คำนำ
คมู่ ือประกอบการสัมมนาวชิ าการฉบับน้ี เป็นสว่ นหนึง่ ของรายวิชา 428-481 การสัมมนาในการพฒั นา
สังคม (Seminar in Social Development) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นเวทีในการเผยแพร่ผลงานวิชาการ
ของนักศึกษาสาขาวิชาพัฒนาสังคม และเพื่อเรียนรู้เสริมประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาในรายวิชาการ
สัมมนาและรายวิชาการศึกษาอิสระ ทำให้เกิดพื้นที่ทางวิชาการในการพัฒนาตนเอง และเพื่อพัฒนาศักยภาพ
ของนักศึกษา สาขาวิชาพัฒนาสังคม ให้มีความรู้ความสามารถด้านการจัดสัมมนาวิชาการการพัฒนาสังคมได้
อย่างมีมาตรฐานกระบวนการดำเนินงาน ดังนี้ (1) ประชุมและวางแผนการจัดโครงการ ซึ่งการทำงานในกลุ่ม
จะมีการประชุมและวางแผนโดยมีการแบ่งหน้าที่ที่ชัดเจนตามฝ่ายท่ีได้รบั ผิดชอบ เพื่อให้การทำงานดำเนินไป
ในทศิ ทางที่กำหนดตามเป้าหมายที่ตง้ั ไว้ (2) ประสานงานและเตรียมงานซึ่งกลุ่มหลักๆท่ีรับผิดชอบจะเป็นฝ่าย
ประสานงานโดยเราจะมีการทำใบเชิญ เพื่อประสานไปยังผู้ทรงคุณวุฒิและคณาจารย์ ส่วนการประสานงาน
อื่นๆ เพื่อให้คนเข้าร่วมนั้นทางกลุ่มจะประสานงานผ่านการทำโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ นอกจากนี้การเตรียม
งานในการจัดงานสัมมนาก็จะมีการเตรียมอุปกรณ์ทั้งหมด เช่น การเตรียมสถานที่ อาหารว่างสำหรับ
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ และผู้เข้าร่วม เป็นต้น (3) การดำเนินโครงการ ซึ่งการดำเนินโครงการการจัดขึ้น วัน
ศุกร์ ท่ี 20 สิงหาคม 2564เวลา 08.30น. - 16.00 น. สถานท่ีผ่านระบบ Zoom ออนไลน์ (4) สรุปโครงการจัด
สัมมนา (5) ประเมนิ ผลแบบ AAR
ทั้งนี้การจัดสมั มนาวิชาการ ทำขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดสัมมนา ขั้นตอนการจดั
สัมมนา การเขียนรายงานการสัมมนา และการจัดการเรียนการสอนด้วยการสัมมนา นอกจากนี้ เป็นการ
รบั ทราบผลการดำเนนิ โครงการ ตลอดจนขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ ทเ่ี ป็นประโยชน์ เพื่อนำไปปรบั ปรุงพฒั นาในการ
จัดโครงการสัมมนาให้มปี ระสิทธภิ าพย่งิ ขน้ึ ต่อไป
การจัดสัมมนาวิชาการครั้งนี้ จะสำเร็จลุล่วงไปด้วยเพราะได้รับคำแนะนำคำปรึกษาจากอาจารย์ท่ี
ปรึกษา อาจารย์อับดุลคอลิก อัรรอฮีมีย์ ดร.อลิสา หะสาเมาะ และดร.จิรัชยา เจียวก๊ก ยังได้รับความร่วมมือ
จากคณะกรรมการและนักศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย คณะทำงานทุกคนขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วม
สนบั สนนุ การดำเนินโครงการสมั มนาและการประเมินผลการจดั สมั มนาในครั้งนจ้ี นสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
คณะผจู้ ัดทำ
20/08/2564
~ก~
สารบญั
หน้า
คำนำ……………………………………………………………………………………………………………….………………………. ก
สารบญั ……………………………………………………………………………………………….………..……………………….… ข
สารบัญตาราง………………………………………………………………………………………………….……………………….. ค
สารบัญรูปภาพ……………………………………………………………………………………………………..………………….. ฅ
บทที่ 1 เก่ยี วกบั การจดั สัมมนาเชิงวิชาการใบงานพฒั นาสงั คม……………………………………..…………………. 1
ความร้เู บอื้ งต้นเก่ยี วกับการจัดสัมมนา…………………………………………………………..…………………..….... 2
ความร้ทู ว่ั ไปเก่ียวกบั การสัมมนา…………………………………………………………..……………………………..…. 2
ความหมายของการสัมมนา……………………………………………………………..…………………………………….. 2
ความสำคญั ของการสมั มนา…………………………………………………………………………………………………… 3
ประโยชนข์ องการสมั มนา……………………………………………………………………………..………………………. 4
วัตถุประสงค์ของการสมั มนา…………………………………………………………………………..……………………… 7
องค์ประกอบของการสมั มนา…………………………………………………………………………..…………………….. 8
รปู แบบการจดั สมั มนา……………………………………………………………………………………..…………………. 12
ลกั ษณะของการสัมมนาท่ีด…ี ……………………………………………………………………………..………………… 14
บทที่ 2 ความรใู้ นการการเขียนโครงการในการจดั สมั มนา…………………………………………..………………… 15
บทความวชิ าการการศึกษาอิสระ………………………………………………………………………………………….. 16
การเขยี นโครงการในการจดั สมั มนาโครงร่างการศึกษาอิสระ……………………………………………………. 16
ลักษณะของโครงการทีด่ ี……………………………………………………………………………………………………… 16
ข้นั ตอนการเขยี นโครงการโครงรา่ งการศึกษาอสิ ระ…………………………………………………………………. 17
ชื่อโครงการ……………………………………………………………………………………………………………………….. 19
ประเภทโครงการ……………………………………………………………………………………………….………………. 19
หลักการและเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………. 19
วตั ถุประสงค์…………………………………………………………………………………………………….………………… 19
ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ………………………………………………………………………………………….……………….. 19
กล่มุ เป้าหมายของโครงการ……………………………………..…………………………………………..………………. 20
ความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์……………………………………………………..……………………………………… 21
สอดคล้องกบั การดำเนนิ งานตามแนวทางการประกบั คุณภาพ…………………….……………………………. 21
~ข~
สารบัญ(ต่อ)
หน้า
สถานที่จัดโครงการ…………………………………………………………………………………………………………….. 22
ระยะเวลาการดำเนนิ การ……………………………………………………………………………………………………. 22
ลกั ษณะการดำเนนิ โครงการ………………………………………………………………………………………………... 22
แผนปฏิบัตกิ ารโครงการ / วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) ………………………………………….… 22
ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ………………………………………………………………………………………………….. 23
การประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………………….……. 23
กำหนดการโครงการสมั มนาโครงรา่ งการศกึ ษาอสิ ระ……………………………………………………………. 24
บทที่ 3 โครงสร้างและหนา้ ที่ของแต่ละฝา่ ยในการจัดสมั มนา………………………………………………………… 26
บทความวิชาการการศกึ ษาอิสระ…………………………………………………………………………………..…….. 27
ความรใู้ นการปฏบิ ัติงานของประธาน………………………………………………………………………………..….. 27
ความรูเ้ กี่ยวกับการดำเนินงาน.……………………………………………………………………………………….…... 27
ลกั ษณะของประธาน………………………………………………………………………………………………………….. 27
บทบาทหน้าที่และภาระงาน………………………………………………………………………………………………… 28
การเตรียมตัวของฝา่ ยประธาน……………………………………………………………………………………………… 28
ความร้ใู นการปฏิบตั งิ านของรองประธาน………………………………………………………………………………. 32
ความรู้เกยี่ วกบั การดำเนนิ งาน…………………….……………………………………………………………………….. 32
บทบาทหน้าที่และภาระงาน………………………………………………………………………………………………… 32
ลกั ษณะและคุณสมบัตขิ องรองประธาน…………………………………………………………………………………. 33
บคุ ลิกภาพของรองประธาน…………………………………………………………………………………………………. 35
ความรูใ้ นการปฏิบตั ิงานของเลขานกุ าร…………………………………………………………………………..…….. 37
ความรเู้ กยี่ วกับการดำเนนิ งาน…………………….……………………………………………………………………….. 37
บทบาทหนา้ ท่ีและภาระงาน………………………………………………………………………………………………… 37
ลกั ษณะของเลขานุการ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. 38
คุณสมบตั ิเด่นของเลขานุการ……………………………………………………………………………………………….. 38
บุคลกิ ภาพของการเป็นเลขานุการ…………………………………………………………………………………………. 38
~ค~
สารบญั (ต่อ)
หน้า
ความร้ใู นการปฏิบตั งิ านของฝ่ายทะเบียนและวิชาการ……………………………………………………………. 40
ความร้เู ก่ียวกบั การดำเนนิ งาน………….…………………………………………………………………………………. 40
บทบาทหน้าที่และภาระงาน……………..………………………………………………………………………………… 40
คณุ สมบตั ิของผูป้ ฏบิ ัติงานทะเบียนและวิชาการ……………………………………………………………………. 40
ความรู้ในการปฏบิ ตั งิ านของประสานงานและพิธีการ…………………………………………………………….. 43
ความรู้เกีย่ วการดำเนินงาน…………………………………………….……………………….…………………………. 43
วัตถุประสงค์ของการปฏิบตั ิงานฝ่ายประสานงานและพิธกี าร…………………………………………………. 44
ความรู้ในการปฏิบตั งิ านของเหรัญญกิ …………………………………………………………….…………………… 46
ความรเู้ กย่ี วกบั การดำเนินงาน………………………………………………….…..……………………………………. 46
บทบาทหนา้ ของฝ่ายเหรญั ญิก……………………………………………………………………………………………. 46
คณุ สมบตั ิของผู้ปฏบิ ัตงิ านฝ่ายเหรัญญิก………………………………………………………………………………. 46
ความรู้ในการปฏิบัตงิ านของโสตทศั นูปกรณแ์ ละการประชาสมั พันธ์……………………………………….. 50
ความรู้เกยี่ วกับการดำเนนิ งาน………………………….……………………………………………………………..…. 50
บทบาทหน้าที่และภาระงาน………………………………………………………………………………………………. 52
บทบาทหนา้ ท่ีและการปฏบิ ตั ิงานของฝา่ ยพธิ ีกร……………………………………………………………………. 52
ความรเู้ ก่ียวกับการดำเนินงาน………………………………………….………………………………….......……….. 54
บทบาทหนา้ ที่และภาระงาน…………………………………………………………………………………………….… 55
บคุ ลกิ ภาพของการเป็นพิธกี ร………………………………………………………………………………………..……… 57
การเตรียมตัวในการรับหน้าที่พิธีกร………………………………………………………………………………………. 58
เทคนคิ การใช้ภาษา…………………………………………………………………………………………………………….. 58
เทคนคิ การใชส้ ายตา…………………………………………………………………………………………………………… 59
เทคนิคการแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ …………………………………………………………………………………………… 59
เทคนคิ ในการกล่าวแนะนำวิทยากร………………………………………………………………………………………. 59
ตวั อยา่ งคำกลา่ วของพธิ กี รงานสัมมนา………………………………………………………………………………….. 60
~ง~
สารบญั (ต่อ)
หน้า
บทบาทหน้าท่ีและการปฏิบัติงานของฝ่ายประเมินผล……………..………………………………………………. 63
ความรูเ้ บื้องตน้ เกีย่ วกบั การประเมินโครงการ………………….……………………………………………………... 63
ภาระงาน…………………………………………………………………………………………………………………………… 64
ความสำคญั ของการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………… 64
ประโยชนข์ องการประเมินโครงการ………………………………………………………………………………………. 65
ข้นั ตอนการประเมินโครงการการประเมิน……………………………………………………………………………… 65
ประเภทของประเมนิ …………………………………………………………………………………………………………… 65
บทที่ 4 การประเมินการจดั สัมมนาบทความวิชาการการศึกษาอสิ ระ………………………………………………. 67
ความรเู้ บอื้ งต้นเกย่ี วกับการประเมนิ โครงการ……………………………………………….………………………… 68
ความหมายของการประเมินโครงการ……………………………………………………………………………………. 68
จุดมุ่งหมายของการประเมินผลโครงการ……………………………………………………………………………….. 69
รูปแบบการประเมินผลแบบ CIPP………………………………………………………………………………………… 70
ประเด็นการประเมนิ ตามรปู แบบ CIPP Model……………………………………………………………………… 70
รปู แบบของการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………. 72
ขัน้ ตอการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………………. 73
การทบทวนหลงั ทำงาน หรอื หลังปฏบิ ตั ิ หรือหลงั กจิ กรรม (After Action Review-AAR)……………….. 77
ความหมายของ After Action Review หรอื AAR…………………………………………………………………. 75
ความเปน็ มาของ AAR…………………………………………………………………………………………………………. 77
พ้นื ฐานของ AAR……………………………………………………………………………………….……………………….. 78
เป้าหมายของ AAR……………………………………………………………………………………………………………. 79
ประโยชนข์ อง AAR…………………………………………………………………………………………………………….. 79
ขน้ั ตอนของการทำ AAR……………………………………………………………………………………………………… 79
ภาคผนวก ก: เอกสารประกอบการดำเนนิ งานการจัดสัมมนา………………………………………………………… 99
ภาคผนวก ข: แบบสอบถามสำหรบั การประเมินการจดั สัมมนา……………………………………………………. 110
ภาคผนวก ค : รปู ภาพท่เี กี่ยวขอ้ ง……………………………………………………………………………………………. 111
บรรณานกุ รม………………………………………………………………………………………………………………………… 116
~จ~
สารบญั ตาราง
หนา้
ตารางที่ 1 แผนปฏบิ ัตกิ ารโครงการ : วงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ (PDCA)……………….………………………… 22
ตารางท่ี 2 กำหนดการโครงการสมั มนาโครงร่างการศึกษาอิสระ…………………………………………………….…… 24
ตารางที่ 3 เคร่ืองมือในการติดตามงานของประธาน…………………………………………………………………….…….. 30
ตารางที่ 4 เคร่ืองมือในการติดตามงานของรองประธาน……………………………………………………………………… 35
ตารางที่ 5 เครื่องมือในการติดตามงานของเลขานุการ…………………………………………………………………….….. 39
ตารางที่ 6 เครื่องมือในการติดตามงานของทะเบียนและวิชาการ……………………………………………….…………. 42
ตารางที่ 7 เครื่องมือในการติดตามงานของประสานงาน……………………………………………………………….……… 45
ตารางท่ี 8 เคร่ืองมือในการติดตามงานของเหรญั ญิก…………………………………………………………………………… 48
ตารางท่ี 9 เคร่ืองมือในการติดตามงานของโสตทัศนปู กรณ์………………………………………………………………….. 53
ตารางที่ 10 เครื่องมือในการตดิ ตามงานของพธิ ีกร……………………………………………………………………….……. 62
ตารางท่ี 11 เครื่องมือในการติดตามงานของประเมิน…………………………………………………………….…………… 66
~ฉ~
สารบญั รูปภาพ
หน้า
ภาพท่ี 1 การปฏิบัตงิ านของประธานงานสมั มนา………………………………….…………………………………………….. 29
ภาพท่ี 2 การประชมุ วางแผนของประธาน……………………………………….………………………………………………… 33
ภาพท่ี 3 บทบาทหนา้ ทขี่ องฝ่ายรองประธาน……………………………………,……………………………………………….. 41
ภาพที่ 4 บรรยากาศการลงทะเบยี นผา่ น Google Form ของฝ่ายทะเบียน…….…………………………………….. 41
ภาพท่ี 5 การจับเวลาในการนำเสนอ…………………………………………………………………………………………………. 44
ภาพที่ 6 บทบาทของฝา่ ยประสานงาน…………………………………………………………………………………………….… 45
ภาพท่ี 7 การปฏิบัตงิ านฝ่ายประสานงานทสี่ ำคญั ……………………………………………………………………………….. 47
ภาพที่ 8 การดูแลในเรื่องงบประมาณงานสัมมนา……………………………………………………………………………….. 48
ภาพท่ี 9การทำบญั ชรี ายรับ-รายจา่ ย…………………………………………………………………………………………………. 51
ภาพท่ี 10 บทบาทหน้าที่ของฝา่ ยโสตทศั นปู กรณ์และประชาสัมพนั ธ์………………………………………………….... 51
ภาพที่ 11 บทบาทหนา้ ที่ของฝ่ายโสตทศั นปู กรณ์และประชาสมั พันธ์…………………………………………………….. 51
ภาพที่ 12 เป็นผ้ดู ำเนินรายการวนั งานสัมมนา……………………………………………………………………………………. 57
ภาพที่ 13 บุคลิกภาพของการเปน็ พิธีกร……………………………………………………………………………………………. 58
~ช~
บทท่ี 1
__________________________________________________
ความรเู้ บอื้ งต้นเกย่ี วกับการจัดสมั มนาเชงิ วิชาการในการพัฒนาสังคม
~1~
