The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปี พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by acroniss3435, 2022-10-11 23:00:02

รายงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปี พ.ศ. 2564

รายงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปี พ.ศ. 2564

มาตรฐาน/ คา่ นำ้ หนัก กระบวนการ/วธิ ีการดำเนินงาน
ของสถานศึกษา
ประเดน็ การพิจารณา (คะแนน)

- ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษามอบหมายใหค้ รู จดั ทำงานวิจ
เรยี นเพอ่ื แก้ไขปัญหาของผเู้ รียนภาคเรยี นละ 1 เร่อื ง
- ครดู ำเนินงานวิจัยอยา่ งงา่ ยในแตล่ ะภาคเรียน
- มกี ารนเิ ทศตดิ ตามผลการดำเนนิ งานเป็นรายเดอื น
ประชุม
- เสนอรายงานการวิจัยชนั้ เรยี นแก่ผบู้ รหิ ารสถานศึก

87

ผลการดำเนนิ งานท่ีเกดิ ขึ้น ผลการประเมนิ
และรอ่ งรอย หลักฐานท่ีเกิดข้ึน คุณภาพ
จากการดำเนินงานตามสภาพจริง
คะแนน ระดบั
ทีไ่ ด้ คณุ ภาพ

จยั ชน้ั 1.2. ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้อู อนไลน์ดว้ ย
ง Application Line โดยใชส้ ือ่ วีดีทศั น์ (VDO) ในรายวิชา

ภาษาไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
นในท่ี 1.3. การใช้งานแอพลเิ คชัน่ หว้ ยแกว้ E-learning กบั การ

แก้ปัญหาการเรียนการสอน 4. การใช้ Application ห้วย
กษาทราบ แก้ว E-learning (Line OA)เพ่อื แกไ้ ขปัญหาการใช้

หอ้ งเรียนออนไลน์ใหก้ ับผเู้ รียนระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
พรอ้ มทง้ั มกี ารประชมุ ครทู กุ เดอื น โดยมุง่ เนน้ ให้ครมู ีการ
พฒั นาทำวจิ ยั ช้นั เรียน ภาคเรยี นละ 1 เรอ่ื ง ใหค้ วามรู้แก่
นกั ศึกษาในการจดั ทำโดยรวม และใหค้ รดู ำเนินการวจิ ัย
เพือ่ แกไ้ ขปัญหาของผู้เรยี น
2. รายงานการประชุมประจำเดอื นของบคุ ลากร
3. บนั ทกึ ข้อความรายงานของบุคลากร
4. รายงานการวจิ ัยชน้ั เรยี นของครู
5. รปู ภาพกจิ กรรม

88

จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในมาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของ
สถานศกึ ษา อยใู่ นระดับ ยอดเย่ียม มคี ะแนนรวมเท่ากับ 26.6 คะแนน ซงึ่ จากผลการประเมินคุณภาพใน
มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา พบวา่ สถานศกึ ษามจี ดุ เดน่ และจุดควรพฒั นา ดังน้ี

จุดเด่น
1. กศน.อำเภอภูกามยาว มีการบรหิ ารจัดการอย่างเป็นระบบโดยใช้การมีส่วนร่วมในการดำเนนิงาน
โดยให้ครูและบุคลากรทุกคนมสี ว่ นรว่ มในการกำหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา
และนโยบายของสำนักงาน กศน.ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรสถานศึกษา โดยแผนปฏิบัติการประจำปี 2564 ได้รับคำปรึกษา ข้อเสนอแนะและได้รับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา
2. กศน.อำเภอภูกามยาว ไดด้ ำเนนิ การจดั ใหม้ รี ะบบประกนั คณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษามี
การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการ ได้ดำเนินงานตามแผนปฎบัติการและได้มีการ
ติดตาม ประเมินผลคุณภาพโดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาและจัดทำรายงานประเมินตนเองเป็นประจำทุกปี มีการรายงานผลการประเมิน
ภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หนว่ ยงานตอ้ นสงั กลภาคีเครือขา่ ย โดยเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน
3. กศน.อำเภอภูกามยาว ได้ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรให้ได้รับการพัฒนาจากภายในและ
ภายนอกสังกัดสำนักงาน กศน. ครูและบุคลากรทุกคนได้รับการพัฒนาในกระบวนการเรียนรู้ ตามบทบาท
หน้าท่ีสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมมาใช้ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และครูผู้สอนที่ผ่านการอบรม มี
ความรใู้ นดา้ นเทคนคิ การสอนและสามารถนำมาประยกุ ตใ์ ช้ ในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือพฒั นาผู้เรียนให้
มีความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูและบุคลากรทุกคนมีความรู้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ
จดั การเรียนรแู้ ละปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างดพี ร้อมทงั้ ได้รบั คำปรึกษาและขอ้ เสนอแนะจากผอู้ ำนวยการสถานศึกษา
4. กศน.อำเภอภูกามยาวมีการนำใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการบริหารด้านวิชาการ ด้านการ
บริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารงานทั่วไปเชื่อมโยงกับการบริหารทรัพยากร
บุคคลของส่วนราชการ เช่น การประเมินผลการปฏิบัติงาน การใช้ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการนำ
เทคโนโลยีดจิ ิทลั ที่มีอย่ใู นปจั จุบนั มาใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานอย่างแท้จริงครูและบุคลากรสามารถใช้ส่ือเทคโนโลยี
มาปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารงานภายในสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธิผล การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ
5. กศน.อำเภอภกู ามยาวมีการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษามกี าร
นิเทศภายในสถานศกึ ษา โดยกำหนดแผนการนิเทศ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการนเิ ทศ ปฏิบตั กิ ารนเิ ทศและนำผล

89

การนิเทศมาสรุป มีการรายงานผลการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการนเิ ทศ ต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา
เพ่อื ใหข้ ้อเสนอแนะและนำผลมาพัฒนาการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาตอ่ ไป

6. กศน.อำเภอภูกามยาว ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนภาคเี ครอื ข่ายใหม้ สี ว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา
โดยการชี้แจงบทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาแก่ภาคีเครือข่าย มีภาคีเครือข่ายเข้ามาสนับสนุนในด้านสื่อ
เทคโนโลยี มีศูนย์ ICT ได้รับการพัฒนาวิชาการจาก เครือข่ายได้แก่ สภากาชาดไทย องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นมาสนับสนุนด้านสถานที่ การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ และมอบเกียรติบัตรแก่ครูกศน.ในการร่วมเป็น
วทิ ยากรและเปน็ การสรา้ งขวญั และกำลงั ใจแกค่ รแู ละบุคลากรของสถานศึกษา

