The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสัมมนากลุ่มอาราฟัต-เสร็จ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rusdeen063, 2021-09-17 03:28:12

คู่มือสัมมนา

คู่มือสัมมนากลุ่มอาราฟัต-เสร็จ

ตารางท่ี 6 : ตารางภาระงานของฝ่ายทะเบยี นและวชิ าการ

ฝา่ ย งานที่ได้รับมอบหมาย ความคบื หน้าคร้ังที่ 1 เหตุผล
เหตผุ ล
เสรจ็ ไม่เสรจ็
/
1.เตรียมเอกสารแบบฟอร์มสำหรับ
ทะเบียน ลงทะเบียนของผู้จัดสัมมนา
ผู้ทรงคุณวุฒิและคณาจารย์ผูเ้ ข้าร่วม
สมั มนาและผนู้ ำเสนอ

ฝา่ ย งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ความคืบหน้าครง้ั ท่ี 1
วิชาการ
เสร็จ ไม่เสร็จ

1.เตรียมข้อมูลของผู้เข้าร่วมสัมมนา /
ท้ังหมด

2.คู่มอื สมั มนา /

~ 43 ~

นางสาวฟาซีรา เจะเลาะ , นางสาวอานีรา แวเด็ง
ฝ่ายประสานงานและพิธกี าร

ติดตอ่ : 097-1349588 , 0829787833
ความรูใ้ นการปฏิบตั งิ านของประสานงานและพธิ กี าร
ความร้เู กยี่ วการดำเนนิ งานในฝา่ ยประสานงานและพิธกี าร

ฝ่ายประสานงานและพิธีการ เป็นการปฏบิ ัตงิ านการทำงานที่มีความสัมพันธแ์ ละสอดคล้องกันกับการ
จัดระเบยี บการทำงานกบั ฝ่ายตา่ งๆ ร่วมมอื การปฏิบัตงิ าน ไม่ใหเ้ กิดปัญหา และความขัดแย้งในการทำงาน ทำ
ให้งานดำเนินไปได้อย่างราบรื่น เพื่อที่จะให้มีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ก่อนการประสานงานควรกำหนด
วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ชัดเจน และมาตรฐานในการปฏิบัติงานเป็นหลกั ต้องมีการจัดระเบียบวิธีการทำงาน
รวมทั้งความร่วมมือในการปฏิบัติงาน เป็นหนึ่งเดียวเพื่อที่จะให้เกิดความคิดความเข้าใจตรงกันในการร่วมมือ
ปฏิบตั ิงานอยา่ งชดั เจน

การประสานงานและพิธีการ คือการติดต่อส่ือสารให้มีความคิด ความเข้าใจตรงกัน เพื่อให้การทำงาน
สอดคล้องและมีความสัมพันธ์กัน ไม่ขัดแย้งหรือทำงานทับซ้อน เพื่อให้งานดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้ง
เรอ่ื งเวลาและกจิ กรรมท่ตี อ้ งทำเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายท่ีกำหนดเอาไว้

~ 44 ~

ภาพที่ 6: บทบาทของฝา่ ยประสานงาน
(ท่ีมา : MILADA สขุ ภาพดี เรม่ิ ตน้ ที่ตัวคณุ เอง,2559)
วตั ถปุ ระสงค์ของการปฏิบตั งิ านฝา่ ยประสานงานและพธิ กี าร มดี ังนี้
1. เพอ่ื แจง้ ให้ผูท้ ่ีมีสว่ นเกีย่ วข้องในการทำงานทราบ
2. เพอ่ื ขอความชว่ ยเหลือและเพื่อรักษาไวซ้ ง่ึ ความสัมพันธอ์ ันดี
3. เพอ่ื ขอคำยินยอมหรือความเหน็ ชอบ
4. เพ่ือขจัดข้อขัดแย้งในการปฏบิ ัติงาน
5. เพอ่ื ใช้เพม่ิ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลขององค์กร
6. เพือ่ ชว่ ยใหก้ ารดำเนนิ การเป็นไปตามแผนและทำให้มีการวางแผนอยา่ งละเอยี ดรอบคอบ
7. เพอ่ื ตรวจสอบอุปสรรคและสภาพปัญหาในการปฏิบตั งิ าน
ฝ่ายประสานงานจะต้องทำหน้าที่ติดต่อกับกลุ่มหรือบุคลากรที่ทำงานร่วมกัน มีการพบปะหารือกัน
สม่ำเสมอ คอยทำให้คนร่วมมือร่วมใจทำงานด้วยการนำเอาความสามารถของคนมาทำให้เกิดผลงานใน
จุดมงุ่ หมายเดยี วกัน ความสามารถของคนพิจารณาได้สองดา้ น คือ “ด้านความร”ู้ และ “ดา้ นความสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น” ผู้ประสานงานต้องมีความรู้ ความสามารถ มองการณ์ไกล มีมนุษย์สัมพันธ์ดี มีทัศนคติที่ดีต่อกัน
ผู้ร่วมงานทุกฝ่าย เข้ากันได้ดีกับทุกคน หากฝ่ายประสานงานทำงานไดไ้ ม่ดี ย่อมส่งผลให้งานที่กำลังทำออกมา
ลา่ ชา้ ไมม่ ปี ระสิทธภิ าพ งานไมม่ คี วามคบื หน้า บางงานอาจเกดิ การทำงานท่ีซ้อนทับกัน ในขณะที่บางงานไม่มี
คนทำงาน จะเห็นได้ว่าฝ่ายประสานงานเป็นตำแหน่งที่มีความสำคัญในการทำงานร่วมกันเป็นอย่างยิ่ง เพราะ
ทุก ๆ งานย่อมมีการทำงานร่วมกันเกิดขึ้นเสมอ จึงจำเป็นต้องมีผู้ทำหน้าที่ติดต่อประสานงาน เพื่อให้งาน
ดำเนินไปด้วยดี

~ 45 ~

ภาพที่ 7 : การปฏบิ ตั งิ านฝ่ายประสานงานทส่ี ำคญั

ตารางท่ี 7 : เครื่องมือในการติดตามงานของประสานงาน

ฝา่ ยที่ งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย กำลัง สำเร็จ ไม่สำเรจ็ หมายเหตุ
/
รับผิดชอบ ดำเนินงาน /
/
ข อ ร า ย ช ื ่ อ ผ ู ้ ท ร ง ค ุ ณ ว ุ ฒิ /

ค ณ า จ า ร ย ์ ใ น ส า ข า แ ล ะ ผู้ /

นำเสนอ

ส่งหนังสือเชิญประธานในพิธี
ฝ่าย ค ณ า จ า ร ย ์ พ ร ้ อ ม แ น บ ใ บ
ประสานงาน โครงการและกำหนดการ
และพิธีการ ประสานงานรายลละเอียดต่างๆ

กับพธิ ีกร

ประสานงานติดต่อเร่ืองอุปกรณ์
ต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ รวมถึง
ประสานงานห้องสัมมนา
ออนไลน์

ประสานไปยังกลุม่ ตา่ งๆ

~ 46 ~

นางสาวอาฟีฟะห์ อาบู
ฝา่ ยเหรญั ญกิ
ตดิ ต่อ : 092-7846726

ความรใู้ นการปฏิบตั ิงานของเหรญั ญิก
ความรูเ้ กยี่ วกับการดำเนินงาน

การดำเนนิ งานสัมมนาต้องมีการจัดสรรวางแผนค่าใชจ้ ่ายดว้ ยความรอบคอบเก่ียวกบั งบประมาณของ
แต่ละฝ่าย เพื่อให้เป็นการใช้จ่ายต่างๆของแต่ละฝ่ายที่เสนอมาทั้งหมดของงาน การจัดสัมมนาจะต้องอยู่ใน
ภาวะท่ีเพยี งพอไม่ขาดหรือมากเกินไปในการจดั งบประมาณในการสัมมนา ดังนัน้ ผ้จู ดั สัมมนาต้องมีการจัดสรร
วางแผนค่าใช้จ่ายทัง้ หมดของงานอยู่ในภาวะที่เพียงพอไม่ขาดหรือมากจนเกินไปในการดำเนินกิจกรรมในการ
จดั โครงการสัมมนาจะตอ้ งมีการใชง้ บประมาณท่ีจะจดั ดำเนินงาน ดำเนนิ กิจกรรม หน้าทห่ี ลกั ของฝ่ายเหรัญญิก
คือควบคุมดูแลเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี งบประมาณค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดสัมมนาสามารถ
ตรวจสอบเกี่ยวกับงบประมาณของแต่ละฝ่ายอย่างเข็มงวดการทำบัญชีรายรับ รายจ่ายทั้งหมดในการจัด
โครงการสัมมนา ซง่ึ จะต้องมีหลักฐานการรบั และการจ่ายเงินอย่างชัดเจน และงบดลุ ใหเ้ ปน็ ทีเ่ รียบร้อยเม่ือการ
สมั มนาได้เสร็จสิน้
บทบาทหนา้ ที่ของฝา่ ยเหรัญญิก

เหรัญญิก มีหน้าที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี งบประมาณค่าใช้จ่ายต่างๆของ แต่ละฝ่าย
สามารถตรวจสอบเกี่ยวกับงบประมาณของแต่ละฝ่ายที่เสนอมา และเข้มงวดเกี่ยวกับการจ่ายเงินให้แก่ฝ่าย
ต่างๆ ซงึ่ จะต้องมีหลกั ฐานการรบั และการจา่ ยเงินอย่างชดั เจน

1. ดูแลเกย่ี วกบั งบประมาณและใบสำคัญทางการเงิน
2. ควบคมุ และรบั ผิดชอบการเงนิ ทง้ั หมดในการจดั สัมมนา
3. การทำบญั ชรี ายรับ รายจา่ ย
4. ทำรายงานสรปุ ผลการใชเ้ งิน การเก็บหลักฐานต่างๆ เก่ียวกบั การเงนิ
คุณสมบัตขิ องผปู้ ฏบิ ัตงิ านฝา่ ยเหรัญญกิ
1. ความซื่อสัตย์ หมายถึงมีความซื่อตรง มั่นคงอยู่ในศีลธรรม มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น มี
ความสุจริตทางกาย ทางวาจา และทางใจ ซึ่งความซื่อสัตย์นี้จะไม่ทำให้บุคคลรอบข้างของเราเดือดร้อนและ
แล้วความซอ่ื สัตย์น่นั กจ็ ะนําพามาซึง่ ความเจรญิ ของบ้านเมือง

~ 47 ~

2. มีความรับผิดชอบ หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลซึ่งแสดงออกโดยมีความสนใจ ใส่ใจ ตั้งใจจริงที่
จะปฏิบัติหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายด้วยความพากเพียร พยายาม อดทนต่ออุปสรรคใดๆ ที่ขัดข้อง มีการ
วางแผนงานอยา่ งละเอยี ดรอบคอบ

3. มีระเบียบ มีเหตุผล มีหลักการในการจัดงบประมาณในการจัดสัมมนา แล้วนํามาสรุปให้สมาชิกใน
กล่มุ ทราบ เพอ่ื สมาชิกในกลุม่ รับร้ใู นงบประมาณทใี่ ชใ้ นการจดั

ภาพที่ 8 : การดแู ลในเรอื่ งงบประมาณงานสัมมนา
(ท่ีมา : https://support.google.com/legal/answer/3463239?hl=en)

ภาพที่9: การทำบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย
(ที่มา : https://support.google.com/legal/answer/3463239?hl=en)

~ 48 ~

ตารางท่ี 8 : เครอ่ื งมือในการตดิ ตามงานของฝา่ ยเหรัญญิก

ฝา่ ยทไี่ ด้ งานท่ีได้รับมอบหมาย กำลงั เสร็จ ไมเ่ สรจ็ เหตผุ ล
รบั ผิดชอบ ดำเนนิ งาน /
/
1.เก็บเงนิ สมาชิกในกลมุ่ /

2.ซื้อของที่ระลึกสำหรับผูท้ รงคุณวุฒิ /

ฝา่ ยเหรัญญกิ 2.ทำบัญชีงบประมาณรายรบั รายจา่ ย

3.เกบ็ ใบเสรจ็ จากการซ้อื ของ

~ 49 ~

งบประมาณทใี่ ช้ในการจดั โครงการสมั มนา 69 x1 69 บาท
1. หมวดคา่ ตอบแทน 75 x 5 375 บาท
500 X 1 500 บาท
ของท่ีระลกึ สำหรับประธานเปิดพธิ ี
ของที่ระลึกสำหรับผ้ทู รงคุณวุฒิ 40 X 7 280 บาท
ค่าตอบแทนเจา้ หน้าท่ดี แู ลระบบออนไลน์ 25 X 12 300 บาท
2. หมวดค่าใช้สอย
ค่าอาหารเท่ียง 40 บาท
คา่ อาหารว่างและเครื่องด่ืม 20 บาท
45 บาท
3. หมวดค่าวัสดุอปุ กรณ์ 16 บาท
1,642 บาท
กระดาษห่อของขวัญ 10 X 4

เทปใส 20 X 1

ซองกระดาษ 45 X 1

ถา่ ยเอกสาร (ใบกำหนดการ) 2X8

รวม

*หมายเหต:ุ คา่ ใช้จ่ายในการดำเนินการท้ังหมดสามารถเฉลยี่ ตามรายการจ่ายจริง

~ 50 ~

นายอดิสรณ์ เทศอาเส็น , นางสาวซไู มยะห์ ลาเตะ
ฝ่ายโสตทศั นปู กรณ์และการประชาสัมพนั ธ์
ติดตอ่ : 063-0740699 , 082-8288766

ความรใู้ นการปฏบิ ัติงานของโสตทัศนูปกรณ์และการประชาสมั พนั ธ์
ความรเู้ กี่ยวกบั การดำเนินงาน

โสตทัศนูปกรณ์ คือ อุปกรณ์ในระบบโสตทัศน์ โดยระบบโสตทัศน์เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับเสียงและ
ภาพ ซึ่งโสตทัศน์เป็นสิง่ ทีส่ ำคัญสำหรับงานสัมมนา เนื่องจากการจัดสัมมนาเป็นกิจกรรมท่ีสื่อสารด้วยเสียงกบั
ภาพเปน็ หลัก ดงั น้ันความชดั เจนของสารทีส่ ื่อจงึ เป็นหวั ใจหลกั ทท่ี ำใหก้ ารประชมุ มีประสิทธิภาพ

ฝ่ายโสตทศั นูปกรณจ์ ะรับผดิ ชอบในการถา่ ยภาพกจิ กรรมทเี่ กิดขึน้ ในวนั จัดสัมมนา ซ่งึ แบ่งออกได้ดังน้ี
1. การจดั หอ้ งสมั มนาออนไลน์และการถ่ายทอดสดบรรยากาศงานสมั มนา
2. ถา่ ยภาพบรรยากาศโดยรวมในวนั จดั สัมมนา
3. ถ่ายภาพบุคคล (ประธาน, ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ, คณะกรรมการ, ผนู้ ำเสนอ, ผูเ้ ข้าร่วม)
4. ถา่ ยภาพเพือ่ แสดงความร้สู ึก (การบรรยาย, การแลกเปล่ยี นความคิดเห็น)
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมภาพบรรยากาศกิจกรรมในงานสัมมนา มีการบันทึกภาพตั้งแต่
ผู้เข้าร่วมงาน การลงทะเบียนเข้างาน การเปิดงาน การนำเสนอ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง
คณะกรรมการและผนู้ ำเสนอ จนจบการสัมมนา

~ 51 ~

ภาพท่ี 10 : บทบาทหน้าทข่ี องฝา่ ยโสตทศั นูปกรณแ์ ละประชาสมั พันธ์
ภาพท่ี 11 : บทบาทหน้าทข่ี องฝา่ ยโสตทัศนูปกรณแ์ ละประชาสมั พันธ์

~ 52 ~

บทบาทหน้าทีแ่ ละภาระงาน
จัดทำวีดีทัศน์ที่จะนำเข้าสู่หัวข้อการสัมมนา และจัดทำวีดีโอในการเชิญชวนเข้าสัมมนา โดยมีการ

จัดทำโปสเตอรเ์ พอื่ แจง้ ให้ทราบลว่ งหนา้ และเผยแพรบ่ รรยากาศภาพโดยการ Live สด และถ่ายภาพผู้เข้าร่วม
ผู้จัดสัมมนาและผู้เข้าทำกิจกรรมต่าง ๆ กับบรรยากาศภายในงาน มีการบันทึกภาพเพื่อจัดทำวิดีโอ ประมวล
ภาพบรรยากาศการจัดสัมมนาอุปกรณ์ที่ใช้ คือ กล้องสำหรับบันทึกภาพและวิดีโอ รวมทั้งการออกแบบโล้ โก้
สัมมนา จัดทำโปสเตอร์ในการเชิญชวนสัมมนา และรวมทั้งทำคิวอาร์โค้ดกำหนดการ และคิวอาร์โค้ดแบบ
ประเมิน การดำเนินงานของทีมสื่อสาร จะใชก้ ารสอ่ื สารโดยการเผยแพร่ภาพงานสมั มนาโดยมขี ัน้ ตอน ดงั น้ี