ความร้ทู ่ัวไปเกยี่ วกบั การสัมมนา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนา เป็นพื้นฐานเบื้องต้นในการเรียนรู้วิธีการสัมมนา ซึ่งจะก่อให้เกิด
ความเขา้ ใจ การร่วมคิดรว่ มวเิ คราะห์ ปรึกษาและเปล่ยี นเรยี นรรู้ ะหวา่ งกลุม่ เพือ่ หาทางออกของปัญหาร่วมกัน
สร้างปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั ด้วยกนั สื่อสารซง่ึ เป็นทีม่ าของคำว่า “สมั มนา”
ความหมายของการสมั มนา
เทคนิคการหลอ่ หลอมแนวความคิดในรปู ของการประชมุ กลมุ่ รว่ มคดิ หาแนวทางจากการหารอื และ
แนวคดิ ตามหลักการมสี ่วนร่วมในการวเิ คราะหป์ ญั หา ซึง่ ไดม้ นี ักวิชาการได้ให้ความหมาย ดังตอ่ ไปน้ี
สมคิด แก้วสนธิ และสุนันท์ ปัทมาคม (2545, น. 45) กล่าวว่า การสัมมนาเป็นการจัดในลักษณะ
อภปิ รายและแลกเปล่ยี นความคิดเห็นประสบการณ์ หรือเปน็ การระดมความคดิ เรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมาะสำหรับ
กรณที ่ีผูเ้ ขา้ ร่วมสัมมนามปี ระสบการณผ์ ู้เขา้ รว่ มประชมุ ทุกคนมีความเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นไม่มี
วิทยากรมีแต่ผู้ประสานงานหรือผู้จัดดำเนินการคอยอำนวยความสะดวก และให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะเลือกผ้นู ำ
กลุ่มการสัมมนาจากผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วยกัน เพื่อเป็นตัวแทนในการรายงานการอภิปรายและดำเนินการ
สัมมนาไปตามตารางที่กำหนดไว้ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546, น. 1170) การสัมมนาเป็นการประชุมรูปแบบ
หนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด และหาข้อสรุป หรือข้อเสนอแนะในเรื่องใดเรื่องหน่ึง
ผลสรปุ ที่ได้ถือว่าเป็นเพียงข้อเสนอแนะ สว่ นผูท้ ีเ่ กีย่ วขอ้ งจะนำไปปฏิบัตติ ามหรือไมก่ ไ็ ด้
ราชบัณฑิตยสถาน (2546, น. 1170) การสัมมนาเป็นการประชุมรูปแบบหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ
แลกเปลี่ยนความรู้ความคิด และหาข้อสรุปหรือข้อเสนอแนะในเรื่องใดเรื่องหนึ่งผลสรุปที่ได้ถือว่าเป็นเพียง
ข้อเสนอแนะ ส่วนผเู้ กีย่ วข้องจะนำไปปฏบิ ัตติ ามหรือไม่กไ็ ด้
ไพพรรณ เกยี รตโิ ชตชิ ยั (2548, น. 7) การสมั มนา คอื การทก่ี ลุม่ บคุ คลได้ร่วมใจพยายามเสาะแสวงหา
ความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วพยายามแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดที่แต่ละคนศึกษามาเพื่อหาแนวทาง หา
ข้อสรุปในเรื่องนั้นๆทำให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาสามารถใช้ความรู้จากการสัมมนา ไปปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างมี
ประสิทธิภาพและเกดิ ประโยชนต์ ่อส่วนรวมให้มากท่ีสุด
ผล ยาวิชัย (2553, น. 3) การสัมมนา คือ สถานการณ์การประชุมกลุ่มบุคคลที่มีพื้นความรู้
ความสามารถความสนใจ ประสบการณ์ในงานสาขาวิชาชีพเดียวกัน มีเงื่อนไขจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์
เดียวกัน เพื่อการศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน สำรวจ เรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
วิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ประสบอยู่อย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงบทบาทของการมีส่วน
ร่วมจากทุกส่วนตามหลักการประชาธิปไตยภายใตเ้ วลาทเ่ี หมาะสม
ไพโรจน์ เนียมนาค (2554, น. 2) การสัมมนา “Seminar” หมายถึง การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน
ความรู้ และความคิดเห็นเพือ่ หาข้อสรุปในเรื่องใดเรือ่ งหนึ่ง ผลของการสมั มนาถือว่าเป็นเพียงข้อเสนอแนะผ้ทู ่ี
เกี่ยวข้องจะนำไปปฏิบัติตามหรือไม่ก็ได้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่ออบรมฝึกฝนชี้แจงแนะนำสั่งสอนปลูกฝังทัศนะ
คติและให้คำปรึกษา ในเรื่องที่เกี่ยวข้องหรือแสวงหาข้อตกลงด้วยวิธีการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
อย่างเสรี ซักถาม ถกเถียง ปรึกษาหารือภายในหัวข้อที่กำหนด ซึ่งผลจากการสัมมนา จะช่วยให้ระบบและ
วธิ ีการทำงานมีประสทิ ธภิ าพสูงขึน้
ความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า การสัมมนา หมายถึง การประชุมเพื่อแสวงหาความรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
และความคิดเห็น โดยมวี ตั ถุประสงค์หรือการศึกษาในเรื่องเดียวกนั รวมทงั้ รว่ มวิเคราะห์ปญั หา หาแนวทาง
~2~
แก้ไขและหาข้อสรุปร่วมกันเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมร่วมกัน ดังนั้น การสอนวิชาสัมมนา เป็น
กระบวนการหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า โดยวิธีการต่างๆ เป็นการฝึกทักษะการคิดอย่างเป็น
ระบบ การวิเคราะห์ปัญหา และการเสนอแนวทางแก้ไขการแสดงออกโดยการพูด การสนทนา การอภิปรายท่ี
เก่ียวกบั เน้อื หาของเรือ่ งน้นั ๆเพอื่ ให้ได้ข้อสรุปของแนวทางทม่ี ีความเป็นไปได้ โดยวิธีการปรึกษาหารอื ร่วมกนั
ความสำคญั ของการสัมมนา
กระบวนการดำเนินงานทีด่ ีควรจะมีการวางแผนกอ่ นการปฏิบัติงาน และการตัดสินใจทีเ่ หมาะสมโดย
การคิดร่วมกันเพื่อหาข้อสรุปที่ดีที่สุด แต่ละเรื่องอาจใช้วิธีการประชุม การสนับสนุน จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
และผทู้ เ่ี ก่ียวข้องจงึ ถอื วา่ การประชมุ มคี วามสำคัญ มีผใู้ หค้ วามหมายไวห้ ลายทศั นะ ดงั น้ี
เกษกานดา สุภาพจน์ (2549, น. 1) กลา่ ววา่ การประชมุ สมั มนาเปน็ เทคนคิ ของการให้ได้มาซึ่งแนวคิด
และประสบการณเ์ พื่อเปน็ แนวทางของการหาข้อสรุปและนำไปใช้แกไ้ ขหรอื พัฒนาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ข้นึ
ปาน กิมปี และกรรณิการ์ แย้มเกสร (2545, น. 586) กล่าวว่า การประชุมมีความสำคัญเป็นการ
แสวงหาแนวทางในการปฏิบัติงานเสนอแนวคิดการตัดสินใจและการแก้ปัญหา ในการประกอบกิจกรรมต่างๆ
นน้ั จะต้องมกี ารปรึกษาหารือเป็นหมู่คณะเพอื่ ให้ได้ข้อสรปุ หรือแนวทางทเ่ี ป็นทย่ี อมรับของบุคคลโดยส่วนรวม
หรือเป็นความเห็นชอบของคนส่วนใหญ่ในกลุ่ม จึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะทำให้คนในองค์กรมีความเข้าใจ
ตรงกนั และลดความขัดแยง้
สมคิด บางโม (2551, น. 159) กล่าวว่า การทำงานเป็นกลุ่มหรือเป็นคณะบุคคลจำเป็นต้องมีการ
ประชุมปรึกษาหารอื กัน มีความเขา้ ใจตรงกนั จงึ จะทำใหง้ านสำเรจ็ ตามเป้าหมาย
สมิตร สัชฌุกร (2552, น.16) กล่าวว่า ความสำคัญของการประชุมเป็นกลไกสำคัญของทุกองค์กร ใน
ระดับทอ้ งถิน่ ระดับประเทศ และระดบั โลก เปน็ ศนู ย์รวมของความคิดการตัดสนิ ใจการกำหนดนโยบาย การลง
มติ การริเริ่มสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ การวิจัย และการแก้ไขปัญหาต่างๆด้วยเหตุที่การประชุมมีความสำคัญ
เราจึงต้องใช้การประชุมให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่สำคัญผิดว่าเมื่อมีการประชุมก็เป็นการ
เพียงพอแล้ว จากแนวคิดท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ สรปุ ให้เห็นไดว้ ่า ความสำคญั ของการประชุมสัมมนามดี งั น้ี
1. เป็นการตดิ ต่อส่อื สารท่ีรวดเรว็ เมอื่ บคุ ลากรได้มาพบปะพดู คยุ แบบเผชญิ หน้า ประชมุ โต้ตอบกันใน
ทนั ทีทันใด ทำความเข้าใจกนั ได้ในเวลาอันสนั้ ไม่ต้องเสยี เวลาในการส่ือสารมาก
2. เป็นการระดมความคิดเห็นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ หาข้อสรุปหรือแนวทางในการตัดสินใจให้
บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ท่ีต้งั ไวเ้ ป็นอย่างดี
3. เป็นสื่อกลางในการพบปะแลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ฯลฯ ซึ่งผู้เกี่ยวข้องจะมีโอกาสชี้แจงข้อ
ซักถามข้อสงสัยได้ ก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมแรงร่วมใจ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานนั้นๆ ทำให้เกิด
การเรียนรู้ถึงวิธีการปรับตนเองให้เข้ากับผู้อื่นและทราบข่าวสารเรื่องราวความเคลื่อนไหวในกิจการต่างๆ ใน
สงั คมทเ่ี ก่ียวข้อง
4. เปน็ เทคนิคของการใหไ้ ดม้ าซ่ึงความรู้ แนวคดิ และประสบการณ์เพื่อเป็นแนวทางของการหาข้อสรุป
และนำไปใช้แกไ้ ขหรือพฒั นาใหม้ ีประสิทธิภาพยิ่งข้นึ
5. เป็นเครื่องมือสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ เอื้ออำนวยในการปฏิบัติงานและการถ่ายทอดความรู้หรอื
ขา่ วสารตา่ ง ๆ เชน่ การประชมุ ชี้แจงเกีย่ วกบั นโยบายต่างๆ ของหนว่ ยงาน หรอื การประชุมทางวชิ าการ
~3~
ผลยา วิชัย (2553, น. 4) กล่าวว่า การปฏิบัติงานในชีวิตประจำวัน ปัจจุบันต้องมีการปรับตัวอยู่
ตลอดเวลาเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กับการ เปลี่ยนแปลง มีการแข่งขันด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสูง การ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ การบริหารจัดการองค์กรตลอดเวลา มีความจำเป็นต่อ
การประกอบอาชีพของบุคคลทั่วไป มีบทบาทอย่างย่ิงต่อการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม การเมือง และเทคโนโลยี
ของประเทศ การดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพจำเป็นที่จะต้องมีการแข่งขันในทุกๆ ด้าน โดยมุ่งหวังที่จะให้
อาชีพที่ตนยึดถือปฏิบัติมีความเจริญรุ่งเรือง เป็นที่นิยมชมชอบของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สิ่งที่ตามมาก็คือ
ความสำเร็จจากการดำเนินงานนั่นเอง อันหมายถึงการอยู่ดีกินดีบรรลุผลสำเร็จในกิจการที่ปฏิบัติเป็นอย่างดี
สงั คมปจั จบุ นั จงึ ให้ความสำคญั ในข้อมลู ข่าวสาร (Information Society) เปน็ อยา่ งมาก ซ่ึงโลกปัจจุบันต้องยึด
ขอ้ มลู ที่เปน็ จรงิ และทันสมัยอยู่เสมอ ท้ังน้ี เพราะเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารมีความทนั สมัยก้าวหน้า สามารถ
ติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็วมีความคล่องตัวสูง กิจการใดที่มีข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบันมากเท่าใด กิจกรรม
หรือกิจการนั้นๆ ย่อมมีโอกาสที่จะพัฒนาตัวเองให้เจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น สถานประกอบการหรือองค์กร
ธุรกิจต่างๆ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องขวนขวายเสาะแสวงหาข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยเพื่อส่งผลต่อการพัฒนา
บุคลากรและพัฒนาทรัพยากรต่างๆ ของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพมีคุณภาพในการบริหารจัดการมากที่สุด
เท่าที่จะมากได้ การสัมมนาหรือการประชุมสัมมนา จึงเป็นรูปแบบหนึ่งหรือเทคนิคของการให้ได้มาซึ่งความรู้
แนวคดิ และประสบการณโ์ ดยอาศัยการประชมุ พบปะพูดคยุ บรรยาย ซักถามอภิปราย ระดมความคิดเห็นท้ังผู้
นำเสนอวทิ ยากรหรือผู้เช่ยี วชาญ รวมท้งั ผฟู้ งั ต่างมีโอกาสได้และเปลี่ยนเรยี นรู้ประสบการณ์ซ่ึงกันและกัน เพ่ือ
เป็นหนทางของการหาข้อสรุป และนำข้อมูลที่ได้จากการสัมมนาไปปรับปรุงแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาบุคลากร
และทรัพยากรอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นต่อไป นำมาซึ่งความสำเร็จมาสู่เจ้าของกิจการสถาน
ประกอบการและองคก์ รต่างๆ
สรุปได้ว่า การสัมมนา มีความสำคัญต่อการพัฒนาองค์กร และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพการทำงาน โดยการจัดกระบวนการสัมมนาเป็นส่วนสำคัญที่จะเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการ
บริหารจัดการให้เกิดรูปแบบการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ให้เกิดความรู้แนวคิด ประสบการณ์โดยการพูดคุย
บรรยาย ซกั ถามอภิปรายระดมความคิดเห็นภายในกลุ่ม และวทิ ยากรผ้ทู รงคุณวุฒิท้ังประสบการณ์และความรู้
ต่อองคก์ รและบคุ ลากรต่อไป
ประโยชนข์ องการสัมมนา
ผลของการจดั สมั มนา หรอื การจดั การเรียนการสอนสมั มนา กอ่ ให้เกดิ ความเจรญิ กา้ วหน้าทางวิชาการ
อันเป็นผลมาจากการศึกษา ค้นคว้า เพื่อเสนอบทความทางวิชาการและการประมวลข้อเท็จจริงๆทางวชิ าการ
ใหม่ๆ เพื่อนำเสนอในรูปของเอกสารประกอบการสัมมนาสามารถนำไปเป็นแนวทางในการปรับปรุง แก้ปัญหา
หรือสรา้ งสรรค์ การทำงาน ดังได้มนี ดั วชิ าการกลา่ วถงึ ประโยชนข์ องการสมั มนาดังตอ่ ไปน้ี
เกษกานดา สุภาพจน์ (2549, น. 3) ไดก้ ล่าวถึงประโยชน์ของการสมั มนาดงั น้ี
1. ผูจ้ ดั สมั มนาหรอื ผเู้ รยี นสามารถจัดสัมมนาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. ผ้เู ขา้ รว่ มสมั มนา ได้รบั ความรู้ แนวคดิ จากการสัมมนา สามารถนำไปปรับใช้ในการทำงานและชีวิต
ส่วนตวั ได้
~4~
3. ผลจากการที่ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้และความสามารถมากขึ้นจากการสัมมนา ช่วยท ำให้
ระบบและวธิ ีการทำงานมปี ระสิทธภิ าพสงู ข้นึ
4. การจัดสัมมนาจะช่วยแบ่งเบาภาระการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ังคับบัญชา เพราะผู้ได้บังคับบัญชาได้รบั
การสัมมนา ทำให้เข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติงานตลอดจนปัญหาต่างๆและวิธีการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนางานให้
ไดผ้ ลดี
5. เป็นการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้พร้อมอยู่เสมอ ที่จะก้าวไปรับตำแหน่งที่สูงกว่าเดิมหรืองานที่
จำเป็นต้องอาศัยความรู้ทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งผู้ปฏิบัติงานจะไม่รู้สึกลำบากในการปรับตัว เพราะได้รับ
ความร้ใู หมๆ่ ตลอดเวลา
6. เป็นการส่งเสริมความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติงาน เพราะโดยปกติแล้วการพิจารณาเลื่อนตำแหน่งผู้ท่ี
ได้รบั การสัมมนาย่อมมโี อกาสได้รบั การพจิ ารณาก่อน
7. เกิดความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ เป็นผลใหเ้ กิดแรงบันดาลใจม่งุ กระทำกิจกรรมอนั ดงี ามให้สงั คม
8. สามารถสร้างความเข้าใจอันดีงามตอ่ เพอื่ นรว่ มงาน มีมนษุ ย์สมั พนั ธ์ เกิดความร่วมมือรว่ มใจในการ
ทำงาน สามารถทำงานเป็นทมี ได้เป็นอยา่ งดี
9. เกิดความกระตือรือร้น กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ รู้จักยอมรับความคิดเห็น
ของผูอ้ ื่น รู้จกั ใช้ดลุ ยพนิ ิจวิเคราะห์ปัญหา สามารถแก้ปัญหาในการท้างานและเกิดภาวะผ้นู ำ
ผล ยาวชิ ัย (2553, หน้า 5) ไดก้ ล่าวถึงประโยชนข์ องการสมั มนาไว้ดังนี้
1. เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารระหว่างผู้เข้าสัมมนา ทำให้มีความเข้าใจข้อเท็จจริงต่างๆดีข้ึน
ซึง่ จะทำให้เกิดความรว่ มมือเพื่อความสำเรจ็ ต่อไป
2. เป็นการร่วมกันแก้ปัญหาโดยผนึกความคิด ความรู้และประสบการณ์ของคนหลายคนเข้าด้วยกัน
ซ่งึ ย่อมไดผ้ ลดีกวา่ คนๆเดยี ว และเปน็ การชกั จงู ใหห้ ลายคนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการรับผิดชอบ
3. ก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมแรงร่วมใจ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมนั้นๆเพราะได้รับทราบ
เร่อื งราว และมีส่วนเป็นผกู้ ำหนดเก่ยี วกบั ความเคลอื่ นไหวเหลา่ นน้ั อยดู่ ว้ ย
4.เป็นการช่วยผ่อนผันหรือทุเลาปัญหาที่ยังไม่สามารถแก้ไขได้ เพราะผู้เข้าสัมมนาที่มีปัญหาได้มี
โอกาสระบายความอัดอ้นั ตนั ใจบ้างแล้ว
5. เป็นการช่วยใหผ้ ูเ้ ขา้ สัมมนาไดฟ้ ังความคดิ เหน็ ของผ้อู ่ืน ซ่ึงจะทำให้มีทัศนะที่กวา้ งขวางขน้ึ และเกิด
แนวคดิ ของตนเอง
6. ช่วยในการประสานงานไดด้ ี ถา้ ผู้เขา้ สมั มนาจากสถานที่หลายแห่งดว้ ยกันความสมั พนั ธ์ทีเ่ กิดขึ้นใน
ระหว่างประชุมกลุม่ ย่อยจะชว่ ยใหม้ ีความเขา้ อกเขา้ ใจเหน็ อกเหน็ ใจกันยิ่งขึน้
ไพโรจน์ เนียมนาค (2554, น. 3) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า การสัมมนาและการฝกึ อบรมเปน็ กจิ กรรมที่สำคญั ยิ่งใน
ที่ทำงานร่วมกัน ซึ่งต้องอาศัยความคิดร่วมกันด้วย ผลที่ได้จากการสัมมนาและฝึกอบรมทุกคนจะได้รับ
เช่นเดยี วกนั ไมอ่ ยา่ งใดก็อย่างหนึง่ ซึ่งสามารถสรุปประโยชน์ของการสมั มนาและฝึกอบรมท่ัวไป มดี งั น้ี
1. เปดิ โอกาสให้สมาชิกมีการรับผิดชอบร่วมกันในการดำเนินงานเพราะถ้าผู้หนึ่งผใู้ ดตดั สนิ ใจตาม
ลำพังและเกดิ ผดิ พลาดขน้ึ ผนู้ ้ันจะต้องรับผดิ ชอบทั้งหมด แตถ่ า้ เป็นมติของทปี่ ระชุมทกุ คนจะต้องรบั ผดิ ชอบ
ร่วมกนั
~5~
2. เป็นเครื่องสำคัญในการกระจายข่าวสารต่างๆ ไปได้ทุกทิศทาง โดยแจ้งให้ผู้เข้าประชุมทราบแล้ว
นำไปถา่ ยทอดตอ่ ไป นบั ว่าเปน็ การประชาสมั พันธ์ข่าวสารที่ดอี กี วธิ หี นง่ึ
3. ช่วยให้การตัดสินใจรอบคอบยิ่งขึ้น เพราะการวินิจฉัยคนเดียวอาจทำให้เกิดความผิดพลาด
เนื่องจากขอ้ จำกัดทางความรู้ ความคดิ ประสบการณ์และอ่ืนๆ
4. ผู้เข้าสัมมนาหรือฝึกอบรมได้มี โอกาสรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ทำให้ตนเองงมีทัศนะที่
กวา้ งขวางขึน้
5. เป็นโอกาสดีที่ผู้เข้าร่วมการสัมมนาและฝึกอบรมจะได้พบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นใน
เรื่องต่างๆ ทั้งเรื่องส่วนตัวและเรื่องหน้าที่การงาน จะก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมแรงร่วมใจ สร้างความรู้สึกเป็น
ส่วนหน่ึงของหน่วยงานและชว่ ยเกิดการประสานงานทีด่ ใี นโอกาสต่อไป
6. ช่วยเพมิ่ ผลผลิตทง้ั ปริมาณและคณุ ภาพ
7. ช่วยแก้ปญั หาในการปฏบิ ัติงาน ลดภาระในการควบคมุ รวมถงึ ชว่ ยลดอุบตั เิ หตุ
8. ชว่ ยส่งเสรมิ ทัศนคติตอ่ องค์การ
9. ช่วยลดการสิ้นเปลอื งต่างๆ ลดตน้ ทุน
10. ช่วยพนกั งานมขี วญั และกำลงั ใจดีข้ึน
11. ช่วยพัฒนาบุคลากรใหม้ ีคุณภาพสูงขนึ้
นอกจากประโยชน์ที่ได้จากการสัมมนาและการฝึกอบรมดังกล่าวข้างต้นซึ่ง ล้วนแต่เป็น
กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีคุณภาพ อันจะนำไปสู่การทำงานที่มีประสิทธิภาพองค์การ
เจรญิ กา้ วหน้า สามารถจะแบง่ ตามภารกิจของประโยชน์แตล่ ะด้าน แบ่งได้ดงั นี้
1. ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ได้แก่
1.1 ช่วยเพ่ิมทกั ษะ ความรู้ความสามารถ นำไปสู่การเพ่ิมประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ าน
1.2 ช่วยให้สามารถปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และการ
เปล่ยี นแปลงอืน่ ๆ
1.3 ชว่ ยพัฒนาบคุ ลกิ ภาพของตนเองและปรับปรงุ วธิ กี ารปฏิบตั งิ านใหเ้ หมาะสมกับงานที่ปฏบิ ตั ิ
1.4 ชว่ ยให้มคี วามเชอ่ื มั่นในตนเอง พรอ้ มท่ีจะทำงาน กลา้ เผชิญปัญหา
1.5 ชว่ ยให้เป็นผรู้ ้จู ักศึกษาเรียนรู้ตลอดชวี ิต เปน็ ทรพั ยากรบุคคลที่มีคา่ ขององคก์ รและประเทศชาติ
1.6 ช่วยให้รู้จักบุคคลหรือมิตรมากขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการประสานการทำงานให้พัฒนา
กา้ วหน้าตอ่ ไปได้
2. ประโยชน์ตอ่ องคก์ ร ไดแ้ ก่
2.1 ช่วยเสริมสร้างทัศนคติ ที่ถูกต้องในการปฏิบัติงานของบุคลากรและเป็นที่พึ่งประสงค์ของ
หน่วยงาน
2.2 ช่วยเสรมิ สรา้ งขวญั กำลังใจในการทำงานแก่ผ้ปู ฏิบตั งิ าน
2.3 ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนผู้ปฏิบตั ิงาน โดยการเพิ่มคุณภาพ ของผู้ปฏิบัติงานท่ีมีอยู่จำกัดแทน
การเพ่มิ งบประมาณ หรอื เพมิ่ จำนวนผูป้ ฏบิ ตั งิ าน
2.4 ช่วยยกระดับความสามารถของบุคลากรในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามทิศทางเป้าหมายและ
นโยบายขององคก์ าร
~6~
2.5 ช่วยเสริมสรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจ เพอื่ หลกี เลย่ี งปญั หาทีเ่ กดิ ข้นึ ได้
2.6 ชว่ ยประหยัดงบประมาณรายจา่ ย
2.7 ชว่ ยให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้ และมีประสบการณ์โดยมีผลกระทบต่องานทีป่ ฏบิ ัติ
2.8 ทำให้เกิดความสามัคคีในหน่วยงาน การสัมมนา และการฝึกอบรมจะทำไห้บุคลากรมีโอกาสได้
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซ่ึงกันละกัน ชว่ ยไห้เกิดความเข้าใจกนั มากย่ิงขึ้น
2.9 ช่วยเพม่ิ ผลผลติ ในการบรหิ ารจดั การ
สรุปได้ว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการสัมมนาและการฝึกอบรมนั้น จะมีความครอบคลุมทั้งในส่วน
ผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ีในการดำเนินการจัดการฝึกอบรม และแม้แต่ผู้เข้าการฝึกอบรม เพื่อไห้ทราบว่าควรจะต้อง
จัดเตรียมสิ่งใดก่อนเข้าอบรมสัมมนา และรวมถึงผลประโยชน์ที่ทุกฝ่ายควรจะได้รับภายหลังที่สิ้นสุดสัมมนา
และการฝึกอบรม เป็นต้น นอกจากประโยชน์ดังกล่าว แล้วผลของการจัดสัมมนาหรือการจะจัดการเรียนการ
สอนสัมมนา ยังก่อไห้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการ อันเป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้า เพื่อเสนอ
บทความทางวิชชาการและการประมวลข้อเท็จจริงทางวิชาการใหม่ๆ เพื่อนำเสนอในรูปของเอกสาร
ประกอบการสัมมนา รวมทง้ั สรปุ ผลรายงานสัมมนาทไี่ ด้หลงั จากการสมั มนาเสรจ็ ส้ิน สามารถนำไปเป็นแนว ใน
การปรับปรุงแก้ปัญหา หรือสร้างสรรค์การทำงาน นอกจากที่ยังเป็นหนทางให้บรรลุข้อตกลง เกิดการ
ประนีประนอมกันในระหว่างหน่วยงานเดียวกัน หรือต่างหน่วยงาน และเกิดการพัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนา
งาน และสงั คมโดยส่วนรวม
วตั ถปุ ระสงค์ของการสมั มนา
วัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายในการสัมมนา นอกจากจะได้เพิ่มทักษะ ความรู้ให้แกผ่ ู้เขา้ รับสมั มนา
แล้ว ยงั มวี ัตถุประสงค์ทส่ี ำคญั หลายประการ ดังนกั วิชาการได้กล่าวไวด้ งั น้ี
สทุ ธนู ครไี สย์ (2544, น. 5 ) ไดก้ ล่าวถึง วตั ถปุ ระสงคข์ องสัมมนาได้ดงั น้ี
1. เพ่ือการศึกษาและเรียนร้ปู ระเดน็ ตา่ งๆ ของปัญหาเพือ่ นำไปสู่การแก้ปญั หา
2. เพ่ือคน้ ควา้ หาคา้ ตอบ ข้อเสนอแนะหรอื หาขอ้ ยตุ ทิ จี่ ะใชแ้ กป้ ญั หาร่วมกนั
3. เพอื่ นำผลของการสมั มนาเป็นเครอ่ื งมอื ในการตัดสนิ ใจหรือกำหนดนโยบาย
4. เพอ่ื การพัฒนาและการปฏิบัตงิ านให้บรรลุตามเปา้ ประสงค์
สมจิตร เกิดปรางค์ และนุตประวีณ์ เลิศกาญจนวัต (2545, น. 73 ) ไดก้ ลา่ ววา่ การสมั มนาโดยท่ัวไปมี
วัตถปุ ระสงค์ท่สี ำคญั ดังน้ี คือ
1. เพอ่ื เพม่ิ พนู ความรู้ ความสามารถ และประสบการณแ์ กผ่ เู้ ข้าร่วมสมั มนา
2. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้เข้าสัมมนาด้วยกัน และผู้เข้าสัมมนากับ
วิทยากร
3. เพื่อค้นหาวิธีการแกป้ ญั หาหรอื แนวทางปฏิบัติรว่ มกนั
4. เพอ่ื ให้ไดแ้ นวทางประกอบการตดั สินใจหรือกำหนดนโยบายบางประการ
5. เพอ่ื กระตนุ้ ใหผ้ ูร้ ่วมเข้าสัมมนานำหลกั วธิ กี ารทไี่ ด้เรียนรูไ้ ปใช้ใหเ้ ป็นประโยชน์การสมั มนาแตล่ ะคร้ัง
จะบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใดนอกเหนือจากกระบวนการจัดสัมมนาและวิทยาการแล้วสมาชิก
ผ้เู ขา้ ร่วมสมั มนา มคี วามสำคัญมากเชน่ เดยี วกันเพราะเป้าหมายทีเด่นชดั ของการสัมมนา ก็คือผเู้ ข้ารว่ มสัมมนา
~7~
ทุกคนต้องทำหน้าที่เป็นทั้งผู้ให้และผู้รับ คือเป็นผู้ฟังความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วยกัน และใน
ขณะเดียวกันก็เป็นผู้เสนอความคิดเห็นให้แก่กลุ่มด้วย ดังนั้นหัวใจของการสัมมนาจึงอยู่ที่ว่าสมาชิกทุกคนได้มี
ส่วนร่วม ไดแ้ สดงความคดิ เหน็ และไดเ้ สนอแนวคดิ ให้แกก่ ลมุ่ เปน็ ประการสำคัญ
ไพพรรณ เกียรตโิ ชติชยั (2548, น. 56) ได้กลา่ ว การสมั มนา มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื ยกระดับประสิทธิภาพ
ที่มีลักษณะเด่นอย่างหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งขึ้นไป เพื่อให้เกิดผลสำเร็จ ทั้งความรู้ใหม่และข้อมูลที่ใช้ในการ
ปฏิบัตงิ าน โดยการสอนทักษะใหม่ใหห้ รือโดยการสรา้ งใหแ้ ตล่ ะคนมเี จตคติใหม่ ค่านิยม มีแรงจูงใจพร้อมทัง้ มี
คุณสมบัติของบุคลิกภาพที่ดีการสัมมนาโดยทั่วไป มักจะจัดเป็นหลักสูตรเฉพาะสำหรับกลุ่มงานหรือกลุ่ม
บริหารมีความมุ่งหมายเพื่อเป็นการพัฒนาบทบาทพฤติกรรมและให้มีความเข้าใจในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิด
ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั งิ านของทกุ คนการใช้โอกาสในการสัมมนาเพื่อฝึกอบรมหรือพฒั นาใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
และให้มผี ลสัมฤทธ์ใิ นการทำงาน
นริ ันดร์ จลุ ทรพั ย์ (2550, น. 270) ไดก้ ลา่ วว่า การสมั มนาโดยทว่ั ไปมีวตั ถปุ ระสงคท์ สี่ ำคญั ดงั นี้
1. เพื่อเพิ่มพูนและเติมเต็มความรู้ความสามารถทักษะประสบการณ์ทั้งด้านวิชาการหรือ ด้านวิชาชีพ
แกผ่ ู้เข้ารว่ มสัมมนาโดยตรง
2. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันและกันของผูเ้ ข้าร่วมสัมมนากับวิทยากร หรือ ผู้เชี่ยวชาญ
ในเรอื่ งหรอื สาขาวชิ าเฉพาะทางนั้น
3. เพ่อื ค้นหาค้าตอบวธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื แนวทางการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติร่วมกนั
4. เพื่อให้ได้แนวทางสรุปประกอบการตัดสินใจหรือหาแนวทางการแก้ปัญหา หรือ กำหนดนโยบาย
ของหน่วยงาน องคก์ รบางประการ
5. เพื่อสร้างความตระหนักหรือกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา นำหลักการวิธีการเรียนรู้หรือแนวทาง
ปฏิบัติไปใช้ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อหนา้ ท่แี ละภาระงานท่ปี ฏบิ ัติหรอื รับผิดชอบต่อไป
จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า วัตถุประสงค์ของการสัมมนา การคือ การเพิ่มพูนความรู้ทักษะและ
ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้าร่วมสัมมนาค้นหาแนวทางวิธี ในการ ปฏิบัติร่วมกันเพื่อ
แก้ไขปัญหา หรือกำหนดนโยบายบางประการ และเพื่อให้ฝึกอบรมหรือพัฒนาให้ผู้เข้าร่วม แค่มีประสิทธิภาพ
ในการปฏิบตั ิงาน ทสี่ งู ขึน้ ทง้ั นี้ ย่อมข้นึ อยกู่ ับ กระบวนการจดั การสมั มนาทีค่ วบค่กู ันไปด้วย
องค์ประกอบของการสัมมนา
การสมั มนาเป็นวธิ กี ารประชุมและการสอนรปู แบบหนึ่ง ท่มี ีกลุม่ บุคคลมารว่ มแสดงความคิดเหน็ โดยใช้
หลักการ เหตุผล ประสบการณ์ และความรู้ต่าง ๆ นำมาเสนอแนะแลกเปลี่ยนเพ่ิมพูนหาประโยชน์ร่วมกันใน
การแก้ปัญหานั้น ๆ ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี หรือนำแนวทางที่ได้รับจากการสัมมนาไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการ
ดำเนินการ สัมมนาแต่ละครั้งมีองค์ประกอบสำคัญ 5 ด้าน (เกษกานดา สุภาพพจน์.2549 ,น. 22-41, ผล ยา
วชิ ยั 2553, น. 7-12)
1. องค์ประกอบด้านเนื้อหา องค์ประกอบด้านเนือ้ หาของการสัมมนาไดแ้ ก่สาระของเรื่องราวที่นำมา
จดั ลำดับก่อนหลังอยา่ งเป็นระบบประกอบดว้ ยรายละเอียด ดังนี้
~8~
1.1 ชือ่ เรื่อง หรือชือ่ โครงการท่นี ำมาจัดสมั มนานบั ว่าเป็นปัจจยั สำคัญอย่างหน่ึงท่ีผู้จัดสัมมนาควรจะ
ได้พิจารณาว่าจะเลือกเรื่องอะไร ที่จะนำมาจัดสัมมนาจึงจะได้รับประโยชน์คุ้มค่าสิ่งที่ควรคำนึงถึงในการ
พิจารณา เก่ียวกับ ชอ่ื เรอ่ื ง ในการจัดสมั มนา ได้แก่
1.1.1 ควรเป็นเรื่องที่ต้องการศึกษาปัญหา หาแนวทางแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับงานหรอื เรือ่ งที่กำลังศึกษา
อยูแ่ ละเปน็ เรอ่ื งทต่ี นเองถนดั รู้แจ้ง รู้ลกึ ซ้งึ เป็นอยา่ งดี
1.1.2 มคี วามทนั สมยั สอดคล้องกับสภาการณ์ปัจจบุ นั
1.1.3 สามารถกำหนดปัญหา หาแนวทางการแกไ้ ขปญั หาได้อย่างเปน็ ระบบ
1.1.4 เป็นเรื่องที่ไม่กว้าง ไม่แคบจนเกินไป ควรเป็นเรื่องที่มีขอบเขตเฉพาะเรื่องสามารถกำหนด
ปญั หา และแนวทางการดำเนนิ การจดั สมั มนาไดช้ ดั เจน
1.2 จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา โดยปกติแล้วการจัดสัมมนาก็เพื่อเป็นการฝึกผู้เข้าร่วมสัมมนา
หรือ นักศึกษาที่นอกจากเพื่อให้ได้เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแล้วยังทำให้เกิดการเพิ่มพูนความรู้
ประสบการณ์ได้รับแนวความคิดใหม่ๆ สามารถน้าไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาตนเอง หน่วยงานที่รับผิดชอบ
เป็นการสร้างสรรค์ต่อส่วนรวมและสังคมอย่างไรก็ตามในการสัมมนาจำเป็นที่จะต้องมี หรือเขียนจุดมุ่งหมาย
ของการสัมมนาไว้ให้ชัดเจน เพื่อคณะกรรมการผู้ดำเนินการจัดสัมมนา ผู้เข้าร่วมสัมมนา วิทยากรและบุคคล
อน่ื ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งจะไดเ้ ข้าใจ และดำเนนิ การสัมมนาให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายทต่ี ัง้ ไว้การเขยี นจุดมุ่งหมายมักจะ
กำหนดเพือ่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย หรอื ได้รบั สาระตามตอ้ งการอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ไดแ้ ก่
1.2.1 เพื่อศกึ ษาและสำรวจปัญหาเรอ่ื งใดเรื่องหนึง่ ที่อยใู่ นความสนใจ
1.2.2 เพ่ือให้ไดว้ ิธีการหรอื แนวทางในการแก้ปัญหาเรอ่ื งใดเร่ืองหน่ึง
1.2.3 เพือ่ ศึกษาคน้ ควา้ วจิ ยั ในเร่ืองท่มี คี วามจำเปน็ เร่งด่วน
1.2.4 เพ่ือเรยี นรู้ และมีการแลกเปลี่ยนผลของการศึกษาคน้ ควา้ วจิ ยั ระหวา่ งผูเ้ รียนทีเ่ รียนรว่ มกนั
