The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จริยธรรมทางธุรกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by min51, 2019-12-23 21:58:41

จริยธรรมทางธุรกิจ

จริยธรรมทางธุรกิจ

44

4. จรยิ ธรรมตามแนวคําสอน (สมคดิ บางโม. 2549 : 26) ในคริสตศาสนา
4.1 จงศรัทธาและเชื่อในพระเจา
4.2 จงรักพระเจา รักครอบครัว รักเพ่ือนบานและรักเพ่ือนมนุษย แลวจะไดรับความ

รกั จากโลกเปน ส่งิ ตอบแทน
4.3 ทานทั้งหลายปรารถนาจะใหเขาทําแกทานอยางไร ทานทั้งหลายจงกระทําอยาง

นั้นแกเขาเหมอื นกนั
4.4 จงรักศตั รแู ละอวยพรแกผทู ีแ่ ชงดา ทา น
4.5 จงทําคณุ แกผูท่เี กลียดชงั ทานและจงอวยพรใหแกผูทปี่ ระทุษรายเค่ียวเขญ็ ทา น
4.6 อยากลาวโทษเขา เพื่อเขาจะไมกลาวโทษทาน เพราะวาทานท้ังหลายจะ

กลา วโทษ

จรยิ ธรรมตามแนวศาสนาอิสลาม

ศาสนาอิสลาม (2554. ออนไลน) เปน ศาสนาสําคญั ศาสนาหนึ่งของโลก มีคนนับถือมาก
เปนอันดับสองในโลก คือ เปนประเทศมุสลิมกวา 67 ประเทศจากกวา 200 ประเทศในโลก สําหรับ
ประเทศไทยศาสนาอิสลามเขามาตั้งแตสมัยสุโขทัย ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ มุฮัมหมัด ใน
ฐานะเปน ศาสนทตู ของอัลลอฮฺ

ศาสนาอิสลามในความหมายของ อัล-กุรอาน หมายถึง "แนวทางในการดําเนินชีวิต ที่
มนุษยจะปราศจากมันไมได" ศาสนาเปนส่ิงท่ีถูกประทานมาจากพระเจา สวนกฎของสังคมถูก
กําหนดจากความคิดของมนุษย ดังนั้นผูศรัทธาในพระเจาอยางแทจริงคือ ผูที่เช่ือฟงปฏิบัติตาม
คาํ บญั ชาดว ยความเคารพตอ อัลลอฮฺ

1. หลักคําสอนของศาสนาอิสลามแบงไว 3 หมวด ดงั นี้
1.1 หลกั การศรัทธา มคี วามเชื่อวา พระเจา เปน พระผสู รางทุกสรรพสิ่งทัง้ จักรวาล

ซ่ึงไมไดอุบัติข้ึนไดดวยตัวเองและประทานคําสอน กฎการปฏิบัติผานศาสดาใหมาส่ังสอน แนะนํา
มนุษยสําหรับการดําเนินชีวิต สําหรับโลกมนุษยเปนเพียงโลกแหงการทดสอบการกระทําดีและชั่ว
และอีกสถานทหี่ น่งึ เปน สถานท่ตี รวจสอบการกระทํา เพื่อรับผลตอบแทนจากการทําความดีและถูก
ลงโทษไปตามผลกรรมชว่ั ของผูกระทํานน้ั ๆ

หลกั ศรัทธา 6 ประการ (หลักศรทั ธาของมสุ ลมิ . ออนไลน. 2554) ไดแก
1) ศรทั ธาตออลั ลอฮฺ
2) ศรัทธาตอ บรรดา มลาอิกะฮขฺ องพระองค มลาอกิ ะฮ(ฺ เทวทตู ) คือ บริวาร หรือ

บาวผูรับใชอ ัลลอฮฺ

45

3) ศรทั ธาตอบรรดาคมั ภรี ข องพระองค
4) ศรัทธาตอบรรดารอซลู ของพระองค รอ ซูล คือ ศาสนทตู ของอลั ลอฮฺ
ซึ่งมีคุณสมบัติสําคัญ 4 ประการ คือ เปนผูมีสัจจะ ซ่ือสัตยสุจริต เปนผูนําศาสนาออกเผยแพรแก
ประชาชาติและเปน ผูมีความเฉลยี วฉลาด รอบคอบในการท่ีจะโตแยง หรอื อื่น ๆ
5) ศรทั ธาตอ วนั สดุ ทา ย หมายถงึ การเช่ือถงึ การฟน คืนชีพในโลกหนา
เหตุการณ หรือสัญญาณในวันกิยามะห ที่ช้ีถึงการศรัทธาตอส่ิงที่เรนลับที่สติปญญามิอาจจะเขาถึง
ไดและไมสามารถจะลว งรไู ด นอกจากไดรบั การบอกกลาวจาก อลั ลอฮฺ
6) ศรทั ธาตอ สภาวการณท ดี่ แี ละเลวราย ทงั้ หมดมาจาก อลั ลอฮฺ ทัง้ สิ้น
1.2 หลักการปฏิบัติ ศาสนาสอนวา กิจการงานท่ีจะทําตองมีความเหมาะสมกับ
ตนเองและสังคม ขณะเดียวกันตองเวนหางจากการงานท่ีไมดี ท่ีสรางความเส่ือมเสียอยางสิ้นเชิง
การประกอบคุณงามความดีอื่น ๆ เชน การถือศีลอด การนมาซและสิ่งท่ีคลายคลึงกับสิ่งเหลาน้ี เปน
การแสดงใหเห็นถึงศรัทธาท่ีเขมแข็งตอพระเจา ดั่งบาวที่จงรักภักดีและปฏิบัติตามบัญชาของ
พระองค กฎเกณฑและคําสอนของศาสนา ทําหนาท่ีคอยควบคุมความประพฤติของมนุษย ทั้งที่เปน
หลักศรัทธา หลักปฏบิ ตั แิ ละจรยิ ธรรม
หลักปฏิบัติ 5 ประการ เมื่อมีศรัทธาตอพระเจาแลว ตองนําไปสูการปฏิบัติใหเกิดผล
(บรรจง บนิ กาซนั และวิทยา วิเศษรตั น. 2554. ออนไลน) โดยมีหลักปฏบิ ตั ดิ งั นี้
1) การกลา วปฏญิ าณตน สําหรับผูท่ยี อมรับอสิ ลามทุกคนตองกลา ว เพือ่ เปน
การยืนยันดวยวาจาวา ตนเองมีศรัทธาและพรอมจะปฏิบัติตามบทบัญญัติและเง่ือนไขตาง ๆ ท่ี
อลั ลอฮฺ ไดทรงกําหนดไวใ นคัมภรี อลั กุรอานและคาํ สอนของศาสดา นบมี ุหมั มัด
2) การนมาซ หรือละหมาด เปนการแสดงความเคารพสักการะและแสดงความ
ขอบคุณตออัลลอฮฺในแตละวัน ๆ ละ 5 เวลา คือ รุงอรุณ ตอนบาย ตอนตะวันคลอย หลังดวง
อาทติ ยตกดินและในยามคํ่าคนื โดยถือเปน หนาท่ีของมุสลมิ ทุกคนท่ีบรรลศุ าสนภาวะ คือ ผูชายเร่ิม
มคี วามรูสกึ ทางเพศและผูหญงิ เริ่มมีประจําเดือน ผูละหมาดไดครบ 5 เวลาตอวัน จะตองเปนคนท่ีมี
ความผูกพันตออัลลอฮฺและรําลึกถึงพระคุณของพระองคอยูตลอดเวลา ยอมจะไมเปนผูประพฤติช่ัว
เพราะอยูในสายตาของพระองคตลอดเวลา
3) การถือศีลอดในเดอื นเราะมะฎอน เปน การงดเวน การกิน ดมื่ มเี พศสัมพนั ธ
ตลอดจนการอดกลั้นอารมณใฝตํ่าทั้งหลาย ตั้งแตดวงอาทิตยขึ้น จนถึงดวงอาทิตยตกดิน เปนเวลา
29-30 วันของเดือนเกาตามปฏิทินอิสลาม โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือฝกมุสลิมใหเกิดความยําเกรงตอ
พระเจาและฝกใหมีความซื่อสัตยตอตนเอง ยังแสดงถึงความเสมอภาคระหวางคนรวยและคนจน
การถือศีลอดเปนเพียงการยํ้าเตือนจิตสํานึกของผูถือศีลอดใหระลึกถึงพระเจาและลดความตองการ

46

ทางอารมณใหตํ่าลง ถายังคลอยตามอารมณใฝต่ําทําความชั่วอยู สิ่งที่ไดรับจากการถือศีลอดก็คือ
ความหิวกระหายธรรมดาตลอดท้ังวัน ซ่ึงไมมีผลตอการฝกฝน หรือการขัดเกลาทางดานจิตวิญญาณ
แตประการใด ขอยกเวนในการถือศีลอดสําหรับคนชราที่รางกายออนแอ ผูปวย ที่แพทยวินิจฉัย
แลว กรรมกรท่ีทํางานหนักในเหมืองแร หญิงมีครรภแก เหลาน้ีจะไดรับการยกเวนมิตองชดใช แต
มีเงอ่ื นไขวา ผทู ไ่ี ดร ับการยกเวน จะตองบริจาคอาหารท่ีตัวเองกินเปนประจําหนึ่งม้ือใหแกคนยากจน
เปนการทดแทนในวันที่มิไดถือศีลอดในระหวางเดือนถือศีลอดนั้น นอกจากนี้สามารถกลืนน้ําลาย
ได ถา นํ้าลายสะอาดและไมม เี ศษอาหารติดอยู

4) การจา ยซะกาด คอื การจา ยทรัพยสนิ ในอัตราที่ศาสนากาํ หนดไวจ าก
ทรัพยสินท่ีสะสมไว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยืนยันถึงความศรัทธา เปนการฟอกทรัพยสินและจิตใจ
ของผูจายใหสะอาดบริสุทธิ์ อีกท้ังยังเปนการชวยเหลือแบงปนแกสังคม สําหรับผูรับซะกาด 8
จําพวก ไดแก คนยากจน คนท่ีอัตคัดขัดสน คนท่ีมีหัวใจโนมมาสูอิสลาม ไถทาส ผูมีหน้ีสินลน
พน ตวั คนพลดั ถน่ิ หลงทาง ใชในหนทางของอัลลอฮฺ ผบู รหิ ารการจดั เก็บและจา ยซากาต

5) การทาํ ฮัจย คือ การเดนิ ทางไปปฏิบตั ศิ าสนกจิ ท่ีนครมกั กะฮฺ ในเดือน
ซุลฮิจญะฮฺ เปนเดือนสุดทายตามปฏิทินอิสลามและสถานท่ีท่ีถูกกําหนดไว การทําฮัจย ถือเปน
หนาที่ของชายและหญิงทุกคนท่ีมีความสามารถดานรางกาย ทรัพยสินและเสนทางการเดินทางที่มี
ความปลอดภยั

1.3 หลกั จริยธรรม ศาสนาอิสลามสอนวา การดาํ เนินชวี ติ จงเลอื กสรรเฉพาะสงิ่ ที่ดี
อันเปนที่ยอมรับของสังคม จงทําตนเปนผูดํารงอยูในศีลธรรม พัฒนาตนเองไปสูการมีบุคลิกภาพท่ี
ดี เปนคนรูจ ักหนาที่ มคี วามหวงใย มเี มตตา มีความรัก ซ่ือสัตยตอผูอ่ืน รูจักปกปองสิทธิของตน ไม
ละเมิดสิทธิของผูอื่น เปนผูมีความเสียสละไมเห็นแกตัวและหม่ันใฝหาความรู ท้ังหมดที่กลาวมา
เปน คุณสมบตั ขิ องผมู ีจรยิ ธรรม ซ่งึ ความสมบูรณท ้ังหมดอยทู ีค่ วามยุตธิ รรม

จากแนวคิดจริยธรรมตามหลักศาสนาอิสลามที่กลาวมาท้ังหมดขางตน หลักอิสลามใช
ความศรัทธาตอพระเจาเปนตวั ขับเคลือ่ นการประพฤติปฏิบัตไิ ปตามหลกั คาํ สอน ซ่ึงยังมีรายละเอียด
อีกมากมายสําหรับศาสนิกท่ีจะตองศึกษาทําความเขาใจศาสนาของตนเองอยางถองแท เพ่ือนําไปสู
การประพฤติปฏิบัติท่ีถูกตอง แมวาแตละความเช่ือของมนุษยจะมีความแตกตางกันก็ไมควรท่ีจะ
เปนการนําไปสูการหักลางทําลาย แตควรเปนการพูดคุยทําความเขาใจดวยหลักเหตุผลของการอยู
รวมกันอยางสันติ เชนเดียวกับขอโตแยงที่เกิดข้ึนเก่ียวกับบทวิจารณอิสลามในมุมมองของอิสลาม
ที่นาสนใจ ในการรับฟงเหตุผลดวยใจเปดกวางก็จะทําใหเขาใจถึงความเปนมาเปนไปในศาสนา
ของศาสนิกอนื่ ๆ เพม่ิ มากข้นึ

47

2. ขอโตแยงทเี่ กย่ี วกบั บทวจิ ารณอสิ ลาม ในมมุ มองของอิสลาม
อิสลามกับการกอการราย พื้นท่ีท่ีมีชาวมุสลิมสวนใหญจะมีปญหาขัดแยง มีสงคราม
เกิดข้ึนบอยครั้ง เปนเพราะศาสนาสอนใหใชความรุนแรง จากการคลั่งศาสนาของบางกลุม แตหาก
พิจารณาอยางถวนถ่ีแลว เบ้ืองหลังปญหาสวนใหญเกิดขึ้นจากการเมือง ซ่ึงในศาสนาอิสลามไมได
แยกศาสนาออกจากการเมือง หลายประเทศมีกฎหมายศาสนา ปจจัยเสริมท่ีทําใหเกิดการกอการราย
คือ การลาอาณานิคมในรูปแบบตาง ๆ ของตะวันตก การแยงชิงทรัพยากรโดยเฉพาะนํ้ามัน การ
ตองการแบงแยกดินแดนจากการกดข่ี เปน ตน ก็มกั เปน กลุม คนทต่ี องการที่จะใหกฎหมายศาสนาใน
การปกครอง ท้ังมุสลิมท่ีรับผลประโยชนตางตอบแทนเองและคูกรณี โดยอางวา มุสลิมกลุมน้ัน
กลมุ นเี้ ปน ผูกระทําและในสว นของมุสลิมบางกลุมกไ็ ดอ างเหตกุ อความรุนแรงวามาจากคําสอนของ
อสิ ลาม
ดานสิทธิมนุษยชน อิสลามถูกมองวาไมยุติธรรมในเร่ืองสถานภาพของผูหญิง เชน การ
จัดการมรดก การลงโทษผูหญิงที่ผิดประเวณีอยางรุนแรงดวยการเฆ่ียนตี ประหารชีวิต เปนตน แม
อิสลามไมไดใหอํานาจผูหญิงมีการตัดสินใจในเร่ืองตางๆไดเทาผูชายในบางเร่ืองและการแบงแยก
หญิงชายในแตละสถานท่ีอยางเปนสัดเปนสวน แตการลงโทษทัณฑในอิสลามไมไดแยกในเรื่อง
เพศ หมายความวา ผูชายที่ผิดประเวณีก็จะตองถูกเฆี่ยนตีเชนกัน อิสลามสงเสริมใหผูชายทําหนาท่ี
หลักในการหาเลี้ยงครอบครัว ผูหญิงทําหนาท่ีหลักในการเลี้ยงดูบุตรและดูแลบาน ในเร่ือง
การศึกษาอิสลามไมไดหามไมใหผูหญิงศึกษา แตอิสลามกลับสงเสริมใหทุกคนศึกษาหาความรู
ตงั้ แตในเปลจนถึงหลุมฝง ศพในทุกสาขาวิชาท่เี ปนประโยชน โดยเฉพาะความรูดานศาสนาท่ีจําเปน
ทจี่ ะตองศึกษาใหรูและเขา ใจในทุกดาน การลงโทษประหารชีวิตพวกรักรวมเพศและผูที่ทําประเวณี
นอกสมรสสําหรับผูที่ผานการแตงงานมาแลวนั้น อิสลามถือเปนการกระทําท่ีช่ัวชาอยางยิ่ง เพราะ
อสิ ลามเปน ศาสนาท่ใี หมนษุ ยดาํ รงไวซ ง่ึ ความเปน มนุษย อิสลามจงึ มีมาตรการทเ่ี ห็นผลในการหยุด
พฤติกรรมท่ีสรางความเส่อื มเสยี แกมนษุ ยใ นวงกวา ง พฤตกิ รรมที่สรางคานยิ มเลยี นแบบไดงา ย และ
การสําสอ น ทงั้ ทีอ่ ิสลามเปดกวางเรื่องการแตงงานหลายคนอยางมีเง่ือนไขแตตองไมเกิน 4 คน และ
ตองสามารถใหความยุติธรรม ความเทาเทียมกันได ซึ่งหาไดยากยิ่งท่ีจะมีระบอบที่ยกระดับผูหญิง
ใหมีสถานะสูงขึ้นมาไดเปนการแกปญหาการกดขี่ทางเพศ เปนคานิยมที่สอดรับกับขอเท็จจริงทาง
เพศและความเปน จรงิ ในปจจุบนั ทสี่ ัดสว นทางเพศประชากรเปลี่ยนแปลงไป

48

สรุป

บทสรุปน้ีกลาวถึงความแตกตางระหวางกฎหมายกับจริยธรรม ถือวากฎหมายเปน
เคร่ืองมือระดับต่ําในการควบคุมพฤติกรรมของมนุษย เน่ืองจากการกระทําความดีอาจเปนเพราะ
กลวั โดนลงโทษ ซง่ึ แตกตา งจากจริยธรรมท่ีเปน การกระทาํ โดยสมัคร เพราะแยกแยะแลววา สงิ่ ไหน
ดีก็เลือกทําส่ิงนั้น แนวคิดทฤษฎีจริยธรรมในแตละยุคสมัยของโลกเปนไปตามเง่ือนไขของ
ทรัพยากรและความตองการของมนุษย ทําใหมีทั้งแนวคิดตะวันตก แนวคิดตะวันออก แนวคิดทาง
ศาสนา เชน ศาสนาพทุ ธ ศาสนาคริสตและศาสนาอิสลาม โดยทีแ่ นวคดิ จรยิ ธรรมตะวันตกตั้งแตยุค
กรีกโบราณท่ีมีนักปรัชญาท่ีมีช่ือเสียงหลายทานมีแงมุมความคิดเก่ียวกับคุณธรรมไปตามบทบาท
หนาที่ของคน เชน โสเครติสใหความสําคัญกับความรู เพราะถามีความรูก็จะทําในส่ิงที่ถูกตอง
เพลโตใหหลักคุณธรรม 4 ขอ คือ ปญญา ยุติธรรม กลาหาญและรูจักประมาณ สวนอริสโตเติล
กําหนดคุณธรรมที่เพ่ิมในสวนของมิตรภาพ ตอมาแนวคิดทางตะวันตกหลังยุคกรีกสนใจเหตุผล
นิยมกับประโยชนนิยม จริยธรรมตามแนวคิดตะวันออกจะเนนท่ีหลักคําสอนของนักปราชญ เชน
ขงจ้ือ ถือคุณธรรมความสัมพันธของมนุษยใหความเคารพตอผูอาวุโส ทานมหาตม คานธี ยึด
หลกั การแกป ญ หาทไ่ี มใ ชความรนุ แรงทเ่ี รียกวา หลักอหิงสา สวนจริยธรรมตามแนวคิดทางศาสนา
ของศาสนาคริสตและอิสลามใหมีความศรัทธาตอพระเจาองคเดียวเทาน้ัน แลวจึงนําไปปฏิบัติให
เกิดผลจริง สําหรับพุทธศาสนาใหยึดตามหลักคําสอนในพระธรรมซ่ึงแบงเปนระดับตน
ระดับกลางและระดับสูง เชน ฆราวาส ถอื ปฏิบัติระดับตน คอื เบญจศลี เบญจธรรม เปน ตน

กรณีศกึ ษา

นายตนั ภาสกรนที เปด ใจถงึ สถานการณน าํ้ ทว มโรงงาน ท่ีนิคมอตุ สาหกรรมโรจนะ
จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ในรายการเจาะขาวเดน โดยคณุ สรยุทธ สทุ ัศนจนิ ดา

โดยโรงงานผลิตนํ้าชาเขียวอิชิตัน ที่ตั้งอยู เฟส 3 ของนิคมอุตสาหกรรมโรจนะน้ัน กอนท่ี
น้ําจะไหลเขาทวม ทางโรงงานกําลังเรงผลิตน้ําเปลา เพื่อแจกจายใหกับประชาชนท่ีประสบภัยน้ํา
ทวมอยู ซึ่งขณะน้ีน้ําไดไหลทะลักทวมพื้นที่ท้ังหมดของโรงงาน 48,000 ตารางเมตรแลวมีมูลคา
3,500 ลานบาท

ตัน ภาสกรนที เผย โรงงานอิชิตันท่อี ยธุ ยานํา้ ทว มหนัก คนื นนี้ อนโรงงานรอสงพนกั งาน
ทีเ่ หลือ สว นตนจะออกเปนคนสดุ ทาย

นายตนั เปด เผยวา ไดทําแนวกนั้ นํ้าลอ มท้งั โรงงาน แตก ็ตา นแรงนา้ํ ไมอยู ยอมรบั วา นาํ้ มา
แรงมาก แตนา้ํ มากต็ อ งมที างไป เห็นสภาพโรงงานถูกน้าํ ทว มแลวพูดไมอ อกเลย ทาํ ไดแ คให
กําลงั ใจพนกั งาน ทร่ี วมกนั อยเู พ่ือดแู ลโรงงานมาหลายวนั กอนนา้ํ ทว ม ตอนนมี้ ีพนกั งานทีเ่ หลืออีก

49

5 คนสุดทา ย คนื นี้จะนอนดวยกนั ในโรงงาน จะรอสงพนกั งานทเ่ี หลอื ออกไปกอนและตนเองจะ
ออกจากโรงงานเปน คนสดุ ทา ย กัปตนั เรอื ยอมทิง้ เรอื ไมไ ด จะอยูใหถ งึ ทส่ี ุด ตองอยใู หสมกับท่ี
ลงทนุ ไป

"น้าํ ทวมคร้ังน้ี ธรรมชาตเิ อาคืนเรา เปน บทเรียนใหเราคิดวา จะอยูกับธรรมชาตอิ ยา งไร
อยาโทษใคร ใหโทษตัวเอง โทษทุกคน รวมท้ังผมดวย แมโรงงานจะเสยี หายแตเช่ือวามกี ําลังใจ จะ
ทาํ มันใหมไ ด ตราบใดท่ี มีชวี ิต มีกําลังใจ ก็ตองอยไู ด อปุ กรณท ่ีเหลอื กย็ งั พอทํางานถู ๆ ไถ ๆ ไปได
สว นเรื่องทก่ี อนหนา นี้เปนผบู รจิ าคชวยน้าํ ทว มรายใหญ นายตัน บอกวา สิ่งสําคัญคอื กําลงั ใจ ไมใ ช
เงนิ มากเงนิ นอ ย ขอเปนกาํ ลังใหทกุ คน" นายตนั กลาว

ทง้ั นี้ ระหวา งการใหส ัมภาษณน ายตันพดู ดว ยเสยี งสน่ั เครอื และเม่อื จบการสมั ภาษณก ็
กล้นั น้ําตาไวไมอ ยู ตองรอ งไหออกมาในทส่ี ดุ

นาํ้ ทว มประเทศไทยในป 2554 เปนปท ่ีคุณตนั เปนผบู รจิ าครายใหญทส่ี ดุ รวม 100 ลา น
บาทและจัดกิจกรรมตา ง ๆ เพ่ือผปู ระสบภยั อยา งตอเนอ่ื ง วันนตี้ องประสบภัยเอง สญู เสียไมน อ ย
35,000 ลานบาท แตกย็ งั เตือนสตแิ ละใหกาํ ลงั ผอู น่ื ไดอกี

คาํ ถาม 1. ในฐานะของเจาของกิจการหลายพันลา นคณุ ตนั ไดแสดงถึงภาวะผนู าํ ท่ี
สอดคลอ งกบั แนวคดิ ดานจรยิ ธรรมของใครบา ง อยางไร

2. ถา หากทา นตกอยใู นสถานการณเ ชน เดียวกบั คณุ ตนั ทา นคิดวา จะสามารถ
ปฏิบัตติ นไดด เี ทา คณุ ตัน หรอื ดนี อยกวา หรือดมี ากกวา คุณตัน เพราะเหตใุ ด

50

บรรณานกุ รมทา ยบทที่ 2

กฎหมายคุม ครองทรพั ยสินทางปญ ญา. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงทม่ี า:
http://th.wikipedia.org/wiki/.

จริยธรรมตามแนวพุทธศาสนา. [ออน-ไลน] . (2544). แหลงที่มา:
http://weluwan.org/website/index.php/getting-help/moralalife/125-buddhism-moral

จรยิ ศาสตรของขงจื๊อและจริยศาสตรข องมหาตมคานธี. [ออนไลน] . (2554).
แหลงท่ีมา: http://e-book.ram.edu/e-book/p/PY336/py336-11.pdf.

จรยิ ศาสตรของเพลโต. [ออนไลน] . (2554). แหลงทมี่ า: http://e-book.ram.edu/
e-book/p/PY336/py336-5.pdf.

จริยศาสตรตะวนั ตกสมยั โบราณ. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงท่ีมา: http://e-book.ram.edu/
e-book/p/PY336/py336-4.pdf.

