หลกั สตู รสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎรน์ ยิ ม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
ประกาศโรงเรียนชุมชนวดั ราษฎรน์ ิยม
เรอื่ ง ให้ใช้หลกั สตู รโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎร์นิยม พทุ ธศักราช ๒๕๖๒
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
.....................................
ตามที่โรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ยิ มได้ประกาศใชห้ ลักสตู รโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎรน์ ิยม
พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) โดยเริม่ ใช้หลกั สตู รดังกล่าวกับนกั เรยี นทุกระดบั ชัน้ ในปีการศกึ ษา ๒๕๕๓ โรงเรยี นชุมชนวัดราษฎร์
นยิ ม ได้เพิ่มรายวิชาเพม่ิ เติมเพอื่ ให้สอดคล้องรบั กบั นโยบายเร่งด่วนของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
เพื่อให้ผเู้ รียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ มีเวลาในการทากิจกรรมเพ่ือพฒั นาความรู้ ความสามารถ
และทักษะ การปลกู ฝังคุณธรรมจรยิ ธรรม การสร้างวินยั การมีจิตสานกึ รับผิดชอบตอ่ สังคม ยดึ ม่ัน ในสถาบัน
ชาตศิ าสนา พระมหากษัตรยิ ์ และมคี วามภาคภูมใิ จในความเป็นไทย ตลอดจนการเรยี นการสอนในวชิ า
ประวัติศาสตร์ และหน้าท่พี ลเมอื ง โรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ิยม ไดด้ าเนินการจัดทาหลักสูตรโรงเรียนชุมชน
วัดราษฎรน์ ยิ ม พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั
ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สอดคลอ้ งตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง การบรหิ ารจัดการเวลาเรียน และ
ปรับมาตรฐานและตัวชวี้ ดั สอดคลอ้ งกับ คาสง่ั สพฐ. ที่ ๑๒๓๙/๖๐ และประกาศ สพฐ.ลงวนั ที่ ๘ มกราคม
๒๕๖๑ เป็นท่ีเรยี บรอ้ ยแล้ว
ท้ังนีห้ ลักสูตรโรงเรยี นได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เมือ่ วนั ที่
๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ จงึ ประกาศใหใ้ ช้หลกั สูตรโรงเรียนตง้ั แตบ่ ดั นี้เปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
ลงช่ือ ลงช่อื
(นายสวุ ิชา จอประยรู ) (นายสิทธิพงศ์ บญุ เมือง)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎร์นยิ ม
หลกั สตู รสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานโรงเรยี นชมุ ชนวดั ราษฎร์นยิ ม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
คำนำ
กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศใชม้ าตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ัด กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตรใ์ นกลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรบั ปรุง
พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ังกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาส่ังสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลีย่ นแปลงมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชวี้ ัด กลมุ่ สาระการ
เรียนรคู้ ณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมคี าสง่ั ใหโ้ รงเรยี นดาเนนิ การใชห้ ลกั สูตร
ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ และ ๔ ตง้ั แต่ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน็ ตน้ มา ให้เป็น
หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรูเ้ ป็นเป้าหมายและกรอบทศิ ทาง
ในการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นมพี ฒั นาการเต็มตามศกั ยภาพ มคี ุณภาพและมที ักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑
เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและเป้าหมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานโรงเรียนชุมชนวัด
ราษฎรน์ ิยม จึงไดท้ าการปรบั ปรงุ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรับปรงุ
พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการ
เรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เพอื่ นาไปใชป้ ระโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนา
หลักสตู รของสถานศกึ ษาและจัดการเรยี นการสอน โดยมเี ปา้ หมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ใหม้ ี
กระบวนการนาหลักสตู รไปสู่การปฏบิ ัติ โดยมีการกาหนดวสิ ัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน
คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวดั
ประเมนิ ผลให้มีความสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสใหโ้ รงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการ
จดั ทาหลกั สูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพรอ้ มและจดุ เน้น โดยมกี รอบแกนกลางเป็นแนวทาง
ท่ีชดั เจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มคี วามพรอ้ มในการกา้ วสสู่ งั คมคุณภาพ มีความรู้อย่างแทจ้ รงิ
และมที กั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ัดท่ีกาหนดไวใ้ นเอกสารนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานท่ี
เกยี่ วขอ้ ง ในทุกระดบั เห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพฒั นาการเรียนรู้ของผเู้ รียนทชี่ ัดเจนตลอดแนว ซงึ่ จะ
สามารถช่วยให้หนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ งในระดับท้องถน่ิ และสถานศึกษารว่ มกันพัฒนาหลกั สตู รได้อย่างม่ันใจ ทา
ใหก้ ารจัดทาหลกั สูตรในระดับสถานศกึ ษามีคุณภาพและมคี วามเปน็ เอกภาพยิ่งขน้ึ อีกท้ังยังชว่ ยใหเ้ กดิ ความ
ชัดเจนเร่ืองการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทยี บโอนระหวา่ งสถานศึกษา ดังนั้นใน
การพฒั นาหลกั สูตรในทกุ ระดบั ตงั้ แต่ระดบั ชาติจนกระท่ังถงึ สถานศกึ ษา จะตอ้ งสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวช้วี ดั ท่กี าหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน รวมทง้ั เป็นกรอบทศิ ทางในการ
จดั การศึกษาทกุ รูปแบบ และครอบคลมุ ผู้เรียนทุกกลุ่มเปา้ หมายในระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานการจดั หลกั สูตร
การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทกุ ฝ่ายทเี่ ก่ียวขอ้ งท้ังระดับชาติ ชมุ ชน
ครอบครัวและบุคคลต้องร่วมรบั ผิดชอบ โดยรว่ มกนั ทางานอยา่ งเป็นระบบตอ่ เน่อื ง ในการวางแผน ดาเนินการ
ส่งเสรมิ สนับสนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแก้ไข เพือ่ พฒั นาเยาวชนของชาตไิ ปสูค่ ณุ ภาพตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ทีก่ าหนดไว้
นายสิทธิพงศ์ บญุ เมือง
ผอู้ านวยการโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎร์นิยม
หลกั สตู รสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎรน์ ยิ ม (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
สำรบัญ
ประกาศโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ิยม เร่อื ง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎร์นยิ ม หน้ำ
ก
พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
คานา ข
สารบญั ค
๑
ความนา ๒
วสิ ัยทัศน์ /หลักการ /จุดหมาย ๓
๔
สมรรถนะผูเ้ รยี น/คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ๕
คณุ ภาพผู้เรยี น ๗
การจัดการเรียนรู้ ๑๑
๑๒
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๑๒
เอกสาร/หลักฐานทางการศกึ ษา ๑๓
๑๕
การเทียบโนผลการเรยี น
การบริหารจดั การหลกั สูตร ๒๐
โครงสร้างเวลาเรยี น ๒๑
๒๘
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๔๒
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ระดับประถมศึกษำปที ่ี ๑-๖ ๖๔
๗๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๘๓
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ๙๖
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ๑๐๓
๑๐๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๑๐
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา ๑๑๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาอังกฤษ
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
การวดั และประเมนิ ผลคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
การวัดและประเมนิ ผลการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ภำคผนวก
คาสัง่ โรงเรยี นชมุ ชนวดั ราษฎรน์ ิยม เรอ่ื งแต่งตงั้ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร
และงานวิชาการสถานศึกษา
คาสงั โรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ิยม เร่ือง แตง่ ต้งั คณะกรรมการปรับปรุงหลกั สูตร
สถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒
คณะผู้จัดทำ
หลักสตู รสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎร์นยิ ม (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
ควำมนำ
พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ พร้อม
กฎกระทรวงที่เก่ียวข้อง และพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕ มุ่งเน้นให้การปฏิรูประบบ
บริหารและการจัดการทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยให้มีเอกภาพทางนโยบายและมี
ความหลากหลายในทางปฏิบัติ มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษาและองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่นิ และกระทรวงศึกษาธิการได้มีคาส่ังให้ใช้มาตรฐานแลละตัวช้ีวัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) โรงเรียนชุมชนวัดราษฎร์นิยมจึงได้มีการปรับหลักสูตร
สถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง
๒๕๖๐) ความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน และความต้องการของผู้เรียนในสถานศึกษาแต่ละแห่ง สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต ๒ ได้กาหนดทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ไว้ดงั น้ี
๑. นกั เรยี นทุกคนมคี วามรคู้ วามสามารถตามมาตรฐานของหลักสตู รฯ และส่อู าเซยี น
๒. นกั เรยี นเป็นคนดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๓. นกั เรียนดาเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง อยใู่ นสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ
๔. ครจู ดั การเรยี นการสอนได้ตามมาตรฐานการศึกษา
โรงเรียนชุมชนวัดราษฎร์นิยม สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นนทบุรี เขต ๒ ได้
ดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) เพ่ือใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียนชุมชนวัดราษฎรน์ ยิ ม และเพื่อใหก้ ระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง
ร่วมกันรับผิดชอบและทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ โดยจัดทาและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิง
มาตรฐาน คือ กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความ
สมดลุ ทง้ั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ังเจตคติท่ี
จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐาน
ความเชื่อวา่ ทกุ คนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพ
หลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดราษฎร์นิยม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐) ประกอบด้วยสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้
ท้องถ่ิน และสาระการเรียนรู้ที่โรงเรียนพัฒนาเพิ่มเติม โดยจัดเป็นสาระการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานตาม
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายปีใน
ระดับประถมศึกษา และกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในการพัฒนาผ้เู รยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวช้ีวัด และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ เป็นแนวทางให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์
ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในการจัดมวลประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้พัฒนาให้
บรรลุถงึ คณุ ภาพตามมาตรฐานในการพัฒนาเยาวชนของชาติ
หลักสูตรสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐานโรงเรียนชมุ ชนวัดราษฎร์นยิ ม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
วสิ ยั ทศั น์โรงเรยี น
โรงเรียนชมุ ชนวัดราษฎรน์ ิยม เปน็ สถานศกึ ษาทจี่ ัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี ุณภาพตาม
มาตรฐานสู่สากล มคี ุณธรรมจริยธรรม มที กั ษะการเป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ มีจติ สานึกในการอนรุ กั ษ์
วัฒนธรรม และธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ ม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
พันธกิจ
๑. จดั สง่ เสรมิ และสนบั สนุน การจัดการศกึ ษาอย่างทว่ั ถงึ เสมอภาค และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาชาติ
๒. จัด ส่งเสรมิ และสนับสนุน ใหผ้ ู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรมตามหลักสูตรและคา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒
ประการ และมจี ิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ธรรมชาตสิ งิ่ แวดล้อม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๓. สง่ เสรมิ และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้ไดต้ ามมาตรฐานวชิ าชีพ
๔. พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาให้เขม้ แขง็ ตามหลักธรรมาภิบาล โดยเน้นการบรหิ ารแบบมสี ว่ นร่วม
ทกุ ภาคสว่ น
หลกั กำร
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มีหลักการท่สี าคัญ ดงั น้ี
๑. เปน็ หลักสูตรการศึกษาเพอื่ ความเป็นเอกภาพของชาติ มจี ุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเปา้ หมายสาหรบั พัฒนาเดก็ และเยาวชนใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพ้ืนฐาน
ของความเปน็ ไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล
๒. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาเพอ่ื ปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมโี อกาสไดร้ บั การศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมี
คุณภาพ
๓.เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับ
สภาพและความตอ้ งการของท้องถิ่น
๔. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาที่มโี ครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
๕. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๖. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาสาหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จดุ หมำย
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน มุ่งพฒั นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มคี วามสขุ
มีศกั ยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่อื ให้เกิดกบั ผู้เรียน เมอื่ จบ
การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ดังน้ี
๑. ผเู้ รียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคุณลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลักสูตรและสอดคลอ้ งกับค่านิยมหลกั ๑๒
ประการ เหมาะสมตามช่วงวยั และมจี ิตสานึกในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรม ธรรมชาติสง่ิ แวดล้อม ตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมที กั ษะชีวิต
๓. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ีดี มีสุขนสิ ัย และรกั การออกกาลงั กาย
๔. มีความรกั ชาติ มจี ติ สานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มนั่ ในวิถีชวี ิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
หลกั สูตรสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎร์นยิ ม (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
๕. มีจติ สานกึ ในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ ม มีจติ
สาธารณะท่ีมุ่งทาประโยชน์และสร้างสิง่ ที่ดงี ามในสังคม และอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุข
๖. ผูเ้ รยี นมีการพัฒนาการเหมาะสมตามชว่ งวยั และมคี ุณภาพตามมาตรฐานและทักษะการเรยี นรู้ส่ศู ตวรรษที่
๒๑
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน มุง่ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้