1. เก็บภาพกิจกรรมตง้ั เริ่มงาน จนจบงานสัมมนา
2. เกบ็ ภาพบรรยากาศภายในงาน

2.1 เกบ็ ภาพการเปิดพิธีในโครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอสิ ระ
2.2 เก็บภาพบรรยากาศในการนำเสนองานวิจัยของนักศึกษา และรวมถึงบรรยากาศการ
แลกเปลี่ยนประเด็น ระหวา่ งผูน้ ำเสนอผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ รวมไปถงึ คณาจารย์และผเู้ ขา้ รว่ มโครงการสัมมนาโครงร่าง
ศกึ ษาอิสระ
2.3เกบ็ ภาพการกล่าวปิดพธิ ี
3. จัดทำโปสเตอรเ์ ชิญชวนเข้าร่วมงานสมั มนา
4. จัดทำวิดที ัศนเ์ พือ่ ท่ีจะนำเข้าสหู่ วั ขอ้ สมั มนา
5. ทำโล้โกง้ านสัมมนา
6. จัดทำโปสเตอรผ์ ูน้ ำเสนอ
7. จัดทำวิดโี อแนะนำผูจ้ ัดงานสัมมนา
8. จดั ทำเกียรตบิ ัตรออนไลน์
9. เชิญชวนการเขา้ รว่ มงานสมั มนา

~ 53 ~

ตารางท่ี 9 : ตัวอยา่ งเคร่อื งมือในการติดตามงานของโสตทัศนปู กรณ์

ลำดับ รายการ กำลังดำเนินการ ยงั ไมด่ ำเนินการ ดำเนินการแลว้ หมายเหตุ
/
1 ออกแบบโล้โก้ /
/
2 โปสเตอร์สัมมนา /
/
3 วดิ ีทัศนน์ ำเขา้ ส่หู ัวข้อสมั มนา /
/
4 ถ่ายภาพบรรยากาศในวันสัมมนา
/
5 จัดทำส่ือประชาสัมพันธ์ /
/
6 เชญิ ชวนการเข้ารว่ มสมั มนา

7 การจัดห้องสัมมนาออนไลน์และการ

ถ่ายทอดสดบรรยากาศงาสมั มนา

8 โปสเตอรผ์ นู้ ำเสนอ

9 วดิ โี อแนะนำผู้จัดงานสมั มนา

10 จัดทำเกยี รติบัตรออนไลน์

~ 54 ~

นายโดม เกตสุ งา่
ฝ่ายพิธกี ร
ตดิ ตอ่ : 093-5911141

บทบาทหนา้ ทีแ่ ละการปฏิบัติงานของฝา่ ยพิธีกร
ความรู้เกี่ยวกับการดำเนนิ งานพิธกี ร

ภาษาอังกฤษใชค้ ำยอ่ วา่ “ MC” ซึง่ มาจากคำเตม็ ว่า“ Master of Ceremonies” ไทยใชค้ ำวา่ “ พิธีกร
"ซึ่งในพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายไว้ว่าผู้ดำเนินการในพิธี, ผู้ดำเนินรายการ
ดังนั้น พิธีกรจึงเป็นผู้ที่ดำเนินการในงานพิธีการต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มงานจนจบงาน รู้ขั้นตอนของงาน สามารถ
จัดลำดับขั้นตอนของงานได้อย่างเหมาะสมและราบรื่นเรียบร้อยจนเสร็จงาน โดยเป็นผู้พูดสื่อสารกับผู้ได้รับ
เชิญกบั แขกทมี่ ารว่ มงาน หรอื ผูเ้ ป็นวิทยากรกับผเู้ ข้ารว่ มประชมุ สมั มนาเปน็ ตน้

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2551 ให้ความหมายของพิธีกรว่าคือ" ผู้ดำเนินการในพิธี
ผู้ดำเนินรายการ "มีหน้าที่ดำเนินรายการให้เป็นไปตามขั้นตอนที่เตรียมไว้แล้วโดยเริ่มใช้เป็นครั้งแรก
ทางสถานไี ทย

อีกความหมายหนึ่งจากพจนานุกรมว่า พิธีกร คือผดู้ ำเนินการรายการก็แสดงว่าผู้ที่ต้องดำเนินรายการ
อย่างใดอย่างหนึ่งต่อหน้าที่ประชุมหรือดำเนินรายการเพื่อออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ใน
ฐานะผู้ที่ทำหน้าท่ีสื่อสารกับผู้ที่ได้รับเชิญให้มาพูดคุยเรื่องราวตา่ ง ๆ หรือมาเพื่อแสดงหรือเมื่อปฏิบัติอย่างใด
อย่างหนึ่งให้ผู้บัง (หรือผู้ดู) ได้รู้ก็เป็นพิธีกรด้วยดังนั้นผู้ที่กำหน้าที่สัมภาษณ์บุคคลที่คนฟัง (หรือคนดู) สนใจ
หรือผู้ที่พูดเพื่อดำเนินรายการเกมโชว์ต่าง ๆ ทางโทรทัศน์ก็ถือว่าเป็นพิธีกรด้วยตามความหมายของ
พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525

~ 55 ~

บทบาทหนา้ ท่แี ละภาระงาน
พิธีกรเป็นบุคคลที่สำคัญในการดึงดูดความสนใจให้ผู้บังหรือผู้ชมนั้นติดตามในสิ่งที่พิธีกรต้องการ

นำเสนอตั้งแต่ต้นไปจนจบรายการพิธีกรที่ดีจะต้องทำให้ผู้บังประทับใจในการดำเนินรายการให้ได้ทั้งท่วงท่า
วาจา กิริยาอาการต่าง ๆ ตลอดจนความสามารถในการทำใหผ้ ู้ฟังมีความรู้สึกเปน็ ส่วนหนึง่ ของรายการและให้
ความรว่ มมอื ในการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ เปน็ อยา่ งดี การเปน็ พิธกี รนนั้ ถอื ว่าเปน็ การเรียกความสนใจของคนทั่วไป
ตั้งแต่ยังไม่ทันได้เห็นตัวผู้พูดเพราะเสียงของพิธีกรสามารถดึงดูดความสนใจของผู้คนได้ในระยะไกล เมื่อเป็น
เช่นนีจ้ งึ จำเป็นอย่างยิ่งท่ีพธิ กี รจะตอ้ งมพี ลังเสียงทีน่ ่าฟงั สามารถสะกดผู้บงั ใหส้ นใจในสิ่งที่พิธกี รนำเสนอได้และ
จำเป็นต้องมีทักษะอื่น ๆ ประกอบอีกหลายด้านด้วยกัน การเป็นพิธีกรจึงไม่ใช่ใครก็สามารถเป็นกันได้ แต่ก็
ไม่ใช่เรื่องยากเสียทีเดียวหากเพียงฝึกฝนและปรับปรุงทักษะต่าง ๆ อยู่เสมอ สิ่งที่สำคัญในการเป็นพิธีกร คือ
การมนี ำ้ เสยี งทีห่ นักแนน่ ชัดเจนและน่าฟงั ไม่ใช่พูดเบาหรือค่อยจนเกินไปหรือ พดู ตดิ ๆข้อ ๆ ไม่มีคำพูดติดปาก
เช่น เอ้อ อ้า ครับ ค่ะ จึงต้องหมั่นฝึกฝนวิธีการพูดทั้งการสะกดอักขระต่าง ๆ การออกเสียง ร ล ตัวควบกล้ำ
ต้องชัดเจน น้ำเสียงต้องฟังงา่ ยและเปน็ มิตรกับคนฟังและยังต้องฝึกการพูดให้มคี วามเรว็ ท่ีเหมาะสมไมช่ ้าหรือ
เร็วจนเกินไป ควรฝึกกล้ันลมหายใจเพราะเวลาพูดตอ่ กันหลายประโยคนาน ๆ จะได้ไม่เหนื่อย เวลาพูดควรทำ
จติ ใจใหเ้ บกิ บานเสยี งจะได้มคี วามแจม่ ใสและควรจะมรี อยยิม้ อยดู่ ว้ ยเสมอส่ิงเหล่านจี้ ะเป็นเสน่ห์ของพิธีกร

สิ่งที่จำเป็นอีกอย่างหนึง่ ก็คือการวางท่าทางกิริยาบุคลิกลักษณะต่าง ๆ ต้องมีความมั่นใจการยืนต้อง
สง่างามการเดินต้องมมี าดภาพพจนโ์ ดยรวมต้องดูดีและเป็นไปในทางเดียวกันกับเรื่องราวที่พูดถึงหรือนำเสนอ
อยูใ่ ชล้ ีลาประกอบให้เหมาะสม ควรฝึกหน้ากระจกเพ่ือดูว่าตวั เราเปน็ อยา่ งไรส่ิงเหลา่ นี้ควรฝึกฝนให้เป็นนิสัยมี
บุคลิกที่ดีน่าสนใจอยู่เสมอการใช้สายตาเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องหมั่นฝึกให้มั่นคงเพราะเวลาพูดต้องมีสมาธิ
แยกแยะให้ถูกควรส่งสายตาไปยังผู้ฟัง ณ จุดใดจุดหนึ่งอย่ากวาดสายตาไปมา แต่ควรใช้วิธีหันหน้าแท นเม่ือ
เปลี่ยนมุมมองไม่ควรทำตาหลุกหลิกหรือมองสิ่งอื่นที่ทำให้ไขว้เขวสบตากับผู้บังเป็นระยะ ๆ และประสาน
สายตากบั ทีมงานบ้างเพอื่ ความเรียบร้อยของกำหนดการต่าง ๆ ว่าเป็นไปตามท่ีวางไวห้ รอื ไมห่ รือหากต้องมีการ
เปล่ียนแปลงสง่ิ ใดกะทันหันจะได้เตรียมตัวไดท้ นั

การเป็นพิธีกรที่ดี ที่สามารถดำเนินรายการไดน้ า่ สนใจน้ัน ต้องรู้จักวางตวั ใหเ้ หมาะสมศึกษากลุม่ ผู้ฟงั
ความสนใจต่าง ๆ สร้างบรรยากาศที่ดีในการดำเนินรายการสื่อสารกับผู้บังได้เป็นอย่างดีสร้างความเข้าใจท่ี
ตรงกันและให้เกียรติผู้ฟังเสมอเทคนิคที่สำคัญก็คือการทำตัวให้กลมกลืนกับผู้ฟัง เช่นเมื่อเป็นพิธีกรด้าน
กิจกรรมสันทนาการต้องวางบุคลิกท่าทางให้มีความกระฉับกระเฉงคล่องแคล่วการแต่งกายต้องเหมาะสม ย้ิม
แย้มแจ่มใส หากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้บริหารหรือกึ่งทางการก็ต้องแต่งกายให้ดูดีสุภาพเน้นความสะอาด
เรยี บร้อยเป็นตน้ พธิ กี รทท่ี ำงานสำเร็จน้นั ต้องทำให้การดำเนินรายการสำเร็จลลุ ว่ งไปได้ด้วยดีเสมอคือสามารถ
สื่อสารข้อมูลวัตถุประสงค์ของการจัดงานและผู้ฟังหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงคใ์ นการจดั งานและสร้างความประทับใจให้กับผู้บังได้รวมถึงสามารถทำให้ผู้ป่งติดตาม
ชมตลอดจนจบรายการพิธีกรที่ทำเช่นนี้ได้จึงจะถือว่าประสบความสำเร็จและสิ่งที่ขาดไม่ได้คือทักษะในการ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้าเพราะเหตุการณ์ไม่คาดคิดต่าง ๆ สามารถเกิดขึ้นได้อยู่เสมอดังนั้นพิธีกรที่ดีจึงควรมี
ปฏิภาณไหวพรบิ ตา่ ง ๆ ในการแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ และตรงึ คนดไู ว้ให้จดจ่ออยูก่ ับการนาเสนอรายการให้ไดไ้ ม่

~ 56 ~

ว่าเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่เกิดขึ้นจะเป็นอย่างไรพิธีกรทีด่ ีรู้ว่าควรจะจัดการกับสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างไรโดยมี
บทบาทการดำเนนิ งาน ดังน้ี
1. เปน็ ผ้ใู หข้ ้อมลู แกผ่ ้ฟู ังผชู้ มหรือผเู้ ขา้ รว่ มพธิ โี ดยอย่างนอ้ ยจะต้องมีกระบวนการดงั ต่อไปน้ี

1.1 แจง้ กำหนดการ
1.2 แจ้งรายละเอียดของรายการ
1.3 แนะนำผู้บูดผูแ้ สดง
1.4 ผดู้ ำเนนิ การอภปิ รายและอื่น ๆ
2. เป็นผู้เริม่ กจิ กรรม, งานหรอื พธิ ี
2.1 กล่าวทักทายต้อนรับเชิญส่งู าน
2.2 เชญิ เขา้ สูพ่ ิธีดำเนินรายการตา่ ง ๆ แลว้ แตก่ ิจกรรม
2.3 เชญิ เปิดงาน-ปิดงาน
3. เป็นผูเ้ ชื่อมโยงกจิ กรรม, งาน, พธิ หี รอื รายการต่าง ๆ เช่น
3.1 กล่าวเชือ่ มโยงเหตกุ ารณ์ตามลำดับ
3.2 แจ้งใหท้ ราบเมื่อมีการเปลีย่ นแปลงกำหนดการ
3.3 แจ้งขอความรว่ มมอื
3.4 กล่าวเชอื่ มโยงรายการใหช้ วนตดิ ตาม
4. เป็นผู้ส่งเสริมจุดเด่นให้งานหรือกิจกรรมและบุคคลสำคัญในงานพิธี รายการ โดยพิธีกรจะต้องเป็นผู้ทำ
หนา้ ที่ในวาระท่ีเหมาะสมเชน่
4.1 กล่าวยกยอ่ งสรรเสรญิ ชน่ื ชมบคุ คลสำคญั ทเี่ กย่ี วขอ้ งในพิธี
4.2 กลา่ วถงึ จุดเด่นของงานพิธนี น้ั ๆ
4.3 กล่าวแจ้งผลรางวลั และการมอบรางวลั
5. เปน็ ผูส้ รา้ งสสี นั บรรยากาศของงาน, พิธีหรือรายการเช่น
5.1 ใหข้ ้อมลู ทนี่ ่าสนใจเพ่ิมเตมิ เป็นระยะ
5.2 มมี ุกตลกเปน็ ระยะ ๆ
6. เปน็ ผเู้ สรมิ สร้างความสมานฉันท์ในงาน, กลุ่มผู้รว่ มงานเชน่
6.1 กลา่ วละลายพฤติกรรม
6.2 กลา่ วจูงใจให้รักสามัคคี
7. เป็นผ้เู ตมิ ช่องว่างและแกป้ ญั หาเฉนาะหนา้ ในงานพิธีตา่ ง ๆ เช่น
7.1 กล่าวช้ีแจงกรณบี ุคคลสำคัญไมส่ ามารถมาชว่ ยงานพิธีตา่ ง ๆ ได้
7.2 กล่าวทำความเขา้ ใจกรณตี ้องเปล่ยี นแปลงกำหนดการ

~ 57 ~

ภาพท่ี 12 : เปน็ ผูด้ ำเนินรายการวนั งานสัมมนา

บคุ ลิกภาพของการเป็นพิธีกร
บคุ ลกิ ภาพมีความสำคัญมากตอ่ การเปน็ พธิ กี รเพราะเป็นส่งิ แรกที่ทำให้เกิด“ รักแรกพบ "แก่ผู้ฟงั หาก

พิธกี รมบี คุ ลิกภาพท่ีดยี ่อมทำให้ผูฟ้ งั อยากตดิ ตามเนอ้ื หา เพราะคนเราจะตัดสนิ กนั ว่าชอบหรอื ไม่ชอบติดตาม
ฟังหรือไม่ฟังแคเ่ พยี ง 7 วินาทีแรกเจอ

การพดู ต่อหนา้ ชมุ ชนหรือสาธารณะผบู้ ดู ย่ิงต้องมบี ุคลกิ ท“่ี ต้องตา" ผูช้ มท้ังนต้ี ้องมีบุคลิกภาพภายใน
ที่ “ตอ้ งใจ” ผูช้ มดว้ ยเช่นกนั “ตอ้ งตา” คือชวนมอง “ต้องใจ” คือชวนฟงั องค์ประกอบของบคุ ลิกภาพ

1. รูปลักษณ์ คือบคุ ลกิ ภาพภายนอกที่มองเห็นด้วยตาเปลา่ ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้าจึงรวมถงึ รปู รา่ ง
หนา้ ตาผวิ พรรณกล่ินตามธรรมชาตแิ ละการแตง่ กายด้วยเส้อื ผ้าในแบบและสตี า่ ง ๆ รปู ลักษณจ์ ึงเป็น
องคป์ ระกอบสำคัญท่ีก่อใหเ้ กิดความประทบั ใจแรกพบ

2. การกระทำ คอื การแสดงออกท้ังวจั นภาษา คือภาษาทใี่ ช้พดู ส่อื สาร และอวจั นภาษาคือ สีหน้า
ทา่ ทาง จงั หวะการหายใจ ท่วงท่าอิรยิ าบถ ทง้ั นี้การกระทำสง่ ผลใหเ้ สรมิ บคุ ลกิ ภาพใหโ้ ดดเดน่ นา่ ประทับใจ
มากข้นึ และก่อใหเ้ กดิ ความประทับใจทน่ี านกวา่ รูปลักษณเ์ ช่นพนกั งานขายแต่งตวั สวยดงึ ดูดลูกค้าให้เข้าไป
สอบถามผลติ ภัณฑ์ แตไ่ ม่มรี อยยมิ้ แสดงสีหน้าเบื่อระหว่างการขายกจ็ ะทำใหล้ ูกคา้ ไม่พอใจและลืมรูปลกั ษณ์ท่ี
สวยแรกพบทนั ที

3. ศกั ยภาพ คือบคุ ลิกภาพภายในทตี่ ้องใชเ้ วลาในการศึกษาศักยภาพรวมไปถงึ วิธคี ดิ วิธีจัดการกบั
ความคิดและแสดงออกภายใต้การกระทำของตนเช่นพนักงานคนน้มี ีศักยภาพในการขายคือพนกั งาน

