The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสอนการผันวรรณยุกต์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การสอนการผันวรรณยุกต์

การสอนการผันวรรณยุกต์

หนวยศึกษานิเทศก สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ คูมือการเรียนรูดวยตนเอง สำหรับครูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ๑–๓ การสอนการผันวรรณยุกต


ค�ำน�ำ คู ่มือการเรียนรู้ด้วยตนเองส�ำหรับครูกลุ ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเล ่มนี้จัดท�ำขึ้น ตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์และคุณภาพการอ ่าน เขียนภาษาไทย กิจกรรมที่ ๑.๒ คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเองส�ำหรับครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเรื่องการสอนการผันวรรณยุกต์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ซึ่งเรื่องการผันวรรณยุกต์เป็นเรื่องหนึ่งที่จ�ำเป็นและส�ำคัญ อย่างยิ่งในการเรียนภาษาไทย ที่ครูผู้สอนต้องย�้ำ ทวน ให้แก่นักเรียนได้เรียนรู้เพื่อเกิดความเข้าใจ แม่นย�ำ และน�ำไปใช้ให้ถูกต้อง คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเองส�ำหรับครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเล่มนี้ประกอบไปด้วย เนื้อหากิจกรรม ที่ครูผู้สอนสามารถน�ำไปศึกษาได้ด้วยตนเองหรือปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบท ของนักเรียนได้เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน และสร้างนิสัยรักการอ่าน โดยคณะผู้จัดท�ำ ได้วิเคราะห์เนื้อหาและพัฒนาแบบฝึกให้สอดคล้องกับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ และ สอดคล้องกับมาตรฐานตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ขอขอบคุณผู้บริหารกรุงเทพมหานครคณะผู้จัดท�ำ และผู้เกี่ยวข้องที่เห็นความส�ำคัญของ การอ่านภาษาไทยของนักเรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์และคุณภาพการอ่าน เขียนภาษาไทย ของนักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร คู่มือครูเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับครูผู้สอนและ นักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครได้เป็นอย่างดี คณะผู้จัดท�ำ


สารบัญ แบบทดสอบก่อนเรียน ๗ อักษรกลาง ๑๕ อักษรสูง ๕๓ อักษรต�่ำ ๘๔ แบบทดสอบหลังเรียน ๑๓๒ บรรณานุกรม ๑๕๑


ค�ำชี้แจงคู่มือการเรียนรู้ สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์และ คุณภาพการอ่าน เขียนภาษาไทย กิจกรรมที่ ๑.๒ คู่มือการเรียนรู้ด้วยตัวเองสำหรับครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเป็นการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการอ่าน เขียนภาษาไทย เรื่องการสอนการผันวรรณยุกต์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ เนื้อหาของคู่มือครูเล่มนี้ตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ครูผู้สอนควรศึกษาคู่มือครูเล่มนี้ให้เข้าใจ โดยมีขอบเขตเนื้อหาดังต่อไปนี้รูปและ เสียงวรรณยุกต์อักษรสามหมู่การผันอักษร หลักสังเกตการผันวรรณยุกต์มาตรากง มาตรากม มาตรากน มาตราเกย มาตราเกอว มาตรากก มาตรากด และมาตรากบ คณะผู้จัดทำ


มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อน�ำ ไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการด�ำเนินชีวิต และมีนิสัย รักการอ่าน ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ อ่านออกเสียงค�ำคล้องจองและข้อความสั้นๆ ตัวชี้วัด ป. ๑/๒ บอกความหมายของค�ำและข้อความที่อ่าน สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้ าใจธรรมช าติของภ าษ าและหลักภ าษ าไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย ตัวชี้วัด ป. ๑/๒ เขียนสะกดค�ำและบอกความหมายของค�ำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อน�ำ ไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการด�ำเนินชีวิต และมีนิสัย รักการอ่าน ตัวชี้วัด ป. ๒/๑ อ่านออกเสียงค�ำคล้องจอง ข้อความและบทร้อยกรอง ง่ายๆ ได้ ตัวชี้วัด ป. ๒/๒ อธิบายความหมายของค�ำ และข้อความที่อ่าน