๑. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษา
ถา่ ยทอดความคดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพ่ือแลกเปลย่ี นข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณอ์ นั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทัง้ การเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลด
ปัญหาความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลือกรับหรอื ไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใช้วิธกี ารส่ือสาร ท่มี ีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อ่ ตนเองและสังคม
๒. ควำมสำมำรถในกำรคดิ เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพือ่ นาไปสกู่ ารสร้างองคค์ วามรหู้ รือสารสนเทศ
เพอื่ การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ญั หำ เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์และการ
เปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ในการป้องกนั และแกไ้ ข
ปัญหา และมีการตัดสนิ ใจที่มีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบทเ่ี กิดขึน้ ต่อตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม
๔. ควำมสำมำรถในกำรใชท้ กั ษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง การเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนือ่ ง การทางาน และการอยู่ร่วมกนั ในสังคม
ดว้ ยการสรา้ งเสริมความสัมพนั ธ์อนั ดีระหวา่ งบคุ คล การจัดการปญั หาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม
การปรับตัวใหท้ นั กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ กั หลกี เลยี่ งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ
ประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
๕. ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านตา่ ง ๆ
และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม
หลักสูตรสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานโรงเรียนชุมชนวัดราษฎร์นิยม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ม่งุ พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพอ่ื ให้
สามารถอยรู่ ่วมกับผู้อืน่ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซื่อสตั ยส์ ุจริต
๓. มวี ินัย
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมน่ั ในการทางาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
คุณภำพผู้เรียน
จบชัน้ ประถมศกึ ษำปที ี่ ๓
อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง ขอ้ ความ เรอ่ื งสน้ั ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถกู ตอ้ งคลอ่ งแคล่ว
เข้าใจความหมายของคาและข้อความท่อี ่าน ตัง้ คาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตกุ ารณ์ สรปุ
ความรขู้ ้อคิดจากเรือ่ งท่อี ่าน ปฏบิ ัติตามคาสงั่ คาอธิบายจากเร่อื งที่อา่ นได้ เขา้ ใจความหมายของข้อมลู จาก
แผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่างสมา่ เสมอ และ มมี ารยาทในการอ่าน
มีทกั ษะในการคัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บนั ทึกประจาวนั เขยี นจดหมายลา
ครู เขยี นเร่อื งเก่ียวกับประสบการณ์ เขียนเร่อื งตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขยี น
เล่ารายละเอยี ดและบอกสาระสาคัญ ตง้ั คาถาม ตอบคาถาม รวมทง้ั พูดแสดงความคิดความร้สู ึก
เก่ียวกับเรือ่ งท่ีฟังและดู พูดส่ือสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนา หรอื พดู เชิญชวนให้ผูอ้ ่ืนปฏิบัติตาม และมี
มารยาทในการฟัง ดู และพดู
สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา ความแตกต่างของคาและพยางค์ หน้าทขี่ องคา ในประโยค
มที กั ษะการใชพ้ จนานุกรมในการคน้ หาความหมายของคา แต่งประโยคงา่ ยๆ แตง่ คาคลอ้ งจอง แต่งคาขวญั
และเลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
เขา้ ใจและสามารถสรปุ ข้อคิดท่ีได้จากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปใชใ้ น
ชีวิตประจาวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดที ่ีอ่าน รู้จกั เพลงพ้นื บา้ น เพลงกล่อมเด็ก ซ่งึ เป็นวัฒนธรรมของ
ทอ้ งถิ่น ร้องบทร้องเลน่ สาหรับเดก็ ในท้องถิน่ ท่องจาบทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง ทมี่ คี ุณค่าตามความสนใจได้
จบชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๖
อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองเปน็ ทานองเสนาะไดถ้ กู ตอ้ ง อธบิ ายความหมาย
โดยตรงและความหมายโดยนัยของคา ประโยค ข้อความ สานวนโวหาร จากเรื่องทอ่ี ่าน เข้าใจคาแนะนา
คาอธบิ ายในคมู่ ือต่าง ๆ แยกแยะขอ้ คิดเห็นและข้อเทจ็ จรงิ รวมทงั้ จับใจความสาคัญของเร่ืองท่อี ่านและนา
ความรู้ความคิดจากเร่อื งท่ีอ่านไปตดั สนิ ใจแก้ปญั หาในการดาเนนิ ชวี ิตได้ มีมารยาทและมีนิสยั รกั การอา่ น
และเหน็ คุณคา่ สงิ่ ที่อ่าน
มีทักษะในการคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคา แต่งประโยคและ
เขยี นข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถอ้ ยคาชดั เจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเร่อื งและแผนภาพ
ความคดิ เพอื่ พฒั นางานเขยี น เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ จดหมายสว่ นตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดง
ความรสู้ กึ และความคิดเห็น เขียนเรอื่ งตามจินตนาการอย่างสรา้ งสรรค์ และมมี ารยาทในการเขียน
หลักสูตรสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานโรงเรียนชุมชนวดั ราษฎรน์ ิยม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
พดู แสดงความรู้ ความคิดเกีย่ วกบั เรื่องที่ฟงั และดู เล่าเรื่องย่อหรือสรปุ จากเรื่องทีฟ่ ังและดู ตัง้
คาถาม ตอบคาถามจากเร่อื งทีฟ่ ังและดู รวมทงั้ ประเมินความนา่ เชอื่ ถือจากการฟังและดูโฆษณาอย่างมเี หตผุ ล
พดู ตามลาดับขัน้ ตอนเรอื่ งตา่ งๆ อย่างชดั เจน พดู รายงานหรอื ประเดน็ ค้นคว้าจาก การฟงั การดู การสนทนา
และพดู โนม้ นา้ วไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล รวมทั้งมมี ารยาทในการดแู ละพดู
สะกดคาและเขา้ ใจความหมายของคา สานวน คาพังเพยและสุภาษิต รแู้ ละเข้าใจ ชนดิ และหน้าที่
ของคาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้ คาราชาศพั ทแ์ ละคาสภุ าพได้
อย่างเหมาะสม แตง่ ประโยค แต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพยย์ านี ๑๑
เข้าใจและเห็นคุณคา่ วรรณคดีและวรรณกรรมท่อี ่าน เล่านทิ านพื้นบ้าน ร้องเพลงพ้ืนบา้ นของ
ทอ้ งถ่ิน นาข้อคดิ เหน็ จากเรือ่ งทอ่ี ่านไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ และท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดได้
กำรจดั กำรเรยี นรู้
การจดั การเรียนรเู้ ป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสกู่ ารปฏิบัติ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐาน เป็นหลกั สูตรที่มีมาตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสาคญั และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผู้เรยี น
เปน็ เปา้ หมายส าหรบั พฒั นาเด็กและเยาวชนในการพฒั นาผู้เรียนให้มคี ณุ สมบัติตามเปา้ หมายหลกั สูตร ผู้สอน
พยายามคดั สรรกระบวนการเรยี นรู้ จดั การเรยี นรโู้ ดยช่วยใหผ้ ู้เรยี นเรียนรู้ผา่ นสาระท่กี าหนดไวใ้ นหลกั สตู ร ๘
กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝงั เสรมิ สร้างคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ พฒั นาทกั ษะต่างๆ อนั เป็นสมรรถนะ
สาคญั ให้ผเู้ รยี นบรรลุตามเป้าหมาย
๑. หลกั กำรจัดกำรเรยี นรู้
การจัดการเรยี นรู้เพ่อื ให้ผู้เรียนมคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสาคญั และ
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามท่ีกาหนดไว้ในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน โดยยึดหลักวา่ ผู้เรียนมี
ความสาคญั ท่สี ดุ เช่ือว่าทุกคนมคี วามสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ ยดึ ประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
กระบวนการจดั การเรยี นร้ตู อ้ งส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียน สามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ คานงึ ถึง
ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทางสมองเน้นใหค้ วามสาคญั ท้งั ความรู้ และคณุ ธรรม
๒. กระบวนกำรเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้ท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนจะตอ้ งอาศยั กระบวนการเรยี นร้ทู หี่ ลากหลาย เป็น
เครื่องมือท่จี ะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสตู ร กระบวนการเรียนรู้ทีจ่ าเปน็ สาหรับผู้เรยี น อาทิ
กระบวนการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสงั คม
กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปญั หา กระบวนการเรยี นรู้จากประสบการณจ์ ริง กระบวนการปฏิบัติ ลง
มือทาจรงิ กระบวนการวจิ ัย กระบวนการเรียนรกู้ ารเรยี นรู้ของตนเอง กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนสิ ัย
กระบวนการเหล่านเ้ี ป็นแนวทางในการจดั การเรียนรทู้ ผี่ เู้ รียนควรได้รบั การฝึกฝน พฒั นา เพราะจะ
สามารถชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรูไ้ ด้ดี บรรลุเป้าหมายของหลกั สูตร ดังนน้ั ผ้สู อน จึงจาเป็นต้องศึกษาทา
ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรตู้ ่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ
๓. กำรออกแบบกำรจัดกำรเรยี นรู้
ผสู้ อนตอ้ งศกึ ษาหลกั สูตรสถานศึกษาใหเ้ ขา้ ใจถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั สมรรถนะสาคัญของ
ผเู้ รยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ และสาระการเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกับผู้เรียน แลว้ จงึ พิจารณาออกแบบการ
จดั การเรียนรู้โดยเลอื กใช้วิธีสอนและเทคนคิ การสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพ่อื ใหผ้ เู้ รียน
ไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศักยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายท่กี าหนด
๔. บทบำทของผู้สอนและผเู้ รยี น
การจดั การเรียนร้เู พ่ือให้ผเู้ รยี นมคี ุณภาพตามเป้าหมายของหลกั สูตร ท้ังผู้สอนและผเู้ รียนควรมีบทบาท ดงั นี้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานโรงเรียนชุมชนวัดราษฎร์นยิ ม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
๔.๑ บทบำทของผสู้ อน
๑) ศึกษาวเิ คราะห์ผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล แล้วนาข้อมลู มาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้
ทท่ี ้าทความสามารถของผเู้ รียน
๒) กาหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกดิ ขน้ึ กับผู้เรยี น ด้านความรแู้ ละทักษะกระบวนการ ท่ี
เปน็ ความคิดรวบยอด หลกั การ และความสัมพนั ธ์ รวมท้งั คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
๓) ออกแบบการเรยี นรแู้ ละจดั การเรียนรู้ทตี่ อบสนองความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลและ
พฒั นาการทางสมอง เพอ่ื นาผเู้ รยี นไปสเู่ ปา้ หมาย
๔) จดั บรรยากาศทีเ่ อื้อตอ่ การเรียนรู้ และดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรียนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
๕) จดั เตรยี มและเลอื กใชส้ อื่ ให้เหมาะสมกับกจิ กรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยที ่ี
เหมาะสมมาประยกุ ต์ใช้ในการจดั การเรียนการสอน
๖) ประเมินความกา้ วหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาตขิ อง
วชิ าและระดับพัฒนาการของผ้เู รียน
๗) วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ มาใช้ในการซอ่ มเสริมและพฒั นาผูเ้ รยี น รวมท้งั ปรับปรุงการ
จัดการเรียนการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบำทของผู้เรยี น
๑) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรียนร้ขู องตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถงึ แหล่งการเรยี นรู้ วิเคราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ ความรู้ ต้ังคาถาม
คดิ หา คาตอบหรือหาแนวทางแก้ปญั หาด้วยวธิ ีการต่างnๆ
๓) ลงมอื ปฏิบตั จิ ริง สรปุ สง่ิ ทไี่ ด้เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง และนาความรูไ้ ปประยกุ ต์ใช้ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ
๔) มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ ทางาน ทากจิ กรรมรว่ มกบั กลุ่มและครู
๕) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง
สอ่ื กำรเรียนรู้
สือ่ การเรียนรู้เปน็ เครอื่ งมือส่งเสรมิ สนบั สนุนการจดั การกระบวนการเรียนรู้ ใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ถงึ ความรู้
ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ส่ือการเรยี นร้มู ี
หลากหลายประเภท ทงั้ สื่อธรรมชาติ สอื่ สงิ่ พิมพ์ สอ่ื เทคโนโลยี และเครือข่าย การเรยี นร้ตู า่ ง ๆ ทมี่ ีในทอ้ งถน่ิ
การเลอื กใช้ส่อื ควรเลือกใหม้ คี วามเหมาะสมกบั ระดับพฒั นาการ และลลี าการเรียนรู้ท่ีหลากหลายของผ้เู รียน
การจดั หาส่อื การเรยี นรู้ ผู้เรยี นและผู้สอนสามารถจดั ทาและพฒั นาขนึ้ เอง หรือปรับปรงุ เลือกใช้อยา่ ง
มคี ุณภาพจากสื่อตา่ ง ๆ ทมี่ ีอยู่รอบตวั เพ่อื นนามาใช้ประกอบในการจดั การเรยี นรูท้ สี่ ามารถสง่ เสริมและสอ่ื สาร
ให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ โดยสถานศกึ ษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพฒั นาให้ผ้เู รียน เกิดการเรียนรู้อย่าง
แท้จริง สถานศกึ ษา เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้องและผมู้ หี น้าท่ีจดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
ควรดาเนนิ การดังน้ี
๑. จัดใหม้ แี หล่งการเรยี นรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือขา่ ย
การเรยี นรทู้ ่ีมีประสทิ ธิภาพทง้ั ในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่อื การศกึ ษาค้นคว้าและการแลกเปล่ียน
ประสบการณ์การเรยี นรู้ ระหวา่ งสถานศกึ ษา ท้องถน่ิ ชุมชน สงั คมโลก
๒. จดั ทาและจดั หาส่ือการเรยี นรู้สาหรับการศึกษาคน้ คว้าของผเู้ รียน เสริมความรใู้ ห้ผู้สอน รวมทัง้
จัดหาสง่ิ ที่มอี ยใู่ นท้องถ่นิ มาประยุกต์ใชเ้ ป็นสื่อการเรียนรู้
๓. เลอื กและใช้ส่อื การเรยี นรทู้ ่มี ีคุณภาพ มคี วามเหมาะสม มคี วามหลากหลาย สอดคลอ้ ง กับวธิ กี าร
เรียนรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียน
๔. ประเมินคุณภาพของสอ่ื การเรียนรู้ที่เลอื กใช้อย่างเป็นระบบ
หลักสตู รสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐานโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ยิ ม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
๕. ศกึ ษาค้นควา้ วจิ ยั เพ่อื พฒั นาสือ่ การเรยี นร้ใู หส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน
๖. จัดให้มีการกากับ ตดิ ตาม ประเมินคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพเกีย่ วกับส่อื และการใช้สือ่
การเรียนรเู้ ป็นระยะ ๆ และสมา่ เสมอในการจดั ทา การเลือกใช้ และการประเมินคณุ ภาพสอื่ การเรยี นรทู้ ่ีใช้ใน
สถานศกึ ษา ควรคานงึ ถงึ หลกั การสาคัญของสื่อการเรยี นรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสตู ร วัตถุประสงค์การ
เรยี นรู้ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ใหผ้ ู้เรยี น เน้ือหามีความถกู ตอ้ งและทันสมัย ไม่
กระทบความม่นั คงของชาติ ไม่ขดั ตอ่ ศลี ธรรม มีการใช้ภาษาทีถ่ กู ต้อง รูปแบบการนาเสนอทเี่ ขา้ ใจงา่ ย และ
นา่ สนใจ
กำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
การวดั และประเมินผลการเรียนรขู้ องผู้เรียนต้องอย่บู นหลักการพน้ื ฐานสองประการ คือ การประเมนิ
เพือ่ พัฒนาผู้เรียนและเพ่อื ตัดสินผลการเรยี น ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรูข้ องผู้เรียน ให้ประสบผลสาเรจ็
นั้น ผ้เู รียนจะต้องได้รบั การพฒั นาและประเมนิ ตามตัวชี้วดั เพอ่ื ใหบ้ รรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะทอ้ น
สมรรถนะสาคัญ และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี นซง่ึ เปน็ เปา้ หมายหลักในการวัดและประเมินผลการ
