สวนที่ใช รสยา และสรรพคุณ: เหงา รสจดื เย็น นํามาตมน้ําดื่มชวยขับปสสาวะ แก
ไข¹’²’³ ใบ รสจืดเย็น นาํ มาตมนํา้ ดมื่ รกั ษาไขเพศเลอื ด ไขทบั ระด³ู
การศึกษาฤทธ์ทิ างเภสัชวิทยา: สารสกดั จากใบและเหงา มีฤทธิ์ตานอนมุ ลู อิสระ
และยบั ยั้ง tyrosinase [1]
สารเคมที ี่พบ: ใบและเหงาพบสาร phenolic และ flavonoid [1]
เอกสารอางอิง
[1] Tan, J.B.L., Lim, Y.Y. Antioxidant and tyrosinase inhibition activity of the fertile fronds
and rhizomes of three different Drynaria species. BMC Research Notes 2015; 8
(1): 468.
49ค่มู ือพืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง
14. โพข้ีนก
ชอ่ื วิทยาศาสตร Ficus rumphii Blume
วงศ MORACEAE
ชื่ออ่นื โพตัวผู โพประสาท (ภาคกลาง)
12 3
Ficus rumphii Blume: 1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3. ชอดอก
ไมตน สูงประมาณ 20 ม. ใบเดย่ี ว เรยี งสลบั รปู ไข ผวิ ใบเกลีย้ ง ขอบใบเรยี บ
ปลายใบแหลม ฐานใบรปู ลมิ่ ขนาด 3-9×5.5-13 ซม. เสนใบ 4-5 คู กานใบยาว
2-3.5 ซม. ใบออนแผนใบบาง หใู บหลดุ รวงงาย ชอดอกออกตามลาํ ตนหรือก่ิงกาน
เปนชอดอกแบบมะเด่อื (hypanthodium) คือมดี อกยอยขนาดเลก็ จาํ นวนมากอดั
แนนบนฐานรองดอกทโ่ี อบอุมดอกยอยไวภายใน ดอกแยกเพศ ดอกเพศผอู ยใู กล
ชอเปด ดอกเพศเมียอยูดานใน ผลแบบมะเดอื่ (syconium)
50 คมู่ อื พืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนท่ใี ช รสยา และสรรพคณุ : ราก รสฝาด รกั ษาโรคนํา้ เหลืองเสีย แผลพพุ อง ยา
ตานเดก็ ³ เปลอื กตน รสฝาด นาํ มาตมนํ้าดมื่ ชวยขบั ปสสาวะ รกั ษาโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิต¹’² ใบ รสฝาด นาํ มาตมน้าํ ด่มื แกไขหวั ³
การศกึ ษาฤทธ์ทิ างเภสัชวทิ ยา: ใชเอทานอล 95% สกัดสารใบโพขี้นกนํามาทดสอบ
ฤทธต์ิ านมะเรง็ ชนดิ HL-60 ในหลอดทดลอง พบวาสาร compound 4 มีความนา
สนใจการนําไปทดสอบในสัตวทดลองตอไป [1] สารสกัดจากใบของโพขีน้ ก มีสาร
ตานอนมุ ูลอิสระ [2]
สารเคมที ี่พบ: ใบโพขีน้ ก พบสาร phenolic [1]
เอกสารอางอิง
[1] Mehtab Parveen, Ali Mohammed Malla, Mahboob Alam, Faheem Ahmad, P.S. Pereira Silva
& Manuela and Ramos Silva. Two new phenolic compounds from Ficus rumphii
and their antiproliferative activity. Natural Product Research 2014; 28 (9): 646-652.
[2] D.K. Pal, Pabitra Maity and K.Samanta. In vitro Antioxidant Activity of Leaves of Ficus
rumphii Blume. Asian Journal of Chemistry 2010; 2 (10): 8246-8248.
51ค่มู อื พชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
15. งาไซ
ชื่อวทิ ยาศาสตร Planchonella obovata (R. Br.) Pierre
วงศ SAPOTACEAE
ชือ่ อ่นื สนั ขวาน (ลาํ ปาง); อุงไก (สมุทรปราการ); โกงกางบก (ชลบรุ )ี ; โพอาศยั
(ระนอง); มะดินทราย (สงขลา); มะดินทราย (สงขลา); ทีไร (ปตตานี); พงั กาบก
(ภาคใต); จนั ทิตสอ (ทัว่ ไป)
23
1 45
Planchonella obovata (R. Br.) Pierre: 1. ลําตน; 2. ใบ; 3. ยาง; 4. ดอก; 5. ผล
ไมตน สูงประมาณ 15 ม. บริเวณกง่ิ มียางสขี าว ใบเดยี่ ว เรียงสลับ รูปรี หรือ
รูปไขแกมขอบขนาน ผวิ ใบเกลีย้ ง ขอบใบจกั มน ปลายใบปาน ฐานใบรปู ลมิ่ ขนาด
3-5×5-10 ซม. เสนใบ 5-6 คู กานใบยาว 2-3 ซม. ดอกออกเปนชอกระจกุ ตาม
กงิ่ ตน ชอละ 2-5 ดอก ดอกขนาดเลก็ สีขาวอมชมพู กลบี ดอกโคนเชือ่ มตดิ กันเปน
รปู ถวย ปลายแยกเปน 5 แฉก เกสรเพศผู 5 อนั ผลรูปรี ผิวเกลย้ี ง สเี ขยี ว เม่อื สุก
เปลย่ี นเปนสีนํ้าเงินอมมวง
52 ค่มู ือพืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนท่ใี ช รสยา และสรรพคณุ : เปลือกตน รสหวาน นาํ มาตมนาํ้ ดืม่ บาํ รงุ กําลงั ¹’²
บํารุงตบั ³
การศกึ ษาฤทธิท์ างเภสชั วทิ ยา: ไมพบขอมูล
สารเคมที ี่พบ: สวนของใบ พบสาร triterpenoid glycosides 4 ชนิด [1]
เอกสารอางอิง
[1] Chen, H.-Y., Guh, J.-H., Chan, S.-H., Lee, S.-S. Cytotoxic protobassic acid glycosides from
Planchonella obovata leaf. Phytochemistry Letters 2015; 11: 229-235.
53คมู่ ือพืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
16. ตะขบป่า
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Flacourtia indica (Burm. f.) Merr.
วงศ SALICACEAE
ชอ่ื อน่ื ตานเสีย้ น มะเกวนนก มะเกวนปา (ภาคเหนอื ); หมากเบน (หนองคาย)
12
34
Flacourtia indica (Burm. f.) Merr.: 1. ลาํ ตน; 2. หนาม; 3-4. ใบ
ไมตน สงู ประมาณ 2-15 ม. ลําตนมหี นามแหลมขนาดใหญปกคลมุ ก่งิ ออนจะ
มหี นามแหลมตามซอกใบ มขี นปกคลมุ หนามยาวประมาณ 2-4 ซม. ใบเดีย่ ว ใบ
ออนสแี ดง ใบแกรูปไขกลบั หรือรปู ขอบขนาน เรียงเวยี นสลบั ผวิ ใบเกลี้ยง เนื้อใบ
มขี นปกคลมุ ขอบใบจกั ฟนเลือ่ ย ปลายใบกลม ฐานใบสอบ หรือกลมมน ขนาด
1.5-3×2-4 ซม. เสนใบ 4-6 คู กานใบยาว 3-8 มม. ชอดอกออกบรเิ วณซอกใบ
เปนซอกระจะ มีขนปกคลมุ ดอกแยกเพศ กลบี เลี้ยงมขี นปกคลมุ กลีบดอกสีขาว
เกสรเพศผูมีจํานวนมาก ผลกลม ผลสกุ เปล่ยี นเปนสแี ดงคลา้ํ
54 คมู่ ือพืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
สวนที่ใช รสยา และสรรพคณุ : เน้ือไม ราก รสฝาด แกนํา้ เหลอื งเสีย แกสิวฝา¹’²
แกน รสฝาดขมหวาน ใชประกอบตํารับยาตาลทง้ั 5 ตํารับยามะเรง็ และตํารับยานา้ํ
เหลอื งเสีย³ ใบ รสฝาดขมหวาน นํามาตมใหสตรีหลงั คลอดอาบ³ ผลสุก รสหวาน
ฝาด บาํ รุงกําลัง¹’²
การศึกษาฤทธ์ิทางเภสัชวทิ ยา: สวนเหนอื ดนิ ของตะขบปา มีฤทธใิ์ นการตานเชอื้
มาลาเรยี ในหลอดทดลอง [1]
สารเคมีท่ีพบ: จากการศกึ ษาสารสกดั หยาบดวยเอทานอลจากเปลือกตนและเมล็ด
พบสารพฤกษเคมี 6 ชนิด คือ phenolic, flavonoid, tannin, saponins,
diterpene และ anthraquinone [2]
เอกสารอางอิง
[1] Ali Mohamed Kaou, Valérie Mahiou-Leddet ,Cécile Canlet , Laurent Debrauwer, Sébastien
Hutter,Michèle Laget, Robert Faure, Nadine Azas, Evelyne Ollivier. Antimalarial
compounds from the aerial parts of Flacourtia indica (Flacourtiaceae). journal
of Ethnopharmacology 2010; 130 (2): 272-274.
[2] พัทวัฒน สีขาว เรณุกา เชื้อบุญมี ปณิธาน สุระยศ สาธิต ฉัตรพันธุ และนฤมล เถ่ือนกูล. 2563. การ
ประเมินสารพฤกษเคมีเบ้อื งตน ฤทธ์ิตานอนุมูลอิสระ และฤทธติ์ านจุลชีพจากสารสกัดเอทานอล
ของผลตะขบปา. สาขาวิชาเคมแี ละจุลชวี วทิ ยา. มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม.