1.2.5 เพื่อร่วมพิจารณาหาข้อสรุปผลรายงานการศกึ ษาค้นคว้าในเรอ่ื งท่ีสนใจ
1.3 กำหนดการสัมมนา นับว่าเป็นเรือ่ งที่จำเป็นประการหนึ่งที่ผู้จัดสัมมนาควรจะต้องมีการวางแผน กำหนด
และจัดทำเพราะจะทำให้ทราบช่วงเวลาของการดำเนินการแต่ละรายการของการสัมมนา ซึ่ง กำหนดการ
สัมมนาควรระบุสงิ่ ต่อไปน้ี
1.3.1 ช่ือกล่มุ สาระวชิ า กลุ่มบุคคลผ้ดู ำเนนิ การ หรอื ผรู้ ับผิดชอบจดั สมั มนา
1.3.2 ชอ่ื เรื่องสมั มนา
1.3.3 วนั เดอื น ปี ทจี่ ัดสมั มนา
1.3.4 สถานท่ีจดั สัมมนา
1.4 ผลที่ได้จากการสัมมนา เป็นสิ่งที่ผู้จัดสัมมนาได้คาดหวังว่าการจัดสัมมนาจะทำให้ผู้เข้าร่วม
สัมมนา ได้รับผลประโยชน์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ จึงเป็นเรื่องที่ผู้จัดสมั มนาจะต้องมีการกำหนดผลที่คาด
วา่ จะไดร้ บั จากการสัมมนาไว้ดว้ ย ตัวอยา่ งเชน่ ผลท่ไี ด้จากการสัมมนา ผู้เข้ารว่ มสัมมนา จำนวน 90 คน ได้รับ
ความรู้และสามารถนำเอาความรทู้ ี่ได้จากการสมั มนาไปพัฒนางานทตี่ นปฏิบัติอยู่ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
2. องค์ประกอบด้านบุคลากร องค์ประกอบด้านบุคลากร หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้องในการจัดสัมมนาแต่ละ
คร้ังจะประกอบไปด้วยบุคลากร ดงั นี้
~9~
2.1 บุคลากรฝ่ายจัดสัมมนา หรือคณะกรรมการจัดสัมมนาให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
คณะกรรมการ อาจแบง่ ออกเป็นฝา่ ยตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ประธาน รองประธาน เลขานุการ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายเอกสาร
ฝ่ายเหรัญญิก ฝ่ายพิธีการ ฝ่ายอาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สื่อทัศนูปกรณ์ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ฝ่าย
ประชาสัมพนั ธ์ ฝ่ายปฏิคม และ ฝา่ ยประเมนิ ผล คณะกรรมการแต่ละฝ่ายที่กำหนดขึ้น อาจจะมกี ารผนวกรวม
กบั บางฝ่ายงานเขา้ ด้วยกัน สว่ นจำนวนบุคลากรที่จัดให้รับผิดชอบแตล่ ะฝ่ายอาจมจี ำนวนท่ีไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับ
ความจำเป็นความสามารถของบคุ คล เพราะว่า บางงานบางฝา่ ยบุคลากรมคี วามสามารถหลายด้าน ก็สามารถ
ปฏิบัตงิ านไดห้ ลายอย่างในเวลาเดียวกนั แตอ่ ย่างไรกต็ ามการออกคำส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการต้องลงนามคำส่ัง
แต่งตั้งโดยผูบ้ ังคับบญั ชาสงู สุดของหน่วยงาน หรอื องคก์ รนั้น ๆ
2.2 วิทยากร คือบุคคลที่ทำหน้าที่เป็นผู้บรรยาย ผู้น้าอภิปราย และเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้
ประสบการณ์โดยนำเสนอ ผ่านสื่อต่าง ๆ นำเสนอให้กับผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วยความมุ่งหวังที่จะให้ผู้เข้าร่วม
สัมมนาได้รับความรู้และ ประสบการณ์อย่างเต็มที่ ดังนั้นวิทยากรจึงเป็นบุคคลที่มีความรู้ มีความสามารถ มี
ประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะทางด้านใดด้านหนึ่งหรือเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นที่มีความรู้
ความสามารถเก่ียวข้องกบั หัวข้อเร่ืองทีใ่ ช้ในการ สัมมนานั้น ๆ
2.3 ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้แก่บุคคลที่มีความสนใจใฝ่รู้ในปัญหา หรือประสบปัญหาต้องการแสวงหา
แนวความคิดใหม่ๆ หรือมีความมุ่งหมาย ต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มี
พืน้ ฐานความรู้และมปี ัญหาที่สนใจจะศึกษาคล้ายคลงึ กนั
3. องคป์ ระกอบดา้ นสถานท่สี ถานที่ เครอ่ื งมอื และอุปกรณต์ ่าง ๆ ทีใ่ ชส้ ัมมนาควรมดี งั นี้
3.1 ห้องประชุมใหญ่ หมายถึง ห้องประชุมขนาดใหญ่ที่ใช้ในการสัมมนา กำหนดที่นั่งสามารถบรรจุ
ผูเ้ ข้าร่วมสมั มนาได้จำนวนมาก ควรระบุสถานท่ีตัง้ และการเดินทางเขา้ ถึงสถานท่ีจัดสัมมนา
3.2 ห้องประชุมขนาดกลางหรือขนาดเล็ก อาจต้องมีมากกว่าหนึ่งห้อง ควรอยู่ในพื้นที่ใกล้กัน หรือ
บริเวณ เดียวกันกับห้องประชุมใหญ่ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการร่วมกิจกรรมหรือประสานงานหากมีปัญหา
และเพอ่ื ความ สะดวกในการเดินทางมายังห้องประชุมใหญ่
3.3 ห้องรับรอง เป็นห้องที่ใช้สำหรับรับรองวิทยากร แขกพิเศษ เพื่อให้พักผ่อนหรือเตรียมตัวก่อน
การสัมมนา แต่ถา้ สถานท่ีมีพนื้ ทจ่ี ำกัด อาจใชส้ ่วนหนา้ ของห้องประชุมจัดวางโตะ๊ รับแขก สามารถใช้ประโยชน์
บนพ้ืนท่ีดังกล่าวได้
3.4 ห้องรับประทานอาหารว่างมุมพักผ่อนนอกห้อง หรือหน้าห้องประชุม เป็นพื้นที่จัดไว้สำหรับให้
ผเู้ ข้าร่วมสัมมนา ไดม้ าพกั รวมท้งั เปน็ จดุ พักรบั ประทานอาหารว่าง
3.5 อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ ชุดไมโครโฟนชนิดตั้งโต๊ะไมโครโฟนชนิดตั้งพื้นไมโครโฟนไร้สาย
ไมโครโฟนชนิดเล็กใช้หนบี ตดิ ปกคอเสื้อ เครอ่ื งขยายเสยี ง เคร่ืองฉาย โปรเจกเตอร์ โน้ตบคุ๊ และอุปกรณ์ไฟฟ้า
เก่ียวกบั เคร่อื งเสียง สี แสง และอื่น ๆ
3.6 ห้องรับประทานอาหาร เป็นห้องที่อำนวยความสะดวก จัดไว้สำหรบั ให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รว่ ม
รบั ประทานอาหารอาจเปน็ ท้งั ห้องรับประทานอาหารเช้า กลางวนั และหารเย็นในพืน้ ท่เี ดียวกัน
3.7 อุปกรณ์เครื่องมือ ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องปริ้นเตอร์ และวัสดุอื่น ๆที่จำเป็นในการ
จัดทำเอกสารประกอบ คำบรรยายเอกสารสรุปการจัดสัมมนา ตลอดจนเอกสารและแบบฟอร์มอื่น ๆ ที่ใช้ใน
การสัมมนา
~ 10 ~
3.8 อปุ กรณด์ ้านเครอื่ งเขียนเครื่องใช้สำนักงานท่ีมคี วามจ้าเป็นมีไว้ใช้ ไดแ้ กด่ ินสอ ปากกา ปากกา
สำหรับเขียนกระดานไวท์บอร์ด น้ำยาลบค้าผิด กระดาษถ่ายเอกสารกระดาษใช้พิมพ์งาน เครื่องเขียนไม้
บรรทดั คลปิ เสยี บป้ายชอื่ ตดิ หนา้ อกผู้เข้าร่วมสมั มนา คณะกรรมการแตล่ ะฝ่าย ฯลฯ อปุ กรณ์เหล่านี้ควรติดไว้
ใหพ้ รอ้ มทจี่ ะใช้งาน ได้ทนั ทีท่ตี ้องการ
4. องค์ประกอบด้านเวลา การกำหนดเวลาสำหรับการสัมมนา เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการหน่ึง
ผูจ้ ัดการสมั มนาควรวางแผนให้ดีว่าควรจะใชว้ ันใดเวลาใด ดำเนินการจัดการสัมมนาจงึ จะเหมาะสมเพื่อให้เกิด
ความสะดวกแก่ทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผู้จัดสัมมนา จะได้มีเวลาสำหรับการเตรียมการ วิทยากร และผู้เข้าร่วม
สัมมนาสะดวกที่จะมาสัมมนาจงึ ควรคำนึงถึงในเรือ่ ง ดังตอ่ ไปนี้
4.1 ระยะเวลาสำหรบั การเตรียมการ ผจู้ ดั สมั มนาควรวางแผนปฏบิ ัติงานให้ชัดเจนวา่ งานแต่ละอย่าง
แต่ละประเภทที่ต้องทำนั้นจะใช้เวลานานเท่าใดจึงจะแล้วเสร็จ จนถึงวันที่จะต้องจัดสัมมนาเพราะงาน
บางอย่างต้องทำล่วงหน้าก่อน เช่น การประชุมวางแผนจัดทำโครงการ การวางแผนศึกษาดูงานนอกสถานท่ี
ประกอบการสัมมนา วางแผนเกี่ยวกับวิทยากร การจัดสถานที่ งบประมาณ และการวางแผนการประเมินผล
เป็นต้น ระยะเวลาสำหรับการดำเนินการบางเรื่องอาจใช้เวลามาก บางเรื่องอาจใช้เวลาน้อย บางเรื่องต้องทำ
อย่างต่อเนื่อง ผู้จัดทำสัมมนาจึงควรท่ีจะได้วางแผนไว้อย่างรอบคอบ มีการคาดคะเนสถานการณ์ให้ดีจะ
สามารถเตรียมการให้ทนั ตามกำหนดได้
4.2 การเชิญวิทยากร เป็นเร่อื งสำคญั อีกเรอื่ งหนึ่ง ทีผ่ ้จู ัดสัมมนา ควรจะวางแผนให้ดี เพราะวิทยากร
บาง ทา่ นเป็นผทู้ ี่มชี ื่อเสยี งมากมักจะไมว่ า่ งบางท่านต้องติดต่อลว่ งหนา้ ในบางคร้ังถึงกับต้องเล่ือนวันจัดสัมมนา
ออกไป เพื่อจะให้ตรงกับวันที่วิทยากรว่าง เพราะหวังว่าจะได้วิทยากรที่มีคุณภาพมาบรรยาย กรณีเช่นนี้ เกิด
น้อยครั้งมาก เพราะไม่จำเป็นจริง ๆ ก็จะไม่เปลี่ยนวัน เวลา ที่กำหนดจัดสัมมนาไว้ หากได้ออกหนังสือเชิญ
ผ้เู ขา้ ร่วมสมั มนาไดท้ ราบวัน เวลาแลว้ เพราะเป็นการยุ่งยากส้ินเปลืองค่าใชจ้ ่าย รวมทงั้ ยงั เสียเวลาในการแจ้ง
ให้ผู้ร่วมสมั มนาไดท้ ราบวันเวลาใหม่ หากวิทยากรทีไ่ ด้เชิญไปไม่มา ควรเปลี่ยนวิทยากรที่มีคุณสมบตั ิใกลเ้ คยี ง
แทน
4.3 วัน เวลา ที่ใช้ในการสัมมนาจะใช้กี่วัน ข้ึนอยู่กับเรื่องที่สัมมนาว่ามีขอบเขตกว้างมาน้อยเพียงใด
อาจเพียงวันเดียว บางเรื่องใช้เวลาสามวัน บางเรื่องใช้เวลาถึงห้าวันหรืออาจมากกว่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ
น่าสนใจ ความจำเป็นของเรื่องที่ต้องการรู้ หรือขึ้นอยู่กับปัญหางานที่ประสบอยู่พอดี บางเรื่องอาจต้องมี
กิจกรรมเสริม เช่น การศึกษาดูงานประกอบการสมั มนาในเร่ืองทีเ่ กี่ยวข้อง ข้อควรสังเกตในการใช้เวลาเพื่อจัด
สัมมนา หากใช้เวลาน้อยเกินไปอาจส่งผลทำให้การอภิปรายการแสดงความคิดเหน็ ไม่กว้างขวางแต่ถ้าหากใช้
เวลามากเกินไปอาจส่งผลทำให้บรรยากาศของการสัมมนาน่าเบื่อ ที่เป็นประโยชน์น้อย หรือ อาจต้องใช้
งบประมาณเพิ่มขึ้นโดยใช่เหตุ ดังนั้นในการกำหนดวันเวลาที่ใช้ในการสัมมนา จึงควรกำหนดให้ทันต่อการ
เตรียมการในทุก ๆ เรื่อง จัดวันเวลาให้พอดีกับหัวข้อเรื่องที่ใช้ในการสัมมนา และสามารถปรับยืดหยุ่นได้บ้าง
ตาม ความเหมาะสม
5. องค์ประกอบด้านงบประมาณ การดำเนินงานจัดสัมมนาย่อยมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการดำเนินงาน
ค่อนขา้ งมาก คณะผูด้ ำเนินงานจัดทำสมั มนาต้องวางแผนงานด้านค่าใช้จา่ ยให้ดดี ้วยความรอบคอบ เพ่ือให้การ
ประมาณค่าใช้จ่ายอยู่ในภาวะเพียงพอไม่ขาด หรือติดขัดในค่าใช้จ่ายฉุกเฉินซึ่งอาจเกิดภายหลังได้ ข้อควร
คำนึงถงึ การจดั ทำงบประมาณคา่ ใช้จ่ายในการดำเนินงานจดั สมั มนาทีเ่ รยี กว่าการจดั ทำงบประมาณ ได้แก่
~ 11 ~
5.1 จัดประมาณการค่าใช้จ่าย แต่ละฝ่ายที่ทำหน้าที่รับผิดชอบงาน จัดประมาณการค่าใช้จา่ ยท่ีต้อง
ใช้จ่ายทั้งหมดของฝ่ายตนเองออกมาในรูปของบัญชีค่าใช้จ่าย นำเสนอฝ่ายเหรัญญิกและที่ประชุม เพื่อ
พิจารณาถึงความเหมาะสมสำหรับค่าใช้จา่ ยแต่ละรายการของแต่ละฝ่ายก่อนโดยให้มีรายละเอียดให้มากที่สุด
อย่าให้ต้องตกหล่นในรายการใดรายการหน่ึงไป
5.2 คา่ ใช้จา่ ยต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั วัสดอุ ปุ กรณ์ที่จำเป็นต้องจดั ซ้ือ ควรมีรายการราคาตามทอ้ งตลาด
หรืออาจใช้วิธสี ืบราคาวัสดอุ ุปกรณ์เหล่านัน้ ก่อน เพื่อการประมาณค่าใช้จ่ายจะไม่เกิดข้อผิดพลาดการวางแผน
ค่าใชจ้ า่ ยจึงควรคำนึงถึงคา่ ใช้จา่ ยทคี่ าดวา่ จะเพิม่ ขน้ึ ไดโ้ ดยอาจนำไปใสใ่ นค่าใชจ้ ่ายอื่น ๆ
5.3 จัดทำงบประมาณรวม การวางแผนเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายของแต่ละฝา่ ยเห็นชอบจากที่ประชุม แล้ว
จงึ จดั ทำงบประมาณรวมทั้งโครงการ แลว้ เสนอผูร้ ับผดิ ชอบหรือเสนอฝ่ายบริหารอนุมตั ิกรณที ี่เป็นการสัมมนา
เพื่อพฒั นาองค์กร ข้อสงั เกตในการวางแผนงบประมาณค่าใช้จา่ ยของการจดั สัมมนาควรดำเนินการ ดงั นี้
5.3.1 จัดประชุมแต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ มอบหมายงานในหน้าที่ต่าง ๆ จัดทำแผนงบประมาณ
ค่าใช้จ่ายของฝ่ายตนขน้ึ มา นำเสนอต่อทป่ี ระชุมเพ่อื พิจารณารว่ มกัน
5.3.2 เมื่องบประมาณแต่ละฝ่ายได้รับการเห็นชอบแล้วต้องนำงบค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายมาลงใน
โครงการ โดยแยกคา่ ใช้จ่ายทีต่ อ้ งใชจ้ ่ายที่ต้องจ่ายจริงเปน็ เงนิ เทา่ ใด
5.3.3 อาจแนบรายละเอียดค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายไปพร้อมโครงการเพื่อให้ฝ่ายบริหารหรือ
ผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุมัติ ในกรณีที่แต่ละฝ่ายต้องการเบิกเงินจากเหรัญญิก เพื่อนำไปใช้จ่ายในฝ่ายของ
ตน เหรัญญิกต้องจดั ทำบญั ชีรายรับรายจ่ายรวมท้งั มีเอกสารการเบกิ จ่ายเงิน และลายเซน็ ของผรู้ บั เงินด้วยท้ังน้ี
เพื่อเป็นหลักฐานในการปฏิบัติหน้าที่ที่ที่รับผิดชอบ สรุปได้ว่า องค์ประกอบของการสัมมนามี 5 ด้าน
ประกอบด้วย องค์ประกอบดา้ นเนือ้ หา องคป์ ระกอบด้านบคุ ลากร องคป์ ระกอบดา้ นสถานท่ี องค์ประกอบด้าน
เวลา และองค์ประกอบด้านงบประมาณ ล้วนเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะไม่ว่าจะเป็น
องค์ประกอบด้านเนื้อหา องค์ประกอบด้านบุคลากร องค์ประกอบด้านสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
องค์ประกอบด้านเวลา และองค์ประกอบด้านงบประมาณ ใช้ประกอบในการจัดสัมมนาเพื่อเป็นกรอบแนวคดิ
ในการดำเนินการจัดสัมมนาให้สมบูรณแ์ บบ และต่อเนือ่ งจนบรรลตุ ามวัตถุประสงค์
รูปแบบการจดั สมั มนา
ความหมายของรูปแบบ
คำวา่ “รูปแบบ” หรือ Model เปน็ คำที่ใชเ้ พ่อื ส่อื ความหมายหลายอยา่ ง ซ่ึงโดยท่ัวไปแลว้ รปู แบบจะ
หมายถึงสิ่งหรือวิธีการดำเนินงานที่เป็นต้นแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น แบบจำลองสิ่งก่อสร้างรูปแบบในการ
พัฒนาชนบท เปน็ ตน้ พจนานกุ รม Contemporary English ของ Longman (1981, p. 668) ใหค้ วามหมาย
ไว้ 5 ความหมาย แต่โดยสรุปแล้วจะมี 3 ลักษณะ คอื
1. Model หมายถึง สิง่ ซึ่งเป็นแบบยอ่ ส่วนของของจรงิ ซึง่ เทา่ กบั แบบจำลอง
2. Model ท่ีหมายถึง สิ่งของหรอื คนทน่ี า้ มาใช้เป็นแบบอยา่ งในการดำเนินการบางอยา่ งเช่น ครตู น้ แบบ
3. Model หมายถงึ ร่นุ ของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
เยาวดี วิบลู ย์ศรี ( 2536, น. 25) รปู แบบ คอื วิธที บ่ี ุคคลใดบคุ คลหนงึ่ ไดถ้ า่ ยทอดความคิด ความเขา้ ใจ
ตลอดจนจิตนาการของคนที่มีต่อปรากฏการณ์ หรือเรื่องราวใดๆ ให้ปรากฏในลักษณะของการสื่อสารใน
ลกั ษณะใดลกั ษณะหน่งึ รูปแบบจงึ เปน็ แบบจำลองในลกั ษณะเลียนแบบหรอื เปน็ ตัวแบบที่ใชเ้ ป็นแบบอย่างเปน็
~ 12 ~
แผนผงั หรือแบบแผนของการดำเนินการอย่างใดอยา่ งหนึง่ ต่อเนอื่ งดว้ ยความสมั พนั ธ์เชงิ ระบบ
สวัสดิ์ สุคนธรังสี ( 2520, น. 206) ให้ความหมายรูปแบบ หมายถึง ตัวแทนที่สร้างขึ้นเพื่ออธิบาย
พฤตกิ รรมของลกั ษณะบางประการของส่ิงทเ่ี ป็นจรงิ อย่างหนึง่ หรอื เปน็ เคร่ืองมือทางความคิดท่ีบุคคลใชใ้ นการ
หาความรู้ความเข้าใจปรากฏการณ์
สุบรรณ์ พันธ์วิศวาส และชัยวัฒน์ ปัญจพงษ์ ( 2522, น. 22-23) ใช้คำว่า แบบจำลอง (Model)
เท่ากับการย่อหรือเลียนแบบความสัมพันธ์ที่ปรากฏอยู่ในโลกแห่งความเป็นจริงของปรากฏการณ์ใด
ปรากฏการณ์หนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยในการจัดระบบความคิดในเรื่องนั้นให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นและเป็น
ระเบียบ
อาจกล่าวได้ว่า รูปแบบหมายถึงแบบจำลองอย่างง่ายหรือย่อส่วนของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่ผู้เสนอ