เรยี นร้ใู นทกุ ระดบั ไม่ว่าจะเป็นระดับชนั้ เรยี น ระดบั สถานศกึ ษา ระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา และระดับชาติ
การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เปน็ กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นโดยใช้ผลการประเมินเป็นขอ้ มลู และ
สารสนเทศท่ีแสดงพฒั นาการ ความก้าวหนา้ และความสาเร็จทางการเรยี นของผู้เรียน ตลอดจนขอ้ มูลท่เี ป็น
ประโยชนต์ ่อการส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การพฒั นาและเรียนรู้อย่างเต็มตามศกั ยภาพ
การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ แบง่ ออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดบั ช้ันเรยี น ระดบั สถานศึกษา
ระดบั เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา และระดบั ชาติ มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี
๑. กำรประเมินระดับช้นั เรยี น เปน็ การวดั และประเมนิ ผลท่ีอยู่ในกระบวนการจดั การเรยี นรู้ ผู้สอน
ดาเนนิ การเป็นปกตแิ ละสม่าเสมอ ในการจดั การเรยี นการสอน ใช้เทคนคิ การประเมนิ อย่างหลากหลาย เช่น
การซกั ถาม การสงั เกต การตรวจการบา้ น การประเมนิ โครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟม้ สะสม
งาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผสู้ อนเป็นผู้ประเมินเองหรอื เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นประเมนิ ตนเอง เพอื่ น
ประเมนิ เพอื่ น ผปู้ กครองร่วมประเมนิ ในกรณีทไี่ มผ่ ่านตัวชี้วัดให้มีการสอนซ่อมเสรมิ
การประเมินระดบั ชน้ั เรียนเป็นการตรวจสอบวา่ ผูเ้ รยี นมีพัฒนาการความก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้
อนั เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื ไม่ และมากน้อยเพยี งใด มสี ิง่ ที่จะตอ้ งได้รับการพัฒนา
ปรับปรงุ และสง่ เสริมในด้านใด นอกจากนยี้ งั เป็นขอ้ มูลใหผ้ ู้สอนใช้ปรบั ปรุงการเรียนการสอนของตนดว้ ย ทั้งน้ี
โดยสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัด
๒. กำรประเมินระดับสถำนศกึ ษำ เปน็ การประเมินทส่ี ถานศึกษาดาเนินการเพอ่ื ตัดสินผล การเรยี น
ของผู้เรียนเปน็ รายป/ี รายภาค ผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน คณุ ลกั ษณะ อนั พึงประสงค์
และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน นอกจากน้ีเพื่อใหไ้ ด้ขอ้ มูลเกีย่ วกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลตอ่
การเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี นตามเปา้ หมายหรือไม่ ผเู้ รยี นมีจุดพัฒนาในดา้ นใด รวมทงั้ สามารถนาผลการเรียนของ
ผ้เู รียนในสถานศกึ ษาเปรียบเทียบกับเกณฑร์ ะดับชาติ ผลการประเมินระดบั สถานศึกษาจะเป็นขอ้ มูลและ
สารสนเทศเพอื่ การปรบั ปรงุ นโยบาย หลักสตู ร โครงการ หรอื วธิ ีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการ
จดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาและการ
รายงานผลการจดั การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา สานกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ผปู้ กครองและชมุ ชน
๓. กำรประเมินระดบั เขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำ เป็นการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี นในระดับเขตพ้นื ท่ี
การศกึ ษาตามมาตรฐานการเรียนรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน เพอื่ ใช้เปน็ ข้อมลู พื้นฐานในการ
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ตามภาระความรบั ผิดชอบ สามารถดาเนนิ การโดยประเมิน
คุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรยี นด้วยขอ้ สอบมาตรฐานท่จี ัดทาและดาเนินการโดยเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา หรือดว้ ย
หลกั สูตรสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎรน์ ิยม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
ความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานต้นสังกัด ในการดาเนนิ การจดั สอบ นอกจากนี้ยงั ไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนข้อมูล
จากการประเมินระดบั สถานศึกษาในเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
๔. กำรประเมินระดบั ชำติ เปน็ การประเมินคณุ ภาพผเู้ รยี นในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรูต้ าม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน สถานศกึ ษาตอ้ งจัดให้ผเู้ รยี นทกุ คนทเ่ี รยี น ในชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ เข้ารบั การประเมนิ ผลจากการประเมนิ ใช้เปน็ ข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพ
การศกึ ษาในระดับต่าง ๆ เพอ่ื นาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมลู
สนบั สนนุ การตัดสนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ
ข้อมลู การประเมินในระดับตา่ ง ๆ ขา้ งต้น เป็นประโยชนต์ ่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พฒั นาคุณภาพผู้เรียน ถอื เปน็ ภาระความรบั ผิดชอบของสถานศึกษาทจ่ี ะตอ้ งจัดระบบดูแลช่วยเหลอื ปรบั ปรงุ
แกไ้ ข สง่ เสริมสนับสนนุ เพ่ือให้ผเู้ รียนได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลท่ี
จาแนกตามสภาพปญั หาและความต้องการ ได้แก่ กลมุ่ ผูเ้ รยี นทั่วไป กล่มุ ผู้เรียนที่มคี วามสามารถพิเศษ กลมุ่
ผู้เรียนทมี่ ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตา่ กลมุ่ ผู้เรยี นท่มี ีปัญหาดา้ นวนิ ัยและพฤติกรรม กลมุ่ ผ้เู รยี นที่ปฏิเสธ
โรงเรียน กลุ่มผเู้ รียนทม่ี ีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลมุ่ พกิ ารทางร่างกายและสติปญั ญา เป็นต้น ขอ้ มูล
จากการประเมินจึงเปน็ หวั ใจของสถานศกึ ษาในการดาเนนิ การช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้
ผเู้ รียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผู้รบั ผดิ ชอบจัดการศกึ ษา จะต้องจัดทาระเบยี บว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรยี นของสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งและเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติทเี่ ปน็ ข้อกาหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรท่เี กี่ยวข้องทกุ ฝ่ายถอื ปฏบิ ตั ริ ว่ มกัน
เกณฑ์กำรวัดและประเมินผลกำรเรียน
๑. กำรตัดสนิ กำรให้ระดบั และกำรรำยงำนผลกำรเรียน
๑.๑ กำรตัดสนิ ผลกำรเรียน
ในการตดั สินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นน้ัน ผสู้ อนตอ้ งค านึงถงึ การพฒั นาผู้เรียนแตล่ ะคนเปน็
หลกั และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกดา้ นอย่างสม่าเสมอและต่อเนือ่ งในแต่ละภาคเรยี น รวมทั้งสอนซอ่ มเสรมิ
ผเู้ รียนให้พัฒนาจนเตม็ ตามศกั ยภาพ
ระดับประถมศกึ ษำ
(๑) ผู้เรยี นตอ้ งมีเวลาเรียนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้งั หมด
(๒) ผเู้ รียนต้องไดร้ ับการประเมนิ ทุกตัวชวี้ ัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด
(๓) ผเู้ รียนต้องได้รบั การตัดสินผลการเรยี นทุกรายวิชา
(๔) ผู้เรียนตอ้ งได้รบั การประเมิน และมผี ลการประเมินผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาหนด
ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
การพิจารณาเลอ่ื นชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพรอ่ งเพยี งเลก็ นอ้ ย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวา่
สามารถพัฒนาและสอนซอ่ มเสรมิ ได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศกึ ษาที่จะผ่อนผนั ใหเ้ ลอ่ื นช้นั ได้ แต่หากผู้เรยี น
ไมผ่ า่ นรายวิชาจานวนมาก และมแี นวโนม้ ว่าจะเป็นปญั หาตอ่ การเรียนในระดบั ชน้ั ทีส่ ูงขน้ึ สถานศึกษาอาจต้ัง
คณะกรรมการพจิ ารณาใหเ้ รยี นซ้าชัน้ ได้ ทง้ั นใี้ ห้คานงึ ถงึ วฒุ ภิ าวะและความร้คู วามสามารถของผู้เรยี นเป็น
สาคัญ
๑.๒ กำรใหร้ ะดับผลกำรเรียน
๑.๒.๑ระดับประถมศกึ ษา ในการตัดสินเพ่อื ใหร้ ะดบั ผลการเรียนรายวิชา โดยใชร้ ะดับผล
การเรียนหรอื ระดับคณุ ภาพการปฏิบตั ิของผเู้ รยี น เป็นระบบตัวเลข การตัดสินผลการเรยี นรายวิชาของกลมุ่
สาระการเรยี นรู้ สถานศึกษาสามารถให้ระดับผลการเรยี น ๘ ระดับ
หลกั สตู รสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎร์นยิ ม (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
ระบบผลการเรยี น ระบบตัวเลข ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ
๔ ความหมาย ๘๐ - ๑๐๐
๓.๕ ๗๕-๗๙
๓ ดเี ยี่ยม ๗๐-๗๔
๒.๕ ดีมาก ๖๕-๖๙
๒ ๖๐-๖๔
๑.๕ ดี ๕๕-๕๙
๑ คอ่ นขา้ งดี ๕๐-๕๔
๐ ปานกลาง ๐-๔๙
พอใช้
ผ่านเกณฑ์ขนั้ ต่า
ตา่ กว่าเกณฑ์
การตดั สนิ ผลการเรยี นในระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐานใช้ระบบผา่ น และไมผ่ ่าน โดยกาหนด
เกณฑ์การตดั สนิ ผ่านแต่ละวชิ าทร่ี ้อยละ ๕๐ จากนน้ั จงึ ใหร้ ะดับผลการเรียนทผ่ี า่ นเปน็ ระบบต่าง ๆตามท่ี
สถานศึกษากาหนด ไดแ้ ก่ ระบบตัวเลข ตามตารางข้างตน้ ผเู้ รียนต้องมผี ลการเรียนผา่ นเกณฑข์ นั้ ต่าทกี่ าหนด
( ระดบั ๑ ) ประเมินผลการเรยี นกล่มุ สาระเปน็ รายปี กรณีผู้เรยี นมผี ลการเรียนตา่ กวา่ เกณฑ์ทีก่ าหนด ให้
ผูส้ อนดาเนินการซ่อมเสริม ปรบั ปรุงแก้ไขผูเ้ รียนในสาระการเรียนรูร้ ายปี โดยดาเนินการในสว่ นท่ีเก่ียวขอ้ ง กบั
ผลการเรียนรทู้ ีผ่ ู้เรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ด้วยวธิ กี ารทมี่ ีประสิทธภิ าพจนผเู้ รยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ
การเรยี นรแู้ ละให้ระดบั ผลการเรยี นไมเ่ กิน “ ๑ ”
๑.๒.๒ กำรประเมินผลตัวช้ีวัด ใหด้ าเนนิ การประเมินเป็น ๒ ข้นั ตอน ดงั นี้
การประเมนิ และการตดั สนิ ตัวชว้ี ัด เป็นรายขอ้ โดยประเมนิ จากคา่ คะแนนการประเมินผลการเรียนรู้
ทคี่ าดหวงั เป็นรายข้อ แล้วนามาเปรียบเทยี บเปน็ ผลประเมนิ ดังนี้
ผลกำรประเมินรำยขอ้ ควำมหมำย
ผ่าน สูงกว่าเกณฑ์ทีก่ าหนด
ไมผ่ า่ น ตา่ กวา่ เกณฑท์ ่ีกาหนด
๑.๒.๓ กำรประเมินเวลำเรยี น ผ้เู รยี นต้องมเี วลาเรยี นตลอดปีไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของ
เวลาเรยี นท้งั หมด
เวลำเรียน ผลกำรตัดสนิ เวลำเรยี น ควำมหมำย
ตงั้ แต่ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ผา่ น สงู กว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด
ตา่ กว่าร้อยละ ๘๐ ไม่ผ่าน ตา่ กว่าเกณฑ์ข้ันต่า
การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคน์ นั้ ใหร้ ะดับผล
การประเมนิ เป็น ดเี ย่ียม ดี และผา่ น
การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จะต้องพจิ ารณาท้งั เวลาการเข้าร่วมกจิ กรรม การปฏิบัติ
กจิ กรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษากาหนด และใหผ้ ลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมเป็นผ่าน และ
ไม่ผา่ น
๑.๓ กำรรำยงำนผลกำรเรียน
การรายงานผลการเรยี นเปน็ การสือ่ สารให้ผปู้ กครองและผเู้ รียนทราบความก้าวหน้าในการ
เรยี นรู้ของผเู้ รียน ซึง่ สถานศึกษาตอ้ งสรุปผลการประเมินและจดั ทาเอกสารรายงานใหผ้ ้ปู กครองทราบเป็น
ระยะ หรอื อยา่ งนอ้ ยปกี ารศกึ ษาละ ๑ ครัง้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานโรงเรียนชุมชนวดั ราษฎร์นยิ ม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน็ ระดับคณุ ภาพการปฏิบัตขิ องผเู้ รยี นที่สะทอ้ น
มาตรฐานการเรยี นรู้ ซึ่งในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๖ เพ่ือสรุปความสาเรจ็ ของผ้เู รียน ท่ีจะนาขอ้ มลู ที่
ได้ไปศึกษาในระดับข้ันที่สงู ขน้ึ ให้รายงานผลการเรยี นเปน็ ๘ ระดับ เปน็ ระบบตัวเลข ๐ - ๔
๒. เกณฑ์กำรจบกำรศึกษำระดับประถมศึกษำ
๒.๑ ผู้เรียนเรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน จานวน ๑๐๔๐/๑๐๔๐ ชั่วโมง และรายวิชาเพ่ิมเตมิ
จานวน ๘๐/๘๐ ชว่ั โมง ตามโครงสร้างเวลาเรียนท่หี ลกั สูตรโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎร์นยิ ม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒
กาหนด
๒.๒ ผู้เรยี นตอ้ งมผี ลการประเมนิ รายวชิ าพื้นฐานผ่านเกณฑก์ ารประเมินของระเบียบโรงเรยี น
ชุมชนวัดราษฎรน์ ยิ มวา่ ด้วยการวดั ผลประเมินผลการเรียนระดบั ประถมศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๒.๓ ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น ในระดบั ผ่าน ขนึ้ ไป
๒.๔ ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดับ ผา่ น ขน้ึ ไป
๒.๕ ผเู้ รียนเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น และมีผลการประเมินในระดับ ผ่าน ทกุ กจิ กรรม
หลกั สูตรสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎร์นยิ ม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
ในกรณีทผี่ ู้เรียนขาดคุณสมบัตขิ ้อใดข้อหนึง่ ต่อไปน้ี ให้ผู้สอนวนิ จิ ฉัยบันทึกรายงานนาเสนอ
คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการของโรงเรียนชุมชนวัดราษฎร์นิยม พิจารณาเล่ือนชั้นไดเ้ ป็นรายๆ
ไป ดงั น้ี
๑) ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ รายวิชาพืน้ ฐาน ไม่ผา่ นเกณฑข์ น้ั ต่า ใหผ้ ู้สอนดาเนนิ การสอน
ซ่อมเสรมิ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขผู้เรียนท่ีไมผ่ า่ นมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัด ให้เกิดการพฒั นาการตามสาระและ
มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชีว้ ดั ทก่ี าหนดให้ครบถว้ น ถา้ ผู้เรยี นยังไม่ผา่ นเกณฑ์ และเกนิ ระยะเวลา ๓๐ วัน
ใหผ้ ้สู อนขยายเวลาสอนซอ่ มเสริมออกไปไดไ้ มเ่ กนิ ๑ ภาคเรียน
๒) ผ้เู รียนท่ีไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมินการเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ผู้เรยี นจะต้องเข้า
รว่ มกจิ กรรมเสริมตามท่ีสถานศึกษาจัดเสรมิ ถ้าผู้เรียนยังไม่ผ่านเกณฑ และเกินระยะเวลา ๓๐ วนั ตามท่ี
สถานศึกษากาหนด ให้ผสู้ อนขยายเวลาสอนซอ่ มเสริมออกไปได้ไม่เกนิ ๑ ภาคเรยี น
๓) ผ้เู รียนที่ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ครูผู้สอนต้องสอบซ่อม
เสริม หาวิธีการปรบั ปรุงแกไ้ ข หรอื ปฏิบัติกจิ กรรมความดชี ดเชยจนกว่าจะผา่ นเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากาหนดจึง
จะเลอ่ื นชัน้ ถ้าผ้เู รียนยังไมผ่ ่านเกณฑ์ และเกินระยะเวลา ๓๐ วัน ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด ให้ผู้สอน
ขยายวลาสอนซ่อมเสรมิ ออกไปไดไ้ มเ่ กนิ ๑ ภาคเรยี น
๔) ผู้เรยี นท่ไี มผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน ใหผ้ ู้สอนดาเนินการ
สอนซ่อมเสรมิ ปรับปรุงแกไ้ ขจนกว่าผเู้ รยี นจะผา่ นเกณฑ์ ถ้าผเู้ รียนยงั ไม่ผา่ นเกณฑ์ และเกินระยะเวลา ๓๐
วนั ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด ให้ผสู้ อนขยายวลาสอนซอ่ มเสรมิ ออกไปได้ไมเ่ กิน ๑ ภาคเรียน
๕) ผเู้ รยี นมเี วลาเรียนไมถ่ ึงรอ้ ยละ ๘๐ อันเนอื่ งมาจากเหตุสดุ วิสยั แตล่ ักษณะอ่ืน ๆ
ครบถ้วน ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รพจิ ารณาเป็นกรณีไป
คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการเปน็ ผู้ตัดสินผลการเล่อื นช้นั และการจบหลกั สูตร
ระดบั ประถมศกึ ษา แล้วแจ้งให้ผอู้ านวยการโรงเรยี นใหค้ วามเหน็ ชอบ
เอกสำรหลักฐำนกำรศึกษำ
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญท่บี ันทกึ ผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศท่ีเก่ยี วข้อง
กับพัฒนาการของผูเ้ รียนในดา้ นต่าง ๆ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท ดังน้ี
๑. เอกสำรหลกั ฐำนกำรศึกษำที่กระทรวงศึกษำธิกำรกำหนด
๑.๑ ระเบยี นแสดงผลการเรียน เปน็ เอกสารแสดงผลการเรียนและรบั รองผลการเรยี นของ
ผู้เรยี นตามรายวชิ า ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ของสถานศึกษา และผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น สถานศกึ ษาจะตอ้ งบันทึกข้อมลู และออกเอกสารนี้
ให้ผ้เู รยี นเป็นรายบุคคล เมอื่ ผู้เรยี นจบการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา (ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖)
๑.๒ แบบรายงานผสู้ าเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนมุ ัติการจบหลกั สูตรโดยบันทึกรายชอ่ื
และขอ้ มลู ของผจู้ บการศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา (ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖)
