The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือพืชสมุนไพรบริเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nook_Athit, 2021-09-13 14:38:45

คู่มือพืชสมุนไพรบริเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง

คู่มือพืชสมุนไพรบริเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง

ค่มู ือพชื สมนุ ไพร

บรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติ



ค่มู ือพชื สมนุ ไพร

บรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติ



คํานาํ

คมู อื ศกึ ษาพืชสมุนไพรบริเวณเสนทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง เปนหนังสือ
คูมือท่ีใชสาํ หรับประกอบการศึกษาพืชสมนุ ไพรบริเวณหวั เขาแดง ซง่ึ มเี นือ้ หาเกยี่ ว
กับขอมูลเบื้องตนของหัวเขาแดง แผนท่ีเสนทางศึกษาพืชสมุนไพร ตาํ แหนงพืช
สมุนไพรพรอมปายชือ่ ขอมูลทางพฤกษศาสตรของพืชสมุนไพร และการใช
ประโยชนของพืชสมุนไพร ซึ่งไดจากการสมั ภาษณหมอพนื้ บานท่มี ปี ระสบการณใน
การใชพชื สมนุ ไพรรักษาโรค รวมท้งั ขอมลู งานวิจยั ตางๆ ทเ่ี ก่ียวกับพชื สมุนไพรดัง
กลาว

คณะผูวจิ ัยหวังเปนอยางยง่ิ วา คูมอื ศึกษาพืชสมุนไพรบริเวณเสนทางศกึ ษา
ธรรมชาติหัวเขาแดงเลมน้ี สามารถใหความรแู กผูทีส่ นใจ ทาํ ใหรูจักพชื สมนุ ไพร
รวมไปถงึ คณุ คาและการใชประโยชนของพชื สมนุ ไพรเพิม่ มากยงิ่ ขึน้

คณะผวู ิจัย

3คมู่ ือพืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง



สารบัญ

คํานาํ หนา
มารจู ัก...หัวเขาแดงกันเถอะ
พืชสมนุ ไพร...คืออะไรกนั นะ? 3
วิธีการดําเนินงาน 7
ผลการศกึ ษา 9
คําศัพทเฉพาะ 13
แผนที่เสนทางศกึ ษาพชื สมุนไพร 15
ชนดิ พืชสมนุ ไพรตามเสนทางศกึ ษาธรรมชาติ 17
บัญชรี ายชือ่ ชนิดพืชสมนุ ไพร (Species List) 20
ผูเกบ็ ขอมูล 22
ผูใหขอมูล 118
ที่ปรกึ ษาโครงงานนกั ศกึ ษา 129
เอกสารอางองิ 130
133
134

5ค่มู อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง

6 ค่มู ือพชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง

มารู้จัก...หวั เขาแดงกันเถอะ

"หวั เขาแดง" มลี ักษณะภูมศิ าสตรเปนภูเขา ตงั้ อยบู ริเวณตําบลหัวเขา อําเภอ
สิงหนคร จังหวดั สงขลา ทิศเหนอื ตดิ กับตาํ บลสทิงหมอ ทิศใตติดกบั ทะเลสาบ
สงขลา ทศิ ตะวนั ออกติดกับทะเลสาบสงขลาและอาวไทย ทศิ ตะวนั ตกตดิ กับ
ทะเลสาบสงขลา (ไทยตําบล ดอท คอม, 2558) เปนภเู ขาที่ปรากฏปอมปราการ
อยหู ลายแหง มที ั้งบนยอดเขา และพนื้ ท่ีโดยรอบ บนยอดเขาแดงเปนทตี่ ้ังของ
เจดียโบราณ คอื "เจดียสองพี่นอง" องคแรกเปนเจดยี องคพี่ ลกั ษณะเปนเจดียยอ
มุมไมสบิ สอง กอดวยหนิ ฉาบปูน ยอดมสี ีดาํ เรยี ก “เจดียองคดาํ ” สรางเม่อื พ.ศ.
2375 - 2376 โดยเจาพระยาพระคลัง (ดศิ บุนนาค) หรอื สมเดจ็ เจาพระยาบรม
มหาประยรู วงศ สวนเจดียองคที่สองเปนเจดียองคนอง ลกั ษณะเปนเจดยี ยอมุมไม
สิบสอง ต้ังบนฐานส่เี หลย่ี ม องคเจดียกอดวยอิฐฉาบปูน มสี ขี าว เรียก “เจดียองค
ขาว” สรางขึน้ ระหวาง พ.ศ.2382 - 2484 โดยพระยาศรพี ิพัฒนรัตนราชโกษา
(ทัด บุนนาค) หรอื สมเด็จเจาพระยามหาพิชยั ญาติ (เรยี บเรยี งมาจาก เจดียองคดํา
และองคขาว อนุสรณแหงชยั ชนะ ณ เมืองสงขลา, 2560) ปจจบุ ันมีนกั ทองเทยี่ ว
เดินทางมาศกึ ษาเรอ่ื งราวประวตั ศิ าสตรจากสถานทดี่ งั กลาวเปนจํานวนมาก และ
ไดมกี ารจัดทาํ เสนทางเดนิ ธรรมชาตเิ พือ่ เดนิ ขน้ึ ไปยังเจดยี สองพน่ี อง มีระยะทาง
ประมาณ 1,000 เมตร สองขางทางเต็มไปดวยพรรณไมชนดิ ตางๆ ทม่ี ีความหลาก
หลายอยูตลอดเสนทาง (กมิ หยงพาเท่ยี ว, 2558) จากการสอบถามหมอพืน้ บาน
พบวา พื้นท่ีดงั กลาวนีเ้ ปนแหลงพืชสมุนไพรสําคญั ท่ีหมอพ้ืนบานและคนในชุมชน
ไดมีการเก็บเกีย่ วไปใชประกอบตํารบั ยารักษาโรคตางๆ ดงั นนั้ จงึ เปนพื้นทน่ี าสนใจ
ในการศกึ ษาความหลากหลายของพืชสมนุ ไพร เพอ่ื เปนฐานขอมลู ใหกบั ชมุ ชนและ
จัดทาํ คูมือสําหรับใหผทู ่สี นใจไดศกึ ษาพชื สมนุ ไพรในทองถิ่น เพื่อกระตนุ ใหเกดิ
การตระหนักถึงคณุ คาของพืชสมุนไพรและชวยกนั รกั ษาใหอยคู ูชุมชนตอไป

7คมู่ อื พชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง



พชื สมนุ ไพร...คอื อะไรกนั นะ?

สมนุ ไพร VS พชื สมุนไพรตางกนั อยางไร
“สมุนไพร” หมายถึง ผลิตผลธรรมชาตทิ ี่ไดจากพืช สตั ว จลุ ชีพ หรือแร ท่ใี ช

ผสมปรุง หรือแปรสภาพเปนผลิตภณั ฑสมนุ ไพร (พระราชบัญญตั ยิ า พ.ศ. 2522)
“พชื สมุนไพร” หมายถึง พชื ท่ีใชทาํ เปนเครอื่ งยา กําเนิดมาจากธรรมชาติ และ

มคี วามหมายตอชีวิตมนษุ ยโดยเฉพาะในทางสุขภาพ อนั หมายถึง ทง้ั การสง
เสรมิ สขุ ภาพและการรกั ษาโรค (พจนานกุ รมราชบัณฑติ ยสถาน, 2538)

สวนการนําสมุนไพรมาผสม ปรุง หรือแปรสภาพ มุงหมายสาํ หรับใชตาม
ศาสตรองคความรูการแพทยแผนไทยหรือยาทรี่ ฐั มนตรปี ระกาศกําหนดน้ัน เรา
เรียกวา ยาแผนไทย (พระราชบัญญตั ิยา พ.ศ. 2522)

สาํ หรับการนําสมุนไพรชนิดตางๆ มาใชเปนยารักษาโรคน้ัน ตามคัมภีร
แพทยแผนไทยไดบันทึกไววาการกาํ หนดสรรพคุณสมุนไพรนั้น เปนไปตามรสยา
ซึง่ รสยาแบงไดเปน 2 กลมุ คอื รสยาเดย่ี ว มีดวยกัน 10 รส (ขุนนิทเทศสุขกจิ ,
2516) และยารสประธาน มี 3 รส คือ รสรอน รสเยน็ และรสสขุ ุม สําหรับรสยา
10 รส มีสรรพคุณพอสังเขป ดังนี้
1. รสฝาด สรรพคุณ ชวยรกั ษาบาดแผลตางๆ แกทองรวง
2. รสหวาน สรรพคุณ ซมึ ซาบไปตามเนอ้ื บํารงุ รางกาย
3. รสเมาเบือ่ สรรพคณุ แกพิษตางๆ รักษากลมุ โรคเร้ือรัง โรคผวิ หนงั
4. รสขม สรรพคุณ แกทางดีและโลหติ ลดไข
5. รสเผด็ รอน สรรพคณุ ชวยขบั ลม กระจายลม
6. รสมนั สรรพคุณ บาํ รงุ เสนเอน็
7. รสหอมเย็น สรรพคณุ บาํ รงุ หัวใจ ตบั ปอด
8. รสเคม็ สรรพคณุ ซมึ ซาบไปตามผวิ หนงั รกั ษาโรคผวิ หนงั ขบั เถาดานในทอง
9. รสเปรยี้ ว สรรพคณุ กดั เสมหะ
10. รสจดื สรรพคณุ แกในทางเตโช ขับปสสาวะ ดบั พษิ รอน ลดไข