บรรจง บินกาซนั และวทิ ยา วเิ ศษรัตน. (2554). หลกั ปฏบิ ตั ิ 5 ประการ. [ออน-ไลน].
แหลงทีม่ า: http://www.islamthailand.com/thai521/introduce/intro-12.php

บัญญตั ิ 10 ประการ. [ออน-ไลน] . (2554). แหลงที่มา: http://www.gotquestions.org/Thai/
Thai-ten-commandments.html

ศาสนาคริสต. [ออน-ไลน]. (2554). แหลง ทมี่ า: http://allknowledges.tripod.com/christ.html
. [ออน-ไลน] . (2554). แหลงที่มา: http://main.dou.us/view_content.php?s_id=182

ศาสนาอสิ ลาม. [ออน-ไลน] . (2554). แหลง ทม่ี า: http://th.wikipedia.org/wiki/.
สรปุ นโยบายลดภาษรี ถคนั แรก. [ออน-ไลน]. (2554). แหลง ท่ีมา: http://www.cars-tune.com
หลักศรัทธาของมสุ ลิม. [ออน-ไลน] . (2554). แหลงทม่ี า:

www.masjidsamin.com/main/content.php?page=sub...11

บทที่ 3
จรยิ ธรรมทางธรุ กจิ

เม่ือกลาวถึงคุณธรรมจริยธรรม คนสวนใหญมักจะนึกถึงการแสดงออกของพฤติกรรมที่
ถูกตองเหมาะสมและมีคุณคา ทําใหเกิดความภูมิใจในตนเองและเปนที่ยอมรับของผูอื่น ดังนั้นใน
การดําเนินธุรกิจซึ่งเปนอาชีพท่ีมีเปาหมายของกําไรและความม่ังค่ังสูงสุด การกระทําตาง ๆ ของ
นักธุรกิจจะมีความเก่ียวพันกับการดําเนินชีวิตของมนุษยทั้งในสังคมยอยและสังคมโลก จึงมีความ
จําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําใหการดําเนินธุรกิจน้ันเปนประโยชนกับทุกฝายที่มีสวนไดสวนเสีย
เพอ่ื ใหเ ปน ท่ยี อมรับ ในธรุ กจิ นน้ั จงึ จะสามารถบรรลุเปาหมายและมีความยั่งยืนในการดําเนินธุรกิจ
ไดอยางยาวนาน

ความจําเปน ท่ธี รุ กิจตอ งมจี รยิ ธรรม

การดําเนินธุรกิจเปนกิจกรรมที่เก่ียวของสัมพันธกับปากทองของผูคนจํานวนมากมาย
เมือ่ นักธุรกจิ คนใดคิดดําเนินการทางธุรกิจใดผลที่เกิดตามมาจะสงผลกระทบตอผูคนทั้งภายในและ
ภายนอกองคกร หากเกิดผลดีทุกคนก็จะไดรับความสุขรวมกัน ในทางตรงกันขามหากเกิดผล
เสียหายทุกคนทุกฝายก็จะไดรับผลเปนวิบากกรรมรวมกันดวยเชนเดียวกัน ดวยเหตุนี้จึงมีความ
จําเปนอยางย่ิงท่ีธุรกิจจะตองมีการดําเนินงานท่ีอยูในกรอบของกฎหมาย กฎระเบียบและขอตกลง
ในการถอื ปฏิบตั ิเพอื่ ใหการดาํ เนินงานทางธุรกิจเปนไปดวยความถูกตอง ยุติธรรม ไมเบียดเบียนกัน
ดังที่เราจะไดเห็นถึงปญหาของการดําเนินธุรกิจ ท่ีไมคํานึงถึงจริยธรรมแลวทําใหเกิดปญหาหลาย
ประการตามมา

การดาํ เนินธุรกิจทท่ี ําใหเกิดปญหาทางจริยธรรม มีสาเหตหุ ลายประการดวยกัน คอื
1. เปาหมายทางธรุ กิจ การดาํ เนนิ ธุรกจิ เพอ่ื เปา หมายหลักสําคัญ คือ กาํ ไรสงู สุด จะทําให
ธุรกิจตาง ๆ มุงแสวงหากําไรใหไดมากที่สุดและทัศนคติเกี่ยวกับกําไรเชนน้ี ธุรกิจก็จะดําเนินงาน
ใหไดตัวเลขท่ีเปนผลกําไรตามเปาหมายที่ต้ังไว เพื่อบงบอกวา การประกอบการของธุรกิจน้ัน
ประสบผลสาํ เรจ็ โดยไมค ํานงึ ถงึ ปจจัยทจี่ ะสงผลกระทบตอสวนอ่ืน หรือไมแ ตอ ยา งใด

52

2. ทศั นคติของนักธรุ กิจ ถานกั ธรุ กจิ ซ่ึงเปน ผบู ริหารสูงสดุ ในองคก ร เปนผูมอี าํ นาจ
ตัดสินใจในการกําหนดทิศทาง วิสัยทัศน เปาหมาย พันธกิจ กลยุทธขององคกร โดยนักธุรกิจนั้น
ขาดทศั นคติท่ีดีทางจรยิ ธรรมยอ มจะคาํ นงึ ถึงแตผ ลตอบแทน ผลประโยชนของธุรกิจเทานั้น โดยไม
คาํ นึงถึงความรับผดิ ชอบทีค่ วรจะตอ งมีกับบคุ คล ชมุ ชน สงั คมและสิ่งแวดลอ มอน่ื ๆ ดวย

3. การลดตนทุนและคาใชจายของธุรกิจ เปนการบริหารจัดการธุรกิจท่ีตองคํานึงถึงเพ่ือ
สนองตอบเปาหมายกําไรสูงสุดของธุรกิจ ผูบริหารจึงใชมาตรการในการลดตนทุนใหต่ําสุดและ
ประหยัดคาใชจายตาง ๆ ของธุรกิจใหมากที่สุด แตอาจทําใหผลิตผลที่ไดมีคุณภาพตํ่า เกิดการเอา
รัดเอาเปรียบผูบริโภค เอารัดเอาเปรียบพนักงาน การทําลายสิ่งแวดลอมและการหลีกเล่ียงการเสีย
ภาษีอยา งถกู ตอง

4. การแขงขันทางธุรกิจ ปจจุบันธุรกิจมีการแขงขันกันอยางเสรี จึงทําใหเกิดธุรกิจใหม
เขาสูตลาดและเกิดการแขงขันกันจํานวนมาก ธุรกิจใดที่มีความสามารถ หรือมีความไดเปรียบท้ัง
ดานเงนิ ทุน ศักยภาพของบคุ ลากร ทรัพยากรในการอํานวยความสะดวก ระบบการบริหารจดั การทด่ี ี
ธุรกจิ นนั้ ยอมไดเ ปรยี บธุรกิจอ่ืน ดงั นัน้ เพื่อความอยูรอดของธุรกิจ หรือการครองตําแหนงทางธุรกิจ
ก็อาจเปนสาเหตุใหเกิดการแขงขันกันอยางไมเปนธรรม เชน การฮั้ว การใหสินบนเจาหนาที่ที่
เก่ียวของ การสรางความสมั พันธกบั นกั การเมอื งทีส่ ามารถเออื้ ประโยชนใหแกตนได หรือใชวิธีการ
ใสรายปายสคี ูแ ขงขันใหเ กดิ ความเส่อื มเสีย เปน ตน

5. การไมคาํ นึงถงึ มาตรฐาน หรือคณุ คาของความถูกตอ งทางสงั คม เปนการมุงทาํ ธรุ กิจ
เพื่อหาผลประโยชนผลกําไรทางวัตถุเทาน้ัน โดยไมคํานึงถึงความถูกตองท้ังในแงของกฎหมาย
จารีต ประเพณี ศีลธรรมและจริยธรรมใด ๆ เชน การลักลอบขนสินคาหนีภาษี ลักลอบคายาเสพติด
ลักลอบคา สตั วป าสงวน ลักลอบคา ขายทางเพศ ลักลอบคาแรงงานเด็กและแรงงานตา งดาว เปน ตน

6. การขาดสํานึกของความรับผิดชอบตอสวนรวมและส่ิงแวดลอม เมื่อนักธุรกิจน้ันมุง
แตกาํ ไรและผลประโยชนเฉพาะธุรกิจ โดยไมค ํานึงถงึ ผลกระทบที่จะเกดิ ความเสียหาย เกิดมลภาวะ
เปนพิษทางเสียง กลิ่นและควันตาง ๆ ตอสวนรวมและส่ิงแวดลอม เชน การลับลอบตัดไมทําธุรกิจ
ไมเถื่อน การปลอยของเสียลงนํ้า ปลอยควันพิษ ทิ้งสารเคมีที่เปนอันตรายโดยไมมีการบําบัด หรือ
ปองกันใหเ กิดความปลอดภยั กอ นนาํ ไปทงิ้

จากสาเหตุที่กลาวขางตนจะเห็นวาการดําเนินธุรกิจ โดยคํานึงถึงแตกําไร หรือ
ผลประโยชนเ ฉพาะตนของธุรกิจ ยอ มกอ ใหเ กิดปญ หาตามมาอยางแนน อน ซงึ่ ปญ หาทเี่ กดิ ขนึ้ ไมไ ด
สงผลกระทบใหเกิดความเสียหายแกฝายใดเพียงฝายเดียวเทาน้ัน แมแตธุรกิจเองท่ีมุงหวังกําไรก็ไม
อาจจะบรรลุเปาหมายได เพราะอาจจะเกิดการตอตานจากบุคคล หนวยงาน หรือชุมชนท่ีไดรับ

53

ผลกระทบจากการดาํ เนนิ ธรุ กิจทขี่ าดจรยิ ธรรมนน้ั ดงั นัน้ การดาํ เนินธุรกิจจึงจําเปนที่จะตองมีความ
รับผิดชอบทางจรยิ ธรรมตอ บุคคล ชมุ ชนและสงั คมสวนรวม

ผลกระทบทางจรยิ ธรรมในการดาํ เนินธรุ กจิ

การดําเนินธุรกิจทุกวันน้ีมีการแขงขันกันสูง จนทําใหมาตรฐานทางจริยธรรมดูจะเสื่อม
ถอยลงไปทุกที โดยนักธุรกิจเหลาน้ันมักอางเหตุผลวา เปนความตองการของตลาด ส่ิงท่ีทําก็เพื่อ
สนองตลาดและโตแยงวาผูบริโภคมีสติปญญาสามารถคิดและตัดสินใจเลือกสินคาที่ตองการ
หรือไมตองการไดดวยตนเอง ขอโตแยงน้ีสะทอนแนวคิดของผูพูดวา ตนเอง หรือธุรกิจไม
จําเปนตองคํานึงถึงจริยธรรมและความรับผิดชอบในฐานะของนักธุรกิจ ผูผลิตสินคา นักการตลาด
นักโฆษณา หรือแมแตส่ือมวลชนและหนวยงานของรัฐบาลท่ีรับผิดชอบดูแลความเรียบรอยทาง
สังคมแตอยางใด ดวยเหตุนี้เราจึงมักเห็นพฤติกรรมที่เรียกวา “วัวหาย ลอมคอก” ในสังคมไทยอยู
บอย ๆ จะดีข้ึนมาหนอย คือ เมื่อทําผิดแลวยอมกลาวคําขอโทษ หรือชดใชเยียวยาคาเสียหาย แต
หากเลวสุด ๆ คือ ไมยอมรับผิด ถาฝายเสียหายตองการความรับผิดชอบก็ไปฟองรองเรียกเอาเอง
เหตุการณเ หลานเ้ี รามักไดร บั รูอยูเปนประจําและมกี ระแสใหฮือฮา เปน ขา วเปนขอถกเถยี งกนั อยเู ปน
พกั ๆ แลวก็จางหายไปเชนนเ้ี สมอ

การดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะมีผลตอผูท่ีเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกองคกร เชน
บุคลากรในระดับขององคกรที่มีบทบาทหนาท่ี ต้ังแตเจาของกิจการ ผูถือหุน ผูบริหารและ
ผปู ฏบิ ตั ิงาน บุคคลและหนว ยงานท่ีเกี่ยวขอ งเชน ลูกคา คูคา เจาหนี้ ลูกหนี้ หนวยงานราชการท่ีตอง
เกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออม ชุมชนท่ีกิจการไปต้ังอยูในพ้ืนที่น้ัน ตลอดจนสังคม ประเทศชาติ
ท่ีไดรับผลกระทบท้ังดานเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นกิจกรรมใดท่ีธุรกิจตัดสินใจกระทําไมวาจะ
เปนการผลิตสินคาท่ีไดมาตรฐาน การตั้งราคาท่ีเหมาะสมกับคุณภาพ การใหบริการที่เสมอภาค
เทาเทียมกัน การตกลงคาขายดวยความซื่อสัตยสุจริต การปฏิบัติตามเง่ือนไขการคาท่ีไดตกลงกับ
ฝายตาง ๆ ที่เก่ียวของและปฏิบัติตามนั้น การใหความรวมมือในการจายภาษีใหกับรัฐบาลอยาง
ถูกตองครบถวน การใชกลยุทธทางการตลาดที่ไมสรางทัศนคติ หรือคานิยมเชิงลบ ไมใชวิธีการ
โฆษณาชวนเช่ือ ไมเปนตนตอของการทําลายสิ่งแวดลอม หรือวัฒนธรรมอันดีงามของชุมชน มี
ความเคารพและตระหนักถึงจารีต ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามของสังคม ไมทําธุรกิจผิด
กฎหมาย บรหิ ารกิจการธุรกิจดวยความเปนธรรม ไมเอารัดเอาเปรียบพนักงานลูกจางและลูกคา ไม
ตกแตงตัวเลขทางบัญชีโดยมีเจตนาทุจริต แขงขันอยางเสรี ไมใชวิธีการใสรายปายสี หรือวิธีการติด
สินบนเพ่อื ประโยชนข องธรุ กิจตน

54

ปจจุบันจะเห็นวาการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจมาถึงจุดของความเส่ือมถอยทางจริยธรรม
ดังนั้นผูท่ีมีสวนไดสวนเสียทั้งภายในและภายนอกองคกรธุรกิจ ต้ังแตระดับบุคคลจนถึงระดับ
องคกรตา งไดรับผลกระทบรวมกัน รวมทัง้ องคกรธรุ กจิ ที่ขาดจริยธรรมน้ันดวย

ผลกระทบตอ ธรุ กจิ ที่ดําเนินงานขาดจริยธรรม
1. ความเหน็ แกตวั ของคนภายในองคกร เมื่อองคก รธุรกจิ ดําเนนิ งานขาดจริยธรรม เชน
ตั้งเปาหมายทางธุรกิจสูงเกิน ไมมีสวัสดิการท่ีเหมาะสมกับพนักงานลูกจาง หลบเล่ียงภาษี มุงแต
ผลงานที่เปนผลประโยชนข องธุรกจิ ฝายเดยี ว ยอมเปนการสรางแรงกดดันหรือวัฒนธรรมการเอารัด
เอาเปรียบเพ่ือสรางผลงานของตนเอง จึงเกิดพฤติกรรมการเห็นแกตัวของคนในองคกรที่ตองมีการ
แกง แยง ชิงดชี งิ เดนกัน เปนตน
2. ความขัดแยง ถา องคกรมบี ุคลากรท่เี หน็ แกต วั โอกาสของความขดั แยง ยอมสงู ตา งฝาย
ตางยึดประโยชนตน ประโยชนของฝาย หรือแผนกของตน ไมเกื้อกูลกัน ทํางานดวยความ
หวาดระแวงกัน แทนท่ีจะประสานงานกันกลายเปนประสานงา สรางเร่ืองราววุนวาย เรื่องเล็ก
กลายเปน เร่ืองใหญ เรอ่ื งใหญก ลายเปนเร่ืองเลวรายที่มาทําลายกัน
3. ความไมไววางใจกัน เมื่อมีพฤติกรรมการทุจริต การไมทําตามเงื่อนไขขอตกลง
ยอมจะทําใหผูที่ติดตอคาขายดวย เชน ลูกคา คูคา เจาหน้ี พนักงาน เกิดความไมไววางใจ ตลอดจน
เกิดหวาดระแวง สงผลตอการขาดความนาเช่ือถือ ไมมั่นใจท่ีจะรวมกิจกรรมทางการคาดวยอีก
ตอ ไป หรือสภาพจิตใจของคนทาํ งาน ไมม คี วามสขุ สงผลตอประสิทธิภาพของงานในทส่ี ุด
4. ประสิทธิภาพของงาน การทํางานทีม่ ีความขัดแยง ไมไววางใจกันและตางฝายตา งเห็น
แกประโยชนตนไมเพียงแตกระทบบุคคลยังกระทบตอประสิทธิภาพประสิทธิผลของการทํางาน
อาจทําใหเกิดความเสียหายอยางที่ไมควรจะเปน เชน ทําใหเพ่ิมตนทุนและคาใชจาย ทําใหสูญเสีย
โอกาสในการแขงขันกบั คูแขงขนั และประสบผลขาดทนุ จากการดําเนนิ งานไดใ นท่ีสุด
5. ไมมีความสุขในการทํางาน องคกรท่ีบริหารงานอยางขาดจริยธรรมทําใหเกิดการ
สรางวฒั นธรรมในองคก รทีเ่ ลวราย ทุกคนอยูแบบเอาตัวรอด ตัวใครตัวมัน เลนพรรคเลนพวก กล่ัน
แกลงผูท่ีไมใชพวกตัวเอง เห็นแกตัว เอารัดเอาเปรียบ ดังนั้นบรรยากาศในที่ทํางานยอมมีแตความ
รอนรุม พนักงานทํางานอยางไรความสุข การทํางานเปนไปแบบเอาตัวรอดไปวัน ๆ ขาดกําลังใจ
เกดิ ความเบือ่ หนา ย ทอ แท ออนลา ทาํ ใหไ มสามารถทุม เททาํ งานอยา งเตม็ กาํ ลังความสามารถได
6. สรางศัตรูทางการคา การแขงขันทางธุรกิจนับเปนเรื่องปกติในระบบการคาเสรี แต
ตองเปนการแขงขันท่ียุติธรรมและมีกฎกติกา ไมใชวิธีการฉอฉล เชน การติดสินบน การฮ้ัว การ

55

ขโมยความคิดผูอื่น หรือการใสรายปายสี ดังน้ันการทําธุรกิจควรเปนการสรางพันธมิตรทางการคา
ไมใ ชการสรา งศัตรมู าห้ําหั่นกัน

7. ถูกตอตานจากชุมชน หากธุรกิจมุงเอาแตผลประโยชนโดยไมคํานึงถึงความเสียหายที่
จะเกิดกับชมุ ชน ไมวาจะเปน การทาํ ลายทรัพยากร สง่ิ แวดลอมของชุมชน การสรางมลภาวะเปนพิษ
ใหเกิดขึ้นกับชุมชน ตลอดจนการทําลายวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน ประชาชนในชุมชนก็อาจ
รวมตัวกนั ประทว งตอตานและขบั ไลธรุ กจิ นั้นไดใ นท่สี ดุ

8. ทาํ ผิดกฎหมาย การดําเนินธุรกิจโดยไมคํานึงถึงจริยธรรม อันควรประพฤติใหถูกตอง
ชอบธรรม โอกาสท่ีจะกลายเปน ธรุ กิจทีท่ ําผิดกฎหมายมีแนวโนมสูง ซ่ึงการทําผิดกฎหมายก็จะตอง
ไดร ับโทษตามกฎหมายไมว าจะเปนคดีอาญา หรอื คดีแพง

9. ลมเลิกกิจการ ธุรกิจท่ีขาดจริยธรรมยอมเส่ือมเสียช่ือเสียง ไมสามารถดํารงธุรกิจให
เจริญกาวหนา หรือดํารงอยูตอไปไดอีก แมจะคิดสรางธุรกิจข้ึนมาใหมในภายหลัง หากเปนที่ทราบ
วามีประวัติที่เส่ือมเสียมากอนก็ยากที่จะไดรับการเช่ือถือและการยอมรับในการติดตอคาขายดวย
หรอื อาจตอ งใชระยะเวลาและความพยายามอยางมากในการกูภาพลักษณและช่ือเสียงใหกลับคืนมา
เพือ่ คืนสูวงการธุรกิจอกี คร้ังซึ่งไมใชเรอื่ งงา ยนกั

ระดับมาตรฐานจรยิ ธรรมทางธรุ กจิ

คําวา ระดับ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2554. ออนไลน) ไดให
ความหมายวา เปนลักษณะของพ้ืนผิวตามแนวนอนระหวางจุด 2 จุดที่มีความสูงเสมอกัน เมื่อ
นํามาใชก ับมาตรฐาน มีความหมายวา ส่ิงที่ถือเอาเปนเกณฑท่ีรับรองกันทั่วไป สําหรับเทียบท้ังดาน
ปริมาณและคุณภาพ ดังนั้นระดับมาตรฐานทางจริยธรรม จึงสรุปไดวา เปนการเทียบเกณฑของ
ความดีงามในการประพฤติปฏิบัติที่ไดรับการยอมรับท่ัวไปวามีคุณธรรม ความดีงาม ความถูกตอง
ความเหมาะสม หรือตามท่ีสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (2554. ออนไลน)ไดให
ความหมายมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมไว คือ ส่ิงท่ีถือเปนหลักสําหรับเทียบทางสภาพคุณงาม
ความดี ทั้งทีอ่ ยูภ ายในจิตใจและทีแ่ สดงออกที่ควรประพฤตใิ นสงั คมนัน้ ไดยอมรบั นบั ถอื กนั มาและ
ประพฤตปิ ฏิบัติรวมกนั ยอมรับวา อะไรควรทํา อะไรไมควรทํา

นักปราชญมีความเช่ือวา ความประพฤติเปนบอเกิดแหงจริยธรรม แตนักปราชญในหลาย
สํานักตางมคี วามคิดเหน็ เกี่ยวกบั ความประพฤติของคนเราแตกตางกันไป โดยไดมีการแบงออกเปน
3 ทรรศนะ (กรี ติ บญุ เจือ. 2551 : 83-85) ดังน้ี

56

1. การกระทาํ ของคนเราเปน ไปอยางเสรไี มไดมีสิ่งใดมาจูงใจ หมายความวา การกระทาํ
ใดที่เกิดจากการเลือกและตัดสินใจดวยตนเอง ไมไดมีผลมาจากแรงจูงใจใด ๆ แตแรงจูงใจอาจ
เกิดข้ึนในภายหลังจึงดูเหมือนวาถูกจูงใจดึงไปใหกระทําเชนน้ัน ดังที่เรามักจะไดยินคํากลาวท่ีวา
“ฉันไดตัดสินใจไวกอนแลว” ฉะน้ันถามีใครมาย้ําตรงกับความคิดความตองการที่ตรงกับใจ มันก็
เหมือนมแี นวรว มเปน แรงสนบั สนุนใหเ กดิ ความม่นั ใจในสง่ิ ท่ไี ดต ดั สนิ ใจยิ่งขึ้นนั้นเอง แนวคิดตาม
ทรรศนะน้เี ปนของ วลิ เลียม เจมสแ ละคานท เรียกวา ลัทธอิ นิยตนิ ิยม (Indeterminism)

2. การกระทาํ ของคนเราถกู กําหนดจากสาเหตตุ ายตวั ไมไ ดมีอสิ ระเสรี หมายความวา
การกระทําใด ๆ ลวนมีสาเหตุ ซ่ึงการกระทําบางอยางสามารถมองเห็นถึงสาเหตุไดชัดเจน แตการ
กระทําบางอยางก็ไมสามารถบอกถึงสาเหตุไดชัดเจน ทรรศนะนี้มีความขัดแยงกับแนวคิดการ
กระทําเสรีโดยสิ้นเชิง กลับมองวาทรรศนะดังกลาวน้ันเหลวไหล ผูท่ีใหทรรศนะตามแนวคิดนี้คือ
ฮอบและสเพโนวเสอ เรยี กทรรศนะนว้ี า ลัทธินิยตินยิ ม (Determinism)

3. การทาํ ของคนเรามีเสรีท่ีจะเลือกตัดสินใจได แตอาจถูกดึง หรือถูกผลักโดยสาเหตุอื่น
ซึ่งทําใหการกระทําของคนเรานั้นไมเปนไปอยางเสรีเต็มท่ี ทรรศนะน้ีมีมุมมองในแนวทางสาย
กลาง ตามหลักคําสอนทางศาสนาท่ีสอนใหคนเราตองมีการฝกฝนในพฤติกรรมของตน เพราะบาง
สิ่งบางอยางแมจะรูวาผิด แตก็มีกิเลสชักจูงใหตัดสินใจผิดพลาดได อิทธิพลตอการตัดสินใจจึง
ขนึ้ อยภู ายในจติ ใจกับสงิ่ แวดลอ มภายนอก เรียกแนวคดิ ตามทรรศนะนีว้ า ลทั ธิมัธยคตนิ ิยม

นอกจากนี้การกระทาํ ความดีความชวั่ ของคนเรา ยงั แบงออกเปน 3 ทรรศนะ โดยกลมุ แรก
ไดแก แมนเนอคีเอิส (Manichaeus), ออเกิสทีน (Augstine), ลูเธอร (Luther), แคลวิน (Calvin),
โทมสั ฮอบ (Thomas Hobbes) โดยมองวา เน้ือแทข องคนเราเห็นแกตัวมาแตกําเนิด จึงมีความโนม
เอียงท่ีจะทําชั่ว การที่คนเราทําความดีเปนเรื่องท่ีฝนธรรมชาติของตน ดังนั้นทุกครั้งที่จะทําความดี
ตองมีการควบคุม ระมัดระวังตนเองเสมอ จึงเปนการฝนธรรมชาติตลอดเวลา และยกคํากลาวอาง
ของคนที่กระทําเชนนี้วา “ใครคิดจะอยูกับที่จะถอยหลังโดยปริยาย” สวนกลุมท่ี 2 ไดแก รุสโซ
(Rousseau) มีความคิดเห็นวาโดยธรรมชาติคนเรามีความโนมเอียงในการทําความดีแตสังคมทําให
จิตใจคนเราต่ําทรามลง สังคมทําใหเกิดความจําเปนตองทําชั่วและเฮอรเบิรท สเพนเสอร(Harbert
Spencer) กลาววา คนเรามวี ิวฒั นาการไปสูสภาพทีด่ ีข้นึ มีจิตใจสงู ขึ้น อยากทําความดมี ากขนึ้ เรอื่ ย ๆ
การกระทําช่ัวเปนเพราะรูเทาไมถึงการณ กลุมท่ี 3 กลุมสุดทายไดแก ศาสดาของแตละศาสนา ซ่ึง
ส่ังสอนใหใชหลักสายกลางในการดําเนินชีวิต ใหทําความดีละความชั่ว แมวาในชีวิตของคนเราจะ
มีความขัดแยงระหวางเปาหมายสูงสุดของชีวิต แตเปนหนาที่ตองปลูกฝงคุณธรรมของตนใหมั่นคง
เพอ่ื ความประพฤติท่ดี ยี ิ่งขึ้น ไมถกู ครอบงําดว ยกเิ ลสในการกระทําส่งิ ไมดงี ามทงั้ หลาย

