สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคณุ : ยอดออน รสฝาด ชวยสมานแผลในลาํ ไส¹’² ใบ รส
เมาเบ่ือ นาํ มาตมน้ําดื่มเปนยาระบาย¹ ผล รสหวานฝาด นํามารกั ษาโรคผอมแหง
แรงนอยในเดก็ ³
การศกึ ษาฤทธิ์ทางเภสัชวทิ ยา: ไมพบขอมูล
สารเคมที ีพ่ บ: ไมพบขอมูล
99คู่มอื พชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
39. กะพอ้
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Licuala spinosa Thunb.
วงศ ARECACEAE
ชอื่ อน่ื กะพอเขียว พอ (ภาคใต); กะพอหนาม (ภาคกลาง); กูวาแมเราะ (มลาย-ู
นราธิวาส); ขวน พอพรุ (นราธวิ าส)
23
14 5
Licuala spinosa Thunb.: 1. ทง้ั ตน; 2. ใบ; 3. ปลายใบ; 4. กานใบ; 5. ผล
ไมพุมแตกเปนกอ สงู ประมาณ 1-3 ม. ลาํ ตนเดี่ยวหรือรวมกันหลายตน ใบ
ประกอบ รูปพดั ใบยอยประมาณ 6-12 ใบ ใบยอยรูปแถบ ปลายใบเบยี้ วเวาเปน
หางปลาหรอื รปู ตัด ขอบใบเรียบ ฐานใบรูปล่ิม ขนาด 4-7×40-50 ซม. ผิวใบเรยี บ
กานใบรปู สามเหล่ียม มีหนามแหลมสีดํา ดอกสมบูรณเพศ มขี นาดเลก็ จาํ นวนมาก
วงกลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมีสีเขยี ว มขี นกระจายหางๆ เกสรเพศผูมี 6 อนั ผลทรง
กลม ผวิ เกล้ยี ง ผลแกสีเขยี ว ผลสุกเปล่ยี นเปนสแี ดง มเี มล็ดเดยี ว
100 คู่มือพืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
สวนท่ใี ช รสยา และสรรพคณุ : เหงา รสหวาน นาํ มาตมนําดื่มชวยลดไข ขับ
ปสสาวะ¹ ใชรกั ษาโรคท่เี กย่ี วกบั ปอด ตับ หวั ใจ ไต และลําไส³ ใบ กานใบ รสจดื ใช
ตมน้ําอาบ รักษาโรคสตรีหลังคลอด³ ผล รสฝาด ใชรักษาโรคในปากและลําคอ³
การศกึ ษาฤทธิท์ างเภสชั วิทยา: สารสกัดหยาบจากใบ มีฤทธิต์ านอนมุ ลู อิสระ [1]
สารเคมที ีพ่ บ: phenolic flavonoids และ steroid saponins ซง่ึ สกดั ไดจากสวน
ใบ [1] [2]
เอกสารอางองิ
[1] Khan, M.S., Yusufzai, S.K., Rafatullah, M., Sarjadi, M.S., Razlan, M. Determination of total
phenolic content, total flavonoid content and antioxidant activity of various
organic crude extracts of Licuala spinosa leaves from Sabah, Malaysia. ASM
Science Journal 2018; 11 (Special Issue 3): 53-58.
[2] Asami, A., Hira, Y., Shoj, J. Studies on the Constituents of Palmae Plants: VI: 1a) Steroid
Saponins and Flavonoids of Leaves of Phoenix canariensis hort ex Chabaud, P
humilis Royle var: hanceana becc:, P dactylifera L:, and Licuala spinosa
Wurmb. Chemical and Pharmaceutical Bulletin 1991; 39 (8): 2053-2056.
101คู่มอื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
40. มะเมอื่ ย
ชื่อวทิ ยาศาสตร Gnetum microcarpum Blume
วงศ GNETACEAE
ช่ืออน่ื มวย (เชียงราย อุบลราชธานี); มวยขาว เม่อื ยขาว (อบุ ลราชธาน)ี ; มะมวย
(เชยี งใหม); แฮนมวย (เลย); เถาเม่ือย (สุโขทยั ); เถาเม่ือยแดง (ภาคใต); เมอ่ื ย
(ตราด); เมอ่ื ยนก (สงขลา)
23
14 5
Gnetum microcarpum Blume: 1. เถา; 2. ใบ; 3. สตรอบิลสั ; 4-5. เมลด็
ไมเลอ้ื ย จาํ พวกพชื เมลด็ เปลือย เถายาวประมาณ 5-10 ม. เปลอื กตนเรียบสี
นํ้าตาลปนดํา ลาํ ตนเปนขอบวมชดั เจน ใบเดย่ี ว เรียงตรงขาม รูปรแี กมรูปหอก ผิว
ใบเกล้ยี ง แผนใบหนา ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ฐานใบรปู ล่ิม ทองใบสีเขียว
เขมเปนมัน เสนใบมี 9 คู สตรอบิลัสแตกออกดานขางลาํ ตน ออกเดยี่ วๆ รูปทรง
มงกุฎซอนกัน 7-8 ชั้น ต้ังตรง เมลด็ รปู ไข ผิวเกลย้ี ง มตี ง่ิ ตรงปลาย เปลอื กหุม
เมล็ดมีสีเขยี ว เปลยี่ นเปนสเี หลือง และสแี ดงเมือ่ สกุ
102 คมู่ อื พชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
สวนทีใ่ ช รสยา และสรรพคณุ : เถา ราก รสฝาดขม นาํ มาตมนํ้าดื่มชวยบํารงุ กําลงั
แกอาการปวดเมื่อย มีสรรพคุณคลายมากระทบื โรง¹’²’³ ใชประกอบตาํ รับยารักษา
เสนเลอื ดขอด³
การศกึ ษาฤทธิ์ทางเภสัชวทิ ยา: ไมพบขอมูล
สารเคมีทีพ่ บ: สารประกอบ stilbenoids ไดแก malaysianol E, gnetol,
gnetucleistol C, gnetucleistol D, resveratrol และ e-viniferin ซ่งึ สกดั ไดจาก
สวนใบ [1]
เอกสารอางอิง
[1] Azmin, N.F.N., Ahmat, N., Syah, Y.M., Khairuniss, N., Zawawi, N.A., Yusof, M.I.M. A new
stilbenoid compound from the lianas of Gnetum microcarpum. Natural
Product Communications 2014; 9 (12): 1743-1744.