9คู่มือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง

แนวโนมการใชยาสมุนไพรในประเทศไทย
ปจจุบันมคี นไทยปวยดวยโรคไมตดิ ตอเรอื้ รงั อาทิ มะเรง็ เบาหวาน ความ

ดนั โลหติ สูง หัวใจหลอดเลือด โรคระบบทางเดนิ หายใจ โรคทางสมอง โรคซึมเศรา
กันมากข้นึ โดยกลมุ โรคเหลาน้ีเปนสาเหตกุ ารเสียชวี ติ ของประชากรโลก 70%
องคการอนามัยโลกคาดการณวาในป พ.ศ. 2593 จะมปี ระชากรคร่งึ โลก คือกวา
4,650 ลานคน ปวยดวยโรคไมตดิ ตอเรื้อรงั อยางนอยคนละ 1 โรค กอใหเกิด
ความสญู เสียทางเศรษฐกิจจากคาใชจายดานสุขภาพที่สงู ข้ึน ทัง้ ระดับประเทศและ
ระดับโลก (สารรงั สิตออนไลน, 2562) การใชยาสมนุ ไพรนบั เปนทางเลือกหน่งึ ของ
การใชภูมิปญญาทองถิ่นในการดูแลสุขภาพของประชาชน เพราะยาสมุนไพรเปน
ยาทีม่ ผี ลขางเคียงนอย และสามารถหาไดในประเทศหรือในทองถ่นิ ทําใหไมตอง
เสยี คาใชจายในการนําเขายาหรือวัตถดุ บิ จากตางประเทศ สมุนไพรเปนส่งิ ใกลตัวท่ี
ใชเปนยารกั ษาโรคมาชานาน เปนยารกั ษาโรคท่มี คี วามสาํ คัญตอมนษุ ย ใน
ประเทศอุตสาหกรรม 25% ของยาตามใบสงั่ เปนผลิตภณั ฑยาจากพืช และ
ประชากรโลกไมนอยกวา 75% ใชสมุนไพรในการดแู ลสุขภาพเบ้ืองตน (เพ็ญธิดา
ทพิ ยโยธา, 2548) ปจจุบนั ประเทศไทย รฐั ไดมีนโยบายใหประเทศพง่ึ พาตนเองใน
ดานสาธารณสุข โดยมโี ครงการฟนฟูพัฒนาการใชสมนุ ไพร (มาลี บรรจบ และ
ดรณุ เพช็ รพลาย, 2538) แผนแมบทแหงชาติ วาดวยการพฒั นาสมุนไพร ฉบับท่ี 1
พ.ศ. 2560 - 2564 ในยุทธศาสตรสงเสริมการใชสมนุ ไพรเพ่อื การรกั ษาโรคและ
สรางเสรมิ สุขภาพกาํ หนดใหสงเสริมการใชตาํ รับยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแหง
ชาติ ในสถานบริการสาธารณสุขเพอื่ ทดแทนยาแผนปจจุบัน ทําใหลดคานาํ เขายา
จากตางประเทศจาํ นวน 2,600 ลานบาทตอป และกระทรวงสาธารณสุขไดมีการ
จัดทาํ ยุทธศาสตรการพฒั นาเมืองสมุนไพร เพือ่ รองรบั การขบั เคลือ่ นสมนุ ไพรไทย
อยางย่งั ยืนท่เี นนสงเสรมิ การใชยาสมนุ ไพรไทยในระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ซึง่ การใช
ยาสมนุ ไพรในสถานบริการสาธารณะสขุ ตองเพิม่ ขน้ึ เฉลีย่ รอยละ 10 ตอป และ
เพ่มิ ยาสมนุ ไพรในบญั ชยี าหลักแหงชาตติ องไมนอยกวาปละ 10 รายการ (กรม
พฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ , 2559)
10 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง

ปจจุบันคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ ไดระบุวายาจากสมุนไพรท่ีบรรจุ
ในบัญชียาหลักฯ มีจาํ นวน 74 รายการ และโรงพยาบาลในประเทศไดมีการใช
ยาสมุนไพรทดแทนยาแผนปจจุบันจาํ นวนมากข้ึนทุกป จนทาํ ใหมีรายการยา
ทดแทนจํานวน 31 รายการ (กองพัฒนาศักยภาพผูบริโภคสาํ นักงานคณะ
กรรมการอาหารและยา, 2563)

จากนโยบายดังกลาวจะเห็นไดวามุงเนนการใชยาในสถานพยาบาลของรัฐ
ยังขาดการประชาสัมพันธและการเผยแพรความรูเรื่องสมุนไพรใหกับคนในแตละ
ชุมชน ซึ่งเปนเร่ืองสาํ คัญท่ีจะชวยกระตุนใหประชาชนสนใจการใชพืชสมุนไพรใน
ทองถ่ินเพื่อรักษาโรคเบ้ืองตนได ดังน้ันการศึกษาพืชสมุนไพรบริเวณหัวเขาแดง
ซึ่งเปนพ้ืนที่ที่มีความหลากหลายของสมุนไพร และเปนพื้นท่ีที่มีนักทองเที่ยว รวม
ทั้งคนในชุมชนเดินทางมาชมธรรมชาติที่มีความสวยงาม รวมถึงเปนแหลงประวัติ
ศาสตรท่ีนาสนใจของจังหวัดสงขลา ประกอบกับพ้ืนท่ีดังกลาวน้ีมีเสนทางเดิน
ธรรมชาติซึ่งไดจัดทาํ ไวแลว หากมีการจัดทําคูมือศึกษาพืชสมุนไพร พรอมทั้งจัด
ทําปายชื่อพืชสมุนไพร จะเปนประโยชนตอชุมชนและผูที่สนใจอยางยิ่ง

11คมู่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง



วธิ ีการดําเนนิ งาน

การศึกษาความหลากหลายและการใชประโยชนของพชื สมนุ ไพรในพืน้ ที่หวั
เขาแดง อาํ เภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เปนการสาํ รวจพืชสมนุ ไพรบรเิ วณเสนทาง
ศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง มีความยาวประมาณ 1,000 เมตร ดาํ เนนิ การระหวาง
เดอื นตุลาคม 2563 ถึงเดือนมนี าคม 2564 โดยสมั ภาษณการใชประโยชนจาก
หมอพืน้ บาน จาํ นวน 3 ทาน ที่มีความชาํ นาญดานพืชสมนุ ไพรมามากกวา 10 ป
และอาศัยอยใู นพน้ื ที่อาํ เภอสิงหนคร และพื้นที่ใกลเคียง ไดแก พท.ประยุทธ บุญ
ยัง นายศภุ วทั น นลิ สุวรรณ และ อ. พท.สมพร ชาญวณชิ ยสกุล เก็บตัวอยางพืช
สมนุ ไพรเพื่อจดั ทาํ เปนตวั อยางแหง สําหรับอางองิ พรอมท้งั ตรวจสอบชอื่
วิทยาศาสตรของพชื โดยอาศยั รปู วิธานและหนงั สอื ตางๆทเ่ี กย่ี วของ จัดทาํ คํา
บรรยายลกั ษณะทางพฤกษศาสตรของพืชสมุนไพร พรอมทงั้ คดั เลอื กพชื เพือ่ จัดทาํ
คมู ือ และปายชือ่ พืชสมุนไพร โดยปายชือ่ ประกอบดวยช่ือพ้นื เมอื ง ชอื่
วทิ ยาศาสตร สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคณุ ของพชื สมนุ ไพร จากนน้ั จงึ จดั ทาํ เปน
คูมือ โดยสงมอบใหกบั สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา และกรมศลิ ปากร
สาํ นักศิลปากรท่ี 11 จงั หวัดสงขลา เพื่อใชประโยชนตอไป

