 5 วินาทีต่อหนึ่งผู้ฟังเป็น
ช่วงเวลาทีไ่ ม่ยาวเกินไปจนทำให้ผู้ฟังรู้สึกอึดอัดหรอื ไม่สั้นเกินไปจนทำให้ผู้พูดเองขาดสมาธิ แต่เป็นชว่ งเวลาท่ี
พอดสี ำหรับผฟู้ ังที่จะเกดิ ความรูส้ ึกอยากติดตามการฟังตอ่ ไป
เทคนคิ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า

เทคนคิ ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสาหรับพธิ ีกรในการทำหน้าที่พธิ ีกรบ่อยคร้ังที่ต้องพบกับเหตุการณ์
ท่ีไมค่ าดคิดและ ตอ้ งแก้ไขเหตกุ ารณเ์ หล่านีใ้ ห้ลุล่วงไปไดด้ ้วยดี

เทคนคิ ในการแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ สำหรับผทู้ ำหน้าท่ีพธิ กี รมดี ังนี้
- เมอื่ ถึงเวลาแลว้ ประธานหรือผู้พดู ยงั ไม่มา หนา้ ทข่ี องพิธีกรจะตอ้ งไมใ่ ห้เกิดความเงียบบนเวทีถ้าเลย

เวลาไม่นานนักพิธกี รอาจพดู ชีแ้ จงรายละเอียดต่าง ๆ รวมทง้ั อาจจะมีเรื่องราวสนุกสนานมาเล่าถ่วงเวลาไว้ก่อน
แต่ถ้านานจนผู้ฟังเริ่มกระสบั กระส่ายอาจจะจัดกิจกรรมให้ผู้บังได้เคลื่อนไหวบ้างเช่นการปรบมือการร้องเพลง
ขณะเดยี วกันตอ้ งรบี ใหง้ ่ายจดั งานเรง่ แกส้ ถานการณ์ทันที

- เมอื่ เคร่อื งเสียงมีปญั หาไมโครโฟนอาจมีเสียงหอนพูดแล้วเสียงขาวหายหรือพดู แล้วไม่มเี สียงพิธีกรก็
ต้องยิ้มเข้าไว้และเมื่อทุกอย่างปกติอาจใช้ลีลาการพูดช่วยคลี่คลายบรรยากาศเช่นเมื่อเป็นพิธีกรในการอบรม
สมั มนาซึง่ มีวิทยากรพิเศษมาให้การบรรยายพอถึงเวลาปรากฏว่าไมโครโฟนใช้ไม่ไดเ้ ป็นอยูน่ ักใหญ่กว่าจะแก้ไข
ไดเ้ มือ่ ทกุ อย่างเรยี บร้อยแลว้ พิธีกรอาจพดู ว่า “ แหมวนั นพ้ี วกเรารอคอยมานานกว่าจะได้คิวจากท่านวิทยากร

62

เพราะเรือ่ งราวที่ท่านจะพดู คยุ กับพวกเราเป็นเรอื่ งที่ Hot ทส่ี ดุ ไมน่ ึกเลยว่าไมโครโฟนจะตกใจเพราะความ Hot
จนสายใหมก่ ่อนทีท่ า่ นวิทยากรจะได้พูดเสยี อีก” เพ่ือเป็นการทำให้บรรยากาศผอ่ นคลายลง

-เมื่อพิธีกรอ่านข้อความผิด หากพิธีกรอ่านข้อความผิดให้ท่านตั้งสติให้ดีแล้วเอ่ยคำว่า “ ขออภัยค่ะ
(ครับ) "ไม่ใช่" อุ้ย” หรือบางกรณีอาจต้องใช้ไหวพริบปฏิภาณแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเพื่อให้ทุกอย่างผ่านไปได้
ด้วยดี

-เมื่อผู้ฟังออกอาการไม่ฟังเบื่อหลับในบางงานผู้ฟังหรือผู้ชมอาจไม่ให้ความร่วมมือควรใช้วิธีดึงความ
สนใจดว้ ยการร้องเพลงเลา่ เรอ่ื งขบขันหรืออาจจะใหผ้ ู้ฟงั ลุกขน้ึ ขยับแขง้ ขยบั ขาด้วยการออกกำลงั กายดูบ้าง
เทคนคิ ในการกล่าวแนะนำวทิ ยากร

ในการพูดบางโอกาสไม่ว่าจะเป็นการสัมมนา การอภิปราย หรือการโต้วาทีนั้นมักมีโฆษกหรือพิธีกร
เป็นผู้ดำเนินรายการและกล่าวแนะนำวิทยากรหรือผู้พูดให้ผู้ฟังรู้จักเพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์และความ
เล่อื มใสศรทั ธา

พชร บัวเพียร ได้กล่าวถึงหลักสำหรับการกล่าวแนะนำผู้พูด ดังนี้ควรถามผู้พูดก่อนขึ้นพูดว่าต้องการ
หรือไม่ต้องการให้แนะนำอะไรบ้างกล่าวถึงเหตุหรือความสำคัญของเรื่องที่ผู้พูดจะพูดโดย พูดสั้น ๆ แต่ให้ได้
เนื้อความครบถ้วนเริ่มด้วยการปฏิสันถารผู้ฟังแล้วจึงแนะนำผู้พูดโดยเร่ิมจาก ชื่อ สกุลการศึกษา ตำแหน่ง ท่ี
ทำงาน ความรู้ประสบการณ์และความสำคัญของผู้พูดโดยเฉพาะที่เก่ียวกับเร่ืองนี้สร้างบรรยากาศให้เกิดความ
เป็นกันเองระหว่างผูพ้ ูดกับผู้ฟังทำให้ผู้พูดอยากพูดและผู้ฟังอยากฟังอย่าพูดเกี่ยวกบั ตัวเองหรืออย่าพูดราวกบั
ว่าจะพูดเร่ืองนนั้ ๆ เสียเองอย่ายกยอ่ งผพู้ ูดจนเกินความเปน็ จรงิ

แต่อย่างไรก็ตาม การกลา่ วคำแนะนำผ้พู ูดมีข้อควรระวังบางประการซ่ึง กญุ ฑลีย์ ไวทยะวณชิ กล่าวไว้
ดังนี้ ไม่ควรใช้เวลาในการกล่าวคำแนะนาวิทยากรนานเกินไปต้องให้สัดส่วนความสำคัญของเนื้อหามากกว่า
ส่วนเสริมเพราะผู้ฟังต้องการฟังเรื่องราวที่ผู้พูดจะพูดมากกว่าชีวประวัติผู้พูดไม่ควรยกย่องผู้พูดจนเกินความ
จริงไม่ควรให้รายละเอียดในเรื่องส่วนตัวของผู้พูดควรให้ผู้พูดหรือวิทยากรได้อ่านคำกล่าวแนะนำตัวของผู้พูด
ก่อนเพื่อตรวจสอบความถูกต้องหรือเพิ่มเติมในเรื่องยศ ตำแหน่ง สถานศึกษาหน้าที่การงานปัจจุบันร่วมทั้ง
ความสามารถและประสบการณ์ตา่ ง ๆ เพอื่ ให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้องและทันสมัยควรอา่ นออกเสยี งชื่อนามสกุลของ
ผู้พูดให้ผู้พูดฟังก่อนเพื่อความถูกต้องควรใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่ายชัดเจนหลังจากที่ผู้พูดหรอื วิทยากรกล่าวจบแล้ว
พิธีกรผู้ดำเนินรายการ ควรกล่าวขอบคุณผู้พูดเพื่อแสดงมารยาทอันดีงาม และเป็นการเสริมแรงให้ผู้พูดที่ได้
เผยแพรค่ วามรู้ ความคิด และสละตนเพอ่ื ประโยชน์สงั คมสบื ไป

ตัวอย่างคำกล่าวของพธิ ีกรงานสัมมนา
สวัสดีครับ / ค่ะท่านผู้มีเกียรติทุกท่านวันนี้นับเป็นวันดีวันหนึ่งที่ทุกท่านได้มาร่วมสัมมนาในหัวข้อ

..................................... ซึ่งเป็นหัวข้อที่น่าสนใจมากท่ีสดุ ในรอบปีนี้โดยที่ผู้จัดเช่ือวา่ ท่านจะได้รับความรู้และ

~ 63 ~

-

สนุกไปกับงานสัมมนาในครั้งนี้ก่อนอื่นใคร่จะขอเรียนเชิญท่านประธานจัดงานสัมมนาคือคุณ……………
.......................... จะได้ขึ้นมากล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการจัดงานในวันนี้ให้แก่ท่านประธานและท่าน
ผเู้ ขา้ ร่วมประชุมทุกทา่ นได้ทราบความเปน็ มาขอเป็นสงั เขปขอเรียนเชญิ คุณ ... ครับ / คะ่

เมอ่ื ประธานกลา่ วจบลงพิธีกรกจ็ ะกล่าวต่อในทนั ทตี ่อไปขอเรยี นเชิญทา่ นประธานในพิธีคุณ ..... ได้ให้
เกยี รติขนึ้ มากลา่ วอวยพรและกลา่ วเปิดการสัมมนาขอเรยี นเชิญคุณ ..... ครบั / ค่ะ

เมื่อการกล่าวเปิดจบลงแล้วพิธีกรก็จะกล่าวแนะนำผู้เข้าร่วมสัมมนากรณีที่มีผู้เข้าร่วมสัมมนามาเป็น
คณะกก็ ลา่ วแนะนำเปน็ คณะแต่ละมาจากหลายหน่วยงานมากจนแนะนำไม่ได้เน่ืองจากจะใช้เวลามากก็อาจจะ
ข้ามขั้นตอนการแนะนำนี้ไปต่อด้วยการเชิญผู้ดำเนินรายการขึ้นทำหน้าที่ทันทีต่อ ไปขอเชิญผู้ดำเนินรายการ
สัมมนาในวนั นี้ขอเชญิ คุณ……………………………ดำเนนิ รายการต่อไปไดแ้ ล้วครับ / ค่ะ

เมื่อการสัมมนาหรือการประชุมเชิงปฏิบัติการดาเนินไปถึงช่วงสุดท้ายของงานพิธีกรก็จะขึ้นเชิญ
ประธานมอบเกียรติบัตร