๒. เอกสำรหลักฐำนกำรศึกษำที่สถำนศกึ ษำกำหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจดั ทาข้ึนเพอื่ บันทกึ พฒั นาการ ผลการเรียนรู้ และขอ้ มูลสาคัญ เก่ยี วกับ
ผ้เู รียน เชน่ แบบรายงานประจาตวั นักเรียน แบบบันทกึ ผลการเรยี นประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรบั รอง
ผลการเรยี น และ เอกสารอนื่ ๆ ตามวัตถุประสงค์ของการนาเอกสารไปใช้
หลักสูตรสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎรน์ ิยม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
กำรเทียบโอนผลกำรเรยี น
สถานศกึ ษาสามารถเทียบโอนผลการเรยี นของผเู้ รียนในกรณตี ่าง ๆ ไดแ้ ก่ การยา้ ยสถานศึกษา การ
เปล่ยี นรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศกึ ษาตอ่ การศึกษาจาก
ตา่ งประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากน้ี ยังสามารถเทยี บโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหล่งการเรียนรอู้ น่ื ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศกึ ษา
โดยครอบครวั
การเทียบโอนผลการเรยี นควรดาเนนิ การในช่วงกอ่ นเปดิ ภาคเรยี นแรก หรือต้นภาคเรียนแรก ท่ี
สถานศึกษารับผู้ขอเทยี บโอนเป็นผู้เรยี น ท้ังน้ี ผู้เรียนที่ได้รบั การเทยี บโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องใน
สถานศึกษาทร่ี ับเทยี บโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรยี น โดยสถานศึกษาท่ีรบั ผู้เรยี นจากการเทยี บโอนควรกาหนด
รายวชิ า/จานวนหนว่ ยกติ ทจ่ี ะรบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม
การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนินการได้ ดงั นี้
๑. พจิ ารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอ่ืน ๆ ทีใ่ หข้ อ้ มูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผู้เรียน
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ ทง้ั ภาคความรู้
และภาคปฏิบัติ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ใิ นสภาพจรงิ การเทยี บโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตาม
ประกาศ หรอื แนวปฏิบตั ิ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
กำรบริหำรจดั กำรหลักสูตร
ในระบบการศึกษาทม่ี ีการกระจายอานาจให้ทอ้ งถิ่นและสถานศกึ ษามบี ทบาทในการพฒั นาหลกั สูตร
น้ัน หน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งในแต่ละระดบั ต้ังแตร่ ะดับชาติ ระดบั ทอ้ งถน่ิ จนถงึ ระดับสถานศกึ ษา มี
บทบาทหน้าที่ และความรบั ผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สง่ เสรมิ การใชแ้ ละพฒั นาหลักสูตรให้เป็นไปอย่าง
มปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือใหก้ ารดาเนนิ การจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
มีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะสง่ ผลใหก้ ารพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นร้ทู ี่กาหนดไวใ้ น
ระดับชาติ
ระดับทอ้ งถิน่ ไดแ้ ก่ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา หนว่ ยงานต้นสงั กดั อืน่ ๆ เปน็ หน่วยงานทีม่ ีบทบาท
ในการขับเคลอื่ นคุณภาพการจัดการศกึ ษา เป็นตวั กลางทีจ่ ะเชื่อมโยงหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ที่กาหนดในระดบั ชาติให้สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของทอ้ งถ่ิน เพอื่ นาไปสกู่ ารจดั ทาหลักสูตรของ
สถานศกึ ษา สง่ เสรมิ การใชแ้ ละพฒั นาหลักสตู รในระดับสถานศึกษา ใหป้ ระสบความสาเร็จ โดยมภี ารกจิ
ส คัญ คือ กาหนดเป้าหมายและจดุ เน้นการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ในระดบั ท้องถน่ิ โดยพิจารณาให้สอดคล้อง
กับสิง่ ทีเ่ ปน็ ความต้องการในระดบั ชาติ พัฒนาสาระ การเรยี นรู้ท้องถิน่ ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาในระดับ
ท้องถน่ิ รวมทัง้ เพิม่ พูนคุณภาพการใช้หลักสูตรดว้ ยการวิจยั และพฒั นา การพฒั นาบุคลากร สนบั สนุน สง่ เสริม
ตดิ ตามผล ประเมินผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผเู้ รยี น
สถานศึกษามีหน้าท่ีสาคญั ในการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา การวางแผนและดาเนนิ การใช้หลักสูตร
การเพม่ิ พนู คณุ ภาพการใช้หลกั สูตรด้วยการวจิ ยั และพฒั นา การปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู รจดั ทาระเบียบ
การวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาตอ้ งพิจารณาให้สอดคลอ้ ง กับหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน และรายละเอียดท่เี ขตพื้นที่การศกึ ษา หรอื หนว่ ยงาน สงั กดั อื่น ๆ ในระดบั ทอ้ งถิน่ ได้
จัดทาเพ่ิมเติม รวมทง้ั สถานศึกษาสามารถเพ่มิ เติมในสว่ นที่เกยี่ วกับสภาพปัญหาในชมุ ชนและสงั คม ภมู ิปัญญา
ท้องถิ่น และความต้องการของผเู้ รียน โดยทุกภาคส่วนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐานโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ิยม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
โครงสรำ้ งเวลำเรียน
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ิยม กาหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดงั นี้
สำระกำรเรยี นรู/้ กิจกรรม ป.๑ เวลำเรียน/ชม. ป.๖
ระดับประถมศกึ ษำ
รำยวิชำพ้นื ฐำน ๑๖๐ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ๑๖๐
ภาษาไทย ๑๖๐ ๑๖๐
คณติ ศาสตร์ ๘๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐
วทิ ยาศาสตร์ ๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๔๐
วิทยาการคานวณ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สังคมศกึ ษา ฯ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ประวตั ิศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ศลิ ปะ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๘๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐
รวมเวลำเรียนพนื้ ฐำน ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๔๐
หน้าท่ีพลเมือง ๔๐ ๔๐
คอมพวิ เตอร์ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
รวมรำยวิชำเพิ่มเตมิ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กิจกรรมพฒั นำผ้เู รยี น ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
๓๐ ๓๐
กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กิจกรรมลกู เสอื / เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
กิจกรรมชมุ นุม ๑๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๐
กิจกรรมเพ่อื สังคมและ
สาธารณประโยชน์ ๑๒๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๒๐
รวมเวลำกจิ กรรมพัฒนำผู้เรยี น ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐
รวมเวลำเรยี น / ปี ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐
หมายเหตุ ๑. ชัน้ ป.๑-๓ ซ่อมเสริมภาษาไทย ๑ ชวั่ โมง, คณิตศาสตร์ ๑ ชั่วโมง, ศิลปะ ๑ ช่ัวโมง
และภาษาอังกฤษ ๑ ชว่ั โมง
๒. ชน้ั ป.๔-๖ ซอ่ มเสริมคณิตศาสตร์ ๑ ช่วั โมง, ศลิ ปะ ๑ ช่วั โมง และภาษาอังกฤษ ๒ ชว่ั โมง
หลกั สูตรสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานโรงเรียนชุมชนวดั ราษฎร์นิยม (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
จำนวนชัว่ โมงเรียนเฉลย่ี ตอ่ สัปดำห์ตำมหลกั สูตรสถำนศกึ ษำโรงเรยี นชุมชนวัดรำษฎรน์ ยิ ม
สำระกำรเรียนรู/้ กิจกรรม เวลำเรยี น
ประถมศกึ ษำ
ภาษาไทย ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
คณติ ศาสตร์ ๔๔๔๔๔๔
๔๔๔๔๔๔
วทิ ยาศาสตร์
สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๓๓๓๓๓๓
ประวัติศาสตร์ ๒๒๒๒๒๒
สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑๑๑๑๑๑
ศิลปะ ๒๒๒๒๒๒
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑๑๑๑๑๑
ภาษาต่างประเทศ ๑๑๑๒๒๒
รวมเวลำเรยี น (พนื้ ฐำน) ๓๓๓๒๒๒
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๑
รายวชิ า / กจิ กรรมเพม่ิ เติม ๓๓๓๓๓๓
๒๒๒๒๒๒
รวมเวลำเรียนท้งั หมด ๒๖ ๒๖ ๒๖ ๒๖ ๒๖ ๒๖
หลกั สูตรสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนชมุ ชนวดั ราษฎร์นยิ ม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้
การพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ กดิ ความสมดุล ต้องคานงึ ถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญั ญา หลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน จึงกาหนดให้ผเู้ รียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ดังน้ี
๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร์
๓. วทิ ยาศาสตร์
๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๕. สขุ ศึกษาและพลศึกษา
๖. ศลิ ปะ
๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๘. ภาษาต่างประเทศ
ในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรไู้ ด้กาหนดมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเปา้ หมายสาคญั ของการพฒั นา
คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรูร้ ะบสุ ิง่ ท่ีผู้เรียนพงึ รู้ ปฏบิ ตั ไิ ด้ มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ มทพี่ ึง
ประสงคเ์ มอื่ จบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน นอกจากน้นั มาตรฐานการเรียนรู้ยงั เปน็ กลไกสาคญั ในการขบั เคลือ่ น
พัฒนาการศกึ ษาทัง้ ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรจู้ ะสะทอ้ นใหท้ ราบว่าตอ้ งการอะไร จะสอนอย่างไร
และประเมนิ อยา่ งไร รวมท้งั เปน็ เครือ่ งมอื ในการตรวจสอบเพ่ือการประกนั คุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบ
การประเมนิ คณุ ภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึง การทดสอบระดบั เขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา
และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกนั คณุ ภาพดังกลา่ วเป็นส่งิ สาคัญท่ีช่วยสะท้อนภาพ
การจัดการศึกษาว่าสามารถพฒั นาผูเ้ รยี นให้มคี ุณภาพตามทมี่ าตรฐานการเรยี นรู้กาหนดเพียงใด
สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานกาหนดมาตรฐานการเรียนร้ใู น ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จานวน ๖๗
มาตรฐาน ดงั นี้
ภำษำไทย
สำระท่ี ๑ กำรอ่ำน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หา ใน
การดาเนินชวี ิตและมีนิสยั รักการอา่ น
สำระท่ี ๒ กำรเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี น เขียนสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวใน
รูปแบบตา่ ง ๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
สำระที่ ๓ กำรฟงั กำรดู และกำรพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์
สำระที่ ๔ หลักกำรใชภ้ ำษำไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั
ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ
หลักสูตรสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานโรงเรียนชมุ ชนวดั ราษฎรน์ ิยม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
สำระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคุณค่าและนามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริง
คณติ ศำสตร์
สำระท่ี ๑ จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การ
ของจานวน ผลทเ่ี กิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนินการ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟงก์ชัน ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้
สำระที่ ๒ กำรวัดและเรขำคณิต
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพนื้ ฐานเก่ียวกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ทีต่ อ้ งการวดั และ
นาไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง
รูปเรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้
สำระท่ี ๓ สถิติและควำมน่ำจะเปน
มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถิตใิ นการแก้ปญหา
วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
สำระที่ ๑ วิทยำศำสตร์ชีวภำพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธร์ ะหว่างสง่ิ ไมม่ ชี ีวติ
กบั ส่ิงมชี วี ติ และความสมั พันธ์ระหว่างส่งิ มชี วี ิตกบั สง่ิ มีชวี ิตตา่ งๆ ในระบบนิเวศ
การถ่ายทอดพลังงาน การเปลย่ี นแปลงแทนทใี่ นระบบนิเวศ ความหมายของ
ประชากร ปัญหาและผลกระทบทม่ี ตี ่อทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
แนวทางในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ิของส่งิ มชี วี ิต หน่วยพื้นฐานของสิง่ มชี วี ิต การลาเลยี งสารเข้า
และออกจากเซลล์ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ีของระบบต่าง ๆ
ของสตั ว์และมนษุ ยท์ ่ที างานสัมพันธก์ ัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ที่
ของอวยั วะต่าง ๆ ของพืชทีท่ างานสมั พนั ธ์กัน รวมท้ังนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม
สารพันธุกรรม การเปล่ยี นแปลงทางพันธุกรรมท่ีมผี ลตอ่ สง่ิ มีชีวติ ความหลากหลาย
ทางชีวภาพและวิวฒั นาการของสงิ่ มีชวี ิต รวมท้งั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
สำระท่ี ๒ วทิ ยำศำสตร์กำยภำพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมบัติของ
สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติ
ของการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ
ปฏิกริ ยิ าเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจาวนั ผลของแรงทกี่ ระทาต่อวัตถุ ลักษณะ
การเคลอ่ื นทีแ่ บบตา่ ง ๆ ของวัตถรุ วมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน
หลักสูตรสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานโรงเรียนชุมชนวัดราษฎรน์ ิยม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวติ ประจาวัน ธรรมชาตขิ องคลน่ื
ปรากฏการณ์ทเี่ กย่ี วข้องกับเสียง แสง และคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทัง้ นาความร้ไู ป
ใชป้ ระโยชน์
สำระที่ ๓ วทิ ยำศำสตรโ์ ลก และอวกำศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ
กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุรยิ ะ รวมทง้ั ปฏิสัมพนั ธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะ
ท่สี ่งผลต่อสิ่งมชี ีวิต และการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลง
ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณพี ิบตั ภิ ัย กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้
อากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้งั ผลต่อสง่ิ มชี วี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม
สำระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คานวณในการแกป้ ญั หาท่ีพบในชีวิตจริงอยา่ งเปน็
ขนั้ ตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้
การทางาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
สงั คมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
สำระท่ี ๑ ศำสนำ ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา
ท่ตี นนบั ถือและศาสนาอน่ื มีศรทั ธาทถ่ี กู ตอ้ ง ยดึ ม่ัน และปฏบิ ตั ิตามหลักธรรม เพือ่
อย่รู ่วมกนั อย่างสนั ติสุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนท่ีดี และธารงรักษาพระพทุ ธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถอื
สำระที่ ๒ หนำ้ ท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และกำรดำเนนิ ชีวติ ในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏบิ ัติตนตามหนา้ ท่ีของการเป็นพลเมอื งดี มคี ่านิยมท่ีดงี าม และธารง
รักษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ิตอยรู่ ่วมกันในสงั คมไทย และ สงั คมโลก
อยา่ งสนั ตสิ ุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปัจจบุ นั ยึดม่ัน ศรัทธา และธารงรกั ษา
ไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
สำระท่ี ๓ เศรษฐศำสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรพั ยากรทมี่ ีอยู่จากดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและคมุ้ ค่า รวมทง้ั เข้าใจหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง เพอ่ื การดารงชวี ิตอยา่ งมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
