The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanchanok Supanarapan, 2020-05-11 21:37:42

คู่มือ หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบื้องต้น)

คณะพยาบาลศาสตร์ ม.บูรพา

คำนำ

หลักสูตรกำรพยำบำลเฉพำะทำงสำขำกำรพยำบำลเวชปฏบิ ตั ิทวั่ ไป
(กำรรกั ษำโรคเบอ้ื งตน้ ) คณะพยำบำลศำสตร์ มหำวิทยำลยั บรู พำ จดั ขึ้นโดย
มวี ัตถุประสงค์ เพอ่ื ให้ ผผู้ ่ำนกำรอบรม เป็นผู้ที่มีควำมร้แู ละควำมสำมำรถใน
กำรพยำบำลดำ้ นเวชปฏิบัตกิ ำรรกั ษำโรคเบอ้ื งต้น จัดระบบบรกิ ำรสขุ ภำพใน
กลุ่มผูป้ ว่ ยเรอ้ื รังทมี่ ีปญั หำซับซ้อน ไดอ้ ย่ำงประสำนเชือ่ มโยงเป็นเครอื ข่ำย
บริกำรในชุมชน โดยคณะพยำบำลศำสตร์ ไดเ้ ปิดกำรอบรมไปแล้ว 8 รุน่ มผี ู้
ผำ่ นกำรอบรมท้ังส้ิน 345 คน ผ้ผู ่ำนกำรอบรมทุกท่ำนไดน้ ำควำมรู้ไป
ปฏิบัตงิ ำนและสว่ นหน่งึ ยงั มำเรียนต่อในระดับปรญิ ญำโท สำขำกำรพยำบำล
เวชปฏิบัตชิ ุมชนด้วย

หลกั สูตรกำรพยำบำลเฉพำะทำงสำขำกำรพยำบำลเวชปฏิบัติทว่ั ไป
(กำรรกั ษำโรคเบ้ืองตน้ ) คณะพยำบำลศำสตร์ มหำวิทยำลยั บูรพำในรนุ่ ที่ 9 นี้
จดั กำรเรียนกำรสอนด้วยระบบออนไลน์ เนือ่ งดว้ ยสถำนกำรณก์ ำรแพร่
ระบำดของโรค COVID-19 ซงึ่ ถอื เปน็ โอกำสท่ดี ีในกำรพฒั นำศักยภำพของ
ผเู้ รยี นอกี ด้ำนดว้ ย กรรมกำรผดู้ ำเนนิ กำรอบรมหวงั เปน็ อย่ำงย่งิ วำ่ ทำ่ นจะได้
พฒั นำศักยภำพ ควำมรูค้ วำมสำมำรถ และนำไปใช้ประโยชน์และพัฒนำระบบ
บริกำรสขุ ภำพยังประโยชนต์ ่อผรู้ บั บริกำรตอ่ ไป

ผศ.ดร.พัชรินทร์ พลู ทวี
ประธำนโครงกำรฯ

สำรบัญ หนำ้
1
หัวขอ้ 47
รายละเอียดหลกั สูตรฯ 82
ตารางเรียน 84
รายช่อื ผู้เข้ารบั การอบรม 85
รายชอื่ ผู้ประสานงาน
ค่มู อื การใช้โปรแกรมเรียนออนไลน์

1

หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลเวชปฏิบัตทิ ่วั ไป
(การรักษาโรคเบือ้ งตน้ )

Program of Nursing Specialty in Nurse Practitioner (Primary Medical Care)

1.วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร

เพอื่ ให้ผเู้ ข้าอบรมมคี วามรู้ความเขา้ ใจนโยบาย และระบบบรกิ ารสุขภาพทเ่ี กยี่ วข้องกับการ
พยาบาลเวชปฏิบัตทิ วั่ ไป (การรักษาโรคเบื้องต้น) มที กั ษะในการประเมินภาวะสุขภาพอยา่ ง
ครอบคลุมเพ่อื การตัดสินใจทางคลินิก การตรวจวินิจฉัยแยกโรค ให้การรักษาโรคเบื้องต้นใน
กลมุ่ อาการต่าง ๆ ท้งั ในระยะเฉยี บพลัน และกลุ่มโรคที่พบบ่อย ประเมินปญั หาทีซ่ ับซ้อนจาก
การเปล่ยี นแปลงภาวะสุขภาพของผู้ปว่ ยโรคเรือ้ รงั สามารถวางแผนการบรู ณาการ การดูแลเพ่อื
แก้ไขปญั หาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพโดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ สามารถตัดสินใจสง่ ตอ่ ผปู้ ่วยได้
อย่างเหมาะสม ปฏบิ ัตงิ านเป็นทีมกับบคุ ลากรในทีมสุขภาพท่ีเกยี่ วข้อง และประสาน เชื่อมโยง
เปน็ เครือขา่ ยบรกิ าร รวมทั้งการใชก้ ลวิธีที่หลากหลายในการสง่ เสริมใหป้ ระชาชนสามารถ
พ่งึ ตนเองในการดแู ลสขุ ภาพ