57

ดังน้ันจะเห็นวาพฤติกรรมเปนตัวกําหนดจริยธรรม ซึ่งสามารถวัดระดับมาตรฐานทาง
จริยธรรมที่เร่ิมจากบุคคล โดยสามารถท่ีจะแบงได 2 ระดับตามท่ี สุภาพร พิศาลบุตร (2549 : 8-9)
ไดกลาววาคนเรามีจริยธรรมในตัวเอง 2 ระดับคือ จริยธรรมในชีวิตประจําวันและจริยธรรมในการ
ทํางาน ดงั น้ี

1. จรยิ ธรรมในชวี ิตประจําวนั แบงได 2 ระดบั คอื จรยิ ธรรมระดับบุคคล โดยทคี่ นแตละ
คนตางมีหลกั ในการยดึ ถอื ประจาํ ใจและเปนแนวทางปฏิบตั ขิ องตน สวนจรยิ ธรรมระดับสังคม เปน
จริยธรรมของกลุมคนสวนรวม ทําใหบุคคลแตละคนมีจริยธรรมรวมกัน หรือไปในทิศทางท่ีคลอย
ตามกัน

2. จรยิ ธรรมในการทํางาน เปน การประพฤตปิ ฏบิ ัติของบุคคลทมี่ ุงกระทําเพอื่ ทีจ่ ะเปน
ผปู ระสบกับความสําเร็จในหนา ท่ีการงานของตนเอง

โดยแบงระดับจริยธรรมการทาํ งาน 3 ระดับ ดังน้ี
2.1 การทาํ งานทไ่ี มมีจริยธรรม แมร ูวา สิ่งทท่ี าํ นัน้ ไมถ ูกตอง แตเ พ่ือบรรลเุ ปาหมายก็
จะทําในส่ิงน้ัน พฤติกรรมเชนนี้กลาวไดวา เปนลักษณะของคนไมดี หรือคนเลว ถาทําเลวมาก ๆ ก็
เรยี กไดวา เปนคนชว่ั
2.2 การทํางานทมี่ จี รยิ ธรรม เปนการทํางานท่คี ํานงึ ถึงความถูกตอง ความเหมาะสม
หากการกระทําใดท่ีผิด หรือฝนมโนธรรม ก็จะละเวนเสีย แมวาจะทําใหไดรับผลกําไรนอยกวา
เปา หมายทต่ี ง้ั เอาไว พฤติกรรมนเี้ รยี กไดว า เปนพฤติกรรมของคนดี
2.3 การทาํ งานท่ไี มสนใจจรยิ ธรรม เปนการทาํ งานทไี่ มไ ดคาํ นงึ ในเรอื่ งความถูกตอ ง
เหมาะสมหรอื ไม แตถาส่ิงทีท่ ําน้ันสามารถสนองความปรารถนาก็ดําเนินการไปตามนํ้า หากมีความ
ผิดพลาด หรอื ความไมถ กู ตอง ก็กลาวอา งไดวา รูเ ทาไมถ งึ การณ เปนพฤติกรรมที่ไมสนใจ ไมเรียนรู
และไมมีความสามารถในการแยกแยะสิ่งถูกผิด พฤติกรรมเชนนี้เรียกไดวา เปนพฤติกรรมของคน
โงเ ขลา
ฉะนนั้ จะเหน็ ไดว า การตัดสินใจในเรือ่ งของจริยธรรมของแตละบุคคลจะมีความแตกตาง
ตามความรู ความเช่ือ คานิยมและประสบการณ ทําใหเกิดมาตรฐานทางจริยธรรมท่ีแตกตางกันไป
ซ่งึ สามารถพิจารณาถึงมาตรฐานทางจรยิ ธรรมไดดังนี้
1. บางคนใชหนาท่ีเปนมาตรฐานจริยธรรม เชน ทําหนาที่ของตนดวยความรับผิดชอบ
ตั้งใจ ไมละทิ้งหนาที่ ไมกาวกายหนาที่ของผูอื่น ไมเบียดเบียน เอารัดเอาเปรียบผูอื่น แมวาจะไมได
รับผลตอบแทนท่ีพิเศษกวาปกติ เชน การไดรับพิจารณาความดีความชอบเปนพิเศษ ไดโบนัส หรือ

58

เล่ือนตําแหนงท่ีสูงข้ึน ดังน้ันผูที่ใชหนาท่ีเปนมาตรฐานทางจริยธรรมคํานึงถึงเจตนาของการ
กระทาํ ที่ดี หรอื ไมดี โดยไมไ ดคาํ นึงถงึ ผลของการกระทาํ

2. บางคนใชค วามสขุ เปนมาตรฐานจริยธรรม เชน ถาการกระทาํ น้นั ไดร บั ผลตอบแทน
ไมว า จะเปนผลประโยชน คาตอบแทน ตําแหนงหนาที่การงานท่ีสูงขึ้น สิทธิพิเศษ รางวัล คําชมเชย
บุคคล หรอื กลุมคนท่ไี ดรับกจ็ ะถือเปนความดี แตหากการกระทาํ กอใหเกิดการสญู เสียผลประโยชน
ตอตนเอง ตอพรรคพวกและคนอนื่ ๆ ถอื วา เปน ความไมดี ดงั นน้ั จะเห็นวา การตดั สินมาตรฐานทาง
จรยิ ธรรมระหวา งหนาท่ีกบั ความสขุ จะเปน ส่ิงตรงขามกัน

3. บางคนใชค วามเช่ือทวี่ าความอยรู อดเปนมาตรฐานจรยิ ธรรม เชน การคํานึงถึงความอยู
รอด ทั้งตนเองและสังคมสวนรวมใหรอดพนจากเภทภัยตาง ๆ ดังน้ันแนวคิดของกลุมคนที่ตัดสิน
มาตรฐานจริยธรรมดวยความอยูรอด จะคนหาแนวทางการปฏิบัติท่ีเปนทางรอด รูจักปรับตัวและ
ดูแลรักษาตนเอง เพ่ือนรวมงาน ตลอดจนองคกรใหรอดพนจากวิกฤตไดซ่ึงจะถือวาเปนความดี แต
ถาไมสามารถชว ยเหลือใหรอดไดก็ถือวาเปน การกระทําทไ่ี มด ี

4. บางคนใชการพัฒนาตนเองเปนมาตรฐานจริยธรรม เชน การเปลี่ยนแปลงการกระทํา
ในชีวิตของบุคคล หรือกลุมคน อยางมีทิศทางไปในแนวทางที่เจริญข้ึนตามที่ตนปรารถนา โดยทํา
ชีวิตความเปนอยูใหมีความอยูดีกินดี ความสะดวกสบาย ความเจริญทางศิลปวัฒนธรรม จิตใจและ
ความสงบสนั ติ

การพฒั นาจริยธรรมทางธรุ กิจ

การประกอบธุรกิจขององคกรใด ๆ ยอมมีความเกี่ยวของกับบุคคลภายในและภายนอก
องคกร หากเปนธุรกิจขนาดใหญยอมมีผลกระทบในวงกวางทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
เพ่ือใหเกิดผลในทางท่ีดีจึงตองเปนการกระทําดวยความมีจริยธรรม คุณธรรม ความดีงามในการ
ประกอบธุรกิจน้ัน ๆ ดังนั้นจึงตองมีการเสริมสรางและพัฒนาจริยธรรมใหเกิดข้ึนในธุรกิจ เพ่ือให
บุคคลทกุ ฝายไดรบั การพัฒนาทางดานจริยธรรม สามารถท่ีจะแยกแยะความถูก-ผิด ความดี-ชั่วและ
ความควร-ไมควร ฉะน้ันการพฒั นาดานจรยิ ธรรมมีความสัมพันธกับลักษณะของจริยธรรม ซ่ึงแบง
ออกได 4 ดา น (Numthon Kotvong. 2554. ออนไลน) คอื

1. ความรูเ ชงิ จรยิ ธรรม คอื ความรูค วามเขา ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะไดว า อะไรดี อะไรชั่ว
แตสรปุ ไมไดวา เม่ือรูแ ลว จะเลอื กตดั สนิ ใจทําแตค วามดี เพราะอาจจะทาํ ชว่ั ก็ได

59

2. ทศั นคติเชิงจรยิ ธรรม คือ ความรสู กึ นึกคดิ ความเชื่อจากการเรยี นรูและประสบการณ
ของบุคคลที่มีตอสิ่งถูกส่ิงผิดในสังคมวา ชอบหรือไมชอบ โดยทัศนคติมีผลตอการจูงใจใหคน
กระทําตามทัศนคตคิ อ นขา งมาก

3. เหตุผลเชงิ จรยิ ธรรม คอื การใชเหตุผลของบคุ คลในการเลอื กทจี่ ะทํา หรอื ไมทําสิง่ ใด
สงิ่ หนึ่ง เชน หมอยอมโกหกคนไขท ีเ่ ปน มะเร็งระยะสดุ ทา ย วา อีกไมก ีส่ ปั ดาหก ห็ ายกลับบา นได

4. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม คอื การแสดงออกทางพฤติกรรมของคนตามทีส่ ังคมนยิ มหรอื
ชื่นชอบ หรือการงดเวน พฤตกิ รรมทฝ่ี าฝนกฎเกณฑของสังคม

นักวิชาการท้ังหลายเช่ือวา จริยธรรมเกิดไดจากการศึกษา อบรม ขัดเกลาและมีการสั่งสม
มาต้ังแตในวัยเด็กไปจนเปนผูใหญตลอดชีวิต ดังทฤษฎีของโคลเบิรกและเปยเจท กลาวถึงการ
พัฒนาทางดานจริยธรรม(Kohlberg’s stages of moral development) พอสรุปได (Crain. 1985.
online) ดังน้ี

เปยเจทและโคลเบิรก เชื่อวา พัฒนาการทางจริยธรรมของคนเรามีรากฐานมาจากพัฒนา
การทางสติปญญาและอารมณ ดังนั้นจริยธรรมของเด็กจะเจริญตามวัยที่มีพัฒนาการทางสติปญญา
ทเ่ี จรญิ ข้นึ

Jean Piaget Lawrence Kohlberg

ภาพท่ี 6 เปย เจทและโคลเบริ ก
ท่มี า: http://www.google.co.th

โคลเบริ ก ทําการวิเคราะหเ หตุผลเชงิ จริยธรรม โดยทําการวเิ คราะหคําตอบของเยาวชน
อเมรกิ นั อายุ 10-16 ปและแบงประเภทเหตุผลเชงิ จริยธรรมไว 3 ระดบั 6 ข้นั ไดแ ก

ระดับท่ี 1 ข้ันกอนกฎเกณฑ หรือกอนมีจริยธรรม (Pre-conventional Morality) เปนการ
เลอื กทาํ สง่ิ ท่เี ปน ประโยชนต อตนเอง โดยไมค ํานงึ ถึงผลท่ีจะเกดิ แกผูอ่ืน แบงไดเปน 2 ระยะคอื

60

1.1 ขนั้ การลงโทษและเชอื่ ฟง ในชว งอายุ 2-6 ป เปนจดุ เรม่ิ ตน ของการเรียนรดู าน
ศลี ธรรมถา ทําผดิ จะถูกลงโทษ ทําความดีจะไดรับรางวัล เด็กจึงเรียนรูจากส่ิงเหลาน้ีวาทําอยางไรจึง
จะสามารถหลีกเลยี่ งการโดนลงโทษ (How can I avoid punishment?) โดยยงั ไมเขาใจเหตผุ ล

1.2 ขั้นคํานึงถึงความตองการและการแลกเปล่ียน ในชวงอายุ 6-16 ป เริ่มรูจักคิด มี
เหตุผลและกระทําสิ่งท่ีตองการ หรือเปนการแลกเปลี่ยนตามท่ีตนคาดหวังไว เชน การถามหาถึง
ความตองการของตนเอง (What's in it for me?) และอาจมีการตกลงแลกเปล่ียนเพื่อใหไดสิ่งที่
ตอ งการ (Paying for a benefit)

ระดบั ที่ 2 ขั้นตามกฎเกณฑ หรอื จรยิ ธรรมตามกฎเกณฑส ังคม (Conventional Morality)
เปน การทาํ ตามกฎหมาย ศาสนาหรือกฎเกณฑข องกลมุ ยอ ยของตน แบง ไดเปน 2 ข้ันตอนยอ ยคือ

2.1 ขนั้ คํานึงถึงความคาดหวงั ซึ่งกันและกนั กบั บุคคลอนื่ และการปฏบิ ตั ิตามสังคม
อยูในชวงอายุ 16-24 ป เปนชวงวัยรุนถึงวัยทํางาน บุคคลวัยน้ีจะคิดถึงคนอื่น สิ่งที่ดีตองเปนธรรม
กับคนอื่นดวย การทําสิ่งถูก หรือผิด จึงไมใชเร่ืองของตนเองเทานั้น แตเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับผูอื่น
และสังคมดวย กลาวไดวา เปนทัศนคติที่ดีของคนในวัยน้ี ท่ีมีการคํานึงบรรทัดฐานทางสังคมดวย
(The good attitude and social norms) แตอยางไรก็ตามบุคคลในวัยนี้ก็อาจถูกชักจูง หรือคลอยตาม
เพือ่ นไดง าย

2.2 ขั้นการคํานึงถงึ ระบบสงั คมและรกั ษาไวซึ่งความถูกตองของสังคมใหสังคมดํารง
อยูได ชว งอายุ 24-30 ป เปน ขั้นของการยอมรับกฎเกณฑข องสงั คมเพราะมคี วามรูในบทบาทหนาท่ี
ของตนเองในฐานะเปนหนวยหน่ึงของสังคม จึงถือวาตนเองมีหนาที่ตามกฎเกณฑท่ีสังคมกําหนด
หรือคาดหวัง เชน การปฏิบัติตนอยูในกรอบท่ีถูกตองของกฎหมายบานเมืองและระเบียบทางสังคม
ที่อยูรวมกันใหเกิดความสงบเรียบรอย (Law and order morality) ในฐานะของพลเมืองและสมาชิก
ที่ดขี องสงั คมน้นั

ระดับท่ี 3 ข้ันเหนือกฎเกณฑ หรือจริยธรรมเหนือกฎเกณฑสังคม (Post-conventional
Morality) จะมีการคิดตรึกตรอง มีการชั่งใจดวยตนเองวาสิ่งใดดีกวา หรือสําคัญกวา แลวจึง
ตัดสนิ ใจไปตามนน้ั แบงได 2 ขั้นตอน

3.1 ข้ันการคํานึงถึงสิทธิข้ันพื้นฐานและสัญญาประชาคม ชวงอายุ 30-40 ป เปนวัย
กลางคนจะใหความสําคัญกับคนหมูมาก ไมทําตนใหขัดกับสิทธิอันพึงมีพึงไดของผูอ่ืน สามารถ
ควบคมุ จิตใจตนเองได

61

3.2 ขนั้ คาํ นงึ ถึงจรยิ ธรรมสากล อายุ 40 ปข นึ้ ไป เปน ผใู หญเตม็ ตัวหรอื เรมิ่ เขาสูวยั
ชราบุคคลรับรูเกี่ยวกับความดีและจริยธรรมเปนสิ่งสากล คนทุกคนมีสิทธิท่ีจะไดรับการปฏิบัติท่ีดี
เชน การใหเ กยี รติ การชว ยเหลือเกื้อกลู กันและจริยธรรมไมใชเ รือ่ งของสังคมใดสงั คมหน่งึ เทานน้ั

ดังนั้นจะเห็นวาการพัฒนาจริยธรรมของโคลเบิรกในระดับท่ี 3 น้ันอยูเหนือกฎเกณฑ แต
เปน สามัญสาํ นกึ (Principled conscience) ของบคุ คลท่ีผานรอนผานหนาวมาถึงในชวงบ้ันปลายของ
ชีวิตและมองถงึ สงั คมสว นรวม

สําหรับเปยเจท ไดแบงระดับอายุที่มีตอการพัฒนาดานจริยธรรมคลายกับโคลเบิรก ออก
เปน 4 ข้ัน โดยสรปุ ดังน้ี

1. ข้นั กอนจรยิ ธรรม อายุแรกเกิดถึง 2 ขวบ ยังไมเ กดิ ความรสู ึกผิดชอบช่วั ดี
2. ขนั้ เช่ือฟงคาํ สง่ั อายุ 3-8 ป จะเชือ่ ฟงผใู หญท่มี ีอํานาจทางกายภาพเหนอื กวา เชน พอ
แม ครู โดยไมค ํานงึ ถงึ เหตุผล
3. ขน้ั ยดึ ตนเองเปนหลกั อายุ 8-15 ป มคี วามคิดเปนของตนเอง รจู กั คดิ วาอะไรดี
หรอื ไมดี
4. ขน้ั ยดึ เหตผุ ล อายุ 15 ปข นึ้ ไป มีสตปิ ญ ญาในการวเิ คราะหแ ยกแยะดวยเหตุผลวา
อะไรดีไมด ี
เมื่อพิจารณาถึงแนวคิดของเปยเจทและโคลเบิรก จะพบวาการพัฒนาทางสติปญญาเพื่อ
สงเสริมดานจริยธรรมแกบุคคลสามารถที่จะเรียนรูและฝกฝนไดไปตามลําดับของอายุ โดยตองใช
เวลาของการพัฒนาและการสะสมความรู ความเขาใจ ความเปนเหตุเปนผลในการแยกแยะจําแนก
ความมจี รยิ ธรรม ซึง่ เปน ไปตลอดชั่วชวี ติ ของคน ๆ น้นั
นักวิชาการตางเช่ือวา การพัฒนาดานจริยธรรมบุคคลสามารถพัฒนาได ดวยการขัดเกลา
ของสถาบันพ้ืนฐานเชน ครอบครัว สถาบันการศึกษาและสังคม แตปจจุบันเราพบความเสื่อมถอย
ของจริยธรรมเพิ่มมากขึ้นทั้งระดับบุคคล องคกรและสังคม ดังจะเห็นจากปญหาที่สงผลเสียหายท่ี
กวางขวางและรนุ แรง เชน ปญ หายาเสพตดิ อาชญากรรม การลมละลายขององคกรธุรกิจขนาดใหญ
ความแตกแยกทางความคิด การตอตานและการตอสูทางการเมืองทั้งในประเทศและตางประเทศ
เหตุการณท่ีเปนปญหาดังกลาวมีรูปแบบท่ีซับซอนมากข้ึน ฉะน้ันในแงของการพัฒนาจริยธรรมที่
พูดถึงตอไป มีดวยกันหลากหลายวิธีแมวาแตละวิธีอาจตองใชความอดทนที่จะเห็นผลเกิดข้ึนใน
ระยะยาวก็ตาม
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมท่ีนาสนใจท่ีจะนําไปสูความสําเร็จดวยความเขาใจถึงแกน
แทข องสาเหตแุ หง ปญ หา โดยพระพรหมคณุ าภรณ (ป.อ.ปยตุ โต) (2551 : 1-102). ไดเ ทศนอบรมไว

62

ในหัวขอจะพัฒนาบุคคลใหมีคุณธรรมและจริยธรรมไดอยางไร ซึ่งมีประเด็นท่ีนาคิดและนาสนใจ
อยา งย่ิง ดงั จะไดป ระมวลสรปุ ดังตอ ไปน้ี

ภาพท่ี 7 พระพรหมคณุ าภรณ (ป.อ.ปยตุ โต)
ทีม่ า : http://www.google.co.th
การแกปญหาดา นจรยิ ธรรม หรือการสงเสริมใหมีจริยธรรมจะเกิดข้ึนไดต องมคี วามเขาใจ
ในสาเหตุของปญหาใหล กึ และแกไขใหครบวงจร คือ ตอ งเรียนรูแ ละเขาใจถึงสิ่งท่ีไมดี ใหรูวาอะไร
เปนสิ่งท่ีไมดี ท่เี ปน ตวั กําหนดบทบาท เปนแรงจูงใจใหค นเรากระทาํ หรอื แสดงออกไป เพราะอะไร
ทําไมถึงทําอยางนั้น ยกตัวอยางเชน ทําไมคนไทยจึงทํางานเปนทีมไมได ทานอธิบายวา ปญหาการ
ทาํ งานเปน ทมี ไมไดของคนไทยมีความสมั พนั ธก บั ลักษณะนิสยั ของคนไทย จากคําสอนในอดีตทวี่ า
“ใหมีมานะอดทนรํ่าเรียนใหสูง ตอไปจะไดเปนเจาคนนายคน” ซึ่งสะทอนถึงลักษณะนิสัยของคน
ไทยเปน ผมู ี “มานะ” แปลวา ความถือตัว ถือตน ดังนั้นตัวท่ีจูงใจและบงการบทบาทใหคนเกิดความ
อดทนพากเพียร คือ ตัวมานะเพื่อท่ีจะไดเปนเจาคนนายคน ในทางพุทธศาสนาถือวา มานะ เปนตัว
กิเลสใหญ มอี ยูด วยกนั 3 ตัว คือ ตัณหา มานะ ทิฐิ ซึ่งเปนตัวกิเลสที่กําหนดบทบาทของคน โดยให
ความหมายของคําทั้ง 3 คําตอ ไปน้ี
1. ตัณหา คอื ความอยาก ความเหน็ แกต วั ความอยากจะได อยากจะเอาเพ่อื ตัวเอง
2. มานะ คอื ความตอ งการใหต ัวเดน อยากยงิ่ ใหญ ความสําคัญตน หรือถือตนสําคัญ
3. ทิฐิ คอื ความถอื รั้นในความเหน็ ของตน ยดึ ตดิ ในความเห็น เอาความเห็นเปน จริง
ในสังคมไทยไดนําเอากิเลสฝายอกุศล หรือฝายชั่วน้ี มาใชใหเปนประโยชน ท้ังน้ีจะตอง
ใชใหเ ปน ใชใหถูกตอ งจึงจะมีประโยชน แตต อ งระมดั ระวังผลขางเคียง เชน ถามีมานะในการรักษา
ระเบียบวินัยของคนในสังคม ทําใหสังคมเจริญรุงเรืองแลวเกิดความลําพอง ยกตนขมทาน เพราะ
สําคัญตนวา ดีกวา เหนือกวา ยิ่งใหญกวาคนอ่ืน แมเปนความสําเร็จแตไมไดเกิดจากเหตุผลท่ีเห็น

63

ดวยปญญา แตเปนไปดวยแรงกิเลส จึงกลาวไดวา ส่ิงท่ีทํานั้นดี แตคนทํากลับไดช่ือวา เปนคนช่ัว
ดังนั้นเมื่อเขาใจถึงสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นแลว ก็มาสรางเสริมจริยธรรมดวยการบูรณาการ
วิธีการแกปญหาใหมีความสัมพันธกับปญหาอยางถูกตอง คือ จับใหถูกจุด หมายความวา จับ
จริยธรรมตัวแกนหรือตัวนําของเร่ืองน้ัน ๆ แลวสงเสริมจริยธรรมน้ันอันเดียวจะสามารถโยงไป
แกป ญ หาไดหลายอยา ง เชน ถา จะทาํ งานตองฝกตนเองใหมีนิสัยรักงาน เม่ือจะทํางานใดก็จะรักงาน
ทที่ าํ แลวสง่ิ ท่ตี ามมา คือ ความขยนั หมัน่ เพยี ร ความมีระเบียบวนิ ยั ความอดทน ความตรงตอเวลา มี
สมาธิอยกู ับการงาน ทําใหทาํ งานอยา งมคี วามสขุ

เม่ือจะพัฒนาจริยธรรมจะตองมีการฝกฝนและปฏิบัติดานจริยธรรมอยางครบวงจร หรือ
เรียกวา ทําอยางบูรณาการ เชน ตัวอยางการแสดงออกโดยเสรีในสังคมไทย ท่ีมักกลาวอางถึงความ
เปน ประชาธปิ ไตย จนเกิดการละเมดิ ทาํ ใหเกดิ ความเดือดรอนและเขาขายดูหมิ่นผูอ่ืนใหไดรับความ
เสียหายทั้งช่ือเสียงและทรัพยสิน ตามท่ีเปนขาวทางสื่อมวลชนตาง ๆ ไดมีการนําเสนอ พฤติกรรม
ดังกลาวถือไดวาเปนการแสดงออกโดยเสรีอยางขาดจริยธรรม เพราะไมมีความรับผิดชอบตอการ
กระทาํ ของตนเองทท่ี าํ ใหผ อู น่ื ไดร บั ความเดือดรอน หรอื ไดรบั ความเสยี หาย

การพัฒนาจริยธรรมในเร่ืองน้ีตองใหการเรียนรูท่ีถูกตองถึงเสรีภาพในการแสดงออก คือ
ตองรูจุดมุงหมายของการแสดงออกเปนไปเพ่ือท่ีตองการแสวงหาความจริง ความถูกตอง อยางมี
เหตุมีผล จึงตองรูจักรับฟงความคิดเห็นของคนอ่ืนดวย เปนการแลกเปล่ียนความรู ความคิดเห็นให
ไปสูความรูจริง ไดสิ่งท่ีถูกตองและบรรลุเปาหมายรวมกัน ดังน้ันถาคนในสังคมมีการแสดงออก
อยางเสรีที่ถูกตอง ก็จะเปนสังคมท่ีมีระเบียบวินัย คนในสังคมจึงจะตองมีการฝกฝนตนใหมี
ระเบยี บวินยั อยูในกฎเกณฑกติกา ซึ่งจะเปนเคร่ืองควบคุมกํากับใหรูจักการยับย้ังชางใจในขอบเขต
ของการแสดงออกที่พอดี นอกจากน้ีสังคมท่ีมีการแสดงออกอยางเสรีทุกคนจะตองมีความ
รับผิดชอบตอการกระทําของตนเองใหมากดวย มิฉะนั้นก็จะถูกฟองรองดําเนินคดีตามกฎหมาย
บา นเมอื ง เม่อื มีการกระทําท่ีละเมิดตอ ผูอ่นื หรอื ละเมดิ ตอ สังคม