6 สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้ าใจธรรมช าติของภ าษ าและหลักภ าษ าไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ป. ๒/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย ตัวชี้วัด ป. ๒/๒ เขียนสะกดค�ำและบอกความหมายของค�ำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อน�ำ ไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการด�ำเนินชีวิต และมีนิสัย รักการอ่าน ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ อ่านออกเสียงค�ำ ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรอง ง่ายๆ ได้ ตัวชี้วัด ป. ๓/๒ อธิบายความหมายของค�ำ และข้อความที่อ่าน สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้ าใจธรรมช าติของภ าษ าและหลักภ าษ าไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ เขียนสะกดค�ำและบอกความหมายของค�ำ


7 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การผันวรรณยุกต์ ค�ำชี้แจง กากบาท(x)ทับตัวอักษรหน้าค�ำตอบที่ถูกต้องลงในกระดาษค�ำตอบ ๑. อักษรกลางผันวรรณยุกต์ได้กี่เสียง ก. ๒ เสียง ข. ๓ เสียง ค. ๔ เสียง ง. ๕ เสียง ๒. ค�ำว่า “อ่าน” มีเสียงวรรณยุกต์ใด ก. เสียงสามัญ ข. เสียงเอก ค. เสียงโท ง. เสียงตรี ๓. ค�ำใดเติมวรรณยุกต์–้แล้วมีความหมาย ก. บัว ข. งวง ค. เสือ ง. นาง ๔. ค�ำในข้อใดมีค�ำที่ผันเสียงวรรณยุกต์ได้ครบ ๕ เสียงทุกค�ำ ก. เฉา ตั๋ว แล้ว ข. เต่า อ่าง ปาน ค. เสือ กาง ค�ำ ง. อึง ถิ่น นาน


8 ๕. ค�ำในข้อใดไม่มีรูปวรรณยุกต์แต่ออกเสียงวรรณยุกต์ตรี ก. มด ข. ท�ำ ค. น�้ำ ง. โท ๖. ค�ำในข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์เอก – โท ตามล�ำดับ ก. แม่ ผ้า ข. โอ่ง ร้าง ค. ค่าย ซ้าย ง. ส่าย หน้า ๗. ข้อใดเป็นค�ำอักษรกลางและมีเสียงวรรณยุกต์ตรี ก. แก้ ข. บ่อ ค. ดื้อ ง. โต๊ะ ๘. ข้อใดเป็นค�ำอักษรกลางและมีเสียงวรรณยุกต์โททั้งหมด ก. ไก่ กา ข. ป้า ปู่ ค. จู้ จี้ ง. เตะ โต๊ะ


9 ๙. ค�ำว่า “จ๊ะเอ๋” มีเสียงวรรณยุกต์ใดตามล�ำดับ ก. เสียงโท เสียงตรี ข. เสียงเอก เสียงตรี ค. เสียงตรี เสียงโท ง. เสียงตรี เสียงจัตวา ๑๐. “คุณแมซื้อถุงเท้ามาให้นอง” วรรณยุกต์ที่เติมลงในช่องว่าง มีเสียงวรรณยุกต์ใด ตามล�ำดับ ก. เสียงสามัญ เสียงเอก ข. เสียงเอก เสียงโท ค. เสียงโท เสียงตรี ง. เสียงตรี เสียงสามัญ ๑๑. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์เสียงเดียวกันทุกค�ำ ก. ไข้ ค่า ข. สี่ ส้ม ค. ป้า ซื้อ ง. แก่ ยุ่ง ๑๒. ค�ำในข้อใดมีรูปวรรณยุกต์ตรีทั้งสองพยางค์ ก. กะต๊าก ข. กงเต๊ก ค. ก๊อกแก๊ก ง. ตุ๊กแก


10 ๑๓. น้องชอบกินบะหมี่......... ก. เกียว ข. เกี่ยว ค. เกี๊ยว ง. เกี๋ยว ๑๔. ค�ำในข้อใดมีรูปและเสียงวรรณยุกต์ตรงกันทั้งหมด ก. พี่คะ ข. ใช่แล้ว ค. ท้องฟ้า ง. โป๊ะเรือ ๑๕. ค�ำในข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์โททั้งหมด ก. ไม่ใช่ ข. น�้ำตาล ค. ไร่นา ง. ผ้าพื้น ๑๖. ค�ำในข้อใดมีรูปและเสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงกัน ก. ผ้าผ่อน ข. ท่อนไม้ ค. ไก่แจ้ ง. ดื่มด�่ำ