จดุ ที่ควรพฒั นา
1. กศน.อำเภอภูกามยาว ควรให้ครูและบุคลากรได้ดำเนินการวิจัยอย่างครอบคลุม จัดทำรายงาน
การวิจัย นำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาและเผยแพร่งานวิจัย เพื่อให้เกิดการพัฒนางาน กศน. ที่มีคุณภาพ
มากยง่ิ ข้นึ และดำเนินงานวจิ ยั อย่างง่ายในทกุ ภาคเรยี น
2. กศน.อำเภอภูกามยาว ควร ให้คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการติดตามและเสนอแนะ
ผลการดำเนินงานการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษา

90

บทท่ี 3
สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา

จากผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา สามารถสรปุ ผลการประเมินตนเองในภาพรวมของ
สถานศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ดังน้ี

คะแนนจากผลการประเมินคณุ ภาพ

ดา้ นที่ 1 ดา้ นที่ 2 ดา้ นที่ 3 รวม
คะแนนท่ี
มาตรฐานการศึกษา คณุ ภาพของ คณุ ภาพการจดั คุณภาพการ
แต่ละประเภท ได้
ผเู้ รียน การศกึ ษา บรหิ ารจัดการ ระดบั
100 คุณภาพ
ของ คะแนน
91.65 ยอดเยย่ี ม
สถานศกึ ษา
89.80 ยอดเยย่ี ม
คะแนนเต็ม 50 คะแนน 20 คะแนน 30 คะแนน ยอดเย่ยี ม
94.60
มาตรฐานการศกึ ษานอก 48.05 17.00 26.60
92.02
ระบบ ระดับการศกึ ษาขนั้

พื้นฐาน

มาตรฐานการศึกษา 46.00 17.20 26.60

ต่อเนือ่ ง

มาตรฐานการศึกษาตาม 50 18 26.60

อธั ยาศยั

คะแนนเฉล่ยี จากผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ทง้ั นี้ จากการสรปุ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา เม่ือนำ
คะแนนเฉลี่ยจากทุกมาตรฐานที่ได้ภาพรวม ไปเทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ พบว่า สถานศึกษามีผลการ
ประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดบั ยอดเยยี่ ม มคี ะแนนรวมเทา่ กับ 92.02 คะแนน และเมื่อพิจารณาผล
การประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาแตล่ ะประเภท สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ไดด้ ังน้ี

91

สรปุ ผลการประเมินตนเอง ประเภทการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ระดบั คณุ ภาพจากผลการประเมินคุณภาพ

จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
นอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน อย่ใู นระดบั ยอดเยีย่ ม
ผลการดำเนินงาน รอ่ งรอย และหลกั ฐานทสี่ นับสนุนผลการประเมินคุณภาพ

สถานศึกษามีการกำหนดโครงการ กิจกรรม เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยมและคุณลักษณะทีด่ ี คะแนนที่ได้ ไว้ในแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี ของ กศน.อำเภอ และแผนปฏิบัติการ
ประจำปีของ กศน.ตำบล โดยมีการส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ รวมถึงการนิเทศ
กำกับ ติดตาม ตรวจสอบผลการดำเนินงานโครงการอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้สถานศึกษายังมีการประเมิน
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ของผเู้ รยี น ทุกภาคเรยี นส่งผลให้ผ้เู รียนไดร้ ับการยกย่อง เชดิ ชูเกยี รติ และเป็นแบบอยา่ ง
ที่ดีด้านการมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะท่ีดี ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกบั ผู้อืน่ โดยสถานศกึ ษามกี าร
จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนผ่านกระบวนการทำโครงงาน ทุกภาคเรียน และส่งเสริม สนับสนุนให้
ผู้เรยี นมคี วามสามารถด้านการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และแลกเปลย่ี นความคิดเห็นกบั ผอู้ น่ื ผ่าน
กระบวนการเรียนรู้ ในรปู แบบการทำโครงงาน ทผ่ี ู้เรยี นไดค้ ิด และลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง โดยมีการใช้ข้อมูล
และเหตุผลในการประกอบการตัดสินใจ แก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง สมเหตุสมผล และสามารถและเปลี่ยน
ความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงานหรือนวัตกรรมที่สามารถ
นำไปใช้แก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันได้ สถานศึกษาได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทาง
กาย และสุนทรียภาพ ที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย และมีสุขภาพจิต อารมณ์ สังคมที่ดี โดยมีการจัดกิจกรรม
ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่ง
สถานศึกษามกี ารจัดกจิ กรรมกีฬา กศน.เกมส์ เป็นประจำทกุ ปีเพอ่ื สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมีสขุ ภาพและพลานามัยที่
แข็งแรงสมบูรณ์ และการจัดกิจกรรมจิตอาสา เราทำความดีด้วยหัวใจ อย่างน้อย 2 ครั้งใน 1 ภาคเรียน
สถานศึกษามีการส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้มีทักษะ มีความสามารถในการอ่าน การ
เขียนภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร ให้เป็นไปตามเกณฑ์ในแต่ละระดับการศึกษา ดังนี้ ระดับประถม มี
ความสามารถในการอ่านออก เขียนได้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความสามารถอ่าน และเขียนได้คล่อง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความสามารถในการอ่านจับใจความ และเขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยผ่านการ
ทดสอบการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษาในแต่ละระดับชั้น การประเมินการใช้สมุดบันทึกการ
เรยี นรู้ของผู้เรียน และแฟ้มสะสมงาน สง่ ผลให้มจี ำนวนผู้จบหลกั สตู รสามารถนำความรู้ ทักษะพน้ื ฐานท่ีได้รับ
ไปใช้ หรือประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ หรือเพื่อการศึกษาต่อในระดบั ท่ีสูงขึ้นไป เป็นไป
ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้ โดยมีการพิจารณาจากรายงานจำนวนผู้จบหลักสูตร ในภาคเรียนท่ี
2/2563 และภาคเรยี นท่ี 1/2564 รายงานผลการตดิ ตามผู้จบหลักสูตรท่ีนำความรู้ไปใช้หรือประยุกต์ใช้ แบบ
ตดิ ตามผจู้ บหลกั สูตร และหนังสอื ขอตรวจสอบวุฒิ