องคกรธุรกิจที่ประกอบดวยเจาของกิจการ ผูถือหุน ประธานบริษัท คณะกรรมการบริษัท
ผูเปนหุนสวน ผูบริหาร ตลอดจนผูปฏิบัติงานภายในองคกรธุรกิจทุกระดับ ไดมีความสัมพันธทั้ง
เรื่องงานและเรื่องสวนตัว ท่ีมีความเปนมิตร มีความปรารถนาดีตอกัน ดังนั้นองคกรธุรกิจจึงตองมี
การเสริมสรางและพัฒนาทางดานจริยธรรมองคกร เพื่อประโยชนสุขของทุกคนที่อยูรวมกัน การ
พัฒนาจริยธรรมสามารถนําหลักการและแนวคิดทฤษฎีดังไดกลาวแลวขางตนมาพัฒนาใหเปนขอ
ประพฤติปฏบิ ตั ิของบคุ ลากรในองคกร ดังน้ี

64

1. มีการจดั ทําขอประพฤตปิ ฏบิ ตั ิทางจรยิ ธรรมของบุคลากรที่ดาํ รงตําแหนงในแตล ะ
ระดับใหมคี วามเหมาะสม

2. กําหนดเปน นโยบายและระเบยี บขอบังคับในการประพฤตปิ ฏิบัติของบคุ ลากรทุกคน
3. จัดตงั้ คณะกรรมการในการกํากับดแู ล สง เสรมิ และควบคมุ การประพฤติปฏิบัติของ
บุคลากรทุกคนใหสอดคลอ งกับขอกําหนดทางจรยิ ธรรมขององคก ร
4. จัดกิจกรรมท่สี งเสรมิ และพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมแกบุคลากรภายในองคกรอยา ง
สม่ําเสมอและตอเน่ืองทุกป เชน จัดอบรม สัมมนาใหความรู แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน โดยใช
หลกั ศาสนาเปน พืน้ ฐานและนาํ ทาง
5. มีการตรวจสอบความเหมาะสมของขอ ประพฤตปิ ฏิบัติเปน ระยะ ๆ ใหท ันสมัย ทนั ตอ
สถานการณแ ละความเปลย่ี นแปลงที่เกดิ ขน้ึ โดยคํานึงถงึ ความถกู ตองดงี าม
6. สรา งบรรยากาศความมจี รยิ ธรรมภายในองคก ร โดยผูบ ริหารเปน แกนนาํ หลกั ให
ความสําคญั อยางจริงจังและดํารงตนเปน แบบอยา งท่ีดีแกบ คุ ลากร
7. เช่ือมความสมั พนั ธกับองคก รภายนอก โดยรวมมอื กนั กําหนดและสรา งบรรยากาศ
การบริหารงานธุรกิจดวยคุณธรรมจริยธรรม เชน จัดประกวดองคกรธุรกิจที่มีคุณธรรมจริยธรรม
เพื่อกระตุนและจูงใจใหนักธุรกิจ ผูบริหารองคกรธุรกิจไดตระหนักถึงการดําเนินธุรกิจอยางมี
คุณธรรมจริยธรรม
8. ฟนคานิยมดั้งเดิมของคนไทย “เคารพและยกยองคนดี” ลางคานิยมปจจุบัน “ยกยอง
คนรวย คนมอี าํ นาจ”

การตรวจสอบจริยธรรมในองคก รธรุ กจิ

เมื่อมีความพยายามที่จะสรางจริยธรรมใหมีขึ้นในองคกร และใหมีความตอเนื่อง
สมํ่าเสมอ จึงควรมีระบบของการตรวจสอบจริยธรรมในองคกรดวย เพื่อเปนการสรางแรงกระตุน
ใหเกิดความตื่นตัวและเห็นถึงคุณคาความสําคัญของคุณธรรมจริยธรรมอยางย่ิงยวด ซึ่งจะไดเสนอ
แนวคิดการตรวจสอบจริยธรรมในองคก ร ดงั น้ี

1. สรางมาตรฐานและเครื่องมอื วดั จรยิ ธรรม
2. ดาํ เนนิ การประเมินมาตรฐานจรยิ ธรรม
3. จัดทําคูม อื การวดั ตัวชีว้ ดั และเกณฑก ารใหค ะแนน
4. แตงตัง้ คณะทาํ งานการตรวจสอบจริยธรรมในองคก ร
5. ดําเนนิ การตรวจสอบจรยิ ธรรมภายในองคกรเปนระยะ เชน ปละ 2 ครัง้

65

6. ประกาศผลการประเมินจริยธรรมของพนักงานแตล ะฝา ยในองคก ร
7. ประกาศเกียรติคุณ หรือมอบรางวลั แกฝายและบุคคล ตัง้ แตร ะดับผบู รหิ ารถงึ ระดับ
ปฏบิ ัติการ ทไ่ี ดรบั การประเมินจรยิ ธรรมผานในแตละระดับ
8. จดั อบรมสัมมนาแลกเปลย่ี นเรยี นรดู านจรยิ ธรรมรว มกันระหวา งฝา ยตา ง ๆ ภายใน
องคกร
9. มกี ารปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงเกณฑและคะแนนการชว้ี ดั ดา นจรยิ ธรรมใหส อดคลอ งกบั
ความเปน จริง ตามสถานการณแ ละเหตกุ ารณแ วดลอ มมคี วามทนั สมัย
10. มาตรฐานและเกณฑช ้วี ัด เพื่อการตรวจสอบจริยธรรมในองคกร ควรเปน เกณฑท่ี
สนบั สนนุ สงเสรมิ ไมใชกดดันหรอื บบี คั้นคนในองคกร
11. การกระทําผิดจริยธรรมที่รายแรง เชน การลวงละเมิดทางเพศ การทุจริตและอ่ืน ๆ ที่
สงผลตอความเสียหายที่รุนแรงตอองคกรท้ังดานภาพลักษณ ทรัพยสินและความสัมพันธระหวาง
คนในองคกร ควรมีบทลงโทษเชน เดยี วกับกฎหมาย

บทบาทของภาครัฐในการเสริมสรางจริยธรรม

ความเกยี่ วของสมั พันธร ะหวา งภาครัฐกบั ภาคธุรกิจเอกชน เปน สิง่ ทค่ี กู นั และเชื่อมโยงถงึ
พฤตกิ รรมระหวา งกันอีกดวย หากภาครัฐมีการดําเนินงานท่ีอยูภายใตกรอบกติกาของกฎเกณฑและ
ความมีจริยธรรมก็เหมือนกับผูใหญท่ีแสดงตนเปนแบบอยางท่ีดีกับเด็ก ซึ่งทําใหเด็กสามารถท่ีจะมี
แบบอยางและเอาเย่ียงอยางท่ีดีน้ัน แตหากผูใหญที่เปนฝายภาครัฐกระทําการฉอฉล ทุจริตคอรัปชั่น
เรียกรองสินบน เงินใตโตะ ยอมจะกระทบตอพฤติกรรมท่ีธุรกิจจะขาดความเชื่อมั่นในภาครัฐและ
กอใหเกิดพฤติกรรมท่ีกระทําผิดจริยธรรมเลียนแบบกันไป จากการนําเสนอของสํานักขาวแหงชาติ
วา สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ไดเปดเผยขอมูลการจัดอันดับจากองคกรความโปรงใส
นานาชาติ ประเทศไทยอยูอันดับที่ 78 จาก 100 ประเทศทั่วโลกไดคะแนนเพียง 3.5 คะแนน สงผล
กระทบตอความม่ันใจของนักลงทุนในประเทศไทย โดยในตลาดหลักทรัพยและรัฐวิสาหกิจที่มี
ความเชื่อมโยงธุรกิจระหวางภาครัฐและภาคเอกชนจะพบวา มีการทุจริตมากที่สุด จากขอมูล
ดังกลาวสงผลกระทบตอการลงทุนและภาคธุรกิจไทย เน่ืองจากแหลงเงินทุนหลายประเทศ
หลีกเลี่ยงการเขามาลงทุนในประเทศไทย ซ่ึงจะสงผลตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ ขณะท่ี
ประเทศสิงคโปร มีความโปรงใสเปนอันดับ 1 ได 9.5 คะแนน ขอมูลการทุจริตในครั้งน้ีสะทอนถึง
คุณธรรมจริยธรรมในระดับประเทศไทยตกต่ําและนากังวล จึงเปนภาระหนาท่ีสําคัญท่ีภาครัฐ

66

จะตองเขามามีบทบาทเปนเจาภาพหลัก ดวยการสรางความรวมมือทางจริยธรรมกับภาคสวนตาง ๆ
ดังจะไดอธบิ ายขยายความเพิม่ เตมิ จาก (สมคดิ บางโม. 2549 : 89) ดงั นี้

1. ออกกฎหมายบังคบั ธุรกจิ ตอ งปฏิบัติตามจรยิ ธรรม เชน พ.ร.บ.คมุ ครองผบู รโิ ภค
พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ร.บ.วาดวยราคาสินคาและบริการ พ.ร.บ.ช่ังตวงวัด พ.ร.บ.ยาและ
มารยาท หรือจรรยาบรรณของวิชาชีพตาง ๆ ไดแก แพทย ทนายความ นักบัญชี วิศวกร สถาปนิก
เปนตน ซ่ึงกฎหมายหลายฉบับไดออกมาบังคับใชแลว แตความศักดิ์สิทธ์ิในการใชกฎหมายอยาง
เครง ครัดของหนวยงานและผดู ูแลรกั ษากฎหมายยังไมไดปฏบิ ตั หิ นาทอ่ี ยา งจรงิ จงั ขาดการทําหนาท่ี
ในเชิงรุกจะเปนเพียงรอรับเร่ืองราวรองทุกขของผูที่เดือดรอน หรือรอใหเกิดเหตุและกลายเปน
กระแสของสังคมท่ีส่ือมวลชนเอามาเลนขายขาวจึงจะมีการรับลูก หรือรับเร่ืองราวไปดําเนินการ
บางก็ทาํ ในลักษณะลบู หนา ปะจมกู พอกระแสสงั คมหายไปเร่ืองกเ็ งยี บตามไปดว ย

2. หนว ยงานทเี่ กีย่ วขอ งในการกํากบั ดแู ลดา นการศกึ ษา ควรออกกฎเกณฑใ หสถาบนั
การศึกษาระดับอุดมศึกษาทุกแหงไดกําหนดหลักสูตรที่มีรายวิชาเกี่ยวกับจริยธรรมโดยตรง
นอกเหนือจากการสอดแทรกไวในเปนหัวขอยอย ๆ ในบทเรียนของรายวิชา ท้ังน้ีเพื่อใหการสอนมี
การเนนยํ้าและจัดการเรียนการสอนที่มีการขัดเกลาพฤติกรรมดานจริยธรรมแกนักศึกษา ท้ังดาน
เนอ้ื หาและทักษะ ใหเกดิ การตระหนักถึงจรยิ ธรรมทางธุรกิจแกนักศึกษากอนท่ีจะสําเร็จเปนบัณฑิต
ออกไปสูส ังคมตอไป

3. บทบาทองคก รวิชาชพี ธุรกิจของรัฐ ตองทํางานเชงิ รุกในการเขา หาทุกองคกรวิชาชีพ
เพ่ือทําความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนินงานทางธุรกิจท่ีตองมีจริยธรรมตอผูท่ีเก่ียวของ ท่ีเปนผูมีสวน
ไดส ว นเสียกับการดําเนินธรุ กิจ มีการกระตุนสรางแรงจูงใจใหธุรกิจเกิดความตื่นตัวและตระหนักรู
ถีงจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจที่ตองมีการแขงขันกันอยางเสรี โดยอาจจัดประกวดและใหรางวัล
นักธุรกิจดเี ดนในแตล ะสาขา บริษทั ดเี ดน โดยเนน ดานจริยธรรมเปนหลักสําคัญ

4. ตง้ั ศูนยดแู ล จัดอบรม โดยจดั หลักสูตรอบรมเกี่ยวกับจรยิ ธรรมทางธรุ กจิ การเผยแพร
ความรเู ร่อื งเกี่ยวกบั จริยธรรมผา นส่อื ตา ง ๆ จัดกระบวนการเรยี นรูใหเปนองคกรแหงการเรียนรูดาน
จริยธรรมธรุ กจิ

5. องคกรภาครัฐและบุคลากรท่อี ยูภายใน ตง้ั แตร ะดบั รัฐมนตรีที่กํากับดแู ลนโยบายไป
จนถึงปลัดกระทรวง อธิบดีกรม ผูอํานวยการ ตลอดจนผูปฏิบัติงาน เจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบควรมี
แนวทางการปฏิบัติงานที่โปรงใส ตรวจสอบได เปนผูสรางแบบอยางและคานิยมท่ีดี ไมทุจริต
ไมเรยี กรบั สินบนคาน้ํารอนนํ้าชา จนติดเปนนิสัย หากธุรกิจรายใดไมปฏิบัติตามก็จะไมไดรับความ
สะดวก ถว งเวลาใหเนน่ิ ชา จนเกดิ ความเสยี หายแกธุรกจิ ในทส่ี ุดธรุ กิจเหลาน้นั จาํ เปน ตองยอมทาํ ไป

67

ตามนํ้า เพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอธุรกิจ สิ่งเหลาน้ีบุคคลท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบในองคกรภาครัฐจึง
ตองเปนผูที่มีจริยธรรมในการกํากับ ดูแลและปฏิบัติหนาท่ีใหเกิดคานิยมใหม คานิยมแหงคุณงาม
ความดที ่ีจะทําใหเกดิ แกธุรกจิ และสงั คม

6. สงเสรมิ ใหทุกธรุ กจิ และทกุ วชิ าชีพมีความเปน วิชาชีพ คอื มกี ารจดั ตั้งองคก รทไ่ี ดรบั
การยอมรับตามกฎหมาย มกี ารจดั ทําจรรยาบรรณวิชาชีพของตนอยางเปนลายลักษณอักษร เพื่อเปน
คมู อื หรือแนวทางการปฏบิ ัติของบคุ ลากรภายในองคก ร

ฉะนั้นจึงตองพัฒนาจริยธรรมของคนในภาครัฐ หรือขาราชการที่รับผิดชอบในงานน้ัน ๆ
กอนเปนอันดับแรก ไดแก ผูนํารัฐบาล นักการเมืองที่รับผิดชอบ ผูบังคับบัญชา บุคลากร รวมทั้ง
หนวยงานที่เกี่ยวของ ในการดําเนินการควรพัฒนาจริยธรรมของขาราชการ 8 เรื่อง ซ่ึงจะไดแสดง
ตัวอยางของ การพัฒนาจริยธรรมขาราชการ (แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของขาราชการ. 2549.
ออนไลน) ดังนี้

1. สนับสนุนและสง เสรมิ ใหบ คุ คล หรอื หนว ยงานภายนอกเขา มามสี ว นในการควบคุม
ตรวจสอบจริยธรรมของขาราชการเพ่ิมขึ้น สาเหตุสําคัญของการประพฤติมิชอบในวงราชการ มา
จากขาราชการบางสวนขาดจริยธรรม ไรซ่ึงจิตใจ ไรจิตสํานึก ไรจิตวิญญาณและอุดมการณก็ได
เพราะจริยธรรมมีสวนสําคัญในการกําหนดพฤติกรรมการปฏิบัติหนาท่ีราชการ รวมท้ังการกระทํา
หรืองดเวนการกระทําการใด ๆ ตามอํานาจหนาที่ของขาราชการอันสงผลกระทบถึงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติหนา ท่ีราชการ เพื่อประโยชนข องประเทศชาติและประชาชนโดยรวม ประกอบกบั การ
ควบคุมตรวจสอบภายในหนวยงานของรัฐไมอาจดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ อาจเน่ืองจาก
การเปนพวกเดียวกัน สีเดียวกัน จึงชวยเหลือและเขาขางพวกเดียวกัน ดังน้ันจึงจําเปนที่จะตอง
พัฒนาหรือสนับสนุนใหบุคคล หรือหนวยงานภายนอก เชน ประชาชน สถาบันการศึกษา องคการ
เอกชนและสื่อมวลชน เขามามีสวนรวมในการตรวจสอบพฤติกรรมและจริยธรรมของขาราชการ
เพ่ิมมากข้ึน

2. สนบั สนนุ ใหดําเนนิ คดแี ละลงโทษขา ราชการท่ปี ระพฤตมิ ชิ อบ ตามบทบัญญัตขิ อง
กฎหมายอยางเครงครัดและรวดเร็ว โดยดําเนินการกับขาราชการทุกระดับ ซ่ึงจะทําใหเกิดการ
ปอ งกันมใิ หขา ราชการคดิ และปฏิบัตริ าชการในทางมชิ อบ เพราะกลัวเกรงวา จะตองถูกลงโทษ

3. ตอ ตา น และหรือไมสนบั สนนุ คานยิ มของขาราชการไทย ทเี่ ปน อุปสรรคตอ การพัฒนา
ประเทศ ไดแก 1) คานิยมของการใชอํานาจหนาที่ในทางมิชอบ 2) คานิยมที่ยึดถือระบบพวกพอง
ในทางมิชอบ 3) คานิยมที่ตอ งการเปน เจาคนนายคน 4) คา นิยมในการประจบสอพลอ 5) คานยิ ม
ท่ชี อบความสะดวกสบายและเกียจคราน 6) คา นิยมแบบปจ เจกชนนิยม และ7) คานยิ มในความเปน

68

อนุรักษนิยม ขณะเดียวกันใหดําเนินการคูขนานดวยการสงเสริมการสรางและปลูกฝงคานิยมท่ี
สงเสริมการพัฒนาประเทศใหเผยแพร เชน 1) คานิยมความซื่อสัตยสุจริต 2) คานิยมในระบบ
คณุ ธรรม 3) คา นิยมในหลักประชาธิปไตย 4) คา นยิ มทยี่ ึดถอื หลักการมากกวาตัวบุคคล 5) คานิยม
ความประหยัดและขยนั 6) คา นยิ มการรวมกลุม และ7) คานยิ มในระเบียบวนิ ยั

4. ผูบงั คบั บญั ชาควรประพฤตติ นเปน แบบอยา งท่ดี ีในการปฏบิ ัติราชการ โดยใชวิชา
ความรูและประสบการณในทิศทางที่เปนประโยชนตอสวนรวม คุณลักษณะการประพฤติตัวท่ีถือ
วา เปนแบบอยางทด่ี ีของผูบงั คับบญั ชา 10 ประการ คือ 1) เปนคนสุจริตไมเ ขาไปมสี วนเก่ียวของกับ
การทุจริตอยางเด็ดขาด โดยละความช่ัว บริหารจัดการงาน หรือปฏิบัติงานดวยความซ่ือสัตยสุจริต
และพยายามแสดงออกใหเห็นอยางชัดเจนตอเน่ือง เชน ไมเรียกรองรับทรัพยสินเงินทอง รับสวย
รับผลประโยชนตอบแทนในทางมิชอบและไมปกปองคุมครองชวยเหลือผูใตบังคับบัญชาท่ีทุจริต
2) เสียสละประโยชนและความสุขสวนตัวเพ่ือสวนรวม 3) ดํารงตําแหนงและปฏิบัติหนาที่อยาง
ภาคภูมิใจ มีเกียรติ มีศักด์ิศรีและมีจรรยาบรรณ ใหคํานึงถึง เกียรติยศศักดิ์ศรีตองมากอน (Honor
Comes First) เงิน หรือผลประโยชนในทางมิชอบ 4) มีไมตรีจิต (Courtesy) ซึ่งครอบคลุมถึงการมี
มารยาท ความสุภาพ ความเอื้อเฟอ มีอัธยาศัยและมนุษยสัมพันธท่ีดี 5) ทําตัวใหเปนที่ยอมรับ
(Respect) ใหไดรับความศรัทธาจากประชาชน 6) เปนผูใหมากกวาผูรับและรูจักพอ 7) สนับสนุน
และยกยองคนดี พรอมทั้งดําเนินการกับคนไมดี เชน ไมยกยองและประณาม 8) มีความเปน
ผูเช่ียวชาญและเปนแบบอยางที่ดีท้ังในเร่ืองงานและเร่ืองสวนตัว 9) ปฏิบัติราชการในลักษณะที่
แสดงถึงความเปนมืออาชีพ (Professionalism) คือ รูจริง มีความสามารถ ความชํานาญ สามารถ
ปฏิบัติงานเพื่อผลประโยชนของสวนรวมไดอยางมีประสิทธิภาพ 10) เปนผูนําและมีภาวะผูนําใน
การบริหารงานดวย คือ ตองกลาคิด กลาตัดสินใจและรับผิดชอบตอผลของการกระทําดวยจึงจะ
สอดคลองกบั คาํ กลา วนี้ A leader without leadership is not leader

5. สนับสนุนใหน ําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง มาเปน แนวทางในการปฏบิ ตั ริ าชการ แมว า
จะไดมีการกําหนดไวในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9-10 รวมทั้งแผนฉบับ
ท่ี 11 (2555-2559) อยา งตอ เนือ่ ง แตควรไดม กี ารนํามาปฏบิ ัตใิ หเกิดเปนรูปธรรมท่ีแทจริงดวย ดังจะ
ไดสรุปสาระสําคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอสังเขปกอนท่ีจะไดกลาวอยางละเอียดในบท
อ่ืนตอไป คือ 1) การดําเนินการทางสายกลางบนพ้ืนฐานความพอดี เนนการพ่ึงพาตนเอง อยางกาว
ทันโลกในยุคโลกาภิวัตน 2) ความพอเพียงที่เนนการผลิตและบริโภคบนความพอประมาณ มี
เหตุผล 3) ความสมดุลและการพัฒนาที่ย่ังยืน เปนการพัฒนาอยางเปนองครวม มีสมดุลระหวาง
กระแสการแขงขันของโลกและกระแสทองถ่ินนิยม มีความหลากหลายในโครงสรางการผลิต การ

69

ใชทุนทางสังคมท่ีมีอยูใหมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชนสูงสุด ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอม วัฒนธรรม ภูมิปญญา ตลอดจนวิถีชีวิตที่ดีงาม 4) การมีภูมิคุนกันในตัวที่ดีพอสมควร
เตรียมความพรอม รูเทาทันตอผลกระทบที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงตาง ๆ มีความยืดหยุนในการ
ปรับตัว มีการตัดสินใจอยางมีเหตุมีผล มีความเขมแข็ง มั่นคงและย่ังยืน 5) การเสริมสรางจิตใจคน
และพัฒนาคนในชาติใหเปนคนดี มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตยสุจริต มีสติปญญา มีความ
เพียร อดทนและรอบคอบ

6. สง เสริมใหนําการบริหารราชการตามแนวทางการบรหิ ารกิจการบา นเมืองท่ีดี (Good
Government) ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี
พ.ศ. 2546 โดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี 6 หลัก ไดแก หลักนิติธรรม (rule of law)
หลักคุณธรรม (Ethics) หลักความโปรงใส (Transparency) หลักความมีสวนรวม (Participation)
หลักความรับผิดชอบ (Accountability) และหลักความคุมคา (Value for Money) กลาวไดวา แมจะมี
กระบวนการปฏิบัติราชการที่ประกอบดวยกี่ขั้นตอนก็ตาม ถาในแตละขั้นตอนไมยึดถือกฎระเบียบ
หรอื ตวั บทกฎหมายขาดคุณธรรม ขาดความซ่ือสตั ยส ุจรติ ขาดความโปรงใส ไมเปดโอกาสใหมีการ
ควบคมุ ตรวจสอบ ทั้งจากภายในและภายนอก ตลอดจนขาดการมีสวนรวมของประชาชน ขาดความ
รบั ผิดชอบในการดําเนินงานและขาดความคุมคาในการดําเนินงานแลว กระบวนการปฏิบัติราชการ
ก็จะไมประสบผลสาํ เร็จเทาทค่ี วร

7. สนบั สนนุ ใหผ ูบ งั คบั บญั ชา ผูบริหาร แกนนาํ ในการปฏิบัตริ าชการ นาํ หลักปกครอง
เชน ทศพิธราชธรรมมาปรับใช ทศพิธราชธรรมเปนหลักท่ีนักบริหารและสามัญชนสามารถนํามา
ปรบั ใชได

8. สนบั สนุนใหห นว ยงานทกุ ภาคสวน ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชนและภาคประชาชน เขา มามี
สว นรว มในการควบคุมตรวจสอบการปฏิบตั ริ าชการของขา ราชการดา นจรยิ ธรรมอยา งตอ เนอ่ื ง โดย
ดําเนินการในลักษณะเปนเครือขาย คือ หนวยงานและประชาชน มีการรวมตัวกันเปนกลุม เปน
ชุมชนเพ่ือดําเนินกิจกรรมรวมกัน เปนองคกรในพื้นที่ทุกระดับ โดยมีเปาหมายและกิจกรรม
เชื่อมโยงกันและสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจสังคม การเมือง สภาพแวดลอมของพ้ืนท่ีน้ัน ทั้งนี้
ตอ งเปนไปในทศิ ทางที่เออ้ื อาํ นวยประโยชนต อประเทศชาติและประชาชนโดยรวมดวย

จากตัวอยางแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของขาราชการท้ัง 8 ขอ ในทางปฏิบัติก็ไดมีการ
ดําเนินการไปบางแลว แตยังไมสามารถที่จะกลาวไดวา ประสบความสําเร็จ ดังนั้นหนวยงานและ
บุคลากรทุกฝายที่เก่ียวของจะตองชวยกันสรางและพัฒนาคานิยมทางจริยธรรมท่ีถูกตองดีงามให
เกิดขึ้นอยางถาวร มีความตอเน่ืองและสม่ําเสมอ ทั้งน้ีเพื่อยกระดับความมีคุณธรรมจริยธรรมใน