ความจาเปน็ ของการร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก
สำระที่ ๔ ประวตั ิศำสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้
วิธีการทางประวตั ิศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถงึ ปัจจบุ ัน ในดา้ นความสมั พนั ธแ์ ละ
การเปลย่ี นแปลงของเหตุการณอ์ ย่างต่อเนอ่ื ง ตระหนักถงึ ความสาคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกดิ ข้นึ
หลักสตู รสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานโรงเรียนชมุ ชนวดั ราษฎรน์ ิยม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มคี วามรัก ความภมู ิใจ
สำระท่ี ๕ ภมู ิศำสตร์ และธารงความเปน็ ไทย
มาตรฐาน ส ๕.๑
เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธของสรรพสิ่งซง่ึ มผี ลตอกัน ใช
มาตรฐาน ส ๕.๒ แผนทีแ่ ละเครือ่ งมอื ทางภมู ิศาสตรในการคนหา วิเคราะห และสรปุ ขอมูล ตาม
กระบวนการทางภมู ิศาสตรตลอดจนใชภมู ิสารสนเทศอยางมีประสิทธภิ าพ
เขาใจปฏสิ ัมพันธระหวางมนุษยกบั สงิ่ แวดลอมทางกายภาพทก่ี อใหเกิดการสราง
สรรควถิ ีการดาเนินชีวิต มีจิตสานกึ และมสี วนรวมในการจดั การทรพั ยากรและส่ิง
แวดลอมเพือ่ การพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื
สขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ
สำระท่ี ๑ กำรเจริญเตบิ โตและพัฒนำกำรของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์
สำระท่ี ๒ ชีวติ และครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เขา้ ใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา และมที ักษะในการดาเนนิ ชีวิต
สำระที่ ๓ กำรเคล่อื นไหว กำรออกกำลงั กำย กำรเล่นเกม กีฬำไทย และกีฬำสำกล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลอื่ นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเล่นกฬี า ปฏิบัตเิ ปน็ ประจาอยา่ ง
สม่าเสมอ มีวนิ ยั เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ
แขง่ ขัน และชน่ื ชมในสนุ ทรยี ภาพของการกีฬา
สำระที่ ๔ กำรสรำ้ งเสรมิ สุขภำพ สมรรถภำพและกำรปอ้ งกนั โรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณค่าและมที กั ษะในการสรา้ งเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกนั โรค
และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพ่อื สุขภาพ
สำระที่ ๕ ควำมปลอดภยั ในชวี ิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ปอ้ งกันและหลกี เลีย่ งปัจจัยเสีย่ ง พฤตกิ รรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้ยาสาร
เสพตดิ และความรนุ แรง
ศลิ ปะ สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
สำระที่ ๑ ทศั นศลิ ป์ วิจารณ์คุณคา่ งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอย่างอิสระ
มาตรฐาน ศ ๑.๑ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ งาน
ทศั นศลิ ปท์ เี่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ภูมิปญั ญาไทยและสากล
สำระที่ ๒ ดนตรี เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คุณค่า
มาตรฐาน ศ ๒.๑
ดนตรี ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ ใช้ใน
มาตรฐาน ศ ๒.๒ ชีวติ ประจาวนั
เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ คา่ ของ
ดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล
หลักสูตรสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ยิ ม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
สำระที่ ๓ นำฏศิลป์ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า
มาตรฐาน ศ ๓.๑ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดอย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ น
ชีวติ ประจาวนั
มาตรฐาน ศ ๓.๒
เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตร์และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่า
ของนาฏศิลปท์ ีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
กำรงำนอำชพี
สำระที่ ๑ กำรดำรงชวี ติ และครอบครวั
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน ทกั ษะ
การจัดการ ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกนั และทักษะ
การแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรม และลกั ษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึก
ในการใชพ้ ลังงาน ทรัพยากร และสง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อการดารงชีวิตและครอบครวั
สำระที่ ๒ กำรอำชีพ
มาตรฐาน ง ๒.๑ เขา้ ใจ มีทกั ษะที่จาเปน็ มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชพี ใช้เทคโนโลยี
เพ่อื พฒั นาอาชีพ มคี ณุ ธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
ภำษำต่ำงประเทศ
สำระที่ ๑ ภำษำเพอ่ื กำรสอื่ สำร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตีความเรื่องท่ฟี งั และอา่ นจากสือ่ ประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเหน็
อยา่ งมีเหตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นข้อมูลข่าวสาร แสดงความรูส้ กึ และ
ความคดิ เหน็ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมลู ขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เห็นในเรื่องตา่ งๆ
โดยการพูดและการเขยี น
สำระท่ี ๒ ภำษำและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้
อยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใชอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม
สำระท่ี ๓ ภำษำกบั ควำมสัมพันธ์กับกล่มุ สำระกำรเรียนรู้อน่ื
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความร้กู ับกลุ่มสาระการเรยี นร้อู ื่น และเป็น
พ้นื ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทัศนข์ องตน
สำระท่ี ๔ ภำษำกับควำมสัมพนั ธ์กับชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ท้งั ในสถานศกึ ษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเปน็ เคร่ืองมอื พน้ื ฐานในการศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี
และการแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ บั สังคมโลก
หลักสตู รสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎรน์ ิยม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธบิ ายรายวชิ า ระดบั ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๖
หลกั สูตรสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานโรงเรียนชมุ ชนวดั ราษฎร์นิยม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ระดับประถมศึกษา
รายวชิ าพน้ื ฐาน จานวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชวั่ โมง
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
หลกั สูตรสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎร์นยิ ม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ชั้น ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง และขอ้ ความสั้นๆ สามารถบอกความหมายของคา และข้อความที่
อ่านตอบคาถามเกย่ี วกับเร่อื งทอี่ ่าน เล่าเรื่องย่อจากเรือ่ งท่อี า่ น คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรอ่ื งที่อา่ นอ่าน
หนงั สือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรอ่ื งทอ่ี ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายหรอื
สัญลกั ษณส์ าคญั ทม่ี ักพบเห็นในชวี ิตประจาวนั มมี ารยาท ในการอา่ น คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั เขียน
สอ่ื สารด้วยคาและประโยคง่ายๆ มมี ารยาทในการเขียน ฟังคาแนะนา คาสั่งงา่ ยๆ และปฏบิ ตั ิตามตอบ
คาถามและเล่าเรือ่ งที่ฟังและดู ทั้งท่ีเปน็ ความรแู้ ละความบันเทิง พดู แสดงความคดิ เห็นและความร้สู ึกจาก
เรื่องทีฟ่ ังและดู พูดสือ่ สารไดต้ ามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด บอกและเขยี น
พยัญชนะ สระ วรรณยุกตแ์ ละ เลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา เรียบเรียงคาเป็น
ประโยคงา่ ย ๆ ต่อคาคลอ้ งจองง่ายๆ บอกขอ้ คิดท่ไี ด้จากการอา่ นหรือการฟังวรรณกรรม รอ้ ยแกว้ และร้อย
กรองสาหรับเด็ก ทอ่ งจาบทอาขยานตามทกี่ าหนดและบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
โดยใชก้ ระบวนการฟัง กระบวนการพดู กระบวนการอา่ นออกเสยี ง อา่ นในใจ กระบวนการเขยี น
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด และกระบวนการเรียนการสอนแบบมุง่ ประสบการณภ์ าษา
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเขา้ ใจในการอา่ น การเขียน การคิด สามารถนาความรไู้ ปใช้ในสาระตา่ งๆ
และนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป๑ / ๑, ป๑ /๒, ป๑ /๓, ป๑ /๔, ป๑ /๕, ป๑ /๖, ป๑ /๗, ป๑ /๘
ท ๒.๑ ป ๑ / ๑, ป๑ /๒, ป๑ /๓
ท ๓.๑ ป ๑ /๑, ป๑ /๒ , ป๑ /๓, ป๑ /๔, ป๑ /๕
ท ๔.๑ ป ๑ /๑ , ป๑ /๒, ป๑ /๓, ป๑ /๔, ป๑ /๕
ท ๕.๑ ป ๑ /๑ , ป๑ /๒
รวมทงั้ หมด ๒๓ ตัวช้ีวดั
หลกั สตู รสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎร์นิยม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง
อ่านออกเสยี งคา คาคล้องจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ ได้ถูกตอ้ ง อธิบายความหมาย
ของคา และข้อความทีอ่ ่าน ตง้ั คาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคญั แสดงความคิดเห็น คาดคะเน
เหตกุ ารณจ์ ากเร่อื งท่อี ่าน อา่ นหนังสือตามความสนใจ อ่านข้อเขียนเชงิ อธิบาย ปฏบิ ัติตามคาสงั่ หรอื
ข้อแนะนา และมมี ารยาทในการอา่ น คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเร่ืองสนั้ ๆ เกย่ี วกับ
ประสบการณ์ จนิ ตนาการ และมีมารยาทในการเขยี น ฟงั คาแนะนา คาสง่ั ท่ีซับซอ้ นและปฏิบตั ติ าม เลา่
เรือ่ งทฟี่ ังและดทู ้งั ท่ีเปน็ ความรแู้ ละความบันเทิง บอกสาระสาคญั ของเรอ่ื งทฟ่ี ังและดู ตงั้ คาถามและตอบ
คาถามจากเร่อื งท่ีฟังและดู พูดแสดงความคิดเห็นและความร้สู กึ จากเร่ืองท่ีฟังและดู พูดสอ่ื สารไดช้ ัดเจนตรง
ตามวตั ถปุ ระสงค์และมมี ารยาทในการฟงั ดูและพูด บอก เขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์และเลขไทย
เขียนสะกดคา และบอกความหมายของคา เรยี บเรียงคาเปน็ ประโยคไดต้ รงตามเจตนาของการสอ่ื สาร บอก
ลกั ษณะคาคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ ระบขุ อ้ คิดทไ่ี ด้จาก
การอา่ นหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก
โดยใชท้ ักษะกระบวนการอ่านออกเสียง อา่ นในใจ อ่านจับใจความ ทกั ษะการคัดลายมือ ทักษะ
การเขยี นเรอ่ื ง ทกั ษะการเขยี นสือ่ สาร ทักษะการฟัง การพูด การเล่าเรื่อง การแสดงความคิดเห็น ทกั ษะ
การพดู สอ่ื สาร ทกั ษะการเขยี นสะกดคา ทกั ษะการแต่งประโยค ทักษะการท่องอาขยาน บทร้อยกรอง
และบทรอ้ งเล่นในท้องถิน่
เพือ่ นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน รอ้ งบทร้องเลน่ สาหรบั เด็กในทอ้ งถน่ิ ท่องจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบท
ร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจสามารถนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวัน มคี ุณธรรม จริยธรรม
และมคี า่ นิยมทเี่ หมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป. ๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ , ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒ , ป.๒/๓
รวมทงั้ หมด ๒๗ ตวั ชีว้ ดั
หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานโรงเรียนชุมชนวัดราษฎรน์ ยิ ม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง
การอา่ นออกเสยี งคาขอ้ ความ เร่ืองส้ันๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง คล่องแคล่ว การอธิบาย
ความหมายของคาและขอ้ ความท่ีอ่าน การต้งั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลเกีย่ วกับเรอ่ื งทอี่ ่าน ลาดับ
เหตกุ ารณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเร่อื งทอ่ี า่ นโดยระบุเหตผุ ลประกอบ สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากขา่ วและ
เหตกุ ารณ์ การอ่านหนงั สอื ตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ การอ่านขอ้ เขียนเชงิ อธิบายและปฏบิ ัติตามคาสง่ั
หรือข้อแนะนา การอธบิ ายความหมายของขอ้ มลู จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มีมารยาทในการอา่ น
การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั การเขยี นบรรยายเกี่ยวกับสงิ่ ใดส่ิงหน่ึง ไดอ้ ยา่ งชดั เจน การเขียนบันทึก
ประจาวัน การเขียนจดหมายลาครู การเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ และมีมารยาทในการเขียน การเลา่
รายละเอยี ดเกยี่ วกบั เรอ่ื งท่ฟี ังและดูทง้ั ทเ่ี ป็นความร้แู ละความบันเทงิ บอกสาระสาคญั จากการฟงั และการดูตงั้
คาถามและตอบคาถามเกยี่ วกบั เร่ืองที่ฟงั และดู พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรือ่ งทฟ่ี ังและดู พูด
สื่อสารได้ชดั เจนตรงตามวัตถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู เขียนสะกดคาและบอก
ความหมาย ระบุชนดิ และหน้าทขี่ องคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แตง่ ประโยค
แตง่ คาคล้องจองและคาขวัญ เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและ ภาษาถิน่ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ ระบุ
ข้อคดิ ที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม
โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียง อ่านจบั ใจความ กระบวนการเขยี นโดยเขยี นตามรูปแบบใน
ลักษณะการเขียนบรรยาย เขียนบนั ทกึ เขียนจดหมาย การเขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการ กระบวนการพูด
สามารถพูดแสดงความคิดเห็น แสดงความรู้สึกและสามารถเล่าเรือ่ ง รายการทีด่ ู ฟงั จากข่าวและ
เหตุการณ์ในชวี ติ ประจาวัน ตลอดจนมมี ารยาทในการเขียน ฟัง ดแู ละพูด
เพือ่ นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ร้จู ักเพลงพื้นบา้ นและเพลงกล่อมเดก็ และปลูกฝังความชืน่ ชม
วัฒนธรรมท้องถน่ิ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดี ที่อ่าน ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทรอ้ ย
กรองท่ีมคี ุณค่าตามความสนใจ
มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ , ป.๓/๕, ป.๓/๖ , ป.๓/๗ , ป.๓/๘ , ป.๓/๙
ท ๒. ๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ , ป.๓/๖
ท๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ป.๓/๕ , ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔
รวมทง้ั หมด ๓๑ ตวั ชว้ี ัด
หลักสตู รสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ยิ ม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง
อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว บทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวน อา่ น
เร่อื งส้นั ตอบคาถามจากเร่ือง แยกแยะข้อเท็จจรงิ ข้อคิดเห็น คาดคะเนเหตุการณ์ ระบุเหตุผล สรปุ
ความรูแ้ ละข้อคดิ อ่านหนังสือที่มคี ุณค่า แสดงความคิดเหน็ คัดลายมือ เขยี นสอ่ื สาร เขียนแผนภาพ
โครงเร่ืองและแผนภาพความคิด เขยี นย่อความ เขยี นจดหมาย เขียนบนั ทึกและเขยี นรายงานจาก
การศึกษาคน้ คว้า เขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ มารยาทในการเขียน จาแนกขอ้ เท็จจริงและข้อคิดเหน็ จา
การฟังและดู พดู สรุปความจากการฟงั และดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและ ความรู้สกึ ตั้งคาถาม
และตอบคาถามเชิงเหตุผล รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ท่ศี ึกษาคน้ ควา้ มารยาทในการฟัง การดูและการพดู
สะกดคาและบอกความหมายของคา ระบชุ นิดและหน้าทข่ี องคาในประโยค ใชพ้ จนานกุ รมคน้ หา
ความหมายของคา แตง่ ประโยคได้ถูกต้องตามหลกั ภาษา แต่งบทร้อยกรองและคาขวญั บอกบอก
ความหมายของสานวน เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่นิ ระบขุ ้อคิดจากนิทานพ้ืนบา้ นหรือ
นทิ านคติธรรม อธบิ ายข้อคิดจากการอ่านเพือ่ นาไปใชใ้ นชีวิตจรงิ รอ้ งเพลงพ้นื บา้ น ท่องจาบทอาขยาน
ตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองที่มีคณุ ค่า
โดยใช้หลกั การอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ทักษะการอา่ นจับใจความ แปลความ
ตคี วาม อธิบาย วิเคราะหค์ วามและสรปุ ความ ทักษะการฟัง การพดู การเลา่ เรอ่ื ง การแสดงความ