ขายของเก่งหรือหัวหนา้ ท่านนี้เป็นหวั หน้าท่มี ีศกั ยภาพคือหัวหน้าที่กำงานบรรลุเปา้ หมายองค์กรและ
ดแู ลลูกนอ้ งได้ดที ้ังนี้ตอ้ งอาศัยความคดิ ที่มศี ักยภาพกอ่ นการปฏบิ ตั งิ าน

~ 58 ~

ภาพท่ี 13: บุคลกิ ภาพของการเปน็ พิธกี ร

การเตรียมตัวในการรบั หนา้ ท่ีพิธกี ร
1. ศึกษาข้อมูลวเิ คราะหส์ ถานการณ์ผ้นู ำผชู้ มโอกาสวัตถปุ ระสงค์ของงานพิธที ่ีกำหนดไว้เมอื่ ทราบ

ความมงุ่ หมายของการทำหน้าที่
2. เตรยี มเนื้อหาและคำพดู ควรเร่มิ ต้นอยา่ งไรใชม้ ุกตลกหรือลูกเลน่ แทรกอย่างไรจดุ เดน่ ทคี่ วรกลา่ วถึง
3. ตรวจสอบความเหมาะสมของบทความทเี่ ตรียมมาวา่ เหมาะสมกบั เวลาหรือไม่
4. ตอ้ งมีการฝกึ ซอ้ ม
5. ศกึ ษาสถานท่ีจดั งานหรอื วธิ ีท่กี ำหนดไวล้ ว่ งหนา้
6. เตรยี มเสือ้ ผ้าและการแต่งกายใหเ้ หมาะสมกับกิจกรรม

เทคนคิ การใช้ภาษา
พิธีกรจำเป็นต้องเรียนรู้ถึงวิธีในการใช้ภาษาซึ่งจะทำให้เราสามารถใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ทงั้ กับบคุ คลสถานท่ีและเวลาท้งั น้ีโดยหมายรวมทง้ั ภาษาพดู และภาษาทา่ ทาง
ข้อแนะนำในการใชภ้ าษา
- หากมคี ำราชาศัพท์ เช่น โปรดเกลา้ ฯ ตอ้ งอ่านวา่ โปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ ม เป็นต้น
- หากเป็นคำย่อต้องพูดเป็นคำเต็ม เช่นนส. ต้องพูดว่า นางสาว สส. ต้องพูดว่าสมาชิกสภาผู้แทน

ราษฎรเป็นตน้
- การพูดโดยใช้คาภาษาตา่ งประเทศปะปนไปกับภาษาไทยต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของผู้บัง

และสถานการณน์ ้ัน ๆ เป็นหลัก
- การพดู ทมี่ ีเสนห่ ์อาจจะต้องสอดแทรกด้วยคาคมสภุ าษติ คาบังเพยพิธีกรควรจะรวบรวมสิ่งเหล่านี้ไว้

และหากจะยกมาเปรียบเปรยกค็ วรจะใชว้ ิธที อ่ งจาอีกว่ายกข้ึนมาอา่ น
- ฟังการอ่านขา่ วหรอื การบรรยายในงานพระราชพิธีหรืองานพิธีที่สำคัญเสมอเพื่อให้ได้แบบอย่างของ

การพดู
สำหรับในส่วนของภาษาท่าทางซึ่งรวมถึงการยืนการเดินการนัง่ การทรงตัวการใช้สีหน้าการใช้สายตา

การใช้ทา่ ทางประกอบการพดู พิธกี รต้องตระหนักเสมอวา่ พิธีกรคือจุดเด่นของงานเพราะฉะน้ันทุกสายตาจะจับ

~ 59 ~

จ้องมาท่ีตวั ท่านการเคลื่อนไหวของท่านทุก ๆ อิรยิ าบถจะมผี ลตอ่ ความสำเร็จในการพดู ของทา่ นการวางท่าทาง
กิริยาบุคลิกลักษณะต่าง ๆ ต้องมีความมั่นใจการยืนต้องสง่างามการเดินต้องมีมาดภาพพจน์โดยรวมต้องดูดี
และเปน็ ไปในทางเดยี วกันกับเรื่องราวท่พี ดู ถึง
เทคนคิ การใชส้ ายตา

พิธีกรต้องมีการใช้สายตาที่ทำให้ผู้ฟังประทับใจและทำให้พิธีกรดูมีชีวิตชีวาและเป็นธรรมชาติ มากขึ้น
โดยวิธีการใชส้ ายตาให้นา่ ประทับใจมดี ังน้ี

-เลอื กมองยังรายบุคคล หนง่ึ ในการสร้างกาลังใจของผู้พูดคือเลือกทีจ่ ะมองหรือสบสายตาคนที่สนใจท่ี
จะสบตาเราก่อนก่อนที่จะพูดจึงควรหยุดเมื่อสแกนใบหน้าของผู้บังที่เป็นมิตรและสร้างความสัมพันธ์ให้ผู้บัง
ร้สู ึกจดจอ่ กบั ส่ิงท่ีเรากาลังจะพดู ท้งั น้ีจะช่วยเรียกความมนั่ ใจของผ้พู ดู ไดด้ ี

-เน้นการมีส่วนร่วมของผู้บังให้มากแม้ตอนเริ่มต้นแนะนาให้มองผู้บังที่เป็นมิตร แต่ระหว่างพูดต้องมี
การเปลี่ยนไปสบตาผู้บังท่านอื่นบา้ งทั้งนี้ให้แบ่งผู้บังในห้องกวา้ งเป็นสามส่วนและเปลี่ยนผูบ้ ังให้ครบสามส่วน
โดยระวังไมใ่ ห้มองใครคนใดคนหน่ึงมากเกนิ ไป

-หยุดมองผู้ฟังจนสามารถสะกดผู้ฟังได้ผู้พูดที่ดีจะใช้เวลาสบตาประมาณ 5 วินาทีต่อหนึ่งผู้ฟังเป็น
ช่วงเวลาที่ไม่ยาวเกนิ ไปจนทำให้ผูฟ้ ังรู้สึกอึดอัดหรือไม่ส้ันเกินไปจนทำให้ผูพ้ ูดเองขาดสมาธิ แต่เป็นช่วงเวลาที่
พอดสี ำหรับผู้ฟงั ทจ่ี ะเกดิ ความรูส้ กึ อยากติดตามการฟงั ต่อไป
เทคนคิ การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้

เทคนิคในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสาหรับพธิ ีกรในการทำหน้าท่ีพธิ ีกรบ่อยคร้ังท่ีต้องพบกับเหตุการณ์
ท่ไี ม่คาดคิดและ ตอ้ งแกไ้ ขเหตุการณ์เหล่าน้ใี ห้ลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี

เทคนิคในการแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ สำหรบั ผทู้ ำหน้าทีพ่ ธิ กี รมีดงั น้ี
- เมอ่ื ถึงเวลาแล้วประธานหรือผพู้ ูดยังไมม่ า หนา้ ที่ของพธิ กี รจะตอ้ งไม่ให้เกดิ ความเงยี บบนเวทีถ้าเลย

เวลาไม่นานนักพธิ ีกรอาจพดู ชแี้ จงรายละเอยี ดต่าง ๆ รวมทัง้ อาจจะมเี ร่อื งราวสนุกสนานมาเล่าถว่ งเวลาไว้ก่อน
แต่ถ้านานจนผู้ฟังเริ่มกระสับกระสา่ ยอาจจะจัดกจิ กรรมให้ผูบ้ ังได้เคล่ือนไหวบ้างเช่นการปรบมือการร้องเพลง
ขณะเดียวกนั ต้องรีบใหง้ ่ายจดั งานเร่งแก้สถานการณท์ ันที

- เมอ่ื เครอื่ งเสยี งมีปัญหาไมโครโฟนอาจมีเสียงหอนพูดแล้วเสยี งขาวหายหรือพูดแลว้ ไม่มีเสียงพิธีกรก็
ต้องยิ้มเข้าไว้และเมื่อทุกอย่างปกติอาจใช้ลีลาการพูดช่วยคลี่คลายบรรยากาศเช่นเมื่อเป็นพิธีกรในการอบรม
สัมมนาซง่ึ มวี ิทยากรพิเศษมาให้การบรรยายพอถึงเวลาปรากฏว่าไมโครโฟนใช้ไม่ไดเ้ ป็นอยนู่ ักใหญ่กว่าจะแก้ไข
ไดเ้ มื่อทกุ อย่างเรยี บร้อยแลว้ พธิ กี รอาจพดู ว่า “ แหมวนั น้ีพวกเรารอคอยมานานกวา่ จะได้คิวจากท่านวิทยากร
เพราะเรอ่ื งราวท่ีทา่ นจะพดู คุยกบั พวกเราเปน็ เร่อื งท่ี Hot ทสี่ ดุ ไม่นึกเลยว่าไมโครโฟนจะตกใจเพราะความ Hot
จนสายใหม่ก่อนที่ท่านวิทยากรจะได้พูดเสียอีก” เพ่ือเปน็ การทำใหบ้ รรยากาศผอ่ นคลายลง

-เมื่อพิธีกรอ่านข้อความผิด หากพิธีกรอ่านข้อความผิดให้ท่านตั้งสติให้ดีแล้วเอ่ยคำว่า “ ขออภัยค่ะ
(ครับ) "ไม่ใช่" อุ้ย” หรือบางกรณีอาจต้องใช้ไหวพริบปฏิภาณแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเพื่อให้ทุกอย่างผ่านไปได้
ด้วยดี

~ 60 ~

-เมื่อผู้ฟังออกอาการไม่ฟังเบื่อหลับในบางงานผู้ฟังหรือผู้ชมอาจไม่ให้ความร่วมมือควรใช้วิธีดึงความ
สนใจดว้ ยการร้องเพลงเลา่ เรอื่ งขบขันหรืออาจจะให้ผู้ฟังลุกขึน้ ขยับแข้งขยบั ขาด้วยการออกกำลังกายดบู ้าง

เทคนิคในการกลา่ วแนะนำวิทยากร
ในการพูดบางโอกาสไม่ว่าจะเป็นการสัมมนา การอภิปราย หรือการโต้วาทีนั้นมักมีโฆษกหรือพิธีกร

เป็นผู้ดำเนินรายการและกล่าวแนะนำวิทยากรหรือผู้พูดให้ผู้ฟังรู้จักเพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์และความ
เล่ือมใสศรทั ธา

พชร บัวเพียร ได้กล่าวถึงหลักสำหรับการกล่าวแนะนำผู้พูด ดังนี้ควรถามผู้พูดก่อนขึ้นพูดว่าต้องการ
หรือไม่ต้องการให้แนะนำอะไรบ้างกล่าวถึงเหตุหรือความสำคัญของเรื่องที่ผู้พูดจะพูดโดย พูดสั้น ๆ แต่ให้ได้
เนื้อความครบถ้วนเริ่มด้วยการปฏิสันถารผู้ฟังแล้วจึงแนะนำผู้พูดโดยเริ่มจาก ชื่อ สกุลการศึกษา ตำแหน่ง ท่ี
ทำงาน ความรู้ประสบการณ์และความสำคัญของผู้พูดโดยเฉพาะท่ีเกี่ยวกับเรื่องนี้สรา้ งบรรยากาศให้เกิดความ
เป็นกันเองระหวา่ งผูพ้ ูดกับผู้ฟังทำให้ผู้พูดอยากพดู และผู้ฟังอยากฟังอย่าพูดเกี่ยวกบั ตวั เองหรืออย่าพูดราวกับ
ว่าจะพดู เร่ืองนั้น ๆ เสียเองอย่ายกย่องผู้พดู จนเกินความเปน็ จริง

แต่อย่างไรก็ตาม การกลา่ วคำแนะนำผู้พูดมีข้อควรระวังบางประการซ่งึ กุญฑลีย์ ไวทยะวณชิ กล่าวไว้
ดังนี้ ไม่ควรใช้เวลาในการกล่าวคำแนะนาวิทยากรนานเกินไปต้องให้สัดส่วนความสำคัญของเนื้อหามากกว่า
ส่วนเสริมเพราะผู้ฟังต้องการฟังเรื่องราวที่ผู้พูดจะพูดมากกว่าชีวประวัติผู้พูดไม่ควรยกย่องผู้พูดจนเกินความ
จริงไม่ควรให้รายละเอียดในเรื่องส่วนตัวของผู้พูดควรให้ผู้พูดหรือวิทยากรได้อ่านคำกล่าวแนะนำตัวของผู้พูด
ก่อนเพื่อตรวจสอบความถูกต้องหรือเพิ่มเติมในเรื่องยศ ตำแหน่ง สถานศึกษาหน้าที่การงานปัจจุบันร่ วมท้ัง
ความสามารถและประสบการณ์ตา่ ง ๆ เพ่อื ให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและทันสมยั ควรอ่านออกเสยี งชื่อนามสกุลของ
ผู้พูดให้ผู้พูดฟังก่อนเพื่อความถูกต้องควรใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่ายชัดเจนหลังจากที่ผู้พูดหรือวิทยากรกล่าวจบแล้ว
พิธีกรผู้ดำเนินรายการ ควรกล่าวขอบคุณผู้พูดเพื่อแสดงมารยาทอันดีงาม และเป็นการเสริมแรงให้ผู้พูดที่ได้
เผยแพรค่ วามรู้ ความคดิ และสละตนเพือ่ ประโยชน์สังคมสืบไป

~ 61 ~

ตัวอยา่ งคำกลา่ วของพธิ ีกรงานสัมมนา
สวัสดีครับ / ค่ะท่านผู้มีเกียรติทุกท่านวันนี้นับเป็นวันดีวันหนึ่งที่ทุกท่านได้มาร่วมสัมมนาในหัวข้อ

..................................... ซึ่งเป็นหัวข้อที่น่าสนใจมากที่สดุ ในรอบปีนี้โดยที่ผูจ้ ัดเชื่อวา่ ท่านจะได้รับความรู้และ
สนุกไปกับงานสัมมนาในครั้งนี้ก่อนอื่นใคร่จะขอเรี ยนเชิญท่านประธานจัดงานสัมมนาคือคุณ……… … …
.......................... จะได้ขึ้นมากล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการจัดงานในวันนี้ให้แก่ท่านประธานและท่าน
ผเู้ ข้าร่วมประชุมทกุ ทา่ นได้ทราบความเป็นมาขอเปน็ สังเขปขอเรยี นเชิญคุณ ... ครับ / ค่ะ

เมื่อประธานกล่าวจบลงพธิ ีกรก็จะกล่าวต่อในทันทตี ่อไปขอเรียนเชิญท่านประธานในพิธีคุณ ..... ได้ให้
เกยี รติข้ึนมากล่าวอวยพรและกล่าวเปดิ การสมั มนาขอเรียนเชิญคุณ ..... ครบั / คะ่

เมื่อการกล่าวเปิดจบลงแล้วพิธีกรก็จะกล่าวแนะนำผู้เข้าร่วมสัมมนากรณีที่มีผู้เข้าร่วมสัมมนามาเป็น
คณะก็กล่าวแนะนำเป็นคณะแต่ละมาจากหลายหน่วยงานมากจนแนะนำไม่ไดเ้ น่ืองจากจะใช้เวลามากก็อาจจะ
ข้ามขั้นตอนการแนะนำนี้ไปต่อด้วยการเชิญผู้ดำเนินรายการขึ้นทำหน้าที่ทันทีต่อไปขอเชิญผู้ดำเนินรายการ
สมั มนาในวนั น้ีขอเชิญคุณ……………………………ดำเนนิ รายการต่อไปได้แล้วครบั / ค่ะ

เมื่อการสัมมนาหรือการประชุมเชิงปฏิบัติการดาเนินไปถึงช่วงสุดท้ายของงานพิธีกรก็จะขึ้นเชิญ
ประธานมอบเกยี รติบตั ร

ถ้าผู้เข้าร่วมสัมมนามีจำนวนมากเป็นร้อยคนก็ควรจะใชว้ ิธีใหไ้ ปรับทีจ่ ุดลงทะเบียนกน็ ่าจะสะดวกกวา่
การมอบเนื่องจากรายชื่อและจานวนคนที่จะรับนั้นส่วนมากมักจะสับสนเนื่องจากมีผู้เข้ าร่วมสัมมนาจำนวน
หนึง่ กลับกอ่ นเวลา

บทสรุป
ในการจัดสมั มนาครั้งนีฝ้ า่ ยพธิ ีกรจะต้องมีหน้าที่ดำเนนิ รายการตง้ั แต่เรม่ิ งานไปจนจบงานรู้ทุกข้ันตอน
ของงานสามารถจัดลำดับขั้นตอนของงานได้อย่างเหมาะสมและราบรื่นเรียบร้อยพิธีกรจะต้องทำให้ผู้บัง
ประทับใจหรือรูส้ ึกเบ่ือการบรรยายและผู้ท่ีเป็นพิธีกรจะต้องมบี ุคลิกที่ดีมีนำ้ เสียงท่นี ่าฟังรวมไปถึงจะต้องเป็นผู้
ที่แก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ ได้ดใี นกรณีท่ีอาจเกิดปญั หาต่าง ๆ เช่นเสียงหายไปดับเปน็ ต้นเม่ือจบการสัมมนาแล้ว
พธิ กี รจะต้องกลา่ วเชิญมอบเกียรตบิ ตั รและของทร่ี ะลกึ แก่ผทู้ รงคุณวฒุ ิ