13คูม่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง



ผลการศกึ ษา

การศกึ ษาความหลากหลายและการใชประโยชนของพชื สมุนไพรในพนื้ ท่เี สน
ทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง อําเภอสงิ หนคร จงั หวัดสงขลา ซึง่ มคี วามยาว
ประมาณ 1,000 เมตร ดําเนินการระหวางเดอื นตลุ าคม 2563 ถงึ เดอื นมนี าคม
2564 โดยการสมั ภาษณแบบกงึ่ มีโครงสรางกบั หมอพ้นื บานจาํ นวน 3 ทาน ถงึ
ชนดิ พืชท่ีใช ชอ่ื พืน้ ทองถน่ิ สวนท่ีใช วธิ กี ารใช จากการศกึ ษาสามารถรวบรวมพชื
สมุนไพรไดทั้งสนิ้ 70 ชนิด 62 สกุล และ 43 วงศ วงศพชื ท่ีพบชนิดพชื สมนุ ไพร
มากท่สี ุด คือ MELASTOMATACEAE มีจํานวน 5 ชนดิ รองลงมาคอื วงศ
APOCYNACEAE และ RUBIACEAE จาํ นวนวงศละ 4 ชนิด และวงศ
ANNONACEAE, FABACEAE และ MORACEAE จํานวนวงศละ 3 ชนิด โดยพืชท่ี
นาํ มาใชจัดเปนไมตนมากท่ีสุด สวนทน่ี ิยมนาํ มาใชคือสวนใบ และนิยมเตรียมยา
โดยการตมเพอื่ นาํ มาด่มื พืชสมุนไพรท่ีสาํ รวจไดสามารถแบงตามกลมุ โรค/ อาการ
ออกเปน 20 กลุม พบพืชสมนุ ไพรท่ีใชรักษาโรคไขตางๆ มากที่สดุ อยางไรกต็ าม
ยงั พบพชื สมุนไพรท่ไี มมีขอมูลงานวจิ ยั ฤทธท์ิ างเภสัชวิทยาอีก จํานวน 12 ชนิด ใน
จาํ นวนนี้มี 7 ชนิด ทมี่ กี ารใชประโยชนจากหมอพื้นบาน ทั้ง 3 ทาน ซงึ่ พืชกลมุ น้ี
เปนกลุมทีน่ าสนใจทาํ ไปศกึ ษาฤทธิ์ทางเภสชั วิทยาตอไป เนื่องจากมีการใชท่ีสอด
คลองกันของหมอพื้นบานทั้ง 3 ทาน อาจมีโอกาสพบฤทธิ์ทางเภสชั วิทยาที่นา
สนใจ

และคดั เลือกพชื เพอ่ื จัดทําจดั ทาํ คมู ือพรอมปายช่อื บริเวณเสนทางเดินศึกษา
ธรรมชาติ โดยมเี กณฑการคัดเลอื กคอื

- ตําแหนงหางจากทางเดินไมเกิน 2 เมตร (อยูในระดบั สายตา)
- เปนไมตน ไมพมุ ที่โตเต็มที่ ไมเถาทมี่ ีขนาดใหญ และพืชลมลุกอายุหลายป ซ่ึง
อยรู วมกลมุ ขนาดท่มี องเห็นไดงายหรือคาดวาจะไมสญู หายไปตามฤดูกาล
- ตลอดทางเดินหากมีพชื ทีซ่ า้ํ กนั จะติดปายชอ่ื หางกนั ประมาณ 200 เมตร
หรอื ตามความเหมาะสม เพือ่ ทบทวนขอมลู ใหกบั ผศู ึกษา

15ค่มู ือพชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง

จากเกณฑดังกลาว คัดเลอื กพืชสมนุ ไพรไดจาํ นวน 47 ชนดิ 40 สกุล และ 33 วงศ
บริเวณเสนทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง แมจะมีพ้นื ท่ีขนาดเล็ก แตจากการสํารวจ

พบพืชสมุนไพรที่มคี วามหลากหลาย พชื เดนท่สี ามารถพบเจอไดตลอดเสนทาง ไดแก
เข็มแดง (Ixora javanica (Blume) DC.) ตีนนก (Vitex pinnata L.) ฝาดเขา
(Metadina trichotoma (Zoll. & Moritzi) Bakh. f.) พลองเหมือด (Memecylon
edule Roxb.) พาหมี (Linostoma pauciflorum Griff.) ยอปา (Morinda citrifolia
L.) สกั เขา (Vatica harmandiana Pierre) และเสม็ดแดง (Syzygium antisepticum
(Blume) Merr. & L. M. Perry) พบพชื ชนดิ เดยี วกบั ที่มีระบอุ ยูในตาํ ราแพทยแผน
โบราณ สาขาเภสชั กรรม จํานวน 34 ชนดิ นอกจากนี้พบพชื ทยี่ งั ไมมีรายงานการศกึ ษา
ฤทธิ์ดานตางๆ เชน กระเบากลัก (Hydnocarpus ilicifolius King) ขหี้ นอน
(Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites) เถาถอบแถบ (Spatholobus
harmandii Gagnep.) ไทรเลียบ (Ficus subpisocarpa Gagnep. subsp.
pubipoda C. C. Berg.) พลองขีค้ วาย (Memecylon caeruleum Jack) และพลอง
อินทร (Memecylon ovatum Sm.) เปนตน ซึ่งพชื กลมุ น้ีมีแนวโนมนาสนใจในการนาํ
ไปศกึ ษาฤทธิท์ เ่ี ก่ียวของตอไป

อยางไรก็ตาม จากการสมั ภาษณหมอพ้ืนบานทงั้ 3 ทาน พบวาประชากรของพชื
สมนุ ไพรบางชนดิ มจี ํานวนลดนอยลงมากเพื่อเทียบกับในอดตี เน่ืองจากมีการเกบ็ สวน
ตางๆ ไปใชประโยชนโดยไมไดคํานึงถงึ การใชอยางยัง่ ยืน เชน กําแพงเจ็ดชนั้ (Salacia
chinensis L.) นากบุด (Mesua kunstleri (King) Kosterm.) และปลาไหลเผอื ก
(Eurycoma longifolia Jack) เปนตน ดงั นั้นจงึ ควรใหความรใู นการเก็บสมุนไพรไปใช
ประโยชนแกกลมุ คนดงั กลาวเพ่ือใหเกิดการใชประโยชนอยางยง่ั ยืน และเพ่ือใหสมนุ ไพร
ชนดิ ตางๆ ไมสญู หายไปจากพนื้ ท่ี และคนในชุมชนไดมโี อกาสเรยี นรูตอไป

16 คมู่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง

คําศพั ท์เฉพาะ

กษัย หมายถงึ ชื่อโรคชนดิ หนง่ึ มีอาการซูบผอม รางกายทรดุ โทรม [1]
กามโรค หมายถึง โรคซึ่งติดตอกนั ไดโดยการประกอบกามกิจหรือตดิ ตอกนั โดยใช
สง่ิ ของรวมกับคนเปนกามโรค เปนตน เรยี กเปนสามญั วา โรคบรุ ุษ หรอื โรคผูหญิง
[3]
กําหนัด หมายถึง ความใครในกาม [3]
กฏุ ฐโรค หมายถึง โรคเรื้อน [1]
ไขทรพิษ (ฝดาษ) หมายถึง ช่ือโรคระบาดชนิดหนงึ่ เกิดจากเชือ้ ไวรสั มีอาการไข
สูงแลวมีผ่นื ขน้ึ ตามใบหนาและลาํ ตวั ตอมาผนื่ จะกลายเปนตุมใส ตมุ หนอง และ
ตกสะเก็ด เมือ่ หายแลวมีแผลเปน ลกั ษณะเปนรอยบุม โบราณเรยี กวา ไขหวั [3]
คุมธาตุ หมายถึง ทําใหธาตทุ ้ัง 4 คอื ดิน น้าํ ไฟ ลม ในรางกายเปนปรกติ
สม่ําเสมอกนั [3]
เจรญิ อาหาร หมายถงึ ทาํ ใหบรโิ ภคอาหารไดมาก [1]
ชนั นะตุ หมายถึง ชอื่ โรคผวิ หนงั ชนิดหน่งึ เปนทศี่ รี ษะ เกิดจากเชอ้ื ราบนผวิ หนัง
ศรี ษะแลวลุกลามกนิ ลึกลงไปถึงรากผม ทําใหผมรวง (มักเกิดในเด็กผูชาย) [3]
ตาน หมายถึง โรคที่เกิดขน้ึ ในเดก็ อายุ 3 เดอื น ข้นึ ไปจนถงึ อายุ 7 ป [1]
ตาลทง้ั 5 หมายถงึ พชื สมนุ ไพร 5 ชนิด ไดแก รากตาลตะโนด รากตานดาํ ราก
ตานขโมย รากตานหมอน และรากตานเสย้ี น [1]
ตาํ รบั ยา หมายถงึ สูตรซึง่ ระบสุ วนประกอบของสมุนไพรตงั้ แตสองชนิดขนึ้ ไปมา
รวมกนั [2]
นา้ํ เหลืองเสีย หมายถึง ความผดิ ปกตขิ องน้ําเหลอื ง ทําใหมอี าการ บวม คัน แผล
เปอย พพุ อง [4]
เบญจโลกวเิ ชยี ร (ตํารบั ยาหาราก) หมายถึง ตาํ รับยาทปี่ ระกอบดวยราก
สมนุ ไพร 5 ชนดิ ไดแก รากชิงช่ี รากหญานาง รากคนทา รากมะเดอื่ ชมุ พร และ
รากทาวยายมอม [1]