55คู่มอื พชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
17. กวางดูถกู
ชื่อวิทยาศาสตร Epigynum griffithianum Wight
วงศ APOCYNACEAE
ช่ืออ่ืน เถาเตาไห (จนั ทบรุ )ี ; มะลอ (ปตตานี)
23
14 5
Epigynum griffithianum Wight: 1-2. เถา; 3. ใบ; 4. ผล; 5. เมลด็
ไมเถาเนื้อแขง็ เปลอื กเถาแตกเปนรองลกึ คลายเถาไมผุ เถายาวประมาณ 5-
10 ม. เถามียางสขี าว ใบเดย่ี ว รปู รี เรียงตรงกนั ขาม ผวิ ใบเกลยี้ ง ขอบใบเรยี บ
ปลายใบเรยี วแหลม ฐานใบสอบ ขนาด 1.5-3×4-7 ซม. เสนใบ 8-9 คู กานใบยาว
0.3-0.5 ซม. ผลรูปรี สเี ขียว ขนาด 3-4 ซม. เมล็ดมีขนนุมสขี าว
56 คมู่ อื พืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
สวนท่ีใช รสยา และสรรพคณุ : เถา รสเมาเบอื่ แกโรคผวิ หนัง กลากเกลอื้ น¹ แกไข
แกปวดเม่อื ยตามรางกาย³
การศึกษาฤทธ์ทิ างเภสัชวทิ ยา: สาร triterpenoid saponin ท่สี กัดไดจากเถา มี
ฤทธ์กิ ดภมู ิคมุ กนั (immunosuppressive activity) ซึ่งมผี ลในการเพ่มิ จาํ นวนของ
เซลล splenocyte ของหนูในหลอดทดลอง [1]
สารเคมีทีพ่ บ: สวนของลําตน พบสาร triterpenoid saponin, epigynosides A
และ epigynosides B [1]
เอกสารอางอิง
[1] Qun Wang, Wen-Yi li, Yu-Dan Wang. A immunosuppressive triterpenoid saponin
from the stems of Epigynum griffithianum. Natural Product Research 2018; 34
(4): 1-5.
57ค่มู อื พืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
18. พลบั พลา
ชื่อวทิ ยาศาสตร Microcos tomentosa Sm.
วงศ MALVACEAE
ช่ืออน่ื กอมสม (ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ); กะปกกะปู (ภาคเหนือ); ขีเ้ ถา (ภาค
กลาง); คอม (ภาคเหนอื ); คอมเกลี้ยง (ภาคตะวันออก); คอมสม (ภาคตะวนั ออก
เฉยี งเหนอื ); จับมือแก (มาเลย-คาบสมุทร); น้ําลายควาย (คาบสมทุ ร); พลองสม
(ภาคตะวันออก); พลา (ภาคเหนอื ); พลาขาว พลาลาย (คาบสมุทร); มลาย (ภาค
ตะวนั ออกเฉียงใต); ลาย สากกะเบือดง สากกะเบือละวา หมากหอม (ภาคเหนอื )
12 3
Microcos tomentosa Sm.: 1. กิ่งและใบ; 2. ดอก; 3. ผล
ไมตน สูงประมาณ 10-15 ม. กง่ิ ออนมีขนปกคลมุ หูใบขนาดเล็ก รูปรางเรยี ว
ยาว ใบเดีย่ ว เรยี งสลบั ใบรปู วงรแี กมรปู ไขกลับ หรอื รูปขอบขนาน ขนาด 3-5×6-
12 ซม. ปลายใบมตี ง่ิ แหลม ฐานใบสอบมน ขอบใบหยักแบบฟนเล่ือยไมเปน
ระเบียบ ทองใบสเี ขียวเขม หลังใบสีเขียวหมน เสนใบออกจากฐาน 3 เสน กานใบ
ขนาด 0.5-1 ซม. มขี นเปนรูปดาวขนึ้ หนาแนน ดอกเปนชอกระจุกแยกแขนง ออก
ทซี่ อกใบหรือปลายก่งิ ใบประดบั สีเขียว กลบี เล้ยี ง 5 กลีบ ไมเชอื่ มติดกัน กลีบ
ดอกสีเหลอื ง 5 กลีบ ไมเช่ือมติดกนั เกสรเพศผมู ีจาํ นวนมาก ผลกลม มขี นสน้ั ๆ
ปกคลุม ผลแกสีเขียว เปลย่ี นเปนสดี ําเมอ่ื สกุ เมล็ดแขง็ 1 เมลด็
58 คูม่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
สวนท่ใี ช รสยา และสรรพคุณ: เน้อื ไม รสจืดเยน็ คมุ ธาตุ สมานแผล¹’² ใบ รสฝาด
ขม นํามาตมดมื่ แกไขมาลาเรีย³ ยอด ผล รสฝาด นาํ มาตมด่มื แกพษิ ผิดสาํ แดงจาก
อาหารจําพวกเห็ดและหอย ใชรักษาโรคในปาก¹’²’³ แกน ราก รสฝาดขม ใชรกั ษา
โรคสตรีหลงั คลอด แกไขเรอื นไฟ³
การศึกษาฤทธ์ทิ างเภสัชวทิ ยา: สารสกดั จากรากและลาํ ตนมีฤทธติ์ านเชอื้ แบคทเี รีย
ตานอาการทองรวง หากไดรบั มากเกนิ ไปอาจจะทําใหเปนพิษตอเซลล [1]
สารเคมีท่พี บ: ในรากพบสาร triterpenoids, steroids, sesquiterpenoid และ
phenolic [1]
เอกสารอางองิ
[1] Pathom Somwong,Rutt Suttisri and Surattana Amnuoypol. Chemical constitudents of
Microcos tomentosa. Chemistry of natural compounds 2017; 53 (2): 331–332.
59คูม่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
19. เขม็ แดง
ชอ่ื วิทยาศาสตร Ixora javanica (Blume) DC.
วงศ RUBIACEAE
ชื่ออ่นื เขม็ (นครศรธี รรมราช); เข็มทอง เขม็ แสด (คาบสมทุ ร); บื่อเจาะปูโยะ ยา
ราง (มาเลย-นราธวิ าส); ออ (นครศรธี รรมราช)
12
34
Ixora javanica (Blume) DC.: 1. ลําตน; 2. ใบ; 3. ดอก; 4. ผล
ไมพุม สูงประมาณ 1-3 ม. ใบเดยี่ ว เรียงตรงขามสลับต้งั ฉาก รูปรี ผวิ ใบเกล้ียง
ขอบใบเรียบ ปลายใบรูปแหลม ฐานใบรูปล่มิ ขนาด 2-4×4-14 ซม. เสนใบ 6-7 คู
กานใบยาว 0.5-1 ซม. หูใบขนาดเลก็ รปู สามเหลย่ี ม ชอดอกออกบรเิ วณปลายก่งิ
ชอเชิงหล่นั ดอกยอยประมาณ 20-25 ดอก กลีบเลย้ี งสเี ขยี ว รูปถวย กลบี ดอกสี
สมแกมแดงหรอื สีสมแกมเหลือง โคนกลีบเชือ่ มติดกนั เปนหลอด ยาวประมาณ 2-3
ซม. สวนปลายมี 4 แฉก เกสรเพศผู 4 อัน ตดิ บริเวณปากหลอด เกสรเพศเมยี โผล
พนปากหลอด ยอดเกสรมี 2 แฉก รังไขอยใู ตวงกลีบ ผลกลมขนาดเลก็ ผิวเกลีย้ ง
สเี ขยี ว เปล่ยี นเปนสแี ดงเขม และเมอ่ื สกุ เปลี่ยนเปนสดี ํา
60 คมู่ อื พชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง
สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคณุ : ใบ แกน ราก รสจืด นํามาตมด่ืมแกไข รักษาโรค
ตาแดง ตาแฉะ แกอักเสบ¹’²’³
การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวทิ ยา: สารสกัดจากดอก มีฤทธิต์ านการเจรญิ เตบิ โตของ
เนื้องอกในหนูทดลอง [1] [2]
สารเคมีท่ีพบ: ferulic acid [2]
เอกสารอางอิง
[1] Nair, S.C. and K.R. Panikkar. Antitumour principles from Ixora javanica. Cancer Letters
1990; 49 (2): 121-126.
[2] Nair, S.C., B. Panikkar, K.G. Akamanchi and K.R. Panikkar. Inhibitory effects of Ixora
javanica extract on skin chemical carcinogenesis in mice and its antitumour
activity. Cancer Letters 1991; 60 (3): 253-258.
61คูม่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
20. พะวา
ชื่อวิทยาศาสตร Garcinia hombroniana Pierre
วงศ CLUSIACEAE
ช่ืออน่ื วา (ยะลา); มังคุดทะเล (ภาคใต)
23
14 5
Garcinia hombroniana Pierre: 1. ลําตน; 2. ใบ; 3. เปลอื กตน; 4. ยาง; 5. ผล
ไมตน สงู ประมาณ 4-6 ม. ตนแยกเพศ ลําตนตรง แตกกง่ิ มาก ก่ิงออนสเี ขยี ว
เปลอื กตนสนี ํา้ ตาลเขมผวิ ขรุขระ มนี าํ้ ยางสีเหลือง ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขาม รูปรี
แผนใบหนา ผิวใบเกลยี้ ง ขอบใบเรียบ ปลายใบมน ฐานใบรปู ลม่ิ ขนาด 3-7×7-12
ซม. เสนกลางใบเปนรองดานหลังเหน็ ชดั เจน เสนใบตรงและขนานกัน กานใบยาว
1-1.5 ซม. ผลทรงกลม มเี ปลือกหนา ผลออนสเี ขียวแกมเหลอื ง เมื่อสกุ เปลย่ี นเปน
สแี ดง เน้ือสขี าวขุน มียางสเี หลืองอยภู ายใน กลีบเลยี้ งตดิ ทน เมล็ดรูปรี
62 คมู่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคณุ : เปลอื กตน รสเมาเบือ่ นํามาตมน้าํ ดมื่ เปนยา
ระบาย¹ ราก แกน ยาง รสฝาดเมาเบ่ือ ใชแกไขหนาไฟ เปนยาถาย³ ผล รสเปร้ยี ว
นํามาตมนํา้ ด่ืมใชฟอกโลหติ เปนยาระบาย¹
การศกึ ษาฤทธท์ิ างเภสชั วทิ ยา: สารสกัดจากใบและเปลือกตน มีฤทธ์ิตานอนุมูล
อสิ ระ [1] [2] สารสกดั หยาบจากใบ มฤี ทธิ์ตานเบาหวาน ลดระดับน้าํ ตาลในเลอื ด
[3]
สารเคมที ี่พบ: สารกลมุ flavonoids ซ่ึงสกัดไดจากใบและเปลือกตน [4]
สารประกอบ benzophenone และ triterpenoids ซง่ึ สกัดไดจากเปลือกตน [2]
[5]
เอกสารอางองิ
[1] Triadisti, N., Sauriasari, R., Elya, B. Antioxidant activity of fractions from Garcinia
hombroniana Pierre leaves extracts. Pharmacognosy Journal 2018; 10 (4): 682-685.