คดิ เหน็ การพูดรายงาน หลกั การคัดลายมือ หลกั การเขยี นสอื่ สาร เขียนเรยี งความ เขียนย่อความ
เขยี นจดหมายและจดบนั ทกึ
เพอ่ื ใหร้ กั การเรยี นรู้ภาษาไทย ภมู ิใจในความเป็นไทย สามารถใชภ้ าษาไทยไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
กับกาลเทศะ เห็นคุณคา่ ของการอนุรักษ์ภาษาไทย ตัวเลขไทย ภมู ปิ ัญญาวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ
สามารถสอ่ื สารได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ มีทัศนคติตอ่ การเรยี นภาษาไทย มสี ุนทรยี ภาพในการใช้ภาษา
และสามารถนาภาษามาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ท๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ , ป.๔/๓, ป.๔/๔
ท๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ , ป.๔/๔, ป.๔/๕ , ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘
ท๓.๑ ป๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖
ท๔.๑ ป๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ , ป.๔/๕, ป.๔/๕ , ป.๔/๖
ท๕.๑ ป๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ , ป.๔/๔
รวมทงั้ หมด ๒๘ ตวั ชว้ี ัด
หลักสูตรสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐานโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎรน์ ิยม (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรองและร้อยแกว้ ไดถ้ ูกต้อง อา่ นเร่อื งสนั้ อ่านงานเขียนเชิงอธบิ าย คาส่งั
ขอ้ แนะนา และอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็นโวหาร
ความคิดจากเรอ่ื งที่อ่าน ความหมายของข้อมลู แผนท่ี แผนภมู ิ และกราฟ แยกข้อเท็จจรงิ และ
ขอ้ คิดเห็นจากเรอื่ งทอ่ี า่ น มมี ารยาทในการอา่ น คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั และคร่งึ บรรทัด เขียน
สื่อสารโดยใช้คาไดถ้ ูกต้องชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิดเพือ่ ใชพ้ ัฒนา
งานเขยี นเขียนเรยี งความ ย่อความ จดหมายสว่ นตัว กรอกแบบรายการต่างๆ เขยี นเรื่องจาก
จนิ ตนาการและสรา้ งสรรค์ มมี ารยาทในการเขียน พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจตามจุดประสงค์ของเรอื่ ง
ทฟ่ี ังและดตู ้ังคาถามและตอบคาถาม วิเคราะหค์ วามจากการฟงั และดูสอ่ื โฆษณาอยา่ งมเี หตุผล พดู
รายงานเรอื่ งหรือประเดน็ ทศ่ี กึ ษาคน้ คว้า พูดโนม้ นา้ วอยา่ งมีเหตุผลและนา่ เช่ือถอื มมี ารยาทในการฟงั ดู
พดู วเิ คราะหช์ นดิ และหนา้ ท่ีของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล รวบรวมและ
บอกความหมายของคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทรอ้ ยกรอง
วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทียบสานวนทเ่ี ป็นคาพังเพยและสุภาษิต แสดงความคดิ เหน็ จากวรรณคดหี รือ
วรรณกรรมท่อี ่าน เลา่ นิทานพน้ื บ้าน อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่อี า่ นและนาไปประยุกตใ์ ช้
ในชวี ติ จรงิ ทอ่ งจาบทอาขยานทกี่ าหนด
โดยใช้หลกั การอา่ นออกเสียงร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ทักษะการอา่ นจบั ใจความ แปลความ
ตีความ อธบิ าย วิเคราะหค์ วามและสรปุ ความ ทกั ษะการฟงั การพดู การเล่าเรอื่ ง การแสดง
ความคดิ เหน็ การพูดรายงาน หลักการคัดลายมอื หลักการเขยี นสอื่ สาร ไดแ้ ก่ การเขยี นเรียงความ
ย่อความเขียนจดหมายและจดบันทกึ cเพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจในการอา่ น การเขยี น สามารถนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสนิ ใจและใช้ในชวี ิตประจาวัน มีจิตสาธารณะ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มและ
คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์
มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ , ป.๕/๘ ป.๕/๙
ท ๒.๑ ป.๕/ ๑, ป.๕/๒ , ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ , ป.๕/๘ ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕ /๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖
ท ๔.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ , ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวมทัง้ หมด ๓๔ ตัวชีว้ ัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐานโรงเรียนชมุ ชนวดั ราษฎรน์ ยิ ม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรองและร้อยแกว้ อ่านเรือ่ งสนั้ อ่านงานเขียนเชงิ อธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา
และอ่านหนังสือตามความสนใจได้ถกู ตอ้ ง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความทเ่ี ปน็ โวหาร
จากเรือ่ งท่อี า่ น ความหมายของข้อมลู แผนที่ แผนภมู ิ และกราฟ อธบิ ายคุณค่าทไ่ี ดร้ ับ แยก
ข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเรือ่ งที่อา่ น ไปตัดสินใจในการแก้ปญั หาการดาเนินชวี ิต ประจาวนั คัดลายมอื
ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครงึ่ บรรทัด เขยี นส่ือสารโดยใช้คาไดถ้ กู ตอ้ งชัดเจนและเหมาะสม เขียน
แผนภาพโครงเรือ่ ง แผนภาพความคดิ เพอ่ื ใช้พฒั นางานเขียนเขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตวั
กรอกแบบรายการตา่ งๆ เขียนเร่ืองจากจนิ ตนาการและสรา้ งสรรค์ พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจตาม
จดุ ประสงคข์ องเรื่องทฟ่ี งั และดตู ง้ั คาถามและตอบคาถาม วิเคราะห์ความจากการฟังและดูส่ือโฆษณาอย่างมี
เหตุผล พูดรายงานเรอ่ื งหรอื ประเดน็ ทศี่ กึ ษาค้นควา้ พูดโนม้ นา้ วอยา่ งมีเหตผุ ลและน่าเชอ่ื ถือ ดู พดู
วเิ คราะหช์ นิดและหนา้ ท่ีของคาในประโยค ใช้คาไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล รวบรวมและบอก
ความหมายของคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ระบุลกั ษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์
และเปรยี บเทียบสานวนท่ีเปน็ คาพังเพยและสภุ าษิต แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมท่ี
อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านของทอ้ งถิน่ ตนเองและท้องถ่นิ อ่นื อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน
และนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง
โดยใช้หลักการอ่านออกเสียงรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง ทกั ษะการอ่านจับใจความ แปลความ
ตีความ อธิบาย วเิ คราะห์ความและสรุปความ ทักษะการฟัง การพดู การเล่าเรือ่ ง การแสดง
ความคดิ เห็น การพูดรายงาน หลักการคัดลายมือ หลักการเขยี นส่ือสาร
พอ่ื ให้เกิดความร้ดู า้ น การเขียนเรียงความ ยอ่ ความ เขยี นจดหมายและจดบนั ทึก
สามารถนาความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการตัดสนิ ใจและใช้ในชวี ิตประจาวนั มีจติ สาธารณะ คุณธรรม จริยธรรม
คา่ นยิ มและคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓, ป.๖/๔ , ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙
ท๒.๑ ป.๖/ ๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ , ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗ , ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖ /๑, ป.๖/๒ , ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓, ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖,
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมทั้งหมด ๓๔ ตวั ช้ีวดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานโรงเรียนชมุ ชนวัดราษฎรน์ ยิ ม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ระดับประถมศึกษา จานวน ๑๖๐ ชวั่ โมง
จานวน ๑๖๐ ชัว่ โมง
รายวิชาพ้นื ฐาน
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์
หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎรน์ ยิ ม (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
ศกึ ษา ฝกึ ทกั ษะการคดิ คานวณและฝกึ แกป้ ญั หา จานวนนบั ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดง
จานวนสง่ิ ต่าง ๆ ตามจานวนทกี่ าหนด อ่านและเขียนตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย การบอกอันดบั ท่หี ลัก
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และเขยี นแสดงจานวนในรปู กระจาย เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐
โดยใชเ้ ครื่องหมาย = ≠ > < เรยี งลาดบั จานวนตงั้ แต่ ๓ ถึง ๕ จานวน และหาค่าของตวั ไม่ทราบค่าใน
ประโยคสัญลักษณแ์ สดงการบวก การลบ การแก้โจทยป์ ญั หาการบวก การลบ ของจานวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐
และ ๐ ความยาวและน้าหนกั สร้างโจทย์ปัญหาพรอ้ มท้ังแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ ของจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐ ระบจุ านวนที่หายไปในแบบรปู ของจานวนที่เพ่มิ ขึ้นหรอื ลดลงทีละ๑
ทีละ ๑๐ รปู ท่ีหายไปในแบบรปู ซ้าของรปู เรขาคณติ และรูปอื่น ๆ ท่ีสมาชิกใน แต่ละชดุ ที่ซ้ามี ๒ รปู วัดและ
เปรยี บเทยี บความยาวเป็นเซนตเิ มตร เปน็ เมตร น้าหนกั เปน็ กโิ ลกรมั เป็นขดี และใชห้ น่วยทไ่ี ม่ใช่หน่วย
มาตรฐาน จาแนกรูปสามเหลย่ี ม รูปสเ่ี หล่ยี ม วงกลม วงรี ทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และ
กรวย ใชข้ ้อมูลจากแผนภมู ริ ปู ภาพในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา เมอ่ื กาหนดรปู ๑ รปู แทน ๑ หน่วย
มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวมทง้ั หมด ๑๐ ตัวชีว้ ดั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานโรงเรียนชมุ ชนวดั ราษฎร์นิยม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
ศึกษา ฝกึ ทกั ษะการคดิ คานวณและฝึกแกป้ ญั หา จานวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง
จานวนสง่ิ ตา่ ง ๆ ตามจานวนทก่ี าหนด อา่ นและเขยี นตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย การบอกอันดบั ท่ีหลัก
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขยี นแสดงจานวนในรูปกระจาย เปรยี บเทียบจานวนนับไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ
๐ โดยใช้เคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลาดับจานวนนบั ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตง้ั แต่ ๓ ถงึ ๕ จานวน และ
หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบของ
จานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการคณู ของจานวน ๑
หลักกบั จานวนไมเ่ กนิ ๒ หลกั และประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหารที่ตัวตงั้ ไม่เกนิ ๒ หลกั ตวั หาร ๑ หลกั โดย
ท่ผี ลหารมี ๑ หลกั ทง้ั หารลงตวั และหารไมล่ งตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนบั ไม่เกิน
๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา ๒ ขั้นตอนของจานวนนบั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวธิ ี
หาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั เวลาทีม่ หี น่วยเดยี่ วและเป็นหนว่ ยเดียว วดั และเปรยี บเทียบความยาวเปน็
เมตรและเซนตเิ มตร พรอ้ มท้งั แสดงวิธีการหาคาตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบความยาวทีม่ ีหนว่ ยเป็น
เมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบนา้ หนักเป็นกิโลกรัมและกรมั กิโลกรมั และขดี พรอ้ มทงั้ แสดงวธิ ีการ
หาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวกการลบเก่ียวกับน้าหนกั ทีม่ หี นว่ ยเปน็ กโิ ลกรัมและกรมั กโิ ลกรมั และขีด วัด
และเปรียบเทียบปริมาตรและความจเุ ป็นลิตร จาแนกและบอกลกั ษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม ใช้
ขอ้ มูลจากแผนภมู ริ ูปภาพในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา เมอ่ื กาหนดรปู ๑ รปู แทน ๒ หนว่ ย ๕ หน่วยหรือ
๑๐ หน่วย
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวม ๑๖ ตวั ชวี้ ัด
หลักสตู รสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎร์นิยม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง
อ่านและเขยี น ตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนงั สือแสดงจานวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ เปรียบเทยี บและเรียงลาดับจานวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณต์ ่าง ๆ บอก อ่าน
และเขยี นเศษสว่ นที่แสดงปรมิ าณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสง่ิ ต่าง ๆ ตามเศษสว่ นท่ีกาหนด เปรียบเทยี บเศษส่วนที่
ตวั เศษเท่ากัน โดยทีต่ ัวเศษน้อยกว่าหรือเทา่ กับตวั ส่วน หาค่าของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการ
บวกและการลบของจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดง
การคณู ของจานวน ๑ หลักกับจานวนไม่เกิน ๔ หลักและจานวน ๒ หลักกบั จานวน ๒ หลกั หาค่าของตัวไม่
ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารทต่ี วั ต้ังไมเ่ กิน ๔ หลัก ตวั หาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ
คูณ หารระคนและแสดงวธิ ีการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา ๒ ข้นั ตอนของจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
หาผลบวกและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกของเศษสว่ นท่มี ตี วั ส่วนเท่ากันและผลบวกไมเ่ กิน ๑
และหาผลลบพรอ้ มทัง้ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหารการลบของเสษส่วนที่มีตัวสว่ นเท่ากนั ระบจุ านวนท่ี
หายไปในแบบรปู ของจานวนทเี่ พ่ิมข้ึนหรอื ลดลงทีละเท่า ๆ กนั แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั เงิน
เวลาและระยะเวลา เลอื กใช้เคร่อื งมือความยาวทเ่ี หมาะสม วดั และบอกความยาวของส่งิ ตา่ ง ๆ เปน็ เซนติเมตร
และมิลลเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนตเิ มตร เปรียบเทียบความยาว
และแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกย่ี วกับระหว่างเซนตเิ มตรกับมลิ ลิเมตร เมตรกบั เซนติเมตร กโิ ลเมตร
กับเมตร จากสถานการณต์ ่าง ๆ เลือกใช้เคร่อื งชงั่ ทเี่ หมาะสม วัดและบอกนา้ หนักเป็นกิโลกรมั และขดี กิโลกรมั
และกรมั คาดคะเนนา้ หนักเปน็ กิโลกรมั และเปน็ ขดี เปรยี บเทียบน้าหนกั และแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์
ปัญหาเกี่ยวกบั นา้ หนกั ท่มี หี นว่ ยเปน็ กโิ ลกรัมกบั กรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณต์ ่าง ๆ เลือกใช้
เคร่อื งตวงทีเ่ หมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจเุ ปน็ ลิตรและมลิ ลลิ ติ ร คาดคะเนและแสดงวิธีหา
คาตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ลิตรและมิลลิเมตร ระบุรปู เรขาคณติ สองมิตทิ ม่ี ีแกน
สมมาตรและจานวนแกนสมมาตร เขยี นแผนภมู ริ ปู ภาพและใชข้ ้อมูลจากแผนภมู ิรูปภาพในการหาคาตอบของ
โจทยป์ ญั หา เขียนตารางทางเดยี วจากข้อมูลที่เป็นจานวนนบั และใชข้ อ้ มูลจากตารางทางเดยี วในการหาคาตอบ
ของโจทย์ปญั หา
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,
ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๒๘ ตัวช้ีวดั
คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
หลกั สตู รสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎร์นิยม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง
ศกึ ษา ฝกึ ทักษะการอ่านและเขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจานวนนับที่
มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมท้ังเปรียบเทียบและเรียงลาดบั จานวนนับท่มี ากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์
ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียนเศษสว่ น จานวนคละแสดงปริมาณส่งิ ต่าง ๆ และแสดงสงิ่ ต่าง ๆ ตามเศษสว่ น
จานวนคละที่กาหนด เปรียบเทยี บ เรียงลาดับเศษสว่ นและจานวนคละทีต่ วั สว่ นตัวหนงึ่ เปน็ พหูคณู ของอีกตวั
หนึ่ง อ่านและเขยี นทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตาแหนง่ แสดงปรมิ าณของสงิ่ ต่าง ๆ ตามทศนยิ มท่กี าหนด เปรียบเทยี บ
และเรยี งลาดับทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตาแหนง่ และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบการคูณ การหาร จาก
สถานการณต์ ่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์ แสดงการบวก การลบ
ของจานวนนบั ทมี่ ากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก ๒ จานวน ทีม่ ีผลคณู ไมเ่ กิน