รูปแบบดังกล่าวได้ศึกษาและพัฒนาขึ้นมาเพื่อแสดงหรืออธิบายปรากฏการณ์ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น หรือใ นบาง
กรณีอาจจะใช้ประโยชน์ในการทำนายปรากฏการณ์ทีจ่ ะเกิดข้ึนตลอดจนอาจใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการ
อย่างใดอย่างหนึ่งตอ่ ไป
จากความหมายทั้งหมดสามารถสรุปได้ว่า รูปแบบ หมายถึง สิ่งที่สร้างหรือพัฒนาขึ้นจากแนวคิด
ทฤษฎีที่ได้ศึกษามาของผู้สร้างเองเพื่อถ่ายทอดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ โดยใช้สื่อที่ทำให้เข้าใจได้ง่าย
และกระชับถูกต้อง และสามารถตรวจสอบเปรียบเทียบกับปรากฏการณ์จริงได้เพื่อช่วยให้ตนเองและคนอื่น
สามารถเข้าใจไดช้ ัดเจนขึน้
รปู แบบของสัมมนา
การสัมมนาแต่ละครั้งมีกิจกรรมที่ใช้ในขณะสัมมนาหลายกิจกรรม เช่น การอภิปรายการประชุมกลุ่ม
ย่อย และเทคนิคการประชุมแบบต่างๆ สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางในการสัมมนาตามความเหมาะสมของ
รูปแบบและสถานการณ์น้ันๆ เทคนคิ และวิธีการตา่ งๆ ในการสมั มนามีดังน้ี
พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน (พ.ศ. 2525 น. 979) การอภิปรายตามความหมายในพจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายไว้ว่า "การอภิปราย หมายถึง การพูดจาหรือการ
ปรึกษาหารอื กนั "
สมพงศ์ เกษมสิน (2519, น. 5) การอภิปราย หมายถงึ การทบ่ี ุคคลกลมุ่ หน่ึงมีเจตนาจะพิจารณาเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่งปรึกษาหารือกัน ออกความคิดเห็นเพื่อแก้ปัญหาที่มีอยู่ หรือเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ความ
คิดเหน็ ถา่ ยทอดประสบการณ์ท่ีได้รับให้ได้ทราบซึ่งในทส่ี ุดกม็ ีการตัดสนิ ตกลงใจร่วมกนั รูปแบบการจัดสัมมนา
โดยใช้เทคนิคอน่ื ๆ
1. การบรรยาย ( Lecture of Speech) เป็นวธิ ีการที่เก่าแก่แตย่ งั คงเป็นท่ีนิยมใชก้ ันอยมู่ าก เพราะวา่
จดั ไดร้ วดเรว็ ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิเพียงรายเดียวต่อผู้ฟังจำนวนมาก แต่กเ็ ป็นเทคนิคที่น่าเบ่ือที่สุดสำหรับผู้ฟังหรือผู้
ท่ีเข้าอบรม เพราะเป็นการพูดในทิศทางเดียวผู้ฟังไม่มีโอกาสได้ร่วมในการบรรยาย ซึ่งจุดอ่อนที่จริงไม่ได้อยู่ท่ี
วิธีการแต่จะอยู่ที่ตัวผู้บรรยายซึ่งจะต้องรู้จริงในเรื่องนั้นๆ จึงจะสามารถถ่ายทอดออกมาได้เร้าใจและสร้าง
ความสนใจแก่ผ้ฟู งั
2. การอบรมระยะสั้น ( Short Courses) เปน็ การฝึกอบรมหรือการเรียนบางวิชาอย่างเร่งรัดภายใน
ระยะเวลาอนั สัน้ อาจะเปน็ ต้ังแต่ 1 วันถงึ 2 สปั ดาห์การเรยี นเป็นแบบงา่ ยๆ และเขม้ ข้นน้อย การเรยี นระยะ
~ 13 ~
สน้ั มกั จะเป็นการเรียนรู้เพิ่มเติมในวิชาเฉพาะสาขาของคนบางกลุ่มซ่ึงทำงานในสาขาน้ันๆ เปน็ ประจำตัวอยา่ ง
ของ short courses เช่น เรื่องการธนาคารของนายธนาคาร
3. การปฐมนิเทศ ( Orientation Training) เป็นการให้ความรู้แก่สมาชิกใหม่ เกี่ยวกับเรื่องราวของ
หน่วยงานเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน อาจจะเป็นนโยบาย วัตถุประสงค์สภาพแวดล้อม หรือระเบียบ
ข้อบังคับของหน่วยงาน ลักษณะการจัดก็คล้ายกับการสัมมนาอบรมคือ มีวิทยากรบรรยายแนะน้าให้ความรู้
ต่างๆ ตามท่กี ำหนดไวข้ ้อดีของการปฐมนิเทศคือ ทำให้สมาชกิ มีความคุน้ เคยและรจู้ กั หนว่ ยงานดียง่ิ ข้ึน แต่การ
ปฐมนเิ ทศมีเวลาจำกดั บางครัง้ สมาชิกก็ได้รบั ข้อมลู น้อยเกนิ ไป
4. การสาธิต ( Demonstration) เป็นการแสดงหรือการน้าของจริงมาแสดงวิธีการให้ได้เห็นการ
ปฏิบัติจริงเหมาะกับงานกลุ่มเล็กๆ นิยมใช้กับหัวข้อวิชาที่มีการปฏบิ ัติเช่น การอบรมเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ
หรืออปุ กรณ์ต่างๆ
5. สถานการณ์จำลอง ( Simulation) เป็นการจำลองสถานการณ์ในชีวิตจริง โดยจัดสถานการณ์ข้ึน
แล้วกำหนดบทบาทของสมาชิกให้ท้าตามบทที่ได้รับมอบหมาย โดยสมาชิกทั้งกลุ่มต้องร่วมกันเลน่ หรืออาจจะ
แบ่งเป็นกลุ่มเลก็ หลายๆกลุ่ม หลังจากนัน้ ก็มีการอภิปรายสถานการณ์และเหตุการณ์เพื่อน้าผลไปใช้ประโยชน์
ข้อดีของการประชุมแบบนี้ คือ เป็นการให้สมาชิกได้แสดงออกและร่วมกิจกรรมกันช่วยให้สมาชิกได้รู้จักคิด
อย่างมีเหตุผลและมีจุดมุ่งหมาย ข้อเสียคือต้องมีการเตรียมตัวทำให้เสียเวลาและประเมินผลสมาชิกแต่ละคน
ไมไ่ ด้
6. การแบ่งกลุ่มเล็ก (Knee Group) เป็นการอภิปรายกลุ่มย่อยตั้งแต่ 3 - 5 คน ในเรื่องใดๆ ที่
กำหนดใหห้ รือเรื่องที่สนใจร่วมกัน เพ่ือสรุปผลแนวทางการแก้ปญั หา แสวงหาขอ้ ยตุ ิภายใต้การนำของประธาน
กล่มุ มีเลขาเป็นผู้บันทึกและสรุปข้อเสนอแนะ
ลกั ษณะการสัมมนาทีด่ ี
1. ผูเ้ ขา้ ร่วมสมั มนาทราบวตั ถุประสงค์ของการสมั มนา
2. จัดใหม้ กี ิจกรรมในการแก้ปัญหาร่วมกัน
3. จดั ใหม้ ีกิจกรรมในการเรยี นรูร้ ่วมกัน
4. จดั ให้มีเวทแี ลกเปล่ยี นเรียนรู้ ความคิดเห็น และข้อเท็จจริงรว่ มกัน
5. ผูเ้ ขา้ ร่วมสมั มนามีทัศนคติที่ดีต่อปญั หา ข้อเท็จจรงิ ผู้เข้ารว่ มสัมมนา และตนเอง
6. ผู้เข้ารว่ มสมั มนาต้องใชค้ วามคดิ รว่ มกันในการแก้ปญั หา
7. มีผู้นำทดี่ ี
8. ผู้เขา้ ร่วมสมั มนาเปน็ ผฟู้ งั ท่ีดี
9. ผ้เู ขา้ ร่วมสมั มนาเปน็ ผู้พูดทด่ี ี
10. ผเู้ ข้ารว่ มสัมมนาทุกคนเป็นผู้มีส่วนได้สว่ นเสียในการดำเนนิ การประชุมสมั มนา เพ่ือให้งานสมั มนา
บรรลเุ ป้าหมา
~ 14 ~
สรปุ
การสัมมนา หมายถงึ การท่คี ณะบคุ คล ซึง่ มคี วามสนใจร่วมกนั มาร่วมแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน
ความรู้ ประสบการณ์โดยอาศยั การคน้ คว้าเปน็ หลักฐานเพื่อหาข้อสรปุ ในเร่อื งใดเรอื่ งหน่ึง อันจะนำผลของการ
สัมมนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ แก้ไขปัญหา ตลอดจนการกำหนดนโยบาย ทั้งนี้การดำเนินการ
สัมมนามีองค์ประกอบในด้านเนื้อหา ด้านบุคลากร ด้านสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ด้านเวลา และ
ด้านงบประมาณ รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องกับการสัมมนาควรจะต้องยึดถือและปฏิบัติตามหลักโดยการบริหาร
จัดการสมั มนาทม่ี ีประสิทธิภาพจะชว่ ยใหร้ ะบบและวิธกี ารทำงานมปี ระสิทธิภาพสงู ข้ึน
~ 15 ~
~ 16 ~
การเขียนโครงการในการจดั สัมมนาโครงรา่ งการศกึ ษาอิสระ
โครงการ หมายถึง การวางแผนล่วงหน้าที่จัดทำขึ้นอย่างมีระบบประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลาย
กิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรในการดำเนินงานและคาดหวังที่จะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าแต่ละโครงการมี
เป้าหมายเพื่อการผลิตหรือการให้บริการเพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพของแผนงานการเขียนโครงการจึงเป็นส่วน
สำคญั สว่ นหน่งึ ของการวางแผนท่จี ะทำให้องค์กรบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
ลักษณะของโครงการท่ดี ี
1. สามารถแกป้ ัญหาขององค์กรหรือหน่วยงานนัน้ ๆได้
2. มรี ายละเอยี ดวัตถปุ ระสงคเ์ ป้าหมายต่างๆชดั เจน สามารถดำเนินงานได้
3. รายละเอยี ดของโครงการต่อเนือ่ งสอดคล้องสมั พนั ธ์กัน
4. ตอบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ ชนสงั คมและประเทศชาติ
5. ปฏิบตั ิแล้วสอดคลอ้ งกับแผนงานหลกั ขององค์กร
6. กำหนดขนึ้ อยา่ งมีข้อมลู ความจริงและเป็นข้อมูลท่ีได้รับการวเิ คราะห์อย่างรอบคอบ
7. ได้รบั การสนับสนนุ จากผบู้ ริหารทุกด้าน โดยเฉพาะด้านทรพั ยากรทจ่ี ำเป็น
8. มรี ะยะเวลาในการดำเนนิ งานแน่นอน ระบวุ นั เวลาเริม่ ต้นและสิ้นสุด
9. สามารถตดิ ตามประเมนิ ผลได้
ลกั ษณะสำคัญของโครงการ
การเขียนโครงการมีลักษณะการเขียนแตกต่างไปจากการเขียนประเภทอื่นๆ โครงการที่ดีควรมี
ลกั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้
1.ต้องมีระบบ โครงการต้องประกอบด้วยส่วนต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องเป็นกระบวนการ ถ้า
สว่ นใดเปล่ียนแปลงไป จะเกดิ การเปล่ยี นแปลงในสว่ นอื่นๆตามไปดว้ ย
2. ต้องมีวัตถุประสงค์ชัดเจน โครงการต้องกำหนดวัตถุประสงค์สอดคล้องกับความเป็นมาของ
โครงการ มีความเป็นไปได้ชดั เจน และเป้าหมายของโครงการตอ้ งประกอบด้วยเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ
3. ต้องเปน็ การดำเนินงานในอนาคตเนื่องจากการปฏิบตั ิงานทีผ่ ่านมามีข้อบกพร่อง จงึ ควรแก้ไขและ
ปรบั ปรงุ โครงการจึงเปน็ การดำเนินงานเพื่ออนาคต
4. เป็นการทำงานชั่วคราว โครงการเป็นการทำงานเฉพาะกิจเป็นคราวๆ เพื่อแก้ไขปรับปรุง และ
พฒั นาไมใ่ ช่การทำงานท่เี ป็นการทำงานประจำ หรอื งานปกติ
5. มีกำหนดระยะเวลาที่แน่นอนโครงการต้องกำหนดระยะเวลาที่แน่นอน โดยกำหนดเวลาเริ่มต้น
และเวลาที่ส้ินสุดให้ชัดเจน ถ้าไม่กำหนดเวลา หรือปล่อยให้โครงการดำเนินไปเรื่อยๆ ย่อมไม่สามารถประเมนิ
ผลสำเร็จได้ซึง่ จะกลายเป็นการดำเนนิ งานตามปกติ
6. มีลักษณะเป็นงานที่เร่งด่วน โครงการต้องเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสนองนโยบายเร่งด่วนที่
ตอ้ งการจะพฒั นางานให้กา้ วหน้าอย่างรวดเรว็ ทันต่อเหตกุ ารณ์ หรือเปน็ งานใหม่
7. ต้องมีต้นทุนการผลิตต่ำ การดำเนินงานตามโครงการต้องมีการใช้ทรัพยากรหรืองบประมาณ
โครงการจะมปี ระสิทธิภาพตอ่ เมือ่ มกี ารลงทุนน้อย แตไ่ ดร้ บั ประโยชน์สูงสุด
8. เป็นการริเริ่มหรือพัฒนางาน โครงการต้องเป็นความคิดริเริ่มที่แปลกใหม่เพื่อแก้ปัญหาและ
อุปสรรค และพฒั นางานใหเ้ จริญกา้ วหน้า
~ 17 ~
ข้ันตอนการเขียนโครงการโครงรา่ งการศึกษาอสิ ระ
1.ช่ือโครงการ เป็นชื่อท่ีสัน้ กระชบั เข้าใจงา่ ย และสือ่ ได้ชัดเจนว่าเนื้อหาสาระของสง่ิ ท่จี ะทำคืออะไร
2. หลกั การและเหตุผล หรอื ความสำคญั ของโครงการ บอกสาเหตุหรอื ปญั หาที่ทำใหเ้ กดิ โครงการนี้
ข้ึน และที่สำคัญ คอื ตอ้ งบอกได้ว่า ถา้ ไดท้ ำโครงการแลว้ จะแก้ไขปญั หาน้ีตรงไหน การเขยี นอธบิ ายปัญหาท่ีมา
โครงการควรนำข้อมูลสถานการณ์ปัญหาจากหน่วยงานหรือพื้นที่ที่จะทำโครงการมาแจกแจงให้ผู้พิจารณา
โครงการเกิดความเขา้ ใจชัดเจนขึน้
3. วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของโครงการ เป็นการบอกจุดหมายในการทำโครงการ และผลท่จี ะ
เกิดขึ้นจากการทำโครงการ คำว่าวตั ถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายมคี วามแตกต่างกนั ดงั น้ี
- วัตถุประสงค์ หมายถงึ สภาพท่จี ะทำใหเ้ กิดขึ้นใหไ้ ดใ้ นช่วงการทำโครงการ และเปน็ ข้นั ตอน
หนึ่งของการไปใหถ้ ึงเป้าหมายทว่ี างไว้
- เปา้ หมายของโครงการหมายถึง สภาพท่ีอยากให้เกดิ ข้นึ ในอนาคตทไี่ กลกว่าเมื่อโครงการจบ
ลง รับปากไม่ได้ว่าจะเกิดได้ภายในระยะเวลาโครงการแต่เป็นทิศทางที่ต้องไปให้ถึง การเขียนเป้าหมายต้อง
ชดั เจน สามารถระบผุ ลทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ หลงั โครงการจำนวนเท่าไร กลมุ่ เปา้ หมายมใี ครบา้ ง
4. กจิ กรรม และกระบวนการดำเนินงาน เพ่อื ใหไ้ ปสเู่ ป้าหมายตามขอ้ 3 ใหร้ ะบุว่าจะทำอะไรบ้าง
แตล่ ะกิจกรรมมีขั้นตอนและกลวิธีท่จี ะทำใหส้ ำเรจ็ สู่เป้าหมายอย่างไร รวมท้งั กจิ กรรมท้ังหมดมีความเก่ียวข้อง
สนบั สนุนกันอย่างไร กจิ กรรมท่ีดีต้องสอดคล้องกบั วถิ ชี ีวติ และสภาพความเป็นอยู่จริงในพ้นื ท่ี โครงการควรจะ
เป็นกิจกรรมที่ไม่เลื่อนลอยสวยหรูเกินกว่าจะทำได้จริง ควรเกิดจากความคิดความร่วมแรงร่วมใจจาก
ผเู้ ก่ียวข้อง และผู้ทเ่ี ปน็ กลุม่ เปา้ หมายเอง
5. กลุ่มเป้าหมาย พ้ืนที่ดำเนนิ งาน และระยะเวลาดำเนนิ งาน อธบิ ายให้ชัดเจนวา่ โครงการน้จี ะ
ทำที่ไหน เริ่มต้นในช่วงเวลาใดและจบลงเมื่อไร ใครคือกลุ่มเป้าหมายของโครงการ หากกลุ่มเป้าหมายมี
หลายกลมุ่ ใหบ้ อกชดั ลงไปวา่ ใครคือกลุ่มเป้าหมายหลกั ใครคอื กลุ่มเปา้ หมายรอง
6. ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั คอื ความเปล่ียนแปลงท่ีจะเกดิ ข้นึ หลงั จากโครงการจบลงโดยแยกให้เห็น
ชัดเจนระหว่างผลที่เกิดโดยตรงทันทีที่สิ้นสุดโครงการ และผลที่จะเกิดตามมาในระยะยาว ถ้าหากผู้เสนอ
โครงการแสดงใหเ้ ห็นไดช้ ัดเจนว่าความเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดจากโครงการน้ีไมไ่ ดเ้ ป็นแค่ไฟไหม้ฟาง แตจ่ ะเป็นเชื้อ
ท่ีนำสู่การเปลย่ี นแปลงใหเ้ กิดการสร้างสขุ ภาพต่อไปอย่างต่อเน่ือง
7. องค์กรร่วมดำเนินงานหรือ ภาคีดำเนินงานถ้ามีองค์กรร่วมดำเนินโครงการมากกว่าหนึ่งองค์กร
ต้องระบุชื่อให้ครบถ้วนและแจกแจงให้ชัดเจนด้วยว่าองค์กรที่ร่วมโครงการแต่ละฝ่ายจะเข้ามามีส่วนร่วม
โครงการในส่วนใดซงึ่ จะเปน็ ขอ้ มูลสะท้อนให้เหน็ วา่ โครงการจะประสบผลสำเรจ็ และเกิดผลต่อเนื่อง
8. แผนปฏิบตั กิ ารเปน็ ตารางท่แี จกแจงใหเ้ ห็นว่าผดู้ ำเนินโครงการวางแผนลงมอื ทำกจิ กรรมในชว่ ง
ดำเนนิ โครงการตงั้ แต่เรมิ่ ต้นจนจบโครงการวา่ แตล่ ะกจิ กรรมจะเกิดขึน้ เมื่อไรโดยเรียงลำดับตามชว่ งเวลา
9. งบประมาณ และแหล่งทมี่ าของทนุ ดำเนนิ โครงการเปน็ สว่ นทแ่ี สดงยอดเงินงบประมาณ
พร้อมแจกแจงค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ หากมีแหล่งทุนหลายแห่งให้ข้อมูลที่โปร่งใสด้วยโดยระบุ
รายละเอียดอย่างชัดเจนว่ารับทุนจากแหล่ใดบ้างจำนวนเท่าไร และจากแต่ละแหล่งแบ่งสรรไปใช้กับ
งบประมาณส่วนใด
10. การบรหิ ารจัดการโครงการเปน็ การอธบิ ายใหช้ ัดเจนว่าโครงการมีผูด้ ำเนินการกีฝ่ ่ายแต่ละ
ฝ่ายมีบทบาท หน้าท่ี ความรบั ผดิ ชอบอยา่ งไร และจะประสานงานในส่วนท่เี กีย่ วขอ้ งอย่างไร
~ 18 ~
11. การตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการหลงั เร่ิมดำเนนิ โครงการควรมกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลว่าแต่
ละกจิ กรรมของโครงการก่อให้เกดิ ผลตามวตั ถุประสงคห์ รือไม่หากพบปญั หาก็จะสามารถแก้ไขได้ทนั เวลาดังนั้น
จึงต้องนำเสนอไว้ว่าจะติดตามประเมินด้วยวิธีใดทั้งในขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมและหลังจบโครงการแล้ว
พร้อมทงั้ ระบตุ ัวชวี้ ดั ความสำเรจ็ ทัง้ ในแง่ปริมาณและคุณภาพวา่ คืออะไร
12. สรปุ ประวัติการทำงานของคณะทำงาน หรือองคก์ รผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการหากทา้ ยเอกสาร
ได้แนบประวัติผลงานของผู้เสนอโครงการและคณะผู้ดำเนินงานประกอบจะเป็นข้อมูลสำคัญส่วนหนึ่งในการ
สรา้ งความน่าเช่ือถือและการยอมรบั
~ 19 ~
โครงการไมใ่ ชง้ บประมาณเงนิ รายไดค้ ณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
…………………………………………………………………………………………………………….