[2] Jamila, N., Khairuddean, M., Yeong, K.K., Osman, H., Murugaiyah, V. Cholinesterase
inhibitory triterpenoids from the bark of Garcinia hombroniana. Journal of
Enzyme Inhibition and Medicinal Chemistry 2015; 30 (1): 133-139.
[3] Triadisti, N., Sauriasari, R., Elya, B. Fractionation and α-glucosidase inhibitory activity of
fractions from Garcinia hombroniana Pierre leaves extracts. Pharmacognosy
Journal 2017; 9 (4): 488-492.
[4] Listiyani, A., Elya, B., Puspitasari, N. Antioxidant activity and lipoxygenase enzyme
inhibitory assay with total flavonoids content from Garcinia hombroniana
Pierre stem bark extract. PharmacognosyJournal 2017; 9 (2): 276-279.
[5] Nargis, J., Wong, K.-C., Khairuddin, M., Chantrapromma, S., Fun, H.-K. (2,4-Dihydroxy-6-
methoxyphenyl)(3,5 dihydroxyphenyl) methanone monohydrate. Acta
Crystallographica Section E: Structure Reports Online 2011; 67 (10): o2717-o2718.
63คมู่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง
21. ตนี นก
ช่ือวทิ ยาศาสตร Vitex pinnata L.
วงศ LAMIACEAE
ช่ืออ่นื กะพุน (จนั ทบรุ )ี ; กานน (ประจวบคีรขี นั ธ ราชบรุ )ี ; กาสามปก (ภาคเหนือ);
ไขเนา (ลพบรุ ี นครราชสมี า); โคนสมอ (ภาคตะวันออก); ตะพรุน (จันทบรุ ี); ตะ
พนุ ตะพุนทอง ตะพมุ (ตราด); นน (คาบสมทุ ร); นนเด็น (ปตตานี); เนา (ลพบรุ )ี ;
ลือแม (มาเลย นราธิวาส); สมอกานน (ภาคตะวันตกเฉียงใต); สมอตี่นนก
(ราชบรุ ี); สมอตีนเปด (คาบสมุทร); สมอบวง (ภาคกลาง); สมอปา สมอหนิ
(ประจวบคีรขี นั ธ); สวองหนิ (นครราชสีมา)
23
14 5
Vitex pinnata L.: 1. ลําตน; 2-3. ใบ; 4. ดอก; 5. ผล
ไมตน สูงประมาณ 5-10 ม. กง่ิ ออนเปนเหลยี่ มมี 4 มมุ ใบประกอบแบบฝามอื
มใี บยอย 3-5 ใบ ออกจากจดุ เดยี วกนั กานใบยาวประมาณ 1.5-5 ซม. ใบยอยรูป
หอกถงึ รปู ไขแกมใบหอก ขนาด 2-5×4-10.5 ซม. ใบยอยตรงกลางมขี นาดใหญสุด
ปลายใบรปู แหลม ฐานใบรปู แหลม ขอบใบเรียบ ใบหนา ทองใบเรยี บ หลงั ใบมีขน
สนั้ ๆ ขึ้นหนาแนน เสนใบมี 7-11 คู ออกดอกเปนชอบริเวณปลายก่ิง กลบี เลี้ยง 5
กลีบ สีเขียว รูปถวย กลีบดอกเชื่อมตดิ กนั เปนหลอด สวนปลายแยกเปน 5 แฉก
เกสรเพศผู 4 อนั ส้นั 2 อัน ยาว 2 อนั ติดบริเวณโคนกลบี ดอก เกสรเพศเมีย 1
อนั สวนปลายแยกเปน 2 แฉก รังไขเหนอื วงกลีบ ผลกลม เมอื่ สุกเปลย่ี นเปนสดี าํ
มีเมล็ดเดยี ว
64 คูม่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนทีใ่ ช รสยา และสรรพคุณ: กะพี้ (สวนทีอ่ ยูระหวางเปลือกไมกบั เน้อื ไม) รส
ฝาด แกตาฟาง ใชดองกับน้าํ ผ้ึงหยอดตารกั ษาโรคตา¹’²’³ ราก ใบ รสเมาเบ่อื เยน็
นาํ มาตมนา้ํ ใหสตรหี ลงั คลอดดืม่ ลดความดนั โลหติ สูง แกไขกระดานไฟ³
การศึกษาฤทธท์ิ างเภสชั วิทยา: สารสกัดจากใบ มีฤทธ์ิตานเชอ้ื แบคทีเรยี [1]
สารเคมที ีพ่ บ: สวนของใบ พบสาร flavonoid, saponin และ tannin [1]
เอกสารอางองิ
[1] C A Nuraskin, Marlina, R Idroes, C Soraya, Djufri. Activities inhibition methanol
extract Laban Leaf (Vitex pinnata) on growth of bacteria S. mutans.
Science and Engineering 2019: 1-5.
65คมู่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
22. นมววั
ชื่อวทิ ยาศาสตร Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem.
วงศ ANNONACEAE
ชอื่ อื่น กลวยมูสัง (ภาคใต); ยานนมควาย (ตรัง)
23
14 5
Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem.: 1. เถา; 2. ใบ; 3-4. ดอก; 5. ผล
ไมเถา ยาวประมาณ 8-12 ม. เถาสนี ํ้าตาล กง่ิ ออนมขี นสนี ้ําตาลปกคลมุ ใบ
เดยี่ วเรียงสลบั รูปขอบขนาน ขนาด 5-6×10-15 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบมน
เวาเล็กนอย ขอบใบเรียบ ใบหนา ทองใบสเี ขียวเขม หลังใบมขี นสีน้ําตาลปกคลุม
กานใบยาว 0.5 ซม. เสนใบ 12-15 คู ดอกออกตรงขามใบหรือปลายก่ิง ดอกเด่ยี ว
หรือเปนชอ แตละชอมีดอกยอย 1-3 ดอก กานดอกมขี นสนี ํา้ ตาลปกคลุม ใบ
ประดับรูปไข ดอกตมู ทรงกลมหรอื รูปไข กลีบเลี้ยงสเี ขียวมี 3 กลีบ กลีบดอกเรยี ง
2 ช้ัน ปลายกลีบแยกออกจากกนั สีแดงเขม สวนโคนกลีบดอกสีเหลืองนวล เกสร
เพศผูมจี ํานวนมาก อยรู วมกนั เปนกระจกุ กลางกลีบดอก ผลกลุม มผี ลยอยจาํ นวน
มาก ผลยอยทรงกระบอกยาว 1.5-2 ซม. มีขนปกคลุม เมลด็ รแี บน มี 10-15
เมลด็ สนี า้ํ ตาล
66 คู่มือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคุณ: เนอื้ ไม รสฝาดเยน็ บาํ รงุ โลหติ ใชเปนยาแกโลหติ
สตรหี ลังคลอด¹’²’³ ผลแก รสฝาด กนิ แกระบบน้ําเหลอื งเสยี ³
การศึกษาฤทธ์ทิ างเภสชั วทิ ยา: สารสกัดจากใบและราก มีฤทธ์ิตานอนุมลู อิสระ
และตานเชอื้ แบคทเี รยี [1]
สารเคมีที่พบ: สวนของใบ พบสาร limonene, benzyl benzoate, α-
phellandrene, eugenol และ 1,8-cineole ,monoterpene hydrocarbons,
oxygenated monoterpenes, sesquiterpene hydrocarbons และ
benezenoid compounds [2]
เอกสารอางองิ
[1] Noushin, Aminimoghadamfarouj, Alireza Nematollahi and Christophe Wiart. Anti-bacterial,
Antioxidant activity and Phytochemical study of Uvaria grandiflora : A rare
species of Annonaceae. Journal of Pharmacy Research (2011); 4 (4): 954-955.
[2] Tran Thang, Luu Hoang, Nguyen Tuan, Do Dai, Isiaka Ogunwande & Nguyen Hung. Analysis
of the Leaf Essential Oils of Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem. and Uvaria
microcarpa Champ. ex Benth. (Annonaceae) from Vietnam. Journal of Essential
Oil Bearing Plants (2017); 20 (2): 496-501.
67คมู่ อื พืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
23. ข้หี นอน
ชอ่ื วิทยาศาสตร Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites
วงศ PERACEAE
ชื่ออื่น ขีห้ นอนขาว (คาบสมทุ ร); ช่ี ซี (ปราจนี บรุ ี); ดังขาว (พังงา); ดังขาวเมา
(ตรัง); ตเู บอ้ื ง (ภูเก็ต); บาตู (มาเลย นราธวิ าส); ปะดงั ขาว (สตูล); มะอกึ คาง
(สุราษฎรธานี); สนนั่ (ตราด); สาํ เภา (กลาง ชลบุรี); หมกั ควาย (นครปฐม); อะ
กาง (คาบสมุทร)
12
34
Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites: 1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3-4. ผล
ไมตน สงู ประมาณ 10-15 ม. กงิ่ ออนมขี นปกคลุม หูใบเรยี วยาว มขี นาดเลก็
ใบรปู ไข หรือรปู ไขแกมรูปหอก ปลายใบแหลม ฐานใบกลมมน ใบเดยี่ วเรยี งสลบั
ระนาบเดียว ขนาด 1-2.5×7.5-14.5 ซม. ชอดอกมขี นปกคลุม ดอกเลก็ สเี ขียวอม
เหลือง กลบี เล้ียงรปู ไขหรอื กลมมน ขนาดประมาณ 3 มม. ฐานดอกสีชมพหู รือสี
แดง เกสรเพศผู มขี นปกคลมุ กานเกสรยาวประมาณ 1 มม. ผลกลม สเี หลืองแกม
เขียว เมื่อแกเปล่ียนเปนสนี า้ํ ตาล มีขนแหลมปกคลุม ผลแหงแตก มี 6 พู เมลด็ มสี ี
ดําเปนมนั วาว
68 คู่มอื พืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคุณ: ยอด รสมนั นาํ มากินเปนผกั ¹’²’³ เปลือกตน ใบ
รสจืด ตมนา้ํ ดมื่ แกไข แกโรคภมู แิ พ³
การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวทิ ยา: ไมพบขอมลู
สารเคมีท่ีพบ: ไมพบขอมูล
69คูม่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
24. พลองเหมือด
ชื่อวทิ ยาศาสตร Memecylon edule Roxb.