17คมู่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง

ฟอกโลหติ หมายถงึ โลหิตไมสะอาด มีของเสีย สงั เกตไดจากลักษณะของประจาํ
เดือน เปนลิ่มเปนกอน สแี ละกลนิ่ ไมดี ทองผูก ผิวหนังมีสิว ผื่นแพ มีนา้ํ เหลอื งเสยี
[6]
ยาอายวุ ฒั นะ หมายถึง ชวยชะลอความแก ผิวพรรณดี รางกายแขง็ แรงมภี มู ิ
ตานทานโรค ความจาํ และความคิดเหมือนกบั คนหนุมสาว [5]
ราํ มะนาด หมายถึง โรคซ่ึงเกดิ ตามรากฟน ทําใหเหงือกบวมเปนหนอง [1]
เรือนไฟ หมายถึง ชวงเวลาท่มี ารดาอยไู ฟ 3 วัน ภายหลังการคลอดบุตร [1]
โรคลม หมายถงึ โรคท่รี ะบบลมท่ีโคจรหมนุ เวยี นภายในรางกาย มลี ักษณะไหลไป
ไมหยดุ นงิ่ อยูกบั ที่ ทําหนาท่พี ดั พาน้ํา (ระบบเสมหะ) ใหเคล่ือนท่ี แบงออกเปน 2
ลกั ษณะ คอื ลมกองหยาบและลมกองละเอียด [7]
โรคสตรี หมายถงึ อาการผิดปกติท่เี กดิ ข้นึ กับสตรวี ยั มปี ระจําเดอื น โดยอาการมัก
เกิดขน้ึ เปนประจํากอนมีและขณะมีประจําเดือน เชน อาการปวดหนวงบริเวณทอง
นอย ตกขาว อาการปวดเมอื่ ยกลามเน้อื เปนตน เม่อื ประจําเดือนหมดไปอาการดัง
กลาวกห็ ายไปดวย [1]
สมาน หมายถงึ ทําใหบาดแผลหายสนิท [3]
คาํ ศัพทเฉพาะ นาํ มาจากเอกสารอางองิ ดงั ตอไปนี้
[1] พิศณุประสาทเวช.ตาํ ราการแพทยแผนไทยเดิม (แพทยศาสตรสงเคราะห

ฉบบั อนุรกั ษ เลมท่ี 1). 2550
[2] สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. พระราชบญั ญตั ยิ า พ. ศ. 2510. 2510
[3] ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ. ศ. 2554.

2556
[4] เพชรไพลิน พงษบริบูรณ. แนวทางการดูแลผูปวย โรคนํา้ เหลืองเสีย ในทาง

การแพทยแผนไทยและแผนปจจบุ ัน. 2562. มหาวทิ ยาลัยเทียนจิน
รวมกบั กรมแพทยทหารบก
[5] ธรี วัฒน สุดขาว. คนื ความหนมุ สาวดวยยาอายุวฒั นะ. 2555. คณะการแพทย
แผนไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร
18 คมู่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง

[6] สมศักด์ิ นวลแกว. ยาสตรีในรานยา. 2555. คณะเภสัชศาสตร
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

[7] คมสัน ทินกร ณ อยุธยา. ลม/วาตะ/วาโย ในการแพทยแผนไทยดั้งเดิม
วาดวยสมุฎฐานเหตุ และการรกั ษา. 2560. โรงเรยี นการแพทยแผน
ไทย (ก)

สญั ลกั ษณทใี่ ชภายในคมู ือศกึ ษาธรรมชาติ
บนแผนทเ่ี สนทางศึกษาสมุนไพร * หมายถึง พืชสมุนไพรที่มกี ารตดิ ปายช่อื ซ้าํ
ขอมลู ของพชื สมนุ ไพรในสวนของการใชประโยชน มที ่มี าจากหมอพืน้ บาน 3 ทาน
ไดแก
¹ พท.ประยุทธ บญุ ยงั
² นายศุภวัทน นลิ สุวรรณ (หมอพืน้ บาน)
³ อ. พท.สมพร ชาญวณิชยกลุ

19คูม่ ือพืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง

แผนทเ่ี ส้นทางศกึ ษาพืชสมนุ ไพรบริเวณหวั เขาแดง
ตําบลหวั เขา อาํ เภอสิงหนคร จงั หวดั สงขลา

20 คูม่ ือพืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง

หมายเหตุ
หมายเลข 1-47 แสดงตําแหนงพืชสมุนไพรบริเวณเสนทางศึกษาฯ
* หมายถึง พืชสมุนไพรทมี่ กี ารตดิ ปายชื่อซํ้า

21คู่มือพืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง

ชนดิ พืชสมนุ ไพรตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
(เรยี งตามตําแหนง่ ที่พบตามเส้นทางศึกษาฯ)

1. ชงิ ชี่ (Capparis micracantha DC.)
2. กระเบากลกั (Hydnocarpus ilicifolius King)
3. พลองอนิ ทร (Memecylon ovatum Sm.)
4. พลองขค้ี วาย (Memecylon caeruleum Jack)
5. ยานาง (Tiliacora triandra (Colebr.) Diels)
6. ฝาดเขา (Metadina trichotoma (Zoll. & Moritzi) Bakh. f.)
7. ไทรเลยี บ (Ficus subpisocarpa Gagnep. subsp. pubipoda C. C. Berg.)
8. ดองดงึ (Gloriosa superba L.)
9. นมแมว (Uvaria siamensis (Scheff.) L. L. Zhou, Y. C. F. Su & R. M. K.

Saunders)
10. ยอปา (Morinda citrifolia L.)
11. ขอย (Streblus asper Lour.)
12. ตาลโตนด (Borassus flabellifer L.)
13. กระแตไตไม (Drynaria quercifolia (L.) J. Sm.)
14. โพขีน้ ก (Ficus rumphii Blume)
15. งาไซ (Planchonella obovate (R. Br.) Pierre)
16. ตะขบปา (Flacourtia indica (Burm. f.) Merr.)
17. กวางดูถกู (Epigynum griffithianum Wight)
18. พลบั พลา (Microcos tomentosa Sm.)
19. เข็มแดง (Ixora javanica (Blume) DC.)
20. พะวา (Garcinia hombroniana Pierre)
21. ตนี นก (Vitex pinnata L.)
22. นมวัว (Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem.)
23. ขี้หนอน (Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites)

22 คู่มือพืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง

24. พลองเหมือด (Memecylon edule Roxb.)
25. ไมคอนตีหมา (Ancistrocladus tectorius (Lour.) Merr.)
26. เสมด็ แดง (Syzygium antisepticum (Blume) Merr. & L. M. Perry)
27. สาวสะดงุ (Uvaria micrantha (A. DC.) Hook. f. & Thomson)
28. ตมู กาเครือ (Strychnos ignatii P. J. Bergius)
29. นากบุด (Mesua kunstleri (King) Kosterm.)
30. สกั เขา (Vatica harmandiana Pierre)
31. เถาลนิ้ เสอื (Tetracera loureireii (Finet & Gangep.) Pierre ex Craib)
32. โคลงเคลง (Melastoma malabathricum L.)
33. โคลงเคลง (Melastoma sanguineum Sims)
34. กันเกรา (Fagraea fragrans Roxb.)
35. ขอบนางเถา (Salacia macrophylla Blume)
36. สุรามฤต (Neolitsea zeylanica (Nees & T. Nees) Merr.)
37. มะมวงหมิ พานต (Anacardium occidentale L.)
38. เถาถอบแถบ (Spatholobus harmandii Gagnep.)
39. กะพอ (Licuala spinosa Thunb.)
40. มะเมื่อย (Gnetum microcarpum Blume)
41. ปลาไหลเผือก (Eurycoma longifolia Jack)
42. พาหมี (Linostoma pauciflorum Griff.)
43. กระดูกไกปา (Prismatomeris tetrandra (Roxb.) K. Schum. subsp.

malayana (Ridl.) J. T. Johanss.)
44. รามปา (Rapanea porteriana (Wall. & A. DC.) Mez)
45. กาํ แพงเจด็ ชั้น (Salacia chinensis L.)
46. รามอฐิ (Diospyros ferrea (Willd.) Bakh.)
47. เฉยี งพรานางแอ (Carallia brachiata (Lour.) Merr.)