103คู่มือพืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
41. ปลาไหลเผือก
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Eurycoma longifolia Jack
วงศ SIMAROUBACEAE
ชื่ออน่ื กรงุ บาดาล (สุราษฎรธาน)ี ; คะนาง ชะนาง (ตราด); ไหลเผอื ก (ตรัง); ตรงึ บาดาล (ปตตาน)ี ;
ตงุ สอ ตรึงบาดาล เพยี ก หยกิ บอถอง แฮพันชั้น (ภาคเหนอื ); ตุวุวอมิง ตวุ เบาะมิง (มาเลย-นราธิวาส);
พญารากเดียว (ภาคใต); เพียก หยกิ บอถอง หยกิ ไมถึง เอยี นดอน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื )
23
1 45
Eurycoma longifolia Jack: 1. ลําตน; 2-3. ใบ; 4. ดอก; 5. ผล
ไมพมุ ก่งึ ไมตน สูงประมาณ 4-8 ม. ลาํ ตนตรง แตกกิง่ กานนอย เปลอื กตนเรียบ สนี ํ้าตาลอมดาํ
กงิ่ ออนและยอดออนมีขนปกคลุม ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี เรยี งสลับ ใบออกเปนกระจุกบรเิ วณ
ปลายยอด ใบยอยมี 7-17 คู ใบยอยเรียงตรงกนั ขาม รปู รี ผิวใบเกลี้ยง หนาเหนยี ว สเี ขียวเขม ขอบ
ใบเรยี บ ปลายใบแหลม ฐานใบเบ้ียว ขนาด 1.5-2×5-8 ซม. กานใบยาว 1-1.5 มม. ดอกออกเปนกระ
จุกที่ปลายกิ่งบริเวณซอกใบ มีขนปกคลุมทง้ั กานชอดอก กานดอก ใบประดบั และกลบี เลย้ี ง กลบี
เล้ยี งมี 5 กลบี หลอดกลบี เล้ยี งสัน้ โคนเช่อื มตดิ กนั เล็กนอยกลบี ดอกมี 5 กลบี สีมวงแกมแดง รปู
หอก ผลออกเปนชอ มีผลยอยประมาณ 5 ผล ทรงรหี รอื รูปไข ผิวเรยี บ กลางผลมรี องตน้ื ๆตามยาว
ผลออนสีเขียว เมือ่ สุกเปลย่ี นเปนสแี ดงหรอื มวงดํา เมล็ดรูปรี มี 1 เมล็ด
สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคณุ : ราก ลําตน รสขม นาํ มาตมนา้ํ ดมื่ แกไขหรอื ใชเปนสวนประกอบใน
ตํารบั ยาแกไขตางๆ¹’²’³ ชาวมสุ ลมิ นาํ มาทําเปนตกู ะอาลี (ยาบํารงุ กําหนัด)¹ ใชรกั ษาวณั โรค โรคฝ
เร้อื รัง ราก รสขม นาํ มาฝนกับน้าํ มะนาว ใชรักษาแผลงูกดั หรือดองเหลา ใชด่มื เพ่อื ชวยลดความ
อยากด่ืมเหลา³
104 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
การศึกษาฤทธท์ิ างเภสัชวิทยา:
- สารสกัดจากราก มฤี ทธ์เิ พม่ิ สมรรถภาพทางเพศในหนทู ดลองเพศผู [1]
- สารกลุม quassinoids ไดแก eurycomanone, 13α(21)-epoxyeurycomanone และ
eurycomanol มฤี ทธ์ติ านมะเร็ง [2]
- สารกลมุ quassinoids ไดแก eurycomanone, 13,21-dihydro eurycomanone, 13α(21)-
epoxyeurycomanone, eurycomalactone และ 9-methoxycanthin-6-one ซึง่ สกัดไดจากราก
มีฤทธต์ิ านเช้อื P. falciparum ซึง่ เกดิ โรคมาลาเรีย [3]
- สาร 14,15β-dihydroxyklaineanone มฤี ทธต์ิ านการเจรญิ ของเน้ืองอก สาร Longilactone มฤี ทธ์ิ
ตานซสิ โตโซม และสาร 15β-O-acetyl-14-hydroxyklaineanone มีฤทธต์ิ านเชอื้ มาลาเรีย [4]
- สาร eurycomalactone, 13,21-dehydroeurycomanone และ 14,15β-dihydroklaieanone
มฤี ทธิ์ตานการอักเสบ [5]
สารเคมที พ่ี บ:
- สารกลมุ quassinoids (eurycomanone-type C20, klianeanone-type C20, C19,
longilactone-type C19 และ eurycomalactone-type C19) [6]
- สารกลุม triterpenoids (niloticin, dihydroniloticin, piscidinol A, bourjotinolone A, 3-
episapeline A, melianone และ hispidone) ซงึ่ สกดั ไดจากลําตน [7]
เอกสารอางอิง
[1] Ang HH, Ngai TH, Tan TH. Effects of Eurycoma longifolia Jack on sexual qualities in middle aged male
rats. Phytomedicine 2003; 10 (6-7): 590-3.
[2] Al-Salahi OSA, Kit-Lam C, Majid AMSA, Al-Suede FSR, Mohammed Saghir SA, Abdullah WZ, et al. Anti-
angiogenic quassinoid-rich fraction from Eurycoma longifolia modulates endothelial cell
function. Microvascular Research 2013; 90: 30-9.
[3] Chan K-L, Choo C-Y, Abdullah NR, Ismail Z. Antiplasmodial studies of Eurycoma longifolia Jack using the
lactate dehydrogenase assay of Plasmodium falciparum. Journal of Ethnopharmacology 2004; 92
(2-3): 223-7.
[4] Jiwajinda, S., V. Santisopasri, A. Murakami, M. Kawanaka, H. Kawanaka, M. Gasquet, R. Eilas, G. Balansard, H.
Ohigashi. In vitro anti-tumor promoting and anti-parasitic activities of the quassinoids from
Eurycoma longifolia, a medicinal plant in Southeast Asia. Journal of Ethnopharmacology 2002;
82(1): 55-58.