~ 62 ~

ตารางที่ 10 : เคร่อื งมือในการตดิ ตามงานของพธิ กี ร

ฝา่ ย งานทีไ่ ด้มอบหมาย ความคบื หน้าครั้งที่1 เหตุผล

คดิ บทพดู ในการดำเนนิ งาน สำเรจ็ ไม่สำเร็จ
/

ฝึกซ้อมบทพดู ในการเปน็ พิธกี ร /
/
เป็นผดู้ ำเนนิ รายการ
พธิ ีกร เป็นผู้ควบคมุ หรือกำกับรายการ /

ภาคพิธีการตามกำหนด

~ 63 ~

นางสางกนกวรรณ สวุ รรรส ,นางสาวสุฮัยนี อาหวงั
ฝา่ ยประเมินผล

ตดิ ต่อ : 065-2566709 , 064- 2219720

บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝา่ ยประเมนิ ผล
ความรเู้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกับการประเมนิ โครงการ

การประเมินโครงการเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการบริหารโครงการ การประเมิน
โครงการเป็นกระบวนการท่ีให้ข้อมูลย้อนกลับ ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของโครงการ
ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทำให้ทราบข้อบกพร่อง จุดเด่น จุดด้อยของโครงการ และทราบว่าโครงการได้
บรรลวุ ัตถุประสงค์ เปา้ หมายเพยี งใด และชว่ ยให้ข้อมูลที่จำเปน็ สำหรบั การนำไปใชใ้ นการตัดสนิ ใจเก่ียวกับการ
ดำเนนิ โครงการได้ทัง้ ในปจั จบุ นั และในอนาคต

การประเมินผลโครงการ (Project Evaluation) เป็นคำที่มาจาก การประเมินผล (Evaluation) กับ
คำว่าโครงการ (Project) หมายความว่าเป็นกิจกรรมที่จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์บางประการ โดยที่ผู้จัดทำ
โครงการมงุ่ หวงั วา่ เม่อื ทำกิจกรรมนั้นตามหลักเกณฑ์หรือข้นั ตอนตา่ ง ๆ ท่กี ำหนดไวแ้ ลว้ จะบรรลุวัตถุประสงค์
บางประการ หรือหลายประการที่ตั้งไว้ หากมีกฎเกณฑ์ ขั้นตอน หรือกระบวนการที่ดำเนินการแตกต่างกันก็
อาจได้ผลลัพธ์ออกมาไม่เหมือนกัน (สุชาติ ประสิทธิรัฐสินธ์, 2541) โดยต่อไปจะได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับ
ความหมายของคำว่าการประเมินผล โดยทั่วไปนั้น การประเมินผล นับเป็นการตัดสินคุณค่าหรือความ
เหมาะสมในสิ่งที่ประเมิน ซึ่งหากจะขยายความการประเมิน เป็นการแยกแยะ วินิจฉัย (Identification)
เปิดเผยข้อเท็จจริง (Clearification) และการใช้ประโยชน์(Application) ของเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อตัดสินคุณค่า
หรือ ความเหมาะสมของสิง่ นน้ั ในเร่ือง คณุ ภาพการใชป้ ระโยชนก์ ารมผี ลตามความเปน็ จรงิ หรอื การไดร้ ับผลท่ี
สอดคล้องตามเกณฑ์นั้น นักวิชาการชาวต่างประเทศ และชาวไทย ได้ให้คำจำกัดความของ การประเมินผลไว้
ดงั ต่อไปน้ี

ไบรอันและไวท์ (1976) กล่าวว่า การประเมินผล เป็นความพยายามอย่างหนึ่งในการบันทึกถึงสิ่งท่ี
เกิดขึ้น และกำหนดว่าทำไมสิ่งนั้นจึงเกิดขึ้น การประเมินจึงหมายความได้ว่าเป็น ความพยายามที่จะค้นหาวา่
แผนหรอื โครงการ กอ่ ให้เกิดการเปล่ยี นแปลงอะไร เป็นไปตามทีค่ าดหมายไว้หรอื ไมเ่ พียงใด

~ 64 ~

รอบบินส์ (Robbins, 1973) เสนอความเห็นไว้ว่า การประเมินผล เป็นกระบวนการของการดูแล
ตดิ ตามเพือ่ ที่จะดวู า่ องคก์ รหรือหน่วยงานไดร้ ับ และใช้ทรพั ยากรเพือ่ การดำเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ของโครงการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพียงใด

สมคดิ พรมจยุ้ (2542) เสนอไวว้ า่ การประเมินผลเป็นกระบวนการที่ก่อใหเ้ กิดสารสนเทศ เพ่ือช่วยใน
การบริหาร ซึ่งผู้บริหารสามารถใช้ในการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการตรวจสอบความก้าวหน้า
ของโครงการหรือ แผนงาน ตลอดจนการพิจารณาผลสัมฤทธิ์ของโครงการหรือแผนงานนั้น ๆ ว่ามีมากน้อย
เพียงใด
ภาระงาน

1. ออกแบบใบประเมนิ ผล
2. ดำเนนิ การรวบรวมขอ้ มลู (โดยGoogle From)
3. นำขอ้ มูลมาวเิ คราะห์
4. สรปุ และประเมินผล
5. ยกร่างใบคะแนน(โดยGoogle From)
6. จดั ทำการทบทวนหลงั การปฏิบัติงาน (After Action Review)((โดยGoogle From))
ความสำคญั ของการประเมนิ โครงการ
ในการดำเนินงานโครงการจำเปน็ อยา่ งยิ่งท่ีทุกฝา่ ยท่ีเก่ยี วข้องกับโครงการจะต้องทราบถึงความเป็นไป
ได้ ความพร้อม ความก้าวหน้า และความสำเร็จของโครงการ ดังนั้นข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะช่วยตอบ
คำถามต่างๆได้ ถ้าการดำเนินงานปราศจากการประเมิน ผู้ปฏิบัติจะไม่ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึน
ความพร้อม ความเหมาะสม ของการดำเนินงานและเมื่อสิ้นสดุ การดำเนินงานก็จะไม่ทราบว่าผลการดำเนินงาน
เป็นอย่างไรบ้าง ควรยกเลิกหรือปรับหรือขยายโครงการหรือไม่ อย่างไร ทั้งนี้เพราะไม่มีสารสนเทศจากการ
ประเมินมาช่วยสนบั สนุนการตดั สินใจน่นั เอง
ดังนั้นสารสนเทศที่ได้จากการประเมินจึงเป็นสารสนเทศที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
หรือผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ ผู้ประเมินจึงมีบทบาทสำคัญในการนำเสนอผลการประเมินในลักษณะที่
เหมาะสมกบั ผู้ใชผ้ ลการประเมินแต่ละกลุ่ม

~ 65 ~

ประโยชน์ของการประเมนิ โครงการ
1. ช่วยใหไ้ ดข้ อ้ มลู เพือ่ นำไปใชใ้ นตดั สินใจเก่ียวกบั การกำหนดโครงการ การตรวจสอบความ

พร้อมของทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินโครงการ ตลอดจนความเป็นไปได้ในการจัดทำ
โครงการ

2. การประเมินปัจจัยนำเขา้ (Input Evaluation)
3. การประเมินสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation)
4. การประเมนิ กระบวนการ (ProcessEvaluation)
5. การประเมนิ ผลผลติ (Output/Product Evaluation)
6. การประเมินผลกระทบ ( Outcome/Impact)
ขนั้ ตอนการประเมนิ โครงการ
ในการประเมินข้นั ตอนการประเมนิ แบ่งออกเป็น 5 ขัน้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี
ขัน้ ที่ 1 กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงคข์ องการประเมนิ ในขนั้ ตอนน้ี ผู้ประเมนิ จะดำเนนิ การดงั น้ี

1.1 ศกึ ษาและรวบรวมข้อมลู เกีย่ วกับโครงการเหนือสิ่งท่มี ุ่งประเมินกบั วัตถุประสงค์หลักการ
ของโครงการใครเปน็ ผู้รับผดิ ชอบ ใครบ้างท่ตี อ้ งหารใชผ้ ลประเมนิ น้ี

1.2 สัมภาษณผ์ ู้บงั คบั บังชาของผู้ประเมนิ และกลมุ่ ผู้ใช้ผลประเมิน เกยี่ วกับความต้องการใช้
ผลประเมินต้องการใชเ้ มอื่ ใด ต้องการสารสนเทศในประเดน็ ใดบ้าง

1.3 จากข้อมูล 1.1 และ 1.2 กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมินเป็นที่น่าๆ
สังเกตว่าวัตถุประสงค์ของการประเมิน เป็นผลมาจากการศึกษาความต้องการของผู้ใช้ผลประเมินและจาก
วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของโครงการ หรอื ส่ิงทม่ี งุ่ ประเมนิ

ขั้นที่ 2 วางแผนการประเมิน เมื่อกำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมินแล้วนำ
วัตถุประสงค์ของการประเมินในแต่ละข้อมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนการประเมิน แล้วกรอกลงในแบบวาง
แผนการประเมิน

ขั้นที่ 3 ดำเนินการประเมินตามแผน เมื่อจัดทำแผนการประเมินเรียบร้อยแล้ว จะเริ่มเก็บรวบรวม
ข้อมูลในช่วงต่าง ๆโดยเกบ็ รวบรวมข้อมูลตามทร่ี ะบุไว้ในแผนการประเมิน

ขน้ั ที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูล แจงนบั รวบรวมข้อมูล เพ่อื ทำการวเิ คราะห์ตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
แตล่ ะข้อ แล้วมาสรปุ วา่ วตั ถปุ ระสงค์นน้ั ๆ บรรลหุ รอื ไม่ เพียงใด มปี ัญหา หรือ อปุ สรรคอย่างไรบา้ ง

ขนั้ ที่ 5 รายงานผลการประเมิน โดยท่ัวไปรายงานประเมนิ ผลมักจะทำเปน็ ลายลักษณ์อักษรในรูปของ
รายงาน ซึ่งอาจแบ่งเป็นรายงานรวมฉบับเดียว หรือการประเมินผลโครงการ และการติดตามผลหรือแยกเป็น
รายงาน 2 ฉบับ คือรายงานการประเมินผลโครงการหลังจากเสร็จสิ้นการดำเนินงาน โดยยังไม่ได้ดำเนินการ
ติดตามผล และรายงานการติดตามผล หลังจากส้นิ สุดโครงการไปแล้วไมน่ ้อยกวา่ 6เดอื น
ประเภทของการประเมนิ

การประเมนิ มีอยู่ดว้ ยกันหลายลักษณะ ซ่ึงถ้าพจิ ารณาจัดประเภทของการประเมินแลว้ สามารถแบ่งได้
เปน็ 2 กลุ่มใหญ่ ดังนี้

1 แบง่ ตามวัตถุประสงค์การประเมนิ แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื

~ 66 ~

1.1) การประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation) เป็นการประเมินระหว่างการดำเนิน
โครงการ เพือ่ พิจารณาความก้าวหน้าของโครงการ วา่ จำเปน็ ตอ้ งมกี ารปรบั ปรุงเปลีย่ นแปลงส่วนใด เพื่อให้เกิด
ความเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพของการดำเนนิ งานมากขึ้น

1.2) การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation) เป็นการประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการเพื่อตัดสิน
ความสำเรจ็ ของโครงการว่าบรรลวุ ตั ถุประสงคม์ ากน้อยเพยี งใดหรอื บรรลุเปา้ หมายท่คี วรจะเป็นเพียงใด

2แบ่งตามช่วงเวลาของการประเมนิ แบง่ ไดเ้ ป็น 7 ประเภท ดังนี้
2.1) การประเมินความต้องการจเป็น (Needs Assessment) เป็นการประเมินความต้องการจำเป็น
ของโครงการในเบื้องต้น ก่อนที่จะจัดทำโครงการใดๆ เป็นการประเมินที่มีประโยชน์ต่อการวางนโยบายและ
การวางแผน เพือ่ ให้ไดแ้ นวคิดของการจดั โครงการท่สี ามารถสนองความต้องการของกลุม่ เป้าหมายได้
2.2) การประเมินความเป็นไปได้ (Feasibility Study) เป็นการประเมินเพื่อพิจารณาความเป็นไปได้
ของโครงการที่จะดำเนินการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัย/เงื่อนไขที่จำเป็นต่อความสำเร็จของโครงการ มักจะ
ประเมนิ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง และการบรหิ าร
2.3) การประเมินปจั จยั นำเขา้ (Input Evaluation) เป็นการประเมินสิ่งทป่ี ้อนเข้าสู่โครงการว่ามีความ
เหมาะสมเพยี งใดก่อนท่จี ะเรม่ิ โครงการ ส่ิงท่ปี อ้ นเขา้ เชน่ คน วัตถุดิบ อุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื งบประมาณ เปน็ ต้น
2.4) การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินกระบวนการดำเนินการตามที่
กำหนด ทำการประเมินในขณะท่โี ครงการกำลังดำเนินการอยู่ เพอ่ื ใชผ้ ลการปรับปรุง หรือเพิม่ ประสิทธิภาพใน
การดำเนินงาน ซึ่งมีลักษณะครอบคลุม การประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation) ของโครงการ
2.5) การประเมินผลผลิต (Output / Product Evaluation) เป็นการประเมินผลที่ได้จากโครงการโดยตรง
และเปน็ ผลท่คี าดหวังจากโครงการ วา่ ผลทไี่ ด้เปน็ ไปตามวัตถุประสงค/์ เป้าหมายของโครงการมากน้อยเพียงใด
2.6) การประเมินผลกระทบ (Outcome / Impact Evaluation) เปน็ การประเมนิ ผลท่ีได้จากผลของ
โครงการทั้งที่คาดหวังและไม่ได้คาดหวัง ซึ่งเป็นผลทางบวกและทางลบ เพื่อนำผลไปประกอบการตัดสินใจ
เกี่ยวกบั โครงการ เช่น การยกเลิก หรือดำเนนิ โครงการดงั กล่าวตอ่ ไป
2.7) การประเมินงานประเมิน (Meta Evaluation) เป็นการประเมินผลของการประเมินอีกครั้งหน่ึง
เพื่อศึกษาความถูกต้องและความเหมาะสมของการประเมิน และผลการประเมินวิธีการนี้ยังไม่แพร่หลาย
มากนกั

ตารางท่ี 11 : เครอื่ งมือในการติดตามงานของฝ่ายประเมิน

ฝ่าย งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย ความคืบหนา้ คร้ังท่ี 1 หมายเหตุ
ประเมนิ สำเร็จ
กำลัง ไม่สำเรจ็
ดำเนินการ

ออกแบบใบประเมนิ ผล /

รวบรวมข้อมูล /

วิเคราะหข์ อ้ มูล /

จดั ทำใบคะแนน /

AAR ทบทวนหลงั ปฏบิ ตั ิงาน /

~ 67 ~

~ 68 ~

ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ยวกับกับการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการบริหารโครงการ การประเมิน

โครงการเป็นกระบวนการที่ให้ข้อมูลย้อนกลับ ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของโครงการ
ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทำให้ทราบข้อบกพร่อง จุดเด่น จุดด้อยของโครงการ และทราบว่าโครงการได้
บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมายเพยี งใด และช่วยใหข้ ้อมูลทจ่ี ำเปน็ สำหรบั การนำไปใช้ในการตดั สินใจเก่ียวกับการ
ดำเนนิ โครงการได้ท้งั ในปจั จบุ ันและในอนาคต

การประเมินโครงการ เป็นกระบวนการเชิงระบบที่ช่วยให้ได้สารสนเทศเกี่ยวกับโครงการสำหรับใช้
ตัดสินคุณค่าของโครงการที่นำไปสู่การตัดสินใจของผู้บริหาร หรือผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาโครงการให้มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับโครงการมาก
ขึ้น ฉะนั้น การประเมินโครงการจึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการบริหารโครงการ การประเมิน
โครงการเปน็ กระบวนการท่ีให้ได้ข้อมูลสารสนเทศป้อนกลับ ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงาน
ของโครงการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทำให้ทราบข้อบกพร่อง จุดเด่น จุดด้อยของโครงการให้มี
ประสทิ ธิภาพมากย่ิงขึน้ ทำใหท้ ราบข้อบกพร่อง จุดเดน่ จดุ ด้อยของโครงการ และทราบวา่ โครงการบรรลุวัตถุ
วัตถุประสงค์เป้าหมายเพียงใด มีความคุ้มค่าต่อการตัดสินใจในการดำเนินการหรอื ไม่ และในการดำเนินงานมี
ปัญหาทีต่ อ้ งปรบั ปรงุ เปลีย่ นแปลง หรอื แกไ้ ขเรื่องใดบา้ งซ่ึงจะช่วยใหไ้ ด้ข้อมลู ทีจ่ ำเป็นสำหรบั การนำไปใช้ในก
ความหมายของการประเมนิ โครงการ

การประเมินโครงการ คือ กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและนำผล
มาใชใ้ นการเพ่มิ คุณภาพและประสิทธิผลของการดำเนินโครงการจากความหมายดังกลา่ ว สรุปไดด้ ังนี้

1) การประเมนิ โครงการเปน็ กระบวนการท่ีจัดทำขน้ึ มาอย่างเปน็ ระบบ เพอื่ ใหไ้ ด้มาซงึ่ ข้อมูลความจริง
(Fact) ท่เี ชือ่ ถอื ได้

2) การประเมินโครงการจุดประสงค์ที่สำคัญเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ (Efficiency) และประสิทธิผล
(Effectiveness) ของโครงการ