ชอ่ื โครงการ
สัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ “อัตลักษณ์และความหลากหลายกับการพัฒนา สาม
จงั หวดั ชายแดนใต้”
ประเภทโครงการ
HUSO 04 โครงการพัฒนาหลกั สตู รและการเรียนการสอน
หลกั การและเหตุผล
การจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวขอ้ “อัตลักษณ์และความหลากหลายกับการพัฒนา
สามจังหวัดชายแดนใต้”ประจำปี 2564 เปน็ ความร่วมมือของนักศึกษา โดยมีคณาจารย์หลักสูตรศิลปะศาสตร์
บัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นที่ปรึกษา ซึ่งในการจัด
โครงการในครั้งนี้เป็นการจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ เพื่อพัฒนาให้นักศึกษาเรียนรู้กระบวนการและ
เพิ่มศักยภาพของการจัดสัมมนา และเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงร่างการศึกษา
อสิ ระ ระหว่างผูท้ รงคณุ วุฒิผู้นำเสนอ และผู้เขา้ ร่วมโครงการ ซึ่งนำไปสู่องค์ความร้โู ดยใช้กระบวนการวิจัยเป็น
ฐานในการเรยี นรู้ทีเ่ ช่อื มโยงทฤษฎีและการปฏิบัตภิ ายใต้การแสวงหาความรู้จากงานวิจัยอย่างตอ่ เนื่องและเป็น
ระบบผ่านกระบวนการจัดสัมมนาเพื่อเรียนรู้กระบวนการวางแผนการด ำเนินงานภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของเชื้อ COVID-19 อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และปรับตัวท่ามกลางสถานการณ์
โลกทีม่ กี ารเปล่ียนแปลงอยูต่ ลอดเวลา
จากสถานการณข์ ้างตน้ นักศึกษาและคณาจารย์ หลกั สตู รศิลปะศาสตร์บณั ฑิต สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
ได้เล็งเห็นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในการจัดสัมมนาท่ามกลางสถานการณ์
Covid-19 ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบ Online และเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครง
รา่ งการศึกษาอสิ ระ โดยผลการจัดสัมมนาครั้งนมี้ ีความคาดหวังวา่ จะสามารถสร้างองค์ความรผู้ ่านกระบวนการ
ต่างๆ ในการช่วยเหลือและพัฒนาสังคมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม และสามารถสร้างสรรค์
ผลงาน และนวัตกรรมในการพัฒนาสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนใน
สงั คมตอ่ ไป
วตั ถุประสงค์
1. เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับโครงร่างการศึกษาอิสระระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ
ผ้นู ำเสนอ และผเู้ ข้าร่วมโครงการ
2. เพอ่ื พฒั นาศักยภาพของนักศึกษาให้มีความสามารถเก่ียวกับการจดั สัมมนา
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ บนิ ดเุ หลม็ ตำแหนง่ ประธาน สาขาวิชาพัฒนาสงั คม
นางสาวอาราฟัต ล่มิ วฒั นานรุ กั ษ์ ตำแหนง่ รองประธาน สาขาวิชาพฒั นาสงั คม
นางสาวปนัดดา ทิง้ น้ำรอบ ตำแหน่งเลขานุการ สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม
นางสาวอารดิ า ยา ตำแหนง่ เลขานุการ สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม
นายมฮู ำหมัออาฟิก
~ 20 ~
นางสาวอาฟฟี ะห์ อาบู ตำแหนง่ เหรัญญกิ สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
ตำแหน่งพิธีการ สาขาวชิ าพฒั นาสังคม
นายโดม เกตุสง่า ตำแหนง่ โสตทัศนูปกรณ์ สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
ตำแหนง่ โสตทัศนูปกรณ์ สาขาวิชาพฒั นาสังคม
นายอดสิ รณ์ เทศอาเสน็ ตำแหน่งประสานงาน สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
ตำแหนง่ ประสานงาน สาขาวิชาพฒั นาสังคม
นางสาวซูไมยะห์ ลาเต๊ะ ตำแหน่งทะเบียน/วชิ าการ สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม
ตำแหน่งทะเบยี น/วชิ าการ สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม
นางสาวฟาซีรา เจะเลาะ ตำแหนง่ ทะเบียน/วิชาการ สาขาวิชาพัฒนาสงั คม
ตำแหน่งประเมินผล สาขาวชิ าพัฒนาสงั คม
นางสาวอานีรา แวเด็ง ตำแหน่งประเมนิ ผล สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
ตำแหนง่ อาจารย์ สังกัดภาควิชาสงั คมศาสตร์
นางสาวซูลฝา เจะเลาะ ตำแหนง่ อาจารย์ สงั กดั ภาควชิ าสงั คมศาสตร์
ตำแหน่งอาจารย์ สงั กัดภาควิชาสงั คมศาสตร์
นางสาวมาซือนะห์ มะสะ
นางสาวฟาดีละห์ เจะหะ
นางสาวกนกวรรณ สุวรรรส
นางสาวสฮุ ยั ณี อาหวงั
ดร.จิรชั ยา เจียวกก๊
ดร.อลิสา หะสาเมาะ
อาจารยอ์ บั ดลุ คอลกิ อัรรอฮมี ีย์
เป้าหมายของโครงการ
1.เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
- นักศกึ ษาสาขาวชิ าพัฒนาสงั คม เขา้ ร่วมโครงการจำนวนไม่นอ้ ยกวา่ 50คน
- คณาจารย์ และผู้ทรงคณุ วฒุ เิ ขา้ รว่ มโครงการจำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน
2.เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ
- นักศึกษาทีเ่ ข้ารว่ มโครงการได้แลกเปลย่ี นเรียนร้ปู ระสบการณ์ทางดา้ นวิชาการผา่ นการนำเสนอโครง
ร่างการศึกษาอสิ ระ
- นักศึกษาผจู้ ัดงานสัมมนาได้เรยี นรูก้ ระบวนการจัดสมั มนาและสามารถนำความรู้ท่ีไดจ้ ากการเข้าร่วม
ไปใช้ในงานสมั มนาอื่นๆ
ดา้ นผลผลิต (output)
1. เพื่อเปน็ เวทใี นการเผยแพร่ผลงานวชิ าการในกลมุ่ สาขาต่าง ๆ
2. กระตนุ้ ให้เกดิ การแลกเปลี่ยนความรูร้ ะหวา่ งกลุ่ม จากประสบการณ์ที่ไดร้ บั เพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพ
งานมากขึน้
3. เพือ่ พัฒนาศักยภาพของตนเองใหม้ ีความรู้ความสามารถในดา้ นวชิ าการ
ดา้ นผลลพั ธ์ (outcome)
1. เปน็ การกระตุ้นใหเ้ กดิ การเรยี นร้ภู ายในตัว
2. ผ้เู ข้ารว่ มมคี วามรเู้ กีย่ วกบั การจดั สัมมนาการนำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระเพ่ิมข้ึน เพ่ือเป็น
แนวทางในการจัดสมั มนาครัง้ ตอ่ ไป
ความสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์
การทำงานเชงิ บูรณาการ (ด้านการเรียนการสอน และด้านการบริหารจดั การองค์กร)
การพัฒนาศักยภาพความเปน็ มืออาชพี ของบุคลากร
HUSO Engagement การค้นคว้าองค์ความรู้และให้บริการวิชาการบนความรับผิดชอบและประโยชน์ต่อ
สงั คม
~ 21 ~
ความเป็นนานาชาติ และเครือขา่ ยความสมั พันธท์ ี่เข้มแขง็
การบริหารจัดการเพ่อื ความเปน็ องค์กรท่ีมีประสิทธภิ าพสงู
ความสอดคล้องตามคณุ ลกั ษณะนักศกึ ษา (ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั )
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ด้านความรแู้ ละทักษะทางปญั ญา
ดา้ นทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผิดชอบ
ด้านทักษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การส่ือสาร ละการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
สอดคล้องกับการดำเนินงานตามแนวทางการประกันคุณภาพ
1 ระดับ/เกณฑ์ คณะ (EdPEx) ระดบั หลักสตู ร (CUPT QA)
หนว่ ยงานสนับสนุน (LEAN)
2 ตวั ชวี้ ัด การบรหิ ารจัดการ อาจารย/์ บุคลากร บณั ฑิต/ศิษยเ์ กา่
นักศกึ ษา งานวิจยั บรกิ ารวชิ าการ
ทำนบุ ำรุงศลิ ปวฒั นธรรม อื่นๆ..................................................
~ 22 ~
สถานที่จัดโครงการ
คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี
หมายเหตุ : จัดในรูปแบบออนไลน์ (Zoom)
ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ
วันศกุ ร์ ที่ 20 สงิ หาคม 2564
ลกั ษณะการดำเนนิ โครงการ
โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระครั้งนี้ได้ จัดขึ้นในระบบออนไลน์ โดยใช้ ZOOM Meeting
ID: 999 004 3026 เป็นสื่อกลางในการประชุม โดยภายในงานจัดให้มีวิทยากรผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านมาให้ความรู้และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นตามวัตถุประสงค์ของโครงการและมีกิจกรรม
นำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระในหัวข้อต่างๆ ระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้นำเสนอ และผู้เข้าร่วมโครงการโดยมี
การแลกเปล่ียนองค์ความรู้ท่นี ่าสนใจในการพัฒนาสังคม ซง่ึ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการพัฒนากระบวนการเรียนการ
สอน การวิจัย และนวัตกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาสู่การเป็นนักพัฒนาสังคมในอนาคตที่มี
องคค์ วามรู้อันจะนำมาประยกุ ต์ใช้ในการพัฒนาสังคมต่อไป
แผนปฏิบัตกิ ารโครงการ : วงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ (PDCA)
กจิ กรรม Wk3 Wk14 Wk15 Wk6 Wk7 Wk8 Wk9
1.ขนั้ วางแผน (plan)
ประชุมแตง่ ต้ังคณะกรรมการ/วางแผน ✓
กำหนดรปู แบบโครงการ
2.ข้นั ปฏิบตั ติ ามแผน(Do) ✓✓✓✓
เขียนโครงการและขออนุมตั โิ ครงการ/
ประสานงานเรอื่ งสถานท่ีและอาหารสำหรับ ✓
ผูเ้ ขา้ ร่วมสัมมนา/ประชาสัมพันธ์โครงการ/
ประสานงานคณาจารย์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิและผทู้ ่ี
เก่ียวข้อง/จัดสัมมนานำเสนอโครงรา่ ง
การศกึ ษาอสิ ระ
3.ข้ันตรวจสอบ/ประเมนิ ผล และนำผล
ประเมนิ มาวเิ คราะห(์ Check)
ตรวจสอบขน้ั ตอนของการดำเนนิ งาน และ
ประเมินผลของการดำเนนิ งาน/สรปุ ผลการ
จัดสมั มนา
~ 23 ~
กจิ กรรม Wk3 Wk14 Wk15 Wk6 Wk7 Wk8 Wk9
4.ข้นั ปรับปรุงการดำเนนิ การใหเ้ หมาะสม
(Act)
ประเมนิ ตนเองและปรบั ปรุงแก้ไขตามความ
เหมาะสมของโครงการฯ/นำผลทีไ่ ดจ้ ากการ ✓
จดั โครงการในครั้งนนี้ ำไปต่อยอด เพื่อ
ดำเนินการต่อไป
ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั
1. การจัดสัมมนาโครงรา่ งการศึกษาอิสระก่อให้เกิดประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นเกี่ยวกับ
โครงรา่ งการศกึ ษาอสิ ระระหวา่ งผู้ทรงคุณวฒุ ิ ผนู้ ำเสนอ และผู้เข้าร่วมโครงการ
2. ไดเ้ ปน็ ส่วนหนึ่งในการพัฒนาและยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ความเปน็ อยู่ของชมุ ชนต่อไป
การประเมนิ โครงการ
1.การสงั เกต
2.แบบประเมินโครงการ
ลงช่ือ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ
(นายอาราฟตั บินดเุ หล็ม)
ตำแหนง่ ประธานโครงการฯ
ลงชื่อ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา
(นายอับดุลคอลิก อัรรอฮิมีย์)
ตำแหน่งอาจารย์ท่ีปรึกษา
~ 24 ~
กำหนดการโครงการสัมมนาโครงรา่ งการศึกษาอสิ ระ
“อัตลักษณ์และความหลากหลายกบั การพัฒนา สามจังหวัดชายแดนใต้”
สาขาวชิ าพัฒนาสงั คม คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปกี ารศึกษา 2564
วนั ที่ 20 เดอื น สิงหาคม ปี 2564 เวลา 08.00-16.00 น.