ถ้าผู้เข้ารว่ มสัมมนามีจำนวนมากเป็นร้อยคนก็ควรจะใชว้ ธิ ีให้ไปรับทีจ่ ดุ ลงทะเบยี นก็นา่ จะสะดวกกวา่
การมอบเนื่องจากรายชื่อและจานวนคนที่จะรับนั้นส่วนมากมักจะสับสนเนื่องจากมีผู้เข้าร่วมสัมมนาจำนวน
หนงึ่ กลบั กอ่ นเวลา

บทสรปุ
ในการจัดสมั มนาคร้ังนี้ฝา่ ยพธิ ีกรจะต้องมหี น้าที่ดำเนนิ รายการตงั้ แต่เรม่ิ งานไปจนจบงานรู้ทุกขั้นตอน
ของงานสามารถจัดลำดับขั้นตอนของงานได้อย่างเหมาะสมและราบรื่นเรียบร้อยพิธีกรจะต้องทำให้ผู้บัง
ประทบั ใจหรอื รสู้ ึกเบื่อการบรรยายและผู้ที่เป็นพธิ ีกรจะต้องมบี ุคลิกที่ดมี ีน้ำเสียงที่น่าฟังรวมไปถึงจะต้องเป็นผู้
ทีแ่ ก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดใี นกรณีท่ีอาจเกิดปญั หาต่าง ๆ เชน่ เสยี งหายไปดับเปน็ ต้นเม่ือจบการสัมมนาแล้ว
พธิ ีกรจะต้องกล่าวเชิญมอบเกยี รตบิ ตั รและของท่รี ะลกึ แก่ผู้ทรงคุณวฒุ ิ

64

ตารางที่ 10 : เคร่อื งมือในการตดิ ตามงานของพธิ กี ร

ฝา่ ย งานทีไ่ ด้มอบหมาย ความคบื หน้าครั้งที่1 เหตุผล

คดิ บทพดู ในการดำเนนิ งาน สำเรจ็ ไม่สำเร็จ
/

ฝึกซ้อมบทพดู ในการเปน็ พิธกี ร /
เป็นผดู้ ำเนนิ รายการ /

พธิ ีกร เป็นผู้ควบคมุ หรือกำกับรายการ /
ภาคพิธีการตามกำหนด

~ 65 ~

-

นางสางกนกวรรณ สวุ รรรส ,นางสาวสฮุ ัยนี อาหวงั
ฝา่ ยประเมินผล

ติดตอ่ : 065-2566709 , 064- 2219720
บทบาทหน้าทแี่ ละการปฏิบตั งิ านของฝา่ ยประเมินผล
ความรูเ้ บ้อื งต้นเก่ียวกบั การประเมนิ โครงการ

การประเมินโครงการเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการบริหารโครงการ การประเมิน
โครงการเป็นกระบวนการที่ใหข้ ้อมูลย้อนกลับ ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของโครงการ
ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทำให้ทราบข้อบกพร่อง จุดเด่น จุดด้อยของโครงการ และทราบว่าโครงการได้
บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมายเพยี งใด และช่วยใหข้ อ้ มลู ที่จำเป็นสำหรบั การนำไปใชใ้ นการตัดสินใจเกี่ยวกับการ
ดำเนนิ โครงการไดท้ งั้ ในปจั จุบนั และในอนาคต

การประเมินผลโครงการ (Project Evaluation) เป็นคำที่มาจาก การประเมินผล (Evaluation) กับ
คำว่าโครงการ (Project) หมายความว่าเป็นกิจกรรมที่จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์บางประการ โดยที่ผู้จัดทำ
โครงการมุ่งหวงั ว่าเมอื่ ทำกิจกรรมน้ันตามหลักเกณฑห์ รือขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ท่กี ำหนดไว้แล้ว จะบรรลุวัตถุประสงค์
บางประการ หรือหลายประการที่ตั้งไว้ หากมีกฎเกณฑ์ ขั้นตอน หรือกระบวนการที่ดำเนินการแตกต่างกันก็
อาจได้ผลลัพธ์ออกมาไม่เหมือนกัน (สุชาติ ประสิทธิรัฐสินธ์, 2541) โดยต่อไปจะได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับ
ความหมายของคำว่าการประเมินผล โดยทั่วไปนั้น การประเมินผล นับเป็นการตัดสินคุณค่าหรือความ
เหมาะสมในสิ่งที่ประเมิน ซึ่งหากจะขยายความการประเมิน เป็นการแยกแยะ วินิจฉัย (Identification)
เปิดเผยข้อเท็จจริง (Clearification) และการใช้ประโยชน์(Application) ของเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อตัดสินคุณค่า

66

หรือ ความเหมาะสมของสิ่งน้ันในเรื่อง คุณภาพการใชป้ ระโยชนก์ ารมผี ลตามความเปน็ จริง หรอื การไดร้ ับผลท่ี
สอดคล้องตามเกณฑ์นั้น นักวิชาการชาวต่างประเทศ และชาวไทย ได้ให้คำจำกัดความของ การประเมินผลไว้
ดังตอ่ ไปน้ี

ไบรอันและไวท์ (1976) กล่าวว่า การประเมินผล เป็นความพยายามอย่างหนึ่งในการบันทึกถึงสิ่งท่ี
เกิดขึ้น และกำหนดว่าทำไมสิ่งนั้นจึงเกิดขึ้น การประเมินจึงหมายความได้ว่าเป็น ความพยายามที่จะค้นหาวา่
แผนหรือโครงการ ก่อให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงอะไร เปน็ ไปตามท่ีคาดหมายไวห้ รอื ไมเ่ พียงใด

รอบบินส์ (Robbins, 1973) เสนอความเห็นไว้ว่า การประเมินผล เป็นกระบวนการของการดูแล
ติดตามเพอื่ ทจ่ี ะดูว่า องคก์ รหรอื หนว่ ยงานไดร้ ับ และใช้ทรัพยากรเพอ่ื การดำเนินงานให้บรรลตุ ามวัตถุประสงค์
ของโครงการอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลเพยี งใด

สมคิด พรมจ้ยุ (2542) เสนอไว้วา่ การประเมินผลเป็นกระบวนการที่ก่อใหเ้ กิดสารสนเทศ เพ่ือช่วยใน
การบริหาร ซึ่งผู้บริหารสามารถใช้ในการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการตรวจสอบความก้าวหน้า
ของโครงการหรือ แผนงาน ตลอดจนการพิจารณาผลสัมฤทธิ์ของโครงการหรือแผนงานนั้น ๆ ว่ามีมากน้อย
เพียงใด
ภาระงาน

1. ออกแบบใบประเมนิ ผล
2. ดำเนนิ การรวบรวมขอ้ มลู (โดยGoogle From)
3. นำข้อมูลมาวิเคราะห์
4. สรปุ และประเมนิ ผล
5. ยกรา่ งใบคะแนน(โดยGoogle From)
6. จดั ทำการทบทวนหลังการปฏบิ ตั งิ าน (After Action Review)((โดยGoogle From))
ความสำคัญของการประเมินโครงการ
ในการดำเนนิ งานโครงการจำเปน็ อย่างยง่ิ ที่ทุกฝ่ายท่ีเกยี่ วข้องกับโครงการจะต้องทราบถึงความเป็นไป
ได้ ความพร้อม ความก้าวหน้า และความสำเร็จของโครงการ ดังนั้นข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะช่วยตอบ
คำถามต่างๆได้ ถ้าการดำเนินงานปราศจากการประเมิน ผู้ปฏิบัติจะไม่ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึน
ความพร้อม ความเหมาะสม ของการดำเนนิ งานและเมื่อส้นิ สดุ การดำเนนิ งานก็จะไม่ทราบว่าผลการดำเนินงาน
เป็นอย่างไรบ้าง ควรยกเลิกหรือปรับหรือขยายโครงการหรือไม่ อย่างไร ทั้งนี้เพราะไม่มีสารสนเทศจากการ
ประเมนิ มาช่วยสนับสนนุ การตัดสนิ ใจนั่นเอง
ดังนั้นสารสนเทศที่ได้จากการประเมินจึงเป็นสารสนเทศที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
หรือผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ ผู้ประเมินจึงมีบทบาทสำคัญในการนำเสนอผลการประเมินในลักษณะที่
เหมาะสมกบั ผู้ใช้ผลการประเมินแตล่ ะกล่มุ

~ 67 ~

-

ประโยชนข์ องการประเมินโครงการ
1. ช่วยให้ไดข้ ้อมลู เพอื่ นำไปใช้ในตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั การกำหนดโครงการ การตรวจสอบความ

พร้อมของทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินโครงการ ตลอดจนความเป็นไปได้ในการจัดทำ
โครงการ

2. การประเมนิ ปจั จัยนำเขา้ (Input Evaluation)
3. การประเมนิ สภาวะแวดล้อม (Context Evaluation)
4. การประเมนิ กระบวนการ (ProcessEvaluation)
5. การประเมนิ ผลผลติ (Output/Product Evaluation)
6. การประเมินผลกระทบ ( Outcome/Impact)
ขั้นตอนการประเมินโครงการ
ในการประเมนิ ขัน้ ตอนการประเมินแบง่ ออกเป็น 5 ขนั้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี
ขัน้ ที่ 1 กำหนดขอบเขตและวตั ถปุ ระสงค์ของการประเมิน ในขัน้ ตอนน้ี ผู้ประเมนิ จะดำเนนิ การดังนี้

1.1 ศึกษาและรวบรวมข้อมลู เกี่ยวกับโครงการเหนือสิ่งทม่ี ุ่งประเมินกบั วัตถุประสงค์หลักการ
ของโครงการใครเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบ ใครบา้ งทต่ี ้องหารใชผ้ ลประเมินนี้

1.2 สมั ภาษณ์ผบู้ งั คบั บังชาของผู้ประเมนิ และกลุ่มผใู้ ชผ้ ลประเมิน เก่ียวกับความต้องการใช้
ผลประเมนิ ต้องการใชเ้ มื่อใด ต้องการสารสนเทศในประเดน็ ใดบา้ ง

1.3 จากข้อมูล 1.1 และ 1.2 กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมินเป็นที่น่าๆ
สังเกตว่าวัตถุประสงค์ของการประเมิน เป็นผลมาจากการศึกษาความต้องการของผู้ใช้ผลประเมินและจาก
วตั ถปุ ระสงคห์ ลักของโครงการ หรอื สงิ่ ท่มี ุ่งประเมนิ

ขั้นท่ี 2 วางแผนการประเมิน เมื่อกำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมินแล้วนำ
วัตถุประสงค์ของการประเมินในแต่ละข้อมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนการประเมิน แล้วกรอกลงในแบบวาง
แผนการประเมนิ