11 ๑๗. ค�ำใดมีเสียงวรรณยุกต์ต่างจากค�ำอื่น ก. โบ๊เบ๊ ข. ฟ้าร้อง ค. เจี๊ยวจ๊าว ง. นุ่มนิ่ม ๑๘. ค�ำใดใช้วรรณยุกต์ถูกต้อง ก. เก่าอี้ ข. ไข่ตุ๋น ค. เล่าไก่ ง. กล๊องข้าว ๑๙. ค�ำว่า “ข้อ” มีเสียงวรรณยุกต์ตรงกับข้อใด ก. มั่ว ข. ฝ่า ค. ท้อ ง. ม้า ๒๐. “น้องที่ใส่.....ลาย.....มาซื้อ....ไปให้คุณยาย” ควรเติมค�ำใดลงใน ช่องว่างให้มีความหมายถูกต้อง ก. เสือ เสื่อ เสื้อ ข. เสื่อ เสือ เสื้อ ค. เสื้อ เสือ เสื่อ ง. เสื่อ เสื้อ เสือ


12 พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ อักษรสามหมู่ หรือไตรยางศ์ พยัญชนะไทยแบ่งออกเป็นสามหมู่ เรียกว่า ไตรยางศ์ อักษรสูง อักษรต�่ำ อักษรกลาง


13 พยัญชนะอักษรกลางมี ๙ ตัว อักษรกลาง พยัญชนะอักษรสูงมี ๑๑ ตัว อักษรสูง พยัญชนะอักษรต�่ำมี ๒๔ ตัว อักษรต�่ำ ก ข จ ฃ ด ฉ ฎ ฐ ต ถ ฏ ผ อ ษ ส ห ป ศ บ ฝ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ 13


14 พยัญชนะอักษรต�่ำ มี ๒ ประเภท อักษรต�่ำคู่ อักษรต�่ำเดี่ยว อักษรต�่ำคู่ คือ อักษรต�่ำที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๔ ตัว ๗ คู่เสียง อักษรต�่ำคู่ อักษรสูง ค ฅ ฆ ข ฃ ช ฌ ฉ ซ ศ ษ ส ฑ ฒ ท ธ ถ ฐ พ ภ ผ ฟ ฝ ฮ ห อักษรต�่ำเดี่ยว คือ อักษรต�่ำที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๐ ตัว (ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ) 14


15 การผันอักษรกลาง ไม่มีตัวสะกด ผันได้๕ เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา มีรูปและเสียงตรงกัน พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า จา จ่า จ้า จ๊า จ๋า ดา ด่า ด้า ด๊า ด๋า ตา ต่า ต้า ต๊า ต๋า บา บ่า บ้า บ๊า บ๋า ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า อา อ่า อ้า อ๊า อ๋า อักษร กลาง


16 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบและฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้อง รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง ดี ดี่ ดี้ ดี๊ ดี๋ ตือ ตือ ตือ ตือ ตือ ดู ดู ดู ดู ดู เอ เอ เอ เอ เอ แบ แบ แบ แบ แบ โอ โอ โอ โอ โอ ปอ ปอ ปอ ปอ ปอ เจอ เจอ เจอ เจอ เจอ เปีย เปีย เปีย เปีย เปีย เจือ เจือ เจือ เจือ เจือ ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว


17 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบ ฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้องและวงกลม ค�ำที่มีความหมาย รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง จี จี่ จี้ จี๊ จี๋ ปี ปี ปี ปี ปี ดือ ดือ ดือ ดือ ดือ ปู ปู ปู ปู ปู เก เก เก เก เก แจ แจ แจ แจ แจ โต โต โต โต โต จอ จอ จอ จอ จอ เกอ เกอ เกอ เกอ เกอ เบีย เบีย เบีย เบีย เบีย เอือ เอือ เอือ เอือ เอือ


18 ฝึกอ่านค�ำ จ่า จ้า จ๋า บ่า บ้า ป่า ป้า ป๊า ป๋า อ้า จี้ ตี๋ บี้ ปี่ ดื้อ อื้อ กู่ จู่ ตู้ ปู่ อู้ เก๋ เจ๊ เป๋ เอ๋ แก่ แก้ แจ๋ แต่ แอ้ โก้ โก๋ โต้ โบ๋ โป๊ โอ๋ ก่อ ก้อ จ่อ จ๋อ ต่อ บ่อ ป้อ ป๋อ อ๋อ เด๋อ เอ๋อ เตี่ย เบี้ย เบื่อ เอื้อ จั่ว ตั๋ว อั๊ว 18