2.วตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ

1. อธบิ ายนโยบายสขุ ภาพ ระบบบรกิ ารสุขภาพ และการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพชุมชน
2. ระบุแนวการประเมินภาวะสขุ ภาพอย่างครอบคลุมและการตดั สินทางคลนิ ิกเพ่ือ

การตรวจวินิจฉัยแยกโรค
3. ให้การรกั ษาโรคเบ้ืองตน้ ในกลุ่มอาการต่าง ๆ ท้ังในระยะเรง่ ดว่ นและระยะเฉียบพลนั

และ โรคท่ีพบบอ่ ยได้
4. ระบุแนวการประเมินปญั หาทีซ่ บั ซ้อนจากการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพของผู้ปว่ ยโรคเรือ้ รงั ได้
5. วางแผน บูรราการการดูแลเพอ่ื แก้ไขปญั หาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพโดยใชห้ ลกั ฐาน

เชงิ ประจักษ์
6. ปฏิบตั งิ านเป็นทีมกับบคุ ลากรสขุ ภาพท่เี กีย่ วข้องอย่างประสาน เชอ่ื มโยงเป็นเครือขา่ ยบริการ
7. ใชก้ ลวธิ ีทหี่ ลากหลายในการส่งเสริมใหป้ ระชาชนสามารถพง่ึ ตนเองในการดแู ลสุขภาพ
8. สร้างสมั พันธภาพกับผู้รับบริการ เคารพในสิทธิข์ องผรู้ ับบริการบนพ้ืนฐานในขอบเขต

การปฏิบัติงานและจริยธรรมในวชิ าชพี

2

3. สมรรถนะของผูผ้ ่านการอบรมการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบตั ทิ ว่ั ไป
(การรักษาโรคเบื้องต้น)

สมรรถนะที่ 1 มคี วามร้แู ละความสามารถในการพยาบาลด้านเวชปฏบิ ัตกิ ารรักษาโรคเบ้ืองตน้

1) มีความรู้เร่ืองโรค กระบวนการก่อโรค พยาธสิ ภาพและผลกระทบของโรคท่พี บบ่อยใน
สถานบริการระดับปฐมภูมไิ ด้

2) มคี วามร้เู รื่องการรกั ษา การใช้ยา และการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การรกั ษา
3) มคี วามรดู้ า้ นระบาดวทิ ยา การคัดกรอง การประเมนิ กลุ่มเส่ียง และการวเิ คราะหป์ ัจจยั ท่ี

เก่ียวขอ้ งกบั การเกดิ โรคที่พบบ่อยในชุมชนท่รี ับผิดชอบได้
4) ตรวจร่างกายแปลผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารหรือการตรวจพิเศษ เพ่อื การวินิจฉัยแยกโรค
5) เลือกวธิ ีการรกั ษาผปู้ ่วยดว้ ยวธิ กี ารใช้ยาตามกลุ่มโรท่ีสภาการพยาบาลกาหนด
6) วนิ จิ ฉัยและตดั สนิ ใจทาหัตถการพยาบาลตามทส่ี ภาการพยาบาลกาหนดเพ่ือป้องกนั

ภาวะแทรกซอ้ นและคงสภาวะสขุ ภาพของผูป้ ว่ ยท่ีมีปญั หาสขุ ภาพ
7) ใชห้ ัตถการเพ่ือการปฏบิ ัติการช่วยชวี ิต ลดความรนุ แรงหรือลดอาการความเจบ็ ป่วย
8) ตดั สนิ การใชแ้ ละการหยดุ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการรักษาและการประคับประคองความ

เจ็บป่วย
9) ประเมนิ ตัดสนิ อาการ บรรเทาปญั หาสุขภาพหรือภาวะแทรกซ้อนฉกุ เฉิน และสามารถ