สมหวัง พพิ ิธยานุวฒั น์ (2553 : 2) กลา่ ววา่ การประเมนิ ผลแผนงาน/โครงการ เปน็ การพิจารณาความ
เหมาะสมของแผนงาน/โครงการ การตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินแผนงาน/โครงการการศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ของโครงการหรือแผนงานนั้นๆว่าเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้หรือไม่เพียงใด การตัดสินใจเกี่ยวกับ
ดำเนินโครงการไดท้ ้ังในปจั จุบนั และในอนาคต

จิริวรรณ์ สำเภาทอง (2555 : 31) กล่าวว่า การประเมิน เป็นกระบวนการสร้างข้อมูลสารสนเทศที่ได้
จากการตรวจสอบความสอดคล้องของการดำเนินโครงการกับวัตถุประสงค์ของโครงการนั้นๆ ว่ามีปัญหา
อุปสรรคหรือมีความเหมาะสมในการจัดทำโครงการอย่างไร เพื่อนำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการ
ตัดสินใจ ในการปรับปรุงพัฒนา ในการดำเนินโครงการให้มีประสิทธิภาพหรือนำผลการประเมิน ที่ได้มาสรุป
ประโยชนข์ องโครงการไดผ้ ลดีหรอื ไม่

เชาว์อนิ ใย (2555 : 4) กลา่ ววา่ การประเมิน หมายถงึ กระบวนการพจิ ารณาตดั สินคุณค่าของส่ิงใดส่ิง
หนึ่ง ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยนำสารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ี
กำหนดเพ่อื ชว่ ยในการตดั สนิ ใจ ตีค่าผลการดำเนินการนน้ั ส่วนคำวา่ โครงการ หมายถงึ สว่ นยอ่ ยสว่ นหนง่ึ ของ

~ 69 ~

แผนงาน ซึ่งประกอบด้วย ชุดของกิจกรรมที่จัดขึ้นอย่างมีระบบ มีการกำหนดทรัพยากรในการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงานไวอ้ ย่างชดั เจน โดยออกแบบมาเพื่อใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามต้องการ

โครงการ (Project) หมายถึง แผนหรือเค้าโครงตามที่กำหนดไว้ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต
สถาน พ.ศ. 2552 การเขียนโครงการ คือ การเขียนแผนงานหรือเค้าโครงของแผนปฏิบัติงานที่มีกำหนด
ระยะเวลาและขั้นตอนการดำเนินงานอย่างชัดเจนและรอบคอบ มีรายละเอียดที่สามารถสื่อสารกับผู้อนุมัติ
โครงการและผู้เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์
ผู้รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินงาน วิธีการหรือแผนการดำเนินงาน แผนงบประมาณ การ
ประเมินผลโครงการ เป็นต้นในปัจจุบัน การเขียนโครงการเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการพัฒนางานโดย
เฉพาะงานเชิงรุกที่มุ่งให้เกิดผลผลิตและผลลัพธ์ เพื่อเปลี่ยนแปลงสิ่งต่าง ๆ ให้ดีขึ้น ถือเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการทำงานตามวงจรคุณภาพ (Plan-Do-Check-Act; PDCA) ที่ใช้ในระบบการทำงานทั่วไป ดังนั้น
ความสามารถในการเขียนโครงการเป็นส่ิงสำคัญมากในการทำงานท้ังในหน่วยงานราชการและเอกชน นิสิตทุก
คนจำเปน็ ตอ้ งศึกษาและพัฒนาตนเองให้สามารถเขยี นโครงการได้ด้วยตนเอง
จดุ ม่งุ หมายของการประเมนิ ผลโครงการ

มักจะมีคำถามอยู่ตลอดเวลาว่าประเมินผลเพื่ออะไร หรือประเมินผลไปทำไมปฏบิ ัตงิ านตามโครงการ
แล้วไม่มีการประเมินผลไม่ได้หรือ ตอบได้เลยว่าการบริหารแนวใหม่หรือการบริหารในระบบเปิด (Open
System) นน้ั ถอื ว่าการประเมนิ ผลเปน็ ขั้นตอนที่สำคญั มากซึง่ จดุ ม่งุ หมายของการประเมินผลโครงการมดี ังนี้

1. เพื่อสนับสนุนหรือยกเลิก การประเมินผลจะเป็นเครื่องมือช่วยตัดสินใจว่าควรจะยกเลิกโครงการ
หรือสนับสนุนให้มีการขยายผลต่อไป โดยเฉพาะการมีโครงการใหม่ ๆ ยังมิได้จัดทำในรูปของโครงการทดลอง
(Experimental) ซึ่งมีโอกาสจะผิดพลาดหรือล้มเหลวได้ง่าย ความล้มเหลวของโครงการจึงมิใช่ความล้มเหลว
ของผูบ้ รหิ ารเสมอไป ดงั นนั้ ถา้ เราประเมนิ ผลแลว้ โครงการนัน้ สำเรจ็ ตามทีก่ ำหนดวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายไว้
ก็ควรดำเนินการต่อไป แต่ถ้าประเมินผลแล้วโครงการนั้นมีปัญหา หรือมีผลกระทบเชิงลบมากกว่า เราก็ควร
ยกเลิกไป

2. เพื่อทราบถงึ ความก้าวหนา้ ของการปฏบิ ัตงิ านตามโครงการ ว่าเป็นไปตามท่ีกำหนดวัตถปุ ระสงค์
และเปา้ หมาย หรือกฎเกณฑ์ หรอื มาตรฐานท่ีกำหนดไวเ้ พยี งใด

3. เพ่ือปรบั ปรุงงาน ถ้าเรานำโครงการไปปฏิบัติแลว้ พบว่าบางโครงการไมไ่ ดเ้ สียทง้ั หมดแต่ก็ไม่บรรลุ
วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ทุกข้อ เราควรนำโครงการนั้นมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น โดยพิจารณาว่าโครงการนั้น
บกพร่องในเรื่องใด เช่น ขาดความร่วมมือของประชาชน ขัดต่อค่านิยมของประชาชน ขาดการประชาสัมพันธ์
หรอื สมรรถนะขององค์การท่ีรบั ผิดชอบต่ำ เมื่อเราทราบผลของการประเมินผล เราก็จะไดป้ รบั ปรุงแก้ไขให้ตรง
ประเดน็

4. เพื่อศึกษาทางเลือก (Alternative) โดยปกติในการนำโครงการไปปฏิบัตินั้น ผู้บริหารโครงการจะ
พยายามแสวงหาทางเลือกที่ดีที่สุด จากทางเลือกอย่างน้อย 2 ทางเลือก ดังนั้นการประเมินผลจะเป็นการ
เปรียบเทียบทางเลอื ก ก่อนที่จะตดั สนิ ใจเลือกทางเลอื กใดปฏิบตั ิ ทงั้ นี้เพอื่ ลดความเสย่ี งใหน้ อ้ ยลง

5. เพื่อขยายผล ในการนำโครงการไปปฏิบัติ ถ้าเราไม่มีการติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เรา
อาจจะไมท่ ราบถงึ ความสำเร็จของโครงการ แตถ่ ้าเราประเมินผลโครงการเป็นระยะ สมำ่ เสมอผลปรากฏวา่

~ 70 ~

โครงการน้นั บรรลุผลสำเร็จตามท่ีกำหนดวัตถุประสงค์ เรากค็ วรจะขยายผลโครงการน้ันต่อไป แต่การขยายผล
นั้นมิได้หมายความว่าจะขยายไปได้ทุกพื้นที่ การขยายผลต้องคำนึงถึงมิติของประชากร เวลา สถานที่
สถานการณ์ต่าง ๆ เช่น โครงการปลูกพืชเมืองหนาวจะประสบความสำเร็จดีในพื้นทีภ่ าคเหนือ แต่ถ้าขยายผล
ไปยังภูมิภาคอื่นอาจจะไม่ได้ผลดเี สมอไป เพราะต้องคำนึงถึงลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เชื้อชาติ ค่านิยม
ฯลฯ ดังนั้นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงคือ สิ่งที่นำไปในพื้นที่หนึ่งอาจได้ผลดี แต่นำไปขยายผลในพื้นที่หนึ่งอาจไม่ได้ผล
หรอื สิ่งที่เคยทำไดผ้ ลดีในช่วงเวลาหน่งึ อาจจะไมไ่ ด้ผลดใี นอีกชว่ งเวลาหน่งึ
รูปแบบการประเมนิ ผลแบบ CIPP Model

คำว่า รูปแบบ หรือหนังสือบางเล่มใช้คำว่า แบบจำลอง ภาษาอังกฤษใช้คำว่า “Model”ในการ
ประเมินผลโครงการมีแนวคิดและรูปแบบหลายรูปแบบ แต่ในที่นี้จะนำเสนอแนวคิดและโมเดลการประเมิน
แบบซิป หรือ CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) ซึ่งเป็นโมเดลที่ได้รับการยอมรับกันทั่วไปใน
ปัจจุบัน โดยแนวคิดของสตัฟเฟิลบีม เน้นการแยกบทบาทการทำงานระหว่างฝ่ายประเมินกับฝ่ายบริหารออก
จากกันอย่างเด่นชัด กล่าวคือ ฝ่ายประเมินมีหน้าที่ระบุจัดหาและนำเสนอสารสนเทศให้กับฝ่ายบริหาร ส่วน
ฝ่ายบริหารมีหน้าที่เรียกหาข้อมูล และนำผลการประเมินที่ได้ไปใช้ประกอบการตัดสินใจ เพื่อดำเนินกิจกรรม
ใดๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องแลว้ แต่กรณีเพ่อื ปอ้ งกนั การมีอคตใิ นการประเมนิ

ประเดน็ การประเมนิ ตามรูปแบบ CIPP Model
สตัฟเฟิลบีม ไดก้ ำหนดประเดน็ การประเมินออกเป็น 4 ส่วน ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดังน้ี
1. การประเมินสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation : C)เป็นการประเมินก่อนการดำเนินการ

โครงการ เพื่อพิจารณาหลักการและเหตุผล ความจำเป็นที่ต้องดำเนินโครงการ ประเด็นปัญหา และความ
เหมาะสมของเป้าหมายโครงการ เช่น โครงการอาหารเสริมแก่เด็กวัยก่อนเรียน เราจะต้องวัดส่วนสูง และช่ัง
นำ้ หนกั ของเดก็ ก่อน

2. การประเมนิ ปจั จยั นำเขา้ (Input Evaluation : I )
เป็นการประเมินเพื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพยี งของทรัพยากร
ที่จะใช้ในการดำเนินโครงการ เช่น งบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์เวลา ฯลฯ รวมทั้งเทคโนโลยีและ
แผนการดำเนนิ งาน

3. การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation : P )
เป็นการประเมนิ เพื่อหาข้อบกพร่องของการดำเนินโครงการ ทจ่ี ะใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการพฒั นา แกไ้ ข ปรับปรุง ให้
การดำเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรัพยากรที่ใช้ใน
โครงการ ภาวะผู้นำ การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการโดยมีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานทุกขั้นตอน การ
ประเมินกระบวนการนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการค้นหาจุดเด่น หรือจุดแข็ง (Strengths) และจุดด้อย
(Weakness) ของนโยบาย / แผนงาน/โครงการซึง่ มกั จะไม่สามารถศกึ ษาไดภ้ ายหลงั จากส้นิ สดุ โครงการแล้ว

4. การประเมนิ ผลผลติ (Product Evaluation : P )
เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขี้นกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้
รวมทั้งการพิจารณาในประเด็นของการยบุ เลกิ ขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการ แตก่ ารประเมนิ ผลแบบนี้มไิ ด้

~ 71 ~

ให้ความสนใจต่อเรื่องผลกระทบ (Impact) และผลลัพธ์ (Outcome) ของนโยบาย / แผนงาน / โครงการ
เทา่ ที่ควร

มโนทัศน์เบื้องต้นของแบบจำลอง CIPP นั้นประเภทของการตัดสินใจที่แตกต่างกันจำเป็นต้องใช้
สารสนเทศในการตัดสินใจทแี่ ตกตา่ งกนั ดว้ ยแบบจำลองนีไ้ ด้แบ่งการประเมินออกเปน็ 4 ประเภท ดังนี้
1. การประเมินสภาวะแวดล้อมหรือบริบท (Context Evaluation) เป็นการประเมินที่ช่วยตัดสอนใจเลือก
วัตถปุ ระสงค์ของโครงการทจี่ ะดำเนนิ การ
2. การประเมินปัจจัยหรือทรัพยากร (Input Evaluation) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางเลือกที่
เหมาะสมท่สี ดุ กบั ทรัพยากรทม่ี ีอยแู่ ละเปน็ ทางเลือกท่ีมโี อกาสทำใหบ้ รรลุวัตถุประสงคม์ ากทสี่ ดุ
3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เปน็ การประเมินขณะท่นี ำโครงการที่วางแผนไว้ไปปฏิบัติ
พร้อมกบั การปรับปรงุ การดำเนินงานให้มปี ระสิทธภิ าพ
4. การประเมินผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Product Evaluation) เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงปรับขยายหรือ
ลม้ เลิกโครงการ

แผนภมู ิ แสดงความสัมพนั ธ์ของประเภทการประเมนิ และประเภทของการตดั สินใจตามรปู แบบ CIPP

ภาพท่ี 15 :จากแผนภมู ิ สรุปสาระความสัมพนั ธ์ของการประเมินผลและประเภทของการตดั สินใจ
ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้

~ 72 ~

1) การประเมินสภาวะแวดล้อมหรือบริบท (Context Evaluation) เป็นการประเมินโครงการที่
เกี่ยวกับนโยบาย ปรัชญา เปา้ หมาย แรงกดดันทางเศรษฐกจิ และสงั คม ความตอ้ งการของบคุ ลหรือหน่วยงานท่ี
เก่ยี วข้อง ตลอดจนแรงกดดนั ทางการเมอื ง สารสนเทศท่ไี ดใ้ ช้ประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผนในการ
กำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ/กจิ กรรม ท่ีเหมาะสมตอ่ ไป

2) การประเมินปัจจัยหรือทรัพยากร (Input Evaluation) เป็นการตรวจสอบความพร้อมของปัจจัย
เบ้อื งตน้ ต่างๆ เช่น บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อปุ กรณ์ สถานท่ี เปน็ ต้น เป็นการประเมินเพอ่ื มงุ่ เน้นว่ามีปัจจัย
พร้อมมูลที่จะดำเนินการหรอื ไม่ แผนหรือโครงการที่เสนอเหมาะสมหรือไม่ ควรปรับปรงุ ตรงไหนสารสนเทศท่ี
ได้ใชป้ ระกอบการตัดสินใจเกี่ยวกบั โครงสรา้ ง เพือ่ วางแผนการจดั โปรแกรมหรือแผนการดำเนนิ งานทเี่ หมาะสม
ทส่ี ุด เพอื่ บรรลวุ ัตถุประสงค์ท่ตี ้งั ไว้

3) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินผลขณะดำเนินงาน หรือ
ประเมินในเชิงความก้าวหนา้ หรือประเมินเพื่อปรับปรุงโครงการในวงจรการบริหารโครงการศึกษาปัญหาและ
อุปสรรค จุดเด่น จุดด้อย เป็นการประเมินเพื่อหาสาเหตุ การประเมินเป็นระยะๆ เพื่อส่งผลต่อการบรรลุ
เปา้ หมายของโครงการนั่นเอง สารสนเทศทไ่ี ด้นำมาใช้ในการตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั การประยุกต์ใช้ การควบคุมหรือ
ปรับปรงุ แก้ไข วิธีการต่างๆให้เหมาะสมทันทว่ งที ขณะท่ีโครงการกำลงั ดำเนนิ อยู่

4) การประเมินผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Product Evaluation) เป็นการประเมินผลหลังจากดำเนินงาน
สิ้นสุดลง ซึ่งประกอบการประเมินผลลัพธ์ (Output Evaluation) โดยพิจารณาจากปริมาณและคุณภาพของ
ผลผลิต เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของโครงการ การนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานอีกส่วนหนึ่ง คือ
ผลกระทบ (Impact) สารสนเทศที่ได้นำมาตดั สนิ คุณคา่ ของผลผลติ ของโครงการท้ังในด้านปริมาณและคุณภาพ
เพ่อื ท่จี ะตดั สนิ ใจว่า ควรจะคงไว้ ปรับปรงุ ให้ดีขึน้ หรือล้มเลกิ โครงการ

รปู แบบของการประเมินโครงการ
รูปแบบการประเมินโครงการเป็นกรอบแนวคิดหรือแบบแผนที่เป็นระบบ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ควร

ประเมินขั้นตอนและวิธีการประเมนิ รูปแบบการประเมนิ จะช่วยชีแ้ นวทางในการประเมินซึ่งได้มนี กั วิชาการได้
กลา่ วถงึ รปู แบบการประเมนิ โครงการไว้ดังน้ี

สมคิด พรมจุ้ย (2550 : 49-50) กล่าวว่า รูปแบบการประเมินโครงการ คือกรอบความคิดหรือแบบ
แผนในการประเมินที่แสดงให้เห็นถึงรายการที่ควรประเมิน หรือกระบวนการของการประเมนิ ในการประเมิน
โครงการใดโครงการหน่ึงนั้น เราควรพิจารณาประเมินในเร่ืองใดบ้าง ในขณะเดียวกันบางรูปแบบอาจจะมีการ
เสนอแนะด้วยว่า ในการประเมินแต่ละรายการ แต่ละเรื่อง ควรพิจารณา หรือตรวจสอบอย่างไร ซึ่งเป็น
ลกั ษณะการเสนอแนะวิธกี าร โดยทวั่ ไปแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คอื