92

สถานศึกษามีหลักสูตรที่สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น โดย
หลักสูตรที่จัดทำขึ้น ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา และได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร
สถานศกึ ษา โดยหลกั สตู รสถานศึกษามีองค์ประกอบสำคัญครบถ้วน มเี น้อื หาท่มี ีความสอดคล้องกับหลักสูตร
การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมาย รวมถึงมีการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ตามจุดหมายของหลกั สูตร และ
มีการประเมินการนำหลักสูตรไปใช้ ตลอดจนนำผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนา สถานศึกษามีสื่อการ
เรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา เช่น หนังสือเรียน ใบงาน ใบความรู้ คลิป VDO และ
สอื่ ระบบออนไลน์ App หว้ ยแก้ว E-Learning รวมถงึ ส่ือบคุ คลประเภทปราชญช์ าวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน มี
ขอ้ มลู สารสนเทศ และทำเนียบสอื่ การเรยี นรู้ สถานศกึ ษามคี รูท่ีทคี วามรู้ ความสามารถ ในการจัดการเรียนรทู้ ่ี
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูทุกคนร่วมกันวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม แล้ว
นำมาออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีการจัดทำแผนการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับ
หลักสูตรสถานศึกษา รวมถึงมกี ารให้คำแนะนำ คำปรึกษา แก้ไขปัญหาของผูเ้ รียนจากการทำวจิ ัยในชั้นเรยี น
และบนั ทกึ หลังการสอนเพอ่ื ให้การจัดกระบวนการเรียนรู้บรรลุตามวตั ถุประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษา ครู
ทุกคนมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายหรือ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร รวมถึงมีการจัดทำเครื่องมือ วิธีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับแผนการ
จัดการเรียนรู้ ตลอดจนมีการแจง้ ขอ้ มูลผลการประเมินการเรยี นร้ยู ้อนกลบั ไปยงั ผเู้ รียน

ทั้งนี้ จากการดำเนินงานของสถานศึกษาทำให้มีร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานจริง
ของสถานศึกษา เช่น มผี เู้ รยี นทเี่ ป็นแบบอยา่ งที่ดใี นดา้ นการมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่
ดี จำนวน 23 คน มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ร่วมกับผู้อื่น จำนวน32 คน มีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงานหรือนวัตกรรม 20 คน มีผู้จบ
การศึกษาขั้นพื้นฐานนำความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้ เกินค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
จำนวน 136 คน มีการจัดทำหลักสูตรวิชาเลือกเสรีจำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่ (1) หลักสูตรวิชาการปลูกแก้ว
มังกร อช 03254 (2) หลักสูตรวิชาไผ่กวนอิม อช 03255 (3) และหลักสูตรวิชาการพัฒนาดินเพื่อการเกษตร
พว 03034 มีสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา เช่น หนังสือเรียน, ใบงาน,ใบ
ความรู้, คลิป VDO และสื่อระบบออนไลน์ App ห้วยแก้ว E-Learning รวมถึงสื่อบุคคลประเภทปราชญ์
ชาวบ้าน ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ มขี ้อมูลสารสนเทศ และทำเนยี บสื่อการเรยี นรู้ ครูทกุ คนมคี วามสามารถในการจดั
กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการจัดทำแผนการเรียนรู้ มีการติดตามช่วยเหลือผู้เรียน และมี
การจัดทำวิจัยช้นั เรยี นเพือ่ ชว่ ยเหลือผู้เรยี นทกุ ภาคเรียน

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ
1. กศน.อำเภอภูกามยาว ควรมกี ารสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการเรยี นรูข้ องผเู้ รียน ให้มีทักษะ มี

ความสามารถ ในการอ่าน การเขยี นภาษาไทย เพ่อื การส่อื สาร ให้เป็นไปตามเกณฑ์ในแตล่ ะระดบั ช้นั
2. กศน.อำเภอภูกามยาว ควรสนบั สนุนให้จัดกจิ กรรมเพ่ือพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น ในด้านการทำ

โครงงาน เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการสร้างสรรค์งาน ช้ินงาน หรอื นวัตกรรม

93

3. กศน.อำเภอภูกามยาว ควรมกี ารประเมนิ ผลการนำหลกั สตู รไปใช้ และนำผลการประเมนิ มา
ปรับปรงุ หรอื พัฒนา

4. กศน.อำเภอภกู ามยาว ควรมกี ารนำผลการประเมินความพงึ พอใจ ไปใชใ้ นการพฒั นาหรอื จดั หา
ส่ือการเรยี นรู้ ท่ีเป็นไปตามความตอ้ งการ

5. กศน.อำเภอภกู ามยาว ควรใหค้ รูและบคุ ลากรได้ดำเนินการวจิ ยั อยา่ งครอบคลุม จัดทำรายงาน
การวจิ ยั นำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาและเผยแพร่งานวจิ ัย เพื่อให้เกดิ การพฒั นางาน กศน. ทมี่ คี ุณภาพ
มากยง่ิ ขึ้น และดำเนินงานวิจยั อย่างงา่ ยในทุกภาคเรยี น

6. กศน.อำเภอภูกามยาว ควร ใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษามสี ่วนรว่ มในการตดิ ตามและเสนอแนะ
ผลการดำเนนิ งานการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษา5. ครทู กุ คนควรมี
การทำวจิ ัยในชน้ั เรียน เพื่อพฒั นาหรือแกไ้ ขปญั หาของผเู้ รยี นในแต่ละภาคเรยี น

ความต้องการการส่งเสรมิ สนบั สนนุ จากหน่วยงานต้นสังกดั
หนว่ ยงานต้นสงั กดั ควรส่งเสรมิ สนบั สนนุ สื่อการเรียนร้สู ำเรจ็ รูปให้กบั ครู กศน. นำไปใชใ้ นการ

จัดการเรียนร้ใู หผ้ ูเ้ รียนตรงตามรายวิชาแตล่ ะภาคเรียน

สรุปผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง

ระดบั คณุ ภาพจากผลการประเมินคุณภาพ

จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรปุ ได้ว่า สถานศึกษามคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา

ตอ่ เนอ่ื ง อยูใ่ นระดับ ยอดเยี่ยม

ผลการดำเนินงาน ร่องรอย และหลักฐานท่ีสนบั สนุนผลการประเมินคุณภาพ

กศน.อำเภอภูกามยาว มกี ารกำหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ อตั ลักษณ์ มาตรฐานการศกึ ษาของ

สถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (พ.ศ. 2560- 2564) และแผนปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2564 ท่ี

สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องตามนโยบายของ

หน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา

พนักงานราชการ ลูกจ้าง และคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งได้มีการเสนอแผนพัฒนาการจดั การศึกษา (พ.ศ.