23คูม่ อื พชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง

1. ชงิ ช่ี

ชอื่ วิทยาศาสตร Capparis micracantha DC.
วงศ CAPPARACEAE
ชือ่ อ่นื กระดาดขาว จงิ โจ กระโรกใหญ แสมซอ พญาจอมปลวก (ภาคกลาง);
กระดาดปา (ชลบุรี); คอนกลอง (เพชรบูรณ); คอนฆอง (สระบุรี); ชายชู หมากมก
(ชยั ภูมิ); ซิซอ (ปราจนี บุร)ี ; พวงมาระดอ เมง็ ซอ (ปตตานี); ราม (สงขลา); แสมา
ทลาย หนวดแมวแดง (เชียงใหม)

12

34

Capparis micracantha DC.: 1. ลาํ ตน; 2-3. ใบ; 4. ดอก

ไมพมุ สงู ประมาณ 2-6 ม. ลําตนและกิ่ง มหี นามปกคลุม ใบเดี่ยว เรยี งสลับ
รปู รีหรอื รูปขอบขนาน ผวิ ใบเกลยี้ ง ขอบใบเรยี บเปนคล่ืนเล็กนอย เนอ้ื ใบคอนขาง
หนา เปนมนั ปลายใบมนหรอื แหลม ฐานใบสอบมน ขนาด 5-6×12-16 ซม. เสน
ใบ 6-7 คู กานใบยาว 0.7-1 ซม. หูใบเปนหนามแหลมอยูบรเิ วณซอกใบ ดอกออก
บริเวณเหนือซอกใบเล็กนอย ดอกยอยประมาณ 2-7 ดอก กลบี เลยี้ ง 4 กลบี รูปไข
หรือรปู ขอบขนานเวาคลายเรอื ขอบมขี นเล็กนอย กลีบดอก 4 กลีบ สีขาว รปู ขอบ
ขนาน มขี นปกคลุม โคนกลีบดอกดานบนเปลย่ี นเปนสีเหลือง และสชี มพแู กมแดง
เกสรเพศผูจาํ นวนมาก มกี านชูเกสรเพศผู (gynophore) ยาว รังไขรูปรหี รือรปู ไข
ผลกลมหรือรี มีหลายเมลด็
24 คู่มือพืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง

สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคุณ: ราก รสขม ใชประกอบตาํ รบั ยาหาราก¹’²’³ ดับพษิ
รอนถอนพษิ ไข³ ใบ ตน รสขม นาํ มาตมนา้ํ ด่ืมแกไข³ ดอก รสขม แกมะเรง็ ลด
อาการปวดบวมตามรางกาย¹’² ผล รสขม ใชประกอบตาํ รับยารกั ษามะเร็ง³
การศึกษาฤทธิท์ างเภสัชวทิ ยา: ประเทศในแถบอนิ โดจีน ใชรากชิงชีร่ กั ษาไข เนื้อไม
ใชรกั ษาแผลในจมกู [1] รากชงิ ช่ถี กู ใชในตาํ รบั เบญโลกวเิ ชียร (ตาํ รบั ยาหาราก) รวม
กบั รากยานาง รากคนทา รากมะเดือ่ ชมุ พร รากเทายายมอม ใชเปนยาแกไข [2]
สารเคมีท่ีพบ: ใบชิงชี่ พบสาร methyl glucosinolate และรากชิงช่ี พบสาร
capparine B และสาร capparisditerpenol [3]

เอกสารอางอิง
[1] Tlili N, Elfalleh W, Saadaoui E, Khaldi A, Triki S, Nasri N. The caper (Capparis L.).

Ethnopharmacology, phytochemical and pharmacological properties Fitoterapia
2011; 82 (2): 93–101.
[2] Singharachai C, Palanuvej C, Kiyohara H, Yamada H, Ruangrungsi N. Pharmacognostic.
Specification of Five Root Species in Thai Traditional Medicine Remedy: Ben-
Cha-Lo-Ka-Wi-Chian. Pharmacognosy Journal 2011; 3 (21): 1–11.
[3] Mithen R, Bennett R, Marquez J. Glucosinolate biochemical diversity and innovation in
the Brassicales. Phytochemistry 2010; 71 (17–18): 74–86.

25คู่มือพืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง

2. กระเบากลัก

ชือ่ วทิ ยาศาสตร Hydnocarpus ilicifolius King
วงศ ACHARIACEAE
ช่ืออน่ื กระเบาซาวา (เขมร-กาญจนบรุ ี); กระเบาพนม (เขมร-สรุ นิ ทร); กระเบาลิง
(ท่ัวไป); กระเบาหนิ (อดุ รธานี); กระเบยี น ขี้มอด (จันทบรุ ี); กระเรยี น (ชลบรุ )ี ;
คมขวาน (ประจวบคีรีขนั ธ); จาเม่ยี ง (สระบุรี แพร); ดกู ชาง (กระบี)่ ; บักกราย พะ
โลลูตุม (มาเลย-ปตตานี); หัวคาง (ภาคใต)

12

34

Hydnocarpus ilicifolius King: 1. ลําตน; 2. ใบ; 3. ผล; 4. เมล็ด

ไมตน สงู ประมาณ 5-10 ม. ตนแยกเพศ เปลือกตนสีดาํ หรือนํา้ ตาลเขม ใบ
เด่ียวเรยี งสลบั รูปขอบขนาน ผวิ ใบเกลยี้ ง ขอบใบจกั ฟนเลอ่ื ย ทองใบเรียบ สีเขยี ว
เขม เปนมนั วาว ปลายใบเปนตงิ่ เรยี วแหลม ฐานใบรูปกลมมน ขนาด 3-4.5×11-
12 ซม. เสนใบ 6-7 คู กานใบยาว 0.6-1.5 ซม. ดอกแยกเพศ ออกดอกเปนชอ
กระจกุ บรเิ วณซอกใบ ดอกยอยสีขาว หรือเขียวแกมเหลือง มี 4 กลีบ กลบี เลีย้ ง 4
กลีบ ดอกเพศผมู เี กสรเพศผจู าํ นวนมาก ดอกเพศเมียมีรงั ไขรปู กลมหรือรี ยอด
เกสรเพศผูมี 4 แฉก ผลกลม เปลอื กผลมขี นสดี าํ นุมคลายกาํ มะหยปี่ กคลุม มี
หลายเมล็ด
26 คมู่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง

สวนท่ีใช รสยา และสรรพคณุ : เมล็ด รสเมาเบ่อื ใชถายพยาธิ รกั ษาโรคผิวหนงั
เร้อื น กลากเกลื้อน¹’²’³
การศกึ ษาฤทธท์ิ างเภสชั วทิ ยา: ไมพบขอมูล
สารเคมที พี่ บ: ไมพบขอมูล

27คูม่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง

3. พลองอินทร์

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Memecylon ovatum Sm.
วงศ MELASTOMATACEAE
ชอ่ื อน่ื พลองกินลูก (สระแกว); พลองใหญ (ประจวบครี ขี ันธ)

12 3

Memecylon ovatum Sm.: 1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3. ดอก

ไมพุม สูงประมาณ 3-12 ม. ใบเดีย่ ว เรยี งตรงกนั ขาม รูปไข แผนใบเกลย้ี ง
หนา เปนมันวาว ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมฐานใบมน ขนาด 4.5-6.5×8.5-11.5
ซม. กานใบยาว 0.2-1 ซม. ชอดอกออกเปนกระจกุ ตามขอ ดอกยอยจํานวนมาก
กลีบเลย้ี งรูประฆงั ปลายแยกเปน 4 แฉก ดอกสีนํ้าเงินแกมมวง มี 4 กลีบ อบั เรณู
สีนา้ํ เงินเขม ผลกลม สีเขยี ว เมอ่ื สกุ เปลย่ี นเปนสีดํา

28 คมู่ ือพืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง

สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคณุ : เปลอื กตน รสฝาด สมานแผลในลําไส ใชคมุ ธาตุ
แกบิด มูกเลือด³ ใบ รสฝาด แกนํ้าเหลืองเสยี แผลพพุ อง ชนั ตุ³ ผล หวานฝาด ชวย
ใหเจริญอาหาร¹’²
การศกึ ษาฤทธิ์ทางเภสชั วิทยา: ไมพบขอมูล
สารเคมีที่พบ: ไมพบขอมูล

29ค่มู อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง

4. พลองขี้ควาย

ชือ่ วิทยาศาสตร Memecylon caeruleum Jack
วงศ MELASTOMATACEAE
ช่ืออืน่ พรม พลองขีใ้ ต พลองแดง (ประจวบครี ขี ันธ); พลองข้ีนก (ลําปาง); พลอง
ยอดแดง (ภาคกลาง)

12

3

Memecylon caeruleum Jack: 1. ใบ; 2-3. ดอก

ไมพมุ สงู ประมาณ 3-12 ม. ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขาม รูปไขหรือรูปขอบขนาน
แผนใบเกลี้ยง หนาเหนยี ว ทองใบสีเขียวเขม เปนมันวาว ปลายใบแหลม ขอบใบ
เรยี บ ฐานใบกลมมน ขนาด 4.5-6.5×8.5-11.5 ซม. เสนใบ 5-6 คู กานใบยาว
0.2-1 ซม. ดอกออกเปนชอกระจุกบริเวณซอกใบ ฐานรองดอกรูปถวย กลีบเล้ยี งมี
4 แฉก กลีบดอกมี 4 แฉก สีมวง ผลรูปไข ผิวผลเรียบเกล้ียง ผลออนเปนสเี ขยี ว
หรือสีชมพอู มมวง พอสกุ แลวจะเปลยี่ นเปนสีมวงเขมหรอื สีมวงดาํ
30 ค่มู ือพืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง

สวนทีใ่ ช รสยา และสรรพคณุ : เปลือกตน รสฝาด แกบดิ มูกเลอื ด คุมธาตุ สมาน
แผลลําไส³ ใบ รสฝาด แกนาํ้ เหลอื งเสีย แผลพพุ อง ชันตุ³ ผล หวานฝาด ชวยให
เจริญอาหาร¹’²
การศกึ ษาฤทธิท์ างเภสชั วทิ ยา: ไมพบขอมูล
สารเคมีท่พี บ: ไมพบขอมูล

31คมู่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง

5. ยา่ นาง

ชื่อวทิ ยาศาสตร Tiliacora triandra (Colebr.) Diels
วงศ MENISPERMACEAE
ชือ่ อน่ื จอยนาง (เชยี งใหม); เถาวลั ยเขยี ว (ภาคกลาง); ยาดนาง วนั ยอ
(สุราษฎรธานี)