ขั้นที่ 3 ดำเนินการประเมินตามแผน เมื่อจัดทำแผนการประเมินเรียบร้อยแล้ว จะเริ่มเก็บรวบรวม
ข้อมลู ในชว่ งตา่ ง ๆโดยเก็บรวบรวมข้อมลู ตามท่ีระบไุ วใ้ นแผนการประเมิน

ขัน้ ท่ี 4 วิเคราะห์ข้อมูล แจงนับรวบรวมข้อมลู เพ่ือทำการวเิ คราะห์ตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
แตล่ ะข้อ แล้วมาสรุปว่าวตั ถุประสงคน์ น้ั ๆ บรรลุหรอื ไม่ เพียงใด มปี ัญหา หรอื อุปสรรคอยา่ งไรบ้าง

ขัน้ ท่ี 5 รายงานผลการประเมิน โดยทัว่ ไปรายงานประเมินผลมักจะทำเป็นลายลักษณ์อักษรในรูปของ
รายงาน ซึ่งอาจแบ่งเป็นรายงานรวมฉบับเดียว หรือการประเมินผลโครงการ และการติดตามผลหรือแยกเป็น
รายงาน 2 ฉบับ คือรายงานการประเมินผลโครงการหลังจากเสร็จสิ้นการดำเนินงาน โดยยังไม่ได้ดำเนินการ
ติดตามผล และรายงานการติดตามผล หลังจากส้นิ สดุ โครงการไปแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ 6เดอื น

68

ประเภทของการประเมนิ
การประเมินมอี ยู่ดว้ ยกันหลายลักษณะ ซง่ึ ถ้าพจิ ารณาจดั ประเภทของการประเมินแลว้ สามารถแบ่งได้

เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ดังนี้
1 แบ่งตามวัตถุประสงค์การประเมิน แบ่งได้เปน็ 2 ประเภท คอื
1.1) การประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation) เป็นการประเมินระหว่างการดำเนิน

โครงการ เพอื่ พิจารณาความกา้ วหนา้ ของโครงการ วา่ จำเป็นต้องมีการปรบั ปรุงเปลย่ี นแปลงส่วนใด เพอื่ ให้เกิด
ความเหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพของการดำเนินงานมากขน้ึ

1.2) การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation) เป็นการประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการเพื่อตัดสิน
ความสำเรจ็ ของโครงการว่าบรรลุวตั ถปุ ระสงค์มากนอ้ ยเพียงใดหรอื บรรลเุ ปา้ หมายทีค่ วรจะเป็นเพยี งใด

2แบง่ ตามช่วงเวลาของการประเมนิ แบง่ ได้เป็น 7 ประเภท ดงั น้ี
2.1) การประเมินความต้องการจเป็น (Needs Assessment) เป็นการประเมินความต้องการจำเป็น
ของโครงการในเบื้องต้น ก่อนที่จะจัดทำโครงการใดๆ เป็นการประเมินที่มีประโยชน์ต่อการวางนโยบายและ
การวางแผน เพอื่ ใหไ้ ดแ้ นวคดิ ของการจัดโครงการทส่ี ามารถสนองความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายได้
2.2) การประเมินความเป็นไปได้ (Feasibility Study) เป็นการประเมินเพื่อพิจารณาความเป็นไปได้
ของโครงการที่จะดำเนินการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัย/เงื่อนไขที่จำเป็นต่อความสำเร็จของโครงการ มักจะ
ประเมนิ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการบรหิ าร
2.3) การประเมนิ ปจั จัยนำเขา้ (Input Evaluation) เป็นการประเมนิ สิง่ ท่ีป้อนเข้าสโู่ ครงการวา่ มีความ
เหมาะสมเพยี งใดกอ่ นทีจ่ ะเริม่ โครงการ สิง่ ทป่ี ้อนเขา้ เชน่ คน วตั ถุดิบ อปุ กรณ์เครอ่ื งมอื งบประมาณ เปน็ ตน้
2.4) การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินกระบวนการดำเนนิ การตามท่ี
กำหนด ทำการประเมินในขณะทโี่ ครงการกำลังดำเนินการอยู่ เพ่ือใช้ผลการปรบั ปรุง หรอื เพมิ่ ประสิทธิภาพใน
การดำเนินงาน ซึ่งมีลักษณะครอบคลุม การประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation) ของโครงการ
2.5) การประเมินผลผลิต (Output / Product Evaluation) เป็นการประเมินผลที่ได้จากโครงการโดยตรง
และเปน็ ผลทค่ี าดหวงั จากโครงการ วา่ ผลทไ่ี ดเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค/์ เป้าหมายของโครงการมากน้อยเพยี งใด
2.6) การประเมินผลกระทบ (Outcome / Impact Evaluation) เป็นการประเมนิ ผลที่ได้จากผลของ
โครงการทั้งที่คาดหวังและไม่ได้คาดหวัง ซึ่งเป็นผลทางบวกและทางลบ เพื่อนำผลไปประกอบการตัดสินใจ
เก่ยี วกบั โครงการ เชน่ การยกเลิก หรือดำเนนิ โครงการดงั กล่าวตอ่ ไป
2.7) การประเมินงานประเมิน (Meta Evaluation) เป็นการประเมินผลของการประเมินอีกครั้งหน่ึง
เพื่อศึกษาความถูกต้องและความเหมาะสมของการประเมิน และผลการประเมินวิธีการนี้ยังไม่แพร่ หลาย
มากนกั

~ 69 ~

-

ตารางท่ี 11 : เครอื่ งมือในการติดตามงานของฝา่ ยประเมิน

ฝ่าย งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย ความคืบหน้าครงั้ ที่ 1 หมายเหตุ
ประเมนิ สำเรจ็
กำลงั ไมส่ ำเร็จ
ดำเนินการ

ออกแบบใบประเมินผล /

รวบรวมข้อมูล /

วิเคราะห์ขอ้ มูล /

จัดทำใบคะแนน /

AAR ทบทวนหลังปฏิบัติงาน /

70

บทท่ี 4
___________________________________________
การประเมนิ การจดั สมั มนาบทความวชิ าการการศกึ ษาอิสระ

~ 71 ~

-

ความรเู้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกบั กบั การประเมนิ โครงการ
การประเมินโครงการเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการบริหารโครงการ การประเมิน

โครงการเป็นกระบวนการที่ใหข้ ้อมูลย้อนกลับ ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของโครงการ
ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทำให้ทราบข้อบกพร่อง จุดเด่น จุดด้อยของโครงการ และทราบว่าโครงการได้
บรรลุวัตถปุ ระสงค์ เป้าหมายเพยี งใด และช่วยให้ข้อมลู ทจี่ ำเปน็ สำหรับการนำไปใชใ้ นการตัดสนิ ใจเกี่ยวกับการ
ดำเนนิ โครงการไดท้ ง้ั ในปัจจุบนั และในอนาคต

การประเมินโครงการ เป็นกระบวนการเชิงระบบที่ช่วยให้ได้สารสนเทศเกี่ยวกับโครงการสำหรับใช้
ตัดสินคุณค่าของโครงการที่นำไปสู่การตัดสินใจของผู้บริหาร หรือผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาโครงการให้มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับโครงการมาก
ขึ้น ฉะนั้น การประเมินโครงการจึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการบริหารโครงการ การประเมิน
โครงการเปน็ กระบวนการที่ให้ได้ข้อมลู สารสนเทศป้อนกลับ ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการปรับปรงุ การดำเนินงาน
ของโครงการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทำให้ทราบข้อบกพร่อง จุดเด่น จุดด้อยของโครงการให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น ทำให้ทราบข้อบกพร่อง จุดเด่น จดุ ด้อยของโครงการ และทราบว่าโครงการบรรลุวัตถุ
วัตถุประสงค์เป้าหมายเพียงใด มีความคุ้มค่าต่อการตัดสินใจในการดำเนินการหรือไม่ และในการดำเนินงานมี
ปัญหาท่ตี ้องปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลง หรอื แกไ้ ขเรือ่ งใดบ้างซึ่งจะช่วยให้ไดข้ ้อมลู ทจ่ี ำเปน็ สำหรับการนำไปใชใ้ นก
ความหมายของการประเมินโครงการ

การประเมินโครงการ คือ กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและนำผล
มาใช้ในการเพิ่มคณุ ภาพและประสทิ ธิผลของการดำเนนิ โครงการจากความหมายดังกลา่ ว สรุปได้ดังน้ี

1) การประเมนิ โครงการเป็นกระบวนการทจี่ ัดทำขึน้ มาอยา่ งเปน็ ระบบ เพอื่ ใหไ้ ด้มาซ่งึ ข้อมลู ความจริง
(Fact) ท่เี ชือ่ ถือได้

2) การประเมินโครงการจุดประสงค์ที่สำคัญเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ (Efficiency) และประสิทธิผล
(Effectiveness) ของโครงการ

สมหวงั พพิ ิธยานุวฒั น์ (2553 : 2) กล่าววา่ การประเมินผลแผนงาน/โครงการ เปน็ การพจิ ารณาความ
เหมาะสมของแผนงาน/โครงการ การตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินแผนงาน/โครงการการศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการหรือแผนงานนั้นๆว่าเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้หรือไม่เพียงใด การตัดสินใจเกี่ยวกับ
ดำเนินโครงการได้ท้ังในปจั จบุ นั และในอนาคต

จิริวรรณ์ สำเภาทอง (2555 : 31) กล่าวว่า การประเมิน เป็นกระบวนการสร้างข้อมูลสารสนเทศที่ได้
จากการตรวจสอบความสอดคล้องของการดำเนินโครงการกับวัตถุประสงค์ของโครงการนั้นๆ ว่ามีปัญหา
อุปสรรคหรือมีความเหมาะสมในการจัดทำโครงการอย่างไร เพื่อนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการ

72

ตัดสินใจ ในการปรับปรุงพัฒนา ในการดำเนินโครงการให้มีประสิทธิภาพหรือนำผลการประเมิน ที่ได้มาสรุป
ประโยชน์ของโครงการได้ผลดีหรือไม่