วงศ MELASTOMATACEAE
ชอ่ื อนื่ พลองดาํ (ประจวบครี ีขันธ); เหมยี ด (สุรนิ ทร); เหมอื ดแอ (มหาสารคาม)
23
14 5
Memecylon edule Roxb.: 1. ก่ิง; 2. ใบ; 3-4. ดอก; 5. ผล
ไมพุม สูงประมาณ 3-5 ม. เปลอื กตนสเี ทาอมนาํ้ ตาล ใบเด่ียวเรียงตรงขาม รปู
ไข ขนาด 3-5×6-8 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบมน ขอบเรยี บ แผนใบหนาคลาย
แผนหนัง ผิวเกล้ียงท้งั สองดาน เสนกลางใบเปนรอง เสนใบไมชดั กานใบยาว 4-5
มม. ชอดอกแบบชอกระจกุ ออกตามซอกใบ ชอดอก 2-8 ดอก ใบประดบั ขนาด
เล็กมาก ฐานรองดอกหนารปู ถวยสีชมพเู กล้ยี ง ปลายตัดหรือแยก กลบี เลี้ยง 4
แฉก กลีบดอก 4 กลบี หนา สขี าวอมมวงหรือสีน้าํ เงินเขม รปู ไขถึงรปู ขอบขนาน
ปลายแหลม เกสรเพศผู 8 อนั กานชอู บั เรณสู มี วงออน กานเกสรเพศเมยี สมี วง
ออน ยอดเกสรเพศเมยี มขี นาดเล็ก ผลทรงกลม สเี ขยี วอมเหลอื ง เมื่อสกุ เปล่ยี น
เปนสมี วงถึงดาํ
70 คูม่ อื พืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง
สวนที่ใช รสยา และสรรพคุณ: เปลือกตน รสฝาด สมานแผลในสาํ ไส แกบดิ มกู
เลอื ด คุมธาต¹ุ ’²’³ ผล รสหวาน ชวยเจรญิ อาหาร¹’²’³ รักษาโรคโลหิตท่ที ําใหผอม
แหง แกโลหติ จาง³
การศกึ ษาฤทธ์ิทางเภสัชวิทยา: สารสกัดจากใบ มฤี ทธ์ติ านการอักเสบ ฤทธิต์ าน
อนมุ ลู อสิ ระ [1] ฤทธติ์ านเชอ้ื แบคทีเรีย [2] และฤทธิล์ ดระดบั คอเลสเตอรอลใน
รางกาย [3]
สารเคมที ี่พบ: สวนของใบ พบ ursolic acid และ thujone isolated [1]
เอกสารอางองิ
[1]Ramalingam Srinivasan, Arumugam Aruna, Jong Suk Lee, Myunghee Kim, Muthugounder
Subramaniam Shivakumar and Devarajan Natarajan. Antioxidant and
AntiproliferativePotential of Bioactive Molecules Ursolic Acid and Thujone
Isolated from Memecylon edule and Elaeagnus indica and Their Inhibitory
Effect on Topoisomerase II by Molecular Docking Approach. BioMed Research
International 2019; 2020: 1-12.
[2] R.Srinivasan, D.Natarajan, M.S.Shivakumar. Spectral characterization and antibacterial
activity of an isolated compound from Memecylon edule leaves. Journal of
Photochemistry and Photobiology (2017); 168: 20-24.
[3] Palaniselvam Kuppusamy, R.S. David Paul Raj, Soundharrajan Ilavenil, Balasubramanian
Kaleeswaran, Natanamurugaraj Govindan, Gaanty Pragas Maniam, Sivanesan
Ravikumar. Evaluation of antihypercholesterolemic effect using Memecylon
edule Roxb. ethanolic extract in cholesterol-induced Swiss albino mice. Journal
of Acute Medicine (2015); 5 (4): 85-91.
71คูม่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
25. ไมค้ อ้ นตีหมา
ช่ือวิทยาศาสตร Ancistrocladus tectorius (Lour.) Merr.
วงศ ANCISTROCLADACEAE
ชอ่ื อื่น กระมา (เขมร สระบรุ ี); ขนุ มา (เขมร สุรินทร); คอนตหี มา (ยะลา); คอน
หมาขาว (ภาคกลาง); คอนหมาแดง (นครราชสีมา); คนั ทรง (ชลบุรี); โคนมะเด็น
(สพุ รรณบุรี); ซินตะโกพลี (กะเหร่ียง ลําปาง); ทองคันทรง (ชลบุร)ี ; พนั ทรง
(นราธวิ าส); ยลู ง ลดิ าซาป (มาเลย คาบสมุทร); ล้นิ กวาง ลิ้นควาย (ลําปาง); หาง
กวาง (นครพนม); หูกลวง (ตราด ราชบรุ )ี
12 3
Ancistrocladus tectorius (Lour.) Merr.: 1-2. ใบ; 3. มอื จบั
ไมพมุ รอเลอื้ ย ยาวประมาณ 10-15 ม. กิ่งขนาดเลก็ มีมอื จับเปนรูปตะขอโคง
งอ ยาวประมาณ 1-2 ซม. ใบออกเปนกระจกุ บรเิ วณปลายก่ิง ใบเดี่ยว เรยี งเวียน
สลบั ใบรูปไขกลับ ขอบขนาน ปลายใบรูปแหลม ฐานใบรูปลิ่ม ขอบใบเรยี บเปน
คลื่นเลก็ นอย ขนาด 5-9×10-30 ซม. ผวิ ใบเรียบ ทองใบสเี ขียวเขมเปนมนั กานใบ
สั้น เสนใบ 10-15 คู ใบประดบั รูปสามเหลยี่ มหรอื รูปไข ดอกออกเปนชอกระจะ
บรเิ วณซอกใบสวนปลายก่งิ กลบี เล้ียงมี 5 กลบี ขนาดไมเทากัน ผลแหงแข็ง มี
กลบี เล้ยี งติดทน โดยสีเปลย่ี นจากสเี ขียว เปล่ียนไปเปนสแี ดงเขม และสนี ้ําตาลเมอื่
ผลแหง
72 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคุณ: เถา รสฝาดจืดขม นาํ มาตมนา้ํ ดมื่ แกปวดเม่ือย
บาํ รุงกําลงั บาํ รุงรางกาย แกไข¹’²’³ ใบ รสขม ใชเปนตวั ยาลดไขนาํ มาพรมตวั แก
ไขพษิ ไขเรอ้ื รัง³
การศกึ ษาฤทธิ์ทางเภสชั วิทยา: สารสกัดจากใบ เปลือกตน และราก มฤี ทธ์ติ านเชื้อ
แบคทเี รยี และเชือ้ รา
สารเคมที ีพ่ บ: พบสาร Isoquinolines alkaloids [2] Naphthylisoquinoline
alkaloids (ancistrotectoriline A, ancistrotectoriline B, 6-Omethy-4’-O-
demethylancistrocladine และ 6-Omethy-4’-O-demethylhamatine) ซ่ึง
สกดั ไดจากสวนของลําตนและใบ [3]
เอกสารอางอิง
[1] Wiart, C., S. Mogana, S. Khalifah, M. Mahan, S. Ismail, M. Buckle, A.K. Narayana and M.
Sulaiman. Antimicrobial screening of plants used for traditional medicine in
the state of Perak, Peninsular Malaysia. Fitoterapia 2003; 75: 68-73.
[2] Montagnac, A., A.H.A. Hadi, F. Remy and M. Païs. Isoquinoline alkaloids from
Ancistrocladus tectorius. Phytochemistry 1995; 39 (3): 701-704.
[3] Tang, C.P., Y.P. Yang, Y. Zhong, Q.X. Zhong, H.M. Wu and Y. Ye. Four New
Naphthylisoquinoline Alkaloids from Ancistrocladus tectorius. Journal of
Natural Product 2000; 63 (10): 1384-1387.