[5] Tran TVA, Malainer C, Schwaiger S, Atanasov AG, Heiss EH, Dirsch VM, et al. NF-κB Inhibitors from
Eurycoma longifolia. Journal of Natural Products 2014; 77 (3): 483-8.
[6] Miyake K, Tezuka Y, Awale S, Li F, Kadota S. Quassinoids from Eurycoma longifolia. Journal of Natural
Products 2009; 72 (12): 2135-40.
[7] Itokawa H, Kishi E, Morita H, Takeya K. Cytotoxic quassinoids and Tirucallane-type triterpenes from the
woods of Eurycoma longifolia. Chemical and Pharmaceutical Bulletin 1992; 40 (4): 1053-55.
105ค่มู อื พืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
42. พาหมี
ชอ่ื วิทยาศาสตร Linostoma pauciflorum Griff.
วงศ THYMELAEACEAE
ช่อื อน่ื ตุบาลลู ี (มาเลย-นราธวิ าส); ตูมาลูลี (มาเลย-ปตตานี); ปาหมี (ภาคใต);
พันไสน (ภาคกลาง)
12
34
Linostoma pauciflorum Griff.: 1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3. ชอดอก; 4. ผล
ไมเลอ้ื ย ใบประกอบรปู ขนนกปลายคู ใบยอยเรยี งตรงขาม ผวิ ใบเกลย้ี ง ขอบ
ใบเรียบ ปลายใบมนมตี ่ิงแหลม ฐานใบรูปมน ขนาด 0.5-1×1.5-2 ซม. ทองใบสี
เขียว หลังใบมีนวลขาว กานใบยาว 1-1.5 มม. เสนใบตรงและขนานกัน ชอดอก
ออกบริเวณปลายกง่ิ ชอเชิงหล่ัน ดอกยอยประมาณ 20-25 ดอก กลีบเล้ียงสเี ขยี ว
รปู ถวย กลบี ดอกสสี มแกมแดงหรอื สสี มแกมเหลอื ง โคนกลบี เชื่อมตดิ กนั เปนหลอด
ยาวประมาณ 3 เซนตเิ มตร สวนปลายมี 4 แฉก เกสรเพศผู 4 อนั ติดบริเวณปาก
หลอด เกสรเพศเมยี โผลพนปากหลอด ยอดเกสรมี 2 แฉก รังไขอยูใตวงกลีบ 3 ซม.
สวนปลายมี 4 แฉก เกสรเพศผู 4 อัน ตดิ บริเวณปากหลอด เกสรเพศเมยี โผลพน
ปากหลอด ยอดเกสรมี 2 แฉก รังไขอยใู ตวงกลีบ
106 คมู่ ือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
สวนท่ใี ช รสยา และสรรพคณุ : เถา รสเมาเบอื่ รอน ใชประกอบตาํ รบั ยาแก
ริดสีดวงจมูก ใชเปนยาเบือ่ ปลา และยาฆาแมลง¹’²’³ ใชขับเลอื ดประจําเดอื น แก
ประจาํ เดอื นขดั ³ ราก รสเมาเบอ่ื รอน ใชทํายาฉดี กาํ จัดศัตรพู ืช³
การศึกษาฤทธท์ิ างเภสัชวทิ ยา: สารสกดั หยาบจากพาหมมี ฤี ทธ์ฆิ าหนอนใยผกั [1]
มีการนาํ รากและลําตน นํามาค่นั น้าํ ใชเบ่อื ปลา [2]
สารเคมที ่พี บ: สารสกดั ที่ไดจากราก คอื lonobiflavonoid และ daphnoretin
[3]
เอกสารอางองิ
[1] ไตรรัตน หนูเอียด, วิบูลย จงรัตนเมธีกุล และสุวิมล วงศพลัง. 2552. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบ
จากคางคาวดําและพาหมีท่ีมีตอหนอนใยผัก Plutella xylostella L. (Lepidoptera:
Yponomeutidae). ภาควิชากีฏวทิ ยา คณะเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร.
[2] ประทีป สองแกว และกรวิกา ศรีวัฒนวรัญ .ู พษิ ของรากพาหมตี ออตั ราการตายของปลานา้ํ จืด 6 ชนิด
และผลตอคุณภาพน้าํ ในบอเล้ียงปลา. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร 2560; 1
(2): 41-52.
[3] Navarat T., S.G. Pyne, U. Prawat and P. Tuntiwachwuttikul. Isolation of linobiflavonoid,
a novel biflavonoid from Linostoma pauciflorum Griff. Phytochemistry Letters
2011; 4 (3): 383-385.
107คู่มอื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
43. กระดกู ไกป่ า่
ช่อื วทิ ยาศาสตร Prismatomeris tetrandra (Roxb.) K. Schum. subsp.
malayana (Ridl.) J. T. Johass.