70

สังคมไทยใหเปนที่ยอมรับแกบุคคลและหนวยงาน ท้ังภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งจะสงผลตอ
ภาพลกั ษณท น่ี า เชอ่ื ถือ เกิดการยอมรับ การไวว างใจและความสมั พนั ธท ี่ดรี ะหวางกัน ทําใหเกิดผลดี
ตอการคา การลงทนุ แกป ระเทศชาติและจะสง ผลท่ดี ดี านตา ง ๆ ตามมาในที่สดุ

สรุป

ธุรกิจจําเปนท่ีจะตองมีจริยธรรม แมวาในระยะแรกจะเปนความเขาใจผิดวาจริยธรรม
ขัดแยงกับเปาหมายกําไรสูงสุดของธุรกิจ ซ่ึงแทจริงแลวการมีจริยธรรมทางธุรกิจ แมวาจะสงผล
กระทบตอการเพิ่มตนทุน หรือมองวาเสียเปรียบในการแขงขัน แตก็จะทําใหธุรกิจไดรับความ
เชื่อถือ การยอมรับและความไววางใจในระยะยาว ทั้งจากลูกคา คูคา คูแขง หนวยงานราชการ
รวมทั้งบุคลากรภายในของธุรกิจเองก็จะไดรับผลที่ดีดวย ธุรกิจจึงสามารถดําเนินงานและทํากําไร
สูงสุดไดและดํารงอยูอยางยั่งยืน ตรงขามหากธุรกิจที่ขาดจริยธรรมจะไดรับผลกระทบไมวาจะเปน
ความขัดแยงภายในองคกร ขาดประสิทธิภาพในการทํางาน การสรางศัตรูการคา การไมไดรับการ
เชื่อถือจากหนวยงานราชการและอาจถูกตอตานจากลูกคา หรือชุมชน การวัดระดับมาตรฐาน
จริยธรรมของธรุ กจิ วดั ได 3 ระดบั คอื เปน ธุรกิจท่ีไมมีจรยิ ธรรม มีจรยิ ธรรม และไมสนใจจริยธรรม
ดังน้ันจึงตองมีการพัฒนาจริยธรรมทางธุรกิจ โดยเร่ิมจากการพัฒนาคนใหมีจริยธรรมกอน ซึ่งตาม
แนวคิดทฤษฎีเปยเจทและโคลเบิรก อธิบายวาการพัฒนาจริยธรรมของคนมีรากฐานจากการพัฒนา
ทางสติปญญาและอารมณ ซ่ึงโคลเบิรกแบงการพัฒนาออกเปน 3 ระดับคือ ขั้นกอนมีจริยธรรม ขั้น
มีจริยธรรมตามกฎเกณฑและข้ันมีจริยธรรมเหนือกฎเกณฑ นอกจากนี้การพัฒนาจริยธรรมตาม
หลักพทุ ธศาสนาจะตองหาสาเหตุของปญ หากอนจึงจะสามารถแกปญหาและพัฒนาจริยธรรมไดถูก
ทาง เม่ือจะนําไปพัฒนาจริยธรรมทางธุรกิจ จะตองมีแนวทางการตรวจสอบจริยธรรมในองคกร
ธุรกิจ โดยองคกรธุรกิจเอง นอกจากนี้ภาครัฐก็มีบทบาทในการท่ีจะเสริมสรางจริยธรรมแกองคกร
ธุรกิจ เชน การใชกฎหมาย การกํากับดูแลทางการศึกษา บทบาทขององคกรวิชาชีพของรัฐ ต้ังศูนย
ดแู ล อบรมระดบั กิจกรรมและระดับนโยบาย ดังน้ันการมีจริยธรรมขององคกรธุรกิจยังเกี่ยวของกับ
คุณธรรมของขาราชการท่ีมีความสัมพันธกัน ท้ังดานการสนับสนุนสงเสริมกันใหเกิดจริยธรรม
หรอื ขาดจริยธรรม หากฝายหนึง่ เสนอและอกี ฝายหน่ึงสนอง

กรณศี ึกษา

บริษัทเอสโซมีบริษัทแมอยูท่ีสหรัฐอเมริกาและมีบริษัทลูก หรือบริษัทในเครือเอสโซอยู
ในประเทศตาง ๆ ทว่ั โลก มนี โยบายดําเนนิ ธุรกจิ อยางมีจริยธรรม ดงั น้ี

71

1. นโยบายเกย่ี วกบั จรรยาบรรณทางธุรกจิ
1.1 การมชี อ่ื เสยี งทีม่ นั่ คงเกยี่ วกับจรรยาบรรณทางธรุ กจิ เปน ทรพั ยส ินท่ีมีคายิ่งของ

บรษิ ทั
1.2 กิจกรรมทกุ อยางจะตอ งบันทกึ ไวอยางถูกตองในบญั ชีของบริษัท หา มมกี าร

ปลอมแปลงในสมุดบญั ชแี ละการบัญชีธนาคาร ซ่ึงไมเ ปนที่เปด เผย
1.3 เคารพกฎหมายอยางเครง ครัดท่เี กย่ี วกบั การดาํ เนนิ ธุรกจิ และการปฏบิ ัติท่เี ปน

ธรรม ไมย อมใหพ นกั งานละเมดิ กฎหมาย หรอื กระทาํ ผดิ จรรยาบรรณ
2. นโยบายปอ งกนั การผูกขาด
2.1 ใหกรรมการและพนกั งานของบริษัททุกคน เคารพอยา งเครงครดั ตอกฎหมาย

ปองกันการผกู ขาดของสหรัฐฯ และตอตา นกฎหมายของประเทศอื่นใด หรอื กลุมประเทศตาง ๆ ซึ่ง
ใชบังคับในการดาํ เนินธุรกจิ ของบรษิ ทั

2.2 ไมม ีผูใ ดในบริษทั มอี ํานาจทีจ่ ะออกคาํ สั่งใด ๆ ทมี่ ผี ลตอ การละเมิดนโยบายนี้
3. นโยบายเกยี่ วกับของขวญั และการเล้ยี งรบั รอง

หา มใหของขวญั เปน เงินสดในนามของบรษิ ัท หา มรับของขวัญเปนเงินสด การเล้ียง
ตอนรบั คา เดนิ ทาง สง่ิ จูงใจอื่นใหเ ปน ไปพอประมาณ ไมบ อยนักและเหมาะสมกับโอกาส
จรรยาบรรณ ตองคาํ นึงถึงกฎหมายและกฎปฏบิ ัติทีใ่ ชบังคบั อยู

4. นโยบายเกย่ี วกับการอนรุ กั ษส ิง่ แวดลอ ม
4.1 ยดึ ม่นั ในมาตรฐานสง่ิ แวดลอมท้ังหลายและในกฎขอ บงั คบั ตา ง ๆ ท่อี าจใช

บังคบั กบั ธุรกิจของบริษัท
4.2 ประกันวา การปฏบิ ตั ิงานและผลิตภัณฑข องเครอื เอสโซ จะไมทําใหเกดิ การเสีย่ ง

ภยั รา ยแรงแกส ขุ ภาพของคนท่วั ไป แตเ หมาะสมกับสิ่งแวดลอ ม ความปรารถนาทางสังคมและ
เศรษฐกจิ ตลอดจนความตอ งการของชมุ ชน

4.3 ปฏิบตั ิงานโดยรว มมอื กบั บคุ คลภายนอก เพอื่ ใหเกดิ ความเปนเอกฉันทเกยี่ วกบั
คุณภาพมาตรฐานของสง่ิ แวดลอ ม

4.4 จะปฏิบัตงิ านอยางแขง็ ขนั จรงิ จงั กบั กลมุ ตา ง ๆ ของทางราชการ เพือ่ สงเสริมและ
สนับสนุนใหม ีการพัฒนาระเบยี บ ขอ บังคับตาง ๆ เพ่ือใหไ ดม าซึง่ มาตรฐานส่งิ แวดลอมอนั พึง
ประสงค

72

5. นโยบายเกยี่ วกบั การแพทย
5.1 พสิ ูจนแ ละประเมนิ สง่ิ ที่เปนภยั ตอ สุขภาพอนามยั อันเกิดจากการปฏิบัติงานและ

ผลติ ภัณฑของบริษัท
5.2 วางแผนนาํ ไปปฏบิ ัตแิ ละประเมนิ โครงการท่จี ะขจดั หรือควบคุมภยั ดังกลาว
5.3 ถาทราบวา อาจเปน ภยั ตอ สขุ ภาพอนามยั ตอ ชุมชน หรือกลมุ บคุ คลทีไ่ ดร ับ

ผลกระทบตองรีบเผยแพรใ หทันตอเวลาและไดผล
5.4 ในขณะและหลงั การรับบุคลากรเขา ทํางาน ตรวจสอบดวู า พนักงานมีพลานามัย

สมบรู ณดี เพือ่ ที่จะปฏบิ ตั ิงานได โดยไมเปน การเสี่ยงภัยเกนิ ควร
5.5 จัดบรกิ ารทางการแพทยท ่จี ําเปนเพ่ือทาํ การรักษาพยาบาล ผูท่เี จบ็ ปว ยหรอื

บาดเจบ็ อันเนอ่ื งมาจากการทาํ งานและเพอ่ื ทาํ การรักษาพยาบาลฉุกเฉนิ
6. นโยบายเกยี่ วกับการใหเงนิ อดุ หนนุ ทางการเมือง
เอสโซ จะไมบ ริจาคเงนิ แกผ ูสมัครทางการเมอื ง ทั้งน้ีไมเ กยี่ วกบั การบรจิ าคเปน

สวนตัวโดยถกู กฎหมาย
7. นโยบายในเร่ืองผลประโยชนขดั กัน
7.1 ใหกรรมการและพนกั งานของบริษทั หลกี เล่ียงการดาํ เนนิ ธุรกจิ ท่ีขัด

ผลประโยชนกันของบรษิ ัทผจู ัดสง ลูกคา และองคการหรอื เอกชนอน่ื ๆ ท้ังมวล ที่กําลังทําธุรกจิ
การคากบั บรษิ ทั ในหรอื บรษิ ทั ในเครือใดๆ

7.2 ใหกรรมการและพนกั งานหลีกเลยี่ งมใิ หผลประโยชนของตนขัดกบั
ผลประโยชนข องบริษทั ในการดาํ เนนิ ธรุ กิจสวนตวั รวมทง้ั กิจกรรมเกยี่ วกับหนุ ของบรษิ ทั หรอื ของ
ประโยชนใ นเครอื ใด ๆ ที่มิไดอยใู นเครือ แตม คี วามสัมพนั ธทางธรุ กจิ กบั ผลประโยชนข องบรษิ ัท

8. การนําอดุ มการณและหลกั จรรยาบรรณไปปฏบิ ัติ
บรษิ ทั ในเครอื เอสโซ ไดพ ิมพห นังสอื ช่ือ จรรยาบรรณทางธรุ กิจแจกใหกับพนกั งาน

ทุกคนและขอใหพนกั งานนาํ หลักดงั กลา วไปปฏิบตั อิ ยา งเครงครัด
คาํ ถาม จากกรณีศกึ ษาบรษิ ทั เอสโซ จริยธรรมดานตา ง ๆ นกั ศกึ ษาวิเคราะหแ ละมคี วาม

คดิ เหน็ ตอเร่อื งดงั ตอ ไปนอ้ี ยา งไร
1. จรยิ ธรรมท่ีเอสโซก ําหนดขึน้ มขี อ ใดทีม่ ชี อ งโหวใหหลกี เล่ียงได
2. จริยธรรมในขอ ใดท่จี ะทาํ ใหก ารดาํ เนนิ งานของเอสโซตอ งประสบปญหาหรือ

อปุ สรรคในการดาํ เนินธุรกิจภายใตคา นิยมแบบสังคมไทย หรอื ไม อยา งไร

73

บรรณานุกรมทา ยบทที่ 3

กีรติ บญุ เจือ. (2551). คูมอื จรยิ ศาสตรต ามหลกั วชิ าการสากล. กรงุ เทพฯ : ศนู ยส งเสรมิ และ
พฒั นาพลงั แผน ดนิ เชิงคณุ ธรรม.

แนวทางการพฒั นาจรยิ ธรรมของขา ราชการ. [ออน-ไลน]. (2549). แหลงที่มา:
www.psdb.ku.ac.th/government/essay/moral.pdf

พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2542. (2554). ระดับ. [ออน-ไลน] . แหลง ท่ีมา:
http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-33-search.asp

พระพรหมคณุ าภรณ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต). (2551). การพฒั นาจรยิ ธรรม. กรงุ เทพฯ : พิมพส วย.
วิรัช วิรัชนภิ าวรรณ. (2549). การพฒั นาจริยธรรมของขา ราชการ. [ออน-ไลน]. แหลง ทมี่ า:

http://www.psdb.ku.ac.th/government/essay/moral.pdf.
สมคดิ บางโม. (2549). จรยิ ธรรมทางธรุ กิจ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พพฒั นาวิทยก ารพิมพ.
สํานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข. (2554). มาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม. [ออน-ไลน].

แหลง ทมี่ า: http://www.moph.go.th/ops/ops/opct/matatan.html.
สภุ าพร พศิ าลบุตร. (2549). จริยธรรมทางธรุ กิจ. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต.
Numthon Kotvong. (2554). ทฤษฎีพฒั นาการทางจริยธรรม. (ออนไลน) . แหลงท่ีมา:

http://sites.google.com/site/citwithyaphunthan/phathnakar-khx-ngbukhkh/thvsdi-
phathnakar-thang-cit-sangkhm/khan-kar-khid-laea-kar-kheaci/thvsdi-phathnakar-
thang-criythrrm
W.C. Crain. (1985). Theories of Development. Prentice-Hall.

บทที่ 4
จริยธรรมผูบรหิ าร

เมือ่ มีการตงั้ คาํ ถามวาผูบริหารคอื ใคร คาํ ตอบทไ่ี ดอาจมหี ลายแงม ุม บางเนนทีค่ ณุ ลักษณะ
ของบุคคล บา งเนนทล่ี ักษณะของงาน บา งเนน ท่ลี ักษณะความรับผิดชอบ แตไมวาจะเนนในเรื่องใด
การวางตําแหนงผูบริหารยอมอยูในระดับบนเหนือกวาคนอื่น เพื่อบงบอกถึงการมีอํานาจตัดสินใจ
สั่งการและควบคุม ซ่ึงบทบาทหนาที่ดังกลาวจะทําไดดีเพียงใดข้ึนอยูกับหลายปจจัย ผูบริหารที่
สามารถสรางงาน สรางคนและสรางตนใหเปนที่ยอมรับยกยอง ท้ังความสําเร็จและความดีท่ีดํารง
ตนอยู พรอมดวยผลงานท่ีประจักษและทีมงานท่ีใหความรวมมือรวมใจกันเปนอยางดี ส่ิงเหลานี้จะ
สะทอนความเปน ผูบริหารหรือการเปน ผนู าํ ทีจ่ ะประสบผลสําเรจ็ ในบทบาทหนาที่ของผูบริหารเปน
อยางดี

บทบาทหนา ท่ขี องผบู รหิ าร

กอ นจะกลาวถงึ บทบาทหนา ทีข่ องผบู ริหาร อาจมีคาํ ถามวา ผูบริหารคือใคร ลองคิดงาย ๆ
เม่ือเขาไปในองคกรหนึ่ง ๆ จะมีผูดํารงตําแหนงท่ีมีอํานาจสูงสุดขององคกรท่ีเรียกวา ผูบริหาร
สูงสุดขององคกร (Chief Executive Officer : CEO) เปนผูท่ีมีบทบาทหนาที่ในการกําหนดทิศทาง
และนําพาองคกรไปสูเปาหมายท่ีไดวางไว ดังน้ันบุคคลที่จะเปนผูบริหารที่ดีไดจึงตองเปนผูมี
คุณสมบัติท่ีแตกตางจากบุคคลทั่วไป (เนตรพัณณา ยาวิราช. 2549 : 7) ไดใหความหมายผูบริหาร
หมายถึง บุคคลที่ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในองคกรตาง ๆ เพื่อควบคุมดูแลรับผิดชอบใน
กจิ การตาง ๆ ใหสําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงคโดยอาศัยผูอ่ืน ดังนั้นจึงกลาวไดวาบุคคลที่จะมาเปน
ผูบริหาร คือ สมาชิกคนหน่ึงในองคกรท่ีไดรับการแตงต้ังใหดํารงตําแหนงและทําหนาท่ีจัดสรร
ทรัพยากร อํานวยการและควบคุมภารกิจของแตละฝายใหไปในทิศทางเดียวกัน โดยใชความรู
ความสามารถท้ังศาสตรและศิลปะในการเลือกใชคนอื่นทํางานแทนตน เพ่ือบรรลุผลสําเร็จตาม
เปา หมาย

ดังนั้นบทบาทหนาที่สําคัญของผูบริหารจึงเก่ียวกับการกํากับหรือกําหนดทิศทาง
(Direction) ในการเดินไปขางหนารวมกันของคนในองคกร โดยผูบริหารตองแสดงใหเห็นถึง
วิสัยทัศนและแนวทางท่ีชัดเจน สามารถสรางแรงจูงใจ(Motivation) กระตุนใหทีมงานเกิดขวัญและ

75

แรงบันดาลใจที่จะกาวไปดวยกัน นอกจากการกําหนดและกํากับแนวทางไปสูเปาหมายแลว
บทบาทสําคัญอีกประการของผูบริหารคือ การบริหารจัดการ(Organization) เก่ียวกับการดําเนินงาน
ใหเปนไปตามกระบวนการท่ีไดวางแผนไว โดยตองมีการบริหารจัดการกับหนวยงาน องคกรและ
ทีมงาน นอกจากผูบริหารตองเขาใจบทบาทหนาที่สําคัญของตนเองแลว การที่จะเปนผูประสบ
ความสําเร็จยังมีคุณสมบัติอ่ืนอีกหลายประการ รองผูจัดการใหญทรัพยากรบุคคล บริษัทสยาม
นิสสัน ออโตโมบิล จํากัด ไดกลาวถึงภาพรวมของหนาที่ผูบริหารท่ีประสบความสําเร็จตองมี
คณุ สมบตั ิพ้นื ฐาน 4 ประการ (สรุ ศักด์ิ ใจเยน็ . 2553. ออนไลน) ดังนี้

1. การมีพนั ธะผกู พนั ตอ งาน (Commitment) หมายถึง ผูบริหารทดี่ ีตองมคี วามมุงมนั่
สามารถผกู ประสานตวั เองใหเ ขากับงานและหนาทคี่ วามรับผิดชอบของตนเองไดเ ปน เบอื้ งแรก โดย
การมพี ันธะผกู พนั ตองานนป้ี ระกอบไปดว ย ความผูกพนั กับเปาหมายของตนเอง หนว ยงาน หวั หนา
ลกู นอ ง หนา ทกี่ ารงาน องคกร เพ่ือนรว มงาน ลกู คา สังคมรอบขา งและประเทศชาติ

2. ความสม่ําเสมอในการแสดงตน (Consistency) หมายถงึ ผูบ ริหารจะตอ งเปน แบบอยาง
ท่ีดีของทีมงาน คนในองคกรมักจะแยกไมออกระหวางภาพขององคกรกับภาพของตัวผูบริหาร
ดังนั้นหากจะใหคนในองคกรมีความเช่ือม่ันกับองคกร ผูนํา หรือผูบริหารองคกรตองสรางความ
มัน่ ใจและศรัทธากบั ทีมงานกอนเปน ลําดบั แรก ความมั่นคงและแนวแนของผูบริหารตองแสดงออก
ไดท งั้ ในดานสติและสมั ปชัญญะ

3. ความสามารถในการเผชิญกบั สถานการณ (Complexity) หมายถงึ เมอื่ ผูบริหารทีด่ ีตอ ง
เผชญิ กับสถานการณตาง ๆ จะตอ งสามารถเปน ผูนําหลกั ขององคก รทีจ่ ะชนี้ าํ ทิศทางของทมี งาน ซง่ึ
แสดงใหเห็นวาผูนําท่ีดีสามารถเผชิญหนากับสถานการณตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นได ความสามารถที่สําคัญ
ในแงน ี้ขององคก รคือ ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการจัดลําดับความสําคัญของ
งาน ซ่ึงนําไปสูการกําหนดทิศทางนโยบายท่ีจะทําใหคนในองคกรสามารถปฏิบัติงานไดสอดคลอง
กบั สภาวการณจริง

4. ความเชื่อถอื ได (Creditability) หมายถึง การแสดงออกของผบู รหิ าร ทงั้ การกระทาํ
และคําพูดจะตองตรงกัน เชน อดีตผูนําประเทศ คือ พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ อดีตนายกรัฐมนตรี
ของประเทศไทยเม่ือครั้งเรืองอํานาจ ไดกลาว อมตวลีวา “กอนพูดเราเปนนายของคําพูด หลังพูด
คาํ พูดจะเปนนายเรา” วลีน้ีไดสรางประสบการณและการเรียนรูใหกับคนหลายคน เพราะความเปน
ผูบริหาร หรือผูนําที่ดีตองเปนคนที่มีบารมี การท่ีบารมีจะเกิดข้ึนในแตละบุคคล คือ การเปนคนท่ี
เชื่อถือได ดงั มตี ัวอยางสาํ คัญในสมยั หลงั รฐั ประหารของคณะรักษาความสงบเรยี บรอยแหง ชาติ
(รสช.) พลเอกสจุ ินดา คราประยูร เปนบคุ คลหนึง่ ในคณะ(รสช.) ไดเคยประกาศไวว าจะไมรับ
ตาํ แหนงใด ๆ ทางการเมอื ง แตแ ลวกลับเขารบั ตาํ แหนง จนเปนท่ีมาของวาทะ “เสียสัตยเพอ่ื ชาติ”

76

(พฤษภาทมิฬ. ออนไลน. 2554) จึงเปนสาเหตุใหเกิดการไมยอมรับและมีการประทวงตอตานการ
สบื ทอดอาํ นาจของ (รสช.) ของประชาชน จนเกิดเหตุการณพฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 นอกเหนือจาก
คําพูด หรือวาจาแลว ส่ิงสําคัญอีกอยางหนึ่งของความเชื่อถือไดของการเปนผูบริหารที่ไดรับการ
ยอมรับเปนอยางย่ิง คือ “ความซ่ือสัตย” หากผูบริหารคนใดขาดภาพแหงความใจซื่อมือสะอาด
โอกาสท่จี ะประสบความสําเรจ็ ยอมจะลาํ บากมากยง่ิ ขึน้

ดังจะเห็นวา บทบาทหนาที่ของผบู รหิ ารจะเนนหนกั ดา นความคิดที่จะตองแปรเปล่ียนเปน
รูปธรรมในการนําไปสูการปฏิบัติของผูท่ีอยูในความดูแล ท่ีเปนผูใตบังคับบัญชา ลูกนอง ทีมงาน
เพ่ือใหคนเหลาน้ันยินดีที่จะใหความรวมมือ ทุมเทความรูความสามารถเต็มกําลังและสติปญญา
ผูบริหารจึงตองมีท้ังพระเดชและพระคุณที่เลือกนํามาใช โดยตระหนักคิดถึงใจเขา ใจเรา เพ่ือใหได
ท้ังผลงานและใจคนทํางาน จึงจะเปนผูบริหารที่ประสบผลสําเร็จและมีคุณธรรมจริยธรรม พรอม
คุณสมบตั คิ รบถวนของการเปน ผูรูจักการครองตน ครองคนและครองงาน

หลักจรยิ ธรรมสาํ หรบั ผบู รหิ าร

ผูบริหาร ผูนํา ผูปกครอง หรืออาจเรียกวา ผูเปนใหญในองคกร ในหนวยของสังคมนั้น ๆ
ซง่ึ เปน ผูสามารถใชอาํ นาจและสงอิทธิพลเหนือผูคนท่ัวไป หากผูเปนใหญรูจักการใชอํานาจท่ีตนมี
อยูดวยใจเปนธรรม อยางชอบธรรม ประกอบดวยคุณธรรมจริยธรรมของผูเปนใหญ ผลกระทบที่
เกิดขน้ึ ยอ มกอ ใหเกิดผลแหงความสงบสุขโดยสวนรวม ดังนั้นหลักธรรมที่เหมาะสมสําหรับมนุษย
คอื หลกั ธรรมทางดานศาสนาที่สอนใหค นทุกคนทาํ ความดี งดเวนการทําชั่ว ดังคํากลาวท่ีวาธรรมะ
มีคุณ 3 ประการ คือ 1) ธรรมะจึงทําใหเกิดการอุปการะคือ เปรียบเสมือนกัลยาณมิตรท่ีคอยเตือน
คอยชวยเหลือใหคนเรามีสติระลึกรูอยูในศีลธรรม จะพูดจาหรือกระทําส่ิงใด ๆ มีความรูเทาทันส่ิง
ไมด ี ไมเ หมาะ ไมควร จึงสามารถงดเวนได 2) ธรรมะยังทําใหเกิดความงามคือ งามทั้งภายในจิตใจ
และงามภายนอกที่แสดงออกมาใหปรากฏทางกายและวาจา จึงกลาวไดอีกวา 3) ธรรมคุมครองโลก
ได หมายความวา เมื่อมนุษยทุกคนตางมีสติระลึกรูสิ่งดี ส่ิงเลวภายในจิตใจและสามารถแยกแยะ
ความดี ความเลว จึงเกิดความละอายช่ัว กลัวบาป ก็ยอมทําใหตนเองรอดพนจากการประพฤติผิด
ประพฤติชั่วได การกระทําดีท่ีเกิดข้ึนจึงไมใชเปนเพียงประโยชนตนเทาน้ัน แตยังเปนประโยชน
ทานหรอื ประโยชนผ อู ่ืนดวย

หลักธรรมที่สามารถสนองตอบจริยธรรมของผูบริหารองคกรท้ังในฐานะบุคคลของ
สงั คม ฐานะผูบริหารขององคกรและฐานะพลเมืองของประเทศ มีหลักธรรมท่ีสําคัญมากมายในท่ีน้ี
จะนําเสนอ 4 หลักธรรมท่ีสําคัญพอสังเขป ดังไดประมวลสรุปจากธรรมนูญชีวิตของ พระพรหม
คุณาภรณ(ป.อ.ปยตุ โต). 2549 : 14-28; วศิน อนิ ทสระ. 2549 : 93-102; สมหวัง วิทยาปญญานนท.

77

2543 . ออนไลน ดงั นี้
1. สัปปรุ สิ ธรรม 7 เปน ธรรมของคนดี หรอื ธรรมของสัปปุรษุ กลา วคอื ผูใดทถี่ ือ

หลักธรรมนี้ไดยอมเปนคนสมบูรณแบบหรือมนุษยโดยสมบูรณ มีคุณคาสามารถนําหมูชนและ
สงั คมไปสูสันตสิ ุขและความสวัสดี คุณสมบัติ 7 ประการน้ี ไดแ ก

1.1 รหู ลักและรูจกั เหตุ (ธมั มญั ุตา) คอื รูห ลกั การและกฎเกณฑของสง่ิ ทต่ี นตอ งเขา
ไปเกี่ยวของในการดําเนินชีวิต ในการทําหนาท่ีและดําเนินกิจการตาง ๆ เชน ตนเองดํารงตําแหนง
อะไร อยูในฐานะ อาชีพ การงาน หนาท่ีและความรับผิดชอบอะไร มีหลักการอะไรและจะตองทํา
อยางไร จึงจะเปนเหตุใหบรรลุผลสําเร็จตามหนาที่ความรับผิดชอบนั้น มองใหลึกหรือสูงข้ึนคือ
การรเู ทา ทนั กฎความจรงิ ของธรรมชาติเพื่อปฏบิ ัติตอโลกและชวี ิตอยา งถกู ตอง มีจิตใจเปนอิสระ ไม
ตกเปนทาสของโลกและชีวิต เชน การไดรับตําแหนงสูงสุดเมื่อถึงวาระก็ตองลงจากตําแหนง ซ่ึงก็มี
คนเปรียบเทยี บไดนาฟงวา ชีวติ ดั่งละคร ขนึ้ อยูวาขณะทส่ี วมบทบาทน้ัน ๆ ไดเ ลน เต็มท่ีแลวหรอื ยงั

1.2 รคู วามมงุ หมายและรูจ กั ผล (อัตถัญุตา) คือ รคู วามหมาย รคู วามมุง หมายของ
หลักการที่ตนปฏิบัติ เขาใจวัตถุประสงคของกิจการท่ีตนกระทํา รูวาสิ่งท่ีทําอยูน้ัน ดําเนินชีวิตอยาง
น้ันเพื่อตองการประโยชนอะไรหรือควรบรรลุผลอะไร ที่ใหตําแหนง หนาท่ี ฐานะ การงานน้ัน ๆ
ไดมีการวางความมุงหมายอะไร สิ่งที่ทําอยูขณะน้ีจะบังเกิดผลอะไรบาง เปนผลดีผลเสียอยางไร
หากใหมีความเขาใจท่สี งู ขึน้ คือ รูป ระโยชนทีเ่ ปน จุดหมายแทจรงิ ของชีวิต

1.3 รจู ักตน (อตั ตญั ตุ า) คอื การรตู ามความเปนจรงิ เก่ียวกบั ตนเอง วาโดยฐานะ
ภาวะ เพศ กําลัง ความรู ความสามารถ ความถนัดและคุณธรรม มีเทาไร อยางไร แลวประพฤติ
ปฏิบัติตนใหเ หมาะสม ตลอดจนแกไขปรับปรงุ ตนใหเ จริญยิ่งขนึ้

1.4 รจู ักประมาณ (มตั ตญั ตุ า) คือ รจู ักพอดี เชน รูจกั การบริโภค การใชจ า ยทรพั ย
ใหพอดีกับรายได ไมเปนหน้ีจนไมสามารถชําระหนี้ได รวมท้ังการพูดจา การพักผอน การ
สนุกสนาน ร่ืนเริง การใชชีวิตและการทําหนาท่ีของตนเอง ใหมีความพอเหมาะลงตัว ไมตามใจ
ความอยากของตนเองจนเกนิ ไป

1.5 รจู กั กาล (กาลญั ตุ า) คอื รกู าลเวลาท่เี หมาะสม เชน รูวาเวลาไหน ควรทําอะไร
อยางไรและทําใหต รงเวลา ทําใหเปนเวลา ทําใหทันเวลา ทําใหพอเวลา ทําใหถูกเวลา ตลอดจนรูจัก
กะเวลาและวางแผนการใชเวลาอยางไดผ ล

1.6 รูจ กั ชุมชน (ปริสญั ตุ า) คอื รูจักถิ่นฐาน รจู ักชมุ ชน รูการอนั ควรประพฤติ
ปฏิบัติในถ่ินที่ชุมนุม เชน ชุมชนนี้เม่ือเขาไปหาแลวควรตองทําตัวหรือแสดงกิริยาอยางไร พูด
อยางไร ระเบียบประเพณี วัฒนธรรม เปนอยางไร เพื่อจะไดปฏิบัติตัวใหถูกตองตรงกับความ
ตองการและเปน ประโยชนต อชุมชน

78

1.7 รูจ ักบุคคล (ปุคคลญั ุตา) คอื รแู ละเขาใจความแตกตางระหวางบคุ คล เชน ใคร
นิสัย ตึงหยอ น หรือมีอัธยาศยั ความสามารถและคณุ ธรรม อยา งไร ทําใหตัดสินใจไดวาจะปฏิบัติตัว
ตอบุคคลเหลาน้ันไดอยางไร จะเลือกคบหรือไม หรือตองมีความเก่ียวของสัมพันธกันอยางไร เชน
จะใช จะยกยอง จะตาํ หนิ หรือจะแนะนําสง่ั สอน อยางไร

2. พรหมวหิ าร 4 เปน ธรรมประจาํ ใจของผูมจี ิตใจย่ิงใหญก วา งขวางดุจพรหม ไดแก
2.1 เมตตา (Loving Kindness) เปน ความรัก ความปรารถนาดี ตองการชวยเหลือให

ทุกคนประสบประโยชนแ ละความสขุ สรุปคือ ความปรารถนาใหทุกคนมคี วามสุข
2.2 กรุณา (Compassion) เปนความสงสาร อยากชวยเหลอื ผอู ื่นใหพน จากความ

ทกุ ข ความเดือดรอน ทั้งทางรางกายและจติ ใจ สรุปคอื ความปรารถนาใหผ อู ื่นพนทกุ ข
2.3 มทุ ิตา (Appreciative Gladness) เปนความเบิกบานพลอยยินดี เมือ่ เหน็ ผอู ื่นอยดู ี

มสี ุข ก็มีจติ ใจแชมช่ืนเบิกบาน เมื่อเหน็ เขาทําดปี ระสบความสําเรจ็ กา วหนา ก็พลอยยนิ ดี พรอ มทจี่ ะ
ชวยสง เสริมสนบั สนนุ ไมม จี ติ คดิ ริษยา หรือนอ ยเน้ือต่าํ ใจในวาสนาของตนทไ่ี มทัดเทียมผอู น่ื สรุป
คอื พลอยยินดเี มือ่ ผอู ่นื ไดด ี หรอื มอี นโุ มทนาจติ

2.4 อุเบกขา (Equanimity) เปน การวางใจใหเปน กลาง เม่อื เห็นบคุ คลจะไดรบั ผลดี
หรือช่ัวอันสมควรแกเหตุท่ีคน ๆ น้ันเปนผูกระทํา ก็สามารถวินิจฉัย วางตนและปฏิบัติไปตาม
หลกั การ ดว ยเหตุผลและความเที่ยงธรรม คอื สามารถวางเฉยและไมซ ํ้าเติมเม่อื ผอู น่ื ไดร ับความวิบัติ
ที่ตนไมอาจชวยเหลือได สรุปคือ การวางเฉย หรอื การวางใจเปนกลาง

อยางไรก็ตามการใชหลักพรหมวิหาร 4 จะตองพิจารณาถึงสถานการณและเลือกใชให
เหมาะสมกับเหตุการณ ซ่ึงในกรณีนี้เรามักจะเห็นการนําหลักพรหมวิหาร 4 มาใชอยางไมเขาใจ ไม
ถูกตอง เชน ถาหัวหนาลงโทษลูกนองเพราะทําผิดกฎระเบียบ ก็มักจะถูกตําหนิตอวาทันทีวาเปน
คนใจราย ไมมีนํ้าใจ ไมมีเมตตากรุณาตอลูกนอง โดยไมพิจารณาถึงความเปนเหตุเปนผลวาใน
องคกรมีกฎระเบียบวา ไวอยา งไรและสาเหตุทีต่ อ งถูกลงโทษเพราะอะไร ถาหากไมลงโทษคนทําผิด
ก็จะไมหลาบจําและยังเปนเยี่ยงอยางท่ีไมดีกับคนในองคกรใหทําตาม ซึ่งจะเกิดความเสียหายมาก
ย่ิงขึ้น หรือในกรณีที่ลูกทําผิดพอแมก็คอยแตจะปกปองและไมเคยท่ีจะอบรมสั่งสอนแยกแยะให
เขาใจวาอะไรถูกอะไรผิด จนทําใหลูกเสียคน โดยอางเอาแตความรักความเมตตากรุณาตอลูกเพียง
อยางเดียวในลักษณะนีก้ ็ถือวา ใชหลักพรหมวหิ าร อยา งผดิ ๆ เชนเดียวกัน

3. ทศพิธราชธรรม เปนหลักธรรมของผูเปนใหญ ซ่ึงสามารถนําไปใชกับผูมีอํานาจของ
ทุกองคกร ทั้งผูนําครอบครัว ผูนํากลุม ผูนําองคกร ผูนําชุมชน ผูนําประเทศ ประกอบดวย
หลกั ธรรม 10 ขอ ดังนี้

79

3.1 ทาน (Sharing with the Populace) หมายถงึ การใหว ตั ถภุ ายนอกเปน ส่ิงของตา งๆ
โดยตองมีผูรับโดยตรง การใหทานสามารถใหได 3 ชนิด คือ ใหวัตถุเปนทาน ใหธรรมะเปนทาน
ถือวา เปนทานทเ่ี ลิศกวา ทานทั้งปวงและใหอภยั ทานหรอื ยกโทษให ดังนน้ั ผูบริหารจึงตองฝกตนให
รูจักการเปนผูใหมากกวาเปนผูรับ เอาใจใสดูแลสวัสดิการ ใหความชวยเหลือยามประสบความ
เดือดรอ น ตลอดจนการสนบั สนุนคนทาํ ความดี

3.2 ศลี (Maintaining Good Conduct) หมายถงึ ปกติ ภาวะปกติ การประพฤติปฏิบตั ิ
ใหเกิดภาวะปกติ หรือความสุจริต เชน มีศีล 5 ศีล 8 ศีล 227 การมีศีลทําใหไมเกิดปญหาการ
เบียดเบียนกันทั้งชีวิตและทรัพยสิน ไมเบียดเบียนลูกเมียผูอื่น สังคมเกิดความสงบเรียบรอย
ประเทศชาติเจรญิ รงุ เรอื ง ทาํ ใหเ กดิ ความปลอดภัยและมชี ีวติ ที่สงบสุขทั้งตนเองและผูอ่นื

3.3 ปริจจาคะ (Working Selflessly) หมายถึง การเสียสละ โดยเสียสละความเห็น
แกตัว หรือกิเลสท่ีอยูภายในจิตใจคนเรา เชน การเสียสละการเห็นผิด หรือมิจฉาทิฏฐิ ไดแก พูดผิด
คิดผิด ทําผิด ดวยการสละออกจากจิตใจ ในฐานะของผูบริหารหรือผูนําท่ีอยูเหนือคนท่ัวไปยิ่งตอง
รูจักการเสียสละความสุขสวนตนเพ่ือประโยชนสวนรวม โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปกครองบานเมืองยิ่ง
ตองเสียสละมากกวาผูอ่ืน แมแตการยอมเสียสละชีวิตตนได เพ่ือประโยชนสุขของประชาชนและ
ความสงบเรียบรอยของบา นเมอื ง

3.4 อาชวะ (Working Honestly) หมายถึง ความซื่อตรง เปด เผย ไมมอี ันตราย หรือ
โทษภัยใด ๆ เปนท่ีไวใจตอการทําหนาท่ีดวยความบริสุทธิ์ใจตอตนเอง ผูอ่ืนและกฎธรรมชาติ ใน
ฐานะของผูบริหารองคกรทํางานดวยความซ่ือสัตย โปรงใส เปดเผย ไมหลอกลวง ไมแบงพรรค
แบงพวก

3.5 มทั วะ (Deporting himself with Gentleness and Congeniality) หมายถงึ ความ
ออ นนอมถอ มตน มีความออนโยนตอผอู นื่ เชน นักบรหิ ารท่ีดคี วรเปน ผถู อ มตน ไมถือตวั ตน ไม
อวดดอ้ื ถอื ดี เปนผใู ชเหตุผลมากกวาอารมณ หรือกิเลสของตน มีสมั มาคารวะตอ ผูใหญกวา มี
อธั ยาศยั ออ นโยนนิ่มนวลตอผูนอยอยเู สมอ มีการปฏิสันถารตอนรับตอ ผนู อยและผมู าเยอื น ทําให
เปนคนมเี สนห  ไดร ับความรักความภกั ดแี ละความยําเกรง

3.6 ตปะ (Rejecting Indulgence through Austerity) หมายถงึ ธรรมะทเี่ ผากเิ ลส เปน
การกําจัดบาป หรือกิเลส ความช่ัวทั้งปวงและความเห็นแกตัว เชน ทําการงานใดดวยรูจักบทบาท
และหนาท่ี ทํางานดวยความขยันขันแข็งไมเห็นแกตัว เปนพอคาไมเอารัดเอาเปรียบลูกคา เปน
ขาราชการใหบริการประชาชนท่ัวไปดวยความเสมอภาคเทาเทียมกัน เปนนักบริหารมีความอดทน
อดกลน้ั และรูจ ักการเสียสละ เปนตน

80

3.7 อโกธะ (Adhering to Reason, not Anger) หมายถงึ ความไมโกรธ ซึ่งมจี ุดเริ่มตน
จากภายในจิตใจของความไมสบายใจ ความไมพอใจแลวระเบิดออกมาภายนอกทํารายผูอ่ืน ดวย
วาจา หรือลงมือทํารายรางกาย เชน ลูกจางทํางานไดผลไมเปนที่พอใจ ผูบริหารตองรูจักการระงับ
อารมณโกรธ โดยใชความเมตตากรุณา มีเหตุมีผลในการวินิจฉัยถึงสาเหตุวาเพราะอะไรจึงเกิดผล
เชนน้ัน

3.8 อวิหงิ สา (Bringing Tranquility through Non-Violence) หมายถงึ ความไม
เบียดเบียน หรือการกระทําที่กระทบกระทั่งตนเองและผูอื่นใหไดรับความลําบาก ความเดือดรอน
ในลักษณะของการกระทําสิ่งท่ีเกินกําลังความสามารถหรือเกินความจําเปน เชน การบังคับให
ลูกจางตองทํางานลวงเวลาโดยไมมีวันหยุด ถาไมปฏิบัติตามก็หาเหตุใหออกจากงานไป ลักษณะ
เชน นแี้ สดงถงึ การใชอํานาจที่มีอยางเกินขอบเขต ไปบีบคน้ั และมีอาฆาตมาดราย

3.9 ขันติ (Overcoming Difficulties with Patience) หมายถึง ความอดทน เชน อดทน
ตอการรอคอย อดทนตอกิเลสท่ีมายั่วยวน การมีความอดทนจึงทําใหเกิดโสรัจจะหรือความสงบ
เสง่ียม ซึ่งมักไดยินคําคูกันวา ขันติ-โสรัจจะ ผูบริหารท่ีมีลูกนองจํานวนมากยิ่งตองมีความอดทน
และสงบเยือกเย็นตอความวุนวายและปญหาตาง ๆ ท่ีจะตามมาอยางสูงยิ่งดวย เชน อดทนตอความ
ยากลําบากในการกํากับดูแลคนหมูมากที่มีความหลากหลาย ทั้งความคิด ความเช่ือและการกระทํา
อดทนตอการทํางานหนัก อดทนตอแรงเสียดทานท่ีทําใหเจ็บกายเจ็บใจ ดังนั้นผูบริหารที่มีขันติ
และโสรัจจะก็จะเปน ผูท่ีหนักแนน มเี หตุผล มีความสุภาพ งามสงา และนานับถือ

3.10 อวิโรธนะ (Not doing that which Strays from Righteousness) หมายถึง ความ
มน่ั คงในธรรม เปนความไมบกพรอง หรอื กระทาํ ผิดไปจากทํานองคลองธรรม เชน การไมทําผิดท้ัง
กฎหมาย ธรรมเนียมปฏิบัติ ประเพณีและจริยธรรม ดังมีเหตุการณหลายคร้ังท่ีนักการเมืองซ่ึงเปน
ผูนําและเปนบุคคลสาธารณะกระทําส่ิงท่ีไมสอดคลองกับการยอมรับทางสังคม ผูนําเหลานั้นก็อาง
วาไมผดิ กฎหมาย เชน การใชชองโหวของกฎหมายหลีกเลี่ยงภาษี ลักษณะเชนน้ีถือวา ผูนําไมรักษา
ความเที่ยงธรรม เพราะขัดแยงกับความรูสึกวาเปนส่ิงไมชอบธรรม ไมเท่ียงตรง ไมไดอยูในคลอง
ธรรม เปนตน

หากจะเปรียบผูบ รหิ ารเหมอื นกอนหินท่ีโยนลงไปในนํ้า เราจะเห็นนํ้ากระเพื่อมออกเปน
วงกวาง ผูบริหารที่ย่ิงมีตําแหนงสูงมากเทาไร วงกระเพื่อมก็จะขยายวงยิ่งกวางขึ้นตามไปดวย ยอม
แสดงใหเห็นวา การกระทําใด ๆ ของผูบริหารจะสงผลกระทบตอผูคนเปนวงกวาง ดวยเหตุน้ี
ผูบริหารสูงสุดหรือผูมีอํานาจมากยอมตองมีคุณธรรมจริยธรรมท่ีมากและเหนือกวาคนทั่ว ๆ ไป
ดังน้ันเราจึงมักเห็นผูบริหารโดยเฉพาะนักการเมืองท่ีมีตําแหนงสูงสุดในการบริหารประเทศ เชน
ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี ซ่ึงเปนบุคคลสาธารณะไดใชอํานาจในการบริหารแทนประชาชน

81

การตัดสินใจในเร่ืองใด ๆ ลวนสงผลตอประชาชนท้ังประเทศ ฉะน้ันนอกจากมีความรู
ความสามารถในการนําพาประเทศใหเจริญรุงเรืองแลว ยังตองมีคุณธรรมจริยธรรมท่ีคิดถึง
ประโยชน ปากทองของประชาชนและประเทศชาติเปนสําคัญเหนือกวาประโยชนตนและ
ประโยชนพรรคพวก ปจจุบันเรามักจะเห็นพฤติกรรมของผูบริหารประเทศท่ีดํารงตําแหนงเปน
เวลานานก็มักจะหลงระเริงในอํานาจและใชอํานาจเพื่อประโยชนของตนและพวกพอง โดยใช
กฎหมายเอ้ือประโยชนตน จนสุดที่ประชาชนจะทนรับตอพฤติกรรมเหลาน้ันได จึงเกิดการรวมตัว
กันประทวงและนําไปสูการลมรัฐบาลในท่ีสุด ดังเราจะเห็นตัวอยางทั้งในประเทศไทยเองในแตละ
สมัยของรัฐบาลที่ถูกทํารัฐประหารบาง ประชาชนประทวงจนเกิดการลมรัฐบาลบาง หรือ
ตางประเทศ เชน ประธานาธิบดี ฮอสนี บูมารัก ของประเทศอียิปต ที่ถูกปฏิวัติประชาชนเรียกรอง
ใหลาออกจากตําแหนง หรือ มูอัมมาร มูฮัมมัด อัล-กัดดาฟ ผูนําประเทศลิเบีย ท่ีครองอํานาจมานับ
40 ป จนกระท่ังเกิดฝายตอตานโคนลมอํานาจลง ท้ังหลายเหลาน้ีสามารถนําไปวิเคราะหโดยใช
หลักทศพิธราชธรรมแตล ะขอ ของผูเ ปนใหญในการปกครองประเทศนัน้ ๆ ได

4. มรรคมอี งค 8 เปน อรยิ มรรค คอื ทางปฏบิ ัตใิ หถึงความดับทุกข เรยี กอีกอยางหน่ึง
วา มชั ฌมิ าปฏปิ ทา เปนทางสายกลาง หรือหลักปฏิบัติอันเปนสายกลางกลาวถึงคุณธรรม 8 ประการ
คอื

4.1 สัมมาทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบ (Right Understanding) หมายถึง ความเหน็ ถกู ตอ ง
ตามทํานองคลองธรรม เชน เหน็ วาทําดีไดด ี ทําชัว่ ไดช ่ัว บญุ มี บาปมี ชาติหนามี ชาตกิ อนมี

4.2 สมั มาสังกัปปะ ความดาํ ริชอบ (Right Thoughts) หมายถงึ การไมต กอยูใตส ง่ิ
ยวั่ ยวน ความไมพยาบาท ความไมเบียดเบยี น

4.3 สัมมาวาจา การพดู ชอบ (Right Speech) หมายถงึ การพดู ทีเ่ วน จากการพูดเทจ็
พูดสอเสียด พูดคําหยาบ พูดเพอเจอ แตมีวาจาคําพูดที่ชอบ พูดคําจริง พูดประสานสามัคคี พูด
ออนหวาน พดู ส่งิ ทเี่ ปนประโยชน

4.4 สัมมากมั มนั ตะ การกระทาํ ชอบ (Right Action) หมายถงึ การงดเวนกระทําใด ๆ
ท่ีเปนการเบียนเบียดชีวิตและเบียนเบียดทรัพยสินผูอ่ืน ดังน้ันการกระทําชอบที่เปนความเมตตา
กรณุ าตอ สงิ่ มีชวี ติ ท้ังปวง การรจู ักเสยี สละแบง ปนเฉล่ียสุขของตนแกผูอื่นตามสมควรและไมมัวเมา
ในกามคณุ มคี วามพึงพอใจในคูค รองของตนอยา งเหมาะควร

4.5 สัมมาอาชีวะ การเลย้ี งชพี ชอบ (Right Livelihood) หมายถึง การเวนมจิ ฉาชีพ
ทุกรูปแบบ การทจุ ริตในอาชพี ของตนก็เรยี กไดว า ทํามจิ ฉาชพี ในสมั มาชีพ

4.6 สมั มาวายามะ ความเพียรชอบ (Right Effort) หมายถงึ ความเพยี รชอบทกุ
รปู แบบ เชน เพียรระวงั บาปอกุศลทีย่ ังไมเ กดิ ไมใหเ กดิ ข้นึ เพียรละบาปอกศุ ลทเี่ กดิ ขน้ึ แลว

82

เพียรใหกุศลที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้น เพียรรักษากุศลท่ีเกิดข้ึนแลวไมใหเส่ือมและทํากุศลใหเจริญย่ิง ๆ
ขึน้ ไป

4.7 สมั มาสติ ความระลึกชอบ (Right Mindfulness) หมายถึง การระลกึ ถงึ สิ่งใดทีท่ ํา
ใหกุศลเจรญิ และอกุศลเสอ่ื ม กใ็ หระลกึ ถึงบอย ๆ

4.8 สัมมาสมาธิ ความต้ังใจมน่ั ชอบ (Right Concentration) หมายถงึ การทจี่ ิตตงั้ ม่ัน
ในอารมณอ ยา งใดอยา งหน่ึง อยางม่นั คงไมห วน่ั ไหว ไมฟ ุงซา น

มักมีคําถามวา การพิจารณาทางกฎหมายจะมีแตการตัดสินวา ถูกกับผิด เทานั้น ดังนั้นจะ
ใชหลักมัชฌิมา หรอื หลกั สายกลางอยา งไร คาํ ถามนีอ้ าจเปน เพราะเวลานปี้ ระเทศไทยมีความขัดแยง
และขอ โตแ ยงในกระบวนการยตุ ธิ รรมคอ นขางมาก หากฝายใดไดร บั การตัดสินผลท่ีออกมา ไมเปน
ที่พอใจก็จะมีขอโตแยงและคํากลาวหาตอกระบวนการยุติธรรม วาตัดสินไมมีมาตรฐานบาง หรือ
สองมาตรฐานบาง แตสงิ่ หนงึ่ ท่เี ราเห็นเปน ประจักษอยางชัดเจนคือ คนรวยที่ทําผิดมักจะไมตองรับ
โทษ ดังน้ันคนที่ติดคุกสวนใหญจึงเปนผูคนท่ีมีฐานะยากจน อยางนี้แลวจึงจะกลาวไดแนนอนวา
สองมาตรฐาน สวนคําตอบที่ถามวา จะใชหลักสายกลางในการตัดสินไดอยางไร พระทานกลาววา
ทางสายกลางของพระพุทธเจาไมไดหมายถึง กลางระหวางถูกกับผิด ถูกก็คือถูก ผิดก็คือผิด ดังน้ัน
ทางสายกลางของผูพิพากษาคือ ความยุติธรรม (Justice) การตัดสินโดยไมใชอคติ ที่ทําใหเสียความ
เที่ยงธรรม เรียกวา อคติ 4 ซ่ึงหลวงปูสุวัจน สุวโจ (2552. ออนไลน)ไดอธิบายขอธรรมหน่ึงที่
พระพุทธเจาไดตรัสไวเก่ียวกับการกระทําจิตใหตรงที่เรียกวา ทิฏฐชุกรรม การทําจิตของเราใหตรง
ไดเพียงเทานี้ก็นับเปนบุญเปนกุศล ทําใหเกิดความสุข ความเจริญ เพราะการทําจิตใหตรงตอธรรม
เปนเหตุใหเกิดความสงบสุข ดังน้ันคําวา ตรง ตองเขาใจใหถูกตองวา ตรงที่ยึดตามหลักธรรม มี
กฎเกณฑ ไมเ ปนสง่ิ ทีล่ ําเอยี ง จึงเรยี กวา ไมม สี ิง่ ทเี่ ปน อคติ ดงั นี้

1. ฉนั ทาคติ คอื ลําเอยี งเพราะความรกั ความรกั เชนนจ้ี ะทําใหเ กดิ การทจุ รติ ดว ยกาย
วาจาได เชน การรักนับถือกัน หรือ รักตัวเอง กลัวตาย กลัวอด กลัวหิว กลัวเขาไมรัก กลัวเขาไม
ชอบ กลัวเขาไมนับถือ ดังนั้นตองพิจารณาถึงความรักที่มีทั้งคุณและโทษ ถารักไมเปนจะทําใหเกิด
ความลําเอียง ซึ่งทําใหสามารถทําสิ่งที่ไมถูกตองตาง ๆ ไดงาย ดังนั้นความรักท่ีใชหลักธรรมจะทํา
ใหเปนความรักท่ีประกอบดวยเมตตา ปรารถนาใหมีความสุขใหพนทุกขก็จะนําพาคนท่ีรัก เชน
ลูกหลาน พ่ีนอง เพื่อนฝูง ลูกนอง ประชาชน ฯลฯ ไปในทางที่ถูกที่ควร ไมมอมเมาใหเกิดการหลง
ผิด หรอื ยดึ ติดในวัตถุนิยม หรือสรางความรูสกึ ใหเ กดิ ความแตกแยกในหมู ในสังคม เปน ตน

2. โทสาคติ คอื ลําเอยี งเพราะโกรธ ความโกรธเมอื่ เกดิ ขึน้ แลว ยอมแผดเผาจิตใจให
เศราหมอง ขาดการไตรตรองพินิจพิจารณา อารมณจะพุงไปแรงดวยอํานาจแหงความโกรธ ความ
โกรธจึงเปนภัยและเปนทุกข ทําลายความเที่ยงตรง ความตั้งม่ันอยูในธรรม ความโกรธมีสาเหตุ

83

เพราะรักสวนหน่ึงและชังสวนหน่ึง เปนคูกับฉันทาคติ หรือความรัก เชน ถาไมรัก ไมชอบ แคมีคน
ยิ้มใหก็จะโกรธ หาวาเขามาย้ิมเยาะ ถาจะใชความโกรธตองมีปญญาคือ เอาความโกรธไปแผดเผา
กิเลสของตน เชน การไมค บคนพาล เพราะคนพาลจะนาํ ไปสหู นทางแหง ความเส่อื มทั้งปวง

3. โมหาคติ คือ ลาํ เอียงเพราะเขลา เปน ความหลง ขาดปญ ญา เชอ่ื งา ย ไมพจิ ารณาให
รอบคอบ เชน หลงเช่ือ เพราะคิดวาเขาเปนคนที่นานับถือ เปนเพ่ือน เปนอาจารย เปนคนมีชื่อเสียง
เปนคนรวย เปนคนมียศตําแหนง ก็หลงทําตามโดยไมใชสติปญญาไตรตรองส่ิงท่ีเปนคุณหรือเปน
โทษ เชน คนไทยสวนหนึ่งหลงเช่ือคําพูดท่ีวา “คนรวยแลวไมโกง” โดยไมไดพิจารณาดวย
ขอเท็จจริง คนท่ีรวยแลวอาจมีความโลภมาก ย่ิงมีมากก็อยากไดมากยิ่งขึ้น ดังที่มีนักการเมืองคน
หน่ึงเลาใหฟงวา เขาติดอันดับคนรวยท่ีมีเงิน 500 ลานบาทในจํานวน 400 คนรวยในประเทศไทย
แตก็อยากไดตําแหนงทางการเมือง เมื่อไดเปนผูแทนราษฏรแลวก็รูสึกไมพอ อยากไดตําแหนง
รัฐมนตรีอีก เมื่อไดตําแหนงรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงฯ ก็รูสึกวามันเล็กไป อยากไดตําแหนง
รฐั มนตรี เม่อื ไดต ําแหนง รัฐมนตรี ก็ไมพอใจ เพราะไมไ ดก ระทรวงเกรด A เชนน้ี เปนตน

4. ภยาคติ ลําเอียงเพราะกลวั เกรงใจ ซง่ึ ความกลัวน้ี อาจจะกลัวภัยภายในตวั เราเอง
หรือกลัวภัยจากภายนอก เชน กลัววาตัวเองจะเสียประโยชน กลัวอิทธิพลจะถูกทําราย เหลาน้ีเปน
สาเหตุใหกระทําผิดไดและอาจถูกลงโทษดวยเพราะความกลัว หรือเกรงใจ ทําใหจิตใจไมยึดหลัก
ความตรงตามหลักธรรม

อยางไรก็ตามผูบริหารในทุกระดับตางก็เปนเพียงคนธรรมดา แตไดมีโอกาสท่ีดีอยูเหนือ
คนอื่น ๆ และทําใหเกิดความหลงโลกไดงาย จึงมีคติเตือนใจ เตือนสติ สําหรับผูบริหารคือ หลัก
โลกธรรม 8 เปนการครองชีวิตใหไมถลําพลาดไป พระพรหมคุณาภรณ กลาววา “บุคคลท่ีไม
ประมาทมัวเมาจนตกเปนทาสของโลกและชีวิต ที่เรียกวา หลงโลก เมาชีวิต ก็เพราะมีสติ รูจักมอง
รูจ กั พิจารณา รจู ักวางตัววางใจตอความจริงตาง ๆ อันมีเปนประจํากับโลกและชีวิตเปนคติธรรมดา”
ดังน้ันผูบริหารจึงควรมารูเทาทันโลกธรรม 8 ท่ีเปนของคูระหวางความช่ืนชม(อิฏฐารมณ) และ
ความขมข่นื (อนฏิ ฐารมณ) ซง่ึ มันจะมาคกู ันเสมอ เมื่อถงึ เวลาที่เหมาะเจาะ ดงั น้ี

ไดล าภ ยอ ม เส่ือมลาภ
ไดยศ ยอม เสือ่ มยศ
มีสรรเสริญ ยอ ม มนี ินทา
มีสขุ ยอ ม มีทุกข
โลกธรรม 8 เปน สัจจธรรมของโลกทเ่ี กิดข้นึ ไดก ับทุกคน แสดงใหเหน็ ถึงความไมค งทน
ถาวรของสง่ิ ทั้งหลาย ทไ่ี ดเ กิดข้ึน ต้งั อยแู ละดบั ไปในทีส่ ุด หากรูไ มเทาทนั เมอ่ื ไดฝายที่รื่นรมยดวย
ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ก็หลงระเริง มัวเมา ลืมตัวลืมตน ไมระมัดระวังตัว ระวังใจ ปลอยใหโลก

84

ธรรมเขาครอบงํากายใจ วันใดเกิดฝายไมนาร่ืนรมย เสื่อมจาก ลาภ ยศ ไดรับการนินทาและความ
ทุกข มาแทนท่ีก็จะลมลงไมทันต้ังตัว พบแตความโศกเศรา อาจถึงข้ันทําราย ทําลายทั้งตนเองและ
ผูอื่นได ฉะนั้นถาเรารูเทาทันโลกก็จะสามารถต้ังหลักกาย หลักใจและใชประโยชนจากโลกธรรม
ในการสรางสรรคส่ิงที่ดีงาม ทําคุณประโยชนใหปรากฏแกสวนรวมในภาวะที่เรียกวา ชวงเวลา
ขาข้ึน ในยามขาลง ก็ตั้งสติไดทัน วางตัว วางใจใหพอดี ถือวาความไมนาร่ืนรมยที่ขมขื่นทั้งหลาย
เปนบททดสอบ เปนบทเรียน หรือแบบฝกหัดในการพัฒนาตน เชนน้ีความทุกขโศกก็จะไมถาโถม
จนผูคนนน้ั รบั ไมไหว

เม่ือยอนกลับไปที่การทําหนาท่ีของผูพิพากษาอยางเท่ียงธรรม โดยตองไมมีอคติ 4
ประการ ในการลําเอียงเพราะการทุจริตรับสินบน หรือเพราะเกรงกลัวตออิทธิพล หรือเพราะ
เคารพนับถือกันมากอน ดังท่ีศาสตราจารยธานินทร กรัยวิเชียร (2548 : 70) ไดอัญเชิญพระบรม
ราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เน่ืองในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตรแกผูสําเร็จ
การศึกษาของสํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา เม่ือวันท่ี 6 พฤศจิกายน 2518 ทรง
กลา วถึง คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของนักกฎหมายทส่ี ามารถยดึ ถือเปนแบบอยางไดทุกยคุ ทุกสมยั ดงั น้ี

“... เมื่อกฎหมายของเราดีอยแู ลว จุดใหญทส่ี ําคัญทสี่ ดุ ในการธํารงรักษา
ความยตุ ธิ รรมในบา นเมือง จงึ ไดแ ก การสรา งนกั กฎหมายท่ดี ที จ่ี ะสามารถ
วิเคราะหและใชก ฎหมายไดต รงตามวัตถุประสงค ขาพเจา จึงปรารถนาอยา งยง่ิ
ที่จะใหท ุกคนสรา งตนใหเ ปน นักกฎหมายที่ดีทแ่ี ท โดยฝก ตนใหมีความกลา
ในอาชีพของนักกฎหมาย คอื กลาทีจ่ ะปฏบิ ัติการไปตามความถูกตอ งเทีย่ งตรง
ท้งั ตามกฎหมายและศลี ธรรม ไมปลอยใหภ ยาคติ คือ ความเอนเอียงไป
ดว ยความหวาดกลัวในอทิ ธิพลตาง ๆ เขาครอบงาํ สําหรับเปน กําลงั สงให
ทาํ งานไดดว ยความองอาจ มน่ั ใจและมุมานะ อีกประการหน่งึ ตองฝกใหมี
ความเคารพเชอ่ื มน่ั ในสจั ธรรม คอื ความถูกตอ งตามคลองธรรม
ตามความเปน จริงอยา งมน่ั คง ไมหวนั่ ไหวดว ยโลกธรรม ไมเห็นสิ่งอ่นื ใด
วา ยงิ่ ไปกวา ความเปนจริง สาํ หรบั ปองกันมิใหค วามอยุตธิ รรมและ
ความทุจริตเกดิ ขนึ้ นอกจากนนั้ ตอ งฝก ใหม ีความสุขมุ ถีถ่ วน
ในกระบวนการทํางานทุกขนั้ ตอน สาํ หรบั ประคับประคองปอ งกัน
มใิ หก ารงานบกพรอ งผิดพลาด แมใ นส่งิ เล็ก ๆ นอย ๆ
ทั้งน้ี เพื่อทุกคนจกั ไดเ ปนนกั กฎหมายท่ีแทจรงิ ”
ดังจะเห็นวา ไมวากฎหมายจะดีเพียงใดสิ่งสําคัญตองอาศัยคนใชกฎหมายและรักษา
กฎหมายที่มีคุณธรรม จึงจะทําใหกฎหมายน้ันถูกใชอยางไดผล ทั้งน้ีตองเร่ิมต้ังแตตนนํ้า คือ ตํารวจ

85

ซ่ึงเปนผูใชและผูรักษากฎหมายใหศักด์ิสิทธ์ิ อัยการในฐานะทนายของฝายรัฐจะตองทําหนาท่ีอยาง
เที่ยงธรรม จนถึงปลายนํ้าอยางผูพิพากษา ฉะน้ันผูที่เกี่ยวของทุกฝายในฐานะเปนท้ังผูใชและ
ผูรักษากฎหมาย สมควรอยางยิ่งท่ีจะไดนอมนําพระบรมราโชวาทมาปฏิบัติอยางจริงจัง เพื่อใหเกิด
ปกติสุขข้ึนในสังคม ทําใหคนดีเกิดความรูสึกที่อบอุนและมีความเช่ือม่ันตอกระบวนการยุติธรรม
วาจะไดร ับความเปนธรรม เพราะตํารวจ อัยการและผูพิพากษา จะตองเปนผูเที่ยงธรรม ยึดหลักของ
ความถูกตอ งชอบธรรม ทั้งดานกฎหมายและศีลธรรม

อํานาจ อิทธพิ ลและความขัดแยง ในผลประโยชน

สารานุกรมออนไลน (อํานาจ. ออนไลน. 2554) ไดนําคํานิยามเกี่ยวกับอํานาจ (Power)
ของนักสังคมวิทยา วา เปนความสามารถในการกําหนดใหผูอ่ืนเปน หรือกระทําตามความตองการ
ของตนเอง จะโดยสมัครใจหรือถูกบังคับก็ตาม ดังน้ันเราอาจจะเห็นคนบางคนมีอํานาจอยูใน
ตัวเองแมวาจะไมไดมีตําแหนงที่จะใหคุณใหโทษแกใคร นอกจากน้ี อํานาจยังหมายถึง โอกาสที่มี
อยูในความสัมพันธทางสังคม ที่ทําใหบางคนสามารถกระทําตามความตั้งใจ โดยมีอีกคําหนึ่งคือ
อํานาจหนาท่ี(Authority) เปนอํานาจท่ีไดมาตามตําแหนงหนาที่การงานอยางถูกตองตามกฎหมาย
จึงสามารถใชอาํ นาจเพอื่ การสง่ั การงานตา ง ๆ แกผ ใู ตบ ังคับบญั ชาใหท ําตามและสามารถท่ีจะใหคุณ
ใหโ ทษไดตามอาํ นาจหนา ที่ของตนเองทมี่ อี ยู

ฉะนั้นผูบริหารองคกรที่มีทั้งอํานาจ(Power) และอํานาจหนาท่ี(Authority) ยอมจะทํางาน
ของตนเองใหสําเร็จไดงายกวา ผูท่ีมีเพียงอํานาจอยางใดอยางหน่ึง แลวเพราะเหตุใด หรือจะมี
วิธีการใดที่ทําใหผูบริหาร หรือผูนําไดอํานาจดังกลาวมา ส่ิงสําคัญคือ ผูบริหารน้ันตองเปนผูมี
ความสามารถทั้งดานความรูและคุณธรรมความดีงามทั้งหลาย ท่ีสามารถทําใหพนักงานยอมรับ
ดวยใจ ดังที่ไดกลาวขางตนถึงหลักจริยธรรมของผูบริหาร ซึ่งมีพ้ืนฐานสําคัญจากหลักธรรมทาง
ศาสนาและจากดุษฎีนพิ นธ เรอ่ื งการศึกษาและพัฒนารปู แบบการบริหารกจิ การบา นเมืองท่ีดีสําหรับ
องคการบริหารสวนตําบล จังหวัดอุตรดิตถ ของก่ิงดาว จินดาเทวิน (2552 : 101)ไดแสดงใหเห็นถึง
การใชหลักธรรมในการสรางดุลยภาพเพ่ือใหไดคนและไดงาน หมายความวา ผูนําหรือผูบริหาร
องคกรนั้น ๆ สามารถท่ีจะชนะใจคน หรือพนักงานจนสามารถทําใหพนักงานยินดีท่ีจะทุมเท
แรงกายแรงใจในการทํางานใหดวยความเต็มใจจนเกิดผลสําเร็จของงาน ดังนั้นการท่ีจะไดทั้งคน
และไดท้งั งาน จงึ ตองรจู กั สรางดุลยภาพใหเ กดิ ข้นึ นนั่ คอื ดลุ ยภาพของหลกั กลั ยาณมติ ร ท่ีผนู าํ หรอื
ผูบริหารองคกรพึงปฏิบัติตอพนักงาน ซ่ึงจะแสดงถึงความเปนพรหมท่ีมีในตัวเองของผูบริหารตอ
พนักงาน ดวยความเมตตา กรุณา มุทิตา 3 ประการนี้ ยอมจะทําใหเปนที่รัก เพราะแสดงถึงความ
นารัก หรือปโย มีความเปนกันเอง มีน้ําใจ มีความเปนมิตร ไมถือยศ ถือตัวถือตน ขณะเดียวกันเม่ือ

86

เกิดสถานการณท ไี่ มปกติ มีปญหาเกดิ ขน้ึ ก็สามารถรกั ษาความถูกตอ งดว ยอเุ บกขา ไมล ําเอยี งเขาขา ง
ฝา ยใด ๆ แตปฏบิ ตั ไิ ปตามหลักการ รกั ษากฎระเบยี บอยา งเครงครดั ดวยความยตุ ิธรรม เชน นย้ี อมทํา
ใหพนักงานเกิดความเชื่อม่ันและมีความยําเกรงตอผูบริหาร ดังนั้นผูบริหารจึงเปนที่นาเคารพ หรือ
ครุของพนักงานในท่ีสุด นอกจากนี้การท่ีผูบริหารสามารถรักษาความถูกตองและยุติธรรมไวได
ยังสงผลตอขวัญ กําลังใจและความภาคภูมิใจในการปฏิบัติหนาท่ีของพนักงานอีกดวย ดังภาพ
ตอ ไปนี้

พรหมวหิ าร 4

1. เมตตา 2. กรุณา 3. มทุ ิตา 4. อเุ บกขา

ผูนาํ หรอื 1. ปโย 2. ครุ
ผูบริหาร นารกั นาเคารพ

พนกั งาน ไดคน ไดง าน

ลูกคา หลกั กัลยาณมติ ร 7

3.ภาวนีโย 4.วตั ตา 5.วจนกั ขโม 6.คัมภรี ัญจะ 7.โน จฏั ฐาเน
นา เจริญใจ รจู กั พูดให อดทนตอ กะถงั กัตตา นโิ ยชะเย
เหตุผล ถอ ยคาํ แถลงเรอ่ื ง ไมชักนํา
ในทางเสอ่ื ม
ลํ้าลึก

ภาพท่ี 8 ดุลยภาพของหลักกลั ยาณมิตร
ทีม่ า : ดัดแปลงจากดษุ ฎนี ิพนธ ของ ก่งิ ดาว จินดาเทวิน, 2552 : 101

87

นอกจากพรหมวิหาร 4 ซึ่งเชื่อมตอไปถึงหลักกัลยาณมิตร 7 ที่ทําใหผูบริหารเปนท่ีรัก
และทเี่ คารพของพนกั งานแลว หลักกัลยาณมิตรอกี 5 ขอ อนั ไดแก 1) ภาวนีโย หมายถึง ความเจริญ
ใจ คือ ผูบริหารเปนผูมีวิสัยทัศนในการบริหารองคกร สามารถเปนแบบอยาง ท่ีมีทั้งความดีและ
ความสามารถ ทาํ ใหพนกั งานหรือผรู ว มงาน มีความเชื่อม่ัน มีความภูมิใจในตัวผูนําหรือผูบริหาร วา
เปนผูท่ีนาติดตาม นาเอาเปนเยี่ยงอยาง ขอนี้ชวยใหเกิดศรัทธาและเกิดความรวมมือดวยดี เพราะมี
ความเช่ือมั่นในผูบริหารน่ันเอง 2) วัตตา หมายถึง ความเปนผูรูจักพูด คือ ผูบริหารมีความสามารถ
ในการส่ือสาร ทําความเขาใจไดอยางกระจางชัด พูดไดเหมาะกับสถานการณ เชน รูวาใน
สถานการณไหนควรพูด กับใคร พูดอะไร อยา งไร นอกจากการเปน นักสอ่ื สารทด่ี แี ลว ตองเอาใจใส
ตอการส่ือสารกับทุกฝาย โดยเปดโอกาสใหทุกฝายไดพูดและรับฟงอยางใจกวาง 3) วจนักขโม
หมายถึง รูจักฟง คือ มีความอดทนตอการฟงถอยคําผูอื่น ตองยอมรับฟงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ
ของพนักงาน เพ่ือนรวมงาน ดังนั้นผูนํา หรือผูบริหารท่ีดี จึงตองมีความใจเย็นและรูจักฟงอยาง
หนักแนน เพราะการรูจักรับฟงเปนสวนหน่ึงของการที่จะสื่อสารใหไดผล ตองรูจักเปดใจกวาง
4) คัมภรี ญั จะ กะถัง กตั ตา หมายถึง การรูจกั แถลงเร่อื งราวตาง ๆ อยา งลึกซ้ึง คือ มีความสามารถใน
การอธิบายเรื่องยากใหฟงเขาใจไดงาย ใหความกระจางกับพนักงาน ผูรวมงานและลูกคา 5) โน
จัฏฐาเน นิโยชะเย หมายถึง การไมชักนําไปในเรื่องไรสาระท่ีไมเกี่ยวกับเปาหมาย ขอน้ีเปนการ
กระทําเพ่ือการพัฒนาตนเองของผูนํา หรือผูบริหาร ใหมีความกาวหนา ทันสมัย ท้ังเรื่องงานและ
พฤตกิ รรมสวนตวั นอกจากการพัฒนาตนเองแลวยังพรอมท่ีจะสงเสริมใหมีการพัฒนาผูอ่ืนดวย ซ่ึง
การพฒั นาในขอ สดุ ทายนีจ้ ะไปสนับสนนุ หลกั กัลยาณมติ รอกี 6 ขอ ดังทไ่ี ดก ลา วมาแลวขางตน

หากผูบริหารสามารถทีจ่ ะสรางดลุ ยภาพตามหลักกัลยาณมติ ร จนกลายเปนภาพลักษณท่ีดี
ของผูบริหาร ยอมจะนําไปสูการส่ังสมบารมีและความศรัทธาใหเกิดแกตนเองได ทําใหเปน
ผูบริหารที่มีอํานาจและมีอิทธิพล(Influence) ท่ีสามารถชักจูงโนมนาวผูอ่ืน ใหทําตามในส่ิงที่ตน
ปรารถนาไดดวยความเต็มใจ และเมื่อมีอํานาจหนาท่ี(Authority) อีกตัวหน่ึง การเปนผูบริหารของ
ผนู ้ันยอ มสมบรู ณแ บบของผูมีอํานาจและสามารถใชอํานาจไดเตม็ ท่ี อยางไมมีใครตานทานได

อยางไรก็ตามภายใตการบริหารงานของทุกองคกร มักมีความขัดแยงเกิดขึ้นไดเสมอ
โดยเฉพาะอยางยิ่งถาผลประโยชนนั้นไมสามารถจัดสรรใหเกิดความพอใจแกทุกฝายไดอยางลงตัว
กจ็ ะนาํ ไปสกู ารทะเลาะเบาะแวง ความไมล งรอย หรอื ความขัดแยง ในผลประโยชน

คอฟฟ คุกส และ ฮันเซเคอร (Coffey, Cook, and Hunsaker. 1994 : 112) ใหความหมาย
ความขัดแยง (Conflict) คือ บุคคลสองฝายหรือมากกวาสองฝายมีความเห็นที่ไมตรงกัน หรือไมลง
รอยกัน (disagreement between two or more parties) การท่ีคนสองคน หรือกลุมคนในองคกร หรือ
กลมุ คนระหวา งองคก รมคี วามเห็นท่ีแตกตา งกันตอเหตุการณ หรือสถานการณหนึ่ง ๆ ทําใหเกิดการ

88

กระทาํ เพ่ือไปสูเปาหมายทแี่ ตกตางกนั ซึ่งระหวางเหตกุ ารณดงั กลา วน้ีสามารถที่จะสงผลใหเกิดการ
ขัดแยงข้นึ ได เชน สถานการณนาํ้ ทวมในหลายจังหวดั ของประเทศไทย ชาวบา นฝงหน่ึงตองการให
เปดฝายไปตามธรรมชาติ แตอีกฝงหน่ึงไมยอม สงผลใหน้ําทวมท่ีอยูอาศัยของชาวบานอีกฝงหนึ่ง
จนเกิดการทะเลาะเบาะแวงกันขึ้น อีกฝายก็อางวารอขาวในนาที่จะสามารถเก็บเกี่ยวไดอีก 6 เดือน
ใหอีกฝายอดทนหนอย มิฉะน้ันนาขาวจะเสียหายหมด ฝายท่ีนํ้าทวมก็อางความเดือดรอนท่ีไดรับ
เปนแรมเดือน ตองยายข้ึนมาอาศัยอยูบนถนนไดรับความลําบากเดือดรอน ดังนั้นความขัดแยงที่
เกดิ ขนึ้ จึงกลายเปน ปญ หาของชาวบานสองฝงทปี่ ระสบเคราะหกรรมจากพบิ ตั ิภัยนํ้าทวมแลวยังตอง
มาทะเลาะเบาะแวงกันอีก ความขัดแยงจึงมักถูกมองวาเปนสิ่งไมดี แตในความเปนจริงมีบางกรณีที่
ความขดั แยงก็เปนตัวกระตุนใหเกิดวิธีแกปญหาอยางสรางสรรคได จึงตองพิจารณาความขัดแยงท้ัง
เชิงบวกและลบ ในที่สุดผูวาราชการจังหวัดพิจิตร พื้นที่ที่ประสบปญหาน้ําทวมดังกลาวตองลงมา
ไกลเกล่ียทําขอตกลงระหวางชาวบานสองฝง โดยยอมเปดฝายระบายนํ้าไปอีกฝงหน่ึง เพ่ือบรรเทา
ความเดือดรอนแกชาวบานที่น้ําทวม แมวาการเปดฝายจะทําใหนาขาวเสียหาย แตจําเปนท่ีจะตอง
แกป ญหาที่ทาํ ใหเ กดิ ปญ หาหรอื ความเสยี หายนอ ยท่ีสุด ผวู าฯกลา วใหส ัมภาษณเชนนน้ั

จรยิ ธรรมกบั ความขัดแยง

แวน สเลกส (Van Slyke. 1999 : 94) นิยามความขัดแยง หมายถึง เปนการแขงขัน
ระหวางฝายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งตางฝายตางมีความตองการเปาหมาย หรือความคิดที่เขากัน
ไมได ทําใหตกลงกันไมไดทั้งน้ีข้ึนอยูกับ 3 ปจจัยไดแก การแขงขันกัน (Competition) การท่ีตอง
พงึ่ พากันและกัน (Interdependence) และการรับรูทเี่ ขา กนั ไมไ ด (Perceived Incompatibility)

การดําเนินกิจกรรมในหนวยตาง ๆ ขององคกร หรือสถาบันใด ๆ ซ่ึงเปนท่ีรวมของความ
ตอ งการหรอื ความปรารถนาของคนในที่น้ัน ยอมเปนธรรมดาอยูเองที่จะเกิดความคิดเห็นท่ีแตกตาง
หรือไมเ หน็ ดวยเหมือนกันทั้งหมด ดว ยพ้นื ฐานของความรู ความเช่อื ประสบการณ คานยิ มของกลุม
คนหรือวัฒนธรรมในองคกรน้ัน โดยเฉพาะอยางย่ิงถามีสิ่งที่กระทบตอผลประโยชนก็ยอมจะเกิด
ความขัดแยงขึ้น ดังนั้นจึงเปนหนาที่ของผูบริหาร หรือผูนําที่จะตองทําหนาท่ีในการแกปญหาความ
ขัดแยง ถามองโดยรวม ๆ เราจะรูสึกวาความขัดแยงเปนเร่ืองไมดีเพราะกอใหเกิดความแตกแยก
ความรูสึกที่เปนปฏิปกษตอกันและโอกาสท่ีจะนําไปสูการทําลายกัน แตถาไตรตรองใหลึกซ้ึงเราก็
ยังสามารถเห็นขอดีของความขัดแยง โดยใชวิกฤตน้ันแปรเปล่ียนใหเปนโอกาส โดยหาจุดรวมท่ี
ยอมรบั ไดข องฝา ยตาง ๆ ในการสรา งสรรคสงิ่ ทีเ่ ปนประโยชนแ กบ คุ คลและองคก ร ซึง่ เราจะตอ ง

89

เขาใจถึงสาเหตุแหงปญหาน้ันกอนแลวจึงจะคิดหาหนทางในการแกไขไดอยางถูกจุด ตามท่ี
จินตนา บุญบงการ (2551 : 134-137) และกุญชรี คาขาย (2554. ออนไลน) ไดจําแนกประเภทของ
ความขดั แยงและการแกไขความขดั แยงไว สามารถอธบิ ายโดยสังเขปไดดังตอไปนี้

ประเภทความขดั แยง สามารถจําแนกไดดงั น้ี
1. ความขัดแยง ทางโครงสราง (Structural) เปน ความคดิ เห็นท่แี ตกตางกนั เกย่ี วกับการ
บริหารโครงสรางขององคกรในการบริหารจัดการ การกําหนดเปาหมาย การจัดหาและการจัดสรร
ทรัพยากร เชน การส่ังงาน การอํานวยความสะดวก การมอบหมายงานและอํานาจหนาที่ การให
ผลตอบแทน การใหคุณใหโทษ ซึ่งคนในแผนกตาง ๆ อาจมีความคิดเห็นที่ไมเหมือนกันและเปน
สาเหตกุ อ ใหเกิดความขัดแยงตอ การกาํ หนดโครงสรา งการบริหารในองคก ารขน้ึ ได
2. ความขดั แยง ภายในตวั บคุ คล (Intrapersonal) เปนธรรมดาทบี่ ุคคลจะเกิดความรูส ึก
ขัดแยงทางความคดิ การตัดสินใจและความเชอื่ ในการกระทาํ ของตนเอง โดยเฉพาะอยางย่ิงถาไดรับ
ความคิดเห็นจากบุคคลอื่นไมเหมือนตนเอง เชน คําชมเชย หรือคําตําหนิ ก็สามารถที่จะเกิดความ
ขัดแยง ไดว าตนเองถูกตอง หรือมีขอ ผดิ พลาด บกพรอ งจริงตามทคี่ นอ่ืนพดู หรือไม เปน ตน
3. ความขดั แยงระหวางบุคคล (Interpersonal) เพราะมีความไมล งรอยกันตามความคิด
ความเชื่อและประสบการณที่แตกตางกันของบุคคล บางคนไมชอบพฤติกรรมของเพ่ือนรวมงาน
บางคนที่แสดงออกวา เปนคนดีแตพูด เจาความคิดเจาความเห็น ใหลงมือปฏิบัติจริงไมสามารถทํา
ได หรือบางคนมองคนในแงราย จะคิด จะพูด จะทําก็มองไปในทางรายเสียหมดสิ้น หรือบางคน
เห็นแกตัว ทําอะไรเอาดีเขาตัวเอารายใหคนอื่น เปนตน หรือการเลนพรรคเลนพวกของผูบริหารใน
ลักษณะเด็กของใครก็จะไดรับการสนับสนุนสงเสริม พฤติกรรมเหลานี้ทําใหเกิดความขัดแยง
ระหวางบุคคลและเกดิ ผลกระทบระดับองคก รได
ความขัดแยงท่ีเกิดขึ้นระหวางบุคคลในองคกร ดวยเงื่อนไขที่เปนสาเหตุแตกตางกันไป
เปนหนาท่ีของผูบริหารที่จะเลือกใชวิธีการที่เหมาะสมในการแกไขขอขัดแยง ซึ่งไมมีคําตอบ
สําเร็จรูปวาวิธีใดจะสามารถแกปญหาความขัดแยงไดอยางสมบูรณ เชน การแกไขดวยการตอสู
แขงขันกับผูที่ขัดแยงดวย การรวมมือกับผูท่ีขัดแยง การประนีประนอม การหลีกเล่ียง การยอมรับ
ฝายตรงขาม ท้ังนี้ตองพิจารณาระดับความรุนแรงของความขัดแยงท่ีจะสงผลเสียหายมากนอย
เพียงใด ใครบางที่จะไดรับผลกระทบ ระยะเวลาท่ีจะสงผลกระทบรวดเร็วเพียงใด ผลเสียหายมี
เวลานานตอ เนื่องเพียงใด นอกจากน้ีตองคํานึงถึงพละกําลังของคนที่ขัดแยงดวยวาเปนผูมีอํานาจใน
ระดับเดียวกันหรือไม จึงจะเลือกใชวิธีการแกไขขอขัดแยงไดเหมาะสม เพื่อใหไดผลสําเร็จตอการ
แกไ ขปญหาความขดั แยงนั้น

90

วธิ ีการแกไ ขขอขัดแยง ทผี่ บู ริหารสามารถเลอื กใชตามความเหมาะสม ดังนี้
1. การยอมรบั ฝายตรงขาม (Accommodating) เปนการยอมรับเอาขอโตแยงของอีกฝา ย
หนึ่งมาใชเปนขอแกไข เม่ือเห็นวาฝายตนผิดพลาด ขอโตแยงของอีกฝายหน่ึงถูกตองกวา การ
เลือกใชวิธีนี้เพื่อลดปริมาณความขัดแยง ดวยเชื่อวาการนําความขัดแยงมาพูดจะทําลาย
ความสัมพันธระหวางกันจึงใชวิธีการในลักษณะของการผอนปรน ซ่ึงมีพฤติกรรมเปรียบเทียบได
กบั ลกู หมี
2. การประนปี ระนอม (Compromising) เปนอีกวิธหี นงึ่ เมอ่ื เห็นความขัดแยงกอใหเ กิด
ความชะงักงันของการทํางาน การพัฒนาภายในองคกร ถาประนีประนอมไดจะเปนการดีและคู
ขัดแยงมีอํานาจพอ ๆ กัน แตมีจุดมุงหมายเหมือนกัน ดังนั้นจึงใชวิธีนี้เพื่อแลกผลประโยชนกัน ตาง
ฝายตางไดบางสวนและยอมเสียไปบางสวน ไมมีฝายใดไดเต็มท้ังคู แมวาสวนที่เสียไปอาจเสียดวย
ความไมเต็มใจ แตตางฝายตางพยายามประสานผลประโยชนกัน วิธีการประนีประนอมมีขอดีคือ
แกความขัดแยง ไดเร็วและยังคงรักษาความสมั พันธระหวางกันไวไ ด แตก ม็ ีขอ เสยี คือ ผลไดจะลดลง
และหากใชว ิธีน้บี อยจะทาํ ใหเ กิดการเลน เกม เชน เกมการเรยี กรองมาก ๆ เพอื่ ใหเกิดการตอรอง
เปนพฤตกิ รรมทเี่ ปรยี บเทยี บไดก ับสุนัขจ้งิ จอก
3. การรว มมือกบั ผูที่ขัดแยง (Collaborating) เปนวิธีทใ่ี ชใ นกรณีท่ีท้งั สองฝายมขี อโตแยง
ที่มีน้ําหนักท้ังคู ไมสามารถประนีประนอมได ตองรวมมือกันหาขอยุติที่รวมเอาขอโตแยงท้ังสอง
ฝาย เปน ไปเพอื่ การแกปญ หาทที่ ั้งสองฝายจะบรรลเุ ปา หมายของตนและยงั คงความสัมพันธไ วไดใ น
ลักษณะท่ีเรียกวา ชนะ-ชนะ ท้ังคูน้ันเอง ขอดีของวิธีน้ีคือ คูเจรจาท้ังสองฝายตองมีความกลา
แสดงออกและตระหนกั ถึงความเปน มิตรทด่ี ตี อกนั ขอเสียคอื ตอ งใชเวลาและความพยายามมากกวา
วธิ อี นื่ ๆ เปรยี บเทยี บไดกับพฤตกิ รรมของนกฮกู
4. การหลีกเลีย่ ง(Avoiding) ใชเม่ือประเด็นท่ีขดั แยงเลก็ นอ ยเกนิ ไป หรอื เพื่อรอเวลาให
อีกฝายหนึ่งเย็นลง หรือใหผูอ่ืนเขามาแกไขจะดีกวา เปนลักษณะของการเล่ียงปญหาท่ีนําไปสูความ
ขดั แยง หรอื หลกี คนท่มี ีแนวโนมจะขัดแยง ขอดีของวิธีนี้คือ สามารถรักษาความสัมพันธของบุคคล
ไวไ ด แตขอเสียคือ ปญหาไมไดถูกแกไขและอาจจะทําใหสถานการณแยลงกวาเดิมได เปรียบเทียบ
ไดกบั พฤตกิ รรมของเตา
5. การแกไขตอสู หรือแขงขนั กบั ผูข ัดแยง วิธนี ้ีจะถกู ใชใ นกรณที ่ีจาํ เปน ตองตัดสินใจให
รวดเร็วและมีผลกระทบตอผลประโยชนขององคกรรุนแรง เชน พนักงานไมเห็นดวยกับนโยบาย
ขององคกร ผูบริหารก็จะมีความพยายามใชอํานาจท่ีเหนือกวาใหคนอื่นยอมรับ เปนการแกไขขอ
ขดั แยงแบบแพ-ชนะ กลาวไดว า ผูท่ใี ชว ิธีน้ีจะใหความเห็นสวนตนสําคัญมากและความสัมพันธกับ
คนอ่ืนสําคัญนอยกวา ซง่ึ วธิ ีน้ีอาจจะทาํ ใหเ กิดความขัดแยงเพม่ิ ขน้ึ ได เพราะมีการแสดงออกใหเห็น

91

โดยโจมตีความคิดของคนอื่น ใชความชํานาญ ตําแหนงหรือประสบการณท่ีตนมีมากกวาขมผูอ่ืน
สําหรับขอดีของวิธีน้ีคือ เหมาะสําหรับการตัดสินใจในองคกรที่ยอมรับวา ผูบริหารเปนฝายถูกและ
การบังคับไดผลมากกวาวิธีอ่ืน สวนขอเสีย คือ ถาใชวิธีนี้มากเกินไปจะทําใหเกิดความรูสึกที่เปน
ปฏปิ ก ษตอคนผนู นั้ ซึ่งเปนพฤติกรรมทเี่ ปรียบเทยี บไดก ับฉลาม

ดังน้ันการแกไขขอโตแยงของผูบริหารท่ีจะตองมีการเจรจาทําความเขาใจถึงสาเหตุของ
ปญหาตาง ๆ จากทุกฝายดวยใจท่ีเปดกวาง ยอมรับฟงอยางไมมีอคติและมีความมุงหมายเพ่ือการ
แกไขปญหาใหเกดิ ประโยชนส ูงสุดแกทกุ ฝาย โดยคํานงึ ถงึ หลกั กฎหมาย หลักสิทธมิ นุษยชน ความ
เปนธรรม จึงตองตระหนักถึงความสําคัญของจริยธรรมผูบริหารเพ่ือหาขอประพฤติปฏิบัติท่ีถูกตอง
เหมาะสมในการแกไขขอขัดแยงตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นภายในและภายนอกองคกร ซ่ึงกระทบตอผูมี
สวนไดสวนเสียท่ีดีท่ีสุด ดังที่ดูบริน (Dubrin. 1990 : 207) ไดใหขอเสนอแนะการแกปญหาความ
ขัดแยงท่ีนาสนใจดังนี้ คือ การเจรจาตอรองตองไมบีบบังคับอีกฝายใหจนมุม ตองเหลือชองทางไว
ใหตอรองบาง การแกไขขอขัดแยงจะเปนผลไดตอเม่ือการเรียกรองนั้นสมเหตุสมผล ซึ่งเปนเคร่ือง
แสดงถึงความจรงิ ใจในการแกปญหา หากเรียกรองจนอีกฝายไมสามารถทําไดก็เหมือนการจงใจให
เกิดเปนปญหามากกวาท่ีจะตองการแกปญหา นอกจากน้ีกรอบความคิดตองเปนแงบวก ไมมีอคติ
หรอื การมองกันในแงร า ย มิฉะนั้นจะทําใหการหาแนวทางการแกป ญหายากยง่ิ ขน้ึ ขณะเดยี วกนั ไดม ี
ผลของการศึกษาพบวา การเจรจาที่ไดผลจะตองคอย ๆ รุกจากเร่ืองเล็กใหไดผลกอนและขยับไป
เรื่องใหญ และเพื่อใหมีความชัดเจนในผลการเจรจาจะตองมีการกําหนดเสนตายในการพิจารณา
ตัดสินใจของแตละฝายวาตองการหรือจะลงมือกระทําอยางไรตอไป สิ่งสําคัญอีกสองประการ คือ
การควบคุมอารมณของผูเจรจาภายใตแรงกดดันและการรักษาหนาของคูขัดแยงไมใหเสียหนาขณะ
มกี ารเจรจาหากเราใชวธิ แี บบชนะ-ชนะ

สรุป

ผูบริหารเปนผูท่ีสามารถใชคนอ่ืนใหทําสิ่งตาง ๆ แทนตนเองได ดวยอํานาจหนาที่ที่มีอยู
ตามตําแหนงท่ีไดรับ การเปนผูบริหารที่ดีและประสบผลสําเร็จจะตองมีคุณสมบัติพ้ืนฐาน เชน มี
ความมุงม่ันในการทํางาน เปนแบบอยางท่ีดี สามารถเผชิญปญญาและเช่ือถือได หลักจริยธรรม
สาํ หรับผูบริหารจะเปน การสงั่ สมอํานาจบารมี เชน หลักสัปปุริสธรรม 7 เปนธรรมของคนดี เม่ืออยู
ในบทบาทของผูบริหารก็จะเปนผูบริหารที่ดี ทําใหความสัมพันธและความเปนอยูของคนใน
องคกรเกิดสันติสุข หลักพรหมวิหาร 4 เปนธรรมะสําหรับผูเปนใหญท่ีมีเมตตา กรุณา มุทิตาและ
อุเบกขา จะทําใหเปนท่ีรักและเคารพของผูใตบังคับบัญชา หลักทศพิศราชธรรม 10 เปนหลักธรรม
ของผูเปนใหญท่ีสามารถสรางพลังแหงศรัทธาจากผูคนในวงกวางและมรรค 8 เปนทางสายกลางท่ี

92

ทําใหสามารถดับทุกขไดและสิ่งสําคัญผูบริหารจะตองเปนผูที่แยกแยะถูกผิดไดอยางไมมีอคติ คือ
ไมลําเอียงเพราะรัก โกรธ เช่ืองาย กลัว หรือเกรงใจ นอกจากน้ีผูบริหารยังตองเขาใจและเตรียมใจ
หลักโลกธรรม 8 ซึ่งเปนสัจจธรรมของโลกวา มีสุข มีทุกข มีสรรเสริญ มีนินทา ไดลาภ เสื่อมลาภ
ไดยศ เส่ือมยศ เปน ของคูกนั ทจ่ี ะตองประสบอยา งแนน อน ดงั นั้นดวยบทบาทและอํานาจหนาที่ของ
ผูบริหารยอมจะมีท้ังการใชอํานาจ อิทธิพลเพื่อผลประโยชนและเปนสาเหตุใหเกิดความขัดแยงเมื่อ
ความเห็นไมตรงกัน หรือผลประโยชนไมลงตัว จึงตองมีจริยธรรมในการจัดการกับความขัดแยง
เชน ใชก ารประนีประนอม การรว มมือ การหลกี เลยี่ ง การแกไขตอสู การยอมรับฝายตรงขาม

กรณีศึกษา

“เสริมสขุ -เปปซี่ กรณศี กึ ษาทนุ ขามชาติ 'ฮบุ '”
“วิทวัส รุงเรืองผล” อธิบายกรณีการแตกหักระหวางเสริมสุขกับเปปซี่ หลังการแยกทาง
กันเดินทําใหท้ังคูตองทํางานหนักและขับเคี่ยวกันมากข้ึนกวาเดิม เพื่อรักษาความเปนเบอร 1 ใน
ตลาดน้ําดําในไทยเอาไวไมใหคูแขงอยางโคคา โคลา หรือ อาเจ บ๊ิก โคลา แบรนดนองใหมมาแรง
จากเปรู ทํายอดขายแซงหนา ในระยะ 2-3 ปจากนี้ ท้ังคมู โี อกาสจะเสยี ทา ใหก ับ "คูแขง " เนอ่ื งจากจะ
มรี ะยะเวลาเพียง 1 ปใ นการจดั ทําแผนธุรกิจในอนาคตท่ีจะเร่ิมนับหนึ่งต้ังแตวันที่ 1 เม.ย. 2555 เปน
ตนไป เปนไปตามเงื่อนไขการบอกเลิกสัญญา Exclusive Bottling Appointment Agreement-EBA
(การจําหนายวัตถุดิบหรือสวนผสมที่ใชในการผลิตนํ้าอัดลมหรือหัวน้ําเช้ือกับกลุมบริษัทเปปซ่ี โค
และแผนธุรกิจอื่น ๆ) เปปซี่ถือวามีแบรนดนํ้าดําที่แข็งแกรง โดยประเทศไทยเปน 1 ใน 2 ประเทศ
ท่ัวโลกท่ียอดขายเปปซ่ีแซงหนาโคคา โคลา จึงไมนาจะมีปญหา หากจะเร่ิมดําเนินการเอง เพราะ
เปปซี่ โคเองก็มีบริษัทหลายธุรกิจที่ดําเนินกิจการในเมืองไทยอยูแลว ไมวาจะเปนธุรกิจประเภท
เคร่อื งดื่ม อาหารและฟาสตฟดู ภายใตการดําเนินงานของบริษัทแมเดียวกัน ตัวอยางสินคาท่ีเรารูจัก
เปนอยางดคี ือ Frito-Lay บริษทั ทท่ี าํ ธุรกจิ ดาน Snacks ภายใตแ บรนดต า ง ๆ เชน ay Munchos
เปนตน ดังน้ันในชวงระยะแรก ๆ เปปซ่ีคงจะใชพันธมิตร หรือชองทางจากบริษัทในเครือเดียวกัน
เขามาชวย หรืออาจจะหาพันธมิตรรายใหมเขามาเสริมทัพ โดยเฉพาะบริษัทที่มีความเช่ียวชาญ
ทางดานโลจิสติกสในประเทศอยางดีทแฮลม หรือไมก็โอสถสภาและระหวางนี้เปปซี่ก็จะเรียนรู
และลงมือทําเองท้ังหมด ตามสไตลของบริษัทขามชาติสวนใหญ ที่ถึงระดับหน่ึงก็จะดึงเอาธุรกิจ
กลับเขามาบริหารจัดการเองดวยเทคโนโลยี
“ระบบการคาเปนธุรกิจคาปลีกสมัยใหม หรือ Modern Trade จากเดิมท่ีเคยเปน
Traditional Trade เวลาทีฝ่ รง่ั คุยกนั ก็เอาระดับ Head มาคุยกนั เลย วา กนั ในระดบั Regional

93

สามารถดึงขอ มลู จากท่ัวโลกมาดไู ดจึงไมจะเปนตองพึ่งบรษิ ัทลกู ในตา งประเทศเหมอื นเม่ือกอ น
ทิศทางของบรษิ ทั ทีเ่ ปน Global Brand ทง้ั หลายกจ็ ะดงึ งานทกุ อยา งมาดําเนนิ การเองทั้งหมด”

ฝายเสริมสุข นับวาเปนบริษัทที่มีความแข็งแกรงในเร่ืองการกระจายสินคาภายใตระบบ
โลจิสติกสท่ีดีมากที่สุดบริษัทหนึ่งในไทย อาทิ การมีขอมูลตางๆ ของรานคากวา 300,000 แหงใน
ไทย ไลไปต้ังแตรานคาสง คาปลีก รานอาหาร หรือสถานบันเทิงตางๆ มีโรงงานท้ังหมด 6 แหง มี
คลังสินคา 47 แหง คลังสินคายอย 9 แหง รถขาย 1,500 คัน ครอบคลุมท่ัวประเทศ มีฝายขายท่ีมี
ความแข็งแกรงท่ีเปปซี่เองก็รูดีวาไมอาจจะตอกรกับเสริมสุขไดมากนัก แตทายที่สุดตางฝายก็ตอง
ใสความพยายาม เพิ่มเสริมจุดแข็งเติมเต็มจุดออน แมเปปซี่จะไมขายหัวน้ําเชื้อใหกับเสริมสุข แตก็
มั่นใจวาชวงนจ้ี ะมหี ลายๆ บริษทั อยากจะเขามารวมเปน พันธมติ รกบั เสริมสุข ซึ่งในอนาคตก็คงตอง
มองไปท่ีบริษัทขา มชาติ ซ่งึ ไมไ ดมแี คแ บรนดเ ปป ซ่ี, โคคา โคลา หรือ อาเจ บก๊ิ โคคา เทา นน้ั

ในฝงอเมริกาเองกม็ อี ีกหลายๆ แบรนดท มี่ ชี อ่ื เสยี งเพียงแตคนไทยไมร ูจกั เพราะไมเ คยเขา
มาทําตลาดในไทย เชน Dr.Pepper กเ็ ปน อกี แบรนดท ่ีมาแรงในขณะน้ี

สําหรับธุรกิจเคร่ืองดื่มท่ีไมใชน้ําอัดลมของเสริมสุข อาทิ นํ้าด่ืมและโซดาคริสตัล ก็มี
แผนขยายกําลังการผลิตเพ่ิมขึ้นอีก รวมท้ังการขยายตลาดเคร่ืองด่ืมท่ีไมใชนํ้าอัดลมอ่ืนๆ ที่ประสบ
ความสําเร็จอยูแลว เชน นํ้าผลไม กาแฟ หรือเคร่ืองดื่ม Functional Drink อื่นๆ จากกระแสการ
ใสใจสุขภาพของผูบริโภคมากขึ้น ทําใหเสริมสุขเห็นโอกาสและชองทางจากตลาดที่มีศักยภาพใน
การเตบิ โตสูงมากเมอ่ื เทยี บกบั ตลาดนํ้าอัดลมท่ี "ฐานกวา ง แตโตชา"

ขณะท่ีธันยวัชร ไชยตระกูลชัย ผูเชี่ยวชาญดานการตลาดใหความเห็นวา ศึกระหวาง
เสริมสุขกับเปปซ่ี นอกจากจะเปนเกมการตอรองทางธุรกิจอยางหนึ่งท่ีไมมีใครสามารถยอมใหใคร
ได เขายงั มองเปน เร่อื งของ “ศกั ดิศ์ รี” ระหวางนักลงทนุ ไทยกับทุนขา มชาติ นค่ี ือเกมการตอรองทาง
ธุรกิจ ท่ีผานมาเปปซี่เองก็มีเงื่อนไขตางๆ ที่เปนการบีบฝายผูบริหารเสริมสุข อาทิสิ่งท่ีเสริมสุขเห็น
วาเปนสัญญาท่ีไมเปนธรรมหลายอยาง อาทิ การปรับเปลี่ยนสูตรคํานวณราคาคาหัวนํ้าเช้ือ การ
เปลี่ยนจากสัญญาท่ีไมไดมีกําหนดเวลาเปนสัญญาท่ีมีกําหนดเวลา 7 ป และสามารถตอออกไปได
อกี 5 ป การกาํ หนดระยะเวลาลว งหนา กรณคี ูสัญญาฝายใดฝา ยหนงึ่ ตอ งการยกเลกิ สัญญา

การทเ่ี ปปซี่บอกวา เสรมิ สขุ ไมสามารถผลิตหรอื จาํ หนา ยเครอื่ งดมื่ ท่ไี มใชน า้ํ อัดลมภายใต
เง่ือนไขบางประการที่เขมงวด และไมสามารถผลิตและจําหนายน้ําอัดลมไดเลย ซ่ึงหากดําเนินการ
ทางเปปซี่จะถือวาเปนลิขสิทธ์ิของทางเปปซ่ีเทานั้น มีสิทธิเลิกสัญญาและเรียกคาเสียหายจากการ
เปลี่ยนอํานาจควบคุมในบริษัท โดยเสริมสุขรองขอใหมีการแกไขแลวแตทายท่ีสุดก็ลงเอยดวยการ
แยกทางกนั แมเ ปปซ่อี าจจะมองวาเสรมิ สขุ คงไมก ลา บอกเลกิ สัญญาแน


Click to View FlipBook Version