73คมู่ อื พชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง
26. เสมด็ แดง
ชอื่ วทิ ยาศาสตร Syzygium antisepticum (Blume) Merr. & L. M. Perry
วงศ MYRTACEAE
ช่ืออ่ืน ไครเมด็ (เชยี งใหม); เมก็ (ปราจีนบรุ )ี ; เมด็ ชุน (นครศรธี รรมราช); ยีมือแล
(มาเลย-คาบสมุทร); เสมด็ (สกลนคร สตลู ); เสม็ดเขา (ตราด); เสม็ดชุน (ภาค
กลาง)
23
14 5
Syzygium antisepticum (Blume) Merr. & L. M. Perry: 1. ลําตน; 2. เปลือกตน; 3. ใบ; 4-5. ดอก
ไมตน สงู ประมาณ 20 ม. เปลือกตนสีน้ําตาลแดง แตกสะเกด็ เปนแผนบางๆ
ใบเด่ียวคูเรยี งตรงกันขาม รปู ใบหอกถึงรปู ไข ขนาด 1-3×6.5-11.5 ซม. ขอบใบ
เรยี บ ทองใบมีสเี ขยี วเขม หลังใบจะซีดกวา กานใบยาว 0.5 ซม. เสนใบ 8-10 คู
ดอกสขี าวอมเขยี ว ออกเปนชอตามซอกใบและปลายกิ่ง คลายซร่ี มเล็กๆ ชอดอก
ยาว 8-12 ซม. ไมมกี านดอก ฐานดอกรปู ถวย ปากแคบ ขนาด 4-10 มม. กลบี
ดอกมี 5 กลีบ รปู มนขนาด 1-4 มม. มเี กสรเพศผจู าํ นวนมาก ยาว 5-10 มม. ผล
ทรงกลม สขี าวขุน
74 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคุณ: เปลอื กตน รสฝาด คมุ ธาต¹ุ ’²’³ แกน รสฝาดขม
ใชประกอบตํารบั ยารักษาโรคตาน ชวยสมานแผล แกน้ําเหลืองเสีย ตุมหนอง³ ใบ
เปลือกตน รสฝาดขม ตมนาํ้ อาบแกคัน³ ผล รสหวานฝาด ใชรกั ษาแผลในปาก³
การศึกษาฤทธิท์ างเภสัชวทิ ยา: สารสกดั จากใบมีฤทธ์ิตานอนุมูลอสิ ระ ฤทธิ์ตาน
การกอกลายพันธุ [1] และฤทธ์ิตานจุลชพี [2]
สารเคมีท่พี บ: พบสารสกัดน้าํ ยาฆาเชอื้ syzygium จากสวนของใบ [2]
เอกสารอางองิ
[1] Methin Phadungkit, Surapong Suksiripattanapong, Kreepol Manwiwattanakun. Antioxidant
and Antimutagenic Activities of Syzygium antisepticum (Blume) Merr. & L.M.
Perry Leaf Extracts. J Sci Technol MSU 2017; 36 (5): 572-577.
[2] Wenqian Yuan, Hyun-Gyun Yuk. Antimicrobial efficacy of Syzygium antisepticum plant
extract against Staphylococcus aureus and methicillin-resistant S. aureus and
its application potential with cooked chicken. Food Microbiology 2018; 72: 176-
184.
75ค่มู อื พืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง
27. สาวสะดงุ้
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Uvaria micrantha (A. DC.) Hook. f. & Thomson
วงศ ANNONACEAE
ช่อื อน่ื เถา ษผี สมแกว (สรุ าษฎรธานี); นมแมว (ประจวบครี ขี นั ธ); นาํ้ เตานอย
(ปราจีนบรุ )ี
12 3
Uvaria micrantha (A. DC.) Hook. f. & Thomson: 1. เถา; 2. ใบ; 3. ผล
ไมเถา สูงประมาณ 10-15 ม. เปลือกเถาสนี ้าํ ตาล กิ่งออนและยอดออนมขี น
สีนา้ํ ตาลปกคลุม ใบเดยี่ วเรยี งสลบั รปู รี ขอบขนาน ขอบใบเปนคลน่ื ขนาด 1-
3.5×2-9.5 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบรปู ลม่ิ กานใบยาว 0.5 ซม.หลังใบเรียบเปน
มัน ทองใบเรียบ ใบคอนขางหนาและเหนยี ว กลีบเล้ียง 3 กลบี กลีบดอกมี 6 กลบี
เรยี งเปน 2 วง เกสรเพศผูมจี ํานวนมาก เกสรเพศเมีย มคี ารเพลจํานวนมาก ผลก
ลมุ ประกอบดวยผลยอยรูปรางกลม กานผลยอยยาวประมาร 0.5-1 ซม. ผลแกสี
เขียว เมือ่ สกุ เปลยี่ นเปนสเี หลืองแดง
76 คมู่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคณุ : เถา ดอก ราก รสหอมรอน ใชบํารงุ กําหนัด บํารุง
กําลงั บํารุงหัวใจ¹’²’³
การศึกษาฤทธ์ิทางเภสชั วิทยา: ไมพบขอมูล
สารเคมีทพ่ี บ: พบสาร uvarmicranones A และ uvarmicranones B ในสวนของ
ลําตน [1]
เอกสารอางอิง
[1] Jutatip Boonsombat, Sanit Thongnest, Surasak Kheawchaum, Chulabhorn Mahidol, Somsak
Ruchirawat and Hunsa Prawat. Uvarmicranones A and B, two new benzoquinones
and cytotoxic constituents from the stems of Uvaria micrantha (A. DC.) Hook. f.
& Thomson. Natural Product Research 2020: 1-34.
77คู่มือพชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
28. ตูมกาเครือ
ช่ือวทิ ยาศาสตร Strychnos ignatii P. J. Bergius
วงศ LOGANIACEAE
ชื่ออ่นื พญามอื เหลก็ (กระบ)่ี
12
Strychnos ignatii P. J. Bergius: 1. กงิ่ ; 2. ใบ; 3. มือจบั
ไมเถา มีมอื เกาะเปนรปู ตะขอโคง ใบเดีย่ ว เรยี งตรงขาม ใบรูปไข คอนขาง
กวาง ปลายใบรูปมน ฐานใบรปู กลม ปลายใบมีติ่งแหลม หรือเวาเปนรปู หวั ใจเล็ก
นอย ขนาด 8-10×10-14 ซม. ผิวใบมนั เรยี บเปนสเี ขียวเขม มเี สนใบตามยาวคม
ชดั ประมาณ 3-5 เสน
78 คมู่ ือพืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง
สวนทีใ่ ช รสยา และสรรพคุณ: เถา รสเมาเบ่ือ ใชรกั ษาอัมพฤกษ อัมพาต แกปวด
เม่ือย¹’²’³ ใบ รสขมเมาเอยี น นํามาตมอาบแกผื่นคนั ฆาพยาธิผิวหนัง³
การศกึ ษาฤทธ์ทิ างเภสัชวิทยา: ไมพบขอมูล
สารเคมีที่พบ: พบสาร alkaloids 9 ชนดิ ในสวนของรากและลําตน [1]
เอกสารอางอิง
[1] Datta, B. Bisset, N. G. Alkaloids of Strychnos ignatii. Pharmacognosy Research
Laboratories, Chelsea Department of Pharmacy, King's College London, University
of London, London SW3 6LX, UK 1990; 56 (1): 133.
79ค่มู อื พืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
29. นากบุด
ช่ือวทิ ยาศาสตร Mesua kunstleri (King) Kosterm.
วงศ CLUSIACEAE
ชอื่ อื่น สารภดี อย (เชยี งใหม); กากอ กํา้ กอ (แมฮองสอน); ปะนาคอ ประนาคอ
(ปตตานี); นาคบุตร นากบตุ รากบคุ (ภาคใต)
12
34
Mesua kunstleri (King) Kosterm.: 1. ลําตน; 2. ใบ; 3. ดอก; 4. ผล
ไมพุม สงู ประมาณ 1.5-5 ม. ใบเดี่ยว รูปรแี กมรปู หอก ปลายใบรูปแหลม ฐาน
ใบรูปลมิ่ ขอบใบเรยี บ ผิวใบเกลีย้ ง ทองใบสเี ขยี วเขมเปนมัน ขนาด 1-4×4-10
ซม. กานใบยาว 0.5-0.8 ซม. เสนกลางใบสีเขยี วออน หใู บออกบรเิ วณซอกใบ รปู
แถบ ปลายแหลม ยาวประมาณ 1 ซม. ดอกเดย่ี วหรือชอ ออกบรเิ วณปลายก่งิ
กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ รูปไขปลายมน สีเขยี วออนถึงเขยี วเขม กลีบดอกมี 4 กลีบ
บางๆ รูปขอบขนานปลายมนแคบ สขี าว เกสรเพศผูจาํ นวนมาก กานเกสรสเี หลือง
ผลเดยี่ ว รูปทรงกลม เปลือกแข็ง ผลแหงแตกตามตะเข็บ มี 2-4 เมล็ด
80 คู่มอื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนทีใ่ ช รสยา และสรรพคุณ: แกน รสฝาดขม ตมด่มื แกกษัย แกปวดเม่ือย ผอม
แหงแรงนอย³ ใบ รสฝาดขม ใชตมน้ําใหสตรหี ลังคลอดอาบ³ ดอก รสหอมเย็น
บํารุงหวั ใจใชแทนบนุ นาค ใชระงบั กล่ินกาย¹’²’³
การศกึ ษาฤทธ์ิทางเภสัชวิทยา: สารสกัดจากเปลอื กตนพบสาร mesuagenin C3
ซง่ึ อาจมีฤทธ์ิในการรกั ษาโรคความเสื่อมของระบบประสาท [1]
สารเคมีที่พบ: พบสาร Isomammeisin, Mammea A/BA, Mesuagenin C, 5,7-
Dihydroxy-8-(2-methylbutanoyl)-6-[(E)-3,7-dimethylocta-2,6-dienyl]-4-
phenyl-2H-chromen-2-one, 5,7-Dihydroxy-8-(3-methylbutanoyl)-6-
[(E)-3,7-dimethylocta-2,6-dienyl]-4-phenyl-2H-chromen-2-one จากสวน
ของเปลอื กตน [1]
เอกสารอางองิ
[1] Gomathi Chan, Muhamad Noor Alfarizal Kamarudin, Daniel Zin Hua Wong, Nor Hadiani
smail, Faizuri Abdul Latif, Aurengzeb Hasan, Khalijah Awang and Habsah Abdul
Kadir. Mitigation of H2 O2 -Induced Mitochondrial-Mediated Apoptosis in
NG108-15 Cells by Novel Mesuagenin C from Mesua kunstleri (King) Kosterm.
Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine 2012; 2012: 1-18.