19 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์จากภาพที่ก�ำหนดให้และฝึกอ่านค�ำ บา ปา ตว ตู ปี จอ คนแก บอ


20 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๔ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์และฝึกอ่านค�ำ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๕ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนค�ำจากวรรณยุกต์ที่ก�ำหนด และฝึกอ่านค�ำ จา ปา อา จี ตี ปี ดือ อือ ปู เก เป แต โอ จอ ตอ เตีย เบือ จัว -่ -้ -๊ -๋


21 มาตรา กง การผันอักษรกลาง ที่มีตัวสะกดมาตรากง (มี ง เป็นตัวสะกด) ผันได้๕ เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา มีรูปและเสียงตรงกัน พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา กอง ก่อง ก้อง ก๊อง ก๋อง จอง จ่อง จ้อง จ๊อง จ๋อง ดอง ด่อง ด้อง ด๊อง ด๋อง ตอง ต่อง ต้อง ต๊อง ต๋อง บอง บ่อง บ้อง บ๊อง บ๋อง ปอง ป่อง ป้อง ป๊อง ป๋อง ออง อ่อง อ้อง อ๊อง อ๋อง


22 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบและฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้อง รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง กาง ก่าง ก้าง ก๊าง ก๋าง บาง บาง บาง บาง บาง ติง ติง ติง ติง ติง ปิง ปิง ปิง ปิง ปิง ดุง ดุง ดุง ดุง ดุง แจง แจง แจง แจง แจง โตง โตง โตง โตง โตง บอง บอง บอง บอง บอง เดียง เดียง เดียง เดียง เดียง เอือง เอือง เอือง เอือง เอือง


23 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบ ฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้องและวงกลม ค�ำที่มีความหมาย รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง จาง จ่าง จ้าง จ๊าง จ๋าง ตาง ตาง ตาง ตาง ตาง ดิง ดิง ดิง ดิง ดิง บุง บุง บุง บุง บุง แปง แปง แปง แปง แปง โกง โกง โกง โกง โกง โอง โอง โอง โอง โอง ตอง ตอง ตอง ตอง ตอง เอียง เอียง เอียง เอียง เอียง เบือง เบือง เบือง เบือง เบือง


24 ฝึกอ่านค�ำ ก้าง จ้าง ด่าง ต่าง บ้าง อ้าง ดิ่ง ติ่ง ปิ้ง กุ้ง บุ้ง เก้ง เด้ง แจ้ง แบ่ง โก่ง โด่ง โต้ง โป้ง โอ่ง ก้อง จ้อง ต้อง บ้อง ป้อง เบี่ยง เกี่ยง เอี้ยง เบื้อง เอื้อง กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์จากค�ำที่ก�ำหนดให้และฝึกอ่านค�ำ ก เ ต โ แ า บื อ อ บ ง อ ง ง ง ง


25 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๔ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนค�ำที่มีวรรณยุกต์ลงในกรอบสี่เหลี่ยมและฝึกอ่านค�ำ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๕ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนค�ำจากวรรณยุกต์ที่ก�ำหนดและฝึกอ่านค�ำ พยัญชนะอักษรกลาง มาตรากง -่ -้ -๊ -๋ 25


26 มาตรา กน การผันอักษรกลาง ที่มีตัวสะกดมาตรากน (มี น เป็นตัวสะกด) ผันได้๕ เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา มีรูปและเสียงตรงกัน พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา กิน กิ่น กิ้น กิ๊น กิ๋น จิน จิ่น จิ้น จิ๊น จิ๋น ดิน ดิ่น ดิ้น ดิ๊น ดิ๋น ติน ติ่น ติ้น ติ๊น ติ๋น บิน บิ่น บิ้น บิ๊น บิ๋น ปิน ปิ่น ปิ้น ปิ๊น ปิ๋น อิน อิ่น อิ้น อิ๊น อิ๋น


27 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบและฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้อง รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง กาน ก่าน ก้าน ก๊าน ก๋าน ตาน ตาน ตาน ตาน ตาน ปืน ปืน ปืน ปืน ปืน เดน เดน เดน เดน เดน เอน เอน เอน เอน เอน แจน แจน แจน แจน แจน โกน โกน โกน โกน โกน โดน โดน โดน โดน โดน ตอน ตอน ตอน ตอน ตอน ปอน ปอน ปอน ปอน ปอน