1. รูปแบบการประเมินที่เน้นจุดมุ่งหมาย (Objective Based Model) เป็นรูปแบบที่เน้นการ
ตรวจสอบผลทคี่ าดหวงั ไดเ้ กิดข้นึ หรอื ไม่ หรอื ประเมนิ โดยตรวจสอบผลท่รี ะบุไว้ในจุดมุ่งหมายเปน็ หลักโดยดูว่า
ผลทเี่ กดิ จากการปฏบิ ตั งิ านบรรลจุ ุดมุ่งหมายทก่ี ำหนดไวห้ รอื ไม่ ได้แก่ รปู แบบการประเมินของไทเลอร์ (Tyler)
ครอนบาค (Cronbach) และเคริกแพตทริค (Kirkpatrick)

~ 73 ~

2. รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่า (Judgmental Evaluation Model) เป็นรูปแบบการ
ประเมินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศส ำหรับกำหนดและวินิจฉัยคุณค่าของโครงการน้ัน
ไดแ้ ก่ รูปแบบการประเมินของ สเตค (Stake) สคริฟเวน่ (Scriven) และโพรวสั (Provus)

3. รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินใจ (Decision - Oriented Evaluation Model) เป็นรูปแบบ
การประเมินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลและข่าวสารต่างๆ เพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจเลือก
ทางเลือกตา่ งๆไดอ้ ย่างถูกต้อง ได้แก่ รูปแบบการประเมินของ เวลซ(์ Welch) สตฟั เฟิลบีม(Stufflebeam) และ
อลั คนิ (Alkin)
ข้นั ตอนการประเมินโครงการ

ในการประเมนิ ข้ันตอนการประเมินแบ่งออกเป็น 5 ข้นั ตอน (สมหวงั พิธยิ านวุ ฒั น์ : 2544) ดังต่อไปนี้

แผนภูมิ : แสดงวงจรระเบียบวธิ กี ารประเมนิ

ภาพที่ 16 : แผนภูมิ : แสดงวงจรระเบียบวธิ กี ารประเมนิ

ขน้ั ท่ี 1
กำหนดขอบเขตและวตั ถุประสงคข์ องการประเมนิ ในขน้ั ตอนน้ี ผู้ประเมนิ จะดำเนนิ การดงั นี้
1.1 ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงการหรือสิ่งที่มุ่งประเมินกับวัตถุประสงค์หลักการของ

โครงการ ใครเปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบ ใครบา้ งท่ีต้องหารใชผ้ ลประเมินนี้
1.2 สัมภาษณ์ผู้บังคับบังชาของผู้ประเมิน และกลุ่มผู้ใช้ผลประเมิน เกี่ยวกับความต้องการใช้ผล

ประเมิน ตอ้ งการใช้เม่ือใด ต้องการสารสนเทศในประเดน็ ใดบา้ ง
1.3 จากข้อมูล 1.1 และ 1.2 กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมิน เป็นที่น่าสังเกตว่า

วตั ถุประสงค์ของการประเมิน เป็นผลมาจากการศึกษาความต้องการของผู้ใชผ้ ลประเมนิ และจากวตั ถุประสงค์
หลักของโครงการ หรอื ส่ิงท่ีมงุ่ ประเมนิ

~ 74 ~

ขนั้ ท่ี 2
วางแผนการประเมิน เมื่อกำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์การประเมนิ แล้ว นำวัตถุประสงค์ของการ

ประเมินในแต่ละข้อมาวเิ คราะห์เพ่ือวางแผนการประเมิน แล้วกรอกลงในแบบวางแผนประเมินดงั นี้
ตารางที่ 12 : วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมิน

วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน

ประเภทของ ประเดน็ แหล่งท่ีมาของ เวลาทีเ่ ก็บ วธิ กี ารเกบ็ วิธีวเิ คราะห์
การประเมนิ คำถาม ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ขอ้ มูล

จากวัตถุประสงค์ของการประเมิน ผู้ประเมินนำมาวิเคราะหว์ ่าเป็นประเภทไหนของการประเมิน เช่น
ประเมินสภาวะแวดล้อม ประเมินปัจจัยเบื้องต้น ประเมินกระบวนการ การประเมินผลผลิต ฯลฯ ประเด็น
คำถามเพอ่ื จะไดช้ ่วยให้เก็บข้อมูลอย่างครบถว้ น แหล่งท่มี าของข้อมลู ที่ต้องการอาจมาจากผู้เข้าร่วมโครงการผู้
สังเกตการณ์ เอกสาร หรือผลการปฏิบัติต่างๆ ช่วงเวลาที่เก็บขอ้ มูล แบ่งเป็น 3 ช่วง ก่อนการดำเนินโครงการ
และขณะโครงการดำเนนิ โครงการอยแู่ ละเมื่อส้นิ สดุ โครงการ
ขัน้ ท่ี 3

ดำเนินการประเมินตามแผน เมื่อจัดทำแผนการประเมินเรียบร้อยแล้ว จะเริ่มเก็บรวบรวมข้อมูล
ในช่วงตา่ งๆโดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามที่ระบุไวใ้ นแผนการประเมนิ
ขน้ั ท่ี 4

วิเคราะห์ขอ้ มูล แจงนับรวบรวมขอ้ มลู เพื่อทำการวเิ คราะหต์ ามวตั ถุประสงค์ของการประเมนิ แต่ละข้อ
แล้วสรปุ วา่ วัตถปุ ระสงคน์ ้นั ๆบรรลุหรอื ไม่ เพยี งใด มปี ญั หา หรืออุปสรรคอย่างไรบ้าง
ขั้นท่ี 5

รายงานผลการประเมิน โดยทั่วไปรายงานการประเมินผลมักจะทำเป็นลายลักษณ์อักษรในรูปของ
รายงาน ซึ่งอาจแบ่งเป็นรายงานรวมฉบับเดียว หรือการประเมินผลโครงการ และการติดตามผลหรือแยกเป็น
รายงาน 2 ฉบับ คือ รายงานการประเมินผลโครงการหลังจากเสร็จสิ้นการดำเนินงาน โดยยังไม่ได้ดำเนินการ
ตดิ ตามผล และรายงานการตดิ ตามผล หลังจากสนิ้ สดุ โครงการไปแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า 6 เดือน

~ 75 ~

การเขยี นโครงการประเมิน
โครงการประเมิน คือ แผนการประเมิน ซึ่งเป็นการเสนอกรอบความคิดในการประเมินว่า ทำไมต้อง

ประเมิน ประเมนิ เพอื่ ใคร ประเมนิ อะไร ประเมนิ อย่างไร ใช้อะไรเปน็ เกณฑ์ในการตัดสิน ประเมินเมือ่ ไรและใช้
ทรัพยากรมากนอ้ ยเพียงไร
ความสำคญั ของการเขียนโครงการประเมนิ

1) เป็นการวางแผนสำหรบั ดำเนนิ งานอยา่ งมีขน้ั ตอน และมรี ะบบแบบแผน
2) เป็นพิมพเ์ ขยี วของการดำเนินงานเพ่ือประเมนิ โครงการ
3) เป็นข้อสญั ญาทผ่ี ู้ประเมนิ จะตอ้ งปฏบิ ัติ
4) ชว่ ยในการประมาณการค่าใช้จา่ ย แรงงาน และระยะเวลาของการประเมิน
5) เปน็ ประโยชน์ตอ่ การพจิ ารณาอนุมตั หิ รอื การใหท้ นุ สนบั สนนุ การประเมนิ
6) ชว่ ยใหส้ ามารถตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานตามโครงการประเมนิ ได้

ตารางท่ี 13 : กรอบความคดิ ของการเขยี นโครงการประเมนิ

1 ประเมนิ ทำไม หลักการและเหตุผลของการประเมนิ

2 ประเมินเพ่ือใคร ใครคือผู้ใช้ผลการประเมิน

3 ประเมนิ อะไร วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน

4 ประเมินอยา่ งไร การออกแบบวธิ กี ารประเมนิ

5 ใชอ้ ะไรเป็นเกณฑใ์ นการตดั สินใจ ตัวบง่ ช้แี ละเกณฑ์การประเมิน

6 ประเมนิ เม่ือไร กำหนดการของกจิ กรรมและระยะเวลา

7 ใช้ทรพั ยากรมากน้อยเพียงไร งบประมาณการประเมนิ

~ 76 ~

โครงสร้างการเขยี นโครงการประเมิน
1) ช่ือโครงการประเมนิ
2) ผูเ้ สนอโครงการ/ผู้รับผิดชอบ/หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบ
3) ปที ่ีทำการประเมิน
4) ความเปน็ มาของการประเมิน/เหตุผลที่ต้องประเมิน
5) วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมนิ
6) ขอบเขตของการประเมนิ
– โครงการท่ีมงุ่ ประเมนิ /สาระโดยสรุป
– ตัวแปร/รายการที่ศกึ ษา
7) ขอ้ ตกลงเบ้อื งต้น
8) คำจำกดั ความท่ใี ช้ คำจำกดั ความท่ีเก่ียวขอ้ ง
9) ขอ้ จำกดั ของการประเมนิ (ไมจ่ ำเป็นจะไม่เขยี นยกเว้นกรณีวกิ ฤต)
10) แนวทางการดำเนนิ งาน
– แหลง่ ขอ้ มลู /กลุ่มตัวอยา่ ง
– เครื่องมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ขั้นตอนการพฒั นาเครอ่ื งมอื
11) งบประมาณทใี่ ช้
12) แผนการเผยแพรผ่ ลการประเมนิ /การนำเสนอผลการประเมิน
13) ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ
14) ปฏทิ ินการปฏิบตั ิงาน
15) บรรณานกุ รม
16) ภาคผนวก

การประเมินสามารถแบ่งได้ดงั น้ี
1. การประเมนิ ก่อนมีการสัมมนามหี ลกั การท่ีควรพิจารณาดงั ต่อไปน้ี
1.1 ความเหมาะสมของโครงการวา่ มีความเหมาะสมสอดคล้องส่งิ ต่อไปนห้ี รือไม่
- อาชพี ประจำ
- วัฒนธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณีความเปน็ อยใู่ นทอ้ งถ่ิน
- ส่ิงแวดลอ้ มในสงั คม
1.2 ผลตอบแทนจากการดำเนินโครงการโดยพิจารณาว่าโครงการที่ดำเนินการมีกำไรหรือขาดทุน
หรือไม่ซึ่งผลตอบแทนอาจจะไม่ได้อยู่ในรูปแบบของตัวเงิน แต่ให้พิจารณาถึงประโยชน์ในการพัฒนา
บุคลากรหรอื การพัฒนาบุคลากรในทอ้ งถนิ่
2. การประเมินขณะดำเนินการจัดสัมมนาประเมินขณะดำเนินการจัดสัมมนาเพื่อติดตามการปฏิบัติงาน
ของฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดสัมมนาการประเมินขณะดำเนินการจัดสัมมนาจะทำให้ทราบถึง
กระบวนการดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่และดำเนินงานในฝ่ายต่างๆ มีประสิทธิภาพ
เพียงใด
3. การประเมินผลการสมั มนาจากผเู้ ขา้ รว่ มสัมมนา

~ 77 ~

3.1 การประเมินผลการสัมมนาเพื่อให้ทราบว่าโครงการที่ดำเนินการนั้นบรรลุวัตถุประสงค์ของ
โครงการหรือไม่ จะประเมนิ ขณะดำเนนิ การสัมมนา

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาประเมินผล โดยเฉพาะการประเมินปฏิกิริยาของ
ผ้เู ขา้ ร่วมสัมมนาทน่ี ยิ มใช้โดยท่ัวไปคือ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์

การทบทวนหลงั การปฏิบัตงิ าน
มีผใู้ ห้ความหมายของ AAR ดังน้ี
• การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน, การทบทวนหลังปฏิบตั งิ าน
• การเรียนร้รู ะหว่างทำงาน
• การเรียนรหู้ ลงั การทำงาน
• เครอื่ งมอื การวเิ คราะห์หลังการปฏิบัติ
• การสรุปบทเรียนจากการเรยี นรู้
• การประชมุ กล่มุ เพอ่ื ทบทวนการปฏบิ ตั ิ

ความหมายของ After Action Review หรอื AAR
มีผใู้ ห้ความหมายของ AAR ไว้หลายท่าน ดังนี้
Major R. Kennedy, Canada Army กล่าวว่า การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน คือ การอภิปราย/

ปรึกษาหารือ/แลกเปลี่ยนความเห็น/แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างมืออาชีพ ภายหลังเสร็จสิ้นการฝึกหรือการ
ปฏิบัติการ ที่มุ่งเน้นให้ได้คําตอบทีช่ ัดเจนในประเดน็ ท่ีว่า เกิดอะไรขึ้น(ผลการปฏิบัติเป็นอยา่ งไร) ทําไมจึงเปน็
เช่นน้นั แล้วเราจะพฒั นาใหด้ ยี ่งิ ขนึ้ ไดโ้ ดยวิธีการใด

นพิ ทั ธก์ านตอมั พร กล่าวว่า AAR คือ การประชุมกลมุ่ เพ่อื ทบทวนการปฏบิ ตั ภิ ารกิจที่ได้ทำไปแล้วว่ามี
ผลอย่างไร และมอี ะไรท่เี ปน็ ความรู้ บทเรยี น และสามารถนําไปใชใ้ นการพฒั นาการปฏิบตั ิในครัง้ ต่อไป ท้ังของ
ตนเองและบุคคลอนื่

อุดม พัวสกุล (2552 หน้า 24) กล่าวว่า AAR คือ การเปิดใจและการเรียนรู้หลังการทำกิจกรรมใด
กิจกรรมหนึ่งเสร็จสิ้นลง เพื่อถอดบทเรียนชื่นชมความสำเร็จและหาทางพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น เป็นขั้นตอนหนึ่งใน
วงจรการทำงาน เปน็ การทบทวนวธิ ีการทำงานทั้งดา้ นความสำเร็จ และปญั หาท่เี กดิ ขน้ึ ทง้ั นีไ้ มใ่ ชเ่ พ่ือค้นหาคน
ที่ทำผิดพลาด ไม่ใช่การกล่าวโทษใครทั้งส้ิน แต่เป็นการทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน เพื่อ
แก้ปัญหาท่เี กดิ ขนึ้ ไม่ใหเ้ กดิ ปญั หานีข้ ้ึนอีก ในขณะเดียวกันกค็ งไวซ้ ง่ึ วิธกี ารทีด่ อี ยแู่ ล้ว
ความเป็นมาของ AAR
(สรปุ จากเอกสารประกอบการบรรยายของ รศ.ดร.เนาวรัตนพ์ ลายนอ้ ย)

AAR เป็นเครื่องมือที่เชื่อในแนวคิด “ตีเหล็กที่กําลังร้อน” โดยพัฒนามาจากการพัฒนากระบวนการ
เรียนรู้ในกองทัพสหรัฐอเมริกา โดยเริ่มใช้มาตั้งแต่ค.ศ.1970 (พ.ศ.2513) ในช่วงที่สหรัฐอเมริกาประสบความ
พ่ายแพ้ต่อสงครามเวียดนามซึ่งความภาคภูมิใจในตนเองของทหารอเมริกาเสื่อมถอยไปมาก แต่ด้วย
กระบวนการ AAR ที่เข้มข้นจริงจังหลังจากนั้น ทำให้กองทัพสหรัฐอเมริกามีการเรียนรู้เป็นอย่างมากจนทำให้
ความรู้สึกภาคภูมิใจในกองทัพได้หวนกลับมาอีกครั้ง และได้จัดให้ AAR มีสถานะเป็นระบบการเรียนรู้เชิง
สถาบัน (Institutional Learning system) ที่สำคญั ของทหารอเมรกิ ันในช่วง 20 ปเี ศษท่ผี า่ นมานี้

กล่าวกันว่าในกระบวนการ AAR นั้น นายทหารที่มีอาวุโสน้อยสามารถตั้งคําถามเพื่อการเรียนรู้จาก
นายทหารที่มอี าวุโสสงู กวา่ เพ่อื สรา้ งวฒั นธรรมการเรยี นรรู้ ะหว่างกนั ได้ แทนท่จี ะเพยี งรับฟงั คำสง่ั เพยี งอยา่ ง

~ 78 ~

เดียว อีกทั้งในกระบวนการฝึกร่วมคอบบร้าโกลด์ระหว่างทหารไทยกับสหรัฐอเมริกาก็มีการนําเครื่องมือAAR
มาใช้อยู่ด้วย

ต่อมามีการนํา AAR มาใช้ในภาคพลเรือนตั้งแต่ค.ศ.1990 (พ.ศ.2533) อย่างไรก็ตามวัฒนธรรมของ
กองทัพกับพลเรือนน่าจะมีความแตกต่างกันอยู่บ้าง โดยเฉพาะ AAR ของทหารน่าจะมองเห็นเป็นรูปธรรม
มากกว่า ด้วยความจําเป็นที่ต้องคํานึงทางรอดในการปฏิบัติการทางทหาร ขณะที่พลเรือนที่ใช้ AAR เพื่อเป็น
เครอ่ื งมือในการเรียนรู้ในโครงการพฒั นาน้ัน ไมม่ ีมิตขิ องความเปน็ ความตายทางกายภาพมาเก่ยี วข้อง AAR ใน
กลุ่มพลเรือนจึงต้องอาศัยฉันทะ ความใฝ่รู้ วัฒนธรรมการเรียนรู้ของกลุ่ม ตลอดจนต้องมีเงื่อนไขสิ่งแวดล้อม
ทางการเรยี นรู้สนับสนนุ อยา่ งเหมาะสมดว้ ย