81คมู่ ือพืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
30. สกั เขา
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Vatica harmandiana Pierre
วงศ DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออนื่ กะลูปงบอื ซี (มาเลย-นราธิวาส); ซกั สักหนิ (ภาคใต); ซี เตง็ ดง (ศรีสะเกษ);
ดาง (ลําปาง แพร); ดาํ ดาง ยางเจ็น ยางหนู (ลําปาง); สะเดาปก (สระบรุ ี ลพบุรี);
สัก (สระบรุ ี สตลู ); สกั ดอน สักน้ํา (ตรงั ); ฮาว (นาน)
23
14 5
Vatica harmandiana Pierre: 1. ลําตน; 2. ยาง; 3. ปูด (gall); 4. ดอก; 5. ผล
ไมตน สงู ประมาณ 10-20 ม. โคนตนเปนพพู อน เปลอื กตนเรียบ สีนํ้าตาลปน
เทา มีนาํ้ ยางสเี หลอื ง ใบเดีย่ ว เรียงสลบั รปู รี ผวิ ใบเกลย้ี ง ขอบใบเรยี บหรือเปน
คลืน่ เลก็ นอย แผนใบหนา ทองใบสเี ขยี วเขม หลังใบสเี ขียวออน ปลายใบแหลม
ฐานใบเบ้ียวเลก็ นอย ขนาด 1.5-4×4-10 ซม. เสนใบ 8-10 คู กานใบยาว 5-10
มม. ดอกออกเปนชอแบบกระจะ สขี าว ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง กลบี เลยี้ ง 5
กลบี รปู หอก กลบี ดอก 5 กลีบ รปู หอก ผลมีปกยาว 2 ปก ปกสัน้ 3 ปก สีแดงอม
เขียว เมอ่ื แกเปลี่ยนเปนสีแดง
82 คู่มือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคุณ: เนอื้ ไม ราก รสเมาเบื่อ ใชประกอบตํารับยารักษา
โรคมะเรง็ แกอาการนาํ้ เหลอื งเสยี ¹’²’³ ยาง รสฝาดเมาเบ่ือ ใชทาภายนอกแกโรค
เรื้อน¹ ผล รสฝาด ใชรกั ษาโรคนา้ํ เหลืองเสีย และแผลเรือ้ รงั ³
การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา: ไมพบขอมลู
สารเคมีที่พบ: ไมพบขอมูล
83คมู่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
31. เถาลน้ิ เสือ
ชือ่ วทิ ยาศาสตร Tetracera loureireii (Finet & Gangep.) Pierre ex Craib
วงศ DILLENIACEAE
ช่อื อืน่ เถากะปดใบเล่ือม (ประจวบครี ขี นั ธ); บอระคน (ตรัง); ปดคาย
(สรุ าษฎรธาน)ี ; ปดนํ้ามัน (ปตตานี); ปดเลือ่ น (สรุ าษฎรธานี); ปะละ (มาเลย
นราธวิ าส); มะตาดเครือ (กรงุ เทพ); ยานปด (นครศรธี รรมราช); รสสุคนธ รส
สุคนธขาว สคุ นธรส เสาวรส (กรงุ เทพ); สะปลละ (มาเลย นราธวิ าส); อรคนธ
(ตรงั )
23
14 5
Tetracera loureireii (Finet & Gangep.) Pierre ex Craib: 1. เถา; 2. เน้ือไม; 3. ใบ; 4. ดอก; 5. ผล
ไมเถา ความยาว 5-8 ม. ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ รปู รี หรือรปู รีแกมรปู ขอบขนาน
ขนาด 2-4×5.5-8.5 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบรปู ลม่ิ ขอบใบแบบฟนเลอื่ ย กาน
ใบยาว 0.5 ซม. เสนใบมี 6-7 คู แผนใบสเี ขยี ว ผวิ ใบสาก เสนใบเปนรองลึก ดอก
ออกเปนชอกระจกุ แยกแขนงตามซอกใบและปลายกง่ิ กลบี เลย้ี ง 3-5 กลบี รปู รี สี
เขียวออน ติดทนเมอ่ื เปนผล กลบี ดอก 3-5 กลีบ รูปรี สขี าว บาง หลดุ รวงงาย
ดอกมีกล่นิ หอม เกสรเพศผมู จี ํานวนมาก ผลคอนขางกลม ออกเปนกระจกุ 3-4 ผล
เมลด็ รปู ไข สดี าํ เปนมนั มี 1 เมลด็ ตอผล มเี นื้อเยอื่ สีแดงหุมเมลด็
84 คู่มอื พชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนท่ใี ช รสยา และสรรพคณุ : เถา ราก รสจดื แกนิ่ว โรคตบั ทรดุ ตบั พิการ มาม
ยอย ใชรกั ษาแผลสด แผลเร้ือรงั บาํ รุงเสนเอ็น¹’²’³ ดอก รสหอม ใชบาํ รุงหวั ใจ³
การศึกษาฤทธทิ์ างเภสชั วิทยา: สารสกัดจากเถา ชวยลดอาการปวดเมือ่ ย และ
รกั ษาดีซาน [1] สารสกัดจากใบ มีฤทธ์ติ านอนมุ ูลอิสระ ทยี่ บั ยัง้ α-glucosidase
และ α-amylase และมฤี ทธิ์ตานอนุมลู อิสระ [2]
สารเคมที ี่พบ: พบสาร triterpenoid และ flavonoid จากสวนของเปลอื กตน [1]
เอกสารอางอิง
[1] Seo, C., Lee, J.E., Lee, J.A., Ahn, E.-K., Kang, J.-S., Hyun, C.W., Hong,S.S. Acylated
Triterpenoids, Flavonoids, and Lignans Isolated from the Stems of Tetracera
loureirin. Chemistry of Natural Compounds 2019; 55 (2): 386-389.
[2] Kittiwisut,S., Amnuoypol, S., Pathompak, P., Setharaksa, S. α-Glucosidase and α-
amylase inhibitory effects with anti-oxidative activity of Tetracera loureiri
(Finet & Gagnep.) Pierre ex Craib leaf extracts. Pharmaceutical Sciences Asia
2021; 48 (2): 175-184.
85คมู่ อื พชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
32. โคลงเคลง
ชื่อวิทยาศาสตร Melastoma malabathricum L.
วงศ MELASTOMATACEAE
ชื่ออื่น กะดดู ุ (มาเลย ปตตาน)ี ; กาดโู ตะ (มาเลย-สตูล ปตตาน)ี ; โคลงเคลงขึน้ ก
โคลงเคลงข้ีหมา (ตราด); ซิซะโพะ (กะเหร่ียง กาญจนบุรี); ตะลาเดาะ (กะเหร่ยี ง
แมฮองสอน); เบร มะเหร มงั เคร มังเร (คาบสมุทร); มายะ (ตราด); สาเร สําเร
(คาบสมุทร); อา อาหลวง (ภาคเหนือ)
12
34
Melastoma malabathricum L.: 1. ลาํ ตนและใบ; 2-3. ดอก; 4. ผล
ไมพุม สงู ประมาณ 1-2 ม. ลําตนและกงิ่ กานเปนสนี ํา้ ตาลแดง กงิ่ เปนเหลย่ี ม
ทุกสวนของลําตนมีเกลด็ แขง็ ปกคลมุ ใบเดี่ยว ออกตรงขามเปนคสู ลบั ตั้งฉาก รปู
ใบหอก ปลายใบรปู แหลม ฐานใบรูปแหลม ขนาด 1-3×3-9 ซม. แผนใบหนา ผิว
ใบมขี นหรือเกลด็ ขนาดเลก็ ปกคลมุ กานใบยาว 0.5-1.5 ซม. เสนใบ 3 เสนออก
จากฐาน ดอกออกเปนชอบรเิ วณปลายกง่ิ ชอละ 3-5 ดอก ดอกสมี วงแกมชมพู
ฐานรองดอกปกคลมุ ดวยเกล็ดแบนเรียบ กลีบเล้ียงมี 5 กลบี สมี วงแดง กลบี ดอก
5 กลบี รูปไข ปลายกลีบมน เกสรเพศผูสีเหลือง มี 10 อัน เรยี งเปน 2 แถว ผลรูป
ระฆงั ยาว 0.5-1.2 ซม. ผลสุกสมี วงดาํ เมล็ดขนาดเล็กสดี ํา มีจํานวนมาก
86 คมู่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคณุ : ราก รสขม บํารงุ กําลัง ใชฝนกบั น้ํามะนาวรกั ษา
พิษงกู ะปะ¹’²’³ ลาํ ตน รสขม ใชรกั ษาโรคตานในเดก็ ³ ผล รสหวานฝาด ใชรักษา
แผลในปาก³
การศึกษาฤทธ์ทิ างเภสัชวิทยา: สารสกดั จากใบ มีฤทธติ์ านเชื้อแบคทเี รยี [1] สาร
สกดั จากใบและดอก มฤี ทธ์ิตานมะเร็งตอเซลลมะเร็งเตานมของมนษุ ย และสาร
สกดั จากลําตนมีฤทธ์ยิ ับย้ังการเจริญเติบโต [2] และ สารสกัดจากดอก มีฤทธเิ์ ปน
สารกําจดั อนุมลู อสิ ระ และพบวามีฤทธ์ิในการยบั ยั้งการเพ่มิ จาํ นวนเซลล [3]
สารเคมีทีพ่ บ: พบสาร naringenin, kaempferol และ kaempferol-3-O-d-
glucoside จากสวนของดอก [3]
เอกสารอางองิ
[1] Erman Shah Jaios, Suzana Abdul Rahman, Siew Mooi Ching, Arifah Abdul Kadir,Mohd.
Nasir Mohd. Desa, Zainul Amirudin Zakaria. Possible mechanisms of
antinociception of methanol extract of Melastoma malabathricum leaves.
Brasileira de Farmacognosia 2016; 26 (5): 586-594.
[2] Nurfariza Ahmad Roslen, Nur Aizura Mat Alewi, Hadji Ahamada, Mohammad Syaiful Bahari
Abdull Rasad. Cytotoxicity screening of Melastoma malabathricum extracts
on human breast cancer cell lines in vitro. Asian Pac J Trop Biomed 2014; 4 (7):
545-548.
[3] Deny Susanti, Hasnah M. Sirat, Farediah Ahmad, Rasadah Mat Ali, Norio Aimi, Mariko
Kitajima. Antioxidant and cytotoxic flavonoids from the flowers of Melastoma
malabathricum L. Food Chemistry 2007; 103: 710–716.