เชาว์อินใย(2555 : 4) กล่าวว่า การประเมิน หมายถึง กระบวนการพิจารณาตดั สินคุณค่าของสิ่งใดส่งิ
หนึ่ง ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยนำสารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกับเก ณฑ์ที่
กำหนดเพ่ือช่วยในการตัดสินใจ ตคี ่าผลการดำเนินการนั้น ส่วนคำวา่ โครงการ หมายถงึ ส่วนย่อยส่วนหน่ึงของ
แผนงาน ซึ่งประกอบด้วย ชุดของกิจกรรมที่จัดขึ้นอย่างมีระบบ มีการกำหนดทรัพยากรในการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนนิ งานไวอ้ ย่างชัดเจน โดยออกแบบมาเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามต้องการ

โครงการ (Project) หมายถึง แผนหรือเค้าโครงตามที่กำหนดไว้ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต
สถาน พ.ศ. 2552 การเขียนโครงการ คือ การเขียนแผนงานหรือเค้าโครงของแผนปฏิบัติงานที่มีกำหนด
ระยะเวลาและขั้นตอนการดำเนินงานอย่างชัดเจนและรอบคอบ มีรายละเอียดที่สามารถส่ื อสารกับผู้อนุมัติ
โครงการและผู้เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์
ผู้รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินงาน วิธีการหรือแผนการดำเนินงาน แผนงบประมาณ การ
ประเมินผลโครงการ เป็นต้นในปัจจุบัน การเขียนโครงการเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการพัฒนางานโดย
เฉพาะงานเชิงรุกที่มุ่งให้เกิดผลผลิตและผลลัพธ์ เพื่อเปลี่ยนแปลงสิ่งต่าง ๆ ให้ดีขึ้น ถือเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการทำงานตามวงจรคุณภาพ (Plan-Do-Check-Act; PDCA) ที่ใช้ในระบบการทำงานทั่วไป ดังนั้น
ความสามารถในการเขียนโครงการเปน็ สิ่งสำคญั มากในการทำงานท้ังในหนว่ ยงานราชการและเอกชน นิสิตทุก
คนจำเปน็ ต้องศึกษาและพัฒนาตนเองให้สามารถเขยี นโครงการได้ดว้ ยตนเอง
จุดม่งุ หมายของการประเมนิ ผลโครงการ

มักจะมีคำถามอยู่ตลอดเวลาว่าประเมินผลเพื่ออะไร หรือประเมินผลไปทำไมปฏิบัติงานตามโครงการ
แล้วไม่มีการประเมินผลไม่ได้หรือ ตอบได้เลยว่าการบริหารแนวใหม่หรือการบริหารในระบบเปิด ( Open
System) นน้ั ถอื วา่ การประเมนิ ผลเปน็ ขั้นตอนที่สำคญั มากซ่ึงจุดม่งุ หมายของการประเมินผลโครงการมดี งั นี้

1. เพื่อสนับสนุนหรือยกเลิก การประเมินผลจะเป็นเครื่องมือช่วยตัดสินใจว่าควรจะยกเลิกโครงการ
หรือสนับสนุนให้มีการขยายผลต่อไป โดยเฉพาะการมีโครงการใหม่ ๆ ยังมิได้จัดทำในรูปของโครงการทดลอง
(Experimental) ซึ่งมีโอกาสจะผิดพลาดหรือล้มเหลวได้ง่าย ความล้มเหลวของโครงการจึงมิใช่ความล้มเหลว
ของผ้บู ริหารเสมอไป ดงั น้นั ถ้าเราประเมินผลแลว้ โครงการนนั้ สำเรจ็ ตามที่กำหนดวัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายไว้
ก็ควรดำเนินการต่อไป แต่ถ้าประเมินผลแล้วโครงการนั้นมีปัญหา หรือมีผลกระทบเชิงลบมากกว่า เราก็ควร
ยกเลิกไป

2. เพ่อื ทราบถึงความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานตามโครงการ ว่าเป็นไปตามท่ีกำหนดวตั ถุประสงค์
และเป้าหมาย หรือกฎเกณฑ์ หรอื มาตรฐานที่กำหนดไว้เพียงใด

~ 73 ~

-

3. เพอื่ ปรับปรงุ งาน ถา้ เรานำโครงการไปปฏิบตั ิแล้ว พบว่าบางโครงการไม่ไดเ้ สียท้งั หมดแต่ก็ไม่บรรลุ
วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ทุกข้อ เราควรนำโครงการนั้นมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น โดยพิจารณาว่าโครงการนั้น
บกพร่องในเรื่องใด เช่น ขาดความร่วมมือของประชาชน ขัดต่อค่านิยมของประชาชน ขาดการประชาสัมพันธ์
หรอื สมรรถนะขององค์การท่ีรับผิดชอบต่ำ เมอื่ เราทราบผลของการประเมินผล เรากจ็ ะได้ปรับปรุงแก้ไขให้ตรง
ประเดน็

4. เพื่อศึกษาทางเลือก (Alternative) โดยปกติในการนำโครงการไปปฏิบัตินั้น ผู้บริหารโครงการจะ
พยายามแสวงหาทางเลือกที่ดีที่สุด จากทางเลือกอย่างน้อย 2 ทางเลือก ดังนั้นการประเมินผลจะเป็นการ
เปรยี บเทยี บทางเลือก กอ่ นท่ีจะตดั สนิ ใจเลือกทางเลือกใดปฏบิ ัติ ทัง้ น้เี พื่อลดความเสย่ี งใหน้ ้อยลง

5. เพื่อขยายผล ในการนำโครงการไปปฏิบัติ ถ้าเราไม่มีการติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เรา
อาจจะไม่ทราบถึงความสำเร็จของโครงการ แต่ถ้าเราประเมินผลโครงการเป็นระยะ สม่ำเสมอผลปรากฏว่า
โครงการนนั้ บรรลผุ ลสำเร็จตามท่ีกำหนดวัตถุประสงค์ เรากค็ วรจะขยายผลโครงการนั้นต่อไป แต่การขยายผล
นั้นมิได้หมายความว่าจะขยายไปได้ทุกพื้นที่ การขยายผลต้องคำนึงถึงมิติของประชากร เวลา สถานที่
สถานการณ์ต่าง ๆ เช่น โครงการปลูกพืชเมืองหนาวจะประสบความสำเร็จดีในพื้นที่ภาคเหนือ แต่ถ้าขยายผล
ไปยังภูมิภาคอื่นอาจจะไม่ได้ผลดีเสมอไป เพราะต้องคำนึงถึงลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เชื้อชาติ ค่านิยม
ฯลฯ ดังนั้นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงคือ สิ่งที่นำไปในพื้นที่หนึ่งอาจได้ผลดี แต่นำไปขยายผลในพื้นที่หนึ่งอาจไม่ได้ผล
หรือ สิ่งทีเ่ คยทำได้ผลดีในช่วงเวลาหนึง่ อาจจะไมไ่ ดผ้ ลดีในอกี ชว่ งเวลาหนงึ่
รูปแบบการประเมินผลแบบ CIPP Model

คำว่า รูปแบบ หรือหนังสือบางเล่มใช้คำว่า แบบจำลอง ภาษาอังกฤษใช้คำว่า “Model”ในการ
ประเมินผลโครงการมีแนวคิดและรูปแบบหลายรูปแบบ แต่ในที่นี้จะนำเสนอแนวคิดและโมเดลการประเมิน
แบบซิป หรือ CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) ซึ่งเป็นโมเดลที่ได้รับการยอมรับกันทั่วไปใน
ปัจจุบัน โดยแนวคิดของสตัฟเฟิลบีม เน้นการแยกบทบาทการทำงานระหว่างฝ่ายประเมินกับฝ่ายบริหารออก
จากกันอย่างเด่นชัด กล่าวคือ ฝ่ายประเมินมีหน้าที่ระบุจัดหาและนำเสนอสารสนเทศให้กับฝ่ายบริหาร ส่วน
ฝ่ายบริหารมีหน้าที่เรียกหาข้อมูล และนำผลการประเมินที่ได้ไปใช้ประกอบการตัดสินใจ เพื่อดำเนินกิจกรรม
ใดๆ ที่เกย่ี วข้องแลว้ แต่กรณเี พื่อป้องกันการมีอคตใิ นการประเมิน

74

ประเด็นการประเมนิ ตามรูปแบบ CIPP Model
สตฟั เฟลิ บมี ได้กำหนดประเดน็ การประเมนิ ออกเป็น 4 สว่ น ซ่ึงมีรายละเอยี ดดังนี้
1. การประเมินสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation : C)เป็นการประเมินก่อนการดำเนินการ

โครงการ เพื่อพิจารณาหลักการและเหตุผล ความจำเป็นที่ต้องดำเนินโครงการ ประเด็นปัญหา และความ
เหมาะสมของเป้าหมายโครงการ เช่น โครงการอาหารเสริมแก่เด็กวัยก่อนเรียน เราจะต้องวัดส่วนสูง และช่ัง
น้ำหนกั ของเดก็ ก่อน

2. การประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation : I )
เปน็ การประเมนิ เพื่อพิจารณาถึงความเปน็ ไปได้ของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพยี งของทรัพยากร
ที่จะใช้ในการดำเนินโครงการ เช่น งบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์เวลา ฯลฯ รวมทั้งเทคโนโลยีและ
แผนการดำเนนิ งาน

3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P )
เป็นการประเมินเพื่อหาข้อบกพรอ่ งของการดำเนินโครงการ ท่ีจะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไข ปรบั ปรุง ให้
การดำเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรัพยากรที่ใช้ใน
โครงการ ภาวะผู้นำ การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการโดยมีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานทุกขั้นตอน การ
ประเมินกระบวนการนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการค้นหาจุดเด่น หรือจุดแข็ง (Strengths) และจุดด้อย
(Weakness) ของนโยบาย / แผนงาน/โครงการซ่ึงมักจะไมส่ ามารถศกึ ษาไดภ้ ายหลังจากสนิ้ สดุ โครงการแล้ว

4. การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P )
เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขี้นกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้
รวมทั้งการพิจารณาในประเด็นของการยุบ เลิก ขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการ แต่การประเมินผลแบบนี้มไิ ด้
ให้ความสนใจต่อเรื่องผลกระทบ (Impact) และผลลัพธ์ (Outcome) ของนโยบาย / แผนงาน / โครงการ
เทา่ ท่คี วร