๖ หลัก และแสดงการหารท่ีตัวตัง้ ไม่เกนิ ๖ หลัก ตวั หารไม่เกนิ ๒ หลัก หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน
ของจานวนนบั และ ๐ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา ๒ ขนั้ ตอนของจานวนนบั ท่ีมากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ข้นั ตอนของจานวนนับ และ ๐ พร้อมท้งั หาคาตอบ หาคาตอบและแสดงวิธหี า
คาตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบของเศษส่วนและจานวนคละทต่ี วั ส่วนตัวหนงึ่ เปน็ พหคู ูณของอีกตัว
หนง่ึ หาผลบวก ผลลบของทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตาแหน่ง และแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ
๒ ข้นั ตอนของทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตาแหนง่
แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาเกีย่ วกับเวลา วดั และสรา้ งมุมโดยใชโ้ พรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปส่เี หลย่ี มมุมฉาก จาแนกชนิดของมมุ บอกชื่อ
มมุ สว่ นประกอบของมมุ และเขยี นสญั ลักษณ์แสดงมมุ สรา้ งรูปสี่เหลี่ยมมมุ ฉากเมื่อกาหนดความยาวของดา้ น
และใชข้ อ้ มูลจากแผนภูมิแทง่ ตารางสองทางในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
มาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑,
ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวม ๒๒ ตวั ช้ีวดั
หลักสูตรสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎร์นยิ ม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
เขียนเศษสว่ นท่ีมีตัวสว่ นเป็นตวั ประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรปู ทศนิยม แสดงวธิ ีหา
คาตอบของโจทยป์ ญั หาโดยใชบ้ ัญญตั ิไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษสว่ นและจานวนคละ
แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบ การคณู การหารเศษส่วน ๒ ข้ันตอน หาผลคณู ของ
ทศนยิ ม ท่ีผลคณู เปน็ ทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง หาผลหารท่ีตัวตัง้ เปน็ จานวนนบั หรือทศนิยมไมเ่ กนิ ๓
ตาแหน่ง และตวั หารเป็นจานวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตาแหนง่ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา
การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒ ขนั้ ตอน และแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหารอ้ ยละไมเ่ กิน ๒
ขัน้ ตอน
แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับความยาว น้าหนัก ท่ีมกี ารเปลี่ยนหนว่ ยและเขียนในรูป
ทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเกี่ยวกบั ปรมิ าตรของทรงสเ่ี หล่ียมมมุ ฉากและความจขุ องภาชนะ
ทรงสเี่ หล่ียมมุมฉาก ความยาวรอบรปู ของรูปส่ีเหลีย่ มและพื้นทข่ี องรปู สเ่ี หลยี่ มดา้ นขนานและรปู สีเ่ หลย่ี มขนม
เปียกปูน สร้างเส้นตรงหรอื สว่ นของเสน้ ตรงใหข้ นานกับเสน้ ตรงหรอื สว่ นของเส้นตรงทกี่ าหนดให้ จาแนกรปู
สี่เหลีย่ มโดยพิจารณาจากสมบัตขิ องรปู สร้างรูปส่ีเหล่ยี มชนิดต่าง ๆ เมอ่ื กาหนดความยาวของดา้ นและขนาด
ของมมุ หรอื เม่ือกาหนดความยาวของเสน้ ทแยงมุม และบอกลกั ษณะของปรซิ มึ
ใช้ข้อมลู จากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา และเขยี นแผนภูมิแท่งจากขอ้ มูลที่เปน็
จานวนนับ
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๑๙ ตวั ชวี้ ัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎรน์ ิยม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
เปรียบเทยี บ เรยี งลาดับ เศษสว่ นและจานวนคละจากสถานการณต์ ่าง ๆ เขยี นอตั ราส่วนแสดงการ
เปรยี บเทยี บปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยทป่ี ริมาณแต่ละปรมิ าณเปน็ จานวนนบั หา
อตั ราสว่ นทเ่ี ท่ากับอัตราสว่ นทกี่ าหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนบั ไม่เกิน ๓ จานวน แสดงวิธีหา
คาตอบของโจทย์ปญั หาโดยใช้ความร้เู กี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลพั ธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน
ของเศษส่วนและจานวนคละ แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ญั หาเศษสว่ นและจานวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หา
ผลหารของทศนยิ มท่ตี วั หารและผลหารเป็นทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หาการ
บวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ๓ ขั้นตอน แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาอัตราส่วน ปญั หารอ้ ยละ
๒ – ๓ ขั้นตอน แสดงวิธคี ดิ และหาคาตอบของปญั หาเก่ียวกบั แบบรูป
แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั ปรมิ าตรของรปู เรขาคณติ สามมติ ิท่ปี ระกอบด้วยทรง
สเี่ หลี่ยมมมุ ฉาก และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกบั ความยาวรอบรปู และพืน้ ที่ของรปู หลาย
เหลย่ี ม ความยาวรอบรูปและพื้นท่ขี องวงกลม จาแนกรปู สามเหลยี่ มโดยพิจารณาจากสมบตั ขิ องรปู สรา้ งรูป
สามเหล่ยี มเมอื่ กาหนดความยาวของดา้ นและขนาดของมมุ บอกลกั ษณะของรูปเรขาคณติ สามมิติชนดิ ตา่ ง ๆ
ระบุรปู เรขาคณติ สามมิติทปี่ ระกอบจากรูปคล่แี ละระบุรปู คลข่ี องรูปเรขาคณติ สามมิติ
ใชข้ อ้ มูลจากแผนภูมิรปู วงกลมในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐,
ป.๖/๑๑, ป.๖/๑๒
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวม ๒๑ ตัวชีว้ ดั
หลกั สูตรสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานโรงเรียนชุมชนวัดราษฎรน์ ิยม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ระดบั ประถมศึกษา
รายวิชาพน้ื ฐาน จานวน ๑๒๐ ชวั่ โมง
จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์
ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๑๒๐ ช่ัวโมง
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง
หลกั สตู รสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานโรงเรยี นชุมชนวัดราษฎร์นิยม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง
ศกึ ษาการเรยี นรูแบบนกั วทิ ยาศาสตร ลักษณะ หนาท่แี ละการดแู ลรกั ษาสวนตางๆ ของรางกายมนษุ ย
ลกั ษณะและหนาทข่ี องสวนตาง ๆ ของสัตวและพชื รอบตัว และสภาพแวดลอมในบรเิ วณที่สัตวและพืชอาศัยอยู
ชนดิ และสมบตั ิของวัสดทุ ่ีใชทาวตั ถุรอบตวั การเกิดเสยี งและทิศทางการเคลือ่ นท่ขี องเสียง ลักษณะของหิน
และการมองเห็นดาวบนทองฟาในเวลากลางวันและกลางคืน การแกปญหาโดยการลองผิดลองถูก การ
เปรยี บเทียบ การเขยี นโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟตแวรหรือสอ่ื การใชงานอปุ กรณเทคโนโลยเี บ้ืองตน การ
ใชงานซอฟตแวรเบ้อื งตน
ใชการสบื เสาะหาความรู สังเกต สารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บนั ทึก
และอธบิ ายผลการสารวจตรวจสอบ เพอื่ ใหเกิดความรูความเขาใจ มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้นั
พ้ืนฐานและมที กั ษะการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเบ้ืองตน
สามารถสอื่ สารสิ่งท่ีเรยี นรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทางานรวมกับผูอื่น แสดงข้ันตอนการแกปญหาอยาง
งาย เขียนโปรแกรมโดยใชส่อื สราง จัดเก็บและเรียกใชไฟลตามวตั ถุประสงค
ตระหนักถงึ ประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรในการดารงชวี ติ
ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบตั ิตามขอตกลงในการใชงาน ดแู ลรกั ษาอปุ กรณและใชงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม มจี ิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานยิ มทีเ่ หมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด
ว ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๓.๑ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
รวม ๑๕ ตวั ชว้ี ัด
หมำยเหตุ จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง หมายถงึ สาระท่ี ๑-๓ ใชเวลา ๘๐ ชั่วโมง รวมกบั สาระท่ี ๔ ใชเวลา ๔๐ ช่ัวโมง
หลักสูตรสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานโรงเรียนชุมชนวดั ราษฎรน์ ยิ ม (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๒
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง
ศึกษาการเรียนรูแบบนกั วทิ ยาศาสตร ลกั ษณะของสงิ่ มีชีวิตและสิ่งไมมีชวี ติ ความจาเปนของแสง
และนา้ ตอการเจริญเติบโตของพชื วัฏจักรชีวิตของพืชดอก สมบัตกิ ารดูดซบั นา้ ของวัสดแุ ละการนาไปใช
ประโยชน สมบตั ิของวัสดุท่ีเกดิ จากการนาวัสดมุ าผสมกัน การเลอื กวัสดมุ าใชทาวัตถุตามสมบัติของวสั ดุ
การนาวัสดุทใี่ ชแลวกลับมาใชใหม การเคล่อื นที่ของแสง การมองเห็นวตั ถุ การปองกันอันตรายจากการ
มองวตั ถใุ นบรเิ วณทีม่ ีแสงสวางไมเหมาะสม สวนประกอบและการจาแนกชนดิ ของดนิ การใชประโยชนจากดนิ
การแสดงขัน้ ตอนการแกปญหา การตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม การใชงานซอฟตแวรเบือ้ งตน
การจดั การไฟลและโฟลเดอร การใชงานและดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร เทคโนโลยใี นชีวิตประจาวนั
การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย
ใชการสบื เสาะหาความรู สังเกต จาแนกประเภท รวบรวมขอมลู บันทึก และอธบิ ายผลการสารวจ
ตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขน้ั พนื้ ฐานและมที กั ษะ
การเรียนรใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารเบ้ืองตน สามารถสอ่ื สารสงิ่ ท่ี
เรียนรู มีความคดิ สรางสรรค สามารถทางานรวมกบั ผูอน่ื แสดงขน้ั ตอนการแกปญหาอยางงาย เขยี นโปรแกรม
แบบมีเงอื่ นไขโดยใชบัตรคาสงั่ และตรวจหาขอผิดพลาด ใชงานซอฟตแวร สราง จดั หมวดหมูไฟลและโฟลเดอร
ตระหนักถงึ ประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรในการดารงชวี ติ ตระหนกั
ถึงความสาคัญของการปกปองขอมูลสวนตัว ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภยั ดูแลรกั ษาอปุ กรณ
คอมพวิ เตอร มีจติ วทิ ยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด
ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ , ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
รวม ๑๖ ตัวชีว้ ัด
หมายเหตุ จานวน ๑๒๐ ช่วั โมง หมายถึง สาระท่ี ๑-๓ ใชเวลา ๘๐ ช่ัวโมง รวมกับสาระที่ ๔ ใชเวลา ๔๐ ช่วั โมง
หลกั สตู รสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐานโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎรน์ ิยม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง
ศกึ ษาการเรียนรูแบบนกั วทิ ยาศาสตร์ การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม การดารงพนั ธุ์ของ
สง่ิ มชี ีวิต และส่งิ มชี วี ิตบางชนิดที่สูญพนั ธุ์ ความสัมพันธข์ องส่งิ มชี วี ติ กบั สิ่งแวดล้อม ความสัมพันธข์ องสง่ิ มชี วี ติ
ที่อาศัยอยรู่ ว่ มกันในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ทรัพยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถิน่ และการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่าง
ค้มุ ค่า การเปลีย่ นแปลงทเี่ กดิ ข้นึ กบั วสั ดุ ประโยชนแ์ ละอันตรายทเ่ี กดิ ขนึ้ เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุท่ี
เปน็ ของเล่น ของใช้ การออกแบบและการประดิษฐ์ของเลน่ ของใชจ้ ากวัสดใุ นทอ้ งถ่ิน แรงมีผลต่อการ
เปลยี่ นแปลงและการเคลื่อนที่ของวตั ถุ แรงดึงดดู ของโลกท่ีทาใหว้ ัตถมุ นี า้ หนัก แหลง่ พลงั งานไฟฟา้ ตาม
ธรรมชาติ การใช้เคร่อื งใช้ไฟฟ้าอย่างถกู ต้องปลอดภยั และการประหยดั พลงั งานไฟฟา้ แหล่งน้าและประโยชน์
จากแหล่งนา้ ในท้องถิ่น สมบตั ิบางประการของน้า คุณภาพของน้า ความจาเปน็ ของนา้ ต่อสิ่งมชี ีวิตและการ
ประหยดั น้าในชวี ติ ประจาวนั อณุ หภูมขิ องอากาศในสถานท่ีและเวลาต่าง ๆ การเคล่อื นที่ของอากาศ โลก
หมุนรอบตวั เองทาให้เกิดปรากฏการณธ์ รรมชาติ การขึ้น ตกของดวงอาทติ ย์ การเกิดกลางวัน กลางคืน ดู
ดวงอาทิตยแ์ ลว้ กาหนดทิศต่าง ๆ ได้
ใชการสบื เสาะหาความรู สังเกต จาแนกประเภท รวบรวมขอมลู บนั ทกึ และอธบิ ายผลการสารวจ
ตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ มที กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข้นั พ้ืนฐานและมีทกั ษะ
การเรยี นรใู นศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเบื้องตน สามารถสื่อสารสง่ิ ที่
เรียนรู มคี วามคดิ สรางสรรค มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั
สามารถทางานรวมกบั ผูอ่ืน แสดงข้นั ตอนการแกปญหาอยางงาย เขยี นโปรแกรม
แบบมีเง่ือนไขโดยใชบตั รคาส่งั และตรวจหาขอผิดพลาด ใชงานซอฟตแวร สราง จดั หมวดหมูไฟลและโฟลเดอร
ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดารงชวี ติ ตระหนัก
ถึงความสาคญั ของการปกปองขอมูลสวนตัว ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ดูแลรกั ษาอุปกรณ
คอมพวิ เตอร มีจิตวิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมทเี่ หมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั
ว ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔, ป๓/๕
รวม ๒๕ ตวั ชว้ี ดั
หมำยเหตุ จานวน ๑๒๐ ชวั่ โมง หมายถึง สาระท่ี ๑-๓ ใชเวลา ๘๐ ช่วั โมง รวมกบั สาระท่ี ๔ ใชเวลา ๔๐ ชั่วโมง
หลกั สูตรสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานโรงเรยี นชมุ ชนวดั ราษฎร์นิยม (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ คาอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔
กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง
ศกึ ษาการเรยี นรูแบบนักวิทยาศาสตร การจาแนกส่ิงมีชวี ติ เปนกลุมพืช กลุมสัตว และกลุมท่ีไมใชพชื
และสตั ว การจาแนกพืชออกเปนพชื ดอกและพืชไมมดี อก การจาแนกสตั วออกเปนสตั วมีกระดกู สนั หลงั และ
สัตวไมมกี ระดกู สนั หลงั ลกั ษณะเฉพาะของสตั วมีกระดกู สนั หลังในกลุมปลากลุมสตั วสะเทินน้าสะเทนิ บก
กลุมสตั วเลอ้ื ยคลาน กลุมนก และกลุมสัตวเลยี้ งลูกดวยน้านม หนาที่ของราก ลาตน ใบและดอกของพืชดอก
สมบัติทางกายภาพ ดานความแข็ง สภาพยืดหยุน การนาความรอนและการนาไฟฟาของวัสดุ การนาสมบตั ิทาง
กายภาพของวสั ดไุ ปใชในชีวิตประจาวนั สมบตั ิของสสารทัง้ ๓ สถานะ ผลของแรงโนมถวงทม่ี ีตอวตั ถกุ ารวดั
นา้ หนักของวัตถุ มวลของวัตถุทีม่ ีผลตอการเปลี่ยนแปลงการเคลอื่ นท่ีของวัตถุ และตัวกลางของแสง การข้ึน
และตกและรูปรางดวงจันทรและองคประกอบของระบบสรุ ยิ ะ การใชเหตผุ ลเชิงตรรกะในการแกปญหา การ
ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยางงาย การตรวจหาขอผิดพลาดในโปรแกรม การคนหาขอมูลในอนิ เทอรเน็ต
และการใชคาคน การประเมนิ ความนาเชอื่ ถือของขอมูล การรวบรวม นาเสนอขอมูลและสารสนเทศ
ใชการสืบเสาะหาความรู ตั้งคาถาม คาดคะเนคาตอบหรือสรางสมมติฐาน วางแผนและสารวจ
ตรวจสอบโดยใชเคร่อื งมอื อุปกรณและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินความนาเชอื่ ถอื ของขอมลู
รวมรวมขอมลู ประมวลผลอยางงาย วิเคราะหขอมลู วิเคราะหผลและสรางทางเลอื กนาเสนอขอมลู ลงความ
คดิ เห็นและสรปุ ผลการสารวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
และมีทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบอ้ื งตน มี
ความคดิ สรางสรรค สามารถทางานรวมกับผูอื่น ใชเหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกปญหา และอธบิ ายการทางาน
หรอื คาดการผลลพั ธจากปญหาอยางงาย ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ตรวจหาขอผิดพลาดจากโปรแกรมของ
ตนเองและผูอื่น
ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรในการดารงชีวิต สามารถสอ่ื สารอยางมมี ารยาทและรูกาลเทศะ รูจักการปกปองขอมูล
สวนตัว มีจติ วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔, ป. ๔/๕
รวม ๒๑ ตัวช้ีวดั
หมายเหตุ จานวน ๑๒๐ ช่ัวโมง หมายถงึ สาระท่ี ๑-๓ ใชเวลา ๘๐ ชั่วโมง รวมกับสาระที่ ๔ ใชเวลา ๔๐ ชวั่ โมง
หลักสตู รสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานโรงเรียนชมุ ชนวัดราษฎร์นยิ ม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง
ศึกษาการเรียนรูแบบนกั วทิ ยาศาสตร โครงสรางและลักษณะของสง่ิ มชี วี ิตที่เหมาะสมในแตละ
แหลงท่อี ยู ความสัมพนั ธระหวางสง่ิ มชี ีวติ กบั สงิ่ มีชีวิตและความสัมพันธระหวางส่งิ มชี วี ิตกับสง่ิ ไมมชี ีวิต
การถายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของพืช สตั ว และมนุษยการเปลีย่ นสถานะของสสาร การละลายของสาร