2560- 2564) และแผนปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2564 แก่คณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุม

คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะก่อนที่จะนำไปใช้ต่อไป ทั้งนี้ ในการดำเนินงาน

ต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถดำเนินงานได้เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานประจำปีที่กำหนดไว้

โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และจัดให้มีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานภายใน

สถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง สำหรับการจัดการศึกษาต่อเนื่อง นั้น สถานศึกษามีการจัดหา และจัดทำหลักสูตร

การศึกษาต่อเนือ่ งทม่ี ีความหลากหลายเปน็ ไปตามบรบิ ท และความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย ซ่งึ สถานศกึ ษา

มีหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง จำนวน ทั้งหมด 26 หลักสูตร ดังนี้ หลักสูตรระยะสั้นรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ

(31 ชั่วโมงขึ้นไป) จำนวน 8 หลักสูตร หลักสูตรระยะสั้นรูปแบบกลุ่มสนใจ(ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) จำนวน 14

หลักสูตร และหลักสูตรวิชาชีพศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (1 อำเภอ 1 อาชีพ) จำนวน 4 หลักสูตร ซึ่งสถานศึกษา

94

สามารถนำหลกั สูตรการศึกษาต่อเนือ่ งแต่ละหลักสูตรไปใช้ในการจดั การเรียนรูใ้ หแ้ ก่กลุ่มเป้าหมายได้ โดยใช้
วิทยากรหรือผู้จัดการเรียนรู้ที่มีความรู้ ความสามารถตรงตามหลักสูตร และสามารถจัดการเรียนรู้ให้เป็นไป
ตามแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม และจัดให้มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องตาม
วัตถุประสงค์ของแต่ละหลักสูตร ส่งผลให้ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องจบการศึกษาตามหลักสูตรในแต่ละ
หลักสูตร ร้อยละ 100 ของจำนวนผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาได้จัดให้มีการนิเทศติดตามผู้จบการศึกษาตาม
หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่องทุกหลักสูตร และมีผู้จบการศึกษาต่อเนื่องเกินค่าเป้าหมายที่มีการนำความร้ไู ปใช้
หรือประยุกต์ใช้ จำนวน 12 ราย ได้แก่ 1. นางปรางอนงค์ โพธิ์ศรี วิชาการผลิตภัณฑ์กระเป๋าผักตบชวา
2. นางจันทกานต์ ปิติ วิชาการทำผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่ 3. นางแสงสุริยา ตันกูล วิชาการทำกล้วยฉาบ 4.
นางเพ็ชรดี ธิตา วิชาการทำน้ำพริก 5. นางเป็ง คำมี วิชาการทำถนอมอาหาร 6. นางสาวดาว แสงเมือง
วิชาการทำพรมเช็ดเท้า7. นางนิศารัตน์ ส่วยอ้าย วิชาการถนอมอาหาร 8. นางขจีรัตน์ ประถาทุม วิชาการ
ทำขนม 9. นางฟองศรี งานหมั่น วิชาการทำชุดจานรองภาชนะจากใยกล้วย 10. นายเอกรินทร์ ลัทธศกั ย์ศิริ
วิชาการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้ามัดย้อมชิโบริ 11. นางสาวกัญญาณัฐ สิงห์แก้ว วิชาการทำทำไส้กรอก
อีสานและแหนมหมู และ 12. นางจนิ ดา สงิ หแ์ ก้ว การทำกระเปา๋ ผา้ ต้นมือ

ทั้งนี้ จากการดำเนินงานของสถานศึกษาทำให้มีร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานจริง
ของสถานศึกษา เช่น แบบสำรวจความต้องการในการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่องของ
สถานศึกษา สื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรวิชาการทำผ้ามัดย้อมชิโบริ หลักสูตรวิชาการทอผ้า
หลักสูตรวิชาการทำไส้กรอกอีสานและแหนมหมู เป็นต้น รายงานสรุปผลการจัดการศึกษาต่อเนื่องทุก
หลักสูตร แบบติดตามผู้เรยี นหลงั จบหลักสตู รเป็นต้น

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ
1. กศน.อำเภอภูกามยาว ควรมกี ารทบทวน ตรวจสอบ ประเมินการใช้หลักสตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง

ทกุ หลกั สตู รหลังการนำไปใชจ้ ัดกระบวนการเรยี นรู้ และควรมกี ารนำผลการทบทวน หรอื ตรวจสอบ หรือ
ประเมนิ การใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื งทกุ หลกั สตู ร มาใชใ้ นการปรบั ปรงุ พฒั นาหลกั สตู ร หรอื กำหนด
แนวทางในการปรับปรงุ พัฒนาหลกั สูตร

2. กศน.อำเภอภูกามยาว ควรมกี ารเสนอหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนอื่ งให้คณะกรรมการสถานศึกษา
พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ ก่อนนำไปใช้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ ทกุ หลกั สตู ร

3. กศน.อำเภอภกู ามยาว ควรนำผลการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นไปใช้ในการปรับปรุงพฒั นา
4. กศน.อำเภอภกู ามยาว ควรนำผลกรประเมินสอื่ ท่เี อื้อตอ่ การเรยี นรู้ไปพฒั นาการจัดการศกึ ษา
ตอ่ เนือ่ งของ กศน.อำเภอภกู ามยาว ตอ่ ไป

ความต้องการการสง่ เสรมิ สนับสนุนจากหนว่ ยงานต้นสงั กดั
หนว่ ยงานต้นสังกัดควรนำผลการนิเทศตดิ ตาม มาพฒั นาการจดั การศกึ ษาต่อเน่ืองของสถานศกึ ษา

เช่น การพฒั นาหลักสตู ร การพัฒนาวทิ ยากร การพฒั นาสอ่ื ที่เอ้อื ตอ่ การจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง

95

สรุปผลการประเมินตนเอง ประเภทการศกึ ษาตามอัธยาศยั
ระดบั คณุ ภาพจากผลการประเมนิ คณุ ภาพ
จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษา ตามอัธยาศยั อยูใ่ น ระดับยอดเยี่ยม

ผลการดำเนนิ งาน ร่องรอย และหลักฐานที่สนับสนนุ ผลการประเมนิ คุณภาพ
กศน.อำเภอภูกามยาว มีการดำเนนิ การการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี

2564 โดยมีการกำหนดโครงการ/กิจกรรม ตามแผน จำนวน 6 โครงการ ได้แก่ 1) ผู้รับบริการบ้านหนังสือ
ชุมชน 2) ผู้รับบริการหน่วยส่งเสริมการอ่านเคลื่อนท่ี 3) ส่งเสริมการอ่านหนูน้อยใส่ใจการอ่าน 4) โครงการ
ส่งเสริมการอ่าน Digital E-library 5) กิจกรรม 2 เมษารักการอ่าน 6) โครงการส่งเสริมการอ่านห้องสมุด
สำหรับชาวตลาด โดยผู้รับบริการ ทั้ง 6 โครงการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม ในการจัดกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน สถานศึกษาได้มีการสำรวจ
ความตอ้ งการความพงึ พอใจ และมีการประสานงานกบั ภาคีเครอื ขา่ ยเพ่อื วางแผนและดำเนินการจัดการศกึ ษา
ตามอัธยาศัยในพื้นที่ เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, โรงเรียนผู้สูงอายุ, อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน, โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบล, ผู้นำชุมชน การจัดกิจกรรมต่างๆ มีความหลากหลายและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
ได้แก่ การหมุนเวียนสื่อ, การเล่านิทาน, การวาดรูประบายสี, การปั้นดินน้ำมัน, การให้ความรู้ด้านการดูแล
สุขภาพกับผู้สูงอายุ, การทำเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ หน้ากากผ้าป้องกัน โควิด-19 โดยการดำเนินกิจกรรมมี
การนิเทศติดตามเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย มีการประชาสัมพันธ์การดำเนินกิจกรรมผ่านช่องทางท่ี
หลากหลาย เช่น Website ห้องสมุดประชาชนอำเภอภูกามยาวออนไลน์ Fan Page Line เป็นต้น มีการ
ประเมินความพึงพอใจหลังการ จัดกิจกรรมทุกครั้ง พร้อมทั้งจัดทำสรุปและรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
สถานศึกษาได้ส่งเสริมให้ ครูและบุคลากร เข้ารับการอบรมและพัฒนาตนเอง เพื่อนำความรู้ทักษะ
ประสบการณ์ ไปจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย อาทิเช่น ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรเข้ารับการ
อบรมและพัฒนาตนเอง เพื่อนำความรู้ทักษะ ประสบการณ์ ไปจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ได้แก่ การอบรมการใช้งาน E-Library และการสร้าง QR Code ร่วมกับสำนักงานงานกองทุนสนับสนุนการ
สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ถ่ายทอดองค์ความรู้ Influencer Campain New narmal สุขภาพดีวิถีใหม่ การ
อบรมโครงการพัฒนาบุคลากร ครูกศน การอบรมพัฒนาบุคลากร กศน.จังหวัดพะเยา ด้านการใช้งาน
เทคโนโลยีสำหรับการศึกษาตามอัธยาศัยจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาตามนำความรู้ที่ได้รับจากการพัฒนา
ตนเองไปใช้ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อพัฒนาห้องสมุดให้เป็นDigital library โดยพัฒนาเว็ปไซด์
Digital library หนังสือสื่อ E-BooK สร้าง QR Code การใช้ Google Sites ในการทำแหล่งเรียนรู้ด้าน
การศึกษาตามอธั ยาศยั มกี ารจัดทำแบบสอบถามการประเมิน ความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารมีการเก็บข้อมูล
หลังจากทำกจิ กรรมทกุ โครงการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปรายงานการประเมินความพึงพอใจ
ในแต่ละโครงการ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และรายงานผลการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย การอบรม
พัฒนาบุคลากร กศน.จังหวัดพะเยา ด้านการใช้งานเทคโนโลยีสำหรับการศึกษาตามอัธยาศัย มีการจัดหาสือ่

96

นวัตกรรมที่เหมาะสม มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีการจัดทำทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่นที่
เปน็ ปัจจุบนั

แนวทางการพฒั นาคุณภาพ
1.กศน.อำเภอภูกามยาวควร ควรมีการประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้สื่ อ เทคโนโลยี

สารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น และนำผลการประเมนิ ความพึงพอใจไปใช้ในการพัฒนาหรือ
จัดหาสอ่ื แหล่งเรยี นรู้ หรือภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ตอ่ ไป
ความต้องการการส่งเสรมิ สนับสนุนจากหน่วยงานตน้ สังกัด

ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรได้เข้ารับการพัฒนาความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษา
ตามอธั ยาศัย ทง้ั ในรูปของการศึกษาดูงาน การอบรมทีเ่ น้นการฝึกปฏิบัติจริง

97

ภาคผนวก

98

ประกาศศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอภูกามยาว
เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพือ่ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

------------------------------
ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการได้มีการประกาศใช้กฎกระทรวง เรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. 2561 กฎกระทรวง กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาที่จัด
การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ณ วนั ที่ 6 ธนั วาคม พ.ศ. 2562 นนั้
เพื่อให้มีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สำหรับใช้ในการประกันคุณภาพภายในของศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภูกามยาว จึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา ดังเอกสารแนบ ท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการประเมิน
คณุ ภาพภายใน

ประกาศ ณ วันที่ 13 เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2563

(นางวารณี วชิ ัยศิริ)
ผู้อำนวยการสถานศึกษา กศน.อำเภอภูกามยาว

99

มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

ซึง่ มีประเด็นการพจิ ารณา จำนวน 8 ประเด็น ประกอบดว้ ย
1.1 ผเู้ รียนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนทด่ี ีสอดคลอ้ งกบั หลักสูตรสถานศกึ ษา
1.2 ผู้เรยี นการศึกษาข้ันพื้นฐานมคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลกั ษณะทด่ี ตี ามท่ีสถานศกึ ษากำหนด
1.3 ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยน

ความคดิ เหน็ ร่วมกบั ผู้อ่ืน
1.4 ผู้เรยี นการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมีความสามารถในการสรา้ งสรรค์งาน ชิ้นงาน หรอื นวตั กรรม
1.5 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั
1.6 ผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมสี ุขภาวะทางกาย และสุนทรยี ภาพ
1.7 ผเู้ รียนการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน
1.8 ผจู้ บการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานนำความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐานที่ไดร้ บั ไปใช้หรอื ประยกุ ต์ใช้
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็น

ซ่งึ มีประเด็นการพิจารณา จำนวน 4 ประเด็น ประกอบด้วย
2.1 การพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาทีส่ อดคลอ้ งกับบริบท และความต้องการของผูเ้ รยี น ชุมชน ทอ้ งถิ่น
2.2 สอ่ื ทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้
2.3 ครมู คี วามรคู้ วามสามารถในการจดั การเรียนรูท้ ่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
2.4 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา ซง่ึ มีประเด็นการพจิ ารณา จำนวน 9 ประเด็น