มโนทัศน์เบื้องต้นของแบบจำลอง CIPP นั้นประเภทของการตัดสินใจที่แตกต่างกันจำเป็นต้องใช้
สารสนเทศในการตัดสินใจที่แตกต่างกนั ดว้ ยแบบจำลองนี้ได้แบ่งการประเมินออกเปน็ 4 ประเภท ดังน้ี
1. การประเมินสภาวะแวดล้อมหรือบริบท (Context Evaluation) เป็นการประเมินที่ช่วยตัดสอนใจเลือก
วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการที่จะดำเนินการ
2. การประเมินปัจจัยหรือทรัพยากร (Input Evaluation) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางเลือกที่
เหมาะสมท่สี ดุ กบั ทรัพยากรทมี่ อี ยู่และเป็นทางเลือกท่ีมีโอกาสทำใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์มากที่สุด
3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เปน็ การประเมนิ ขณะท่นี ำโครงการท่ีวางแผนไว้ไปปฏิบัติ
พร้อมกับการปรับปรุง การดำเนินงานใหม้ ีประสิทธิภาพ

~ 75 ~

-

4. การประเมินผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Product Evaluation) เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงปรับขยายหรือ
ล้มเลิกโครงการ

แผนภูมิ แสดงความสัมพนั ธ์ของประเภทการประเมนิ และประเภทของการตดั สินใจตามรูปแบบ CIPP
ภาพที่ 15 :จากแผนภูมิ สรุปสาระความสัมพันธ์ของการประเมนิ ผลและประเภทของการตัดสนิ ใจ

ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1) การประเมินสภาวะแวดล้อมหรือบริบท (Context Evaluation) เป็นการประเมินโครงการที่
เกี่ยวกับนโยบาย ปรัชญา เป้าหมาย แรงกดดนั ทางเศรษฐกิจและสังคม ความต้องการของบคุ ลหรือหน่วยงานที่
เกย่ี วขอ้ ง ตลอดจนแรงกดดนั ทางการเมือง สารสนเทศที่ไดใ้ ชป้ ระกอบการตัดสินใจเกยี่ วกับการวางแผนในการ
กำหนดวัตถุประสงคข์ องโครงการ/กจิ กรรม ทีเ่ หมาะสมต่อไป

76

~ 77 ~

-

2) การประเมินปัจจัยหรือทรัพยากร (Input Evaluation) เป็นการตรวจสอบความพร้อมของปัจจัยเบื้องต้น
ต่างๆ เช่น บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ เป็นต้น เป็นการประเมินเพื่อมุ่งเน้นว่ามีปัจจัยพร้อม
มูลที่จะดำเนินการหรือไม่ แผนหรือโครงการที่เสนอเหมาะสมหรือไม่ ควรปรับปรุงตรงไหนสารสนเทศที่ได้ใช้
ประกอบการตดั สินใจเกย่ี วกับโครงสรา้ ง เพ่อื วางแผนการจดั โปรแกรมหรือแผนการดำเนินงานที่เหมาะสมที่สุด
เพอ่ื บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ที่ตง้ั ไว้

3) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินผลขณะดำเนินงาน หรือ
ประเมินในเชิงความก้าวหน้า หรือประเมินเพื่อปรับปรงุ โครงการในวงจรการบริหารโครงการศึกษาปัญหาและ
อุปสรรค จุดเด่น จุดด้อย เป็นการประเมินเพื่อหาสาเหตุ การประเมินเป็นระยะๆ เพื่อส่งผลต่อการบรรลุ
เปา้ หมายของโครงการนั่นเอง สารสนเทศท่ไี ด้นำมาใช้ในการตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั การประยุกต์ใช้ การควบคุมหรือ
ปรบั ปรุงแก้ไข วธิ กี ารตา่ งๆใหเ้ หมาะสมทนั ท่วงที ขณะท่โี ครงการกำลังดำเนินอยู่

4) การประเมินผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Product Evaluation) เป็นการประเมินผลหลังจากดำเนินงาน
สิ้นสุดลง ซึ่งประกอบการประเมินผลลัพธ์ (Output Evaluation) โดยพิจารณาจากปริมาณและคุณภาพของ
ผลผลิต เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของโครงการ การนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานอีกส่วนหนึ่ง คือ
ผลกระทบ (Impact) สารสนเทศที่ไดน้ ำมาตัดสนิ คุณค่าของผลผลิตของโครงการทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ
เพ่ือทีจ่ ะตดั สินใจวา่ ควรจะคงไว้ ปรบั ปรุงใหด้ ีขนึ้ หรือลม้ เลิกโครงการ

รูปแบบของการประเมนิ โครงการ
รูปแบบการประเมินโครงการเป็นกรอบแนวคิดหรือแบบแผนที่เป็นระบบ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ควร

ประเมินขั้นตอนและวิธีการประเมิน รูปแบบการประเมนิ จะช่วยชีแ้ นวทางในการประเมนิ ซึ่งได้มีนักวิชาการได้
กล่าวถึงรูปแบบการประเมนิ โครงการไว้ดังนี้

สมคิด พรมจุ้ย (2550 : 49-50) กล่าวว่า รูปแบบการประเมินโครงการ คือกรอบความคิดหรือแบบ
แผนในการประเมินท่ีแสดงให้เห็นถงึ รายการที่ควรประเมิน หรือกระบวนการของการประเมิน ในการประเมนิ
โครงการใดโครงการหนึ่งนั้น เราควรพิจารณาประเมินในเร่ืองใดบ้าง ในขณะเดียวกันบางรูปแบบอาจจะมีการ
เสนอแนะด้วยว่า ในการประเมินแต่ละรายการ แต่ละเรื่อง ควรพิจารณา หรือตรวจสอบอย่างไร ซึ่งเป็น
ลกั ษณะการเสนอแนะวิธกี าร โดยทว่ั ไปแบง่ ออกเป็น 3 กลุ่ม คอื

1. รูปแบบการประเมินที่เน้นจุดมุ่งหมาย (Objective Based Model) เป็นรูปแบบที่เน้นการ
ตรวจสอบผลท่ีคาดหวงั ได้เกดิ ข้นึ หรือไม่ หรอื ประเมินโดยตรวจสอบผลท่ีระบุไวใ้ นจุดมุ่งหมายเป็นหลักโดยดูว่า
ผลทเ่ี กิดจากการปฏิบตั ิงานบรรลจุ ดุ ม่งุ หมายท่ีกำหนดไวห้ รือไม่ ได้แก่ รูปแบบการประเมินของไทเลอร์(Tyler)
ครอนบาค (Cronbach) และเครกิ แพตทริค (Kirkpatrick)

78

2. รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่า (Judgmental Evaluation Model) เป็นรูปแบบการ
ประเมินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศสำหรับกำหนดและวินิจฉัยคุณค่าของโครงการนั้น
ไดแ้ ก่ รปู แบบการประเมินของ สเตค (Stake) สครฟิ เว่น (Scriven) และโพรวสั (Provus)

3. รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินใจ (Decision - Oriented Evaluation Model) เป็นรูปแบบ
การประเมินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลและข่าวสารต่างๆ เพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจเลือก
ทางเลอื กตา่ งๆได้อย่างถูกต้อง ได้แก่ รูปแบบการประเมินของ เวลซ(์ Welch) สตัฟเฟิลบีม(Stufflebeam) และ
อัลคิน (Alkin)

ข้ันตอนการประเมินโครงการ
ในการประเมินขน้ั ตอนการประเมินแบ่งออกเปน็ 5 ขัน้ ตอน (สมหวัง พิธยิ านุวฒั น์ : 2544) ดงั ต่อไปน้ี

แผนภมู ิ : แสดงวงจรระเบยี บวิธีการประเมนิ

ภาพท่ี 16 : แผนภูมิ : แสดงวงจรระเบียบวิธกี ารประเมนิ
ข้ันที่ 1

กำหนดขอบเขตและวตั ถุประสงค์ของการประเมนิ ในขน้ั ตอนน้ี ผู้ประเมินจะดำเนินการดังนี้
1.1 ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงการหรือสิ่งที่มุ่งประเมินกับวัตถุประสงค์หลักการของ
โครงการ ใครเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบ ใครบา้ งที่ตอ้ งหารใชผ้ ลประเมนิ น้ี
1.2 สัมภาษณ์ผู้บังคับบังชาของผู้ประเมิน และกลุ่มผู้ใช้ผลประเมิน เกี่ยวกับความต้องการใช้ผล
ประเมนิ ต้องการใช้เมื่อใด ตอ้ งการสารสนเทศในประเดน็ ใดบ้าง
1.3 จากข้อมูล 1.1 และ 1.2 กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมิน เป็นที่น่าสังเกตว่า
วตั ถุประสงค์ของการประเมนิ เปน็ ผลมาจากการศึกษาความต้องการของผู้ใช้ผลประเมิน และจากวัตถุประสงค์
หลกั ของโครงการ หรอื สิง่ ท่มี งุ่ ประเมิน

~ 79 ~

-

ขัน้ ที่ 2

วางแผนการประเมิน เมื่อกำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์การประเมนิ แล้ว นำวัตถุประสงค์ของการ

ประเมนิ ในแตล่ ะขอ้ มาวเิ คราะห์เพื่อวางแผนการประเมนิ แล้วกรอกลงในแบบวางแผนประเมนิ ดงั น้ี

ตารางที่ 12 : วตั ถุประสงค์ของการประเมิน

วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมิน

ประเภทของ ประเด็น แหล่งท่ีมาของ เวลาทเ่ี ก็บ วธิ ีการเก็บ วิธีวิเคราะห์
การประเมิน คำถาม ข้อมูล ข้อมูล ขอ้ มูล ข้อมูล

จากวัตถุประสงค์ของการประเมิน ผู้ประเมินนำมาวิเคราะหว์ ่าเป็นประเภทไหนของการประเมิน เชน่
ประเมินสภาวะแวดล้อม ประเมินปัจจัยเบื้องต้น ประเมินกระบวนการ การประเมินผลผลิต ฯลฯ ประเด็น
คำถามเพ่ือจะได้ช่วยให้เกบ็ ข้อมูลอย่างครบถ้วน แหลง่ ที่มาของขอ้ มลู ที่ต้องการอาจมาจากผู้เข้าร่วมโครงการผู้
สังเกตการณ์ เอกสาร หรือผลการปฏิบัติตา่ งๆ ช่วงเวลาที่เก็บขอ้ มูล แบ่งเป็น 3 ช่วง ก่อนการดำเนินโครงการ
และขณะโครงการดำเนนิ โครงการอยูแ่ ละเมื่อสนิ้ สดุ โครงการ
ขน้ั ท่ี 3