วงศ RUBIACEAE
ชอ่ื อนื่ กรัก (ประจวบครี ขี นั ธ); กระดูกไก กรักผี ดูกไกขาว ดกู ไกดํา (ภาคใต);
กําลังทรพี (สระแกว); ตอกระดูก (เลย); ซอนปา (นครราชสีมา); ผาโฮม (สตูล);
พุดปา (สระบุรี); สนกระ (ภาคกลาง)
23
14 5
Prismatomeris tetrandra (Roxb.) K. Schum. subsp. malayana (Ridl.) J. T. Johass.:
1. ลําตน; 2.-3. ใบ; 4. ดอก; 5. ผล
ไมพมุ สงู ประมาณ 1-3 ม. เปลอื กตนเรียบสีนํ้าตาลอมเทา ใบเด่ยี ว เรียงตรง
ขามสลบั ต้งั ฉาก รูปรี ผิวใบเกลย้ี ง ขอบใบเรยี บ แผนใบคอนขางหนา ปลายใบ
แหลม ฐานใบรปู ลมิ่ ขนาด 2-3×5-9 ซม. เสนกลางใบนูนชัด เสนใบ 4-6 คู กานใบ
ยาว 0.5-1 ซม. หใู บขนาดเล็ก รปู สามเหลยี่ ม ชอดอกออกบริเวณปลายกิ่ง ชอแบบ
ซร่ี ม กานชอดอกยาว 3 ซม. ดอกยอยประมาณ 7-10 ดอก กลบี เลยี้ งเช่ือมกันเปน
รูปถวยปลายแยกเปน 5 แฉก กลบี ดอกสขี าว โคนเชือ่ มเปนหลอด สวนปลายแยก
เปน 5 แฉก หลอดและแฉกของกลีบดอกยาวใกลเคยี งกัน ผลขนาดเล็ก ทรงรีหรือ
รูปไข สเี ขียว เม่อื สุกเปล่ยี นเปนสีดาํ กลบี เลีย้ งตดิ ทน เมล็ดรูปครึง่ วงกลม
108 คู่มอื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
สวนทีใ่ ช รสยา และสรรพคุณ: เนื้อไม ราก รสขม ใชประกอบตาํ รบั ยาบาํ รุง
กาํ ลัง ตํารบั ยารกั ษากระดกู หัก ใชรวมกับรากปลาไหลเผอื ก ชวยแกไข¹’² ใชรักษา
โรคเกี่ยวกับปอด³ ใบ รสขม แกไอ ใชเปนยาหามเลอื ด³
การศึกษาฤทธิ์ทางเภสชั วิทยา: สารสกัดจากราก มีฤทธ์ิตานเชอ้ื แบคทีเรยี [1]
ชวยยับยัง้ การเกิดมะเรง็ [2] และชวยปองกนั การเกิดผังผืดในตับ [3]
สารเคมีทพ่ี บ: ursolic acid [2] iridoid, phenolic glycosides [4] และ
arbutin [5] ซง่ึ สกัดไดจากราก
เอกสารอางองิ
[1] Somsap, O.-A. Antibacterial activity of Prismatomeris tetrandra K. Schum root
extract against antibiotic resistance Bacteria. Walailak Journal of Science and
Technology 2019; 16 (5): 341-348.
[2] Abdullah, N.H., Thomas, N.F., Sivasothy, Y., Lee, V.S., Liew, S.Y., Noorbatcha, I.A., Awang,
K. Hyaluronidase inhibitory activity of pentacylic triterpenoids from
Prismatomeris tetrandra (Roxb.) K. Schum: Isolation, synthesis and QSAR
Study. International Journal of Molecular Sciences 2016; 17 (2).
[3] Zhang, Y., Yang, Z.-Y., Li, J., Huang, X. Chemical constituents in anti-hepatic fibrosis
extracts from root of Prismatomeris tetrandra (Roxb.) K. Schum. Chinese
Journal of New Drugs 2016; 25 (24): 2868-2870.
[4] Feng, S., Bai, J., Qiu, S., Li, Y., Chen, T. Iridoid and phenolic glycosides from the roots
of Prismatomeris connata. Natural Product Communications 2012; 7 (5): 561-
562.
[5] Lee, K.B., Choi, J., Ahn, S.K., Na, J.-K., Shrestha, K.K., Nguon, S., Park, S.U., Choi, S., Kim,
J.K. Quantification of Arbutin in Plant Extracts by Stable Isotope Dilution Gas
Chromatography–MassSpectrometry. Chromatographia 2018; 81 (3): 533-538.
109คมู่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
44. รามป่า
ช่ือวิทยาศาสตร Rapanea porteriana (Wall. & A. DC.) Mez
วงศ PRIMULACEAE
ชอื่ อืน่ โพรงนก (ระยอง); รังกะแท (จันทบรุ ี นราธิวาส); รามขาว (นราธวิ าส);
ลามเขา (สรุ าษฎรธานี)
23
14 5
Rapanea porteriana (Wall. & A. DC.) Mez: 1.-2. ลําตน; 3. ใบ; 4.ดอก; 5. ผล
ไมตน สงู ประมาณ 5-10 ม. เปลือกตนสเี ทาขาว เปลือกเรียบหรือถงึ แตก
สะเกด็ ลอนเลก็ นอย ใบเด่ยี ว เรียงตรงขามสลับตงั้ ฉากรอบกงิ่ เปนกระจุกหนาแนน
ท่ีปลายกิ่ง รูปไขกลบั ผิวใบเกลีย้ ง ขอบใบเรยี บ ปลายใบมน ฐานใบรปู ลม่ิ ขนาด
0.5-2×1.5-5 ซม. ทองใบสีเขยี วเขม หลงั ใบมนี วลสีขาว กานใบยาว 3-5 มม. ผล
ทรงกลม เสนผานศูนยกลางประมาณ 5 มม. ที่ปลายผลมีติ่งขนาดเลก็ ออกเปนชอ
แตละชอตดิ ผลประมาณ 3-5 ผล กานผลยาว 2-4 มม. ผลออนสเี ขยี ว กอนจะ
เปลยี่ นเปนสชี มพู เม่อื สุกเปล่ียนเปนสีดํา
110 คูม่ ือพืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
สวนทใี่ ช รสยา และสรรพคณุ : เนอ้ื ไม ราก รสฝาด นํามาตมนา้ํ ดื่มสมานแผล
สมานลําไส บํารงุ ตบั ¹ แกกฏุ ฐโรค กามโรค³ ใบ รสฝาดเค็ม นํามาตมนํ้าอาบ ชวย
ชําระส่งิ สกปรกและกลน่ิ คาวในสตรหี ลงั คลอด³ ผล รสฝาด ใชบาํ รุงโลหติ ³
การศกึ ษาฤทธ์ทิ างเภสัชวิทยา: สารสกดั จากใบ กระตนุ การทํางานของฮอรโมน
Estrogen ในเพศหญงิ [1]
สารเคมีท่พี บ: ไมพบขอมูล
เอกสารอางองิ
[1] Jamal, J.A., Ramli, N., Stanslas, J., Husain, K. Estrogenic activity of selected Myrsinaceae
species in MCF-7 human breast cancer cells. International Journal of Pharmacy
and Pharmaceutical Sciences 2012; 4 (SUPPL. 4): 547-553.
111คูม่ ือพืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
45. กําแพงเจด็ ชนั้
ชอ่ื วิทยาศาสตร Salacia chinensis L.