AAR ท่นี าํ มาประยุกตใ์ ชใ้ นโครงการพฒั นานั้นมีชื่อเรียกต่างๆกนั เช่น Lesson Learned
(กรณีศึกษา), Post-operation view (การสรุปหลังการปฏิบัติการ), Learning review (การทบทวนการ
เรยี นร)ู้ และ Learning after the event (การเรยี นร้หู ลังเกิดสถานการณ์) เป็นต้น แตค่ ําถามหลัก ๆ เพ่ือการ
เรียนรู้ที่เรียกกันว่า Key Learning points (ประเด็นการเรียนรู้หลัก) จะไม่แตกต่างกันมากนัก ดังเช่นชุด
คาํ ถามตอ่ ไปน้ี

- เราวางแผนกนั ไว้อย่างไร อะไรคือจดุ หมายของการปฏบิ ัตกิ าร
- เม่อื เราดำเนนิ โครงการพฒั นาไประยะหนึ่งแล้วสิง่ ใดเกิดขน้ึ สงิ่ ใดเป็นไปตามที่วางแผนไว้ /ทําไมเป็น
เช่นน้นั
- ส่ิงใดไมเ่ ปน็ ไปตามท่วี างแผนไว้ / ทำไมเปน็ เช่นนนั้
- เรามีปญั หาอะไรบา้ ง
- เรานา่ จะสามารถทำสงิ่ ใดให้ดขี ึ้นกว่าเดิมได้บ้าง
- ในการดำเนินงานคร้งั ต่อไป สิ่งใดทเ่ี ราจะปฏิบตั ิแตกตา่ งไปจากครงั้ ทีผ่ ่านๆมาบา้ ง
พืน้ ฐานของ AAR
(สรุปจากเอกสารประกอบการบรรยายของ Major R. Kennedy, Canada Army)
การวจิ ารณ์ (Critique)เปน็ การสอ่ื สารทางเดียวเป็นสว่ นใหญ่ เพื่อแจง้ การประเมินผลการปฏิบัติของ
ทีมหรือบุคคล โดยจะให้โอกาสผ้เู ข้าร่วมฟังในการบ่งบอกจุดแข็งหรือจุดทค่ี วรปรับปรุงของตนเอง ผทู้ ี่อาวุโสใน
ท่ปี ระชุมจะเป็นผเู้ ติมเต็มในจดุ ท่ตี อ้ งการคําตอบ
ประโยชน์ของการใช้ระบบวิจารณ์คือ ใช้เวลาน้อยและใช้ได้ดใี นกรณที ี่ขีดความสามารถของผู้เข้าร่วม
ฟงั ในการวเิ คราะห์ผลการปฏิบัตขิ องตนเองมีนอ้ ยเนื่องจากมปี ระสบการณ์นอ้ ย
การสนทนาซกั ถาม (Debrief) เปน็ กระบวนการเพื่อให้ไดข้ ้อมูลข่าวสารหรือสารสนเทศ
(Information) จากกําลังพลที่เราส่งไปฝึกหรือปฏิบัติการมา เป็นการสื่อสารที่เป็นสองทางมากขึ้น กําลังพลท่ี
ไปฝึก/ปฏิบัติการมาจะมีโอกาสไดร้ ับข้อมูลย้อนกลบั (Feedback) เกย่ี วกับการประเมินผลการปฏิบัติของพวก
เขาอยา่ งไรก็ดกี ารวจิ ารณ์ (Critique) และการสนทนาซักถาม (Debrief)เป็นคําท่สี ามารถใช้ทดแทนกันได้
การเรียนรู้จากสถานการณ์แบบเร่งด่วน (Hot Wash Up)เป็นการนํากรณีศึกษาจากการฝึกใน
สถานการณ์ต่าง ๆ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบเร่งด่วน เป็นการดำเนินการที่ไม่ต้องใช้เวลาและทรัพยากร
สนับสนุนมากนัก วัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ว่า เกิดอะไรขึ้น(ทั้งด้านดีและไม่ดี) ทําไมถึงเป็นเช่นน้ัน
และเราจะพัฒนาใหด้ ีข้นึ ได้อยา่ งไร

~ 79 ~

เปา้ หมายของ AAR
เป้าหมายหลัก ได้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนาการทำงาน ที่มาจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

อยา่ งกว้างขวางและไม่มีขอ้ จํากัดของบุคลากรท่ปี ฏบิ ัติงานร่วมกันในลักษณะทีมงาน โดยมุ่งเรียนรู้ให้ทันเวลา
เป้าหมายอื่น ๆ ได้ความรู้เทคนิคต่าง ๆ ในการปฏิบัติงาน ที่แต่ละคนในทีมงานได้พูดคุยแสดงความ

คิดเหน็ กัน เปน็ การแชรป์ ระสบการณ์ระหวา่ งบุคลากรในทีม ตลอดจนสง่ เสรมิ ลักษณะการทำงานเปน็ ทมี
ประโยชน์ของ AAR

- ได้แนวทางในการปรับปรุง/พัฒนางาน นําไปสู่การทำงานที่ลดความยุ่งยาก เหนื่อยน้อยลง
ได้ผลดีขึน้

- ไดฝ้ ึกทักษะในการพดู และการฟงั
- เป็นพื้นฐานทีส่ ำคญั ของการเรียนรู้เปน็ ทีม (Team Learning) ซ่งึ เป็น 1 ใน 5 ของแนวปฏิบัติ
สู่การเปน็ องคก์ ารแห่งการเรยี นรู้
- เปน็ การพัฒนาความสัมพนั ธ์สู่การทำงานเป็นทีม
- ทำให้การจดั การความรู้เป็นเรื่องง่าย ๆ ทใ่ี ช้ประโยชน์ได้จรงิ
- ทำให้ทราบถึงสิ่งที่เราปฏิบัติได้ดีอยู่แล้ว หรืออาจบังเอิญปฏิบัติได้ดีเพื่อบันทึกจดจํา และ
รกั ษาไว้/พัฒนาใหด้ ยี ่ิงขนึ้
- ทำให้เราทราบขอ้ ผิดพลาด และวิธกี ารป้องกนั ไมใ่ ห้ผิดซ้ำ
ข้นั ตอนของ AAR
1. วางแผนและแจ้งให้ทีมงานทราบว่าจะมีการทำAAR ตั้งแต่ก่อนการทำงาน โดยระหว่างการทำงาน
นั้น เราต้องการให้ทีมงานเก็บข้อมูลหรือสังเกตจดจําเรื่องใด ขั้นตอนนี้หากสามารถท ำเป็น BAR
(BeforeAction Review) หรือ การซกั ซ้อมกอ่ นการปฏิบตั ิงาน ก็จะสมบูรณ์ย่งิ ขึน้
2. เม่อื ปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้วให้จดั เตรยี มสถานทแี่ ละนดั แนะเวลาทจ่ี ะมาทำAAR
3. หากเป็นการทำAAR ครั้งแรก ให้สรรหาผู้ที่จะทำหน้าที่เป็นผู้อํานวยความสะดวกในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Facilitator) หรือฟา รวมทั้งอาจมีการจัดให้แนะนําตัว หรือทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
บรรยากาศทีด่ ีในการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
4. ดำเนนิ การ AAR โดยให้ “ฟา” ถามตามข้อคําถามทที่ ีมงานตอ้ งการ ซง่ึ ขอ้ คาํ ถามนจ้ี ะ
เปลี่ยนไปตามความต้องการและความจําเป็นของงานที่ปฏิบัติแต่จะมีความถามที่เป็นแกนในแนวกลางๆ 4
คําถาม คือ (1) เราคาดว่าผลที่เกิดขึ้นควรจะเป็นอย่างไร (2) แล้วผลที่เกิดขึ้นจริงๆ คืออะไร (3) เพราะเหตุ
อะไรจงึ เกิดเป็นเชน่ น้นั และ (4) เราไดเ้ รยี นรู้อะไรจากสิง่ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในการทำAAR
5. ทีมงานร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแนวทางของข้อคําถามในข้อ 4 รวมทั้งประเด็นอื่นๆ ที่น่าสนใจ
โดยสมาชิกทุกคนสามารถเปิดประเด็นใหม่ที่เกี่ยวข้องกับงานตามหัวข้อ AAR ได้ในการกำกับดูแลของฟา โดย
ใหม้ ีการคิดวเิ คราะห์เพือ่ ใหไ้ ดแ้ นวทางในการปฏิบัติท่ดี ีที่สุด
6. บันทึกความรู้/แนวทางการปฏิบัติที่ได้รวมทั้งข้อควรระวังในการปฏิบัติครั้งต่อไป ในรูปแบบที่
สะดวกตอ่ การเขา้ ใจ และจดั เกบ็ ให้สะดวกต่อการเข้าถึงเพ่ือเรียนรแู้ ละนำมาใช้ในการปฏบิ ัติคร้งั ต่อไป โดยอาจ
จดั ทำเป็นแบบฟอร์ม หรือบางแหง่ เรียกแบบฟอรม์ น้ีว่า SAR (Self Assessment Report) เสนอผบู้ งั คบั บัญชา
ตามสายงานทราบ

~ 80 ~

ภาพผนวก ก
เอกสารประกอบการดำเนินงานการจัดสมั มนา

~ 81 ~

โครงการไมใ่ ช้งบประมาณเงนิ รายได้คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

…………………………………………………………………………………………………………….
ชอ่ื โครงการ

สัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ “อัตลักษณ์และความหลากหลายกับการพัฒนา สาม
จังหวดั ชายแดนใต้”

ประเภทโครงการ
HUSO 04 โครงการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน

หลักการและเหตุผล
การจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ “อัตลักษณ์และความหลากหลายกับการพัฒนา

สามจงั หวดั ชายแดนใต้”ประจำปี 2564 เปน็ ความร่วมมือของนักศึกษา โดยมีคณาจารย์หลักสูตรศิลปะศาสตร์
บัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นที่ปรึกษา ซึ่งในการจัด
โครงการในครั้งนี้เป็นการจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ เพื่อพัฒนาให้นักศึกษาเรียนรู้กระบวนการและ
เพิ่มศักยภาพของการจัด สัมมนา และเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงร่างการศึกษา
อสิ ระ ระหว่างผ้ทู รงคณุ วุฒิ ผู้นำเสนอ และผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ซึ่งนำไปสู่องค์ความรโู้ ดยใชก้ ระบวนการวิจัยเป็น
ฐานในการเรียนรู้ที่เชื่อมโยง ทฤษฎีและการปฏิบัติภายใต้การแสวงหาความรู้จากงานวิจัยอย่างต่อเนื่ องและ
เป็นระบบผ่านกระบวนการจัด สัมมนาเพื่อเรียนรู้กระบวนการวางแผนการดำเนินงานภายใต้สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และปรับตัวท่ามกลาง
สถานการณ์โลกท่ีมีการเปล่ยี นแปลงอยู่ ตลอดเวลา

จากสถานการณ์ข้างต้น นักศึกษาและคณาจารย์ หลกั สตู รศลิ ปะศาสตร์บัณฑิต สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
ได้เล็งเห็นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในการจัดสัมมนาท่ามกลางสถานการณ์
Covid-19 ซึ่งมีการปรับเปล่ียนเป็นรูปแบบ Online และเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครง
รา่ งการศึกษาอิสระ โดยผลการจดั สมั มนาคร้งั น้มี ีความคาดหวังว่าจะสามารถสรา้ งองค์ความร้ผู ่านกระบวนการ
ต่างๆ ในการช่วยเหลือและพัฒนาสังคมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม และสามารถสร้างสรรค์
ผลงาน และนวัตกรรมในการพัฒนาสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนใน
สงั คมต่อไป

~ 82 ~

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงร่างการศึกษาอิสระระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ
ผนู้ ำเสนอ และผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ

2. เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพของนักศกึ ษาใหม้ ีความสามารถเกี่ยวกบั การจัดสัมมนา

ผ้รู ับผิดชอบโครงการ

นางสาวอาราฟัต บินดเุ หลม็ ตำแหน่งประธาน สาขาวิชาพฒั นาสังคม

นางสาวปนัดดา ลมิ่ วัฒนานุรกั ษ์ ตำแหนง่ รองประธาน สาขาวชิ าพฒั นาสังคม

นางสาวอาริดา ทิ้งนำ้ รอบ ตำแหน่งเลขานกุ าร สาขาวิชาพัฒนาสังคม

นายมูฮำหมอั อาฟิก ยา ตำแหนง่ เลขานุการ สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม

นางสาวอาฟฟี ะห์ อาบู ตำแหน่งเหรัญญิก สาขาวิชาพัฒนาสงั คม

นายโดม เกตุสงา่ ตำแหนง่ พิธกี าร สาขาวชิ าพฒั นาสังคม

นายอดสิ รณ์ เทศอาเส็น ตำแหน่งโสตทัศนปู กรณ์ สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม

นางสาวซไู มยะห์ ลาเตะ๊ ตำแหนง่ โสตทัศนปู กรณ์ สาขาวิชาพัฒนาสังคม

นางสาวฟาซีรา เจะเลาะ ตำแหนง่ ประสานงาน สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม

นางสาวอานรี า แวเด็ง ตำแหนง่ ประสานงาน สาขาวิชาพฒั นาสังคม

นางสาวซูลฝา เจะเลาะ ตำแหน่งทะเบยี น/วชิ าการ สาขาวชิ าพัฒนาสงั คม

นางสาวมาซือนะห์ มะสะ ตำแหนง่ ทะเบยี น/วชิ าการ สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม

นางสาวฟาดลี ะห์ เจะหะ ตำแหนง่ ทะเบียน/วชิ าการ สาขาวชิ าพฒั นาสังคม

นางสาวกนกวรรณ สวุ รรรส ตำแหน่งประเมนิ ผล สาขาวิชาพฒั นาสงั คม

นางสาวสฮุ ยั ณี อาหวงั ตำแหนง่ ประเมินผล สาขาวชิ าพัฒนาสังคม

ดร.จิรชั ยา เจียวกก๊ ตำแหน่งอาจารย์ สังกัดภาควิชาสงั คมศาสตร์

ดร.อลสิ า หะสาเมาะ ตำแหน่งอาจารย์ สงั กดั ภาควิชาสงั คมศาสตร์

อาจารยอ์ ับดุลคอลกิ อรั รอฮมี ีย์ ตำแหนง่ อาจารย์ สังกดั ภาควชิ าสงั คมศาสตร์

เป้าหมายของโครงการ

1. เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ

- นกั ศึกษาสาขาวิชาพฒั นาสงั คม เข้าร่วมโครงการจำนวนไม่น้อยกว่า 50 คน

- คณาจารย์ และผทู้ รงคุณวุฒเิ ข้ารว่ มโครงการจำนวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน

2. เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ

- นกั ศกึ ษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการไดแ้ ลกเปลีย่ นเรียนรู้ประสบการณ์ทางด้านวิชาการผ่านการนำเสนอโครง

ร่างการศกึ ษาอสิ ระ

- นกั ศึกษาผจู้ ัดงานสมั มนาได้เรยี นร้กู ระบวนการจดั สัมมนาและสามารถนำความร้ทู ี่ได้จากการเข้าร่วม

ไปใชใ้ นงานสมั มนาอน่ื ๆ

ด้านผลผลติ (output)

1. เพ่อื เป็นเวทีในการเผยแพร่ผลงานวชิ าการในกลมุ่ สาขาต่าง ๆ

2. กระตุน้ ใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนความรรู้ ะหว่างกลุ่ม จากประสบการณ์ที่ได้รบั เพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพ

งานมากข้ึน

~ 83 ~

3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มีความรูค้ วามสามารถในดา้ นวิชาการ

ด้านผลลพั ธ์ (outcome)

1. เปน็ การกระตุ้นให้เกดิ การเรียนรภู้ ายในตวั

2. ผูเ้ ขา้ รว่ มมีความรเู้ กย่ี วกบั การจดั สัมมนาการนำเสนอโครงรา่ งการศึกษาอิสระเพ่ิมขน้ึ เพื่อเป็น

แนวทาง

ในการจดั สัมมนาคร้ังต่อไป

ความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์

การทำงานเชงิ บูรณาการ (ด้านการเรียนการสอน และด้านการบรหิ ารจดั การองคก์ ร)

การพัฒนาศกั ยภาพความเป็นมอื อาชพี ของบุคลากร

HUSO Engagement การค้นคว้าองค์ความรู้และให้บริการวิชาการบนความรับผิดชอบและประโยชน์ต่อ

สงั คม

ความเปน็ นานาชาติ และเครอื ข่ายความสัมพันธท์ เี่ ข้มแขง็

การบริหารจดั การเพอ่ื ความเป็นองค์กรทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพสูง

ความสอดคลอ้ งตามคุณลักษณะนกั ศึกษา (ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั )

 ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม

 ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะทางปญั ญา

 ดา้ นทักษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ

 ดา้ นทักษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสอื่ สาร ละการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

สอดคล้องกับการดำเนนิ งานตามแนวทางการประกนั คุณภาพ

1 ระดบั /เกณฑ์  คณะ (EdPEx) ระดบั หลกั สตู ร (CUPT QA)

 หน่วยงานสนับสนุน (LEAN)

2 ตวั ชวี้ ดั  การบรหิ ารจดั การ  อาจารย/์ บุคลากร  บัณฑิต/ศิษยเ์ ก่า

 นกั ศกึ ษา  งานวจิ ัย บริการวชิ าการ

 ทำนบุ ำรุงศิลปวฒั นธรรม  อน่ื ๆ..................................................