ดำเนินการประเมินตามแผน เมื่อจัดทำแผนการประเมินเรียบร้อยแล้ว จะเริ่มเก็บรวบรวมข้อมูล
ในช่วงตา่ งๆโดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามท่รี ะบุไว้ในแผนการประเมนิ
ขั้นท่ี 4

วิเคราะหข์ อ้ มลู แจงนับรวบรวมขอ้ มูล เพือ่ ทำการวเิ คราะหต์ ามวัตถุประสงค์ของการประเมินแต่ละข้อ
แล้วสรปุ ว่าวัตถปุ ระสงคน์ ้ันๆบรรลหุ รอื ไม่ เพียงใด มปี ัญหา หรอื อุปสรรคอยา่ งไรบา้ ง
ขั้นท่ี 5

รายงานผลการประเมิน โดยทั่วไปรายงานการประเมินผลมักจะทำเป็นลายลักษณ์อักษรในรูปของ
รายงาน ซึ่งอาจแบ่งเป็นรายงานรวมฉบับเดียว หรือการประเมินผลโครงการ และการติดตามผลหรือแยกเป็น
รายงาน 2 ฉบับ คือ รายงานการประเมินผลโครงการหลังจากเสร็จสิ้นการดำเนินงาน โดยยังไม่ได้ดำเนินการ
ติดตามผล และรายงานการติดตามผล หลงั จากสิ้นสุดโครงการไปแล้วไมน่ ้อยกว่า 6 เดอื น

80

การเขยี นโครงการประเมิน
โครงการประเมิน คือ แผนการประเมิน ซึ่งเป็นการเสนอกรอบความคิดในการประเมินว่า ทำไมต้อง

ประเมิน ประเมนิ เพอื่ ใคร ประเมนิ อะไร ประเมนิ อย่างไร ใช้อะไรเปน็ เกณฑ์ในการตัดสิน ประเมินเมือ่ ไรและใช้
ทรัพยากรมากนอ้ ยเพียงไร
ความสำคญั ของการเขียนโครงการประเมิน

1) เปน็ การวางแผนสำหรบั ดำเนนิ งานอยา่ งมีขน้ั ตอน และมรี ะบบแบบแผน
2) เป็นพิมพเ์ ขยี วของการดำเนินงานเพ่ือประเมนิ โครงการ
3) เป็นข้อสญั ญาทผ่ี ู้ประเมนิ จะตอ้ งปฏบิ ัติ
4) ช่วยในการประมาณการค่าใช้จา่ ย แรงงาน และระยะเวลาของการประเมิน
5) เปน็ ประโยชน์ตอ่ การพจิ ารณาอนุมตั หิ รอื การใหท้ นุ สนบั สนนุ การประเมนิ
6) ช่วยใหส้ ามารถตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานตามโครงการประเมนิ ได้

ตารางท่ี 13 : กรอบความคดิ ของการเขยี นโครงการประเมนิ

1 ประเมนิ ทำไม หลักการและเหตผุ ลของการประเมนิ

2 ประเมินเพ่ือใคร ใครคือผู้ใช้ผลการประเมิน

3 ประเมนิ อะไร วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน

4 ประเมินอยา่ งไร การออกแบบวธิ กี ารประเมนิ

5 ใชอ้ ะไรเป็นเกณฑ์ในการตดั สินใจ ตัวบง่ ช้แี ละเกณฑ์การประเมิน

6 ประเมนิ เม่ือไร กำหนดการของกจิ กรรมและระยะเวลา

7 ใช้ทรพั ยากรมากน้อยเพียงไร งบประมาณการประเมนิ

~ 81 ~

-

โครงสรา้ งการเขียนโครงการประเมนิ
1) ช่ือโครงการประเมิน
2) ผู้เสนอโครงการ/ผู้รับผิดชอบ/หนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบ
3) ปที ี่ทำการประเมิน
4) ความเปน็ มาของการประเมิน/เหตผุ ลท่ตี อ้ งประเมนิ
5) วัตถุประสงค์ของการประเมิน
6) ขอบเขตของการประเมิน
– โครงการทมี่ งุ่ ประเมิน/สาระโดยสรปุ
– ตัวแปร/รายการที่ศึกษา
7) ข้อตกลงเบอื้ งต้น
8) คำจำกัดความท่ใี ช้ คำจำกัดความท่เี ก่ยี วข้อง
9) ข้อจำกัดของการประเมนิ (ไมจ่ ำเปน็ จะไมเ่ ขยี นยกเวน้ กรณวี กิ ฤต)
10) แนวทางการดำเนินงาน
– แหล่งข้อมลู /กลุ่มตวั อย่าง
– เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ขนั้ ตอนการพฒั นาเครือ่ งมือ
11) งบประมาณทใ่ี ช้
12) แผนการเผยแพรผ่ ลการประเมิน/การนำเสนอผลการประเมิน
13) ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ
14) ปฏิทนิ การปฏบิ ัติงาน
15) บรรณานกุ รม
16) ภาคผนวก

การประเมินสามารถแบ่งไดด้ งั นี้
1. การประเมินกอ่ นมีการสมั มนามีหลักการท่ีควรพิจารณาดังต่อไปนี้
1.1 ความเหมาะสมของโครงการว่ามีความเหมาะสมสอดคล้องสงิ่ ต่อไปนหี้ รือไม่
- อาชพี ประจำ
- วัฒนธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณีความเปน็ อยู่ในท้องถ่ิน
- ส่ิงแวดลอ้ มในสังคม
1.2 ผลตอบแทนจากการดำเนินโครงการโดยพิจารณาว่าโครงการที่ดำเนินการมีกำไรหรือขาดทุน
หรือไม่ซึ่งผลตอบแทนอาจจะไม่ได้อยู่ในรูปแบบของตัวเงิน แต่ให้พิจารณาถึงประโยชน์ในการพัฒนา
บคุ ลากรหรือการพัฒนาบคุ ลากรในทอ้ งถ่นิ

82

2. การประเมินขณะดำเนินการจัดสัมมนาประเมินขณะดำเนินการจัดสัมมนาเพื่อติดตามการปฏิบัติงาน
ของฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดสัมมนาการประเมินขณะดำเนินการจัดสัมมนาจะทำให้ทราบถึง
กระบวนการดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่และดำเนินงานในฝ่ายต่างๆ มีประสิทธิภาพ
เพียงใด

3. การประเมินผลการสมั มนาจากผเู้ ข้าร่วมสัมมนา
3.1 การประเมินผลการสัมมนาเพื่อให้ทราบว่าโครงการที่ดำเนินการนั้นบรรลุวัตถุประสงค์ของ
โครงการหรือไม่ จะประเมนิ ขณะดำเนนิ การสัมมนา
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาประเมินผล โดยเฉพาะการประเมินปฏิกิริยาของ
ผู้เข้าร่วมสมั มนาท่ีนิยมใชโ้ ดยทว่ั ไปคือ แบบสอบถามและการสมั ภาษณ์

การทบทวนหลงั การปฏิบตั งิ าน
มผี ู้ให้ความหมายของ AAR ดังน้ี
• การทบทวนหลังการปฏิบตั ิงาน, การทบทวนหลังปฏบิ ัติงาน
• การเรยี นรูร้ ะหวางทํางาน
• การเรยี นรหู้ ลงั การทำงาน
• เครอ่ื งมอื การวเิ คราะห์หลังการปฏบิ ัติ
• การสรปุ บทเรยี นจากการเรียนรู้
• การประชมุ กลุ่มเพือ่ ทบทวนการปฏบิ ัติ

ความหมายของ After Action Review หรือ AAR
มผี ู้ใหค้ วามหมายของ AAR ไว้หลายทา่ น ดงั น้ี
Major R. Kennedy, Canada Army กล่าวว่า การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน คือ การอภิปราย/

ปรึกษาหารือ/แลกเปลี่ยนความเห็น/แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างมืออาชีพ ภายหลังเสร็จสิ้นการฝึกหรือการ
ปฏิบัตกิ าร ที่มุ่งเน้นใหไ้ ดค้ ําตอบทีช่ ัดเจนในประเด็นท่ีวา่ เกิดอะไรขึ้น(ผลการปฏิบัติเป็นอยา่ งไร) ทําไมจึงเป็น
เช่นนั้น แลว้ เราจะพัฒนาให้ดียิง่ ขึ้นไดโ้ ดยวธิ กี ารใด

นิพัทธ์กานตอัมพร กลา่ วว่า AAR คอื การประชมุ กลุม่ เพื่อทบทวนการปฏบิ ตั ภิ ารกิจท่ีไดท้ ำไปแล้วว่ามี
ผลอยา่ งไร และมีอะไรทเี่ ป็นความรู้ บทเรียน และสามารถนําไปใช้ในการพัฒนาการปฏบิ ัติในครงั้ ต่อไป ทั้งของ
ตนเองและบุคคลอนื่

อุดม พัวสกุล (2552 หน้า 24) กล่าวว่า AAR คือ การเปิดใจและการเรียนรู้หลังการทำกิจกรรมใด
กิจกรรมหนึ่งเสร็จสิ้นลง เพื่อถอดบทเรียนชื่นชมความสำเร็จและหาทางพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น เป็นขั้นตอนหนึ่งใน
วงจรการทำงาน เปน็ การทบทวนวธิ ีการทำงานทง้ั ด้านความสำเร็จ และปัญหาทเ่ี กดิ ขึน้ ทง้ั นไี้ ม่ใช่เพ่ือค้นหาคน
ที่ทำผิดพลาด ไม่ใช่การกล่าวโทษใครทั้งสิ้น แต่เป็นการทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน เพื่อ
แกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ ไมใ่ หเ้ กิดปญั หานี้ขึ้นอีก ในขณะเดยี วกันก็คงไว้ซ่ึงวิธีการที่ดอี ยูแ่ ล้ว

~ 83 ~

-

ความเป็นมาของ AAR
(สรปุ จากเอกสารประกอบการบรรยายของ รศ.ดร.เนาวรัตน์พลายนอ้ ย)