วงศ CELASTRACEAE
ช่ืออนื่ กระดมุ นก (ประจวบครี ขี ันธ); ขอบกระดง พรองนก (อางทอง); ขาวไก ตาไก ตากวาง
เครือตากวาง (ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ); ตะลมุ นก (ราชบรุ )ี ; ตาไก ตาใกล (พษิ ณุโลก);
นํา้ นอง มะตอมไก (ภาคเหนอื ); หลมุ นก (ภาคใต)
12
34
Salacia chinensis L.: 1. ลาํ ตน; 2. ใบ; 3. ดอก; 4. ผล
ไมพมุ รอเล้ือย สงู ประมาณ 2-6 ม. เปลือกตนเรยี บ สเี ทานวล ดานในเน้อื ไมมีวงปสีนํ้าตาล
แดงเขมจํานวนหลายชนั้ ซอนกนั อยูประมาณ 7-9 ชน้ั ใบเดยี่ ว เรียงตรงขาม รูปรีหรือรปู ไข
แผนใบเกลย้ี งคอนขางหนา ทองใบเปนมันสเี ขยี วเขม หลงั ใบสีเขยี วออน ขอบใบหยัก ปลายใบ
แหลม ฐานใบรปู ล่ิม ขนาด 2-3×4-8 ซม. เสนใบ 4-6 คู กานใบยาว 5-7 มม. ดอกออกเปนชอ
ส้นั ๆ บริเวณซอกใบ ชอละ 3-6 ดอก ดอกเล็ก สีเขียวอมเหลือง กลบี ดอก 5 กลบี ปลายกลีบ
ดอกมนบดิ เลก็ นอย แกนดอกนนู เปนวงกลม กลบี ดอกรูปรี ยาว 3-4 มม. กานดอกยาว 5-8
มม. กลีบเลีย้ ง 5 กลบี รปู สามเหลีย่ ม ยาวประมาณ 1 มม. ฐานดอกรปู ถวยคลายเปนถงุ มปี ุม
เลก็ ๆ ตามขอบ เสนผานศนู ยกลาง 1.5-2 มม. เกสรเพศผู 3 อัน กานเกสรเพศผสู น้ั ปลายเกสร
ชนกนั เปนยอดแหลม กานเกสรเพศเมยี ส้นั รังไขอยใู ตฐานรองดอก ผลรปู รางทรงกระสวย
กวางหรือรี ผิวเกลย้ี ง ผลออนสเี ขยี ว เมือ่ สุกเปลยี่ นเปนสแี ดงหรอื สีแดงอมสม ภายในมีเมล็ด
กลมขนาดใกลเคียงกบั ผล 1 เมล็ด
112 คู่มอื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
สวนที่ใช รสยา และสรรพคุณ: เถา ราก รสฝาดมนั นํามาตมนาํ้ ด่มื ชวยบาํ รงุ กาํ ลงั ¹’² ชวยแก
อัมพฤกษ อัมพาต² แกอาการปวดเมื่อย บํารงุ เสนเอ็น ชวยขบั ลม และรักษาโรคเกี่ยวกับ
โลหติ ³ ผล รสฝาดหวาน ใชบํารงุ กาํ ลงั แกโรคฝ³
การศึกษาฤทธท์ิ างเภสัชวิทยา: สารสกดั จากใบ มีฤทธิต์ านแบคทีเรยี และเชอ้ื ราท่ที ําใหเกดิ
โรคในมนษุ ย [1] สารสกดั จากใบ ลําตน และราก มฤี ทธล์ิ ดระดับน้ําตาลในเลือด [2]
สารเคมีที่พบ:
- พบ Mangiferin สกัดไดจากราก [3]
- สารกลุม glycosides ไดแก foliachinenosides (E, F, G, H, I), foliasalaciosides (J, K,
L), lignans, eleutheroside E2 และ 7R, 8S-dihydrodehydrodiconiferyl alcohol 4-O-
ß-D-glucopyranoside [4]
เอกสารอางองิ
[1] Kannaiyan, M., Manuel, V.N., Raja, V., Thambidurai, P., Mickymaray, S., Nooruddin, T.
Antimicrobial activity of the ethanolic and aqueous extracts of Salacia
chinensis Linn. against human Pathogens. Asian Pacific Journal of Tropical
Disease 2012; 2 (SUPPL.1): S416-S420.
[2] Anitha, S., Martha Leema Rose, A. Comparative evaluation of antihyperglycaemic
effect of various parts of Salacia chinensis L. Journal of Medical Sciences
(Faisalabad) 2013; 13 (6): 493-496.
[3] Ngo, T.V., Scarlett, C.J., Bowyer, M.C., Vuong, Q.V. Isolation and maximisation of
extraction of mangiferin from the root of Salacia chinensis L. Separations
2019; 6 (3): 44.
[4] Nakamura, S., Zhang, Y., Matsuda, H., Ninomiya, K., Muraoka, O., Yoshikawa, M. Chemical
structures and hepatoprotective effects of constituents from the leaves of
Salacia chinensis. Chemical and Pharmaceutical Bulletin 2011; 59 (8): 1020-1028.
113ค่มู ือพืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง
46. รามอฐิ
ชือ่ วิทยาศาสตร Diospyros ferrea (Willd.) Bakh.