87คูม่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
33. โคลงเคลง
ชอื่ วทิ ยาศาสตร Melastoma sanguineum Sims
วงศ MELASTOMATACEAE
ชือ่ อ่ืน โคลงเคลงชาง (นราธวิ าส)
23
14 5
Melastoma sanguineum Sims: 1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3. ดอก; 4. ผล; 5. ขน
ไมพุม สูงประมาณ 1–2 ม. ก่ิงเปนเหลีย่ ม มขี นแข็งสีน้าํ ตาลปกคลุม แผนใบ
ทงั้ สองดาน กานดอก และฐานดอก ขนยาว ปลายแหลม สวนปลายของขนช้กี าง
ออก ไมแนบติดกบั สวนตางๆ ใบรปู หอก ยาว 8–15 ซม. ปลายใบรูปแหลมยาว
ฐานใบรูปแหลม เสนใบออกจากฐาน 3 เสน กานใบยาว 0.8–2 ซม. ดอกออกเปน
ชอกระจกุ บรเิ วณปลายยอด ดอกยอย 1–3 ดอก ใบประดบั รูปไข ยาวประมาณ 1
ซม. กลีบเล้ยี งรูปสามเหล่ียมแคบ มี 5 แฉก ขอบมขี นครยุ กลีบดอกสีมวงอมชมพู
รูปไขกลบั เกสรเพศผูมี 10 อนั เรียงตวั 2 แถว ช้นั นอกมี 5 อัน กานชอู ับเรณโู คง
คลายเคยี ว ชน้ั ในมี 5 อนั กานชเู กสรเพศเมยี มี 1 อนั ยอดเกสรเพศเมียเปนกอน
กลม ผลแหงแตกตามยาว เมลด็ เลก็ มจี าํ นวนมาก
88 คมู่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง
สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคุณ: ราก รสขม บํารุงกาํ ลงั ใชฝนกับน้าํ มะนาวรักษาพษิ
งกู ะปะ¹’²’³ ลําตน รสขม ใชรักษาโรคตานในเด็ก³ ผล รสหวานฝาด ใชรักษาแผล
ในปาก³
การศึกษาฤทธ์ทิ างเภสัชวิทยา: สารสกัดจากผล มีฤทธ์ิตานอนุมลู อสิ ระ [1]
สารเคมีทพ่ี บ: สวนของผล พบสาร flavonoids 5 ชนดิ (epicatechin gallate,
epicatechin, rutin, pigallocatechin และ quercetin) และ phenolic
compounds 2 ชนิด (protocatechuic acid และ chlorogenic acid) [2]
เอกสารอางองิ
[1] Tong Zhou, Dong-Ping Xu, Sheng-Jun Lin, Ya Li, Jie Zheng, Yue Zhou, Jiao-Jiao Zhang and
Hua-Bin Li. Ultrasound-Assisted Extraction and Identification of Natural
Antioxidants from the Fruit of Melastoma sanguineum Sims. Gregory Chatel
2017; 22 (306): 1-15.
[2] Cai-Ning Zhao, Jiao-Jiao Zhang, Ya Li, Xiao Meng and Hua-Bin Li. Microwave-Assisted
Extraction of Phenolic Compounds from Melastoma sanguineum Fruit:
Optimization and Identification. Elena Ibanez and Farid Chemat 2018; 23: 1-11.
89คู่มือพืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
34. กันเกรา
ชือ่ วิทยาศาสตร Fagraea fragrans Roxb.
วงศ GENTIANACEAE
ชอ่ื อน่ื ตะมะซู (มาเลย-คาบสมทุ ร); ตาเตรา (เขมร-ภาคตะวนั ออก); ตาํ มูซู (มา
เลย-คาบสมทุ ร); ตาํ เสา ทําเสา (คาบสมทุ ร); มันปลา (ตะวนั ออกเฉียงเหนอื -ภาค
เหนือ)
23
14 5
Fagraea fragrans Roxb.: 1. ลําตน; 2. เปลอื กตน; 3. ใบ; 4. ดอก; 5.ผล
ไมตน สงู ประมาณ 9-15 ม. ลาํ ตนแตกเปนรองลึก ใบออกเปนกระจุกบรเิ วณ
ปลายก่ิง ใบเด่ียวเรียงตรงขาม ใบรปู รี รูปรีแกมรปู ขอบขนาน ขนาด 2.5-4×7-
10.5 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบรปู ลม่ิ ขอบใบเปนคลน่ื กานใบยาว 1.5 ซม. เสน
ใบมี 5-7 คู แผนใบเรยี บเปนมนั วาว ดอกเปนชอเชงิ หลนั่ บรเิ วณซอกใบสวนปลาย
กิง่ กลบี เลี้ยงเชอื่ มติดกันเปนหลอดสวนปลายแยกเปน 5 แฉก กลบี ดอกสเี หลอื ง
นวล โคนกลบี ดอกเชือ่ มตอตดิ กันเปนหลอด ปลายแยก 5 แฉก ดอกมกี ล่ินหอม
เกสรเพศผูมี 5 อัน กานเกสรยาวโผลพนกลบี ดอก เกสรเพศเมียมี 1 อนั ยอดเกสร
เพศเมียมี 2 พู ผลกลม สีเขียว เปลีย่ นเปนสสี ม และสีแดงเม่อื สกุ
90 คมู่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคุณ: เนอื้ ไม รสขมมัน ยาอายุวัฒนะ แกไขมาลาเรยี ¹’²’³
เปลือกตน รสขมฝาด ตมน้ําดมื่ แกไขปา³ ใบ รสฝาด ตมนํา้ ใหสตรีหลงั คลอดอาบ³
ดอก รสหอม ใชบํารงุ หัวใจ³
การศกึ ษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา: สารสกดั จากสวนของเปลอื กตนและใบ มฤี ทธิ์ตาน
การอกั เสบ [1] สารสกดั จากดอกมีฤทธิ์ตานอนุมลู อิสระ และตานเชอื้ แบคทเี รยี [3]
สารเคมีทพ่ี บ: พบสาร alkaloids จากสวนของใบและผล [2] พบสารสกัดนาํ้ มัน
หอมระเหยที่มีองคประกอบของ three-octadecyne, catalponone และ
elemicin จากสวนของดอก [3]
เอกสารอางอิง
[1] M Jonville, B Baghdikian, E Ollivier, L Angenot, M Frédérich 1, J Legault. Anti-
inflammatory potency of the traditionally used antimalarial plant Fagraea
fragrans. Planta Medica 2010; 16: 484–486.
[2] ALFRED S. C. WAN Y. L. CHOW. Alkaloids of Fagraea fragrans Roxb. J Pharm
Pharmacol 964; 16 (7): 441-504.
[3] Patcharee Pripdeevech and Jarupux Saansoomchai. Antibacterial Activity and Chemical
Composition of Essential Oil and Various Extracts of Fagraea fragrans Roxb.
Flowers. Chiang Mai J. Sci 2013; 40 (2): 214-223.
91คู่มอื พชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
35. ขอบนางเถา
ชอ่ื วิทยาศาสตร Salacia macrophylla Blume
วงศ CELASTRACEAE
ชอ่ื อ่นื กระดอหด (ตราด); ขอบดง ขอบนาง (ปตตาน)ี ; ไขกระจง (นราธวิ าส);
สะเดาเยน็ (ตราด)
12
34
Salacia macrophylla Blume: 1. ลาํ ตน; 2. เนื้อไม; 3. ใบ; 4. ดอก
ไมพมุ ยาวประมาณ 3-5 ม. เปลอื กตนมสี ีน้าํ ตาลขรุขระ กิง่ ออนมขี นสีนาํ้ ตาล
แดงปกคลุม เนอื้ ไมสแี ดงออน นํ้ายางสีแดง ใบเด่ยี วเรียงตรงขาม รปู ใบหอก
ขนาด 2-5×10-20 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบสอบมน ขอบใบเรยี บ แผนใบหนา
หลังใบผิวมัน ทองใบผวิ เรยี บมหี ูใบ ดอกเดีย่ ว ออกรวมกันเปนกลมุ ออกมาจากปุม
นูนท่ซี อกใบจาํ นวนมาก ดอกสเี ขยี วอมเหลอื ง กลีบดอกรปู รางกลม ปลายกลมมน
ฐานกลบี กวาง มี 5 กลีบ สีเหลอื งปนเขยี ว กลบี เลย้ี งมี 5 กลบี ปลายมนกลม สี
เขียว ผลกลม ขนาด 3-4×4 ซม. ผิวหยาบ ผลออนสีเขยี ว เมอื่ สกุ เปล่ียนเปนสสี ม
แดง มเี มล็ดแขง็ 3-4 เมลด็
92 คูม่ ือพืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
สวนท่ีใช รสยา และสรรพ คณุ : ราก เนือ้ ไม รสฝาดเอยี น ใชประกอบตาํ ราชวย
กระชับมดลูก แตหากใชในเพศชายจะทาํ ใหมีอารมณทางเพศลดลง ใชรักษาโรค
ริดสดี วง รักษาโรคโลหติ จาง นาํ มาฝนกบั นํา้ มะนาวด่ืมรกั ษาโรคลม¹’²’³
การศึกษาฤทธทิ์ างเภสัชวทิ ยา: มฤี ทธต์ิ านเชื้อจลุ ินทรีย ตานการอกั เสบ ตานเชื้อ
มาลาเรีย และยบั ยงั้ α-glucosidase [1]
สารเคมที พี่ บ: oxidized pentacyclic triterpenes [1]
เอกสารอางอิง
[1] Tengku Azlan S. Tengku Mohamad, Humera Naz, Ratni S. Jalal, Khatijah Hussin, Mohd R.
Abd Rahman, Aishah Adam, Jean-Frédéric F. Weber. Chemical and
pharmacognostical characterization of two Malaysian plants both known as
Ajisamat. Revista brasileira farmacognosia 2013; 23: 724-730.
93คูม่ อื พชื สมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
36. สรุ ามฤต
ช่ือวิทยาศาสตร Neolitsea zeylanica (Nees & T. Nees) Merr.