12

34

Tiliacora triandra (Colebr.) Diels: 1. เถา; 2. ใบ; 3. ชอดอก; 4. ผล

ไมเถาเลือ้ ย ยาวประมาณ 10-15 ม. เถากลม มขี นประปราย กานใบที่หลดุ มี
รอยแผลเปนรปู คลายจาน ใบเดยี่ ว แผนใบหนาเหนยี ว เรียงสลับ รูปขอบขนาน
หรือรูปหอก ผิวใบเกลีย้ ง ขอบใบเรยี บ ปลายใบแหลม ฐานใบรูปลิ่ม หรอื กลมมน
ขนาด 4.5-5×10.5-12 ซม. เสนใบ 2-6 คู ออกจากฐานใบ 3 เสน กานใบยาว 1.5-
2 ซม. ชอดอกออกตามซอกใบหรอื ปลายกง่ิ กานชอส้ัน ดอกสีเหลอื งอมเขียว ดอก
เพศผูกลบี เลี้ยงรปู รีเกือบกลม ยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอกรูปลิ่ม ยาวประมาณ
1 มม. เกสรเพศผู 3 อนั ดอกเพศเมียกลีบเลีย้ งยาวประมาณ 2 มม. มีขน
ประปรายดานนอก กลีบดอก 6 กลบี รปู รี ยอดเกสรเพศเมียไมมีกาน ผลสุกสีแดง
ทรงรีเกือบกลม ยาว 0.7-1 ซม.
32 คู่มอื พืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง

สวนทีใ่ ช รสยา และสรรพคณุ : ทั้ง 5 รสจืด นํามาตมนาํ้ ด่ืมเปนยาดบั พิษรอน
ถอนพิษไข³ เถา รสจืดขม ใชประกอบตาํ รับยาหาราก³ ราก รสจืด แกไข แกพษิ งู
ถอนพิษเมาเบื่อ³ ใบ รสจืดขม ลางพษิ ¹’²
การศกึ ษาฤทธท์ิ างเภสัชวทิ ยา: สารสกดั จากรากยานางมีฤทธต์ิ านเช้อื มาลาเรีย [1]
สารสกดั จากใบยานางมฤี ทธล์ิ ดระดับน้ําตาลในเลือด [2] จากการศกึ ษาในหลอด
ทดลองสารสกัดจากใบยานางมีฤทธ์ิตานมะเร็ง [3]
สารเคมีทพ่ี บ: รากพบสาร alkaloid 2 ชนดิ คือ tiliacorinine (I) และ tiliacorine
(II) [3]

เอกสารอางองิ
[1] Saiin C, Markmee S . Isolation of anti-malaria active compound from Yanang (Tiliacora

triandra Diels.). Kasetsart J Nat Sci 2003; 37 (1): 47-51.
[2] Teeraporn Katisart and Surapong Rattana. Hypoglycemic Activity of Leaf Extracts from

Tiliacora triandra in Normal and Streptozotocin-Induced Diabetic Rats.
Pharmacognosy Journal. 2017; 9 (5): 621-625.
[3] Surapong Rattana, Benjamart Cushnie, Ladachart Taepongsorat And Methin Phadung kit.
Chemical Constituents and in vitro anticancer activity of Tiliacora triandra
leaves. Pharmacognosy Journal 2016; 8 (1): 1-3.

33คมู่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง

6. ฝาดเขา

ช่อื วทิ ยาศาสตร Metadina trichotoma (Zoll. & Moritzi) Bakh. f.
วงศ RUBIACEAE
ชื่ออืน่ ฝาดเขา ขม้นิ ขม้ินตน เคาะขม้ิน (ลําปาง); เข็มชาง (นครศรีธรรมราช);
เพลาจงั หนั (นครราชสมี า); ลังขาว (ระนอง); สะดอง (กาญจนบรุ ี)

23

14 5

Metadina trichotoma (Zoll. & Moritzi) Bakh. f.: 1. ลําตน; 2. ใบ; 3-4. ดอก; 5. ผล

ไมตน สูงประมาณ 5 ม. ใบเดย่ี ว เรยี งตรงกนั ขามสลบั ต้งั ฉาก รูปไข แผนใบ
เกล้ียง ขอบใบเรียบ ปลายใบเรยี วแหลมฐานใบสอบแหลม ขนาด 2-5.5×10-12
ซม. เสนใบ 7-12 คู กานใบยาว 0.3-1 ซม. หูใบขนาดเล็ก ชอดอกแบบชอกระจกุ
กลม ดอกยอยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงมี 5 แฉก กลบี ดอกสีขาวเปนหลอด สวนปลาย
แยกเปนแฉก มี 5 แฉก ผลแหงแตกตามตะเขบ็

34 คู่มือพชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง

สวนท่ีใช รสยา และสรรพคุณ: เนอื้ ไม ใบ รสฝาด แกบิด มูกเลอื ด คมุ ธาตุ สมาน
แผลในลาํ ไส¹ ใบ รสหอม ใชทาํ ยาหอม³
การศกึ ษาฤทธิ์ทางเภสชั วิทยา: ไมพบขอมูล
สารเคมที ่พี บ: เปลือกตนพบสาร triterpenoid และ saponin [1]

เอกสารอางอิง
[1] Yu-Mei Zhang, Ning-Hua Tan, Huo-Qiang Huang, Quang-Zhi Zeng. Triterpenoid Saponins

from Metadina trichotoma. Zeitschrift für Naturforschung 2007; 62 (5): 745-748.

35คมู่ อื พืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง

7. ไทรเลยี บ

ชอื่ วิทยาศาสตร Ficus subpisocarpa Gagnep. subsp. pubipoda
C. C. Berg.
วงศ MORACEAE
ชื่ออ่ืน ฮาง (ลําปาง); โพไทร (นครราชสมี า); เลียบ ไกร (กรงุ เทพฯ)

23

1 45

Ficus subpisocarpa Gagnep. subsp. pubipoda C. C. Berg.: 1. ลําตน; 2-3. ใบ; 4. ชอดอก; 5. ดอกยอย

ไมตน สงู ประมาณ 8-10 ม. กิ่งออนใบสเี ขยี วแกมเหลือง หรือชมพแู กมแดง
ใบเดีย่ ว เรียงเวยี นสลบั เปนกระจุกบรเิ วณปลายกิ่ง รปู รหี รอื ขอบขนาน ผวิ ใบ
เกลย้ี ง ขอบใบเรยี บมีคลืน่ เล็กนอย ใบแกคอนขางหนาและเหนยี ว สเี ขยี วเขมและ
เปนมนั ปลายใบเปนตงิ่ แหลม ฐานใบโคงกลม ขนาด 3-5.5×8.5-11.5 ซม. เสนใบ
7-8 คู กานใบยาว 4.5-8.5 ซม. ใบออนแผนใบบาง หูใบหลดุ รวงงายชอดอกออก
ตามลาํ ตนหรอื กงิ่ กาน เปนชอดอกแบบมะเด่อื (hypanthodium) คอื มดี อกยอย
ขนาดเล็กจํานวนมากอัดแนนบนฐานรองดอกที่โอบอุมดอกยอยไวภายใน ดอกแยก
เพศ ดอกเพศผอู ยใู กลชอเปด ดอกเพศเมยี อยดู านใน ผลแบบมะเด่อื (syconium)
36 คู่มอื พชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง

สวนที่ใช รสยา และสรรพคุณ: เปลือกตน รสฝาดมนั ตมชะลางบาดแผลแกพษิ งู³
แกน รสฝาดมัน รกั ษาโรคน้าํ เหลอื งเสีย³ ยอดออน รสฝาดมัน กินเปนผัก แกทอง
รวง¹’² ผล รสฝาดมนั นํามาตมน้ําดื่มแกไข³
การศกึ ษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา: ไมพบขอมลู
สารเคมีที่พบ: ไมพบขอมลู

37คู่มอื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง

8. ดองดึง

ช่อื วิทยาศาสตร Gloriosa superba L.
วงศ COLCHICACEAE
ชื่ออ่ืน กามปู (ชยั นาท); คมขวาน บองขวาน หัวขวาน (ชลบุร)ี ; ดาวดึงส วาน
กามปู (ภาคกลาง); พนั มหา (นครราชสมี าร); มะขาโกง (ภาคเหนือ); หมอยหยี า
(อดุ รธานี)