วงศ EBENACEAE
ชอื่ อนื่ ไครมด (เชยี งใหม); ดาํ ดง (ภาคเหนอื ); ท้งิ ทวด (ชลบุร)ี ; ปลู ะแซ (มาเลย-
นราธวิ าส); ลําบิด (ภาคกลาง); ลําบิดทะเล (ระนอง); ลําอดิ (นราธิวาส); สลักดาํ
(อดุ รธาน)ี ; หมากข้ีหนู (ภาคอีสาน); หมากนอย (ชัยภูมิ); หลงั ดํา (อบุ ลราชธาน)ี
12 3
Diospyros ferrea (Willd.) Bakh.: 1. ลําตน; 2. กิ่งตน; 3. ใบ
ไมตน สงู ประมาณ 2-8 ม. ตนแยกเพศ เปลือกตนสดี ําปนเทา เนือ้ ไมสขี าว ใบ
เดี่ยว เรียงสลับ รปู ไขกลับ หรือรูปรี ขอบใบเรยี บ แผนใบหนา ทองใบมขี น ขนจะ
คอยหลุดรวงไปเม่ือใบแกขึน้ หลังใบเกล้ียง ปลายใบมน ฐานใบรูปลิม่ ขนาด 1-
1.5×2-4.5 ซม. กานใบยาว 1-1.5 มม. มขี นขนาดเลก็ ปกคลุม ดอกแยกเพศ ชอ
ดอกเพศผมู ี 1-3 ดอก กลบี เล้ยี งเชอื่ มติดกนั เปนรูปถวย กลบี ดอกมี 3 แฉก เกสร
เพศผู 5-8 อัน
114 คูม่ อื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหัวเขาแดง
สวนทใ่ี ช รสยา และสรรพคุณ: เน้อื ไม เปลอื กตน ราก รสฝาดมนั นาํ มาตมนา้ํ
ด่ืมชวยบํารุงโลหติ บํารุงกาํ ลัง¹
การศกึ ษาฤทธ์ทิ างเภสัชวทิ ยา: สารสกัดจากใบและราก มฤี ทธิ์ตานอนมุ ูลอสิ ระ
ตานการอักเสบ ตานจลุ ชีพ และตานมะเรง็ [1]
สารเคมที ี่พบ:
- flavonoids, alkaloids, steroids, polysaccharides, tannins และ
saponins ซง่ึ สกัดไดจากสวนราก [2]
- สารประกอบ n-hexane ไดแก naphthoquinones, isodiospyrin และ 8'-
hydroxyisodiospyrin, six triterpenes, friedelin, epifriedelinol, lupeol,
lupenone, botulin, lup-20(29)-en-3β,30-diol (8), two sterols, β-
sitosterol และ stigmasterol (9b) ซงึ่ สกัดไดจากสวนผล [3]
เอกสารอางอิง
[1] Rajesh, V., Sophiya, J., Justin Packia Jacob, S., Arumugam, P., Jayaraman, P. Biosynthesis
of silver nanoparticles using Diospyros ferrea (Willd.) Bakh. leaves and
evaluation of its antioxidant, anti-inflammatory, antimicrobial and anticancer
activity. Journal of Bionanoscience 2017; 11 (1): 24-33.
[2] Vijayalakshmi, R., Ravindhran, R. Pharmacognostical studies on root of Diospyrus
ferreae (Willd.) Bakh and Aerva lanata Linn., a potent Indian medicinal
plants. Asian Journal of Pharmaceutical and Clinical Research 2013; 6 (SUPPL. 2):
57-62.
[3] Kuo, Y.-H., Li, S.-Y., Shen, C.-C., Yang, L.-M., Huang, H.-C., Liao, W.-B., Chang, C.-I., Kuo, Y.-
H., Chen, C.-F. Cytotoxic constituents from the fruit of Diospyros ferrea.
Chinese Pharmaceutical Journal 1997; 49 (4): 207-216.
115คมู่ ือพชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
47. เฉยี งพรา้ นางแอ
ชอ่ื วิทยาศาสตร Carallia brachiata (Lour.) Merr.
วงศ RHIZOPHORACEAE
ช่อื อน่ื กวางลามา (ชอง-ตราด); กูมยู (เขมร-สรุ ินทร); แกก็ วงคด องคต (ลําปาง); ขงิ พรา
เขยี งพรา (ประจวบคีรีขนั ธ); เขยี งพรานางแอ (ชุมพร); คอแหง สีฟน (ภาคใต); เฉียงพรา
ตะแบง (สุรนิ ทร); ตอไส สนั พรานางแอ (ภาคกลาง); นกขอ สมปอง (เชียงใหม); บงคด (แพร);
บงมัง (ปราจีนบรุ ี อดุ รธานี); มวงมัง หมกั มัง (ปราจีนบุร)ี ; รมคมขวาน (กรงุ เทพมหานคร); สี
ฟนนางแอ (ภาคเหนือ); โองนง่ั (อตุ รดิตถ)
12
34
Carallia brachiata (Lour.) Merr.: 1. ลําตน; 2. ใบ; 3-4. ดอก
ไมตน สงู ประมาณ 10-15 ม. เปลอื กตนสีน้าํ ตาลแกมแดงถึงนา้ํ ตาลแกมเทา มีรากคํา้ จุน
บริเวณโคนตน ใบเด่ยี ว เรยี งตรงขามสลบั ตง้ั ฉาก รปู ไขกลับ แผนใบหนา ผวิ ใบเกล้ียง ขอบใบ
เรยี บ ปลายใบมน ฐานใบรูปล่ิม ขนาด 1-4×4-10 ซม. กานใบยาว 5-10 มม. มีหูใบหมุ ยอด
ออน เมอื่ รวงจะเหน็ รอยแผล ออกดอกเปนชอแยกแขนงแบบกระจุกส้ันๆ มีดอกยอยจาํ นวน
มาก มขี นาดเลก็ เรียงตวั กันแนนเปนชอกลม ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง แตกแขนงเปน 4
กง่ิ ยาวประมาณ 1-6 ซม. กลบี ดอก 5 กลีบ แยกจากกนั สีเขยี วอมเหลือง รูปรางกลม ขอบ
กลบี เวาพบั จบี โคนสอบแหลมเปนกานตดิ เรียงสลับกับกลบี เลย้ี ง เกสรเพศผู 10-16 อัน ยาว
ไมเทากนั จานฐานดอกเปนวง มีรงั ไขเปนพู 3-4 พู กานดอกสัน้ ใบประดบั ขนาดเลก็ 2-3 อัน
เช่อื มตดิ กัน
116 คู่มือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
สวนที่ใช รสยา และสรรพคณุ : เปลอื กตน รสฝาดเมาเบือ่ นํามาตมนํ้าด่ืมชวยบํารงุ รางกาย
สมานแผล แกบิด แกไข¹ แกน รสจืดขม นาํ มาตมนํา้ ดม่ื แกไขพษิ ไขกาฬ แกปวดเม่ือย³ ใบ
รสฝาด นาํ มาตมนาํ้ อาบชวยแกผน่ื คัน³
การศกึ ษาฤทธิ์ทางเภสัชวทิ ยา: สารสกดั จากเปลือกและใบ มีฤทธ์ติ านการอักเสบ [1] [2] สาร
สกดั จากใบ มีฤทธติ์ านตานโรคเบาหวาน [2] และ สารสกัดจากใบและผล มีฤทธ์ิตานเช้ือราที่
ทําใหเกดิ โรคในพชื [3]
สารเคมที ่ีพบ:
- สารประกอบ alkaloids ซึ่งสกดั ไดจากใบ [4]
- megastigmanes,1,2-dithiolane, aromatic compounds, tannins, flavonoids และ
glyceroglycolipids ซึ่งสกัดไดจากใบ [5]
เอกสารอางองิ
[1] Krishnaveni, B., Neeharika, V., Venkatesh, S., Padmavathy, R., Reddy, B.M. Wound healing
activity of Carallia brachiata bark. Indian Journal of Pharmaceutical Sciences
2009; 71 (5): 576-578.