ในนา้ การเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทผ่ี นั กลบั ไดและผนั กลบั ไมได แรงลัพธ แรงเสียดทาน
การไดยนิ เสียงผานตวั กลาง ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่า เสียงดัง และเสียงคอย ระดับเสียงและมลพิษ
ทางเสยี ง ความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษ การใชแผนทีด่ าว แบบรปู เสนทางการขึน้ และตก
ของกลุมดาวฤกษบนทองฟาในรอบปปรมิ าณนา้ ในแตละแหลง ปรมิ าณน้าท่มี นุษยสามารถนามาใชได้ การใช
นา้ อยางประหยัดและการอนรุ กั ษน้า วฏั จักรนา้ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก นา้ คาง และน้าคางแขง็
กระบวนการเกดิ ฝน หิมะ และลกู เหบ็ การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา การเขยี นรหสั ลาลองเพื่อแสดง
วิธีแกปญหา การออกแบบ และการเขียนโปรแกรมแบบมเี งือ่ นไขและการทางานแบบวนซา้ การใชซอฟตแวร
ประมวลผลขอมูล การติดตอสือ่ สารผานอนิ เทอรเนต็ การใชอินเทอรเนต็ คนหาขอมลู และการประเมนิ
ความนาเชอื่ ถอื ของขอมูล อันตรายจากการใชงานและอาชญากรรมทางอนิ เทอรเนต็
ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอมลู จัดกระทาและส่ือความหมายขอมลู สรางแบบจาลอง
และอธบิ ายผลการสารวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ขนั้ พน้ื ฐานและทักษะการเรียนรใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเบ้อื งตน
สามารถสอ่ื สารสิ่งท่ีเรียนรู มคี วามคดิ สรางสรรค สามารถทางานรวมกบั ผูอ่ืน แสดงวิธีแกปญหาโดยใชเหตุผล
เชิงตรรกะ ใชรหสั ลาลองแสดงวธิ กี ารแกปญหาอยางเปนขัน้ ตอน ตรวจหาขอผดิ พลาดของโปรแกรม ใชซอฟต
แวรชวยในการแกปญหา ใชอินเทอรเนต็ ติดตอสื่อสารและคนหาขอมูล แยกแยะขอเทจ็ จรงิ กับขอคิดเหน็
ประเมินความนาเช่ือถอื ของขอมูล
ตระหนกั ถึงคุณคาของความรูทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรในการดารงชวี ติ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีมารยาท มจี ิตวิทยาศาสตร
จริยธรรม คณุ ธรรม และคานยิ มท่เี หมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด
ว ๑.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔
ว ๑.๓ ป๕/๑, ป๕/๒
ว ๒.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔
ว ๒.๒ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕
ว ๒.๓ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔
ว ๓.๑ ป๕/๑, ป๕/๒
ว ๓.๒ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕
ว ๔.๒ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕
รวม ๓๑ ตวั ชี้วดั
หมายเหตุ จานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง หมายถงึ สาระที่ ๑-๓ ใชเวลา ๘๐ ช่ัวโมง รวมกบั สาระท่ี ๔ ใชเวลา ๔๐ ชวั่ โมง
หลกั สูตรสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานโรงเรียนชมุ ชนวัดราษฎรน์ ยิ ม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง
ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร การเจรญิ เตบิ โตของมนุษย์ ระบบอวัยวะในระบบร่างกาย
มนษุ ย์ เก่ยี วขอ้ งกับการยอ่ ยอาหาร การหายใจ และการหมนุ เวียนเลือด สารอาหาร และการรับประทาน
อาหารทไ่ี ด้สัดสว่ น ทีเ่ หมาะสมกบั เพศและวัย ความสัมพันธข์ องกลุ่มสงิ่ มชี ีวิตในแหล่งทอ่ี ยตู่ ่าง ๆ โซอ่ าหาร
สายใยอาหาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการดารงชวี ติ ของส่ิงมชี ีวิตกบั สงิ่ มีชวี ติ ในรปู ของโซ่อาหารและสายใย
อาหาร ความสัมพันธ์ระหว่างการดารงชีวิตของสิ่งมชี วี ิตกับสภาพแวดล้อมในท้องถ่ิน การดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถ่ิน สารในชีวิตประจาวนั สมบัตขิ องสารในสถานะตา่ ง ๆ การแยกสารด้วยวธิ ีต่าง
ๆ สารท่ีใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวัน การเปลี่ยนแปลงของสารทมี่ ีผลตอ่ ส่งิ มีชวี ติ และส่ิงแวดล้อม
วงจรไฟฟ้ากบั การใชป้ ระโยชน์ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย สมบตั ขิ องตวั นาและฉนวนไฟฟา้ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และการ
ใช้ประโยชน์ ประเภทของหนิ การเปลี่ยนแปลงของหิน ปรากฏการณข์ องโลกและเทคโนโลยีอวกาศ ข้างข้ึน
ข้างแรม ฤดกู าล สรุ ยิ ปุ ราคาและจนั ทรุปราคา ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีอวกาศ ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะใน
การอธบิ ายและออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา การออกแบบและการเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย
ใชการสืบเสาะหาความรู สงั เกต รวบรวมขอมูล จัดกระทาและส่ือความหมายขอมูล สรางแบบจาลอง
และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกดิ ความรูความเขาใจ มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ข้นั พน้ื ฐานและทกั ษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเบ้ืองตน
สามารถสอ่ื สารสิง่ ที่เรยี นรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทางานรวมกบั ผูอน่ื แสดงวิธีแกปญหาโดยใชเหตุผล
เชิงตรรกะ ใชรหสั ลาลองแสดงวธิ ีการแกปญหาอยางเปนขนั้ ตอน ตรวจหาขอผดิ พลาดของโปรแกรมและแก้ไข
ใชซอฟตแวรชวยในการแกปญหา ใชอินเทอรเนต็ ตดิ ตอสอื่ สารและคนหาขอมูลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ แยกแยะ
ขอเท็จจริงกับขอคดิ เหน็ ประเมินความนาเช่อื ถอื ของขอมูล
ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตรในการดารงชวี ติ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภยั และมมี ารยาท เข้าใจสทิ ธิและหน้าที่
ของตน เคารพในสิทธขิ องผอู้ ่นื แจง้ ผู้เกีย่ วขอ้ งเมอ่ื พบข้อมูลหรือบุคคลที่ไมเ่ หมาะสม มีจิตวทิ ยาศาสตร
จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมท่เี หมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป’๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๓๐ ตวั ชี้วัด
หมายเหตุ จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง หมายถงึ สาระที่ ๑-๓ ใชเวลา ๘๐ ชั่วโมง รวมกับสาระที่ ๔ ใชเวลา ๔๐ ชั่วโมง
หลักสูตรสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐานโรงเรียนชุมชนวัดราษฎรน์ ยิ ม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
รายวชิ าพืน้ ฐานและเพม่ิ เตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ระดับประถมศึกษา
รายวิชาพ้ืนฐาน จานวน ๘๐ ชั่วโมง
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา จานวน ๘๐ ชวั่ โมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศกึ ษา จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๕๑๐๑ สังคมศกึ ษา จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษา
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
สาระเพม่ิ เติม จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๑๒๓๑ หน้าทีพ่ ลเมือง จานวน ๔๐ ชั่วโมง
จานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๒๑๒๓๒ หนา้ ท่พี ลเมือง
ส ๑๓๒๓๓ หนา้ ที่พลเมือง
ส ๑๔๒๓๔ หน้าทีพ่ ลเมอื ง
ส ๑๕๒๓๕ หนา้ ทพ่ี ลเมือง
ส ๑๖๒๓๖ หน้าทพี่ ลเมือง
หลักสตู รสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานโรงเรยี นชมุ ชนวดั ราษฎร์นิยม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
ศกึ ษา เกีย่ วกับประวตั คิ วามเป็นมา ความสาคัญ ศาสนา หลกั ธรรมของพุทธศาสนา พทุ ธประวตั ิ
พระรตั นตรัย พุทธศาสนาสภุ าษิต วันสาคญั ประวัติสาวก ชาดก ฝกึ สวดมนต์ แผเ่ มตตา การปฏิบตั ติ นเปน็
ของศาสนกิ ชนและศาสนาอืน่ บุคคลตวั อยา่ งในท้องถนิ่ ประเทศ ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ธรรม เพอื่ อยู่ร่วมกนั อยา่ ง
สันตสิ ุขปฏิบัตติ น เป็นสมาชกิ ทีด่ ขี องครอบครัว ยกตวั อย่างความดขี องตนเองและผู้อน่ื โครงสร้างบทบาท
หนา้ ทขี่ องสมาชกิ มีสว่ นร่วมในการตดั สินใจ
ศึกษา สารวจ เปรยี บเทยี บ สินคา้ และบรกิ ารที่ใชอ้ ยู่ในชีวิตประจาวนั เช่น ดินสอ สมุด กระดาษ
เส้อื ผา้ การไดม้ าโดยใชเ้ งนิ ซือ้ หรือได้มาโดยการบริจาค หรือไดม้ าโดยการแลกเปลย่ี นส้นิ ค้าหรือบรกิ าร การ
ใชป้ ระโยชน์จากสนิ ค้าและบรกิ ารให้คุ้มค่า มกี ารวางแผนการใชเ้ งนิ การประหยดั เก็บออม การทางานอยา่ ง
สจุ รติ เพ่อื ให้ครอบครัวและสงั คมอย่ไู ดอ้ ย่างเป็นสุข
ศึกษา สารวจ สิง่ ตา่ ง ๆ ที่เกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ และท่มี นุษย์สรา้ งขึ้น ระบุความสมั พันธ์
ตาแหนง่ ระยะทิศทางของทต่ี ัง้ แผนผังสงิ่ ต่าง ๆ ทอ่ี ย่รู อบตัวในห้องเรียน สงั เกตการณ์เปลย่ี นแปลงสภาพ
อากาศ บอกสง่ิ ที่เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติทส่ี ง่ ผลตอ่ มนุษย์ เปรยี บเทยี บความเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดล้อม
ที่อยรู่ อบตัว ท่ีอยู่อาศัย อาหาร เคร่อื งแตง่ กาย และมสี ่วนร่วมในการจัดระเบียบสางแวดล้อมท่ีบ้านและชนั้
เรียน
โดยใชก้ ระบวนการสบื ค้น กระบวนการขดั เกลาทางสงั คม กระบวนการทางจรยิ ธรรม
กระบวนการพฒั นาค่านิยม กระบวนการประชาธปิ ไตย กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการคดิ วิเคราะห์
กระบวนการทางภูมศิ าสตร์
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความความเข้าใจ ความคิด และปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมอื งดี นาหลกั ธรรมทางศาสนา
และหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงประยุกตใ์ ชใ้ นการ ดารงชีวติ อยใู่ นสงั คมร่วมกนั อยา่ งสันติสุข เคารพใน
สิทธขิ องความเปน็ มนษุ ย์ เหน็ คณุ ค่า ชื่นชม วัฒนธรรมประเพณไี ทย อนุรกั ษ์ สืบสานภูมปิ ัญญาไทย ภูมิ
ปัญญาทอ้ งถิน่
มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั
ส ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ส ๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
รวม ๒๔ ตวั ชี้วัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานโรงเรยี นชุมชนวดั ราษฎรน์ ิยม (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลักสตู รแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ชวั่ โมง
ศึกษา ความสาคัญของช่วงเวลาตามปฏิทินและเหตุการณ์ท่เี กดิ ข้นึ ความสมั พนั ธ์และความสาคัญของ
อดีตทม่ี ีตอ่ อนาคตตามยุคสมัย ประวตั ิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ศกึ ษาเรือ่ งราวของ
ประวตั ศิ าสตร์ ไทยทีม่ ีอยู่ในท้องถ่นิ ความหมายความสาคญั ของชาตไิ ทย ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และแหลง่
เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ในทอ้ งถนิ่ ของตน
โดยใชก้ ระบวนการสืบคน้ กระบวนการขดั เกลาทางสังคม กระบวนการทางจรยิ ธรรม
กระบวนการพฒั นาค่านิยม กระบวนการประชาธปิ ไตย กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิดวเิ คราะห์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความความเข้าใจ ความคิด ภาคภูมใิ จในความเป็นไทย เหน็ คุณคา่ ชน่ื ชม
วฒั นธรรมประเพณไี ทย อนุรกั ษ์ สืบสานภูมปิ ญั ญาไทย ภูมิปญั ญาท้องถิ่น
มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด
ส ๔.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓
ส ๔.๒ ป.๑/๑,ป.๑/๒
ส ๔.๓ ป.๑/,ป.๑/๒,ป.๑/๓
รวม ๘ ตัวชว้ี ัด
หลกั สตู รสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานโรงเรยี นชมุ ชนวัดราษฎร์นิยม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐
ส๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
ศึกษา ประวตั แิ ละความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา พทุ ธประวัติ ประสูติ ประวตั พิ ุทธสาวก พุทธ
สาลกิ า และชาดก ศกึ ษาขอ้ มูลเดี่ยวกบั พระไตรปิฎก และหลักธรรมโอวาท ๓ พทุ ธศาสนสุภาษิตและ
บุคคลตวั อย่างในการทาความดี ฝึกปฏิบตั มิ ารยาทของชาวพุทธ การเข้ารว่ มกจิ กรรมเกย่ี วกับศาสนพธิ ี
พิธกี รรม วันสาคัญทางศาสนา เรือ่ งการบชู าพระรัตนตรยั ฝกึ บริหารจติ เพื่อให้การดาเนนิ ชีวิตของมนษุ ย์
การอยู่รว่ มกนั ในสังคม การปรบั ตัวตามสภาพแวดล้อม นาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบตั ิในการพัฒนาตนเองเป็น
พลเมอื งดมี ีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม เกดิ ความภาคภมู ใิ จในการกระทาความดีของ
ตนเองและผู้อ่ืน
ศกึ ษา สังเกต ความเป็นพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตยของตนเองและผูอ้ นื่ ในสังคมปัจจบุ ัน การ
ยอมรบั กฎกตกิ า กฎระเบียบ หน้าท่ีความแตกต่างและความหลากหลายทางด้านวฒั นธรรม คา่ นยิ ม ความ
เช่อื ปลกู ฝงั คา่ นยิ ม สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนนิ ชีวิตอย่างสันตสิ ขุ ในสงั คมไทย และการชว่ ยเหลือการเข้า
รว่ มกจิ กรรมของชมุ ชน
ศกึ ษา อภิปราย บรหิ ารจัดการทรพั ยากรอย่างมปี ระสิทธิภาพและคมุ้ คา่ ทงั้ ทีบ่ า้ นและโรงเรยี นให้
เกิดประโยชน์สงู สดุ รายรับจ่ายของตนเองการทางานทกี่ อ่ ให้เกิดรายได้ ในการผลิตการช้ือขายสินค้า
วเิ คราะห์อภิปรายและจาแนกขอ้ ดีขอ้ เสยี การใช้จ่ายการชอ้ื ขายแลกเปลี่ยน และการบรโิ ภคสนิ ค้าและการ
บรกิ าร อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ในการดาเนนิ ชีวติ อย่างมีดุลภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั
ศกึ ษาค้นคว้า อภิปราย สรปุ ส่ิงต่าง ๆท่เี ป็นธรรมชาติกับทีม่ นษุ ย์สร้างข้นึ ซงึ่ ปรากฏระหวา่ ง
โรงเรียนกบั บา้ น ลกั ษณะของโลกทางกายภาพ การใช้แผนที่ แผนผงั และภาพถา่ ย เช่นภูเขา ทีร่ าบ แม่นา้
ตน้ ไม้ อากาศ และทะเล ความสมั พันธข์ องปรากฏการณร์ ะหว่างโลก ดวงอาทติ ย์และดวงจนั ทร์
โดยใชก้ ระบวนการสืบค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการแก้ปัญหา วิธกี ารทาง
ประวตั ิศาสตร์ กระบวนการกล่มุ กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ กระบวนการประชาธปิ ไตย
เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ เปน็ พลเมืองดีของสังคม รูข้ า่ วเหตกุ ารณ์สาคญั ของชมุ ชน
ภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ อยู่รว่ มกนั ในสังคมอย่างเปน็ สุข
มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั
ส๑.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕,ป.๒/๖,ป.๒/๗
ส๑.๒ ป.๒/๑,ป.๒/๒
ส๒.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,
ส๒.๒ ป.๒/๒,ป.๒/๒
ส๓.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔
ส๓.๒ ป.๒/๑,ป.๒/๒
ส๕.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓
ส๕.๒ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๑๕
รวม ๒๙ ตวั ชวี้ ดั
หลักสตู รสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานโรงเรียนชมุ ชนวดั ราษฎรน์ ิยม (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สูตรแกนกลางพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐
ส๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษาศาสนาวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
ศึกษา สบื ค้น ช่วงเวลาในอดตี ปจั จบุ ัน และอนาคต วันสาคัญ เหตุการณ์สาคญั ในอดีตและ
ปัจจบุ ัน เหตกุ ารณ์ที่ผ่านมาทเ่ี กิดขึ้นกบั ตนเองและครอบครัว ชว่ งเวลาทเ่ี กิดการลาดบั เหตุการณท์ ีเ่ กิดขน้ึ โดย
ใช้หลักฐานทเ่ี ก่ยี วข้องหรอื การสอบถามผรู้ ู้ ศกึ ษาวิถีชีวิตของคนในชุมชนในเรือ่ งการประกอบอาชีพ การแต่ง
กาย การสอื่ สาร ประเพณีกบั การเปลี่ยนแปลงตง้ั แต่อดตี จนถงึ ปจั จุบัน ประเพณีวัฒนธรรมล้านนาสาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงวิถชี วี ิตของคนในชมุ ชน และผลกระทบของการเปลยี่ นแปลง
โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการแก้ปญั หา วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์
กระบวนการกลุม่
เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ ในชาติไทย เหตุการณ์สาคัญของชุมชน ภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย
อยู่รว่ มกนั ในสงั คมอย่างเป็นสุข
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ส ๔.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒
ส ๔.๒ ป.๒/๒,ป.๒/๒
ส ๔.๓ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓
รวม ๗ ตัวชวี้ ดั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานโรงเรียนชุมชนวัดราษฎรน์ ิยม (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ตามหลกั สตู รแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