28 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบ ฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้องและวงกลม ค�ำที่มีความหมาย รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง ดาน ด่าน ด้าน ด๊าน ด๋าน บาน บาน บาน บาน บาน อาน อาน อาน อาน อาน ตืน ตืน ตืน ตืน ตืน อืน อืน อืน อืน อืน เตน เตน เตน เตน เตน แกน แกน แกน แกน แกน แปน แปน แปน แปน แปน กอน กอน กอน กอน กอน ออน ออน ออน ออน ออน


29 ฝึกอ่านค�ำ ก้าน ด่าน ด้าน ต้าน บ้าน ป่าน ป้าน อ่าน ดิ้น ตื่น ตื้น ปื้น อื่น เด่น เต้น แก่น แป้น ก่อน ก้อน ต้อน ป้อน อ่อน อ้อน เปี้ยน เอื้อน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์จากค�ำที่ก�ำหนดให้และฝึกอ่านค�ำ ๑. ตาน ออน เดน ๒. ตืน แปน ตอน ๓. กอน บาน ปอน ๔. ดิน เตน ตาน ๕. แกน อืน ปืน


30 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๔ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนหาค�ำที่มีพยัญชนะต้น เป็นอักษรกลางตัวสะกดมาตรากน เขียนค�ำและฝึกอ่าน ด่ อ อ ป้ ตื่ อ น เ จ๊ ร แ น น อ น ป อ ก บ อ ป ก้ า น อ บ่ ดิ้ จ ต้ ก อ อ น จั่ ด่ า น ด อ ป น แ บ ป ก อ า ต น จ จ ต้ ม จ จ เ ป่ บ ด บ ก้ ม น ด ด ต้ บ ป ต ด อ บ ด แ ป้ น ก อ อ ต ด เ ก ต บ ป อ ก จ บ แ ป อ โ จ๋ บ ด อ า ด จะรีบไปไหน...พักเดี๋ยวก่อน แป้น


31 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๕ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนค�ำจากวรรณยุกต์ที่ก�ำหนดและฝึกอ่านค�ำ -่ -้ -๊ -๋ 31


32 มาตรา กม การผันอักษรกลาง ที่มีตัวสะกดมาตรากม (มี ม เป็นตัวสะกด) ผันได้๕ เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา มีรูปและเสียงตรงกัน พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา กาม ก่าม ก้าม ก๊าม ก๋าม จอม จ่อม จ้อม จ๊อม จ๋อม เอียม เอี่ยม เอี้ยม เอี๊ยม เอี๋ยม แปม แป่ม แป้ม แป๊ม แป๋ม บวม บ่วม บ้วม บ๊วม บ๋วม เปม เป่ม เป้ม เป๊ม เป๋ม เอม เอ่ม เอ้ม เอ๊ม เอ๋ม


33 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบและฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้อง รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง จาม จ่าม จ้าม จ๊าม จ๋าม อาม อาม อาม อาม อาม ติม ติม ติม ติม ติม บิม บิม บิม บิม บิม แจม แจม แจม แจม แจม ดอม ดอม ดอม ดอม ดอม เกียม เกียม เกียม เกียม เกียม เจียม เจียม เจียม เจียม เจียม


34 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบ ฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้องและวงกลม ค�ำที่มีความหมาย รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง กาม ก่าม ก้าม ก๊าม ก๋าม ตาม ตาม ตาม ตาม ตาม อิม อิม อิม อิม อิม ดืม ดืม ดืม ดืม ดืม แกม แกม แกม แกม แกม แตม แตม แตม แตม แตม ออม ออม ออม ออม ออม ปอม ปอม ปอม ปอม ปอม เอียม เอียม เอียม เอียม เอียม เอือม เอือม เอือม เอือม เอือม


35 ฝึกอ่านค�ำ ก้าม ด้าม ตุ้ม อุ้ม อิ่ม ดื่ม แก้ม แจ่ม แต้ม ต้ม ป้อม ต่อม ออม อ้อม เอี่ยม เปี่ยม เจี้ยม เอื้อม กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค�ำมาเติมในช่องว่าง และฝึกอ่านค�ำ ตุ้ม อิ่ม แจ่ม ตอม ต้ม แต้ม ออม ก้าม ดื่ม ป้อม ๑. ใส ๓. อด ๕. ลูก ๗. ปู ๙. ไต่ ๒. หุง ๔. ยาม ๖. น�้ำ ๘. แต่ง ๑๐. กิน 35