[2] Islam, M.A., Hossain, S., Azad, A.K., Rashid, H.-O., Rahman, M. In vivo evaluation of
analgesic, anti-inflammatory and antidiabetic activities of methanol
extract of Carallia brachiata L. Leaves. Pharmacologyonline 2020; 1: 38-46.
[3] Mini, M., Beebi Razeena, P.M. Cytotoxic and antifungal activity of aqueous leaf and
dry fruit extracts of selected plants of laterite hills of kasaragod district of
kerala against Aspergillus flavus Link;Fr, Aspergillus fumigatus Fresen and
Aspergillus Niger van Tieghem. Asian Journal of Microbiology, Biotechnology and
Environmental Sciences 2014; 16 (3): 679-684.
[4] Fitzgerald, J.S. (+)-Hygroline, the major Alkaloid of Carallia Brachiata
(Rhizophoraceae). Australian Journal of Chemistry 1965; 18 (4): 589-590.
[5] Ling, S.-K., Takashima, T., Tanaka, T., Fujioka, T., Mihashi, K., Kouno, I. A new diglycosyl
megastigmane from Carallia brachiata. Fitoterapia 2004; 75 (7-8): 785-788.
117คมู่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
118 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง บญั ชีรายชื่อชนดิ พชื สมนุ ไพร (Species List) บริเวณเสนทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง อาํ เภอสงิ หนคร จงั หวดั สงขลา
(เรยี งตามตวั อกั ษรชื่อพ้นื เมือง)
119คูม่ ือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
120 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
121คูม่ ือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
122 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
123คูม่ ือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
124 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
125คูม่ ือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
126 คู่มอื พชื สมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
ตวั อยางพชื สมนุ ไพรท่ีสาํ รวจพบบรเิ วณเสนทางศกึ ษาธรรมชาตหิ วั เขาแดง
อาํ เภอสิงหนคร จงั หวัดสงขลา
กระถนิ (Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit) เขม็ แดง (Ixora javanica (Blume) DC.)
เฉยี งพรานางแอ (Carallia brachiata (Lour.) Merr.) ตอยต่ิง (Ruellia tuberosa L.)
ตาเปดตาไก (Ardisia crenata Sims) ตาํ เสา (Ternstroemia wallichiana (Griff.) Engl.)
ตีนนก (Vitex pinnata L.) นํา้ ใจใคร (Olax scandens Roxb.)
127คมู่ ือพืชสมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
เบย้ี แลน (Pyrrosia piloselloides (L.) M. G. Price) ผกากรอง (Lantana camara L.)
ฝาดเขา (Metadina trichotoma (Zoll. & Moritzi) Bakh. f.) พนั งูเขียว (Stachytarpheta jamaicensis (L.) Vahl)
แพงพวย (Catharanthus roseus (L.) G.Don) ฟาทะลายโจร (Andrographis paniculate (Burm. f.) Wall. ex Nees)
สังวาลยพระอนิ ทร (Cassytha filiformis L.) สาบเสือ (Chromolaena odorata (L.) R. M. King & H. Rob.)
128 คมู่ อื พืชสมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตหิ ัวเขาแดง
ผ้เู กบ็ ข้อมลู
นายอธิษฐ บญุ ยกติ ตเ์ิ จริญ
Mr. Athit Bunyakitcharoen
นักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี คณะการแพทยแผนไทย
มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วทิ ยาเขตหาดใหญ
Email: [email protected]
นางสาวพรไพลิน บรู ณะ
Miss Pornpailin Burana
นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี คณะการแพทยแผนไทย
มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วทิ ยาเขตหาดใหญ
Email: [email protected]
นางสาวอสั มา เพ็งโอ
Miss Asma Peng-o
นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี คณะการแพทยแผนไทย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ
Email: [email protected]
129คู่มือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
ผู้ให้ขอ้ มลู
พท.ประยทุ ธ์ บุญยัง (หมอประยุทธ์)
เกิดวนั ท่ี 27 พฤษภาคม 2502 อายุ 62 ป ศาสนาพุทธ ไดรับปริญญาบัตร
พท.บ. (การแพทยแผนไทยบณั ฑติ ) และ กษ.บ. (เกษตรศาสตรบัณฑติ ) จาก
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช ไดศึกษาองคความรเู ก่ียวกบั สมุนไพรจากสมาคม
เภสชั อายรุ เวช จังหวัดสงขลา และศกึ ษาเพิม่ เติมจากบรรพบุรุษจากนน้ั ไดมาชวย
ทํายาสมนุ ไพรเพ่ิมเติม ณ วดั บอทรัพย และวัดวาส จังหวดั สงขลา ระหวางชวย
งานที่วดั ดังกลาว ไดศกึ ษาตํารายาของวดั และศกึ ษาเพิ่มเติมจากหมอพืน้ บานท่มี ี
ความเชี่ยวชาญ เชน อาจารยประสทิ ธ์ิ อินทรพันธ มีการแลกเปลี่ยนความรูกบั
หมอพื้นบานทานอน่ื เชน นายไล วัชรฤทธ์ิ (หมอไล) นายศุภวทั น นิลสุวรรณ
(หมอแดง) ปจจบุ ันหมอประยุทธไดเปดคลนิ ิกแพทยแผนไทย "คลนิ ิกแพทยแผน
ไทยเมอื งสงิ ขระ อ.ประยทุ ธ บญุ ยงั " นอกจากน้ยี งั เปดสอนเกย่ี วกบั พชื สมนุ ไพรให
บุคคลทว่ั ไป นักเรียน นักศึกษาที่สนใจ