12

34

Gloriosa superba L.: 1-2. เหงา; 3. ใบ; 4. ดอก

ไมเถาลมลกุ ลาํ ตนเปนหวั หรอื เหงาขนาดเล็กอยูใตดนิ รูปรางกลมเรยี ว เถา
ยาวประมาณ 60-100 ซม. ใบเดีย่ ว เรยี งสลับ รูปหอก ผิวใบเกล้ียง ขอบใบเรยี บ
ปลายใบแหลมยืดยาวออกทําหนาที่เปนมือเกาะ ฐานใบเปนกาบหมุ ลําตน ขนาด
0.5-2×2-7.5 ซม. เสนใบขนานจรดปลายใบ ดอกขนาดใหญสแี ดงหรอื แดงแกม
เหลอื ง ดอกเดย่ี ว ออกตามกง่ิ กลีบดอก 5 กลีบ แยกกัน มักบดิ เปนเกลยี ว ปลาย
กลีบสแี ดงเขม โคนกลบี สีเหลือง ขอบหยกั เปนลอนปลายแหลม ชูตงั้ ขน้ึ ทัง้ 5 กลีบ
เกสรเพศผู 5 อัน ยาว 5-7 ซม. กานเกสรยาว เรียงตวั แผกวาง รงั ไขสเี ขียว มกี าน
ยาว โคงขน้ึ เมอ่ื ดอกบานเต็มที่จะมีสีแดงเขม ผลรูปกระสวย ผวิ มัน มกั มีสันตน้ื ๆ
ขนาดกวาง 2.5-3 ซม. ยาว 6-8 ซม.
38 คูม่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง

สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคณุ : เหงา รสรอนเมาเบอ่ื แกโรคเกาท ขอบวม นํามาน่งึ
ใชประกอบตาํ รบั ยาแกโรครมู าตอยด โรคเขาเสื่อม¹’²’³
การศึกษาฤทธทิ์ างเภสัชวิทยา: ใบมฤี ทธต์ิ านเชือ้ แบคทเี รีย ไดแก Gram negative
(Klebsiella aerogenes, Pseudomonas desmolyticum และ Escherichia
coli) และ Gram positive (Staphylococcus aureus) [1] สาร colchicine จาก
เหงาดองดงึ มีฤทธ์ติ านการอักเสบ [2]
สารเคมที พี่ บ: เมล็ดและเหงาดองดงึ มีสาร alkaloids ไดแก colchine และ
colchicoside [3]

เอกสารอางอิง
[1] H. Raja Naika, K. Lingaraju, K. Manjunath, Danith Kumar, G. Nagaraju, D. Suresh & H.

Nagabhushana. Green synthesis of CuO nanoparticles using Gloriosa superba
L. extract and their antibacterial activity. Journal of Taibah University for Science
2015; 9 (1): 7-12.
[2] วริศรา ขจรวนิชโชติ และวสมน บุนนาค. 2557. ฤทธ์ิตานอักเสบของสารสกัดจากดองดึง. ปริญญาเภสัช
ศาสตรบณั ฑติ . มหาวิทยาลยั มหดิ ล.
[3] Mariappan Senthilkumar. hytochemical Screening of Gloriosa superba L. - from
different Geographical Positions. International Journal of Scientific and Research
Publications 2013; 3 (1): 2250-3153.

39คมู่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง

9. นมแมว

ช่ือวิทยาศาสตร Uvaria siamensis (Scheff.) L. L. Zhou, Y. C. F. Su &
R. M. K. Saunders
วงศ ANNONACEAE
ช่ืออ่ืน นมแมวปา (ภาคเหนือ); พ้ีเขา พีพวนนอย (นครพนม)

23

1 45

Uvaria siamensis (Scheff.) L. L. Zhou, Y. C. F. Su & R. M. K. Saunders: 1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3. ดอก; 4-5. ผล

ไมพมุ รอเล้อื ย สูงประมาณ 2-5 ม. กง่ิ กานมีขนสนี ้าํ ตาลปกคลมุ ใบเด่ยี ว เรียง
สลับ รปู รี ผิวใบเกล้ยี ง ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ ฐานใบปานมน ขนาด 1-
4×2-13.5 ซม. เสนใบ 9-13 คู กานใบยาว 0.3-0.5 ซม. ดอกออกเปนชอตรงขาม
ใบ แตละชอมีดอกยอย1-3 ดอก กานดอกยาว กลีบเลยี้ งสเี ขยี ว เช่ือมติดกนั กลบี
ดอกหนา มี 6 กลีบ เรยี งเปน 2 วง วงในขนาดเลก็ กวาวงนอก เกสรเพศผมู จี ํานวน
มาก เกสรเพศเมยี มปี ระมาณ 10 คารเพล ผลกลุม มีผลยอยขนาดเล็ก รูปรางกลม
ผิวเกล้ียง มสี เี ขยี ว เมื่อสุกเปลยี่ นเปนสีเหลือง เปลอื กผลนม่ิ มกี ล่ินหอม
40 คู่มอื พชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง

สวนท่ใี ช รสยา และสรรพคณุ : เนือ้ ไม รสฝาดเยน็ ตมน้ําด่มื แกโรคโลหติ สตรี โรค
เก่ยี วกบั โลหิตทเี่ กดิ หลงั คลอดบุตร¹’² เถา ดอก รสฝาดเย็น แกริดสีดวงทวาร³
การศึกษาฤทธิ์ทางเภสชั วทิ ยา: รากมฤี ทธิต์ านเช้อื มาลาเรยี ตานเชอ้ื แบคทีเรีย [1]
สารเคมที ีพ่ บ: รากพบสารประกอบ อนุพนั ธ chalcone (8″,9″-
dihydrowelwitschin H, uvarins A-C) อนพุ ันธ naphthalene (2-hydroxy-3-
methoxy-6-(4'- hydroxyphenyl) naphthalene, dimeric chalcones,
dependensin และ welwitschin E) และ อนพุ นั ธ cyclohexane oxide
(flavonoids) [1]

เอกสารอางอิง
[1] Abdul-Wahab Salae, Orapan Chairerk, Piyanut Sukkoet, Therdsak Chairat, Uma Prawat,

Pittaya Tuntiwachwuttikul, Piya Chalermglin, Somsak Ruchirawat. Antiplasmodial
dimeric chalcone derivatives from the roots of Uvaria siamensis.
Phytochemistry 2017; 135: 135-143.

41คูม่ ือพืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง

10. ยอปา่

ชอื่ วิทยาศาสตร Morinda citrifolia L.
วงศ RUBIACEAE
ชอ่ื อ่นื กะมดู ู (มาเลย-นราธวิ าส); คยู ู แยใหญ (กะเหรย่ี ง-แมฮองสอน สวย); เค
วาะ (กะเหร่ียง-กาญจนบรุ )ี ; เคาะขมิ้น สะกึย สะเกย หสั เกย มะตาเสือ (ภาค
เหนอื ); ตะเกรย (ราชบรุ )ี ; ตะลมุ พุก (ขอนแกน); ยอ ยอบาน (ภาคกลาง); ยอ
เถื่อน (ชุมพร)

12

34

Morinda citrifolia L.:1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3. ชอดอก; 4. ผลรวม

ไมตน สงู ประมาณ 10-15 ม. เปลอื กตนแตกเปนรองลึก ใบเดยี่ ว เรียงตรงกัน
ขาม รปู รี ผิวใบเกลี้ยง ขอบใบเรยี บ ปลายใบเรยี วแหลม ฐานใบเปนรปู ลมิ่ ขนาด
4-7×8-17 ซม. เสนใบ 6-7 ซม. กานใบยาว 0.5-1 ซม. หใู บขนาดเลก็ รปู
สามเหลย่ี ม ดอกออกเปนชอกระจุก บรเิ วณซอกใบปลายก่ิง ดอกขนาดเล็ก สีขาว
กลีบดอกเช่ือมตดิ กันเปนหลอด สวนปลายแยกเปน 4 แฉก เกสรเพศผมู ี 4 อนั ตดิ
บริเวณปากกลบี หลอด เกสรเพศเมีย 1 อนั ผลรวม รปู รางคอนขางกลม ผลออนสี
เขยี ว ผลแกสีดํา
42 คู่มือพชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง

สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคุณ: แกน รสฝาดมนั ประกอบตํารับยาใหแมหลงั คลอด
ชวยใหฟนตัวเรว็ ¹’² แกปวดมดลกู ในสตรีหลังคลอด แกโรคผอมแหงแรงนอย³ ใบ
รสขมเยน็ แกเบอ่ื อาหาร³ ดอก รสขมเย็น แกปวดศีรษะ³ ผล รสฝาดเปร้ยี ว นํามา
ยางไฟแลวตมน้าํ ด่ืม แกอาเจียน¹’²’³
การศกึ ษาฤทธทิ์ างเภสชั วทิ ยา: สารสกดั ดวยเอทานอลของยอปา เมื่อผสมนํ้าดืม่ ให
สตั วทดลอง พบวาบริเวณบาดแผลมีขนาดลดลง [1] สารสกัดดวยเอทานอลของราก
ผล และใบของยอปา มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ [2]
สารเคมที ่พี บ: ผล พบสาร glycosides และ iridoids [3]

เอกสารอางองิ
[1] B. Shivananda Nayak, Steve Sandiford and Anderson Maxwell. Evaluation of the Wound-

Healing Activity of Ethanolic Extract of Morinda citrifolia L. Leaf. Original Article
2009; 6 (3): 351-6.
[2] Z.Mohd Zin, A Abdul-Hamid, A Osman. Antioxidative activity of extracts from
Mengkudu (Morinda citrifolia L.) root, fruit and leaf. Food Chemistry 2002; 78
(2): 227-231.
[3] Shengmin Sang, Mingfu Wang, Kan He, Guangming Liu, Zigang Dong, Vladimir Badmaev,
Qun Yi Zheng, Geetha Ghai, Robert T. Rosen, and Chi-Tang Ho. Chemical
Components in Noni Fruits and Leaves (Morinda citrifolia L.). Quality
Management of Nutraceuticals 2001; 10 (803): 134-150.

43คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง

11. ข่อย

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Streblus asper Lour.
วงศ MORACEAE
ช่ืออื่น กกั ไมฝอย (ภาคเหนอื ); ซะโยเส (กะเหรยี่ ง-แมฮองสอน); ตองขะแหน
(กะเหรยี่ ง-กาญจนบรุ ี); สมพอ (เลย); สะนาย (เขมร)

12 3

Streblus asper Lour.: 1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3. กลบี เลยี้ ง

ไมตน สูงประมาณ 5-10 ม. เปลือกตนขรขุ ระ ใบเด่ียว เรยี งสลบั รูปรี หรือรปู
ไข เนอื้ ใบคอนขางหนา ผวิ ใบมขี นเปนตุมเล็กๆ ปกคลุม ทําใหสากมอื คลาย
กระดาษทราย ปลายใบแหลม ขอบใบหยกั ฟนเลือ่ ย ฐานใบสอบ ขนาด 1-
3.5×2.5-8 ซม. เสนใบ 4-6 คู กานใบยาว 0.1-0.2 ซม. ดอกออกเปนชอขนาดเลก็
บริเวณซอกใบ ดอกแยกเพศ มีใบประดับสีเขยี วรองรับ 2 ใบ ดอกเพศผูอยูรวมกนั
เปนชอกระจุก กานดอกสนั้ มากหรือไมมี ดอกเพศเมยี มกี านดอก ผลกลม

44 คูม่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง

สวนที่ใช รสยา และสรรพคณุ : เปลอื กตน รสมนั เมาเบือ่ เล็กนอย แกเหงอื กบวม
ราํ มะนาด แกปวดฟน¹’²’³ ใบ รสมนั เมาเบอ่ื เล็กนอย ชวยขบั รกหลังคลอด ชวยให
มดลูกเขาอู ลดอาการปวดมดลูกบวมชํา้ ¹’²’³ ผล รสหวานเอยี น เปนยาอายวุ ัฒนะ³
เมลด็ รสมนั เมาเบอ่ื เล็กนอย เปนยาอายุวฒั นะ¹’²
การศึกษาฤทธทิ์ างเภสชั วิทยา: ฤทธ์ติ านจลุ ชพี สารสกดั ดวยเอทานอลจากกง่ิ และ
ใบขอย มฤี ทธย์ิ ับย้งั การเจริญเตบิ โตของเช้ือ Streptococcus mutans ซ่ึงกอให
เกดิ ฟนผุ และจากการศึกษาการใชนาํ้ ยาบวนปากผสมสารสกดั ใบขอยสามารถลด
เช้ือโดยไมเปลี่ยนสภาวะปกติในชองปาก มผี ลลดการอกั เสบของเหงอื ก [1]
สารเคมีทีพ่ บ: เปลือกตน พบสาร terpenoids และ hydrocarbon [2]

เอกสารอางองิ
[1] K. Mukherjee and L. N. Roy. Chemical Examination of Streblus asper Leaves.

International Journal of Crude Drug Research 2008; 21 (1983): 189-190.
[2] Sopit Wongkham, Pisamai Laupattarakasaem, Keskaew Pienthaweechai, Premjai

Areejitranusorn, Chaisiri Wongkham and Tipawan Techanitiswad. Antimicrobial
activity of Streblus asper leaf extract. Phytotherapy Research 2001; 15 (2): 119-
121.

45คู่มือพืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง

12. ตาลโตนด

ชื่อวิทยาศาสตร Borassus flabellifer L.
วงศ ARECACEAE
ช่อื อ่ืน ตะนอด ทะเนาด (เขมร); ถาล ทอถู (แมฮองสอน); ทาง (เชยี งใหม); ตาล
ตาลใหญ (ภาคใต ภาคกลาง)

12 3

Borassus flabellifer L.: 1. ลําตน; 2. ใบ; 3. ชอดอกเพศผู (งวงตาล)

ไมตนจําพวกปาลมอายหุ ลายป สงู ประมาณ 5-10 ม. ใบเดี่ยว เรยี งสลบั รูป
รางคอนขางกลมคลายพัด ผวิ ใบเกล้ียง แผนใบกวาง ประมาณ 60-120 ซม. ขอบ
ใบมหี นามแข็ง ปลายใบเปนจักลึกครึง่ แผนใบแตละแฉกของใบ รปู รางเรยี วยาว
ฐานใบกลม ขนาดกานใบยาว 1-2 ม. ตนแยกเพศ ตนเพศผู ชอดอกยาวประมาณ
50-100 ซม. แตกเปนชอดอกยอยๆ กลีบเล้ยี งและกลีบดอกขนาดเลก็ มี 3 แฉก
เกสรเพศผมู ี 6 อัน ตนเพศเมยี ชอดอก ยาวประมาณ 30 ซม. กลีบเลี้ยงกลบี ดอก
ขนาดเล็ก มี 3 กลีบ รงั ไขมี 3 พู ผลกลมหรือรูปไข ขนาดเสนผานศนู ยกลาง
ประมาณ 10-15 ซม. เปลือกผลช้ันกลางเปนเสนใยสเี หลือง ผลสเี ขียวเมือ่ สกุ
เปลีย่ นเปนสดี ํา

46 คูม่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง

สวนทีใ่ ช รสยา และสรรพคุณ: ชอดอกเพศผู (งวงตาล) ราก รสจืด นํามาตมนํ้า
ดมื่ ชวยขับปสสาวะ¹’² ขบั พยาธิ รักษาโรคตาน³ ใบ รสจดื เย็น ชวยขบั ปสสาวะ
รักษาโรคระบบผิวหนัง เริม งูสวัด รกั ษาโรคตาน ขบั พยาธิ³
การศึกษาฤทธ์ิทางเภสัชวิทยา: สารสกดั เอทานอลของชอดอกเพศผู (งวงตาล) มี
ฤทธ์ิแกปวด ลดไข [1]
สารเคมที ี่พบ: รากพบสาร alkaloids และ saponin [2]

เอกสารอางองิ
[1] MAHESH S. PASCHAPUR, SWATI PATIL, SACHIN R. PATIL, RAVI KUMAR, M. B. PATIL.

EVALUATION OF THE ANALGESIC AND ANTIPYRETIC ACTIVITIES OF ETHANOLIC
EXTRACT OF MALE FLOWERS (INFLORESCENCES) OF Borassus flabellifer L.
(ARECACEAE). International Journal of Pharmacy and Pharmaceutical Sciences
2009; 1 (2): 98-106.
[2] Chayanika Sahni, Najam A. Shakil, Vidyanath Jha, Rajinder Kumar Gupta. Screening of
Nutritional, Phytochemical, Antioxidant and Antibacterial activity of the roots
of Borassus flabellifer (Asian Palmyra Palm). Journal of Pharmacognosy and
Phytochemistry 2014; 3 (4): 58-68.

47คมู่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง

13. กระแตไตไ่ ม้

ชอ่ื วิทยาศาสตร Drynaria sparsisora (Desv.) Moore
วงศ POLYPODIACEAE
ช่อื อ่นื กระปรอก (จันทบรุ ี); กระปรอกเล็ก (พษิ ณโุ ลก); กระปรอกวาว (ปราจีนบุรี
ประจวบคีรขี ันธ); กดู ขาฮอก (แมฮองสอน); กดู หางกระรอก (เลย); เชาวะนะ พุด
องแคะ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน); เดานกาโละ (มาเลย-ปตตานี); ใบหูชาง สะไบนาง
(กาญจนบรุ ี); สะโมง (สวย-สรุ ินทร); หัววาว (ประจวบคีรขี นั ธ)

12

34

Drynaria sparsisora (Desv.) Moore: 1. ใบไมสรางสปอร; 2. ใบสรางสปอร; 3. ลักษณะสปอร; 4. เหงา

พืชจําพวกเฟรน เกาะตามตนไมอนื่ สูงประมาณ 0.5-1 ม. มีเหงายาว สี
น้ําตาลดํา มีขนสนี ้ําตาลแดงปกคลุม ใบเด่ียว เรยี งเปนกระจกุ แนนบรเิ วณโคนตน
ใบมี 2 แบบ ใบสรางสปอรขนาด 28×70 ซม. ฐานในเบ้ยี ว ขอบใบหยกั เวาลกึ
เกือบถึงเสนกลางใบ ปลายใบแหลม เสนใบแบบรางแห 7 คู กานใบยาว 15-20
ซม. ใบไมสรางสปอร รปู ไข ขนาด 16.5×19 ซม. ฐานใบมน ขอบใบหยักเวาตนื้
ปลายใบแหลม ไมมกี านใบ สปอรเกาะเปนกลมุ ดานหลงั ใบ สนี า้ํ ตาลแดง
48 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง


Click to View FlipBook Version