36 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๔ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์จากภาพที่ก�ำหนดให้และฝึกอ่านค�ำ เขียนค�ำและฝึกอ่าน มะขามปอม หุงตม กินอิม กามปู อุมลูก แกม เจ้าแตม เอือมมือ


37 มาตรา เกย การผันอักษรกลาง ที่มีตัวสะกดมาตราเกย (มี ย เป็นตัวสะกด) ผันได้๕ เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา มีรูปและเสียงตรงกัน พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา กาย ก่าย ก้าย ก๊าย ก๋าย จาย จ่าย จ้าย จ๊าย จ๋าย ดาย ด่าย ด้าย ด๊าย ด๋าย ตาย ต่าย ต้าย ต๊าย ต๋าย บาย บ่าย บ้าย บ๊าย บ๋าย ปาย ป่าย ป้าย ป๊าย ป๋าย อาย อ่าย อ้าย อ๊าย อ๋าย


38 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบ ฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้องและวงกลม ค�ำที่มีความหมาย รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง กุย กุ่ย กุ้ย กุ๊ย กุ๋ย อุย อุย อุย อุย อุย เอย เอย เอย เอย เอย โอย โอย โอย โอย โอย กอย กอย กอย กอย กอย จอย จอย จอย จอย จอย ดอย ดอย ดอย ดอย ดอย ตอย ตอย ตอย ตอย ตอย ออย ออย ออย ออย ออย เจือย เจือย เจือย เจือย เจือย เปือย เปือย เปือย เปือย เปือย


39 ฝึกอ่านค�ำ จ่าย ด้าย ต่าย บ่าย ป้าย อ้าย กุ๋ย ปุ๋ย อุ๊ย เอ๋ย เต้ย โอ๊ย โป๊ย ก้อย จ๋อย ด้อย ต่อย บ่อย อ้อย อ๋อย เจื้อย เปื่อย เอื่อย เอื้อย 39


40 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนค�ำจากภาพที่ก�ำหนดและฝึกอ่านค�ำ จ ด ต ป ย อ -่ -้ -๋ -า -ุ = = = = = = = = = = = ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ = = = = =


41 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์และฝึกอ่านค�ำ จาย ปาย อาย ดาย บาย บอย กอย ดอย ออย ตอย จอย ปุย กุย โอย เอย 41


42 มาตรา เกอว การผันอักษรกลาง ที่มีตัวสะกดมาตราเกอว (มี ว เป็นตัวสะกด) ผันได้๕ เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา มีรูปและเสียงตรงกัน พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา จาว จ่าว จ้าว จ๊าว จ๋าว ดาว ด่าว ด้าว ด๊าว ด๋าว อาว อ่าว อ้าว อ๊าว อ๋าว จิว จิ่ว จิ้ว จิ๊ว จิ๋ว ปิว ปิ่ว ปิ้ว ปิ๊ว ปิ๋ว แกว แก่ว แก้ว แก๊ว แก๋ว แตว แต่ว แต้ว แต๊ว แต๋ว


43 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบ ฝึกอ่านค�ำให้ถูกต้องและวงกลม ค�ำที่มีความหมาย รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอย่าง กาว ก่าว ก้าว ก๊าว ก๋าว บาว บาว บาว บาว บาว กิว กิว กิว กิว กิว ติว ติว ติว ติว ติว อิว อิว อิว อิว อิว แจว แจว แจว แจว แจว แอว แอว แอว แอว แอว เดียว เดียว เดียว เดียว เดียว


44 ฝึกอ่านค�ำ ก้าว ด้าว บ่าว อ่าว อ้าว กิ่ว จิ๋ว ปิ๋ว แก้ว แจ่ว แจ้ว แจ๋ แอ่ว เกี่ยว เกี้ยว เกี๊ยว เดี่ยว เดี๋ยว เตี๋ยว เบี้ยว เอี่ยว เอี้ยว เปี้ยว แต้ว กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเติมวรรณยุกต์จากค�ำที่ก�ำหนดให้มีความหมายและ ฝึกอ่านค�ำ บ า ว แ จ วิ จ ว ี ิเ ด ย ว ป ว ิด า ว ก ว อ า ว 44