ณ ชอ่ งทางการเผยแพรผ่ า่ นแอพพลเิ คช่ันออนไลน์ (Zoom)
กำหนดการ กิจกรรม
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนเขา้ งาน
08.30 - 08.40 น. แนะนำผ้ทู รงคณุ วุฒิและคณาจารย์
08.40 – 09.00 น. กล่าวรายงานการจัดสัมมนานำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระโดย นายอารา
ฟัต บินดุเหลม็ ประธานโครงการกล่าวเปดิ พธิ ีการจัดสัมมนานำเสนอโครงร่าง
09.00 – 09.30 น. การศึกษาอิสระโดย นายเชาวน์เลิศ ล้อมลิ้ม รักษาการแทนรองคณบดีฝ่าย
กิจการนกั ศกึ ษาและศิษยเ์ กา่ สมั พนั ธ์
09.30 – 10.00 น. นำเสนอกลุ่มที่ 1 หัวข้อ สปาฮาลาล : อัตลักษณ์การบริการความงามแบบ
ลังกาสุกะ เพื่อพัฒนาสังคมชายแดนใต้ นำเสนอโดย นางสาวกิ่งกมล หอย
10.00 – 10.30 น. สกลุ และนางสาวอุบลรตั น์ ดวงเเกว้
นำเสนอกลุ่มที่ 2 หัวข้อ "เรือกอและ : อัตลักษณ์และความสัมพันธ์สะท้อน
10.30 – 10.45 น. วิถี" นำเสนอโดย นางสาวนูไรนี เดชดี นายอัลวา หวันชิดนาย และ
10.45 – 11.15 น. นางสาวฐณฐั ฐา นิม่ ละออ
นำเสนอกลมุ่ ที่ 3 หัวข้อ การพัฒนาอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเเบบมีส่วนร่วม
11.15 – 11.45 น. กรณีศึกษา : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาเกตุเกษตรพัฒนา หมู่ที่ 1 ตำบลนาเกตุ
อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี นำเสนอโดย นางสาวอภิรตี เเก้วคช และ
11.45 – 13.00 น. นางสาวคตี ภทั ร รัตนเดช
พักย่อย 15 นาที
นำเสนอกลุ่มที่ 4 หัวข้อ "แนวทางพัฒนาอาชีพเสริมของชุมชน กรณีศึกษา :
กลุ่มเลี้ยงนกกระทาและกลุ่มปลูกผัก (ชุมชนบ้านกลาง) หมู่ 5 ตำบลบ้าน
กลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี" นำเสนอโดย นางสาวซอฟียะห์ เลาะ
ยะผา และนางสาวอริสรา ยตี าเห
นำเสนอกลุ่มที่ 5 หัวข้อ "แนวทางการพัฒนาอาชีพโดยใช้ทรัพยากรในชุมชน
กรณศี กึ ษา : กล่มุ นาร้างและกล่มุ เล้ียงปลาสลดิ
ดอนนา หมู่ 5 ตำบลบา้ นกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวดั ปัตตาน"ี นำเสนอโดย
นางสาวนุรอซั ลิน เจ๊ะแว และนางสาวนสั รียะห์ อาลมี ามะ
พกั เทีย่ ง
~ 25 ~
13.00 – 13.30 น. นำเสนอกลุ่มที่ 6 หัวข้อ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ไปสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้
ของชุมชนจะรัง กรณีศึกษา : ชุมชนจะรัง หมู่ 7 ตำบลจะรัง อำเภอยะหร่ิง
13.30 – 14.00 น. จังหวัดปัตตานี นำเสนอโดย นางสาวนูรูลฟาตีฮะห์ เจ๊ะเงาะ และนางสาวอัส
14.00 – 14.30 น. มะ สาเมาะ
14.30 – 14.45 น. นำเสนอกลุม่ ท่ี 7 หัวข้อ "แนวทางการป้องกันปัญหายาเสพติดของเยาวชนใน
14.45 – 15.15 น. สถานพินจิ คุ้มครองเด็กและเยาวชน จงั หวัดปตั ตาน"ี นำเสนอโดย นางสาวซา
รอฟะห์ มะสาแม และนางสาวสาวินี สาสเู ลาะ
15.15 – 15.45 น. นำเสนอกลุ่มที่ 8 หัวข้อ รูปแบบและแนวทางการป้องกันพฤติกรรมการรังแก
15.45 – 16.00 น. ของเด็กออทิสติก กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดปัตตานี
นำเสนอโดย นายฮรั ฟาน ดือราแม และนางสาวโซเฟีย แวกูโน
พักย่อย 15 นาที
นำเสนอกลุ่มที่ 9 หัวข้อ "รูปแบบ ผลกระทบ และวิธีการรับมือ จากการตก
เป็นเหยื่อพฤติกรรมความรุนแรงในกลุ่ม LGBT ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
แห่งหนึ่งในสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ นำเสนอโดยนายรุสมีซี เจะเฮาะ และ
นางสาวยูไรฟะห์ เราะสู
นำเสนอกลุ่มที่ 10 หัวข้อ "แนวทางการป้องกันภาวะซึมเศร้าของนักศึกษา
กรณีศึกษา : มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในสามจังหวัดชายแดนใต้ นำเสนอโดย
นางสาวโซฟียะ สาแม และนายปัณณธร รอดดำ
กล่าวปิดโครงการนำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระโดย นางสาวปนัดดา ล่ิม
วัฒนานรุ ักษ์ รองประธาน
*หมายเหตุ กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
~ 26 ~
~ 27 ~
นายอาราฟัต บนิ ดเุ หล็ม
ประธานโครงการสัมมนาโครงรา่ งการศึกษา
อิสระ
ตดิ ตอ่ : 095-0238104
ความรู้ในการปฏิบตั ิงานของประธาน
ความรเู้ ก่ยี วกบั การดำเนินงาน
ประธาน = ทำหน้าที่อำนวยการจัดสัมมนา เช่นสรรหากรรมการแต่ละฝ่ายควบคุม ติดตาม
ประสานงาน กับแต่ละฝ่ายวางแผน ดำเนินการ จัดทำโครงการร่วมกับฝ่ายต่างๆให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ
สนับสนุนแต่ละฝ่ายวิเคราะห์ปัญหา หาแนวทางแก้ไข ตัดสินปัญหาดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการ
บทบาทหน้าทีข่ องผู้จัดสมั มนา
ลักษณะของประธาน
เป็นผู้นำที่ดีบุคลิกภาพทางกาย การแต่งกาย / การแสดงออกหน้าตา ยิ้มแย้มแจ่มใส พูดจาสุภาพ มี
น้ำใจ ประสานงาน กล้าคิด-ทำ-ตัดสินใจ มีอารมณ์ขัน ฯลฯบุคลิกภาพทางจิต มีความมั่นคงทางอารมณ์ สุขุม
รอบคอบ ซือ่ สัตย์ มคี วามรับผิดชอบสูง อดทนอดกลั้น เทีย่ งธรรม และควรมี 10 ข้อดังน้ี
1. ลักษณะท่าทางหรือการวางตัวBearing คือ การสร้างความประทับใจในเร่ืองท่าทาง การวางตัว
และความประพฤติให้อยู่ในระดับสูงสุดเป็นที่นิยมของผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา มีความสุภาพนุ่มนวลหลีกเลี่ยงการ
พูดด้วยถ้อยคำหยาบคาย หรือเหยียดหยามผู้อื่น เป็นบุคคลที่มีความสง่าผ่าเผย ควบคุมตนเองได้ทั้งในการ
ปฏิบัตติ น และอารมณ์ แตง่ กายสะอาดเรียบร้อยถกู ตอ้ งตามระเบยี บแบบแผน
2. ความกล้าหาญCourage คือ การบังคับจิตใจตนเองให้อยู่ในความสงบ ไม่เกรงกลัวว่าจะเกิดอะไร
ขึ้น ไม่สะทกสะท้านหรืออ่อนไหว กล้าทำ กล้าพูด กล้ายอมรับผิดหรือคำติเตียน เมื่อมีความผิดพลาด หรือ
บกพรอ่ ง ยึดมนั่ ในสิ่งทีถ่ กู ที่ควร ถงึ แม้วา่ ส่ิงนัน้ จะไม่เปน็ ที่สบอารมณ์ผ้อู ่นื ก็ตาม
3. ความเด็ดขาดDecisiveness คือ ความสามารถในการตกลงใจโดยฉับพลัน และประกาศข้อตกลง
ใจอย่างเอาจริง และชัดแจ้ง โดยพิจารณาจากข้อเท็จจริงต่างๆ รวมทั้งประสบการณ์ของตนเองและบุคคลอื่น
อย่างมเี หตผุ ลและมคี วามมน่ั ใจ ในลักษณะทรี่ วดเรว็ ไม่พดู ออ้ มคอ้ ม ถกู ต้อง และทันเวลา
4. ความไว้เนื้อเชื่อใจDependability คือ การได้รับความไว้วางใจในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ หรือ
งานที่มอบหมายได้ถูกต้องไม่ผิดพลาดด้วยความคล่องแคล่ว ว่องไว เฉลียวฉลาด กระทำการอย่างเต็ม
ความสามารถและพถิ พี ิถนั เป็นคนตรงต่อเวลา ไม่กล่าวคำแก้ตวั มคี วามต้งั ใจ และจรงิ ใจ
5. ความอดทนEndurance คือ พลังทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งวัดได้จากขีดความสามารถในการทน
ต่อความเจ็บปวด ความเหน็ดเหนื่อย เมื่อยล้า ความยากลำบาก ความเคร่งเครียด งานหนัก รวมถึงความอด
กลนั้ ต่อสถานการณ์ทบี่ บี คั้น
~ 28 ~
6. ความกระตือรือร้นEnthusiasm คือ การแสดงออก ซึ่งความสนใจอย่างจริงจัง และมีความจดจ่อ
ต่อการปฏิบตั งิ านอยา่ งจรงิ จัง หมายถงึ การทำงานด้วยความรา่ เริงและคิดแต่แงด่ ีเสมอ
7. ความริเริ่มInitiative คือ การเป็นผู้รู้จักใช้ความคิดในการเสาะแสวงหางานทำ และเริ่มหาหนทาง
ปฏิบัติ ถึงแม้จะไม่มีคำสั่งให้ปฏิบัติ หรือการแสวงหาแนวทางในการปฏิบัติงานใหม่ ๆ ที่ดีมีประสิทธิภาพ
มากกวา่ เดิม และกระทำทันทีโดยไม่รรี อหรือชักช้า
8. ความซือ่ สตั ย์สจุ รติ Integrity คอื ความเที่ยงตรงแห่งอปุ นิสัยและยึดม่ันอยู่ในหลักแห่งศีลธรรมอัน
ดีงามเป็นคุณสมบัติของการรักความจริง รักษาวาจาสัตย์ตลอดเวลา คำพูดทุกคำต้องถูกต้องเป็นจริงทั้งเรื่อง
ราชการและสว่ นตัว ยืนหยัดในเรอ่ื งท่ีถูกตอ้ ง และสำนกึ ในหนา้ ที่การงานของตน
9. ความพินจิ พิเคราะห์Judgment คอื คณุ สมบัตใิ นการใคร่ครวญ โดยใชเ้ หตุผลตามหลักตรรกวิทยา
เพอื่ ให้ไดม้ ลู ความจรงิ และหนทางแก้ไขทน่ี า่ จะเป็นไปไดน้ ำมาใช้ในการตกลงใจไดถ้ ูกต้อง
10. ความยุติธรรมJustice คือ การไม่ลำเอียงเข้าข้างใคร มีความเที่ยงตรง ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง มี
ความเสมอตน้ เสมอปลายในการบังคับบัญชา การใหร้ างวัลและการลงโทษแกผ่ ทู้ ่กี ระทำผดิ การไมม่ อี คติต่อเชื้อ
ชาติ ศาสนา บคุ คล หรอื กลุม่ บุคคล มคี วามเท่ียงธรรมคงเส้นคงวาโดยไม่เห็นแกหนา้ ใคร
บทบาทหนา้ ท่ี
ประธานต้องเตรยี มตัวในเรื่อง
1.วางแผน วางแผนการประชมุ รว่ มกบั เลขานกุ ารเรอื่ งอะไร ที่ไหน เมือ่ ไหร่ ทำหนงั สือเชญิ จดั ทำวาระ
การประชมุ ส่งใหก้ รรมการล่วงหนา้ 3 - 7 วนั วางแผนในเรื่องทจ่ี ะพดู ตามวาระการประชมุ จัดเตรียมอุปกรณ์ที่
ต้องใชใ้ นการประชุมบทบาทหน้าท่ีของผูจ้ ัดสัมมนา
2. ดำเนนิ การประชุม
1. เรียกประชุมคณะกรรมการ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการ ตลอดจนมีบทบาทในการ
กำหนดระเบียบวาระการประชมุ ร่วมกับทปี่ รกึ ษา
2. มีบทบาทในการควบคุมการประชุมให้มีประสิทธภิ าพเปน็ ไปตามระเบียบ สนบั สนุนและเปิดโอกาส
ใหก้ รรมการแสดงความเห็นอย่างเปน็ อสิ ระ
3. สนับสนุนและส่งเสริมให้คณะกรรมการสัมมนาปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ตามขอบเขต
อำนาจ หนา้ ท่ี ความรับผดิ ชอบ และตามหลักการกำกบั ดูแล
4. ดูแล ติดตามการบริหารงานของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยอื่น ๆ ให้บรรลุตาม
วัตถุประสงค์ทกี่ ำหนดไว้
5. เป็นผู้ลงคะแนนชี้ขาดในกรณีทท่ี ่ีประชมุ คณะกรรมการสัมมนา คะแนนเสียงทัง้ สองฝา่ ยเท่ากัน
~ 29 ~
ภาพที่1: การปฏบิ ัตงิ านของประธานงานสัมมนา
ภาพที่2 : การประชุมวางแผนของประธาน
~ 30 ~
ตารางท่ี 3 : ตารางการติดตามงานแต่ละฝ่าย (ประธาน) เหตุผล
ความคืบหน้าครั้งท่ี 1
ฝ่าย งานท่ีได้รบั มอบหมาย สำเร็จ ไม่สำเร็จ
1.รา่ งกำหนดการสมั มนา /
2.ร่างคำกล่าวรายงาน /
3.ทำหนังสอื เชิญผ้ทู รงคุณวุฒิ /
4.ทำหนังสอื เชิญประธานในพธิ เี ปดิ /
เลขานกุ าร 5.ทำหนังสือขอใช้อุปกรณ์การ /
ถ่ายทอดสดในการสมั มนา /
6.ทำหนังสือขออนุมัติจัดโครงการโดยไม่
ใช้งบประมาณ
ทะเบียน 7.ทำใบโครงการจัดสมั มนา /
และวชิ าการ
1.เตรียมเอกสารแบบฟอร์มสำหรับ /
ลงทะเบียนของผู้จัดสัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิ /
และคณาจารย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนาและผู้
นำเสนอ
2.เตรียมขอ้ มูลของผ้เู ขา้ รว่ มสัมมนา
ทงั้ หมด
3.จดั ทำคู่มอื สมั มนา /
~ 31 ~
ฝ่าย งานที่ได้รบั มอบหมาย ความคืบหนา้ ครงั้ ที่ 1 เหตผุ ล
สำเร็จ ไม่สำเร็จ
1.ขอรายช่อื ผทู้ รงคณุ วฒุ ิคณาจารยใ์ น
สาขาผนู้ ำเสนอ /
2.ส ่ ง ห น ั ง ส ื อ เ ช ิญ ป ร ะ ธ า น ใ น พิธี /
คณาจารย์ พร้อมแนบใบโครงการและ /
ประสานงาน 3.ประสานงานรายละเอียดต่าง ๆ กับ /
และพิธกี าร พิธีกร
4.ประสานงานติดต่อเรื่องอุปกรณ์ต่างๆ /
ทีจ่ า้ เปน็ ตอ้ งใช้ รวมถงึ ประสานงาน
ห้องสมั มนาออนไลน์
5.ประสานไปยังกล่มุ ต่างๆ
~ 32 ~
นางสาวปนดั ดา ลมิ่ วัฒนานุรกั ษ์
รองประธานโครงการ
ตดิ ตอ่ : 098-0618580
ความร้ใู นการปฏิบัติงานของรองประธาน
ความรเู้ กี่ยวกบั การดำเนนิ งาน
การดำเนินโครงการหรอื กิจกรรมตา่ ง ๆ จำเป็นต้องมีผูน้ ำ ผู้ที่ริเริ่มในการดำเนินโครงการ ผู้นำในการ
ดำเนินการจดั การประชมุ เพ่อื ใหเ้ กดิ รปู รา่ งแบบแผนในการดำเนนิ การเพื่อใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงค์ท่ีได้วางไว้
ในโครงการที่เกิดขึ้น การทำงานที่จะให้เกิดความง่ายมากขึ้นนั้น ต้องมีผู้ที่คอยให้คำปรึกษา สามารถให้ความ
ช่วยเหลือในยามที่จำเป็น และสามารถทำงานร่วมกันอย่างเข้าใจ การมีรองประธานถือเป็ นการแบ่งเบา
ภาระหน้าที่ของประธานให้เพลาลงจากเดิมได้ โดยรองประธานทำหน้าที่ช่วยประธานในการอำนวยการจัด
สัมมนาที่ประธานดำเนินการอยู่และหากประธานติดธุระจำเป็น รองประธานก็จะต้องทำหน้าที่แทนประธาน
นอกจากนี้ ยังต้องทำหน้าที่ตามที่ประธานได้มอบหมายไว้ กล่าวคือจะต้องทำงานเคียงคู่กับประธานแต่อยู่ใน
ฐานะผู้ช่วย ยกเว้นแต่บางครั้งที่ประธานติดภารกิจ นอกจากนี้รองประธานยังทำหนา้ ที่ควบคุมการดำเนนิ งาน
ทัง้ เบ้อื งหนา้ และเบ้ืองหลังงานสมั มนา คอยใหค้ ำแนะนำหรือแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าใหก้ ับฝ่ายต่าง ๆ และเป็น
ตัวแทนในการติดตามความก้าวหน้าของฝ่ายต่าง ๆ แทนประธานได้ เพื่อให้โครงการสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีใน
ขณะเดียวกนั การเปน็ รองประธานทดี่ ีนั้นจะต้องใส่ใจในงานต่าง ๆ มคี วามเข้าใจงานในทุก ๆ ฝา่ ยเพ่ือทสี่ ามารถ
ใหค้ ำปรกึ ษา หรือแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ให้กับฝ่ายต่าง ๆ ได้ เพอื่ ให้โครงการสำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี
บทบาทหนา้ ท่ีและภาระงาน
บทบาท คือ ภาระที่ต้องรับผิดชอบตามสถานภาพของแต่ละบุคคล หมายความว่า บุคคลใดมี
สถานภาพหรือตำแหน่งอย่างใด ก็ต้องรับผิดชอบตามสถานภาพหรือตำแหน่งของตนที่ได้มาไม่ว่าจะได้มาโดย
กำเนิดโดยการกระทำหรือโดยการแตง่ ตั้งใหเ้ ป็นไปตามท่ีสังคมคาดหวัง
รองประธาน คือบุคคลที่ทำหน้าที่ช่วยประธาน ในการอำนวยการจัดสัมมนา ที่ประธานดำเนนิ การอยู่
และหากประธานตดิ ธุระจำเป็น รองประธานก็จะต้องทำหนา้ ที่แทนประธาน นอกจากนี้ ยงั ต้องทำหน้าทตี่ ามท่ี
ประธานไดม้ อบหมายให้ไปทำ กลา่ วคอื จะต้องทำงานเคยี งคู่กับประธานแต่อยู่ในฐานะผูช้ ่วย ยกเวน้ แตบ่ างครั้ง
ทป่ี ระธานตดิ ภารกิจ
~ 33 ~
1.ปฏิบัติการในอำนาจหน้าที่ของประธานแทนประธานเมื่อประธานไม่อยู่หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