ประกอบดว้ ย
3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทเี่ นน้ การมีสว่ นร่วม
3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา
3.4 การใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอื่ สนับสนนุ การบริหารจดั การ
3.5 การกำกับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
3.6 การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของคณะกรรมการสถานศกึ ษาที่เปน็ ไปตามบทบาทท่กี ำหนด
3.7 การส่งเสรมิ สนับสนุนภาคเี ครอื ข่ายใหม้ ีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา
3.8 การส่งเสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้
3.9 การวจิ ยั เพื่อการบรหิ ารจดั การศึกษาสถานศกึ ษา

หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาสามารถใช้รว่ มกนั ได้ทง้ั มาตรฐานการศกึ ษา
นอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน มาตรฐานการศกึ ษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

100

มาตรฐานการศึกษาต่อเน่อื ง

มาตรฐานการศึกษาต่อเนอื่ ง
มาตรฐานการศึกษาตอ่ เน่อื ง มีจำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบดว้ ย
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศึกษาต่อเน่อื ง ซึ่งมีประเด็นการพจิ ารณา จำนวน 3 ประเดน็

ประกอบด้วย
1.1 ผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเน่ืองมคี วามรู้ ความสามารถ และหรือทกั ษะ และหรอื คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์

การจบหลักสตู ร
1.2 ผู้จบหลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนื่องสามารถนำความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปใช้ หรือประยกุ ต์ใช้ บนฐานคา่ นิยมรว่ ม

ของสังคม
1.3 ผู้จบหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่ืองที่นำความรไู้ ปใช้จนเห็นเป็นประจกั ษห์ รอื ตวั อยา่ งทีด่ ี
มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาต่อเนื่อง ซ่งึ มีประเดน็ การพจิ ารณาอเน่อื ง จำนวน

5 ประเดน็ ประกอบด้วย
2.1 หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนือ่ งมีคุณภาพ
2.2 วทิ ยากรการศึกษาตอ่ เน่อื ง มีความรู้

ความสามารถหรอื ประสบการณต์ รงตามหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเน่ือง
2.3 สอื่ ท่ีเออื้ ตอ่ การเรยี นรู้
2.4 การวดั และประเมินผลผเู้ รียนการศึกษาต่อเนื่อง
2.5 การจดั กระบวนการเรียนรู้การศกึ ษาต่อเนอื่ งทม่ี คี ณุ ภาพ

มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา ซึง่ มีประเด็นการพจิ ารณา จำนวน 9 ประเด็น
ประกอบด้วย

3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาทีเ่ น้นการมสี ว่ นร่วม
3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา
3.4 การใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการ
3.5 การกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
3.6 การปฏบิ ตั ิหน้าท่ขี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาท่ีเปน็ ไปตามบทบาทท่ีกำหนด
3.7 การสง่ เสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครือข่ายให้มสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา
3.8 การสง่ เสรมิ สนบั สนุนการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้
3.9 การวจิ ยั เพือ่ การบรหิ ารจัดการศกึ ษาสถานศกึ ษา
หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษาสามารถใช้รว่ มกนั ได้ทัง้ มาตรฐานการศึกษา

นอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง และมาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศัย

101

มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย

มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ซงึ่ มีประเด็นการพจิ ารณา จำนวน 1

ประเด็น ประกอบดว้ ย
1.1 ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ หรอื

กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย ซ่งึ มปี ระเด็นการพิจารณา จำนวน 4 ประเด็น

ประกอบดว้ ย
2.1 การกำหนดโครงการหรอื กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
2.2 ผูจ้ ดั กิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั
2.3 ส่อื หรอื นวตั กรรม และสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
2.4 ผู้รบั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจต่อการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา ซง่ึ มีประเดน็ การพจิ ารณา จำนวน 9 ประเด็น

ประกอบดว้ ย
3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษาทเี่ น้นการมสี ่วนรว่ ม
3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา
3.4 การใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอื่ สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การ
3.5 การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา
3.6 การปฏิบตั หิ นา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาทีเ่ ป็นไปตามบทบาททก่ี ำหนด
3.7 การสง่ เสริม สนบั สนนุ ภาคีเครือขา่ ยใหม้ สี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา
3.8 การส่งเสรมิ สนบั สนุนการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้
3.9 การวจิ ัยเพ่ือการบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา

หมายเหตุ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษาสามารถใช้รว่ มกนั ได้ทัง้ มาตรฐานการศกึ ษา
นอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน มาตรฐานการศกึ ษาต่อเน่ืองและมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย

102

คา่ เป้าหมายของสถานศกึ ษาเพอ่ื ใชใ้ นการประเมินคุณภาพการศกึ ษา
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
ประจำปีงบประมาณ 256๔

ตามที่ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อำเภอภกู ามยาว ไดก้ ำหนดและประกาศใช้
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตามประกาศศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอ
ภูกามยาว เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพ่อื การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ลงวันที่ 13
เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563 เพ่ือใช้ในการเทียบเคยี ง ตรวจสอบ ประเมินผล และการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ไวน้ ั้น

เพื่อเป็นการกำหนดเป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษาตามแนวทางการประเมินคุณภาพ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจึงมีการกำหนดค่าเป้าหมายเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่จะให้เกิดแก่ผู้เรียน
โดยการมีสว่ นร่วมของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาและบุคลากรของสถานศึกษาเพื่อในการเทยี บเคียง ตรวจสอบ ประเมินผล
และการประกันคุณภาพทางการศึกษาเฉพาะในประเด็นการพิจารณาที่สมควรจัดให้มีการกำหนด ค่าเป้าหมาย
สำหรับใช้ในการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษาไวด้ ังน้ี
มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี 1.1 ผูเ้ รียนการศึกษาข้นั พ้นื ฐานมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นทดี่ สี อดคลอ้ งกบั หลักสูตร
สถานศกึ ษา

คา่ เปา้ หมายที่กำหนดไว้ คอื สถานศกึ ษามีการกำหนดคะแนนผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
รายวชิ าบังคบั ที่ไว้เป็นค่าเป้าหมายโดยกำหนดจาก

 คะแนนเฉล่ยี ผลการสอบปลายภาคเรยี นของผู้เรียนจำนวน 2 ภาคเรยี น หรือ
คะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-Net)

จำนวน 2 ภาคเรยี นดงั นี้
ท้งั น้ี ในการกำหนดคะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น รายวชิ าบงั คับ เพ่อื เป็นค่าเป้าหมาย ใหส้ ถานศกึ ษา