AAR เป็นเครื่องมือที่เชื่อในแนวคิด “ตีเหล็กที่กําลังร้อน” โดยพัฒนามาจากการพัฒนากระบวนการ
เรียนรู้ในกองทัพสหรัฐอเมริกา โดยเริ่มใช้มาตั้งแต่ค.ศ.1970 (พ.ศ.2513) ในช่วงที่สหรัฐอเมริกาประสบความ
พ่ายแพ้ต่อสงครามเวียดนามซึ่งความภาคภูมิใจในตนเองของทหารอเมริกาเสื่อมถอยไปมาก แต่ด้วย
กระบวนการ AAR ที่เข้มข้นจริงจังหลังจากนั้น ทำให้กองทัพสหรัฐอเมริกามีการเรียนรู้เป็นอย่างมากจนทำให้
ความรู้สึกภาคภูมิใจในกองทัพได้หวนกลับมาอีกครั้ง และได้จัดให้ AAR มีสถานะเป็นระบบการเรียนรู้เชิง
สถาบนั (Institutional Learning system) ทส่ี ำคญั ของทหารอเมริกันในชว่ ง 20 ปีเศษที่ผา่ นมานี้

กล่าวกันว่าในกระบวนการ AAR นั้น นายทหารที่มีอาวุโสน้อยสามารถตั้งคําถามเพื่อการเรียนรู้จาก
นายทหารที่มีอาวุโสสูงกว่า เพื่อสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ระหว่างกันได้ แทนที่จะเพียงรับฟังคำสั่งเพียงอย่าง
เดียว อีกทั้งในกระบวนการฝึกร่วมคอบบร้าโกลด์ระหว่างทหารไทยกับสหรัฐอเมริกาก็มีการนําเครื่องมือAAR
มาใชอ้ ย่ดู ้วย

ต่อมามีการนํา AAR มาใช้ในภาคพลเรือนตั้งแต่ค.ศ.1990 (พ.ศ.2533) อย่างไรก็ตามวัฒนธรรมของ
กองทัพกับพลเรือนน่าจะมีความแตกต่างกันอยู่บ้าง โดยเฉพาะ AAR ของทหารน่าจะมองเห็นเป็นรูปธรรม
มากกว่า ด้วยความจําเป็นที่ต้องคํานึงทางรอดในการปฏิบัติการทางทหาร ขณะที่พลเรือนที่ใช้ AAR เพื่อเป็น
เคร่อื งมือในการเรียนรู้ในโครงการพฒั นานั้น ไม่มีมิติของความเปน็ ความตายทางกายภาพมาเก่ยี วข้อง AAR ใน
กลุ่มพลเรือนจึงต้องอาศัยฉันทะ ความใฝ่รู้ วัฒนธรรมการเรียนรู้ของกลุ่ม ตลอดจนต้องมีเงื่อนไขสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรูส้ นบั สนุนอย่างเหมาะสมดว้ ย

AAR ที่นาํ มาประยุกตใ์ ชใ้ นโครงการพฒั นานนั้ มชี ื่อเรียกต่างๆกนั เชน่ Lesson Learned
(กรณีศึกษา), Post-operation view (การสรุปหลังการปฏิบัติการ), Learning review (การทบทวนการ
เรียนร)ู้ และ Learning after the event (การเรียนรหู้ ลังเกิดสถานการณ์) เป็นตน้ แต่คาํ ถามหลัก ๆ เพ่ือการ
เรียนรู้ที่เรียกกันว่า Key Learning points (ประเด็นการเรียนรู้หลัก) จะไม่แตกต่างกันมากนัก ดังเช่นชุด
คาํ ถามตอ่ ไปน้ี

- เราวางแผนกันไวอ้ ยา่ งไร อะไรคือจดุ หมายของการปฏบิ ัติการ
- เม่อื เราดำเนนิ โครงการพฒั นาไประยะหนึ่งแล้วส่ิงใดเกิดขนึ้ ส่ิงใดเปน็ ไปตามทว่ี างแผนไว้ /ทําไมเป็น
เชน่ น้ัน
- สงิ่ ใดไม่เปน็ ไปตามท่ีวางแผนไว้ / ทำไมเปน็ เช่นนัน้
- เรามีปญั หาอะไรบา้ ง
- เราน่าจะสามารถทำสิง่ ใดใหด้ ีข้ึนกว่าเดิมได้บา้ ง
- ในการดำเนินงานครัง้ ต่อไป ส่ิงใดทเ่ี ราจะปฏิบตั แิ ตกต่างไปจากครง้ั ท่ีผ่านๆมาบา้ ง
พน้ื ฐานของ AAR

84

(สรปุ จากเอกสารประกอบการบรรยายของ Major R. Kennedy, Canada Army)
การวจิ ารณ์ (Critique)เป็นการสอื่ สารทางเดยี วเปน็ สว่ นใหญ่ เพือ่ แจง้ การประเมินผลการปฏิบัติของ

ทีมหรือบคุ คล โดยจะให้โอกาสผเู้ ขา้ รว่ มฟังในการบง่ บอกจดุ แข็งหรือจุดทค่ี วรปรับปรงุ ของตนเอง ผ้ทู ่ีอาวุโสใน
ทีป่ ระชมุ จะเป็นผูเ้ ติมเต็มในจุดทตี่ ้องการคาํ ตอบ

ประโยชน์ของการใช้ระบบวิจารณ์คือ ใช้เวลาน้อยและใช้ได้ดใี นกรณที ี่ขีดความสามารถของผู้เข้าร่วม
ฟงั ในการวเิ คราะห์ผลการปฏิบตั ขิ องตนเองมีนอ้ ยเนอื่ งจากมีประสบการณน์ อ้ ย

การสนทนาซกั ถาม (Debrief) เปน็ กระบวนการเพอื่ ให้ไดข้ อ้ มลู ข่าวสารหรือสารสนเทศ
(Information) จากกําลังพลที่เราส่งไปฝึกหรือปฏิบัติการมา เป็นการสื่อสารที่เป็นสองทางมากขึ้น กําลังพลท่ี
ไปฝกึ /ปฏิบัติการมาจะมีโอกาสไดร้ ับข้อมูลย้อนกลบั (Feedback) เกีย่ วกับการประเมนิ ผลการปฏิบัติของพวก
เขาอยา่ งไรกด็ กี ารวจิ ารณ์ (Critique) และการสนทนาซักถาม (Debrief)เปน็ คําทีส่ ามารถใช้ทดแทนกันได้

การเรียนรู้จากสถานการณ์แบบเร่งด่วน (Hot Wash Up)เป็นการนํากรณีศึกษาจากการฝึกใน
สถานการณ์ต่าง ๆ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบเร่งด่วน เป็นการดำเนินการที่ไม่ต้องใช้เวลาและทรัพยากร
สนับสนุนมากนัก วัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ว่า เกิดอะไรขึ้น(ทั้งด้านดีและไม่ดี) ทําไมถึงเป็นเช่นน้ัน
และเราจะพัฒนาใหด้ ีขึ้นได้อยา่ งไร
เปา้ หมายของ AAR

เป้าหมายหลัก ได้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนาการทำงาน ที่มาจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั
อย่างกว้างขวางและไม่มีข้อจํากดั ของบุคลากรที่ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกนั ในลกั ษณะทมี งาน โดยมงุ่ เรยี นรู้ใหท้ ันเวลา

เป้าหมายอื่น ๆ ได้ความรู้เทคนิคต่าง ๆ ในการปฏิบัติงาน ที่แต่ละคนในทีมงานได้พูดคุยแสดงความ
คดิ เห็นกนั เปน็ การแชรป์ ระสบการณร์ ะหวา่ งบุคลากรในทีม ตลอดจนส่งเสรมิ ลักษณะการทำงานเปน็ ทีม
ประโยชนข์ อง AAR

- ได้แนวทางในการปรับปรุง/พัฒนางาน นําไปสู่การทำงานที่ลดความยุ่งยาก เหนื่อยน้อยลง
ได้ผลดขี นึ้

- ได้ฝกึ ทกั ษะในการพูด และการฟัง
- เปน็ พ้นื ฐานทส่ี ำคัญของการเรยี นรเู้ ป็นทีม (Team Learning) ซงึ่ เป็น 1 ใน 5 ของแนวปฏบิ ัติ
สู่การเปน็ องคก์ ารแห่งการเรียนรู้
- เป็นการพฒั นาความสมั พันธส์ กู่ ารทำงานเป็นทีม
- ทำให้การจดั การความรเู้ ปน็ เรอื่ งง่าย ๆ ทีใ่ ชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง
- ทำให้ทราบถึงสิ่งที่เราปฏิบัติได้ดีอยู่แล้ว หรืออาจบังเอิญปฏิบัติได้ดีเพื่อบันทึกจดจํา และ
รักษาไว/้ พัฒนาให้ดยี งิ่ ขึ้น
- ทำให้เราทราบขอ้ ผิดพลาด และวิธกี ารปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ ดิ ซ้ำ
ขัน้ ตอนของ AAR

~ 85 ~

-

1. วางแผนและแจ้งให้ทีมงานทราบว่าจะมีการทำAAR ตั้งแต่ก่อนการทำงาน โดยระหว่างการทำงาน
นั้น เราต้องการให้ทีมงานเก็บข้อมูลหรือสังเกตจดจําเรื่องใด ขั้นตอนนี้หากสามารถท ำเป็น BAR
(BeforeAction Review) หรือ การซกั ซอ้ มก่อนการปฏบิ ัตงิ าน ก็จะสมบรู ณ์ยง่ิ ขนึ้

2. เม่ือปฏิบตั งิ านเรยี บรอ้ ยแลว้ ใหจ้ ดั เตรียมสถานที่และนัดแนะเวลาท่ีจะมาทำAAR
3. หากเป็นการทำAAR ครั้งแรก ให้สรรหาผู้ที่จะทำหน้าที่เป็นผู้อํานวยความสะดวกในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Facilitator) หรือฟา รวมทั้งอาจมีการจัดให้แนะนําตัว หรือทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
บรรยากาศท่ดี ีในการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
4. ดำเนินการ AAR โดยให้ “ฟา” ถามตามข้อคําถามทท่ี มี งานต้องการ ซึง่ ข้อคําถามน้ีจะ
เปลี่ยนไปตามความต้องการและความจําเป็นของงานที่ปฏิบัติแต่จะมีความถามที่เป็นแกนในแนวกลางๆ 4
คําถาม คือ (1) เราคาดว่าผลที่เกิดขึ้นควรจะเป็นอย่างไร (2) แล้วผลที่เกิดขึ้นจริงๆ คืออะไร (3) เพราะเหตุ
อะไรจงึ เกดิ เป็นเช่นนั้น และ (4) เราได้เรียนรู้อะไรจากสง่ิ ที่เกิดขึน้ ในการทำAAR
5. ทีมงานร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแนวทางของข้อคําถามในข้อ 4 รวมทั้งประเด็นอื่นๆ ที่น่าสนใจ
โดยสมาชิกทุกคนสามารถเปิดประเด็นใหม่ทีเ่ กี่ยวข้องกับงานตามหวั ข้อ AAR ได้ในการกำกับดูแลของฟา โดย
ให้มกี ารคดิ วิเคราะห์เพื่อใหไ้ ด้แนวทางในการปฏบิ ัติทีด่ ีท่ีสุด
6. บันทึกความรู้/แนวทางการปฏิบัติที่ได้รวมทั้งข้อควรระวังในการปฏิบัติครั้งต่อไป ในรูปแบบที่
สะดวกตอ่ การเขา้ ใจ และจัดเกบ็ ใหส้ ะดวกต่อการเข้าถึงเพ่ือเรยี นรูแ้ ละนำมาใช้ในการปฏบิ ัติครั้งต่อไป โดยอาจ
จดั ทำเปน็ แบบฟอร์ม หรอื บางแห่งเรยี กแบบฟอร์มนีว้ า่ SAR (Self Assessment Report) เสนอผบู้ งั คบั บญั ชา
ตามสายงานทราบ