หรอื เมอื่ ตำแหน่งประธานว่างลง
2.ปฏิบตั ิการตามทปี่ ระธานมอบหมายให้
3.เตรียมการประชุมร่วมกับประธาน ตั้งแต่การประชุมครั้งแรก เพื่อวางแผนจัดสัมมนาเป็นระยะ ๆ
จนถึงวันสัมมนา
4.ควบคุมการดำเนินงานทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลังของฝ่าย โสตทัศนูปกรณ์ เหรัญญิก พิธีกร
ประเมินผล
5.ติดตามและประสานงานกับฝ่าย โสตทศั นูปกรณ์ เหรัญญกิ พธิ กี ร ประเมินผล
6.ดำเนนิ การจดั ประชุมภายในทีม
7.ใหค้ ำแนะนำแก่ฝ่ายตา่ ง ๆ เมื่อสมาชิกในฝา่ ยน้ัน ๆ ตอ้ งการคำแนะนำ
ภาพท่ี 3: บทบาทหน้าท่ีของฝ่ายรองประธาน
ลกั ษณะและคณุ สมบตั ิของรองประธาน
คนที่เป็นผู้นำมักมีลักษณะบางอย่างที่เด่นกว่าผู้ตาม คนที่เป็นผู้นำมักเป็นคนที่มีอิทธิพลเหนือผู้อ่ืน
ผู้อ่ืนยอมทำตาม อกี ท้งั ผู้ตามยอมไดน้ ำเอาความประพฤติ ได้นำเอาแบบอย่างในการทำงาน ผูต้ ามบางคนถึงกับ
ยอมถอดแบบผู้นำ บางคนลอกเลียนแบบอย่างของผู้นำ ในบทความฉบับนี้ เราจะมาเรียนรู้ แลกเปลี่ยนกันใน
เรือ่ ง คณุ ลักษณะของผู้นำทด่ี มี ีอะไรบา้ ง
~ 34 ~
คนที่เป็นผู้นำมักมีลักษณะบางอย่างที่เด่นกว่าผู้ตาม คนที่เป็นผู้นำมักเป็นคนที่มีอิทธิพลเหนือผู้อ่ืน
ผู้อนื่ ยอมทำตาม อีกทง้ั ผูต้ ามยอมได้นำเอาความประพฤติ ได้นำเอาแบบอย่างในการทำงาน ผูต้ ามบางคนถงึ กับ
ยอมถอดแบบผู้นำ บางคนลอกเลียนแบบอย่างของผู้นำ ในบทความฉบับนี้ เราจะมาเรียนรู้ แลกเปลี่ยนกันใน
เรอ่ื ง คุณลักษณะของผ้นู ำในทศั นะของดิฉันมีดงั นี้ค่ะ
1. มีเป้าหมาย ผู้ที่ต้องการเป็นผู้นำ ควรมีเป้าหมายเป็นของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายชีวิต
เป้าหมายในการทำงาน เป้าหมายในการเปล่ียนแปลงองค์กร เปา้ หมายในการเปล่ียนแปลงประเทศชาติ การมี
เปา้ หมายเปน็ สิ่งสำคญั ที่จะทำให้ผู้นำมีทิศทางในการเดินทางไปสู่เป้าหมาย ตรงกันข้ามหากผู้นำไม่มีเป้าหมาย
ผูน้ ำก็จะรู้สึกสับสน เปรียบดงั เรอื ทไ่ี ร้หางเสอื อกี ท้งั ไม่รู้จะไปในทิศทางไหนเหมือนอยู่กลางมหาสมุทร
2. ความรอบรู้ ยุคปัจจุบัน เป็นยุคของข้อมูลข่าวสารเป็นยุคที่จะต้องใช้ ความคิด ความรู้ มาแข่งขัน
กัน ไมเ่ หมือนยุคในสมัยอดีตมักจะใช้กำลังในการต่อสหู้ รือการทำสงครามผ้นู ำท่ีมีข้อมูลมากกว่า ผู้นำท่ีมีความ
รอบรกู้ ว่า ผู้นำท่ีมีการใช้ขอ้ มลู มาวเิ คราะหไ์ ดด้ ีกวา่ มักเปน็ ท่ียอมรบั อกี ทั้งเป็นทเ่ี คารพเช่อื ถอื แก่ผตู้ าม
3. กล้าเปลีย่ นแปลงหรอื ริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ ยุคสมัยปัจจบุ ันและยคุ ของโลกในอนาคต ผู้นำมักเป็นผูท้ ีก่ ล้า
เปลีย่ นแปลง ผนู้ ำมกั กล้าทดลอง ค้นควา้ สิ่งใหม่ ๆ โลกยคุ ใหม่จึงเป็นยคุ สมยั ของ ผูน้ ำแหง่ การเปล่ยี นแปลง
4. กระตือรือร้น ผู้นำที่มีประสิทธิภาพ มักเป็นผู้นำที่มีความกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง เดินไวกว่า
คนปกติ ตามจติ วิทยา หากผู้นำมีความกระตอื รือร้นในการทำงาน ผู้ตามมกั จะมีความกระตือรือร้นด้วย ในทาง
กลับกัน หากวา่ ผูน้ ำมคี วามเฉยชา ผตู้ ามก็มกั จะทำงานดว้ ยความเฉยชา เชน่ กนั
5. มคี วามอดทน งานของผนู้ ำมักเป็นงานทหี่ นักกว่าผูต้ าม เน่ืองจากตอ้ งมีความรบั ผิดชอบต่องาน ต่อ
คนทที่ ำงานและตอ่ องค์กร ยง่ิ เป็นองค์กรขนาดใหญ่ เชน่ บรษิ ทั (มหาชน) ,กระทรวง , หรอื ประเทศชาติ ก็ต้อง
รับภาระที่หนักหนาขึ้นหากว่าเราสังเกต ผู้นำระดับประเทศบางคนตอนขึ้นสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ประธานาธิบดี มใี บหนา้ ทห่ี ล่อ ดดู ี มีสง่า แต่เมือ่ ดำรงตำแหนง่ ไปได้ไมน่ าน หน้าตาทเ่ี คยสง่า ดูดี กลับการเป็น
ใบหน้าที่ดู เคร่งเครียด จริงจัง ก็สืบเนื่องมาจาก ผู้นำระดับประเทศผู้นั้น ต้องแบกรับปัญหาต่าง ๆ มากมาย
และใชค้ วามคิดในการแกป้ ัญหานัน้ เอง
6. การบังคับตนเองหรือการควบคุมตนเอง คนที่ต้องการเป็นผู้นำต้องมีสติในการควบคุมตนเอง ท้ัง
ทางด้านจิตใจและร่างกาย เช่น บังคับตนเองไม่ให้แสดงออกต่อหน้าสาธารณะในการแสดงกิริยาอาการที่ไม่ดี
โดยเฉพาะตอ่ หนา้ สือ่ มวลชน เนือ่ งจากผู้นำต้องเปน็ เป้าสายตาต่อลูกนอ้ งและคนท่ัวไป
7. การใช้ดุลพินิจและกล้าตัดสินใจ ผู้นำที่ดีต้องรู้จักใช้ดุลพินิจ อีกทั้งเมื่อมีปัญหาก็ต้องกล้าตัดสินใจ
ถึงแม้จะตัดสินใจผิดพลาดไปบ้างก็ตาม แต่หากไม่กล้าตัดสินใจ ก็จะทำให้สถานการณ์นั้น ๆ แย่ลงได้ ผู้นำจึง
ต้องเป็นนักวิเคราะห์ นักคิดที่ดีในการรู้จักมองปัญหาต่าง ๆ อีกทั้งต้องมีความเด็ดขาดเมื่อต้องตัดสินใจ
เพอ่ื ทจ่ี ะนำพาองคก์ ร ประเทศชาติ เดนิ หนา้ ต่อไป
8. มีมนุษย์สัมพันธ์ ผู้นำที่ดีต้องเป็นคนมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี เนื่องจากผู้นำต้องทำงานกับคน หากผู้นำ
สามารถครองใจคนทำงานได้ ลูกน้องก็มักจะทำงานเต็มที่ การมีมนุษย์สัมพันธ์จะทำให้ผู้นำเป็นท่ี เคารพรัก
ศรทั ธา เชื่อถอื ของผู้คน ทำให้มคี นอยากชว่ ยเหลือ มากกวา่ ผ้นู ำทไ่ี ม่มมี นษุ ย์สมั พันธใ์ นการทำงาน
~ 35 ~
บคุ ลิกภาพที่ดขี องรองประธาน
บุคลิกภาพทางกาย : แต่งกายสุภาพ ทันสมัย เหมาะกับกาลเทศะ พูดจำฉะฉาน ชัดเจน กิริยา
นา่ เชือ่ ถอื
บุคลิกภาพทางสุขภาพจิต : ม่นั คงในอารมณ์ สขุ มุ รอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ
ตารางท่ี 4 : ตารางการติดตามงานแต่ละฝ่าย (รองประธาน)
ฝา่ ย งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ความคบื หนา้ ครง้ั ท่ี 1 เหตผุ ล
สำเรจ็ ไม่สำเร็จ
โสตทัศนูปกรณ์ 1.ออกแบบโล้โก้ /
และ 2.ออกแบบโปสเตอร์สัมมนา /
ประชาสัมพันธ์ /
3.ออกแบบโปสเตอร์ผู้นำเสนอ /
/
4.จัดทำสื่อประชาสัมพนั ธ์
5.จัดทำวีดีทัศน์นำเข้าสู่หัวข้อ /
สมั มนา
6.เชญิ ชวนการเข้ารว่ มสัมมนา
7.ถ่ายภาพบรรยากาศในวนั สัมมนา /
8.การจัดห้องสัมมนาออนไลน์และ /
การถา่ ยทอดสดบรรยากาศงาน /
สัมมนา
1.เก็บเงนิ สมาชิกในกลมุ่
เหรญั ญิก 2.ทำบัญชีงบประมาณ รายรับ – /
รายจา่ ย /
/
3.ควบคุมการเบิกจ่ายของแต่ละ
ฝ่าย
4.เกบ็ ใบเสรจ็ จากการซ้ือของ
~ 36 ~
ฝ่าย งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ความคืบหนา้ คร้ังท่ี 1 เหตุผล
ประเมินผล สำเรจ็ ไม่สำเร็จ
1.ออกแบบใบประเมลิ ผล
พิธีการ 2.รวบรวมขอ้ มูล /
3.วิเคราะห์ข้อมลู /
4.จดั ทำใบคะแนน /
5 . AAR ท บ ท ว น ห ลั ง /
ปฏิบัติงาน /
1.คิดบทพูดในการ
ดำเนนิ งาน /
2.ฝึกซ้อมบทพูดในการเป็น
พธิ กี ร /
3.เปน็ ผู้ดำเนินรายการ
4.เป็นผู้ควบคุม หรือกำกับ /
รายการ ภาคพิธีการตาม /
กำหนดการ
~ 37 ~
นางสาวอารดิ า ท้งิ นำ้ รอบ
ฝ่ายเลขานุการ
ตดิ ต่อ : 083-6529872
ความรู้ในการปฏบิ ตั ิงานของเลขานกุ าร
ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงาน
“เลขานุการ” เปรียบเสมือนมือขวาของผู้บริหาร เป็นงานที่มีความสำคัญยิ่งต่อหน่วยงาน เพราะ
ความก้าวหน้าและความสำเรจ็ ของหนว่ ยงานส่วนหนึ่งก็ขึน้ อยู่กบั เลขานกุ าร ซึ่งเลขานุการจะเปน็ ผ้ชู ่วยแบ่งเบา
ภาระของผู้บรหิ าร ทจี่ ะชว่ ยอำนวยความสะดวก และชว่ ยใหง้ านสำเร็จลลุ ่วงและรวดเร็ว
หน้าที่หลักของเลขานุการ คือ เป็นผู้ช่วยแบ่งเบาภาระให้กับผู้บริหาร ช่วยอำนวยความสะดวก ช่วย
ประสานงาน และชว่ ยสนับสนนุ ใหง้ านสำเรจ็ ลุลว่ งไปได้อยา่ งราบรืน่ และรวดเร็วทันตอ่ เวลา
ทักษะที่จำเปน็ ของเลขานุการ คือ การมีทักษะการจัดการได้อย่างเปน็ ระบบ และมีระเบียบในการทำงาน และ
นอกจากนี้ เลขานุการยงั เปน็ ผูส้ รา้ งภาพลักษณท์ ดี่ ใี ห้กบั ผูบ้ ริหารอีกด้วย
บทบาทหน้าท่แี ละภาระงาน
“เลขานกุ าร” มีหน้าทใี่ นการดูแลและรับผิดชอบเกย่ี วกบั เอกสารตา่ ง ๆ จดบนั ทกึ และสรุปการประชุม
และดูแลการจัดสัมมนาให้เป็นไปตามความเรยี บร้อย โดยเลขานกุ ารจะมหี นา้ ท่หี ลัก ๆ ดงั นี้
1. ร่างคำกล่าวรายงานในการจดั โครงการสัมมนา
2. รา่ งคำกลา่ วเปดิ -ปดิ พิธีในการจัดโครงการสัมมนา
3. รางกำหนดการโครงการสัมมนา
4. จัดทำหนังสือเชิญผทู้ รงคุณวฒุ ิ
5. จดั ทำหนงั สือเชิญประธานในพิธเี ปดิ
6. จัดทำหนังสือเชญิ อาจารย์หลกั สูตรสาขาพัฒนาสังคม
7. จัดทำหนังสือขออนมุ ตั จิ ัดโครงการโดยไม่ใช้งบประมาณ
8. จัดทำหนังสอื ขอใชส้ ถานท่ี
9. จัดทำหนงั สอื ขอใชข้ อใชอ้ ปุ กรณถ์ ่ายทอดสด
10. จัดทำใบโครงการสัมมนา
~ 38 ~
ลกั ษณะของเลขานุการ
1. คุณต้องมีใจรกั ในองค์กร ซอ่ื สัตยส์ จุ ริตตอ่ ความรับผิดชอบท่ไี ด้รบั มอบหมาย
2. คณุ ต้องมีความรบั ผิดชอบสูง
3. คณุ ต้องสามารถรกั ษาความลับของบรษิ ทั ได้อย่างดี
4. คณุ ตอ้ งกระตอื รอื รน้ และพรอ้ มเรยี นร้สู งิ่ ใหม่ ๆ เสมอ
5. คณุ ตอ้ งไมม่ พี ฤติกรรมในทางท่เี ส่อื มเสียภาพลกั ษณ์ ไมข่ ายศกั ดศ์ิ รีบนหน้าท่เี ลขานกุ าร
6. คณุ ตอ้ งเป็นคนตรงต่อเวลา
7. คณุ ตอ้ งเปน็ ผู้ท่ีปฏิบตั ติ ามกฎและข้อบังคับตา่ ง ๆ ขององคก์ รไดด้ ี
8. คุณต้องสามารถตดิ ตอ่ ส่ือสารกับบคุ คลทัง้ ภายในองค์กรและนอกองคก์ รดว้ ยความมมี นุษยส์ ัมพนั ธท์ ี่ดี
คณุ สมบัตขิ องเลขานุการ
1. สามารถปรับตวั ให้เขา้ กับทกุ สภาวการณ์ไดด้ ีและเกิดข้อเสยี น้อยทีส่ ุด
2. สามารถแนะนำข้อมลู ในองค์กรไดถ้ ูกต้องครบถว้ น
3. สามารถทำความเขา้ ใจกบั สงิ่ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว โดยไมใ่ ห้เกิดผลเสยี ตอ่ องค์กร
4. มีความซ่ือสัตย์และรกั ในหนา้ ท่ี
5. เปิดกว้างรบั ฟังความคดิ เห็นและรบั ฟังทั้งทัศนคติ ทง้ั นีจ้ ะตอ้ งรับฟงั ความคิดเห็นในแงบ่ วกและแง่ลบเพ่ือ
นำไปปรบั ปรงุ ด้านการทำงานตอ่ ไป
6. ประพฤตติ วั ให้เปน็ ตัวอยา่ งทีด่ ีแก่องค์กร
7. ไม่ประพฤตติ ัวใหเ้ สือ่ มเสียมาถงึ หวั หน้างาน
8. ร้ใู จและเขา้ ใจในความต้องการของหัวหน้างานและองคก์ รคุณเปน็ อย่างดี
9. วางแผนและเปน็ ผ้คู อยเตือนตารางนดั ต่าง ๆ ใหก้ ับผ้จู ดั การหรือหัวหนา้ งานของคุณรับทราบในแตล่ ะวนั
10. ตนื่ ตวั และกระตอื รอื ร้นอยูต่ ลอดเวลา
บคุ ลกิ ภาพของการเป็นเลขานุการ
1. การแตง่ กาย จะต้องแต่งกายใหม้ คี วามเหมาะสม สะอาด สุภาพ เรยี บร้อย และถกู กาลเทศะ
2. การนั่ง ควรนั่งตัวตรงขณะที่นั่งพูดกับผู้ใหญ่ ผู้หญิงควรให้เข่าชิดกันเสมอ ผู้ชายนั่งสุภาพไม่ไขว่ห้าง ไม่
เหยยี ดเท้าออกนอกโต๊ะ ไมน่ ั่งกระดกิ ขา
3. การยนื ลำตวั ตง้ั ตรง เทา้ ทง้ั สอบข้างชิดกันสำหรบั สุภาพสตรี และผ้ชู ายยืนตวั ตรงไมล่ ว้ งกระเป๋า และไม่
ควรยืนพิงฝา
4. การวางตัว ควรมีกรยิ า วาจาสุภาพ ใช้คำพดู ทเี่ หมาะสม ย้ิมแย้มแจม่ ใสให้การต้อนรับด้วยกริยามารยาท
ที่เหมาะสม สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน ต้องให้ความเคารพต่อผู้อาวุโส มีสัมมาคารวะ และสามารถเข้ากับ
ผู้ร่วมงานไดด้ ี ไม่ถอื ตัว วางตัวเปน็ กลาง
5. ความมีมนุษย์สัมพันธ์ เลขานุการจะต้องมีการปะสานสัมพันธ์กับบุคคลหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง
ภายในและภายนอกคอ่ นขา้ งมาก เพือ่ ใหง้ านบรรลเุ ปา้ หมาย
~ 39 ~
ตารางท่ี 5 : เครอ่ื งมอื ในการตดิ ตามงานของเลขานกุ าร
งานที่ได้รับมอบหมาย ความคบื หน้าครง้ั ท่ี 1 เหตผุ ล
ฝา่ ย สำเรจ็ ไม่สำเรจ็
รา่ งกำหนดการสัมมนา /
รา่ งคำกลา่ วรายงาน /
รา่ งคำกล่าวเปิด-ปิดพิธี /
ทำหนังสอื เชญิ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ /
ทำหนงั สือเชิญประธานในพิธเี ปิด /
เลขานกุ าร ทำหนังสือเชิญอาจารย์หลักสูตร /
สาขาพัฒนาสงั คม /
ทำหนังสอื ขอใช้อปุ กรณก์ าร
ทำหนังสอื ขอใช้สถานท่ี /
ทำหนังสือขออนุมัติจัดโครงการทำ /
หนังสอื ขอใช้สถานที่ /
ทำใบโครงการจดั สมั มนา
~ 40 ~
นางสาวมาซอื นะห์ มะสะ , นางสาวฟาดีละห์ เจะหะ , นางสาวซลุ ฝา เจะเลาะ
ฝ่ายทะเบียนและวิชาการ
ตดิ ต่อ : 098-3099411 , 065-0510183 , 082-8319747
ความรใู้ นการปฏิบตั งิ านของทะเบียนและวชิ าการ
ความรู้เกี่ยวกบั การดำเนินงาน
ฝา่ ยทะเบียนและวิชาการมีหนา้ ท่รี บั ผิดชอบค่อนขา้ งกวา้ งพอสมควร อาจทำให้เกดิ ความสบั สนกับ
เอกสารท่ีมคี วามคลายคลึงกับงานของเลขานุการแตใ่ นสว่ นงานฝ่ายทะเบียนและวชิ าการจะมหี นา้ ท่ีในการ
ประสานงานเป็นหลกั โดยฝา่ ยทะเบยี นและวิชาการจะคอยประสานงานหรือช่วยเหลือในฝ่ายอน่ื ๆและโดยรวม
แล้วหลกั ๆฝา่ ยทะเบยี นและวิชาการจะเป็นงานทีเ่ ก่ียวข้องกบั การดูแลด้านเอกสารต่างๆท าหน้าทเ่ี ตรยี มการ
เกี่ยวกบั ผ้เู ขา้ รว่ มสัมมนาท้งั หมด ท าการสำรวจจำนวนผู้เข้ารว่ มสัมมนาและมหี นา้ ท่ีจดั เตรยี ม Google Form
ใหผ้ เู้ ข้าร่วมได้ลงทะเบยี นเพื่อท่ีจะได้ทราบถึงจำนวนคนในการเขา้ รว่ มงานสัมมนา
บทบาทหนา้ ที่
1. เตรียมเอกสารแบบฟอรม์ สำหรบั ลงทะเบียนของผู้จดั สัมมนา ผทู้ รงคุณวุฒแิ ละคณาจารย์ ผูเ้ ข้ารว่ ม
สัมมนาและผนู้ ำเสนอ
2. เตรียมข้อมลู ของผู้เขา้ ร่วมสมั มนาทง้ั หมด
3. ค่มู อื สัมมนา
คณุ สมบัติของผู้ปฏิบตั ิงานฝา่ ยทะเบยี นและวิชาการ
1. เปน็ ผู้มีความรับผิดชอบและอดทนตอ่ งานทที่ ำสงู
2. มีทัศนคตทิ ่ดี เี ป็นไปในแง่บวก
3. มีความคลอ่ งแคล่ว
4. มีมนุษยส์ มั พันธท์ ่ีดีแลมใี จรักในงานด้านการบรกิ าร
5. มีความละเอยี ดรอบคอบ
6. เปน็ คนใจกวา้ ง ยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ นื่
7. การช่วยเหลอื ผอู้ น่ื คือหัวใจหลักแห่งการทำงาน
8. มคี วามใจเย็น เก็บอารมณไ์ ด้
~ 41 ~
9. มีความภาคภูมใิ จในหน้าทกี่ ารปฏิบตั งิ านของตน
ภาพท่ี 4: บรรยากาศการลงทะเบียนผา่ น Google Form ของฝ่ายทะเบียน
ภาพท่ี 5: การจับเวลาในการนำเสนอ
~ 42 ~