45 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓ ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกน�ำค�ำอักษรกลางที่มีตัวสะกดมาตราเกอว เติมในประโยคให้ได้ใจความที่สมบูรณ์และฝึกอ่านประโยค ๑. น้องอยากกิน...........................จึงบอกคุณแม่ ๒. คุณป้า...........................ตัวอย่างเร็ว เอวเลยเคล็ด ๓. พื้นน�้ำที่ล�้ำเข้าไปในพื้นดิน มีลักษณะเว้าโค้ง เรียกว่า........................ ๔. น้องถือ...........................น�้ำสีชมพู ๕. พี่ของฉันแข่งขันวิ่ง.......................... เอี้ยว แก้ว อ่าว เกี๊ยว เปี้ยว


46 แบบฝึกหัดทบทวน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ รูปกับเสียงเป็นเพื่อนกัน ค�ำชี้แจง ๑. นักเรียนอ่านค�ำที่ก�ำหนดให้ ๒. นักเรียนเขียนรูปและเสียงวรรณยุกต์ คำ รูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ ต๋าย –จัตวา ๑. ด้วง ๒. แก้ ๓. เอ๋ย ๔. บ้าน ๕. เก้อ ๖. ป่าน ๗. ต่าง ๘. ดิ้น ๙. ป๋อง ๑๐. เบี้ยว


47 แบบฝึกหัดทบทวน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒ ตามหาวรรณยุกต์ ค�ำชี้แจง ๑. นักเรียนอ่านค�ำที่ก�ำหนดให้ ๒. นักเรียนน�ำค�ำไปใส่ให้ตรงกับเสียงวรรณยุกต์ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา ปลา บ้าน เต๋า จ๋อย ตาม เอียง แจง ตุ่ม เอี๊ยม ปุ๋ย บ่าว ป๊า ด้าย เบี้ย เตี่ย ก้อง เอี้ยว ปุ่ม เกี๊ยว โอ่ง ปอน เบื้อง เดี๋ยว กุม อิ่ม จิ๋ว เก๊ จ๋อ อั๊ว โป๊


48 แบบฝึกหัดทบทวน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓ ตามหาวรรณยุกต์ ค�ำชี้แจง ๑. นักเรียนผันค�ำที่ก�ำหนดให้ ๒. นักเรียนฝึกอ่านค�ำ คำ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา เกา จอง ดาย ตืน บาว เปือย โอย


49 แบบฝึกหัดทบทวน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๔ ตามหาวรรณยุกต์ ค�ำชี้แจง ๑. นักเรียนผันค�ำที่ก�ำหนดให้ ๒. นักเรียนฝึกอ่านค�ำ เตา ปอง ดาย บิน แปง เกา เตาถ่าน เต่าทอง เต้าหู้ ลูกเต๋า แมงป่อง ปกป้อง กระป๋อง เดียวดาย หลอดด้าย นกบิน มีดบิ่น ริบบิ้น แป้งฝุ่น ของเก่า เลขเก้า ปลาเก๋า ฝึกอ่านคำ


50 แบบฝึกหัดทบทวน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๕ ค�ำนี้มีความหมาย ค�ำชี้แจง ๑. นักเรียนเลือกค�ำทางขวามือมาเติมค�ำให้ได้ใจความ ๒. นักเรียนฝึกอ่านประโยค ๑. เสือที่.......ดุ ๒. แดง.......มอง เพื่อจะ.......เสื้อผ้า ๓. อย่าทำขา.......ดูไม่....... ๔. เด็กๆ ต้องรู้จัก.......ไข จะได้ดี ๕. ที่วัดมีไก่.......หลายตัว ๖. พ่อแม่.......วันนี้แสงแดด....... ๗. ฉันอยู่คน.......แม่ไปตลาด.......มา ๘. .......นอนอยู่ข้าง....... ๙. น้องแก้.......บอกว่าอยากกิน....... ๑๐. เด็กๆ ซื้อ.......เพื่อจะดูนก ๓ ........ ปา จอง เก แก โตง จา เดียว เตา เกียว ตัว ป่า จ่อง เก่ แก่ โต่ง จ่า เดี่ยว เต่า เกี่ยว ตั่ว ป้า จ้อง เก้ แก้ โต้ง จ้า เดี้ยว เต้า เกี้ยว ตั้ว ป๊า จ๊อง เก๊ แก๊ โต๊ง จ๊า เดี๊ยว เต๊า เกี๊ยว ตั๊ว ป๋า จ๋อง เก๋ แก็ โต๋ง จ๋า เดี๋ยว เต๋า เกี๋ยว ตั๋ว


Click to View FlipBook Version