130 คมู่ อื พชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง
นายศุภวัทน์ นิลสุวรรณ (หมอแดง)
เกดิ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2496 อายุ 67 ป ศาสนาพุทธ ไดรบั
ประกาศนียบตั ร สาขาเภสัชกรรมไทย จากโรงเรียนเวชศาสตรแผนไทยสงขลา
จงั หวดั สงขลา ศกึ ษาเพ่มิ เติมจากสมาคมเภสัชและอายุรเวชแผนโบราณ จังหวดั
สงขลา ศกึ ษาองคความรูองคความรดู านการแพทยแผนไทยดวยตนเองและจาก
หมอพน้ื บานในพน้ื ที่ตางๆ เชน อาจารยล่ิม รักษทอง รวมทัง้ ศกึ ษาจากหมอ
ประยุทธ บุญยงั ปจจบุ ันหมอแดงไดชวยทานเจาอาวาสทาํ ยาสมุนไพร ณ วัดวาส
อําเภอสงิ หนคร จังหวดั สงขลา รักษาผูปวยโรคตางๆ นอกจากนี้ไดเปนวทิ ยากร
รวมกบั หมอประยุทธในการสอนบคุ คลทั่วไป นักเรยี น นกั ศกึ ษา ทส่ี นใจพืช
สมุนไพร
131คูม่ ือพชื สมุนไพรบรเวณเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง
อ. พท.สมพร ชาญวณชิ ย์สกุล (หมอสมพร)
เกดิ วนั ที่ 16 มถิ นุ ายน 2484 อายุ 79 ป ศาสนาพุทธ ไดรับปรญิ ญาบตั ร
ศษ.บ. (ศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต) และ บธ.บ. (บรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต) จากมหาวทิ ยาลัย
สโุ ขทัยธรรมาธิราช ศึกษาองคความรดู านการแพทยแผนไทยจากบรรพบรุ ุษ เชน
การรักษาไข การตอกระดกู การนวด และศึกษาเพมิ่ เติมจากสมาคมเภสชั และ
อายรุ เวชแผนโบราณ จังหวัดสงขลา ดานเภสัชกรรมไทยและเวชกรรมไทย จากนนั้
ไดยายมาอยทู ่ี จังหวัดนครศรีธรรมราช เพ่อื ศึกษาดานการนวดไทยและการ
ผดุงครรภไทย ตอมาไดสอบและไดรับใบประกอบโรคศิลปะท้งั 4 สาขา ประกอบ
ดวย เวชกรรมไทย เภสชั กรรมไทย การผดุงครรภไทย และการนวดไทย ปจจบุ ัน
หมอสมพรเปนแพทยแผนไทยประจําโรงพยาบาลการแพทยแผนไทย คณะการ
แพทยแผนไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
132 คู่มือพืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง
ทป่ี รกึ ษาโครงงานนักศกึ ษา
ผศ. ดร.เกศริน มณนี ูน
คณะการแพทยแผนไทย มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร
ผศ. ดร.จรลั ลีรติวงศ
ภาควิชาชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร
พท.ขวัญหทยั กลนิ่ นาวี
สํานักงานสาธารณสุข จงั หวดั สงขลา
พท.วศิ วะ รัตนไชย
กลุมงานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
โรงพยาบาลสิงหนคร อาํ เภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
133ค่มู อื พืชสมุนไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหวั เขาแดง
เอกสารอา้ งอิง
หนังสือ/วารสาร
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกกระทรวงสาธารณะสุข.
2559. แผนแมบทแหงชาติวาดวยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับท่ี 1
พ.ศ. 2560-2564. พมิ พครง้ั ที่ 1. นนทบรุ ี: บจก. ที เอส อินเตอรพรน้ิ ท
ขุนนิทเทสสุขกิจ. 2516. อายุรเวทศึกษา (วิชาแพทยแผนโบราณ). พิมพครั้งท่ี
2. กรงุ เทพฯ: พีศรี พมุ ชศู รี
พระราชบัญญัติยา (ฉบับท่ี 3) พุทธศักราช 2522. (2522, 8 พฤษภาคม). ราชกิจ
จานเุ บกษา. เลมท่ี 96 ตอนท่ี 79. หนา 29.
เพ็ญธิดา ทิพยโยธา. 2548. แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรของประเทศ
(ตอนที่ 1). วารสารการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ปท่ี 3
ฉบับที่ 2
มาลี บรรจบ และดรุณ เพ็ชรพลาย. 2538. แนวทางการผลิตวัตถุดิบสมุนไพร.
พิมพครั้งท่ี 1. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พองคการสงเคราะหทหารผานศกึ
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. 2538.
พมิ พครง้ั ท่ี. กรงุ เทพฯ: อักษรเจริญทศั น
134 คู่มือพชื สมนุ ไพรบรเวณเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติหวั เขาแดง
Websites
กิมหยงพาเท่ียว. 2558. หัวเขาแดง. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: https://travel.
gimyong.com. (วันท่สี ืบคนขอมลู : 29 พฤษภาคม 2564)
กองพัฒนาศักยภาพผูบริโภคสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. 2563. สธ.
ตระหนักความสาํ คญั ของยาจากสมนุ ไพร ปกหมดุ ดนั เขาสบู ัญชียาหลัก
หวังสรางความมน่ั คงทางสุขภาพ ควบคูเศรษฐกิจ. (ออนไลน). เขาถึงได
จาก: http://pca.fda.moph.go.th. (วันท่ีสืบคนขอมูล: 29 พฤษภาคม
2564)
ไทยตําบล ดอท คอม. 2558. ขอมูลตาํ บลหัวเขา อาํ เภอสิงหนคร จังหวัด
สงขลา. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: https://www.thaitambon.com/
tambon901509. (วันทส่ี บื คนขอมูล: 29 พฤษภาคม 2564)
สารรังสติ ออนไลน. 2562. การพัฒนาสมุนไพรไทยสตู ลาดโลก ไทยมีความพรอม
ในการเขารวมแขงขันหรือไม? ท่ีนี่มีคําตอบ. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก:
https://www2.rsu.ac.th. (วนั ทสี่ ืบคนขอมูล: 29 พฤษภาคม 2564)
หาดใหญโฟกัส. 2560. เจดียองคดําและองคขาว อนุสรณแหงชัยชนะ ณ เมือง
สงขลา. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: https://www.hatyaifocus.com.
(วันท่คี นขอมูล: 29 พฤษภาคม 2564)
135คู่มือพืชสมนุ ไพรบรเวณเส้นทางศกึ ษาธรรมชาติหัวเขาแดง