กำหนดค่าเปา้ หมายเฉพาะรายวชิ าที่มีแผนการลงทะเบยี นเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษาในปที ี่ สถานศึกษา
จัดทำรายงานการประเมินตนเอง โดยใช้คะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนของผู้เรียนจำนวน 2
ภาคเรียนหรือคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการศึกษานอกระบบโรงเรียน(N-Net) ที่มีอยู่
ครัง้ ล่าสุดของแตล่ ะรายวชิ า มาเปน็ ข้อมลู สารสนเทศ หรือขอ้ มูลตง้ั ตัง้ ในการกำหนดคา่ คะแนนเปา้ หมายดงั กล่าว

ระดับ/รายวชิ า 103

ประถมศกึ ษา คะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น รายวชิ าบงั คับท่ี
- คณิตศาสตร์ สถานศกึ ษากำหนดไวเ้ ปน็ ค่าเป้าหมาย
- ชอ่ งทางการเขา้ สอู่ าชพี
- ทักษะการประกอบอาชพี 27.67
- พฒั นาอาชพี ให้มอี ยมู่ กี นิ 29.20
- ภาษาไทย 28.94
- สังคมศึกษา 26.50
- ศาสนาหน้าทีพ่ ลเมือง 20.25
- การพฒั นาตนเองชมุ ชน 19.05
17.98
มัธยมศึกษาตอนต้น 20.31
- คณติ ศาสตร์
- ทกั ษะการพัฒนาอาชีพ 20.22
- พัฒนาอาชพี ให้มีความเข้มแข็ง 15.70
- ภาษาไทย 17.55
- สังคมศึกษา 20.25
- ศาสนาหน้าท่ีพลเมือง 19.05
- การพฒั นาตนเองชมุ ชน 17.98
20.31
มธั ยมศึกษาตอนปลาย
- คณติ ศาสตร์ 16.34
- ทกั ษะการขยายอาชพี 21.97
- ภาษาไทย 17.95
- สังคมศึกษา 16.68
- ศาสนาหน้าที่พลเมอื ง 21.35
- การพัฒนาตนเองชุมชน 20.69

104

ประเด็นการพจิ ารณาที่ 1.2 ผเู้ รียนการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานมีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะ
ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด

ค่าเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ คอื สถานศึกษาคาดวา่ จะมีผู้เรียนการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานท่ไี ด้รับการยกยอ่ ง
เชิดชูเกียรติ หรือเปน็ แบบอย่างทีด่ ใี นด้านที่เก่ยี วข้องกับการมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม หรือคุณลกั ษณะท่ีดี
จำนวน ๒๐ คน

ประเดน็ การพิจารณาท่ี 1.3 ผู้เรียนการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ ง
วิจารณญาณ และแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นร่วมกับผู้อ่นื

ค่าเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความสามารถ
ในการคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้ข้อมูลและเหตุผลประกอบการตัดสินใจ แก้ไขปัญหาได้ ถูกต้อง
สมเหตุสมผล และสามารถแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ รว่ มกบั ผู้อ่ืนจำนวนได้ ๒๐ คน

ประเดน็ การพิจารณาท่ี 1.4 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมคี วามสามารถในการสรา้ งสรรคง์ าน ชิ้นงาน
หรือนวัตกรรม

ค่าเปา้ หมายท่กี ำหนดไว้ คือสถานศกึ ษาคาดวา่ จะมีผเู้ รียนการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานท่สี ามารถสรา้ งโครงงานคือ
ช้ินงาน สิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรือสงิ่ ใหมท่ ส่ี ามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง จำนวน 1๕ คน

ประเด็นการพิจารณาที่ 1.8 ผู้จบการศึกษาขั้นพ้นื ฐานนำความรู้ ทักษะพ้ืนฐานที่ไดร้ ับไปใช้
หรอื ประยุกตใ์ ช้

ค่าเปา้ หมายท่กี ำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดวา่ จะมี จำนวนผู้จบการศกึ ษาตามหลกั สตู ร
การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทสี่ ามารถนำความรู้ ทักษะพืน้ ฐานที่ไดร้ บั ไปใช้ หรอื ประยุกต์ใชใ้ น
การดำเนินชีวิต การประกอบอาชพี หรือเพ่อื การศึกษาตอ่ ในระดับทีส่ ูงข้ึนจำนวน ๕๐ คน

105

มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนอื่ ง
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศกึ ษาต่อเองทนี่ ำความร้ไู ปใช้จนเหน็ เป็นประจกั ษ์หรือ

ตวั อย่างท่ดี ี
คา่ เป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีจำนวนผู้จบการศึกษาและหรือจำนวนกลมุ่

ผจู้ บการศกึ ษาต่อเนอ่ื งทม่ี ผี ลการดำเนินงานทเ่ี ห็นเป็นประจักษใ์ นพน้ื ที่ หรอื เป็นตวั อย่างทด่ี ีจำนวน ๖ คน
ทงั้ น้ีสถานศกึ ษาได้กำหนดคา่ เป้าหมาย สำหรบั ใชใ้ นการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา เรียบรอ้ ยแลว้

ลงชอ่ื
(นางวารณี วชิ ยั ศิริ)

ผู้อำนวยการสถานศึกษา
วนั ที่ เดอื นกุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 256๔

จากการกำหนดคา่ เป้าหมายของสถานศกึ ษาดงั กล่าวสำนักงาน กศน.จังหวดั /กทม. ไดร้ ับทราบ
และพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบแลว้ *

ลงชือ่
(นางมีนา กติ ิชานนท์)

ผู้อำนวยการสำนกั งานกศน.จงั หวัดพะเยา
วนั ท่ี เดือนกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 256๔

หมายเหตุ
*1. กรณที ่เี ป็นการกำหนดคา่ เป้าหมายของสถานศกึ ษาข้นึ ตรงทุกประเภท (นอกเหนอื จาก กศน.อำเภอ

ให้เสนอผลการกำหนดค่าเปา้ หมายของสถานศึกษาเพอื่ ใช้ในการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่อ
สำนักงาน กศน. แทนสำนักงาน กศน.จงั หวดั /กทม.

2. สถานศึกษากำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษาเฉพาะในมาตรฐาน หรือประเด็นการพิจารณาที่ต้องใช้
ค่าเป้าหมายในแต่ละประเภทตามบทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาในการประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษาทีก่ ำหนดขึน้

106

คำสง่ั ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอภกู ามยาว
ท่ี ๑๐๖ /๒๕๖๔

เร่ือง แตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเพื่อการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
----------------------------------------------------------------

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ กำหนด ใน
มาตรฐาน ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือ
ว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๒๐ กำหนดให้สถานศึกษาดำเนินการประกันคุณภาพ
ภายในให้สอดคลอ้ งกับระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพภายใน โดยได้รบั ความรว่ มมือ ส่งเสริม สนับสนุน
จากภาคีเครือขา่ ย และให้มกี ฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบหลกั เกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพภายใน

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หรือสำนักงาน กศน.ได้ดำเนินการพัฒนา
กรอบมาตรฐานและตัวบ่งชี้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ/เขต ร่วมกับสถานศึกษา โดยกรอบมาตรฐานและตัวบ่งชี้การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยที่พัฒนาขึ้น เป็นการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎกระทรวง กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธกี ารประกนั คุณภาพภายใน สำหรบั สถานศึกษาท่ีจดั การศกึ ษานอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๕ ทีก่ ำหนดให้สถานศึกษาต้อง
ดำเนินการ ดังนี้ (๑) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษานอกระบบที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนดและพัฒนา
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในส่วนที่เป็นลักษณะเฉพาะของสถานศึกษา (๒) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี (๓) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนพัฒนาการประจำปี
(๔) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (๕) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา (๖) จัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปี (๗) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสงั กัด และภาคเี ครอื ข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน (๘) นำผลการประเมนิ
คุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ
สถานศึกษาและภาคีเครือข่าย (๙) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ และ (๑๐) ยึดหลักการมีส่วนร่วมของ
คณะกรรมการสถานศกึ ษา บคุ ลากรทุกคนในสถานศกึ ษา ภาคเี ครอื ขา่ ย และผู้รับบริการ

ทั้งนี้ การประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา จะเนน้ รปู แบบการประเมนิ ผล ติดตามตรวจสอบการดำเนินงาน
ในเชิงคุณภาพ ทั้งปัจจัยป้อน กระบวนการ และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของสถานศึกษาเป็นสำคัญ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย ลงวันท่ี ๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ ซึ่งแบ่งออกได้ ๓ ประเภท คือ ๑.)มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดับ
การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ๒.) มาตรฐานการศกึ ษาต่อเนือ่ ง ๓.) มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย

-๒- ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและ/....

107

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภูกามยาวจึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน

ตนเอง เพ่อื เป็นการส่งเสริม สนับสนนุ การดำเนินงานดา้ นการประกนั คุณภาพการศึกษาให้แก่สถานศึกษา ได้ตระหนัก

และเห็นความสำคัญในการนำมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไปสู่ การปฏิบัติอย่างเป็น

รปู ธรรม จงึ ขอแต่งตง้ั คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษาดังน้ี

๑. นางวารณี วชิ ยั ศิริ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอภูกามยาว ประธานกรรมการ

๒. นางสาวสุภาพรรณ ใจแปง ครผู ูช้ ่วย รองประธานกรรมการ

๓ นางสาวธัญสินี สงิ หแ์ กว้ ครู อาสาสมคั รฯ กรรมการ

๔. นางสาวสายสดุ า เผ่าฟู ครู กศน.ตำบล กรรมการ

๕. นางสาวภทั ริญา อุปวรรณ์ ครู กศน.ตำบล กรรมการ

๖. นายยทุ ธนันท์ กามอ้อย ครู กศน.ตำบล กรรมการ

๗. นางสาวศิริภาภรณ์ เรียบร้อย ครู ผู้สอนคนพิการ กรรมการ

๘. นางสาวชัญญาภคั ดูการดี บรรณารักษ์อัตราจ้าง กรรมการ

๙. นางสาวธติ วิ รดา บุญเรือง เจา้ หน้าทีบ่ ันทึกขอ้ มลู กรรมการ

๑๐.นางผอ่ งศรี เขมิ ขนั ธ์ ครู กศน.ตำบล กรรมการและเลขานุการ

ให้คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายใน ดำเนินการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาจากการรายงาน

การประเมนิ ตนเอง การนิเทศติดตามที่สะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

สถานศึกษาว่า มีการจัดกระบวนการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและผู้รับบริการโดย

สถานศึกษามีการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่บุคลากรในการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน

สถานศึกษา มีการทบทวนหรือประเมนิ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในมกี ารจดั ทำคมู่ ือระบบแนวทางการดำเนินงาน

ตามระบบประกันคุณภาพภายในเพ่ือให้บุคลากรของสถานศกึ ษาใช้เปน็ แนวทางในการดำเนินงานเพ่ือพฒั นาระบบการ

ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาและเปดิ เผยตอ่ สาธารณชน ตามท่ไี ด้รับการแต่งตง้ั ตามคำส่ังนี้ โดยปฏิบัติ

หนา้ ท่ีอย่างมีประสิทธภิ าพและเปน็ ประโยชน์ตอ่ ทางราชการอยา่ งเคร่งครดั

ทั้งน้ี ตง้ั แตบ่ ดั น้เี ปน็ ต้นไป

ส่ัง ณ วันที่ ๑๕ เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔

(นางวารณี วชิ ัยศริ ิ)
ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภกู ามยาว

108

คณะผูจ้ ดั ทำ

คณะทปี่ รึกษา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภูกามยาว
ครผู ้ชู ว่ ย
1. นางวารณี วชิ ัยศิริ
2. นางสาวสภุ าพรรณ ใจแปง

คณะผู้จัดทำ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอภกู ามยาว
ครผู ู้ช่วย
1. นางวารณี วิชัยศริ ิ ครูอาสาสมคั รฯ
2. นางสาวสุภาพรรณ ใจแปง ครูกศน.ตำบล
3. นางสาวธัญสนิ ี สงิ หแ์ ก้ว ครกู ศน.ตำบล
4. นางผอ่ งศรี เขิมขันธ์ ครกู ศน.ตำบล
5. นางสาวสายสดุ า เผา่ ฟู ครกู ศน.ตำบล
6. นางสาวภทั รญิ า อปุ วรรณ์ ครผู ้สู อนคนพกิ าร
7. นายยุทธนนั ท์ กามอ้อย บรรณารักษ์อัตราจา้ ง
8. นางสาวศิรภิ าภรณ์ เรียบรอ้ ย เจ้าหน้าที่บนั ทกึ ขอ้ มลู
9. นางสาวชญั ญาภัค ดกู ารดี
10. นางสาวธติ ิวรดา บญุ เรอื ง ครูกศน.ตำบล
ครูผสู้ อนคนพิการ
ผู้เรียบเรียง/จดั พมิ พ์
ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภกู ามยาว
1. นางผ่องศรี เขมิ ขันธ์ ครผู ู้ชว่ ย
2. นางสาวศิรภิ าภรณ์ เรยี บรอ้ ย

ผู้ตรวจทาน

1. นางวารณี วชิ ยั ศิริ
2. นางสาวสุภาพรรณ ใจแปง

กศน.อำเภอภกู ำมยำว


Click to View FlipBook Version