86

ภาพผนวก ก
เอกสารประกอบการดำเนินงานการจัดสมั มนา

~ 87 ~

-

โครงการไม่ใชง้ บประมาณเงนิ รายไดค้ ณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

…………………………………………………………………………………………………………….
ช่อื โครงการ

สัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ “อัตลักษณ์และความหลากหลายกับการพัฒนา สาม
จงั หวัดชายแดนใต้”

ประเภทโครงการ
HUSO 04 โครงการพฒั นาหลักสูตรและการเรยี นการสอน

หลักการและเหตผุ ล
การจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวขอ้ “อัตลักษณ์และความหลากหลายกับการพัฒนา

สามจงั หวดั ชายแดนใต้”ประจำปี 2564 เปน็ ความรว่ มมือของนักศึกษา โดยมคี ณาจารย์หลักสูตรศิลปะศาสตร์
บัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นที่ปรึกษา ซึ่งในการจัด
โครงการในครั้งนี้เป็นการจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ เพื่อพัฒนาให้นักศึกษาเรียนรู้กระบวนการและ
เพิ่มศักยภาพของการจัด สัมมนา และเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงร่างการศึกษา
อิสระ ระหว่างผ้ทู รงคุณวุฒิ ผนู้ ำเสนอ และผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ซ่ึงนำไปสูอ่ งค์ความรโู้ ดยใชก้ ระบวนการวิจัยเป็น
ฐานในการเรียนรู้ที่เชื่อมโยง ทฤษฎีและการปฏิบัติภายใต้การแสวงหาความรู้จากงานวิจัยอย่างต่อเนื่องและ
เป็นระบบผ่านกระบวนการจัด สัมมนาเพื่อเรียนรู้กระบวนการวางแผนการดำเนินงานภายใต้สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และปรับตัวท่ามกลาง
สถานการณโ์ ลกท่ีมกี ารเปล่ยี นแปลงอยู่ ตลอดเวลา

จากสถานการณข์ ้างตน้ นักศกึ ษาและคณาจารย์ หลกั สูตรศลิ ปะศาสตร์บณั ฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม
ได้เล็งเห็นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในการจัดสัมมนาท่ามกลางสถานการณ์
Covid-19 ซึ่งมีการปรับเปลีย่ นเป็นรูปแบบ Online และเป็นเวทีในการแลกเปล่ียนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครง
รา่ งการศกึ ษาอิสระ โดยผลการจัดสมั มนาคร้ังนี้มีความคาดหวังว่าจะสามารถสร้างองค์ความรู้ผ่านกระบวนการ
ต่างๆ ในการช่วยเหลือและพัฒนาสังคมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม และสามารถสร้างสรรค์
ผลงาน และนวัตกรรมในการพัฒนาสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนใน
สังคมต่อไป
วัตถุประสงค์

1. เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงร่างการศึกษาอิสระระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ
ผ้นู ำเสนอ และผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ

2. เพือ่ พฒั นาศักยภาพของนักศึกษาให้มีความสามารถเก่ยี วกบั การจัดสัมมนา

88

ผูร้ ับผิดชอบโครงการ

นางสาวอาราฟัต บินดเุ หลม็ ตำแหนง่ ประธาน สาขาวิชาพฒั นาสงั คม

นางสาวปนดั ดา ลมิ่ วฒั นานุรักษ์ ตำแหน่งรองประธาน สาขาวชิ าพัฒนาสังคม

นางสาวอารดิ า ทิง้ นำ้ รอบ ตำแหน่งเลขานกุ าร สาขาวิชาพฒั นาสงั คม

นายมฮู ำหมอั อาฟกิ ยา ตำแหนง่ เลขานกุ าร สาขาวิชาพัฒนาสงั คม

นางสาวอาฟีฟะห์ อาบู ตำแหนง่ เหรญั ญกิ สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม

นายโดม เกตุสง่า ตำแหน่งพิธกี าร สาขาวิชาพฒั นาสังคม

นายอดสิ รณ์ เทศอาเสน็ ตำแหนง่ โสตทัศนปู กรณ์ สาขาวิชาพฒั นาสงั คม

นางสาวซไู มยะห์ ลาเตะ๊ ตำแหนง่ โสตทัศนปู กรณ์ สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม

นางสาวฟาซรี า เจะเลาะ ตำแหน่งประสานงาน สาขาวิชาพัฒนาสงั คม

นางสาวอานีรา แวเดง็ ตำแหน่งประสานงาน สาขาวิชาพัฒนาสังคม

นางสาวซูลฝา เจะเลาะ ตำแหน่งทะเบียน/วิชาการ สาขาวิชาพฒั นาสงั คม

นางสาวมาซือนะห์ มะสะ ตำแหน่งทะเบียน/วิชาการ สาขาวิชาพัฒนาสังคม

นางสาวฟาดีละห์ เจะหะ ตำแหนง่ ทะเบียน/วิชาการ สาขาวิชาพฒั นาสงั คม

นางสาวกนกวรรณ สุวรรรส ตำแหนง่ ประเมนิ ผล สาขาวชิ าพัฒนาสงั คม

นางสาวสุฮยั ณี อาหวงั ตำแหนง่ ประเมนิ ผล สาขาวชิ าพฒั นาสังคม

ดร.จิรัชยา เจยี วกก๊ ตำแหนง่ อาจารย์ สังกัดภาควิชาสงั คมศาสตร์

ดร.อลิสา หะสาเมาะ ตำแหนง่ อาจารย์ สงั กัดภาควิชาสงั คมศาสตร์

อาจารย์อับดลุ คอลกิ อรั รอฮมี ยี ์ ตำแหน่งอาจารย์ สังกดั ภาควิชาสังคมศาสตร์

เปา้ หมายของโครงการ

1. เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ

- นักศกึ ษาสาขาวิชาพัฒนาสงั คม เข้ารว่ มโครงการจำนวนไม่น้อยกวา่ 50 คน

- คณาจารย์ และผู้ทรงคณุ วุฒิเขา้ รว่ มโครงการจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน

2. เปา้ หมายเชิงคุณภาพ

- นักศกึ ษาที่เข้าร่วมโครงการไดแ้ ลกเปลยี่ นเรียนรู้ประสบการณ์ทางด้านวชิ าการผา่ นการนำเสนอโครง

รา่ งการศกึ ษาอิสระ

- นกั ศกึ ษาผู้จัดงานสัมมนาได้เรียนรูก้ ระบวนการจัดสัมมนาและสามารถนำความรทู้ ี่ไดจ้ ากการเข้าร่วม

ไปใชใ้ นงานสมั มนาอนื่ ๆ

ด้านผลผลติ (output)

1. เพื่อเปน็ เวทีในการเผยแพร่ผลงานวชิ าการในกลุม่ สาขาต่าง ๆ

2. กระตุ้นใหเ้ กิดการแลกเปลี่ยนความรรู้ ะหวา่ งกลุ่ม จากประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั เพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพ

งานมากข้ึน

~ 89 ~

-

3. เพ่อื พัฒนาศักยภาพของตนเองใหม้ ีความร้คู วามสามารถในดา้ นวิชาการ

ด้านผลลัพธ์ (outcome)

1. เป็นการกระตุ้นใหเ้ กดิ การเรียนรู้ภายในตัว

2. ผูเ้ ขา้ ร่วมมีความรูเ้ ก่ียวกับการจัดสมั มนาการนำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระเพิม่ ข้ึน เพอื่ เปน็

แนวทาง

ในการจดั สัมมนาครัง้ ต่อไป

ความสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์

การทำงานเชิงบูรณาการ (ดา้ นการเรยี นการสอน และดา้ นการบริหารจัดการองค์กร)

การพฒั นาศกั ยภาพความเปน็ มอื อาชพี ของบุคลากร

HUSO Engagement การค้นคว้าองค์ความรู้และให้บริการวิชาการบนความรับผิดชอบและประโยชน์ต่อ

สงั คม

ความเปน็ นานาชาติ และเครือข่ายความสมั พนั ธท์ ีเ่ ขม้ แข็ง

การบริหารจัดการเพื่อความเปน็ องค์กรท่ีมปี ระสทิ ธิภาพสูง

ความสอดคล้องตามคณุ ลักษณะนักศึกษา (ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวัง)

 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

 ด้านความรู้และทกั ษะทางปญั ญา

 ด้านทักษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบ

 ดา้ นทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสอื่ สาร ละการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

สอดคลอ้ งกบั การดำเนนิ งานตามแนวทางการประกันคุณภาพ

1 ระดบั /เกณฑ์  คณะ (EdPEx) ระดบั หลกั สตู ร (CUPT QA)

 หนว่ ยงานสนับสนุน (LEAN)

2 ตัวช้วี ัด  การบริหารจดั การ  อาจารย์/บคุ ลากร  บัณฑติ /ศิษย์เก่า

 นกั ศกึ ษา  งานวิจัย บริการวิชาการ

 ทำนบุ ำรุงศลิ ปวัฒนธรรม  อนื่ ๆ..................................................

สถานท่ีจัดโครงการ

คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินท์ วิทยาเขตปัตตานี

หมายเหตุ : จดั ในรูปแบบออนไลน์ (Zoom)

ระยะเวลาการดำเนินโครงการ

วนั ศุกร์ ที่ 20 สงิ หาคม 2564

90


Click to View FlipBook Version