สถานทีจ่ ดั โครงการ

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินท์ วิทยาเขตปตั ตานี

หมายเหตุ : จดั ในรูปแบบออนไลน์ (Zoom)

ระยะเวลาการดำเนินโครงการ

วนั ศุกร์ ท่ี 20 สงิ หาคม 2564

ลกั ษณะการดำเนนิ โครงการ

โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระครั้งนี้ได้ จัดขึ้นในระบบออนไลน์ โดยใช้ ZOOM Meeting

ID: 999 004 3026 เป็นสื่อกลางในการประชุม โดยภายในงานจัดให้มีวิทยากรผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ

เฉพาะด้านมาให้ความรู้และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นตามวัตถุประสงค์ของโคร งการและมีกิจกรรม

นำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระในหัวข้อต่างๆ ระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้นำเสนอ และผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมี

การแลกเปลี่ยนองคค์ วามรู้ที่น่าสนใจในการพฒั นาสังคม ซ่ึงเปน็ สว่ นหนึ่งของการพฒั นากระบวน การเรียนการ

สอน การวิจัย และนวัตกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาสู่การเป็นนักพัฒนาสังคมใน อนาคตที่มี

องคค์ วามรอู้ นั จะนำมาประยุกต์ใชใ้ นการพัฒนาสงั คมตอ่ ไป

~ 84 ~

แผนปฏิบัติการโครงการ : วงจรการบริหารงานคณุ ภาพ (PDCA)

กิจกรรม Wk3 Wk14 Wk15 Wk6 Wk7 Wk8 Wk9

1.ขนั้ วางแผน (plan)

ประชมุ แตง่ ตั้งคณะกรรมการ/วางแผน ✓

กำหนดรูปแบบโครงการ

2.ขนั้ ปฏิบัติตามแผน (Do) ✓✓✓✓
เขียนโครงการและขออนุมตั โิ ครงการ/
ประสานงานเรื่องสถานท่ีและอาหารสำหรับ ✓
ผูเ้ ขา้ ร่วมสมั มนา/ประชาสัมพันธโ์ ครงการ/ ✓
ประสานงานคณาจารย์ ผทู้ รงคุณวฒุ แิ ละผู้
ท่ีเกี่ยวข้อง/จัดสัมมนานำเสนอโครงร่าง
การศึกษาอสิ ระ

3.ขั้นตรวจสอบ/ประเมินผล และนำผล
ประเมินมาวเิ คราะห์ (Check)
ตรวจสอบขัน้ ตอนของการดำเนินงาน และ
ประเมินผลของการดำเนินงาน/สรุปผลการ
จัดสัมมนา

4.ขั้นปรับปรุงการดำเนนิ การใหเ้ หมาะสม
(Act)
ประเมินตนเองและปรบั ปรงุ แก้ไขตามความ
เหมาะสมของโครงการฯ/นำผลที่ไดจ้ ากการ
จดั โครงการในครั้งนนี้ ำไปต่อยอด เพื่อ
ดำเนินการต่อไป

ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1. การจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระก่อให้เกิดประโยชน์ในการแลกเปล่ียนความคิดเห็นเกี่ยวกับ

โครงร่างการศกึ ษาอสิ ระระหว่างผู้ทรงคุณวฒุ ิ ผู้นำเสนอ และผู้เขา้ รว่ มโครงการ
2. ได้เปน็ สว่ นหนึ่งในการพัฒนาและยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตความเป็นอยู่ของชุมชนต่อไป

การประเมนิ โครงการ
1. การสังเกต
2. แบบประเมนิ โครงการ

~ 85 ~

ลงชื่อ ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ
(นายอาราฟัต บินดุเหลม็ )

ตำแหน่ง ประธานโครงการฯ
ลงชื่อ อาจารยท์ ี่ปรึกษา

(นายอบั ดลุ คอลิก อรั รอฮมิ ีย์)
ตำแหนง่ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา

~ 86 ~

ตารางการติดตามงานของแต่ละฝ่าย

ฝ่ายรับผิดชอบ งานที่ได้รบั มอบหมาย กำลัง สำเร็จ ไมส่ ำเรจ็ หมายเหตุ
1. ฝา่ ยเลขานุการ ดำเนินงาน

1.เตรียมร่างคำกล่าวเปิด 08/08/2564 16/08/2564
ปิด การสัมมนา

2.เตรียมร่าง คำกล่าว
รายงานการจดั สัมมนา 08/08/2564 16/08/2564

3.ทำใบของสถานที่และ
ดูแลการจัดสถานที่ให้เป็น 08/08/2564 16/08/2564
ท่เี รยี บรอ้ ย

4.เ ต ร ี ย ม ห น ั ง ส ื อ ข อ 08/08/2564 16/08/2564
อนุญาตใช้สถานที่ ขอยืม
วัสดุอุปกรณ์ จากแผนก
ต่าง ๆ หรือจากหน่วยงาน
อนื่

2. ฝา่ ย 4.จัดทำใบเชิญอาจารย์ 15/08/2564 17/08/2564
ประสานงาน และผูท้ รงคุณวฒุ ิ 15/08/2564 17/08/2564
และสถานท่ี 5.จ ั ด ท ำ ก ำ ห น ด ก า ร วั น 16/08/2564 17/08/2564
เวลาและสถานท่ี
19/08/2564 19/08/2564
1.จัดเตรยี มสถานที่

2.ส่งหนังสือเชิญคณาจารย์
และผทู้ รงคณุ วฒุ ิ

3.เ ต ร ี ย ม อ ุ ป ก ร ณ์ 19/08/2564 20/08/2564
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 05/08/25634 19/08/2564

4.ป ร ะ ส า น ไ ป ย ั ง ก ลุ่ ม
นำเสนอ

~ 87 ~

3.วิชาการและ 1.เตรียมใบรายช่ือสำหรับ 10/08/2564 17/08/2564
ทะเบยี น ลงทะเบยี น/จดั ทำ 05/08/2564 30/08/2564
แบบฟอรม์ การลงทะเบียน
2.ยกร่างคู่มือสมั มนา

4.รวบรวมเอกสารประกอบ
สัมมนา 15/08/2564 17/08/2564

4. ฝ่ายเหรญั ญกิ 1.ท ำ บ ั ญ ช ี ง บ ปร ะมาน 13/08/2564 19/08/2564
รายรบั -รายจา่ ย

2.ตรวจสอบงบประมาณ

เก็บหลักฐานรายรับ- 20/08/2564
รายจา่ ย

5.ฝา่ ย 1.ภาพบรรยากาศโดยรวม 20/08/2564
โสตทศั นูปกรณ์ ในวนั จดั สมั มนา

7.พิธีกร 2.วิดีทศั น์ 10/08/2564 16/08/2564

8.ประเมินผล 3.โปสเตอรป์ ระชาสัมพันธ์ 16/08/2564 18/08/2564

1.ผ้ดู ำเนนิ รายการกำหนด 20/08/2564

2.เป็นผู้ควบคมุ หรอื กำกบั 07/08/2564 20/08/2564
รายการภาคพิธีการตาม 17/08/2564
กำหนดการ
1.ทำแบบประเมนิ

2.สรุปแบบประเมนิ 20/08/2564

~ 88 ~

กำหนดการโครงการสมั มนาโครงร่างการศึกษาอสิ ระ

“อัตลกั ษณแ์ ละความหลากหลายกับการพัฒนา สามจังหวัดชายแดนใต้”

สาขาวิชาพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2564

วนั ที่ 20 เดือน สิงหาคม ปี 2564 เวลา 08.00-16.00 น.

ณ ช่องทางการเผยแพร่ผา่ นแอพพลิเคช่นั ออนไลน์(Zoom)

กำหนดการ กิจกรรม

08.00 - 08.30 น. ลงทะเบยี นเข้างาน

08.30 - 08.40 น. แนะนำผทู้ รงคุณวุฒแิ ละคณาจารย์

08.40 – 09.00 น. กล่าวรายงานการจัดสัมมนานำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระโดย นายอารา

ฟตั บนิ ดุเหล็ม ประธานโครงการกลา่ วเปดิ พธิ ีการจัดสัมมนานำเสนอโครงร่าง

การศึกษาอิสระโดย นายเชาวน์เลิศ ล้อมลิ้ม รักษาการแทนรองคณบดีฝ่าย

กิจการนักศกึ ษาและศิษย์เกา่ สัมพันธ์

09.00 – 09.30 น. นำเสนอกลุ่มที่ 1 หัวข้อ สปาฮาลาล : อัตลักษณ์การบริการความงามแบบ

ลังกาสุกะ เพื่อพัฒนาสังคมชายแดนใต้นำเสนอโดยนางสาวกิ่งกมล หอยสกุล

และนางสาวอุบลรตั น์ ดวงเเกว้

09.30 – 10.00 น. นำเสนอกลุ่มที่ 2 หัวข้อ "เรือกอและ : อัตลักษณ์และความสัมพันธ์สะท้อน

วิถี"นำเสนอโดยนางสาวนูไรนี เดชดีนายอัลวา หวันชิดนาย และ

นางสาวฐณฐั ฐา นม่ิ ละออ

10.00 – 10.30 น. นำเสนอกลมุ่ ที่ 3 หัวข้อ การพฒั นาอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเเบบมีส่วนร่วม

กรณีศึกษา : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาเกตุเกษตรพัฒนา หมู่ที่ 1 ตำบลนาเกตุ

อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานีนำเสนอโดยนางสาวอภิรตี เเก้วคช และ

นางสาวคีตภัทร รตั นเดช

10.30 – 10.45 น. พกั ย่อย 15 นาที

10.45 – 11.15 น. นำเสนอกลุ่มที่ 4 หัวข้อ "แนวทางพัฒนาอาชีพเสริมของชุมชน กรณีศึกษา :

กลุ่มเลี้ยงนกกระทาและกลุ่มปลูกผัก (ชุมชนบ้านกลาง) หมู่ 5 ตำบลบ้าน

กลาง อำเภอปะนาเระ จงั หวดั ปัตตานี"นำเสนอโดยนางสาวซอฟียะห์ เลาะยะ

ผา และนางสาวอรสิ รา ยตี าเห

11.15– 11.45 น. นำเสนอกลุ่มที่ 5 หัวข้อ "แนวทางการพัฒนาอาชีพโดยใช้ทรัพยากรในชุมชน

กรณศี กึ ษา: กลุม่ นารา้ งและกลุ่มเลย้ี งปลาสลิด

ดอนนา หมู่ 5 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี"นำเสนอโดย

นางสาวนรุ อซั ลินเจ๊ะแว และนางสาวนสั รยี ะห์ อาลมี ามะ

11.45 – 13.00 น. พกั เทีย่ ง

~ 89 ~

13.00 – 13.30 น. นำเสนอกลุ่มที่ 6 หัวข้อ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ไปสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้
ของชุมชนจะรัง กรณีศึกษา : ชุมชนจะรัง หมู่ 7 ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง
13.30 – 14.00 น. จังหวัดปัตตานีนำเสนอโดยนางสาวนูรูลฟาตีฮะห์เจ๊ะเงาะ และนางสาวอัสมะ
14.00 – 14.30 น. สาเมาะ
14.30 – 14.45 น. นำเสนอกลุ่มที่ 7 หัวข้อ"แนวทางการป้องกันปัญหายาเสพติดของเยาวชนใน
14.45 – 15.15 น. สถานพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดปัตตานี"นำเสนอโดยนางสาวซา
รอฟะห์ มะสาแม และนางสาวสาวินี สาสูเลาะ
15.15 – 15.45 น. นำเสนอกลุม่ ที่ 8 หัวข้อ รูปแบบและแนวทางการป้องกันพฤติกรรมการรังแก
15.45 – 16.00 น. ของเด็กออทิสติก กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดปัตตานี
นำเสนอโดยนายฮรั ฟาน ดอื ราแม และนางสาวโซเฟยี แวกโู น
พักย่อย 15 นาที
นำเสนอกลุ่มที่ 9 หัวข้อ "รูปแบบ ผลกระทบ และวิธีการรับมือ จากการตก
เป็นเหยื่อพฤติกรรมความรุนแรงในกลุ่ม LGBT ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
แห่งหนึ่งในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้นำเสนอโดยนายรุสมีซี เจะเฮาะ และ
นางสาวยไู รฟะห์ เราะสู
นำเสนอกลุ่มที่ 10 หัวข้อ "แนวทางการป้องกันภาวะซึมเศร้าของนักศึกษา
กรณีศึกษา:มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในสามจังหวัดชายแดนใต้ นำเสนอโดย
นางสาวโซฟยี ะ สาแม และนายปณั ณธร รอดดำ
กล่าวปิดโครงการนำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระโดย นางสาวปนัดดาลิ่ม
วัฒนานรุ ักษ์ รองประธาน

*หมายเหตุ กำหนดการอาจมีการเปลย่ี นแปลงตามความเหมาะสม

~ 90 ~

คำกล่าวรายงาน

การสมั มนาโครงร่างการศกึ ษาอสิ ระ ภายใตห้ ัวข้อ
“อัตลักษณแ์ ละความหลากหลายกบั การพัฒนา สามจังหวดั ชายแดนใต้”

ของนักศกึ ษาช้นั ปีท่ี4 สาขาวิชาพัฒนาสังคม
วันที่ 20 สงิ หาคม ปี2564

ณ ช่องทางการเผยแพรผ่ ่านแอพพลเิ คชัน่ ออนไลน์(Zoom)

กราบเรียน นายเชาวน์เลิศ ล้อมลมิ้ รกั ษาการแทนรองคณบดีฝา่ ยกิจการนักศึกษาและศิษย์เกา่ สัมพันธ์
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ และผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่านกระผมนายอาราฟัต บินดุเหล็ม นักศึกษาสาขาวิชา
พัฒนาสังคม ชั้นปีที่4 ประธานโครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ขอขอบพระคุณดร. เชิดชัย อุดมพันธ์
รักษาการแทนคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นอย่างสงู ที่ได้ให้เกียรติมาเป็นประธานในพิธีเปิด
โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระภายใต้หัวข้อ “อัตลักษณ์และความหลากหลายกับการพัฒนา สาม
จงั หวดั ชายแดนใต้” ในครง้ั นท้ี จ่ี ดั ข้ึนโดย นักศกึ ษาสาขาวชิ าพัฒนาสังคม คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กำหนดจัดขึ้นในวันที่20สิงหาคม พ.ศ.2564ณ ช่องทางการ
เผยแพร่ผ่านแอพพลิเคชั่นออนไลน์ โดยมีวัตถปุ ระสงค์ของโครงการดงั น้ี

1.เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงร่างการศึกษาอิสระ ระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ
ผนู้ ำเสนอ และผู้เข้าร่วมโครงการ

2.เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพของนักศึกษาให้มคี วามสามารถเก่ียวกับการจดั สัมมนา

~ 91 ~

การสมั มนาในคร้งั นมี้ ีผู้นำเสนอสัมมนาในประเดน็ ดังน้ี
ประเด็นท1่ี สปาฮาลาล : อัตลักษณก์ ารบรกิ ารความงามแบบลงั กาสกุ ะ เพ่อื พัฒนาสังคมชายแดนใต้
ประเด็นท2ี่ เรอื กอและ : อตั ลกั ษณแ์ ละความสัมพันธ์สะทอ้ นวถิ ี
ประเด็นท3่ี การพัฒนาอตั ลกั ษณ์ผลติ ภัณฑ์ชุมชนเเบบมสี ว่ นร่วม กรณศี กึ ษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาเกตุเกษตร

พัฒนา หมูท่ ่ี 1 ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธ์ิ จงั หวัดปัตตานี
ประเดน็ ท4่ี แนวทางพฒั นาอาชีพของชุมชน กรณีศกึ ษา : การพัฒนาอาชีพกลุม่ เล้ียงนกกระทาและกลุ่มปลูกผัก

(ชุมชนบา้ นกลาง) หมู่ 5 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จงั หวัดปัตตานี
ประเด็นที่5แนวทางการพัฒนาอาชีพในชมุ ชน กรณีศึกษา: การพัฒนาอาชีพของกลุ่มนาร้างและกลุ่มเลี้ยงปลา
สลดิ ดอนนา หมู่ 5 ตำบลบา้ นกลาง อำเภอปะนาเระ จงั หวัดปัตตานี
ประเดน็ ท6่ี การพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ไปสู่การเป็นศูนยก์ ารเรยี นรู้ของชุมชนจะรัง กรณศี ึกษา : ชมุ ชนจะรัง หมู่ 7
ตำบลจะรงั อำเภอยะหริ่ง จงั หวดั ปัตตานี
ประเด็นที่ 7 แนวทางการป้องกนั ปัญหายาเสพตดิ ของเยาวชนในสถานพินจิ คมุ้ ครองเด็กและเยาวชน จงั หวัด
ปตั ตานี
ประเดน็ ที่ 8รูปแบบและแนวทางการปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรังแกของเด็กออทสิ ตกิ กรณศี ึกษา : ศูนย์การศึกษา

พเิ ศษประจำจงั หวัดปัตตานี
ประเด็นที่ 9 รูปแบบ ผลกระทบ และวิธีการรับมือ จากการตกเป็นเหยื่อพฤติกรรมความรุนแรงในกลุ่ม LGBT

ของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั แหง่ หนึง่ ในสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
ประเดน็ ท่ี 10แนวทางการปอ้ งกันภาวะซมึ เศร้าของนักศึกษา กรณศี ึกษา:มหาวทิ ยาลัยแหง่ หนึง่ ในสามจังหวัด
ชายแดนใต้

และในลำดับต่อไป กระผมขอเรียนเชิญท่านประธานในพิธีนายเชาวน์เลิศ ล้อมลิ้ม รักษาการแทนรอง
คณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์กล่าวเปิดโครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระขอกราบ
เรยี นเชญิ ครับ

~ 92 ~


Click to View FlipBook Version