วงศ LAURACEAE
ชอื่ อ่ืน กระชดิ ผู (นราธิวาส); แตยอยาแต (มลายู นราธวิ าส); เอียน เอยี นผู
(ภาคใต)
12 3
Neolitsea zeylanica (Nees & T. Nees) Merr.: 1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3. ดอก
ไมตน สูงประมาณ 5-10 ม. ตนแยกเพศ เปลือกเรียบหรือแตกเปนรองตื้นๆ สี
เทาถงึ นํา้ ตาลเทา มีกลิน่ หอมคลายเครอื่ งเทศ ใบเดี่ยว เรยี งสลับ แผนใบรูปไขหรือ
รปู รี ผวิ ใบเกลยี้ ง ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ฐานใบกลมมน ขนาด 1-4×3-9
ซม. เสนใบ 3-4 คู ออกจากฐาน 3 เสน ทองใบสีเขียวเปนมันวาว หลงั ใบมีนวล
ขาว กานใบยาว 1-1.5 ซม. ใบออนมีขนสีนาํ้ ตาลปกคลมุ ชอดอกออกเปนกระจุก
แบบซ่ีรม ขนาดเล็ก ออกตามซอกใบบรเิ วณปลายกิ่ง ดอกแยกเพศ ขนาดเล็ก สี
เหลอื งนวล
94 คู่มอื พืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนท่ใี ช รสยา และสรรพคุณ: เปลือกตน รสหอมรอน ใชตมน้ําดมื่ หรอื ประกอบ
ตํารบั ยาดองเหลาชวยขบั ลม บาํ รงุ ธาต¹ุ ’²’³ แกน รสรอน ใชประกอบตํารับยาหอม
แกกองกษยั ³
การศกึ ษาฤทธท์ิ างเภสัชวิทยา: ไมพบขอมูล
สารเคมีท่ีพบ: sesquiterpenes, linderalactone, linderane, neolinderane,
zeylanine, zeylanicine และ zeylanidine ซง่ึ สกัดไดจากราก [1]
เอกสารอางอิง
[1] Joshi, B.S., Kamat, V.N., Govindachari, T.R. Sesquiterpenes of Neolitsea zeylanica Merr.-
I. Isolation of some constituents. Tetrahedron 1967; 23 (1): 261-265.
95คู่มือพชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
37. มะม่วงหมิ พานต์
ช่ือวทิ ยาศาสตร Anacardium occidentale L.
วงศ ANACARDIACEAE
ช่ืออืน่ กะแตแก (นราธวิ าส); กายี (ตรงั ;) กาหยู กาหยี มวงเม็ดลอ มวงเล็ดลอ ทายลอ
ตาํ หนาว หวั ครก สมมวงชูหนวย (ภาคใต); นายอ (ยะละ); มะมวงกาสอ (อตุ รดติ ถ);
มะมวงกุลา มะมวงลงั กา มะมวงหยอด มะมวงสนิ หน (ภาคเหนอื ); มะมวงไมรูหาว
(ภาคกลาง); มะมวงเล็ดลอ มะมวงยางหบุ (ระนอง); มะมวงสิโห (เชียงใหม); มะโห
(แมฮองสอน); ยาโงย ยารวง (ปตตาน)ี ; สมมวงทูนหนวย มะมวงทูนหนวย
(สรุ าษฎรธานี)
23
14 5
Anacardium occidentale L.: 1. ลาํ ตน; 2. เปลือกตน; 3. ใบ; 4. ดอก; 5. ผลเทยี ม (ฐานรองดอก) และผล
ไมตน สงู ประมาณ 3-10 ม. ลําตนแตกกิ่งกาน มีกง่ิ ยอยแตกออกเปนพุมแนนทรง
กลม เปลือกตนคอนขางหนาสเี ทาอมน้ําตาล ใบเดี่ยว เรยี งตรงขามสลับตั้งฉาก รปู ไข
กลบั ผิวใบเกลีย้ ง ขอบใบเรยี บ ปลายใบกลม ฐานใบรูปลิ่ม ขนาด 2-5×3-9 ซม. เสนใบ
8-10 คู แผนใบหนาเหนียว กานใบยาว 1-2 ซม. ดอกออกเปนชอ แตละชอประกอบ
ดวยดอกยอยจํานวนมาก กลีบเลย้ี งสเี ขียวขนาดเลก็ กลีบดอกสีเหลอื งนวล และจะ
เปลย่ี นไปสแี ดงอมมวง โคนดอกเชื่อมตดิ กนั สวนปลายแยกเปน 5 แฉก เม่อื ผลแกฐาน
รองดอกจะขยายใหญขน้ึ สีเหลอื งอมชมพู เมื่อแกจัดจะเปลีย่ นเปนสแี ดง หรอื เหลอื ง
และมีกล่นิ เฉพาะ เนื้อในนุมฉา่ํ น้าํ ผลแขง็ รปู ไต ติดบรเิ วณสวนปลายของฐานรองดอกที่
ขยายใหญ ผลออนสเี ขยี ว เมอ่ื แกเปลย่ี นเปนสเี ทา เปลือกผลมียางสีเหลือง มี 1 เมลด็
96 คูม่ ือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง
สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคณุ : เปลือกตน รสฝาด ใชฆาเชอ้ื นํามาในนาํ้ ตาลโตนดชวย
ใหนาํ้ ตาลโตนดไมบูดเปรี้ยว¹’² นาํ มาตมนาํ้ อาบแกคัน แกโรคผวิ หนัง³ ใบ รสฝาด นาํ มา
เค้ียวชวยรกั ษาแผลในชองปาก³ ยางจากตน รสฝาด นํามาใชแทนชันยอยประกอบตาํ รบั
ยาเหลอื งปดสมุทร¹ ผลเทียม (ฐานรองดอก) รสหวาน น้ําในผลชวยบาํ รงุ กาํ ลัง³ เมล็ด
รสมนั ชวยบาํ รงุ ไขขอ¹ ยางจากเปลือกผล รสเมาเบ่ือ ใชรักษาโรคเร้ือน กัดหดู ¹’³
การศกึ ษาฤทธ์ทิ างเภสัชวทิ ยา: เมลด็ และเปลือกตน มฤี ทธติ์ านอนุมลู อสิ ระ ตานการ
อักเสบ [1] และปองกันโรคขออักเสบ [2] สารสกดั จากเปลอื กตน มีฤทธ์ติ านเช้ือ
แบคทีเรีย [3] สารสกัดจากใบ มีฤทธติ์ านการแขง็ ตวั ของเกลด็ เลอื ด และชวยลดความดนั
โลหติ [4]
สารเคมที พ่ี บ:
- สารประกอบ phenol ไดแก pinostrobin, pinocembrin, 4-
hydroxybenzaldehide, tannin และ anacardic acids พบในเปลือกตน [3]
- สารประกอบ flavonoid ไดแก quercetin myricetin kaempferol และ
anthocyanin [5]
เอกสารอางองิ
[1] Siracusa, R., Fusco, R., Peritore, A.F., Cordaro, M., D’amico, R., Genovese, T., Gugliandolo, E., Crupi, R.,
Smeriglio, A., Mandalari, G., Cuzzocrea, S., Di Paola, R., Impellizzeri, D. The antioxidant and anti-
inflammatory properties of Anacardium occidentale L. Cashew nuts in amouse model of colitis.
Nutrients 2020; 12 (3): 834 .
[2] dos Santos, A.T., Guerra, G.C.B., Marques, J.I., Torres-Rêgo, M., Alves, J.S.F., Vasconcelos, R.C., de Souza
Araújo, D.F., Abreu, L.S., de Carvalho, T.G., de Araújo, D.R.C., Tavares, J.F., de Araújo, A.A., de Araújo
Júnior, R.F., de Freitas Fernandes-Pedrosa, M., de Santis Ferreira, L., Zucolotto, S.M. Potentialities of
Cashew Nut (Anacardium occidentale) By-Product for Pharmaceutical Applications: Extraction
and Purification Technologies, Safety, and Anti-inflammatory and Anti-arthritis Activities. Revista
Brasileira de Farmacognosia 2020; 30 (5): 652-666.
[3] Wahyuni, W., Malaka, M.H., Yanti, N.A., Hartati, R., Sukrasno, S., Sahidin, I. Radical scavenging and
antibacterial activity of phenolic compounds from Anacardium occidentale L. stem barks from
south east sulawesi-Indonesia. Indian Journal of Pharmaceutical Sciences 2018; 80 (1): 143-149.
[4] Sukati, S., Khobjai, W. In vitro antiplatelet and anticoagulant activity of indigenous vegetables from
Southern Thailand. International Journal of Applied Pharmaceutics 2021; 13 (special issue 1): 38-42.
[5] de Brito, E.S., Pessanha de Araújo, M.C., Lin, L.-Z., Harnly, J. Determination of the flavonoid components
of cashew apple (Anacardium occidentale) by LC-DAD-ESI/MS. Food Chemistry 2007; 105 (3):
1112-1118.
97คมู่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง
38. เถาถอบแถบ
ชื่อวทิ ยาศาสตร Spatholobus harmandii Gagnep.
วงศ FABACEAE
ช่อื อ่นื กาํ ลังเลือดมา (พิษณุโลก); เถาขาวหมู (จนั ทบรุ ี สุราษฎรธาน)ี ; เถามันหมู
(ปราจนี บุรี); ประดงแดง (ฉะเชงิ เทรา); ประดงเลอื ด เครอื เมอื่ ยเลอื ด (ภาคใต);
เลือดมาเครือ (สระแกว)
23
14 5
Spatholobus harmandii Gagnep.: 1. เถาและเนอ้ื ไม; 2. ใบ; 3.-4. ผล; 5. เมล็ด
ไมเถาเน้อื แขง็ เถายาวไดถึง 20 ม. เน้ือในเปลอื กเถาสแี ดง เนื้อไมสีขาว ใบ
ประกอบ มี 3 ใบยอย รูปหอก ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ฐานใบรปู ลิ่ม ขนาด
1.5-3×3-8 ซม.กานใบยอยบวมพอง กานใบยาว 3-5 มม. ผลมีปกแบน สเี ขียว
เปล่ยี นเปนสนี ํา้ ตาล ขนาด 2-2.5×6-7 ซม. มขี นนมุ สนี ํา้ ตาลคลายกาํ มะหย่ี
ปกคลมุ เมลด็ รูปรี สดี าํ
98 คมู่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง