The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จริยธรรมทางธุรกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by min51, 2019-12-23 21:58:41

จริยธรรมทางธุรกิจ

จริยธรรมทางธุรกิจ

144

1. คณุ ลักษณะของคณุ ธรรมจริยธรรมที่เหมอื นกนั หรอื รวมกันของกลมุ ประเทศ
1.1 กลมุ ประเทศในเอเชยี มคี ณุ ลกั ษณะรว ม คือ
1) ความขยนั อดทน ทํางานหนักและรักการศึกษาหาความรู ไดแก คนเกาหลี

ไตหวนั เวียดนามและอินเดยี
2) ความกตญั ู ไดแ ก คนเกาหลี เวยี ดนามและศรลี ังกา
3) ความรกั ชาติ ไดแ ก คนเกาหลแี ละเวยี ดนาม
4) ความออนนอ ม ไดแ ก คนไตห วนั และศรีลงั กา
5) ความประหยัด ไดแ ก คนไตหวนั และอนิ เดีย
6) ความซื่อสัตย ไดแ ก คนศรีลังกาและไตห วนั
7) ความมวี นิ ยั เครง ครัดในระเบยี บ ไดแ ก คนเกาหลีและไตห วนั
8) รจู กั หนา ท่ี รบั ผิดชอบ ไดแ ก คนเกาหลแี ละอนิ เดยี

1.2 กลมุ ประเทศยุโรป อเมรกิ าเหนอื และแปซิฟคใต มคี ุณลกั ษณะรว ม คอื ความมี
วินยั ความรบั ผิดชอบและความซอ่ื สัตยสุจริต ไดแก ประเทศฟนแลนด สวิตเซอรแ ลนด เยอรมนั
แคนาดา นิวซีแลนด จนกระท่ังประเทศเหลานี้ไดรับการยอมรับและไววางใจจากนานาประเทศ
เชน 1) ประเทศสวิตเซอรแลนด กลายเปนประเทศที่มีอุตสาหกรรมขนาดใหญดานการเงินการ
ธนาคาร 2) ประเทศฟนแลนดไดรับการจัดอันดับจากองคกรความโปรงใสสากล ใหเปนประเทศที่
มีการฉอราษฎรบังหลวงนอยที่สุดติดตอกันหลายป 3) ประเทศเยอรมันไดรับการยอมรับเปน
ประเทศทีม่ คี วามเจริญกาวหนา อยางมากในทกุ ดา นอยางสมดุล ยงั่ ยนื ดว ยคณุ ภาพของคนเยอรมนั

2. คณุ ลักษณะของคณุ ธรรมจรยิ ธรรมที่แตกตา งของกลมุ ประเทศ
2.1 กลุมประเทศในเอเชยี คณุ ลักษณะเฉพาะท่ีเดนของแตละประเทศ เชน คนเกาหลี

มีความละอายตอการกระทําผิด มีความเสียสละสวนตนเพ่ือสวนรวม มีความมุงมั่นต้ังใจ สวนคน
ไตหวันมีจิตสํานึกเรื่องการตรงตอเวลา การใชเวลาใหเปนประโยชน ตื่นตัวทางการเมือง กลาให
กลาบริจาค สําหรับคนอินเดียเช่ือในโชคชะตา จึงมุงทํากรรมดี ชอบความเรียบงาย สะดวกและ
อหิงสา นอกจากนน้ั คนศรีลงั กายังใชชีวิตอยา งพอเพียง

2.2 กลุมประเทศยุโรป อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต แตละประเทศจะมีคุณลักษณะ
เดนเฉพาะของตนเอง เชน ประเทศสวิตเซอรแลนดจะเดนเรื่องตรงตอเวลา มีความละเอียดออน
สว นคนเยอรมันเปน คนขยนั ขนั แขง็ มีความสามัคคีในการทํางาน ประหยัด ชาวแคนาคามีความเปน
เหตเุ ปนผล มีจติ ใจเขม แขง็ อดทน รักสันตแิ ละมีความเปน กลาง

145

ประมวลลักษณะเดน ดา นคุณธรรมจรยิ ธรรมของคนในประเทศตา ง ๆ (เจือจนั ทร จงสถิตอยู

และรงุ เรือง สขุ าภิรมย. 2550 : 13) ดงั นี้

ประเทศ คณุ ลักษณะเดนดา นคุณธรรมจริยธรรม

เกาหลี ขยนั อดทน ทุมเทการทํางาน รักชาติ รักองคกร กตัญู รักการศกึ ษา มีวินัย เคารพ

ในผูอาวโุ ส รหู นาทแี่ ละปฏิบัติอยา งแข็งขัน

ไตห วัน ทํางานหนกั ประหยัด อดทน จริงจัง ขยนั ศกึ ษาหาความรู ออนนอม เครง ครดั ใน

ระเบียบวนิ ยั มีสาํ นกึ และต่นื ตัวเร่ืองเวลา การเมอื ง กลาบริจาค เปนตวั ของตัวเอง

และมีความเชอื่ วา ชีวติ ตอ งตอ สูจ ึงจะชนะ

เวียดนาม ขยนั อดทน รกั ชาติ กตัญู รกั การศกึ ษาเลาเรยี น

ศรีลงั กา ออ นนอ ม กตญั ู เคารพในอาวุโส ซื่อตรง รบั ผิดชอบตอตนเองและใชช วี ิตแบบ
อินเดีย พอเพียง
ขยนั ประหยดั อดทน ขยนั อานหนงั สอื คนควา หาความรู รูจกั แยกแยะและ
สวติ เซอรแลนด รบั ผดิ ชอบตอ งานทไ่ี ดร ับมอบหมาย เรียบงาย เครง ครัดในศาสนาและวฒั นธรรม
ฟน แลนด เช่ือโชคชะตา จติ ใจออนโยน ไมเบยี ดเบียน
ตรงตอเวลา ซอ่ื สัตยส ุจรติ รบั ผดิ ชอบ ใสใจและพิถีพถิ นั มวี ินัย
เปน ตวั ของตัวเอง

ซือ่ สตั ยสุจริต มีวินัย

เยอรมนั มรี ะเบยี บวินัย รบั ผิดชอบ รจู ักหนา ที่ สจุ รติ ซ่อื ตรง ตรงตอ เวลา ประหยดั

แคนาดา มรี ะเบียบวนิ ัย เปนคนมีเหตุผล มจี ิตใจเขม แข็ง รักสันติ อดทนอดกล้นั ไมน ยิ ม
นิวซแี ลนด ความรนุ แรง ใหเ กยี รติเพอื่ นมนษุ ย ใฝร ู รักการอา น
มวี นิ ัย ซอื่ สัตย เคารพในความแตกตา ง เคารพคนอืน่

ญี่ปนุ ตรงตอเวลา รบั ผิดชอบ ออนนอ มถอมตน ซ่ือสัตยสุจรติ จงรกั ภักดี ประหยัด ใส
ใจรายละเอยี ด ทํางานเปน ทีม รูคณุ คน สะอาดเปนระเบยี บ แยกแยะเรอื่ งสว นตัว
และหนาท่ี ทาํ งานอยา งกระตอื รอื รน

องั กฤษ ตรงตอ เวลา มรี ะเบยี บ รักษาความสะอาด อสิ ระ ประหยัดรูคาเงิน รกั การผจญภยั

146

คุณลักษณะดานจริยธรรมของประเทศแตละกลุม จะมีลักษณะที่คลายคลึง หรือใกลเคียง
กัน เชน คนในกลุมเอเชียท่ีมีลักษณะของคนที่ออนนอมถอมตน เคารพผูอาวุโส มีความขยันอดทน
กตัญู ใฝรูใฝเรียนและมีความเชื่อในเรื่องของบุญกุศล การใหทาน สวนกลุมยุโรปอเมริกาเหนือ
และแปซิฟคใต จะมีลักษณะของคนท่ีมีระเบียบวินัย รับผิดชอบ เปนตัวของตัวเอง มีเหตุมีผล
เคารพผูอื่นและเคารพในความแตกตาง สิ่งเหลาน้ีลวนเกิดจากปจจัยท่ีแตกตางกันทั้งดานสภาพ
ภูมิศาสตร ประวัติศาสตรความเปนมา ประสบการณและบทเรียนของแตละประเทศ ปรัชญา หลัก
คําสอน ความเชื่อ วัฒนธรรม บทบาทของผูนํา ซ่ึงลวนมีอิทธิพลตอพฤติกรรมที่เปนคุณลักษณะ
ดานคุณธรรมจริยธรรมของคนในกลุม ประเทศนั้น ๆ

บทบาทของสถาบันท่ที ําหนาที่ขัดเกลาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

การขัดเกลาทางสังคมเปนปจจัยท่ีเชื่อวาเปนกุญแจของความสําเร็จในการปลูกฝง
คุณธรรมจริยธรรมของคนแตละประเทศ ซึ่งนักวิชาการตาง ใหการยอมรับถึงความสําคัญของการ
ขัดเกลาทางสังคมที่มีตอการพัฒนาพฤติกรรมของบุคคลใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงคตามที่สังคม
ตอ งการ การท่ีบุคคลคนหน่งึ จะเรยี นรูวา เม่ือตนอยูในฐานะตําแหนงใด ควรมีบทบาทอยางไรไดนั้น
เปนเพราะไดรบั การอบรมใหรูระเบียบสงั คม ดว ยความเชื่อท่ีวา มนุษยเราสามารถฝกฝนได สถาบัน
ทางสังคมท่ีมีบทบาทในการทําหนาท่ี ไดแก สถาบันครอบครัว ซึ่งเปนหนวยแรกท่ีมีอิทธิพลอยาง
สูงตอสมาชิกในครอบครัว เนื่องจากมีความสัมพันธท่ีใกลชิดและแนบแนน ลําดับตอมาคือ
สถาบนั การศึกษา ทเ่ี ปนศนู ยรวมของการบมเพาะความรู คุณธรรมจริยธรรมใหแกคนในสังคม ดวย
บทบาทสงเสริมชวยเหลือและประสานงานกับสถาบันครอบครัว ตลอดจนสถาบันทางศาสนาซ่ึง
เปนผูนําทางจิตวิญญาณ ท้ัง 3 สถาบันทําบทบาทหนาที่สําคัญในการใหความชวยเหลือเกื้อกูลกัน
โดยตางฝายตางทําหนาท่ีเปนเบาหลอมดานความรูและคุณธรรมจริยธรรม โดยท่ีบรูมและเซลชนิค
(สํานักบริการขอมูลและสารสนเทศ. 2554. ออนไลน; อางอิงจาก Broom and Selznick. 1958.
Sociology: A text with Adapted) อธบิ ายถึงการขดั เกลาทางสังคมเพอ่ื จุดมุงหมาย 4 ประการ คอื
1) ปลูกฝงระเบียบวินัย การทําตามระเบียบกฎเกณฑที่สังคมกําหนดท่ีเปนพื้นฐานสําคัญของการทํา
กิจกรรมและการอยูรวมกัน 2) การปลูกฝงความมุงหวังในชีวิตที่กลุมยอมรับ เชน คานิยม ยกยอง
คนที่มีการศึกษาสูง เม่ือคนมีคานิยมเชนนี้ก็จะมุงหวังและผลักดันตนเองใหบรรลุเปาหมายนั้นใน
ชีวิตของตน 3) การกําหนดบทบาทในสังคม เชน การรูจักวางตัวใหเหมาะสมตามสถานภาพ
ความสัมพันธตอบุคคล สถานที่ เวลา และ 4) การใหเกิดทักษะความชํานาญ เชน การถายทอด
เทคโนโลยี วิชาชีพ เปนตน บทบาทที่องคกรทางสังคม รวมถึงบทบาทของผูนําตาง ๆ ทางสังคม

147

เชน ผูนําการปกครอง ผูนําทางจิตวิญญาณ ผูนํากลุมและองคกรตาง ๆ ตลอดจนประวัติศาสตร การ
ตอ สู ประสบการณแ ละบทเรยี นตาง ๆ ไดห ลอ หลอมกลายเปนอดุ มการณและปรัชญาในการดําเนิน
ชวี ิต ทีม่ คี ณุ ลกั ษณะเดนเฉพาะของแตล ะคน สังคมและประเทศ

บทบาทเปนการแสดงพฤติกรรมทางกาย ความคิด ทัศนคติของคนเรา ซ่ึงจะแสดงออก
ตามสถานภาพท่ีตนดํารงอยู คนท่ีอยูในสถานภาพ ตําแหนงท่ีแตกตางกันก็จะแสดงพฤติกรรมออก
มาตางกัน คนท่ีแสดงพฤติกรรม ความคิดเหมือนกัน เม่ืออยูในสถานการณท่ีคลายกัน เทอรเนอร
(Turner. 2002 : 233) ดังน้ันปจจัยที่มีผลตอกระบวนการปลูกฝงคุณลักษณะของคุณธรรมและ
จริยธรรมใหเ กดิ ข้ึนประกอบดว ย ปจจัยดงั ตอ ไปน้ี

1. บทบาทผูน ําการปกครอง มีความสัมพนั ธและเปน ปจจยั ท่สี งผลตอการหลอ หลอม
คุณลักษณะของประชากรที่เกดิ จากความเช่ือ ความศรทั ธาในตัวผูนาํ ก็จะนอ มนาํ คาํ สั่งสอนนนั้ มาใช
ในการดําเนินชีวติ ประเทศในกลุมเอเชียจะมีประวัตศิ าสตรทคี่ ลายคลึงกันในดานการตอสู เพ่ือปลด
แอกตัวเองจากการเปนเมืองขึ้น บทบาทผูนําจึงมีอิทธิพลในการถายทอดอุดมการณและสืบทอดกัน
ตอมา เชน ประเทศเวียดนามมีประธานาธิบดีโฮจิมินห เปนแบบอยางของผูมีความรักชาติ ขยัน
อดทนและเสียสละ ไตหวันมีประธานาธิบดีเจียงไคเช็ค ที่มือสะอาดและมีศีลธรรม อินเดียมี
มหาตมะ คานธี ที่ใชการตอสูแบบอหิงสา การดําเนินชีวิตสมถะ ไมเบียดเบียน ไมใชความรุนแรง
ในการแกปญหา นอกจากเปนแบบอยางท่ีดีแลว วิสัยทัศนของผูนําและคุณลักษณะของผูนําก็เปน
สิ่งหลอหลอมประชากรในประเทศนั้น เชน ประธานาธิบดีปารค จองฮี ของเกาหลีใต มีวิสัยทัศน
ในการนําโครงการแซมาอึลวุนดง ซึ่งเปนโครงการพัฒนาชนบทแนวใหมมาสรางรากฐานทาง
เศรษฐกิจแกชุมชนชนบทใหมีความเขมแข็ง พึ่งพาตนเองได โดยใชความขยัน ความมุงม่ัน ต้ังใจ
ชวยตัวเองและความรวมมือ การเสียสละแกสวนรวม เหลานี้เปนคุณธรรมจริยธรรมท่ีสืบทอดสืบ
ตอ มาจนถึงปจ จุบัน

2. บทบาทผูนําทางจติ วิญญาณ เปนศนู ยร วมของความศรัทธาทางศาสนา เชน ประเทศ
ไตหวันท่ีภิกษุ ภิกษุณี มีบทบาทในการถายทอดและเปนแบบอยางของการหลอหลอมคุณธรรม
จริยธรรม เชน ภิกษุณีเจิ้งเหยียน ผูกอต้ังองคกรพุทธฉือจี้และใชหลักการพุทธมหายาน ตาม
แนวทางพระโพธิสัตว ผูมีจิตใจเมตตากรุณาตอมวลสรรพสัตวสรรพชีวิตใหพนจากความทุกข
ความเดือดรอ น สวนภิกษซุ ิงหวนิ และภกิ ษเุ ซ่ิงเหยยี น ไดต้งั องคกรแสงพุทธธรรมและองคกรกลอง
ธรรมะ ซึ่งท้ังสามองคกรที่ไดจัดต้ังขึ้นมีหลักการท่ีคลายคลึงกันในการใหความชวยเหลือและ
พัฒนาสังคม เผยแผธรรมะ ใหการศึกษา สรางแหลงเรียนรูทางธรรมะ ที่ผานมาบทบาทของผูนําท้ัง
สามทานไดประสบผลสําเร็จในการขยายกลุมเปาหมายไดอยางกวางขวาง ท้ังในประเทศและ
ตา งประเทศ ดว ยการจัดตั้งสาขาและการใชเ ครอื่ งมือส่อื สารเทคโนโลยีขา มประเทศ

148

3. ผูนําทางปญญา ไดกลายเปนศูนยรวมความศรัทธา โดยเฉพาะสังคมฝงยุโรปมีเหลา
นักคิด นักปราชญและผูทรงคุณความรู ท่ีมีอิทธิพลตอการหลอหลอมคุณธรรมจริยธรรมของ
ประเทศ เชน ประเทศสวิตเซอรแลนด มีนักการศึกษาท่ีมีชื่อวา โยฮาน ไฮริท เพสโตโลสซี่ (Johann
Heinrich Pestalozzi) มีแนวคิดเกี่ยวกับเปาหมายของการศึกษา คือ การสรางคนใหมีคุณธรรมและ
เห็นวาครอบครัว คือ ฐานที่แทจริงของการศึกษา การหลอหลอมคุณธรรมจึงเร่ิมท่ีครอบครัว
โดยเฉพาะจากแม ไมมีครูคนไหนจะแทนท่ีความเปนพอเปนแมไดอยางสมบูรณ สวนประเทศ
เยอรมันมีนักปราชญมากมายหลายสาขาวิชา โดยท่ีนักปราชญเหลาน้ีเปนผูวางรากฐานแนวคิดการ
พัฒนาประชาชนของประเทศใหมีคุณภาพและเปนผูมีคุณธรรมจริยธรรม ประพฤติปฏิบัติในทางที่
ถูกท่ีควร ผูท่ีมีอิทธิพลไดแก มารติน ลูเธอร (Martin Luther) นักการศาสนาโดยการเชื่อมโยง
การศึกษากับการศาสนาดวยแนวคิดท่ีวารัฐจะตองสรางคนใหฉลาดหลักแหลม รูจักรักเกียรติยศ
โดยไมปลอยใหเปนหนาที่ของพอแมอยางเดียว เด็กเล็กตองอานคัมภีรใหแตกฉาน อีกคนที่จะ
กลาวถึงคือ โยฮาน เฟดเดอรริท เฮอรบารท (Johann Friedrich Herbart) มีแนวคิดวาจุดมุงหมายของ
การศกึ ษา คอื การสรางอปุ นสิ ัยและคุณธรรมเพือ่ ใหเ ปนคนดี จึงตองสรางระเบียบความคิด ใหเด็กมี
อสิ ระในการคดิ และความคนุ เคยกับความคดิ ทชี่ อบธรรม ใหเ หน็ แจง ดวยตนเองวาอะไรผดิ ถูก ดชี ัว่

4. ศาสนา ปรัชญาและความเชอ่ื มีบทบาทโดยตรงในการปลกู ฝง คุณธรรมจริยธรรมของ
ทุกประเทศ จะแตกตางท่ีระดับของความเขมขน เชน ประเทศในกลุมเอเชีย ไตหวัน เวียดนามและ
เกาหลี สวนใหญนับถือพุทธนิกายมหายานและไดรับอิทธิพลจากหลักคําสอนของขงจื้อ ศรีลังกา
นับถือพุทธแบบเถรวาท มีหลักคําสอนของพระพุทธเจาเปนรากฐานคุณธรรมมาอยางยาวนาน
อนิ เดยี นบั ถือฮนิ ดูมคี วามเครง ครดั ในศาสนา ประเทศไตหวันมีผูนําองคกรศาสนาที่เปนตัวอยางที่ดี
ท้ังการปฏิบัติสวนตัวและการนําปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ สามารถผลิตนักบวชท่ีมีคุณภาพ ประเทศ
ศรีลังกามีโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย 8,900 แหง มีผูเขาเรียน 2.2 ลานคนในการถายทอด
คุณธรรมแกเด็กและเยาวชน ประเทศอินเดียสอนจริยธรรมผานคัมภีรพระเวทในศาสนาฮินดู สวน
ประเทศในกลุมยุโรป อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาคริสต ทุกวัน
อาทิตยครอบครัวก็จะพากันไปโบสถ ปฏิบัติศาสนกิจและพิธีกรรมที่เปนการถายทอดการปลูกฝง
คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

5. บทบาทของสถาบนั ครอบครัว เปน ทยี่ อมรับวาครอบครวั มีอทิ ธิพลตอความคดิ และ
พฤตกิ รรมของสมาชิก ในกลุม ประเทศเอเชียครอบครัวจะเปนผูถายทอดคุณธรรมจริยธรรม โดยพอ
แม ปูยา ตายาย หรือผูอาวุโสในครอบครัวและมีหลักคําสอนจากตนแบบบุคคล เชน คําสอนของ
ขงจ้ือ คําสอนของลุงโฮ คําสอนของศาสดาในศาสนา สวนกลุมประเทศยุโรป อเมริกาเหนือและ

149

แปซิฟคใต ใหความสําคัญกับครอบครัวอยางสูง เพราะมีบทบาทในการวางรากฐานในการสราง
คณุ ลักษณะของประชาชนทกุ ดา น

6. บทบาทสถาบันการศึกษา ประเทศที่เคยบอบช้ําจากภาวะสงคราม เคยตกเปนเมืองข้ึน
หรืออาณานิคมของประเทศมหาอํานาจมากอน จึงไดผานการตอสูกับประเทศมหาอํานาจมาอยาง
ยาวนาน จึงตางมีประสบการณและบทเรียนที่ตองจดจํา ประเทศในกลุมเอเชียนี้ ไดแก อินเดีย
ไตหวัน เกาหลี เวียดนาม ตางใหความสําคัญกับการศึกษาและใชการศึกษาเปนเครื่องมือในการ
พฒั นา ทัง้ ดา นทกั ษะและจติ วิญญาณคณุ ธรรมจรยิ ธรรม โดยเริม่ ต้ังแตเด็กและไดจัดไวในหลักสูตร
ใหม ีการจดั การเรียนการสอน เพือ่ ปลกู ฝงคณุ ธรรมจริยธรรมไปตามชว งวยั ทเ่ี หมาะสม สําหรับกลุม
ประเทศยุโรป อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต เปนประเทศที่มีนักคิด นักปราชญและนักการศึกษาใน
สาขาวิชาตาง ๆ มากมายและไดวางฐานการศึกษาเพื่อจุดมุงหมายใหไดคุณลักษณะที่พึงประสงค
เชน การปลูกฝงการยอมรับความแตกตาง การใหเกียรติกัน การอยูรวมกันอยางสันติและการแกไข
ปญหาทไี่ มใ ชวิธกี ารท่ีรุนแรง การรูจักคิด การคดิ แบบมเี หตุมีผล

7. บทบาทของรฐั ในการกําหนดนโยบายเพื่อแสดงถงึ ทศิ ทางทีร่ ัฐตองการจะกาวไปสู
เปาหมายอะไร รัฐบาลของแตละประเทศจึงมีบทบาทสําคัญในการกําหนดการปลูกฝงและการ
ผลักดันคุณธรรมจริยธรรมของประชาชนในประเทศ โดยสามารถใชเคร่ืองมือตาง ๆ ดังที่ไดกลาว
มาแลวขางตน รวมไปถึงการออกมาตรการอ่ืน เชน กฎระเบียบ กฎหมาย หรือกฎกติกาทางสังคม
สวนความสําเร็จจะเกิดข้ึนได รัฐบาลตองมีการปฏิบัติท่ีเครงครัดจริงจัง เชน เกาหลีจะมีบทลงโทษ
ตามกฎหมายทร่ี ุนแรงและเครงครัดในการใชกฎหมาย ทาํ ใหประชาชนเกรงกลวั ไมก ลา ท่จี ะทาํ ผดิ

8. บทบาทของสื่อมวลชน ถือวา เปนกลมุ วชิ าชีพที่มอี ิทธพิ ลในการพัฒนาสังคม สามารถ
เปน ผูใหข อ คิด ใหข อ เสนอแนะแนวทางทถี่ ูกตองแกสงั คมได ดงั หลกั การทาํ หนา ท่ีของสื่อมวลชนที่
ดี 3 ประการคือ 1) เสรีภาพในการส่ือสาร 2) จิตสํานึกที่ดี 3) ตองมีจิตวิญญาณความรับผิดชอบตอ
สังคมและตอผลงาน ดังน้ันในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมรัฐสามารถใชส่ือเปนเคร่ืองมือ เชน
ประเทศเวยี ดนามท่ปี กครองโดยระบอบสังคมนยิ ม ดังนั้นสอ่ื มวลชนจงึ อยภู ายใตก ารควบคุมของรัฐ
การทจี่ ะนําเสนอเน้ือหาและรายการตาง ๆ จึงเปนไปตามนโยบายท่ีมีการปลูกฝงจริยธรรมคุณธรรม
ใหกับประชาชนในประเทศ เชน มีการฉายภาพยนตรประวัติศาสตรผานส่ือโทรทัศน เพื่อให
ประชาชนไดตระหนกั ถึงการตอสูท่ียากลําบาลและการเสียสละของบรรพบุรุษ ปลูกฝงความรักชาติ
และใหความสําคัญในการสรางคานิยมของการรักเรียนใหความสําคัญกับการศึกษาโดยมีการ
นําเสนอขาวการศกึ ษา 4 หนา เปนประจาํ ทกุ วัน เปน ตน

9. บทบาทการมีสวนรวมของชุมชน ความสําคัญของการเขารวมรวมกันเปนกลุมเปน
พวกเดียวกัน มีปฏิสัมพันธและทํากิจกรรมที่มีวัตถุประสงครวมกัน เชน การจัดกิจกรรมประเพณี

150

ของชุมชนเพ่ือรักษาประเพณีวัฒนธรรมไวใหสืบตอกันไป ดังนั้นบทบาทของการมีสวนรวมของ
ชุมชนจึงเปนปจจัยสําคัญท่ีสามารถปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกสมาชิกในชุมชน เชน ประเทศ
ศรีลังกา ใชความรวมมือของชุมชนสนับสนุนใหวัดเปนศูนยกลางปฏิบัติธรรม เปนโรงเรียนสอน
พุทธศาสนาวันอาทิตย ใหประชาชนเขารวมจัดพิธีการแจกรางวัลแกผูสอบไดคะแนนสูงสุด หรือ
ชุมชนมีสวนในการถายทอดคุณธรรมจริยธรรมจากจารีตประเพณี เปนตน ประเทศฟนแลนดมี
องคกรที่เก่ียวของกับกิจกรรมเด็กและเยาวชน เชน องคกรลูกเสือ องคกรดานกีฬา องคกรการเมือง
เด็ก ฯ โดยรัฐบาลใหการสงเสริมสนับสนุนงบประมาณเปนรายป ซึ่งสามารถปองกันปญหาตาง ๆ
เก่ียวกับเยาวชนได ทั้งนี้ไดมีการรวมมือกับชุมชน องคกรตาง ๆ ในการจัดกิจกรรมท่ีมีรูปแบบเปด
กวาง องคกรท่ีสะทอนความสําเร็จ คือ องคกรลูกเสือและเนตรนารี ทําใหเยาวชนสามารถทํางาน
เปนทีม รูจักการพึ่งตนเอง รูจักการรวมมือ มีเจตคติท่ีดีตอศาสนา ภักดีตอแผนดิน รูจักรับผิดชอบ
ตนเองและสิง่ แวดลอม เหลาน้ีเปนการปลกู ฝง คุณธรรมจริยธรรมแกเ ยาวชน

10. ประวัติศาสตร ประสบการณและบทเรียน ของแตละประเทศจะมีประวัติศาสตร
ความเปนมาของตนเอง ซึ่งกลุมประเทศเอเชียท่ีเปนกลุมตัวอยางในการศึกษาคร้ังน้ีมีประวัติศาสตร
ที่เจ็บปวด ขมขื่นจากการตกอยูใตการปกครองของประเทศมหาอํานาจและตองตอสูเปนเวลา
ยาวนานเพื่ออิสรภาพของตน ประสบการณท่ีเลวราย เจ็บปวดไดหลอหลอมใหเกิดความกลาหาญ
อดทนและมีความแข็งแกรงตอสูชีวิต ไมยอมจํานนตอโชคชะตา แตไดนําวิกฤตเหลานั้นมาเปน
บทเรยี นถายทอดสอนคนรนุ หลงั ไดเหน็ ถงึ การตอสูของบรรพบุรุษ ทําใหเขาใจวัฒนธรรมรากเหงา
ของตนเอง แมแตประเทศในกลุมยุโรป อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต ในหลายประเทศตางก็ผาน
ประวัติศาสตรของการสรางประเทศก็ลวนแตผานความเจ็บปวดมาดวยกันท้ังน้ัน ตองตอสูเพื่อการ
รวมเผาพันธุที่หลากหลายใหเปนเอกภาพสามารถยอมรับซึ่งกันและกันและอยูรวมกันไดอยางสงบ
สันติ ดังน้ันประวัติศาสตรจึงเปนปจจัยหน่ึงของการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหกับคนในชาติ
ของตน เชน การจะยอมรับคนนอกเผาพันธุกับตนจะตองเปนคนที่เคารพในศักดิ์ศรีของมนุษย
เคารพตอ ชาติพันธุทีแ่ ตกตาง

11. สภาพภูมิศาสตร ที่ตั้งทางภูมิศาสตร ดินฟาอากาศ สภาพทางกายภาพเหลาน้ีลวนมี
สวนในการหลอหลอมคุณลักษณะของคน เชน ประเทศที่มีพ้ืนท่ีนอย มีทรัพยากรจํากัด ประเทศท่ี
เจอภาวะความแปรปรวนของอากาศ เจอพิบัติภัยธรรมชาติทุกป อากาศหนาวจัด แผนดินไหว การ
ตองประสบพบกับธรรมชาติที่โหดรายบอย ๆ ทําใหประชาชนมีความสามารถในการปรับตัว มี
ความอดทน ต่ืนตัวกระตือรืนรน ไมผลัดวันประกันพรุง เชน สวิตเซอรแลนดเปนประเทศที่ขาด
แคลนวัตถุดิบในการผลิตสินคา ดังน้ันจึงเรียนรูการนํากลับมาใช (Recycle) โดยปลูกฝงประชาชน
ตั้งแตเด็ก ใหรูจักการแยกขยะ ชนิดของขยะท่ีเปนเหล็ก แกว ขยะเปยก เศษอาหารจะนําไปทําปุย

151

โดยจะมีคําชี้แจงถึงผลเสียของการไมปฏิบัติตามดวยการใชระบบการขนขยะท่ีจะไมเขาไปบริการ
เก็บขยะที่บานของคน ๆ น้ัน หรือแคนาดาซ่ึงเปนประเทศท่ีมีพื้นท่ีอยูอาศัยนอยเปนประเทศท่ี
เกิดข้ึนใหมมีอายุเพียง 125 ป ไมมีรากเหงาวัฒนธรรมท่ีลึกซึ้ง เพราะเปนที่รวมของผูอพยพจาก
หลากหลายวัฒนธรรม หลายเช้ือชาติ ศาสนา แตยอมรับเอาวัฒนธรรมท่ีหลากหลายน้ันมาเปนสวน
หน่ึงของประเทศทําใหไมมีความแปลกแยกและไมขัดแยง สามารถสรางอัตลักษณความเปนหน่ึง
เดียวของประเทศตนเองดวยการวางรากฐานคุณธรรมจริยธรรมอยางเปนระบบ ประชาชนมีสวน
รว มในการพฒั นาประเทศ สามารถอยูร วมกนั อยางสงบสขุ มีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส นิ

การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศเกาหลี

ความสําเรจ็ ในการปลูกฝงจริยธรรมคุณธรรมของแตละประเทศที่มีพ้ืนฐาน รายละเอียดท่ี
แตกตางกันไปของแตละประเทศ แตละกลุมประเทศที่กลาวมาแลวขางตน จะไดนํามาศึกษาเปน
ประสบการณและบทเรียนในการใหสติและอบรมบมเพาะคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย
เพ่ือใหเปนประเทศท่ีสามารถรอดพนจากภัยของลัทธิบริโภคนิยม วิกฤตของความขัดแยงในสังคม
วิกฤตการกอการรายทางภาคใต ปญหาครอบครัว ปญหาสังคมและปญหาอ่ืน ๆ ที่เกิดขึ้นในเวลานี้
ดงั ทจี่ ะไดเ รยี นรูคณุ ลกั ษณะและกระบวนการปลกู ฝง คุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ ตอ ไปนี้

ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เปนชาติเกาแกมีอายุกวา 5,000 ป เปนประเทศหน่ึงที่มี
ประสบการณและบทเรียนเก่ียวกับภาวะสงครามที่สรางความบอบช้ําใหกับคนในชาติและ
ประเทศชาติ แตเกาหลีก็ยังสามารถพัฒนาตนเองใหเจริญรุงเรืองมายืนเปน 1ใน 4 เสือของเอเชีย
ไดแก ฮองกง สิงคโปร เกาหลีใตและไตหวัน ไดอยางสงางาม สามารถพัฒนาความกาวหนา
ทางดานเทคโนโลยี เชน รถยนตฮุนได เคร่ืองใชไฟฟและเทคโนโลยีของซัมซุง การสงออกสินคา
วัฒนธรรมผานสินคาในแวดวงบันเทิง ดังกระแสความคล่ังไคล K-POP ซีรียเกาหลี เปนตน ทําให
เกาหลกี ลายเปนประเทศทรี่ ่าํ รวยม่ังค่ังประเทศหนึ่ง ชนชาติเกาหลีนับไดวาเปนนักตอสู เปนชาติ ที่
มีวัฒนธรรมประเพณีท่ีหลอหลอมใหคนในชาติเปนหน่ึงเดียวกัน มีสถาบันครอบครัวที่เขมแข็ง
การถายทอดหลักธรรมคาํ สอนของศาสนาและลัทธิขงจ้ือ

1. กระบวนการท่ีหลอหลอมและปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของเกาหลี (เจือจันทร
จงสถติ อยูและรุงเรอื ง สขุ าภิรมย. 2550 : 103-117) ไดแก

1.1 การลาํ ดบั รุน อาวุโส คนเกาหลใี หความสาํ คัญกับการลําดับอาวโุ สอยา งเครงครัด
ท้ังในท่ีทํางาน โรงเรียน ความเปนรุนพ่ีรุนนอง รุนนองตองใหความเคารพเช่ือฟงรุนพ่ีสวนรุนพี่ก็
ใหค วามชวยเหลอื รนุ นอ งอยา งเตม็ ท่ี ความสมั พันธจึงสนทิ แนบแนน

1.2 ความรักในสถาบนั การศึกษา ความสัมพนั ธระหวา งครกู บั ศิษย โดยศิษยจะรว ม

152

ด่ืมและรับประทานอาหารกับครูในตอนเย็นดวยบรรยากาศท่ีเปนกันเอง แตแฝงดวยความเคารพ
นอบนอม มมี ารยาท

1.3 ความรกั ในสถานประกอบการ กตญั แู ละจงรักภักดีตอบริษัทอยา งยง่ิ เพราะถอื
วา บริษัทคือผูใหทุกส่ิงท้ังความสุขสบาย อาหาร ชีวิตที่อุดมสมบูรณ ทุกคนจึงทํางานดวยความ
ทุมเท เอาจริงเอาจัง มุงม่ันและเห็นแกประโยชนของบริษัทกอนประโยชนตน นอกจากนี้ยังมีความ
ความรัก ผูกพันตอบริษัท ใหความเคารพ ใหเกียรติและเชื่อฟงคําสั่งสอน คําส่ัง คําแนะนําเพราะถือ
วาบรษิ ทั เปน ดั่งครอบครัว

1.4 ทมุ เทใหแ กห นา ทกี่ ารงาน ทาํ งานดวยความต้งั ใจ มุง มน่ั ใหง านสาํ เร็จ ไมอหู รอื
ปลอยเวลาใหผานไปดวยเร่ืองไรสาระ เมื่อเสร็จงานแลวจึงจะสังสรรค รวมดื่มกับคนท่ีวางใจเพ่ือ
คลายเครียด รูจักหนาท่ีของตนและทําหนาที่อยางเขมแข็ง ซ่ึงเปนคุณลักษณะเดนที่ทําใหประสบ
ผลสาํ เร็จในทุกดาน

1.5 ความเปน หมูเ หลา คนเกาหลจี ะรกั คนในชาตติ นเอง การจะยอมรับชาวตางชาติ
ตอเม่ือไดพสิ ูจนแลววา คน ๆ น้นั จริงใจ จึงจะยอมรบั เปน คนกลมุ เดยี วกนั และเชญิ ไปด่มื รวมกนั

1.6 ชาตนิ ยิ มและรักชาติ จะใชสนิ คาท่ีผลิตในประเทศเทานั้น ทาํ ใหเ ศรษฐกิจม่นั คง
เงินทองไมรั่วไหล หากไมเห็นดวยกับนโยบายของรัฐบาลจะทําการประทวงและมีการแจง
หนวยงานจราจรเพ่อื แจง ใหป ระชาชนไดท ราบลวงหนาจะไดไ มเดอื ดรอ น

1.7 มีวนิ ัยในตัวเอง ชาวเกาหลีไดร ับการปลูกฝงและฝก ฝนอยา งดีจนเปนอปุ นิสยั จึง
เปนผูมีวินัยท่ีเครงครัด นอกจากน้ีกฎหมายมีบทลงโทษที่รุนแรง ทําใหประเทศเกาหลีขึ้นช่ือเรื่อง
ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส นิ เพราะทกุ คนรูกฎกติกาและมวี ินยั

1.8 การสรางความแข็งแกรง ในครอบครวั ทง้ั ชายและหญิงจะเปนผูท ่ใี ฝรใู ฝเ รียน
เพ่ือใหเปนผูที่สามารถประกอบอาชีพ ในครอบครัวสามีทํางานหาเลี้ยงครอบครัว ภรรยามีหนาที่
ปรนนิบัติสามีและดูแลส่ังสอนบุตร โดยที่ภรรยาจะมีการศึกษาระดับปริญญาโท ปริญญาเอก จึงทํา
ใหเยาวชนของเกาหลีมีคุณภาพ เพราะมแี มท่ีมกี ารศึกษาและดูแลใหความอบอุน

1.9 ขยันไมย อ ทอตอ งานหนัก เพราะตอ งเผชญิ และจดจาํ ความยากลาํ บากมายาวนาน
จึงทําทุกวิถีทางไมใหอดตาย ไดใชหลักคําสอนของขงจอ้ื นอกจากน้ียังมีน้ําใจ รวมมือรวมใจ
ชวยเหลอื แบงปน ไมท อดท้ิงกนั

2. หนว ยงานและองคก รท่ีมีบทบาทในการปลูกฝงคุณธรรมจรยิ ธรรม
2.1 ศาสนา ปรัชญา ความเชื่อ คนเกาหลีสวนใหญนับถือพุทธศาสนารอยละ 51.2

แตหลักปรัชญาที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ คําสอนของขงจ้ือ ไดสอนระเบียบในสังคม วิถีชีวิต การ
ดาํ เนนิ ชีวิตครอบครวั สังคม การทําหนาที่และปฏิบัติใหถูกตองตามครรลอง ซ่ึงคนเกาหลีไดใชเปน

153

แนวทางการดาํ เนินชวี ิตจนถึงปจจุบนั คํากลาวของขงจื้อที่สรุปไดวา ทุกสิ่งทุกอยางในโลกมีความ
แตกตางกันโดยกําเนิด การดํารงชีวิตในครอบครัว สังคม ประเทศ ทุกอยางตองอยูในท่ีสมควร เชน
ลูกควรนับถือพอ ขุนนางควรนับถือกษัตริย ภรรยาควรนับถือสามีและสอนใหแสดงความสัมพันธ
ตอกนั อยา งถูกตอ ง เชน กษัตริยก บั ขุนนางควรไวว างใจกัน พอกับลูกชายควรผูกพันและสืบทอดกัน
สามีภรรยาควรมีบทบาทหนาท่ีตางกัน ผูใหญกับผูนอยควรมีบทบาทหนาที่ตางกัน ระหวางเพื่อน
ควรซอ่ื สตั ยต อ กนั

2.2 สถาบันครอบครัว ใหความสําคัญกับการยึดหลักคําสอนของขงจ้ือใหเปนคนมี
คุณธรรม มีความกตัญู ซื่อสัตยและเอ้ือเฟอตอผูอื่น มีเมตตากรุณา ระลึกบุญคุณของบรรพบุรุษท่ี
เสียสละ ดังนั้นภาพที่เห็นในสังคมเกาหลี ลูก ๆ มีความกตัญูกับบิดามารดา สามีภรรยาจงรักภักดี
และซ่ือสัตยตอกัน เด็กเมื่อทําผิดจะไดรับการดุดาดวยเหตุผลและสั่งสอนไมใหทําผิดเปนครั้งที่สอง
เด็กเกาหลีไมเห็นการทําผิดเปนส่ิงทาทายและนาทดลอง เพราะมีความละอายที่จะทําผิดตอตระกูล
ทําใหถ กู จารกึ ความช่วั ในทะเบียนตระกลู

2.3 สถาบนั การศกึ ษา ดว ยแนวคดิ รากฐานการศกึ ษาทแ่ี ข็งแกรงยอมนาํ พาเศรษฐกจิ
ใหมั่นคง การศึกษาชวยสรางพลังความรู ปญญา ความคิดริเริ่มสรางสรรค พัฒนาทรัพยากรมนุษย
ใหมีคุณคามีศักยภาพ ไดมีการปฏิรูปการศึกษาไปพรอมกับการสรางเสริมคุณธรรมจริยธรรม
ความคิดสรา งสรรค เพอื่ ใหคนสมบรู ณทงั้ ชวี ิตและจิตใจ จึงใชร ะบบการศึกษาแบบเปดตลอดชวี ิต

อยางไรก็ตามความเปล่ียนแปลงของสังคมเกาหลีก็ประสบปญหาคานิยมทางวัตถุ
การมงุ ประโยชนต นเอง ไมคํานงึ ถงึ สังคมสวนรว ม จงึ ไดมกี ารปฏิรปู การศกึ ษาโดยใหแ มม ีสวนรวม
ในการจัดการเรียนการสอน การปลูกฝงคานิยมคุณธรรมจริยธรรมอยางเปนระบบและคอยเปนคอย
ไป ตั้งแตอนบุ าลถงึ มหาวิทยาลัย ดังนี้

1) อนุบาล-ประถมศึกษาปท่ี 3 ปลูกฝงความเปน ระเบยี บในสังคม กฎจราจรและ
จิตสาํ นกึ ในการอยูรวมกนั ในสังคม

2) ประถมศกึ ษาปท่ี 4-มัธยมศกึ ษาตอนตน ปลกู ฝงสทิ ธิหนาท่ขี องตนในระบอบ
ประชาธปิ ไตย เคารพกฎหมายของบา นเมือง การตดั สนิ ใจดว ยตนเองอยา งมีเหตุผลทีถ่ กู ตอ ง

3) มัธยมศกึ ษาตอนปลาย-อุดมศกึ ษา ปลูกฝงสทิ ธแิ ละหนา ท่ีการเปนพลเมือง
โลก สันติภาพ ความเขา ใจคุณลกั ษณะอนั เปน สากลและความเขา ใจอนั ดีตอวฒั นธรรมของชาตอิ ืน่

2.4 ประวตั ิศาสตร เดิมประเทศเกาหลปี กครองโดยกษตั รยิ  เม่อื ญปี่ นุ เขา ครอบครอง
เกาหลี สถาบันกษัตริยจ งึ ลม สลาย เม่ือญีป่ ุนแพส งครามโลกครั้งที่ 2 เกาหลีไดรับเอกราช แตถูกแบง
ออกเปนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี(เกาหลีเหนือ)ภายใตสหภาพโซเวียตผูนําฝาย
สงั คมนิยมและสาธารณรฐั เกาหล(ี เกาหลีใต) ภายใตการนาํ ของสหรัฐอเมริกาผูน าํ ฝา ยประชาธปิ ไตย

154

ดังน้ันการท่ีตองตกเปนเมืองขึ้นอยางยาวนานของเกาหลี ตองพบกับภาวะความอดอยาก
ขาดแคลนและขมขื่น แตดวยนโยบายการบริหารประเทศของผูนําที่มีวิสัยทัศน มีคุณธรรม เสียสละ
อดทน เห็นแกประโยชนของประเทศชาติเปนสําคัญ จึงสามารถนําพาประเทศใหรอดพนจากความ
ยากไรและกาวสูความเปนผูนําในแถบภูมิภาค มีความกาวหนาทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีที่ทันสมัย
ไปพรอมกับการวางแผนปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมในการวางนโยบายเศรษฐกิจ 5 ป ใชแผนแรก
เนนใหประชาชนประหยัด อดออม ริเริ่มโครงการแซมาอึลวุนดงท่ีเขาถึงประชาชนชนบท กระตุน
ผูนําและประชาชนใหเช่ือม่ันตออนาคตวา สามารถอยูดีกินดีได ถาขยันทํางานและรวมมือกันดี มี
จติ ใจพงึ่ ตนเอง ใชค วามพากเพียร อดทนซ่งึ มอี ยูในตวั ของชาวเกาหลี โครงการแซมาอึลวนุ ดงจงึ ถอื
เปนขบวนการรวมพลังทางสังคมระดับชาติของเกาหลีใต นั่นคือ ผูนําทุกระดับใหการสนับสนุน
ต้ังแตผูนําทางการเมือง กลุมชนช้ันนําในเมือง ผูนําหมูบาน ขาราชการทองถ่ินและประชาชนเขา
รวมดําเนนิ งานพัฒนาหมูบานดวยความสมัครใจ โครงการน้ีประสบผลสําเร็จสามารถสรางรากฐาน
ทางเศรษฐกิจในระบบสังคมหมูบานใหแข็งแกรง ไมเกิดชองวางระหวางรายไดของคนเมืองกับคน
ชนบท

2.5 กฎหมายปกครองประเทศ ผูม หี นา ทด่ี แู ลรกั ษากฎหมายทาํ หนา ทีอ่ ยางเครงครดั
ประชาชนไมกลาทําผิดกฎหมาย แมเร่ืองเล็กนอย เชน การว่ิงราว การขามถนน การขับรถ ทําให
สงั คมมคี วามปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ

2.6 สื่อมวลชน ทําหนา ทีเ่ ผยแพรป ระชาสมั พนั ธใหเ หน็ ความสําคญั ของการศึกษาท่ี
บาน การบมเพาะคุณลักษณะที่ดีงาม การสรางบุคลิกภาพท่ีดี ลดการเสนอขาวอันกอใหเกิดความ
รนุ แรง การย่ัวยุใหเ ยาวชนหลงใหลในสงิ่ มอมเมาและยาเสพตดิ

2.7 สงั คมโดยรวม คนเกาหลีใหค วามเคารพนับถือผูใหญ จึงมคี วามเชอื่ วา ผใู หญจ ะ
ตองทําตัวเปนตนแบบมีความประพฤติที่ดีงามใหแกเยาวชน ผูใหญจึงสามารถวากลาวตักเตือนเด็ก
หากเห็นวากระทําสิ่งท่ีไมถูกตอง แมจะไมใชลูกหลานโดยตรง เชนเดียวกับเด็กก็ใหความเคารพ
แมไมใชเครือญาติ คานิยมความขยันหมั่นเพียร การชวยตนเอง ความรวมมือรวมใจ การเสียสละ
สวนตนเพอ่ื สวนรวม

2.8 สภาพภมู ศิ าสตร ประเทศเกาหลมี ี 4 ฤดู 24 ฤดูยอ ย จึงทําใหร จู กั ปรบั ตัวและมี
ความอดทน อีกทัง้ ยงั สามารถใชป ระโยชนจากการเปล่ียนแปลงฤดูกาลในดา นเกษตรและประมง

การปลกู ฝง คุณธรรมจรยิ ธรรมของประเทศเวียดนาม

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเปนอีกประเทศท่ีไดประสบกับสงครามมาอยางยาวนาน
เคยตกเปนเมืองข้ึนของจีนและฝร่ังเศส ผานการตอสูกับสหรัฐอเมริกาในสงครามเวียดนาม ไดรับ

155

ความบอบชา้ํ ทําใหเ วยี ดนามแทบสิ้นชาติ คนเวียดนามจึงเปนผูมีความอดทนและตระหนักในความ
เปน ชาติ ทสี่ ามารถเอาชนะมหาอํานาจได ประเทศเวียดนามมีประชากร 83.5 ลานคน สวนใหญนับ
ถือพทุ ธนิกายมหายาน มรี ูปแบบการปกครองแบบสงั คมนยิ ม (เจอื จันทร จงสถติ อยูและรุงเรือง สุขา
ภริ มย. 2550 : 131-141)

1. กระบวนการที่หลอหลอมและปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของเวียดนาม ไดแก ความ
ขยัน อดทน รักชาติ รักการศกึ ษาเลา เรียน ยดึ ถือความกตัญู

2. หนวยงานและองคกรทม่ี ีบทบาทในการปลูกฝง คณุ ธรรมจริยธรรม
2.1 ศาสนา ปรัชญา ลัทธิความเช่ือ คนเวียดนามแตเดิมมีคตินิยมเหมือนชาวไทย

พุทธ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงการปกครอง รัฐบาลไดสรางกรอบจํากัดความเชื่อทางศาสนา ตอมาจึง
ไดผอนคลายความเขมงวดโดยใหอ สิ ระในการนับถอื ศาสนา โดยสวนใหญจะเปนพุทธฝายมหายาน
ที่รับมาจากจีน ใหความสําคัญในแงความศักด์ิสิทธ์ิ ไมเครงครัดการปฏิบัติธรรม สําหรับหลัก
ปรัชญาขงจื้อที่รับมาปลูกฝงคานิยมวา คนท่ีมีความรู คือ คนที่มีคุณคาตอสังคม คนท่ีมีความรูควร
ไดร บั การยกยอ ง โดยความรตู องคูค ุณธรรมดวย

2.2 สถาบันครอบครัว โดยยึดหลกั คําสอนของขงจือ้ ใหเ ปนคนมคี ุณธรรม มคี วาม
กตัญู ผูไมกตัญูตอพอแมจะไมมีความกาวหนา สอนใหรักชาติ ขยันหม่ันเพียร ตองขยันศึกษา
เลาเรียน เคารพตอผูใหญ ผูหญิงเวียดนามจะเสียสละใหกับครอบครัวเปนอันดับแรก เปนส่ิงท่ี
ปลูกฝง อยใู นความคิดของผูห ญิงเวียดนามแทบทกุ คน

2.3 สถาบันการศึกษา หลังเวียดนามไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศส ประธานาธิบดี
โฮจิมินท ประกาศนโยบายที่จะขจัดปญหาโจรแหงความโง ซึ่งสะทอนถึงการใหความสําคัญกับ
การศึกษาอยางสูงจากคําพูดท่ีวา “เพ่ือประโยชนในสิบปปลูกตนไมและเพื่อประโยชนในรอยปให
การศึกษาดูแลคน” ท้ังน้ีเพราะเช่ือวา การศึกษาจะพัฒนาคุณภาพของคน หากรากฐานการศึกษา
แข็งแกรงยอมนําพาเศรษฐกิจใหมั่นคง โดยหลังจากไดรับอิสรภาพจากฝร่ังเศสในป 2488 ส่ิงที่เนน
คือ 1) ความเปนชาติ โดยจัดเนื้อหาการเรียนการสอนดานประวัติศาสตรของชาติ สงเสริมใหเกิด
ความรักชาติ ใชภาษาประจําชาติ สรางคนรุนใหมใหเปนผูรับใชชาติ 2) ความเปนวิทยาศาสตร
สอนความกาวหนาและวิทยาศาสตร สอนใหคิดเปน รูเหตุรูผลของความคิดและสอนใหเปนคน
กระหายใครที่จะเรียนรู และ 3) ความเปนมวลชน นําความรูทางวิทยาศาสตรไปประยุกตใชในชีวิต
และใชในการผลิตเช่ือมโยงกับมวลชน การไดรับการศึกษาถือเปนสิทธิมนุษยชนข้ันพ้ืนฐาน
การศึกษาเพ่ือมวลชนนําไปสูการพัฒนาทางวัฒนธรรม วิทยาศาสตร เศรษฐกิจและสังคม การ
พัฒนาไมหยดุ น่ิงไดทาํ การอยางตอเนอ่ื ง

156

กระท่งั ในป 2539 รฐั บาลประกาศนโยบายโดย เมย (Doi Moi) ทําการปฏริ ูปการศึกษา
โดยเนน การสรา งคณุ ลักษณะของผเู รียนทพ่ี ึงประสงคไ ดแ ก

1) การเรยี นรเู ปา หมาย ใหรทู ศิ ทางของการพฒั นาที่ยึดแนวทางการเมอื งสงั คม-
นยิ ม ดา นเศรษฐกจิ เปดกวาง

2) สามารถทาํ งานในเศรษฐกจิ สมัยใหมไ ดด ี โดยพฒั นาทักษะใหม ๆ สําหรบั
การพฒั นาประเทศดา นอตุ สาหกรรม เทคโนโลยี การสือ่ สาร การกอสราง ฯลฯ

3) สามารถตดิ ตอสอื่ สาร ทันการเปลยี่ นแปลง โดยใหก ารสนบั สนนุ นกั เรยี นรนุ
ใหมใหเรียนภาษาตางประเทศ รวมทั้งคอมพิวเตอร แลกเปลย่ี นและมเี ครอื ขา ยกับนานาชาติ

4) พัฒนาความสามารถเฉพาะทางใหโ ดดเดน สง เสริมเดก็ ใหเ ตบิ โตตาม
ศกั ยภาพ สง เสรมิ การเรยี นคณิตศาสตรและสาขาอน่ื อยา งเต็มที่

5) รักษาเอกลกั ษณแ ละวฒั นธรรมเฉพาะของประเทศ ใหผ เู รยี นรูจกั วฒั นธรรม
ของประเทศ รกั ษาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของสังคม

6) มคี วามตระหนกั รูเทา ทนั อทิ ธพิ ลของนานาชาติ แมจ ะเปดรบั แนวคดิ คา นยิ ม
เศรษฐกิจทุนนิยมตะวนั ตก

7) บรรจุวิชาคุณธรรมจริยธรรมไวในหลักสูตรระดับประถมตน สอนเก่ียวกับ
การเปนคนดีตองทําอยางไร นอกจากนี้ยังใหน้ําหนักการตอกย้ําคําสอนของลุงโฮ (โฮจิมินท) และ
ภาคกลางของเวยี ดนาม ไดก ําหนดใหน กั เรียนประถมตนทําการบาน 5 ขอ เพ่ือใหซึมซับการปลูกฝง
คุณงามความดีผานการเรยี นการสอน ดงั น้ี

(1) วันนหี้ นทู าํ ความดีอะไรบา ง โดยใหเดก็ บนั ทึกการทาํ ความดีทกุ วันและ
จดจําความดที ท่ี ําไวชว ง 6 ปท ีเ่ รยี น

(2) วันนหี้ นชู ว ยคณุ แมท ํางานอะไรบาง เปน การสรางความสัมพันธใ น
ครอบครวั

(3) วันนใี้ นชมุ ชนของหนมู เี หตุการณใดเกิดขน้ึ บา ง เดก็ ตองออกไปสํารวจ
และบันทกึ เรอื่ งราว ทาํ ใหเ กดิ การเรียนรู เขา ใจและผูกพันกบั ชุมชน

(4) ใหร ายงานขา วหนึง่ ขาว เก่ยี วกับประเทศเวยี ดนาม เปนการสรา งความ
รกั ชาติ

(5) ใหรายงานขาวหนง่ึ ขา ว เก่ียวกับสถานการณโลก ทาํ ใหร ูจกั สงั คมโลก
การบาน 5 ขอเปนการปลูกฝงคุณธรรมใหเด็กไดเรียนรู รูจักตัวเอง รูจัก
ครอบครวั ชุมชนและประเทศชาตขิ องตน ตลอดจนเขา ใจสงั คมโลกดวย

157

ความสมั พันธร ะหวางครูกับศิษย ศิษยจะใหความเคารพครูและครูจะอุทิศตัวเพื่อเผยแพร
ความรูแกศิษย ครูในเวียดนามตองเปนคนเกงและไดรับการยกยองเพราะถือเปนอาชีพท่ีมีคุณคาตอ
สังคม

2.4 ประวัติศาสตร การตอ สูท ยี่ าวนานของคนเวียดนามกับประเทศมหาอํานาจหลาย
ประเทศ ทั้งจนี ฝรั่งเศส อเมริกา ตอ งไดร บั ความยากลาํ บาก ความเจ็บปวดทุกรูปแบบ ประสบการณ
และบทเรียนที่ผานมาทําใหคนเวียดนามมีความกลาหาญ เสียสละ อดทนและรักชาติ และไดใช
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและวรรณกรรม เปนปจจัยดานยุทธศาสตรและการปฏิวัติ
สงั คม โดยเฉพาะวฒั นธรรมที่ถือเปนขุมทรัพยจะตองปกปองรักษา จึงถูกนํามาเปนเครื่องมือในการ
ปลุกเราใหประชาชนสํานึกถึงความรุงโรจนในอดีต ใฝเรียนใฝรูไมวาจะเปนคนยากจนก็สนใจการ
เรียน มีนิสัยชอบเอาชนะปญหาที่ทาทาย วรรณกรรมพ้ืนบาน นิทานพื้นบานจะแฝงคุณธรรม
จรยิ ธรรมความรกั ชาติ ความซื่อสัตย กตญั ู

2.5 คําสอนของประธานาธิบดีโฮจิมินห ผูนําในการตอสูเพื่อปลดปลอยประเทศ
เวียดนามใหเปนอิสระ ไดสรางศรัทธาใหเกิดกับชาวเวียดนามและถูกเรียกวา ลุงโฮ คนเวียดนาม
ยดึ ถือหลกั คําสอนของลงุ โฮเปน หลักในการดาํ เนินชวี ิต 5 ขอไดแก 1) รักประเทศชาติ รักประชาชน
2) เรยี นเกง ทาํ งานเกง 3) รกั ษาอนามัย 4) วนิ ัยดี 5) ซือ่ สัตย กลา หาญ

2.6 ส่อื มวลชน รัฐเปนผกู าํ หนดนโยบายและควบคมุ สอื่ มวลชนทุกแขนง จงึ สามารถ
ควบคมุ และปลกู ฝงคณุ ธรรมจริยธรรมแกคนในชาติได สื่อโทรทัศนยังนําภาพยนตรประวัติศาสตร
ความยากลําบากของบรรพบุรุษในการตอสูกับฝร่ังเศสและอเมริกา ผลกระทบของสงครามตอ
ครอบครัว เพ่ือเยาวชนรุนใหมจะไดไมมัวเมาหลงอยูกับความสุขสบายอยางเดียว การนําเสนอ
เน้ือหาของสื่อโทรทัศนตามความเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย สื่ออ่ืน ๆ ไมคอยมีขาวอาชญากรรม
และใหความสําคญั กับการศึกษาโดยนําเสนอขาวการศึกษา 4 หนา เปน ประจําทุกวนั

บทเรียนจากการเรยี นรถู ึงการปลูกฝง คุณธรรมจรยิ ธรรมของนานาประเทศ

การไดเรียนรูกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศอ่ืน ๆ เพ่ือเปน
ประสบการณ เปน บทเรยี นใหเราไดน ํากลับมาทบทวนประเทศของตนเองและหาวิธีการประยุกตใช
ที่เหมาะสม ซ่ึงตองยอมรับวาสังคมไทยปจจุบันไดรับผลกระทบจากการเปดกวางของสังคมโลก
ภายใตระบบทุนนิยมเสรีประชาธิปไตยท่ีบางคร้ังทําใหคนเราหลงระเริงไปกับส่ิงที่มากระตุนกิเลส
ภายในของความอยาก ความโลภและทําใหคนเราเห็นแกตัว สามารถที่จะทําทุกส่ิงไดโดยคํานึงถึง
แตความสะดวก ความพึงพอใจของตนเองมากกวาท่ีจะเห็นถึงความถูกตองตามครรลองคลองธรรม

158

และเปนท่ียอมรับวาคุณธรรมจริยธรรมในทุกวันนี้ไดเส่ือมถอยลงมาก จากพฤติกรรมที่สะทอนถึง
ปญ หาตา ง ๆ ท่ีมนุษยตองประสบซ่งึ ลว นเกิดจากน้ํามอื ของมนษุ ยเ องทง้ั สิน้

1. ปญหาในสงั คมไทย หากจะมองถงึ ปญ หาท่เี กดิ ขนึ้ ในสังคมไทย มหี ลายปญ หาไมไ ด
เปนปญหาใหม แตเปน ปญหาทีไ่ ดมกี ารสะสมมายาวนาน ทุกรัฐบาลท่ีผานมาไดมีความพยายามใน
การแกปญ หาดวยการพัฒนาประเทศในดา นตาง ๆ เม่อื แกปญ หาหน่งึ ไดก็สง ผลกระทบกบั อกี ปญ หา
หน่ึงเปรียบเหมือนการรักษาโรคของผูปวยแลวเกิดผลขางเคียงจากการใชยา ปญหาสังคมใน
ประเทศไทยนับวันจะยิ่งเพิ่มมากข้ึน ซ่ึงนักวิชาการหลายทานไดกลาวถึง สาเหตุของปญหาสังคมที่
เกดิ ข้ึนพออธบิ าย โดยสังขป ดังนี้

1.1 การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เชน สังคมไทยที่เคยเปนสังคมเกษตรพยายามที่จะ
เปลี่ยนไปเปนสังคมอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมากขึ้น การอพยพ
ของคนชนบทสูสังคมเมืองเพ่ือทํามากิน โดยมุงหวังความกาวหนา ทําใหวิถีชีวิตความเปนอยูแบบ
ดั้งเดิมเปล่ียนแปลงไป ท่ีมีความตองการในการอุปโภคบริโภค ความสะดวกสบายมากขึ้น โดยการ
ใชเ งินซอ้ื หา ดังนัน้ ถา ความตอ งการมากก็ตองหาเงินสนองความอยากความโลภมากขนึ้ จงึ เกดิ ความ
ฟุงเฟอฟุมเฟอยมากข้ึน บรรทัดฐานด้ังเดิมที่ยกยองคนดีจึงเปล่ียนแปลงไปเปนการยกยองคนรวย
คนมีอาํ นาจแทน

1.2 ความไมเปนระเบียบของสังคม เปนภาวะที่สังคมและสถาบันพ้ืนฐานทางสังคม
เชน สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา แมแตหนวยงานของรัฐท่ีมีหนาท่ีดูแล
ความเปนระเบียบเรียบรอยของสังคมไมสามารถควบคุมสมาชิกทางสังคมใหปฏิบัติตามระเบียบได
จึงกอใหเกิดปญหาของผลประโยชนที่ขัดกัน เพราะความเห็นแกตัว ความโลภ การเอารัดเอาเปรียบ
และการใชชองโหวหาประโยชนสวนตน ความลมเหลวของการรักษาจารีตประเพณีและสถาบัน
พ้ืนฐานของไทยที่เปนศูนยรวมใจของคนในชุมชน เพ่ือใหเกิดพลังทางสังคม พลังของความอบอุน
ที่ทุกคนแสดงออกดวยความมีนํ้าใจ รูจักการเก้ือกูลแบงปน ชวยเหลือกัน พฤติกรรมเหลาน้ีได
เปลี่ยนแปลงไป มีการแบงพรรค แบงพวก แบงขาง แบงฝาย ความรับผิดชอบตามบทบาทหนาที่
ของหนวยงานตาง ๆ มีความขัดแยง ไมเปนไปตามหลักการ ไรมาตรฐาน หรือสองมาตรฐาน กฎ
กติกาทต่ี งั้ ข้นึ เกิดความขดั แยงประชาชนไมยอมปฏบิ ตั ติ าม

1.3 พฤตกิ รรมเบี่ยงเบนไปจากมาตรฐานของสังคม เปน พฤติกรรมทสี่ ังคมไมย อมรบั
หรือไมอาจทนรับได เชน ปญหายาเสพติด ปญหาโรคเอดส ปญหาโสเภณี ปญหาความยากจน
ปญหาเด็กและเยาวชน ปญหาครอบครัว ปญหาอาชญากรรม ปญหาความรุนแรง ปญหาการกดข่ี
ทางเพศ ปญหาการเอารัดเอาเปรียบ ปญหาสิทธิมนุษยชน ปญหาสิ่งแวดลอม ปญหาการเมือง การ
ซื้อสทิ ธิขายเสียง ปญหาคอรร ัปชั่น ปญ หาคุณภาพนักการเมอื ง การเมืองท่ีมงุ ผลประโยชนต นและ

159

ประโยชนของพรรคมากกวาผลประโยชนของประชาชน ปญหาความแตกแยกของประชาชนใน
ประเทศ ปญหากลไกราชการขาดการเอาใจใสดูแลกระบวนการรวมคิด รวมวางแผนและรวม
ดําเนินงานในระดับชุมชน ฯลฯ

ปญหาตาง ๆ นําไปสูความเส่ือมโทรมและเสื่อมถอยดานคุณธรรมจริยธรรมของ
สังคมไทยเปนอยางยิ่ง ดังนั้นการไดเรียนรูบทเรียนของประเทศอื่น ๆ ที่ไดเคยผานความยากลําบาก
และประสบการณที่เลวรายมามากกวาประเทศไทย ท่ีไมเคยตองตกเปนเมืองข้ึนของประเทศใดมา
กอน แตกลับไมสามารถพัฒนาใหเจริญกาวหนาไดเทียบเทา หรือกาวลํ้านําหนาประเทศอ่ืน ดังท่ี
ต้ังใจกอนป 2540 วาเราจะกาวขึ้นเปนเสือตัวท่ี 5 ของเอเชีย นอกจากไมสามารถประสบผลสําเร็จ
ดังท่ีตั้งใจแลว ที่สําคัญเราเองกับเปนผูบั่นทอนความนาเช่ือถือของประเทศ สรางภาพลักษณของ
ความแตกแยก ความรุนแรง การกอการรายใหตางประเทศทั่วโลกรับรูวาเราเปนประเทศท่ีไม
ปลอดภยั ในระยะ 5 ปท ่ีผานมานับตัง้ แตพ.ศ.2549 เปน ตน มาถึงปจจุบนั (พ.ศ.2554)

2. บทเรียนที่ไดเรียนรูจากประสบการณและการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม ของประเทศ
อื่น ๆ ขางตน ซึ่งทุกวันนี้สามารถจะกลาวไดวา ประเทศเหลานั้นประสบผลสําเร็จในการแกปญหา
การฟนฟูและการพัฒนาประเทศ จนสามารถกาวนําไปยืนอยูแถวหนาในระดับภูมิภาคได บทเรียน
ของความสําเร็จมีปจจัยและกลไกสําคัญในการขับเคล่ือนกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม
ดงั นี้

2.1 บทบาทของผูนําในสังคม ไดแก ผูนําการปกครองบานเมือง ผูนําทางจิตวิญญาณ
ผูนําทางปญญา เปนปจจัยท่ีสําคัญที่มีอิทธิพลอยางสูงในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมท้ังการเปน
แบบอยาง การสงเสริมสนับสนุนและผลักดันทุกสวนใหปฏิบัติไดจริง ดังน้ันผูนําเองจะตองมี
คุณสมบัติทั้งสวนตัวและพฤติกรรมตอสวนรวมที่เปนคนดี มีความประพฤติและการปฏิบัติที่
ถูกตองชอบธรรม เปนผูที่มีความรูความสามารถและมีคุณธรรมของการเสียสละ ซื่อสัตย รักชาติ
เปนผูที่มีความอดทน อดกลั้น พากเพียร มุงม่ันในการตอสูกับปญหา มีจิตใจที่ตองการชวยเหลือ
ดวยความรัก ความเมตตากรุณาใหประชาชนในประเทศพนจากความทุกข ความยากลําบากและ
ความขมขืน่ สนิ้ หวังในชวี ิต สนับสนุนงบประมาณ แนวทาง ความคิด การเรยี นรู ผลกั ดนั ใหเ กดิ การ
ปฏิบัติไดจริงในการพัฒนาสังคมโดยใหประชาชนไดมีสวนรวม ท้ังแรงกายแรงใจ เพื่อใหเกิดการ
ชวยเหลือและพ่ึงพาตนเองได สรางความแข็งแกรงใหเกิดขึ้นกับชุมชน ปูพ้ืนฐานปลูกฝงคุณธรรม
จริยธรรมดวยการกระทําใหดู ดวยหลักคําสอนและการปฏิบัติจริง พรอมกับการถายทอดให
ประชาชนไดเรียนรูประวัติศาสตรของชาติไทยอยางตอเน่ือง ถายทอดกิจกรรมที่ไดทําดวยจิตอาสา
ผานทางส่ือตา ง ๆ เพราะคนรุนใหมที่มคี วามเปนอยูทส่ี ะดวกสบายในวันน้ี จนอาจหลงลืมและไมมี
ความซาบซง้ึ ถึงความยากลาํ บากทบ่ี รรพบรุ ษุ ไดตอสูและสรางรากฐานไวให สรางคานิยมของความ

160

กตญั ูเปนคุณสมบัตขิ องคนดี คนท่ีไมมคี วามกตัญูจะไมส ามารถเปน ผปู ระสบผลสําเร็จได เพราะ
จะไมเปนท่ียอมรับของสังคม ฉะน้ันบทบาทของผูนําจะตองคํานึงถึงประโยชนของสวนรวมเปน
สําคัญ หากผูนําไมสามารถทําใหดีได ก็พึงตระหนักถึงหลักคําสอนหนึ่งของขงจ้ือที่วา “สัตบุรุษ
ทุกขรอนวาตนไรสามารถ แตมิทุกขรอนวาผูอ่ืนไมรูถึงความสามารถของตน” (เจษฎา ทอง
รุงโรจน. 2554 : 177) ดังนั้นหากสังคมไทยไดผูนําท่ีเปนสัตบุรุษเชนนี้ ประชาชนยอมไดรับความ
สงบสขุ รม เยน็

2.2 บทบาทของสถาบนั พนื้ ฐานทางสังคม เชน สถาบันครอบครวั สถาบันการศึกษา
สถาบันศาสนา เปนสถาบันที่มีสวนสําคัญในการขัดเกลาอบรมบมเพาะคุณธรรมจริยธรรมแก
สมาชิกทั้งในครอบครัวและสังคม เพราะเปนสถาบันท่ีมีความสัมพันธใกลชิดและเปนศูนยรวมใจ
ศูนยรวมการทํากิจกรรมทางสังคม ดังนั้นความเขมแข็งและคุณภาพของสถาบันเหลาน้ีจึงมี
ความสําคัญอยางยิ่ง เชน พอแมที่มีการศึกษา มีเหตุมีผล มีวิธีคิดที่ดี ท่ีถูกตอง จะสามารถอบรม
สั่งสอนและเปน แบบอยา ง ทําใหล ูกมคี วามอบอนุ และมกี ารเลยี นแบบพอ แมท่ตี นถอื เปน ฮีโรของลูก
ทุกคน สวนนักบวชทางศาสนาซ่ึงเปนศูนยรวมใจ ศูนยรวมความเชื่อความศรัทธา มีการอบรม
สั่งสอนและผลิตนักบวชท่ีมีคุณภาพ มีวัตรปฏิบัติท่ีอยูในศีลในธรรม มีการปฏิบัติที่เปนแบบอยาง
สามารถเปนผูนําทางวิญญาณและเผยแผธรรมะท่ีถูกตองแกประชาชน สวนสถาบันการศึกษามีการ
ทาํ งานประสานกับผูปกครองใหมีสวนรวมในการจัดการศึกษาแกลูกหลาน มีการพัฒนาหลักสูตรที่
สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในทุกระดับช้ัน การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมจึงกระทํากับบุคคลใน
ทุกระดับต้ังแตผูนําทุกระดับในหนวยงานองคกร นักการเมือง ขาราชการ พอแม ครูบาอาจารย
นักบวช เด็กและเยาวชน

2.3 การปฏิรปู การศึกษาและการปฏริ ปู สื่อ ถอื เปน เครอ่ื งมือทีส่ าํ คญั ในการขบั เคลอ่ื น
คุณธรรมจริยธรรมใหถูกทิศถูกทางและขยายไปในวงกวาง การจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคลอง
กับกลุมเปาหมายในแตละระดับ แตละชวงวัย โดยกําหนดไวเปนหลักสูตรที่เปนมาตรฐานใชท้ังใน
เมืองและชนบท มีบทเรียนท่ีนําหลักธรรมทางคุณธรรมจริยธรรมสอนใหรูวาคนดีตองทําอยางไร มี
วิธีคิดท่ีเปนเหตุเปนผล รูจักการใหเกียรติผูอื่น ยอมรับในความแตกตางของเชื้อชาติ ศาสนาและ
ความเชอื่ ของบุคคล ฉะน้ันจดุ มงุ หมายของการศกึ ษาที่ดีเพอ่ื ใหเกิดทักษะความรูความเชี่ยวชาญและ
มีคุณธรรมจริยธรรมอันเปนคุณสมบัติที่พึงประสงคของสังคม สําหรับส่ือมวลชนซึ่งเปนเครื่องมือ
และชองทางการพัฒนาสังคม ดังน้ันนักส่ือมวลชนและสื่อมวลชนท่ีมีคุณภาพจะทําบทบาทหนาท่ี
ของตนเองอยางถูกตองในการชี้นํา ชี้แนะและเฝาระวัง ตรวจสอบขอมูลขอเท็จจริงสิ่งตาง ๆ ท่ี
เกิดข้ึนเพ่ือใหสังคมไดรับรู ไมบิดเบือนขอมูลจากความเปนจริง หรือตกอยูใตอิทธิพลของอํานาจ
หรือทุน ทําใหสูญเสียจรรยาบรรณและจิตวิญญาณคุณธรรมจริยธรรมที่สงผลกระทบตอสังคมใน

161

วงกวาง เชน สื่อใหความสําคัญกับกิจกรรมดี ๆ ที่เปนกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา
สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต งดเวนการเสนอขาวความรุนแรง กระตุนสงเสริมใหเด็กรักการอาน
จัดแบงเวลาอยางเหมาะสมและเนนรายการเด็ก ดานความรู เกมวิทยาศาสตร ภาพยนตรท่ีมีคติ
สอนใจใหเด็กเปนคนดีมีคุณธรรม ถายทอดรายการสารคดี ประวัติศาสตร วัฒนธรรมของประเทศ
เพอ่ื ใหเ ดก็ และเยาวชนไดเรยี นรรู ากเหงาของตนเองและเขาใจวัฒนธรรมของตนเองอยางลึกซ้ึง จาก
วิธีท่ีส่ือของประเทศเหลาน้ีนําเสนอทําใหประชาชนในประเทศเปนคนรักชาติ เขาใจวัฒนธรรม
ตนเองและรอบรูเ รื่องของสงั คมโลก เพราะมีความใฝร ูใ ฝเรยี นและไดรับขอ มูลจากสือ่ ทีม่ คี ณุ ภาพ

3. แนวทางแกไ ขปรบั ปรงุ และบม เพาะคณุ ธรรมจริยธรรมในสงั คมไทย จากการเรยี นรู
ประเทศอ่ืน ๆ ในเบ้ืองตนจะตองยอมรับความเปนจริงวาสังคมไทยไดเกิดปญหาอะไร จะสามารถ
นําบทเรียนใดมาประยุกตใชอยางไร เพราะประเทศไทยอาจมีรายละเอียดบางอยางท่ีแตกตางและ
ประเทศไทยกม็ ีจดุ แขง็ ของตนเอง อยางไรก็ตามปจจุบันเปนที่ยอมรับวาสถาบันทางสังคมของไทย
มีความออนแอไมสามารถเปนผูนําในการขัดเกลาและชี้นําสังคมในส่ิงท่ีถูกตองได เชน สถาบัน
ครอบครัวออนแอ พอแมไมสามารถเปนแบบอยางและอบรมส่ังสอนใหความอบอุนกับลูกได
สถาบันศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนาก็มีความขัดแยงกันมากขึ้น นับวันองคกรท่ีดูแลพุทธศาสนา
ท้ังฝายศาสนจักรและอาณาจักรตางออนแอเพราะไมเครงครัดตามหลักธรรมคําสอน ทําใหไม
สามารถทําหนาทเี่ ปน ศูนยร วมของความศรทั ธาทมี่ พี ลังไดอ ยางเขมแขง็ พทุ ธศาสนิกชนตางคนตาง
คนหาผูนําทางจิตวิญญาณตามความเชื่อความเขาใจของตนเอง สถาบันการศึกษาที่มุงสอนคนให
เปนคนเกง ใชความรูความสามารถเพ่ือความสําเร็จและความรํ่ารวยของตน การสรางคานิยมทาง
สังคมท่ี ยกยองช่ืนชมคนรวย วาเปนคนเกง สื่อมวลชนท่ีถูกครอบงําดวยระบบทุนทําใหไมเปนตัว
ของตวั เองและตกอยใู นอทิ ธพิ ลของอาํ นาจเงินท่จี ะเสนอขาวไปตามความตองการของนายทุน จงึ ไม
อาจเปนทหี่ วงั หรอื พึ่งพาในการพัฒนาประเทศไดอยา งเตม็ ที่เหมอื นในอดตี ทผี่ า นมา

ดังน้นั สิง่ ทส่ี งั คมไทยจะตองตระหนกั ถงึ ความออนแอของสถาบันพ้ืนฐานทางสังคมท่ีนาํ
ไปสูความเสื่อมโทรมทางคุณธรรมจรยิ ธรรม ตองไดร บั การแกไ ข ดังนี้

3.1 การนําคณุ ธรรมจรยิ ธรรมสากลขน้ั พ้ืนฐาน ทีป่ ระเทศสวนใหญใ หการยอมรับ
และถือปฏิบัติเพื่อเปนฐานการอยูรวมกันอยางสันติ ไดแก ความขยัน อดทน ซื่อสัตย มีวินัย
รับผดิ ชอบ ประหยดั ประเทศไทยเองก็มีหลักคําสอนที่ใกลเคียงกับกลุมประเทศในเอเชีย คือ ความ
กตัญู ออนนอมถอมตน เคารพผูอาวุโส สิ่งท่ีควรปลูกฝงเพ่ิมเติมคือ การทํางานหนักดวยความ
มุงม่ันตั้งใจและเห็นปญหาเปนสิ่งทาทาย ท้ังน้ีดวยนิสัยคนไทยเปนคนรักสนุก ชอบความ
สะดวกสบาย จึงทําอะไรเลน ๆ มีปญหายุงยากก็มักจะหนีปญหา นอกจากนี้ยังตองฝกทักษะเรื่อง
การคิดวิเคราะหดวยเหตุดวยผล ซึ่งเปนเร่ืองที่นาแปลกใจวาในอดีตคนไทยมีใจเอ้ือเฟอ ยอมรับ

162

ผูอื่นไดงาย ประชาชนในประเทศสามารถอยูรวมกับความแตกตางของคนหลายเช้ือชาติ ศาสนา
และวัฒนธรรมไดอยางกลมกลืนเปนเนื้อเดียวกัน แตปรากฏวาในปจจุบันความคิดทางการเมืองที่
แตกตางทําใหเกิดความแตกแยกของประชาชน ถึงข้ันแกปญหาดวยความรุนแรง แมแตภายใน
ครอบครวั ความสมั พันธก ็ยังหวน่ั ไหวและเปราะบาง

3.2 ประเทศไทยไมเคยผานประสบการณทางประวัติศาสตรของการตกเปนเมืองข้ึน
หรอื การตอสู ไมเคยมีบทเรียนความเสียหายท่ีตองสรางชาติข้ึนมาใหมและตองใชเวลานานหลายป
กวาจะฟนฟู กวาจะพัฒนาประเทศใหเจริญข้ึน เหตุการณเหลานี้แตกตางกับประเทศในกลุมเอเชียที่
ไดกลา วมาแลว ถึงแมวาประเทศไทยจะมีประวัติศาสตรสมัยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี 1 คร้ังที่ 2 แตก็
ดูเหมือนวาคนไทยในปจจุบันจะลืมประวัติศาสตรดังกลาวไป ความสุข ความสะดวกสบาย การถูก
ครอบงําจากกระแสโลกาภิวัตนทุนนิยมเสรีประชาธิปไตย ทําใหสังคมไทยเส่ือมถอยทางคุณธรรม
จริยธรรมลงเร่ือย ๆ เรียกไดวา ประเทศไทยอยูในภาวะคุณธรรมจริยธรรมตกต่ํา เกิดปญหาความ
รุนแรง ปญหาคอรรัปช่ันเปนที่ยอมรับไดในสังคม จากเอแบคโพลล ของนายนพดล กรรณิกา
ผอู ํานวยการศนู ยว ิจัยความสขุ ชมุ ชน มหาวทิ ยาลัยอัสสมั ชญั (โสภณ แดงโสภณ. 2554. ออนไลน)
พบวา ประชาชนรอยละ 64.5 ยอมรับรัฐบาลที่ทุจริตคอรรัปชันได ถาทําใหประเทศชาติรุงเรือง
ประชาชนกินดีอยูดี ตนเองไดรับประโยชนดวย โดยกลุมเยาวชนอายุต่ํากวา 20 ปและผูมีรายได
มากกวา 20,000 บาทตอเดือน ยอมรับได รอยละ 71 นักเรียน นักศึกษา ยอมรับได รอยละ 72.3
รองลงมาพอคา นักธุรกิจ ผูประกอบการสวนตัว รอยละ 67 พนักงานบริษัทเอกชน รอยละ 64.9
กลุมเกษตรกรและผูใชแรงงานท่ัวไป รอยละ 56.4 กลุมขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ รอยละ 50.
และผลของการสํารวจท่ีผานมา 2 ครั้งไดคําตอบที่ใกลเคียงกัน วา ประชาชนยอมรับการทุจริตได
หากตนไดรับประโยชนด ว ย แมวาหลายคนหลายฝายตางมคี วามหว งใยตอ ความคิดท่หี ลงผดิ ไปจาก
มาตรฐานทางจริยธรรม เพราะการทุจริตคอรรัปชั่นเปนภาระตนทุนทางสังคมท่ีทุกคนตองแบกรับ
ดังนั้นจึงเปนส่ิงท่ีทุกฝายตองทบทวนความตกต่ําในครั้งน้ีและผลที่จะตามมาในอนาคต สังคมตอง
เรงสรา งความเขาใจและตระหนักถึงภัยทีจ่ ะเกิดขน้ึ ในอนาคต

3.3 ความสําเร็จจะเกิดข้ึนในสังคมไทยได สิ่งสําคัญตองไมลืมรากเหงา วัฒนธรรม
ประเพณีที่งดงามของชาติและจะตองดํารงรักษาไวใหมีการสืบทอดรุนตอรุน ซ่ึงจุดบกพรองท่ีผาน
มาของประเทศ คือ เนนการพัฒนาจนกอใหเกิดความเสียหายตอเอกลักษณ ความเปนตัวตนที่
แทจริงของไทย แตยอมใหถูกครอบงําและเปนไปตามกระแสคานิยมตะวันตก ดังนั้นการประพฤติ
ตัวของผูบริหารบานเมือง ผูหลักผูใหญท่ีมีความรับผิดชอบตอสังคมจะตองทําตัวเปนแบบอยางท่ีดี
มีศีล มธี รรม ซอื่ สตั ย มีความอดทน อดกลนั้ ไมฉอ ฉล ไมม ัวเมาลมุ หลงอบายมุข รักชาติและทําสิ่งที่

163

สรางสรรคแกสังคม เพ่ือเด็กและเยาวชนจะไดทําตามแบบอยางท่ีดี มิฉะนั้นก็ไมอาจที่จะสอนเด็ก
และเยาวชนใหเปนคนดีได ถาผูใหญเองไมเ ปนแบบอยา งที่ดี

3.4 ใหค วามสําคัญและสงเสริมความเขม แข็งของสถาบันครอบครัว ทั้งนี้รัฐบาลตอ ง
มีนโยบายท่ีชัดเจนในการสงเสริม สนับสนุน ใหการชวยเหลืออยางเปนรูปธรรม ไมปลอยใหแตละ
ครอบครัวตองตอสูโดยลําพัง สิ่งสําคัญท่ีทําใหครอบครัวออนแอ เกิดจากปญหาดานเศรษฐกิจ
ปญหาปากทอง พอแมตองทํางานกันตัวเปนเกลียวไมมีเวลาท่ีจะดูแลอบรมสั่งสอนและใหความ
อบอุนแกลูก รวมท้ังปญหาสังคมที่ซับซอนและมีส่ิงกระตุนกิเลสทําใหการควบคุมพฤติกรรมที่จะ
เลือกในสิ่งท่ีกอใหเกิดความเส่ือมเสียแกสมาชิกในครอบครัวไดงาย ดังน้ันนอกจากแตละ
ครอบครัวจะตองดูแลเอาใจใสใหมากขึ้นแลว หนวยงานของรัฐหลายหนวยงานนาจะมีสวนท่ีเขา
ไปชวยเหลือ เชน การสงเสริมสนับสนุนความเขมแข็งใหแกครอบครัวในรูปของกิจกรรม
โครงการและประสานความรวมมือกับการใชสื่อสารมวลชนในเชิงสรางสรรคท่ีกอใหเกิดความรู
ความเขา ใจและประโยชนท ีจ่ ะเกดิ แกส ถาบนั ครอบครวั เปน ตน

3.5 การปฏิรูปการศึกษา นับวาเปนปญหาใหญ ทิศทางการปฏิรูปและการปฏิบัติที่
ผานมาดูเหมือนจะเกาไมถูกที่คัน การปฏิรูปการศึกษาไทยเนนใหเกิดการแขงขันทางดานความรู
เพื่อใหสามารถสอบเขามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของประเทศ จบออกมาจะไดมีอาชีพที่ดี ทํารายได
สูง ๆ เปนท่ียอมรับของสังคมและคานิยมนี้ยังคงอยูในสังคมไทย ท้ังที่ประเทศทั่วโลกให
ความสําคัญกับสถาบันการศึกษาท่ีเปนองคกรหลอหลอมคุณธรรมจริยธรรมของเด็กตั้งแตระดับ
อนุบาล เพราะถือเปนรากฐานสําคัญทจี่ ะตอ งวางฐานใหถูกตองแข็งแรง ทั้งน้ีตองมีการปลูกฝงอยาง
ตอ เน่ืองในระดับที่สงู ขึ้นไป จึงตอ งทําใหสถาบนั การศึกษาไดคุณภาพมาตรฐานในระดับที่ใกลเคียง
กัน ใหงบประมาณสนับสนุนที่เพียงพอ การจัดระบบการศึกษาใหเด็กรูจักการคิดวิเคราะห กลาคิด
กลาแสดงออก รวมไปถึงการเรียนการสอนจะตองมีการสืบทอดอุดมการณของบุคคลสําคัญที่เปน
ศูนยรวมของความศรัทธา ดังเชนหลายประเทศไดใชหลักการนี้จนประสบผลสําเร็จ เชน เวียดนาม
เกาหลี เยอรมัน สําหรับประเทศไทยบุคคลสําคัญที่สามารถสรางพลังศรัทธาไดมีอยูไมนอย แต
ไมไดม กี ารกระทาํ ท่ีเปน ระบบ หรือมกี ารถา ยทอดใหต อ เน่ือง โดยเฉพาะกับเด็กและเยาวชนรุนใหม
ที่ไมไดรับรู ไมรูจัก ไมสนใจ จึงเปนหนาที่ที่ระบบการศึกษาจะตองจัดการใหเด็กและเยาวชนได
ตระหนักถึงแบบอยางการปฏิบัติ แนวคิด หลักคําสอนของบุคคลสําคัญ เชน พระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทานพุทธทาสภิกขุ พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ.ประยุตโต)และบุคคล
สําคัญอีกมากมาย ที่ไดรับการยอมรับทั้งในระดับประเทศ รวมท้ังที่ไดรับการยกยองจากองคกร
ยูเนสโกใหเปนบุคคลสําคัญของโลก แตนาเศราใจที่คนไทยสวนใหญไมรับรูและไมไดเรียนรู
แบบอยางการดําเนินชีวิตดวยคุณธรรมท่ีงดงาม สามารถนํามาเปนแรงบันดาลใจ นํามาปลูกฝง

164

คุณธรรมจริยธรรมแกประชาชนไทยได ส่ิงที่คนไทยพึงตระหนักถึงรากเหงาของประเทศไทย

เกิดข้ึนจากพุทธศาสนา กษัตริยทุกพระองคต้ังแตสมัยกรุงสุโขทัยลวนเลื่อมใสในพุทธศาสนา

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช ไดเคยทรงพระราชนิพนธเพลงยาวแถลงความใน

พระราชหฤทยั ไวตอนหน่งึ วา ..(บวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ, 2542. ออนไลน)

“ตงั้ ใจจะอปุ ถมั ภก ยอยกพระพุทธศาสนา

จะปองกนั ขอบขัณฑสมี า รักษาประชาชนแลมนตร”ี

มาจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจาอยูภูมิพลอดุลยเดช ไดทรงประกาศพระองค
ทรงเปนพุทธมามกะและทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก อยางไรก็ตามพระมหากษัตริยของไทยไดทรง
เปนตัวแทนของชาติประกาศความมีนํ้าใจกวางขวาง ไมรังเกียจกีดกันผูท่ีศรัทธาเลื่อมใสศาสนา
ตางกัน ทุกคนลวนแตเปนขาแผนดินผูอยูในขายแหงพระมหากรุณาเสมอกัน นอกจากนี้ตลอด
รชั กาลที่ผานมาจนถึงปจจุบัน พระองคไดทรงยึดมั่นทศพิศราชธรรมและพระราชกรณียกิจทุกอยาง
เปนไปเพ่ือประโยชนสุขของปวงชนชาวไทย ดังน้ันคนไทยทุกคนตองตระหนักและรําลึกถึงพระ
มหากรุณาธิคุณที่ไดทรงสรางคุณูปการท้ังหลายเพื่อแผนดินไทยและทรงเปนแบบอยางดาน
คุณธรรมจริยธรรมท่ีงดงามย่ิงในฐานะของกษัตริยท่ีทรงทศพิศราชธรรม กตัญูกตเวทีและศีลจริย
วัตรท่ีงดงามของพุทธมามกะ

3.6 การปฏริ ปู ส่อื และส่ือสารมวลชน พงึ รักษาจรรยาบรรณวชิ าชพี อยางเครง ครดั
และเขาใจความสําคัญของความเปนสื่ออยางถูกตอง ไมทําตัวเปนผูรับใชนายทุน หรือเปนนายทุน
เสียเอง เพราะส่ือถือเปนเครื่องมือที่ส่ือสารไดรวดเร็วและกวางขวาง สามารถที่จะเปนแบบอยาง
เปนผูชี้แนะส่ิงที่ถูกตองใหแกสังคม ในประเทศไทยรัฐซึ่งเปนเจาของสถานีโทรทัศนหลายแหง
แตไมไดบริหารงานใหเกิดประโยชนในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกสังคม เพราะไดขาย
สัมปทานแกเอกชนไปบริหารงานเพื่อประโยชนทางธุรกิจ ทําใหรายการท่ีเปนประโยชนในการ
สง เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมมีนอยและอยูใ นชว งเวลาทไ่ี มเ หมาะสม เชน รายการธรรมะจะอยูชวงดึก
หรือเชามืด นอกจากน้ียังไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณทําใหรายการธรรมะดี ๆ ไมมีใหไดชม
ในฟรีทีวี แตจะเนนรายการบันเทิง ท่ีกระตุนการเพิ่มกิเลสของความอยาก ความโลภ การบริโภค
ความฟุงเฟอ เสยี มาก ซง่ึ แตกตางจากประเทศที่เจรญิ แลว ท้ังหลาย

ปจจุบันประเทศไทยไดจัดต้ังสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ
โทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ตามพระราชบัญญัติองคการจัดสรรคลื่น
ความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุ โทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 โดย
คณะกรรมการกจิ การ กระจายเสียง กิจการโทรทศั นแ ละกจิ การโทรคมนาคมแหงชาติ (National

165

Broadcasting and Telecommunication Commission : NBTC) เปนหนวยงานอิสระของรัฐมีบทบาท
หนาท่ีในการบริหารความถ่ีวิทยุ เพ่ือกิจการโทรคมนาคมและกํากับดูแลการประกอบกิจการ
โทรคมนาคม กห็ วงั วาในอนาคตสงั คมไทยจะมีรายการทีเ่ ปน ประโยชนเพ่มิ มากข้นึ

สรปุ

การเรียนรูการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ ท้ังในกลุมเอเชีย กลุมยุโรป
และกลุมประเทศในอเมริกาเหนือและแปซิฟค ตางมีคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมที่นาสนใจ
คือ กลุมประเทศในเอเชีย 5 ประเทศไดแก เกาหลี ไตหวัน เวียดนาม ศรีลังกาและอินเดีย จะมี
ลักษณะการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมท่ีใกลเคียงกัน รวมถึงประเทศไทยดวย เชน การยึดหลักคํา
สอนทางศาสนา คําสอนของบุคคลสําคัญของประเทศ โดยประเทศที่มีประวัติศาสตรท่ีผานความ
ยากลําบากจะเนนเร่ืองของความขยัน อดทน ซ่ือสัตย กตัญู รักชาติ รับผิดชอบ มีวินัยและรัก
การศึกษา แมจะยากจนก็ไดรับการปลูกฝงใหเห็นความสําคัญของการศึกษา กลุมประเทศยุโรป
อเมรกิ าเหนือและแปซิฟคใต จะเนน ปลกู ฝง เร่อื งของการตรงตอ เวลา ความขยัน ประหยัด รกั สันติ มี
เหตุมีผล เปนตัวของตัวเอง เคารพผูอ่ืนและเคารพในความแตกตาง ซึ่งแตละประเทศก็จะใช
เคร่อื งมอื ของสถาบนั ตาง ๆ เขามาทําหนาท่ีในการขัดเกลาคุณธรรมจริยธรรม เชน บทบาทของผูนํา
การปกครอง ผูนําทางจิตวิญญาณ ผูนําทางปญญา ศาสนา ปรัชญาและความเช่ือ สถาบันครอบครัว
สถาบันการศึกษา บทบาทของรัฐ สื่อสารมวลชนและการมีสวนรวมของชุมชน ตลอดจนการใช
เหตุการณในประวัติศาสตรของชาติและภูมิศาสตรของตน จากการเรียนรูบทเรียนการปลูกฝง
คุณธรรมจริยธรรมของประเทศตาง ๆ จะพบจุดออนมากมายในสังคมไทย ที่จะตองรีบแกไขโดย
ตองกลับมาทบทวนและนําคุณธรรมจริยธรรมสากลพ้ึนฐานมาถือปฏิบัติ การเรียนรูประวัติศาสตร
วัฒนธรรมที่ดีงามของประเทศ ตลอดจนการสรางความเขมแข็งใหแกสถาบันครอบครัว การปฏิรูป
การศึกษาท่ีถูกทิศทาง การปฏิรูปส่ือสารมวลชนใหสรางสรรคงานที่กอใหเกิดปญญาและเปน
ประโยชนตอสังคม จึงอาจกลาวไดวาถาคนในสังคมเขมแข็งดวยคุณธรรมจริยธรรมก็จะสงผลให
เกิดความสงบ เรียบรอยไปทั่วทุกวงการ ตลอดจนความสามารถในการพัฒนาประเทศใหเปนที่
ยอมรับในภมู ภิ าค ดงั เชน ประเทศทก่ี ลา วมาขางตน แลว

166

กรณีศึกษา

คมสรญั ญี. (นามแฝง). (2542. ออนไลน) ไดวเิ คราะหบ ทความ เรือ่ ง “ทางออกประเทศ
ไทย...มมุ มองจากแผน ดินพทุ ธภูมิ”)

ในชวงน้ไี ดตดิ ตามขา วสารบานเมืองมาตลอดดวยความเปนหวง โดยมองภาพรวม ในมุม
หน่ึงของความรูสึกจากผูอยูแดนไกล..สิ่งที่ไดเห็นคือ แรงชักจูงของสื่อตาง ๆ อันสืบเน่ืองดวยการ
วิเคราะหเหตุการณท่ีเกิดข้ึนในบานเมืองปจจุบัน ดุจเปนการชี้นํา ยิ่งแตจะเติมความรุนแรงและ
แตกแยก และที่สําคัญคือสื่อกลับใหโอกาสคนท่ีทําความผิดไดใชแกตัวเรียกรองความถูกตองเปน
ธรรมใหกับตัวเองทั้ง ๆ ที่เปนความผิดอยางที่เห็นไดชัด โดยไมไดพิจารณากลั่นกรองการนําเสนอ
ส่ือน้ัน ๆ เลย จึงกลายเปนความชอบธรรมและเรียกรองความถูกตองของคนทําผิดไปเลย ผูแทน
ของประชาชนทําหนาที่แคสรางกระแสเรียกรองความเปนธรรมแตเนื้อแทแลวไมมีอะไรท่ีนาฝากผี
ฝากไขไดเลย และนอยนกั ท่จี ักมกี ารเสนอทางออกใหกบั ปญหาหรอื นกั วิเคราะหส รางสรรค มีแตจะ
ชวงชิงชองทางที่ไดเปรียบสาดโคลนใสฝายตรงขาม สานตอกอเวรกรรม นําความขัดแยงมาใหซ่ึง
กันและกัน อันจักยิ่งทําใหเพ่ิมเติมไฟแหงความแตกแยก แบงแยก แบงฝายมากยิ่งข้ึน ฝายท่ีคิดวา
ตัวเองชนะ..ก็ไดทีข่ีแพะไล คิดวาผูชนะจะทําอะไรก็ได ฝายท่ีแพก็หาทางกอเวร..ผูกอาฆาต รอ
โอกาสเอาคืน เชนนี้แลวเราจะเห็นลําแสงที่ปลายอุโมงคแหงสันติไดอยางไร นับเปนเรื่องที่
อนั ตรายตอ สถานะความมน่ั คง เศรษฐกิจ สงั คมในทกุ ๆ ดา นของประเทศในยามนี้ และเปนการยาก
ท่จี ักหาจดุ เชือ่ มประสานซงึ่ ความสามัคคกี นั ไดอกี

ทางออกที่เราจะมองหากัน ดูเหมือนวา...ทุกคนก็เรียกรองเพื่อการสมานฉันท อยากเห็น
ความสามคั คขี องคนในบานเมอื ง ในขณะเดียวกนั บคุ คลทีเ่ ปนตนเหตขุ องเรอื่ งกไ็ มกลาทีจ่ ักเสยี สละ
ผลประโยชนสวนตน เพื่อสวนรวมคือประเทศชาติใหอยูรอด.. ยิ่งแตจะกลับนําผลประโยชน
สว นตวั ทีม่ ี หาชองทางเพ่ือไดคืนมาซ่ึงประโยชนสวนท่ีตนเองเสียไป โดยไมสนใจใยดีวาอะไรบาง
ท่ีจะมีผลกระทบและความเสียหายตอประเทศชาติบานเมือง ย่ิงแตจะเปนการโหมไฟใหเผาไหม
ประเทศชาติบรรลัยเร็วข้นึ เทานนั้ เอง

เพื่อปรับอารมณ ปรับต้ังสติกันใหมเสียกอน ขอทุกทานไดมามองตนเองเสียกอน ให
พิจารณา ถึงความเปนจริงของชีวิต วา เรามีความตายเปนที่สุด...สุดทายแลวก็นําอะไรไปไมได..
หากทุกคนคิดวา...วันหน่ึงเราก็ตายเปนเหมือนกัน ชาหรือเร็ว เราก็ตองตาย ลองทําใจปลอยวางใน
เร่ืองตาง ๆ ลงใหไดเสยี กอ น และหาท่พี ่ึงใหต นเองกอ น มองภายในใหมากกวาที่จะไปมองภายนอก
ความขัดแยงที่กําลังเกิดขึ้นน้ีเรามีสวนไดสวนเสียอะไรบางเปนสวนหน่ึงแหงปญหาบานเมืองที่
เกิดข้ึนนี้หรือไม ปรับตนใหสงบจากขางในกอน ถาขางในไมสงบ ก็อยาหวังวาความสงบจะมีขาง
นอกเลย วันเวลาผานไป โอกาสตาง ๆ ของเราก็ผานไป วัน ๆ เราไดทําอะไรบางอันจักเปนไป

167

เพื่อใหชีวิตมีคา มีสวนรวมในการพัฒนาประเทศชาติ บานเมือง รวมทั้งทําอะไรบางใหตัวเอง คน
รอบขา งท่มี คี ณุ คา แกค วามภาคภูมใิ จตนบา งหรอื ไม

ขอใหลองยอนกลับไปที่วินาที ท่ีทานไดหลุดออกจากครรภแหงมารดา..ถามวา ทุกคนมี
อะไรติดมือมาบาง ขอใหท ุกคนลองยอนกลับไปดทู ีม่ าของตน...จรงิ ๆ แลวเราไมม อี ะไรติดตัวมาเลย
ทุกอยางเรามาหาขางหนา...และวันท่ีเราจะจากมันไป..เราก็หิ้วหอบสิ่งเหลาน้ีไปดวยไมไดเชนกัน
แลวจะเอาอะไรกบั มนั กันหนักหนา

ยอนกลับไป ณ จุดเริ่มแหงสีตาง ๆ ไมวาเหลืองหรือแดง หรือน้ําเงิน...แตกอนก็ยังไมมีสี
ไมมีกลุมท่ีใหเราแบงแยกกันเชนนี้...ขอใหเรากลับไปท่ีเดิม ความรูสึกเดิมกอนท่ีจะมีสีในใจเราจะ
พบวา..ตอนนนั้ พวกเราอยูก นั ดว ยความสขุ ไมม ปี ญ หาใด ๆ ตอกันแตเ ม่ือมสี ีเราเร่ิมทะเลาะและแบง
ฝายกนั

ฉะน้ัน เมื่อพวกเรากําลังเรียกรองมองหาทางออก...ทุกคนตองการหาทางออกใหกับ
ประเทศ...เพราะตอนน้เี ม่ือมองไปขางหนาความหวังช่ังริบหรี่เหลือเกิน แตถาเรามองยอนกลับถอย
หลังไป..เราจะมองเห็นทางออกในทันทีวา ..ทางออกของประเทศชาติ จากความวุนวายอยู ณ ขณะน้ี
มันก็คือทางที่เราเดินเขามานั่นเอง กลับไปเถิดประเทศไทย กลับไป ณ จุดเดิมแหงหัวใจสีขาว
บรสิ ทุ ธ์ดิ ว ยกันเถดิ ....แสงทองแหง ความหวงั อยทู ตี่ รงน้นั ฯ

มามองในสวนแหงรูปธรรม...ที่เกิดข้ึนน้ี เหตุการณเกิดขึ้นในปจจุบันจากเสื้อเหลือง เส้ือ
แดง เสื้อนํ้าเงิน หรือไมมีเส้ือก็ตาม ตัวอยางท่ีเกิดข้ึนเชน คุณสนธิ ลิ้มทองกุล...ถูกลอบสังหาร
หากคุณสนธิ ตาย คิดหรือวาเร่ืองตาง ๆ จะจบลงงาย ๆ แมอดีตนายกทักษิณ ถูกฆา คิดหรือวา
ปญหามันจะจบ และก็ไมรูอีกกี่ชีวิตที่จะจบเพราะเหตุการณความขัดแยงเดินทางมาจนถึงจุดน้ีและ
จะดําเนินตอไป...จนเรามองไมเห็นวาจะจบไดอยางไร ย่ิงมองไปขางหนาย่ิงมองเห็นความขัดแยง
การแบงแยก แตกสามัคคีกันของคนในชาติท้ังน้ัน แนนอนทุกคนตางก็มีอดีต แตถาลืมอดีตไป
มองเห็นปญหาดวยความเปนหวงชาติบานเมืองดวยกันทุกคนแลวอภัยใหกันทุกอยางก็จบ ท้ัง ๆ ที่
ตางฝายตางก็บอกวารักชาติ เทิดทูลสถาบันพระมหากษัตริย แตการกระทําท่ีกําลังกระทําของบาง
กลุม บางคนอยูนี้ไมเปนไปเพ่ือชาติ เพื่อพระมหากษัตริยเอาเสียเลย ทุกวันประเทศชาติกําลังบอบชํ้า
หนัก การท่ีทานเพิ่มความวุนวายเพิ่มปญหาใหกับบานเมือง และการนําความผิดพลาดตาง ๆ ที่
เกิดขึ้นในประเทศไปประจานใหชาวโลกรูทั่วน้ัน ก็เทากับวาทานนั่นแหละคือตัวการทําลายชาติท่ี
แท...ปญหาเกิดขึ้นภายในประเทศ...ก็ตองดับในประเทศ อยาหาทางดับนอกประเทศเลย มันไมมี
ทางดบั ไดห รอก ฯ

- ขอทุกคนเสียสละกันจริง ๆ สักคร้ังเพ่ือประเทศชาติเถิด...ชางชนชาง หญาแพรกก็มีแต
แหลกราน..เมื่อบานเมืองมีปญหา ประชาชนตาดํา ๆ เทานั้นคือดานแรกท่ีตองมารับเคราะหกรรม

168

ทุก ๆ คร้ังอยางท่ีเห็นอยูน้ี โปรดเมตตาเขาเหลานั้นเถิด แคชีวิตหาเชากินค่ํารอดไปวัน ๆ ก็ลําบาก
มากพอแลว อยาใหพวกเขาตองมารับเคราะห นําพวกเขาเปนเคร่ืองมือ เพราะบรรดาผูมีอํานาจ
ท้ังหลายในบานเมอื งทะเลาะกันอีกเลย

- ขอใหกลาเสียสละ...เพราะตอนนี้ตางฝายตางเรียกรองใหมีการเสียสละแตตนเองแม
ความคิดก็ยังไมเคยท่ีจะคิดเสียสละ หากยอมไมเปนเย็นไมได ก็มีแตจะเพ่ิมความขัดแยง แบงแยก
อยางท่ีกําลังเกิดข้ึนอยูนี้ชัยชนะท่ีย่ิงใหญคือชนะตนเองตางหาก..จะภูมิใจไปใย ถึงชัยชนะท่ีอยู
เหนือซากปรักหกั พงั ของประเทศชาติ

- ขอใหทุกคนจงลืมสี เพราะสีน่ีเองทําใหเห็นถึงการแบงแยก กลับใจคืนสูสีขาวบริสุทธิ์
ดัง่ เดมิ กันเถิดอยา เรียกสี อนั เปน สอ่ื แหงการแบงแยกกนั อีกเลย

-ขอใหอดีตนายกทักษิณ...กลาเสียสละประกาศบริจาคทรัพยสินสมบัติท่ีถูกกลาวหาวา
ไดมาไมถูกตอง คืนแผนดินไปใหหมด เพราะทรัพยสมบัติเหลาน้ีเกิดท่ีน่ี...ก็มอบคืนที่น่ีกลับไปสู
เม่ือตอนที่ทานยังไมมี เพราะ เทาท่ีทานมีเหลืออยูน้ีตลอดชาติก็ใชไมหมด คืนใหเปนสมบัติของ
แผนดิน แลวกราบบังคมทูลขอพระราชทานอภัยโทษ... และจงเลิกจากการเลนการเมืองโดย
เด็ดขาด หากทานจะออกบวชใหรางวัลในบ้ันปลายชีวิตก็จักเปนเรื่องที่นาอนุโมทนา(ตรงน้ีอาจจะ
หวงั สูงเกนิ ไปหรอื เปลา)แผน ดินพุทธภมู ินีย้ งั ยินดีตอนรับทานเสมอ

-ขอพระคุณเจา ท่ีแสดงเปนนักการเมืองในคราบของนักบวช จงลาสิกขาไปเถอะอยานํา
ผาเหลอื งมาแปดเปอนเพราะเรอ่ื งน้เี ลย เพราะการเมืองเปน เรอ่ื งฆราวาสวิสัยครบั ทาน

-ขอรอยย้ิม แหง สยามจงกลับมาอยบู นใบหนา ของคนไทย สยามเมอื งยิ้มของเราจงกลบั มา
อยางทเี่ ราเคยเปนและเปน ทป่ี ระทบั ใจของตางชาตผิ ูมาเยอื น

-ขอนักการเมืองไทยทานนายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จงใชกลไกลดานรัฐสภา ท่ีสามารถ
ทาํ งานไดอ ยูนเ้ี ดินหนาหาทางออกใหกับประเทศ หากทา นสามารถผานชวงระยะสามเดือนจากน้ีไป
ได รัฐนาวาของทานจักนําพาบานเมืองพนปญหาน้ีไดแน ขอนักการเมืองท้ังหลาย จงฟนฟูศรัทธา
ใหกับประชาชน มีความมั่นใจในระบอบประชาธิปไตยของไทย อันมีองคพระมหากษัตริยทรงเปน
พระประมุข เรียกความซื่อสตั ย สุจรติ ซ่ือตรง จรงิ ใจของตนกลับมา คืนใหป ระชาชนผูเปนฐานเสียง
ของทานและกลบั มาเปน ตวั แทนของประชาชนอยางแทจ ริงเสียเถิด

-เรารูวา นิสัยคนไทย...พวกเราคนไทย โกรธงายหายเร็ว...ไมพยาบาท พรอมใหอภัย
สาํ หรบั ผูท ีส่ ํานกึ ผิดเสมอ ประเทศไทยเรามสี ามสถาบันหลักยนื หยัดความเปนไทยมาแตครั้งโบราณ
กาล...ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ  สามเสาหลักน่ีแหละคือความเปนประเทศไทย...ตองรักษา
ไวตราบนานแสนนาน เรามั่นใจวาทุกทานทําได...ผองไทยจะกาวไปสูความเจริญรุงเรืองท่ียิ่งใหญ
พรอม ๆ กันนับแตน ีไ้ ป ฯ

169

คําถาม จากบทความน้ี
1. ควรมกี ารปลกู ฝงคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในองคกรใดบาง
2. ใครควรเขามามีบทบาทสําคัญในการปลกู ฝงคณุ ธรรมจริยธรรม
3. หลกั การ หรอื หลกั คาํ สอนสาํ คญั ที่จะทําใหเ กิดคุณธรรมจรยิ ธรรมของการอยรู วมกัน
และความสงบ สนั ตจิ ะคืนกลับมา คืออะไร อยา งไร

170

บรรณานกุ รมทา ยบทที่ 7

คมสรญั ญี (นามแฝง). (2542). บทวเิ คราะหท างออกปญ หาประเทศไทย. [ออน-ไลน] .
แหลงทม่ี า: http://www.oknation.net/blog/mylifeandwork/2009/04/26/entry-1.

เจษฎา ทองรงุ โรจน. (2554). ขงจ้อื . กรงุ เทพฯ : แสงดาว.
เจือจนั ทร จงสถิตอยแู ละรงุ เรือง สุขาภริ มย. (2550). รายงานการสังเคราะหงานวิจัยคุณลักษณะ

และกระบวนการปลกู ฝง คุณธรรมจรยิ ธรรมของประเทศตาง ๆ. กรุงเทพฯ :
ศนู ยสงเสรมิ และพัฒนาพลังแผนดนิ เชิงคณุ ธรรม.
บวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ. (2542). พระมหากษัตรยิ ท รงเปน พุทธมามกะและทรงเปน
อัครศาสนปู ถมั ภก. [ออน-ไลน]. แหลงทม่ี า: http://guru.sanook.com/encyclopedia/
สํานกั บริการขอมลู และสารสนเทศ. (2554). แนวคิดเกย่ี วกับการขดั เกลาทางสงั คมและการอบรม
เลีย้ งด.ู [ออน-ไลน] . แหลงที่มา: http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?
topic=5899.0
โสภณ แดงโสภณ. (2554). เอแบคโพลเผย วัยรุน ไทยยอมรบั คอรัปชนั่ หากตนไดป ระโยชน.
[ออน-ไลน]. แหลง ท่ีมา: http://region4.prd.go.th/ewt_news.php?nid=5467
&filename=index
Broom, L., & Selznick, P. (1958). Sociology: A text with adapted readings. 2nd ed.
New York: Evanston Row, Peterson.
Turner, R. H. (2002). Handbook of Sociological Theory. New York: Kluwer Academic/
Plenum.

บรรณานุกรม

กฎหมายคมุ ครองทรัพยสินทางปญญา. [ออน-ไลน] . (2554). แหลง ท่มี า:
http://th.wikipedia.org/wiki/.

กรมพฒั นาธุรกิจการคา. (2554). การจดทะเบียนสมาคมการคา . [ออน-ไลน] . แหลง ทม่ี า:
http://www.dbd.go.th/mainsite/index.php?id=96.

กระทรวงวฒั นธรรม. (2554). คณุ ธรรม 8 ประการ. [ออน-ไลน]. แหลง ที่มา:
http://www.mculture.go.th/detail_page.php?sub_id=1059.

กรุณา-เรอื งอไุ ร กุศลาสัย. (2545). วาทะคานธี. กรงุ เทพฯ : ศยาม.
. (2553). ขาพเจาทดลองความจรงิ อัตชวี ประวตั ขิ องมหาตมา คานธี. พิมพค รัง้ ท่ี 5.
กรงุ เทพฯ : มลู นิธิโกมลคมี ทอง.

กววี งศ. (2550). สรรนิพนธพุทธทาสวาดวยสมานฉันทและสันตวิ ธิ ี. กรงุ เทพฯ : สขุ ภาพใจ.
กิง่ ดาว จินดาเทวิน. (2552). การศกึ ษาและพัฒนารปู แบบการบรหิ ารกจิ การบานเมืองทีด่ ีสาํ หรบั

องคการบริหารสวนตําบล(อบต.)ในจังหวดั อตุ รดติ ถ. วทิ ยานพิ นธ ปร.ด.
(การศกึ ษาเพือ่ การพฒั นาทอ งถน่ิ ). บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครินทร.
อัดสาํ เนา.
กีรติ บญุ เจอื . (2551). คูมือจริยศาสตรตามหลักวชิ าการสากล. กรุงเทพฯ : ศูนยส ง เสริมและ
พฒั นาพลังแผน ดนิ เชงิ คณุ ธรรม.
กญุ ชรี คา ขาย. (2554). การบริหารความขดั แยง. [ออน-ไลน] . แหลง ทม่ี า:
http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Conflict_Management.htm.
ขอโตแยง ในมมุ มองอสิ ลาม. [ออน-ไลน] . (2554). แหลงทม่ี า: http://www.islamshia-w.com
/Portal/Cultcure/Thai/CaseID/45257/71243.aspx
จริยธรรมตามแนวพทุ ธศาสนา. [ออน-ไลน]. (2554). แหลง ที่มา: http://weluwan.org/website/
index.php/getting-help/moralalife/125-buddhism-moral
จรยิ ศาสตรของขงจอ๊ื และจริยศาสตรข องมหาตมคานธี. [ออนไลน] . (2554).
แหลงทมี่ า: http://e-book.ram.edu/e-book/p/PY336/py336-11.pdf.
จริยศาสตรของเพลโต. [ออนไลน] . (2554). แหลง ทีม่ า: http://e-book.ram.edu/e-book/
p/PY336/py336-5.pdf.

173

จรยิ ศาสตรข องอรสิ โตเตลิ . [ออนไลน] . (2554). แหลง ทม่ี า: http://e-book.ram.edu/e-book/
p/PY336/py336-6.pdf.

จริยศาสตรต ะวนั ตกสมัยโบราณ. [ออน-ไลน] . (2554). แหลงทมี่ า: http://e-book.ram.edu/e-book/
p/PY336/py336-4.pdf.

จนิ ตนา บญุ บงการ. (2551). จริยธรรมทางธุรกจิ . กรงุ เทพฯ : ดา นสทุ ธาการพมิ พ.
จรุ ี วจิ ติ รวาทการ. (2553). บทวิเคราะหลักษณะนสิ ยั ของคนไทย : รากเหงา ของความเจริญและ

ปญ หาทงั้ มวลของประเทศไทย. [ออน-ไลน]. แหลงทีม่ า: http://www.bloggang.com
เจษฎา ทองรุงโรจน. (2554). คําสอนของขงจื้อ. กรงุ เทพฯ : แสงดาว.
เจือจนั ทร จงสถิตอยูและรุง เรือง สุขาภริ มย. (2550). รายงานการสงั เคราะหงานวจิ ัยคุณลกั ษณะ

และกระบวนการปลกู ฝง คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของประเทศตา ง ๆ. กรุงเทพฯ :
ศูนยสง เสริมและพฒั นาพลังแผน ดินเชงิ คณุ ธรรม.
ฉลองภพ สุสงั กรก าญจน. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงกับวิกฤตเศรษฐกจิ . [ออน-ไลน] .
แหลง ทมี่ า: www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.pdf.
ชชั ชยั คมุ ทวพี ร. (2541). จริยศาสตร : ทฤษฎีและการวิเคราะหปญ หาจริยธรรม. กรุงเทพฯ :
Mild Publishing.
ชัยอนนั ต สมทุ วนชิ . (2541). ทฤษฎีใหม : มิติท่ยี ง่ิ ใหญทางความคดิ . [ออน-ไลน]. แหลงท่ีมา:
www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.pdf.
ดวงเดือน พันธมุ นาวิน. (2543). ทฤษฎตี น ไมจ รยิ ธรรม : การวิจยั และการพัฒนาบุคคล.
กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พิมพแ หง จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั .
ธานนิ ทร กรัยวิเชยี ร. (2548). คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของผูบริหาร. โครงการปรญิ ญาโท
ทางการบญั ชี คณะพาณชิ ยศาสตรแ ละการบัญชี. มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.
นภาพร ขนั ธนภาและศานิต ดา นศมสถิต. (2547). จรยิ ธรรมและสภาวะแวดลอ มทางธรุ กิจ.
กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล ทอ ป.
เนตรพ ณั ณา ยาวริ าช. (2551). จรยิ ธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ทิปเพล้ิ กรุป .
แนวคิดเกยี่ วกบั การขดั เกลาทางสงั คมและการอบรมเลี้ยงด.ู [ออน-ไลน]. (2554).
แหลงท่ีมา: http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=5899.0.
แนวทางการพฒั นาจริยธรรมของขา ราชการ. [ออน-ไลน]. (2549). แหลง ทมี่ า:
www.psdb.ku.ac.th/government/essay/moral.pdf
แนวพระราชดาํ ริ เศรษฐกจิ พอเพียง. [ออน-ไลน] . (2554). แหลงทม่ี า:
http://www.rdpb.go.th/RDPB/front/SufficiencyEconomy.aspx?p=4

174

บทสัมภาษณว อรเรน บฟั เฟตต. [ออน-ไลน]. (2554).
แหลงทม่ี า: http://news.bn.gs/images/articles/20080306065406686_1.jpg

บรรจง บินกาซนั และวทิ ยา วเิ ศษรตั น. (2554). หลกั ปฏบิ ตั ิ 5 ประการ. [ออน-ไลน].
แหลงทมี่ า: http://www.islamthailand.com/thai521/introduce/intro-12.php

บวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ. (2542). พระมหากษัตริยทรงเปน พทุ ธมามกะและทรงเปน
อัครศาสนูปถมั ภก. [ออน-ไลน]. แหลงทม่ี า: http://guru.sanook.com/encyclopedia/

บัญญตั ิ 10 ประการ. [ออน-ไลน] . (2554). แหลง ที่มา: http://www.gotquestions.org/Thai/
Thai-ten-commandments.html

ประกนั สงั คม. [ออน-ไลน] . (2554). แหลงที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK12/
chapter3/t12-3-l3.htm

ปราชญา กลาผจัญ. (2548). คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี . กรงุ เทพฯ : ขาวฟา ง.
ปต ิ ศรีแสงนาม. (2551). เลหแ มน บราเธอรส (Lehman Brothers) คือใคร..ทาํ ไมถงึ ลม ละลาย.

[ออน-ไลน]. แหลง ท่มี า: http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=offway
&month=17-09-2008&group=13&gblog=29.
ผูจัดการ. (2554). ปูนซิเมนตไทยควา 3 รางวัลใหญองคก รดเี ดน Thailand Coporate Excellence.
[ออน-ไลน] . แหลง ทมี่ า: http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=2920.
พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2542. (2554). จริยศาสตร. [ออน-ไลน] . แหลง ที่มา:
http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-6-search.asp
. (2554). ระดบั . [ออน-ไลน] . แหลงทีม่ า: http://rirs3.royin.go.th/new-search/
word-33-search.asp
พรนพ พุกกะพันธุ. (2546). จรยิ ธรรมธรุ กิจยุคโลกาภวิ ตั น. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พจ ามจรุ ีโปรดักท.
พระพรหมคณุ าภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2548). พระพุทธศาสนากับโลกธรุ กิจ. กรุงเทพฯ :
ลิเบอรต ี้เพรส.
. (2549). ธรรมนญู ชวี ติ . กรุงเทพฯ : วชิ ่นั บคุ ส.
. (2551). การพัฒนาจรยิ ธรรม. กรงุ เทพฯ : พิมพส วย.
. (2552). พุทธธรรม. พมิ พคร้งั ที่ 11. กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พจ ฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ง
พระไพศาล วสิ าโล. (2554). สรางสังคมไทยใหเปนมติ รกบั ความดี. [ออน-ไลน]. แหลงท่ีมา:
http://www.visalo.org/article/budtumKwamdee999.htm.
พระราชชัยกวี (ภิกขพุ ทุ ธทาส อินทปญ โญ). (2511). การสรางเสรมิ จรยิ ธรรมแกเด็กวยั รุน.
นครราชสีมา : โรงเรียนนฤมติ รวิทยา.

175

พฤษภาทมฬิ . [ออน-ไลน]. (2554). แหลง ทีม่ า: http://th.wikipedia.org/wiki/.
พภิ พ วชงั เงิน. (2546). จรยิ ธรรมวชิ าชพี . กรงุ เทพฯ : รวมสาสน .
พทุ ธทาสภิกข.ุ (2550). ธรรมศาสตรา : ปรัชญาแหงความพอเพียง. กรงุ เทพฯ : เพชรประกาย.
มีนา. (2550). วกิ ฤตตม ยํากงุ เกดิ จากเศรษฐกิจอยางเดยี วหรอื . [ออน-ไลน] . แหลง ทมี่ า:

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=79699.
มูลนธิ ิเพอ่ื ผบู ริโภค. [ออน-ไลน] . (2554). แหลง ท่มี า: http://www.consumerthai.org
แมกซ เวเบอร. [ออน-ไลน]. (2554). แหลง ท่มี า: http://th.wikipedia.org/wiki/.
ลมลเพช็ ร อภสิ ทิ ธินิรันดร. (2554). เสรมิ สขุ -เปปซ่ี กรณีศึกษาทนุ ขามชาติ 'ฮบุ ' . [ออน-ไลน] .

แหลง ที่มา: http://www.bangkokbiznews.com
ลัดดา พนิ ตา. (2552). จริยธรรมกับการบริหารจดั การธุรกิจ. [ออน-ไลน] . แหลงทมี่ า:

http://www.gotoknow.org/ask/lemon_2910/11978.
วรรณกรรมปริทศั น:ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง. [ออน-ไลน] . (2554). แหลงทม่ี า:

www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.
วริยา ชนิ วรรโณ. (2546). จรยิ ธรรมในวชิ าชพี . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพชวนพิมพ.
วศิน อินทสระ. (2549). พทุ ธจริยศาสตร. กรงุ เทพฯ : ธรรมดา.
วอรเรนต บฟั เฟตต. [ออนไลน] . (2554). แหลงท่ีมา: http://news.bn.gs/images/articles/

20080306065406686_1.jpg
วิทย วิศทเวทย. (2526). จรยิ ศาสตรเบอ้ื งตน. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพครุ สุ ภา.
วิรชั วิรชั นภิ าวรรณ. (2549). การพฒั นาจรยิ ธรรมของขา ราชการ. [ออน-ไลน] . แหลงท่ีมา:

http://www.psdb.ku.ac.th/government/essay/moral.pdf.
วไิ ลลักษณ เสรีตระกลู . (2552). ปจ จยั ทม่ี ีผลตอความเปน ปกแผน ของครอบครวั ตามทศั นะของ

วัยรุนไทย. ปริญญานิพนธ. ปร.ด. (สังคมวทิ ยา). บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั
รามคําแหง. อดั สําเนา.
ศาสนาครสิ ต. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงทม่ี า: http://allknowledges.tripod.com/christ.html
. [ออน-ไลน]. (2554). แหลง ที่มา: http://main.dou.us/view_content.php?s_id=182
ศาสนาอิสลาม. [ออน-ไลน] . (2554). แหลง ท่ีมา: http://th.wikipedia.org/wiki/.
ศิริยุพา รงุ เริงสขุ . (2552). บนั ทกึ ขอคดิ ดี ๆ จากวอรเ รน บฟั เฟตต และบิลล เกตส.
ศูนยส ง เสรมิ และพฒั นาพลังแผน ดินเชิงคณุ ธรรม. (2550). รายงานการสังเคราะหง านวิจยั
คณุ ลกั ษณะและกระบวนการปลกู ฝง คุณธรรมจรยิ ธรรมของประเทศตา ง ๆ.
กรงุ เทพฯ : ศนู ยคุณธรรม.

176

เศรษฐกจิ พอเพยี ง. [ออน-ไลน] . (2554). แหลง ที่มา: http://www.chaipat.or.th/chaipat/
content/porpeing/porpeing.html.
. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.sufficiencyeconomy.org
/view-detail.html

สถาบนั ไทยพฒั น. (2554). CSR ไทย ไตร ะดบั . [ออน-ไลน] . แหลง ทม่ี า:
http://www.csrthailand.net/th/expert/detail/52.

สถาบนั ธุรกิจเพอ่ื สังคม. (2554). CSR. [ออน-ไลน]. แหลง ท่ีมา:
http://www.csri.or.th/about/history.

สภาหอการคาแหง ประเทศไทย. (2554). สภาหอการคา . [ออน-ไลน]. แหลงทมี่ า:
www.panyathai.or.th/wiki/index.

สมคดิ บางโม. (2549). จรยิ ธรรมทางธุรกจิ . กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พพ ฒั นาวทิ ยการพมิ พ.
สมหวงั วิทยาปญญานนท. (2543). บริหารตามหลักทศพิธราชธรรม. [ออน-ไลน].

แหลงทม่ี า: http://www.budmgt.com/budman/bm01/king10.html.
สรุปนโยบายลดภาษีรถคนั แรก. [ออน-ไลน]. (2554). แหลง ท่ีมา: http://www.cars-tune.com
สารานุกรม. (2554). Ethics. [ออน-ไลน]. แหลงท่ีมา: http://www.encyclopedia2.

thefreedictionary.com/ethics.
สาํ นักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค. [ออน-ไลน]. (2554). แหลง ท่ีมา:

http://www.ocpb.go.th/main_history.asp
สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ . (2554). มาตรฐานทางคณุ ธรรมและจริยธรรม. [ออน-ไลน] .

แหลง ที่มา: http://www.moph.go.th/ops/ops/opct/matatan.html.
สาํ นกั บริการขอ มูลและสารสนเทศ. (2554). แนวคิดเกยี่ วกบั การขัดเกลาทางสงั คมและ

การอบรมเลี้ยงดู. [ออน-ไลน]. แหลงทมี่ า: http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?
topic=5899.0
สุภาพร พศิ าลบตุ ร. (2549). จรยิ ธรรมทางธรุ กิจ. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดุสิต.
สรุ พศ ทวศี กั ดิ.์ (2545). จริยธรรมเปนปญ หาหลกั ของสังคมปจ จุบนั . [ออน-ไลน] .
แหลงท่ีมา: http://www.songpak16.com/prb_jariyatham.html.
สรุ ศกั ด์ิ ใจเยน็ . (2553). คณุ สมบัตพิ นื้ ฐานของผบู รหิ าร. [ออน-ไลน]. แหลง ท่ีมา:
http://www.svproconsulting.com/index.php?option=con_content&view= article
สุลกั ษณ ศวิ รกั ษ. (2550). คนั ฉองสอ งจรยิ ศาสตร. กรงุ เทพฯ : ศกึ ษิตสยาม.
เสรี พงศพ ศิ . (2552). วิถสี ูช มุ ชนพอเพยี ง. กรงุ เทพฯ : เจรญิ วทิ ยก ารพิมพ.

177

โสภณ พรโชคชยั . (2550). คุณธรรมธรุ กจิ . กรงุ เทพฯ : มลู นธิ ิประเมนิ คา ทรัพยส ิน
แหง ประเทศไทย.

โสภณ แดงโสภณ. (2554). เอแบคโพลเผย วยั รนุ ไทยยอมรบั คอรปั ชน่ั หากตนไดป ระโยชน.
[ออน-ไลน] . แหลงทีม่ า: http://region4.prd.go.th/ewt_news.php?nid=5467
&filename=index

ไสว บุญมา. (2552). ความพอเพยี งของบลิ เกตส. [ออน-ไลน] . แหลง ทม่ี า:
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=iamlady&month=02-
009&date=18&group=22&gblog=19

หลวงปสู วุ ัจน สุวโจ. (2552). อคติ 4. [ออน-ไลน]. แหลง ทม่ี า: http://board.palungjit.com
หลกั พจิ ารณาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง. [ออน-ไลน]. (2542). แหลงที่มา: www.phetchabun.go.th
หลกั ศรทั ธาของมุสลมิ . [ออน-ไลน] . (2554). แหลงทมี่ า:

www.masjidsamin.com/main/content.php?page=sub...11...
อโณทัย ไพฑรู ย. (2554). CSR ที่แทจ ริง อยาอางเพียงลอย ๆ. [ออน-ไลน] . แหลงทม่ี า:

http://csr.igetweb.com/index.php?mo=5&qid=192101.
อภชิ ยั พนั ธเสน. (2542). เศรษฐกจิ พอเพยี งในฐานะรูปแบบที่พงึ ปรารถนาของระบบสวัสดิการ

สงั คมไทย. [ออน-ไลน]. แหลงทีม่ า: www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.pdf.
อภริ ัฐ ตั้งกระจางและคณะ. (2546). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.
อัคภา พิสทุ ธส์ิ กลุ รตั น. (2554). การจัดอันดับความโปรง ใสนานาชาต.ิ [ออน-ไลน].

แหลงที่มา: http://thainews.prd.go.th
อานนั ท ปนยารชนุ . (2554). จรยิ ธรรมทางธรุ กจิ . [ออน-ไลน] . แหลง ทีม่ า:

www.elearning.siam.edu/mod/resource/view.php?id=2884
อาํ นาจ. [ออนไลน]. (2554). แหลงทีม่ า: http://th.wikipedia.org/wiki/.
HR แบบพอเพยี งฉบบั ศกึ ษา เครือซิเมนตไทย. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงทีม่ า:

http://www.hrtothai.com
Marketeer. (2553). SCG ควา 4 รางวัลใหญป ระกาศผล 8 องคก รดีเดนควา รางวลั พระราชทาน.

[ออน-ไลน] . แหลง ที่มา: http://www.marketeer.co.th/marketeertoday_detail.php?
marketeertoday_id=2773.
MBA. (2543). วกิ ฤตตม ยํากงุ เผ็ดรอ นแบบไทย. [ออน-ไลน] . แหลง ทมี่ า:
http://mbamagazine.net/home/index.php/blog/43-bizandfinance/160--m-m-s.

178

Numthon Kotvong. (2554). ทฤษฎพี ัฒนาการทางจริยธรรม. (ออนไลน). แหลงทม่ี า:
http://sites.google.com/site/citwithyaphunthan/phathnakar-khx-ngbukhkh/thvsdi-
phathnakar-thang-cit-sangkhm/khan-kar-khid-laea-kar-kheaci/thvsdi-phathnakar-
thang-criythrrm

Broom, L., & Selznick, P. (1958). Sociology: A text with adapted readings. 2nd ed.
New York: Evanston Row, Peterson.

Coffey, R. E., Cook, C. W., & Hunsaker, P. L. (1994). Management and Organizational
Behavior. Burr Ridge, IL: Irwin.

Dubrin, A.J. (1990). Effective Business Psychology. 3rd ed. New Jersey: Prentice-Hall.
Kohlberg's Moral Stages. [On-line]. (2011). Available : http://faculty.plts.edu/gpence/html/

kohlberg.htm.
Macdonald, Christie. (2011). Business Ethics. [On-line]. Available :

http://www.businessethics.ca/definitions/business-ethics.html.
Turner, R. H. (2002). Handbook of Sociological Theory. New York: Kluwer

Academic/Plenum.
Van Slyke, E. J. (1999). Listening to conflict: Finding Constructive Solution to Workplace

Disputes. New York: Library of Congress Cataloging-in- Publication Data
W.C. Crain. (1985). Theories of Development. Prentice-Hall.


Click to View FlipBook Version