สง่ ต่อผูป้ ่วยได้อย่างเหมาะสม
10)บริหารการใชย้ าอยา่ งสมเหตุผลในการจัดการอาการ และการคงสภาวะสุขภาพของผู้ป่วย
11) คาดการณป์ ัญหาทซ่ี ับซ้อนจากการเปลยี่ นแปลงของผู้ปว่ ยและวางแผนแกไ้ ขปัญหาได้

อย่างมีประสทิ ธภิ าพตลอดจนสามารถตัดสินใจสง่ ต่อผู้ป่วยไดอ้ ย่างเหมาะสม
12) วางแผนให้การรกั ษาการพยาบาลและประเมินผลการดูแลผ้ปู ว่ ยทพ่ี บบอ่ ยในสถาน

บริการปฐมภมู ิได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

3

สมรรถนะที่ 2 จดั ระบบบริการสุขภาพในกลุม่ ผปู้ ่วยเรอื้ รังทมี่ ปี ัญหาซบั ซ้อน ไดอ้ ยา่ งประสาน

เชอ่ื มโยงเป็นเครือขา่ ยบรกิ ารในชมุ ชนได้

1) วิเคราะห์เชื่อมโยงปัญหาในระบบสขุ ภาพ ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (ระบบการจดั คลินกิ บรกิ าร ระบบ
การจัดบรกิ ารการเย่ียมบ้าน ระบบการจัดการยาและเวชภณั ฑ์ ระบบการจัดการข้อมลู และกาลงั คนที่
ตอ้ งการการดแู ลอย่างต่อเนือ่ งทบี่ า้ น)
2) ประเมินภาวะสขุ ภาพและปัญหาทีซ่ บั ซ้อน ครอบคลุมทุกมติ ิวินิจฉัยปัญหา ดแู ลผ้ใู ชบ้ ริการเฉพาะ
กลมุ่ เฉพาะโรค โดยบูรณาการความรทู้ างพยาธสิ รีระและเภสัชวทิ ยา หลกั ฐานเชิงประจักษ์และ
เหตผุ ลทางคลินิกในการตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาอย่างเป็นองค์รวม
3) ใหก้ ารดแู ลบรรเทาอาการ ปฐมพยาบาล รับและสง่ ต่อผู้ปว่ ยใหไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมและตอ่ เนื่อง
4) ใหข้ อ้ มลู ทางดา้ นสขุ ภาพและใหค้ าปรึกษาแก่ผ้ปู ่วยได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ติดตามความต้องการ
การดแู ลของผู้ป่วย
5) ประเมนิ ผลการปฏิบัติงานที่สามารถสร้างความเชอ่ื มัน่ ในการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ปอ้ งกนั โรคและ
ฟ้ืนฟสู ภาพ ลดพฤตกิ รรมเสีย่ งและเสริมสรา้ งการพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้สอดคล้องตามบริบทของ
พนื้ ที่
6) ประสานความรว่ มมอื กับครอบครวั ของผ้ปู ว่ ยและแหล่งประโยชนใ์ นชุมชนในการดแู ลผูป้ ว่ ยเฉพาะ
โรคอย่างต่อเนื่องเพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด
7) ประเมิน และปรับปรุงผลการบริการ เพื่อการดูแลอย่างต่อเน่ืองได้

สมรรถนะที่ 3 มีภาวะผู้นา การติดต่อสอ่ื สาร การจัดการข้อมูล และการบรหิ ารจดั การ

1) มคี วามรู้เร่ืองตัวชว้ี ัดต่าง ๆ ท่สี ะท้อนผลลัพธก์ ารดแู ลสุขภาพ
2) มีทกั ษะในการติดต่อสือ่ สารสร้างสมั พนั ธภาพที่ดกี ับผู้ร่วมงานและผ้รู บั บรกิ าร
3) มที กั ษะในการสร้างสมั พนั ธภาพกบั ผรู้ บั บริการ เคารพในสิทธข์ิ องผู้รับบรกิ าร และศักดศิ์ รีของ

ความเป็นมนษุ ย์ มจี ริยธรรมในการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
4) มที ักษะในการรวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะห์ การแปลความหมาย และนาเสนอข้อมูลสุขภาพ

ของผรู้ ับบริการเพื่อการวางแผนการบริการสขุ ภาพ
5) เลือกใชแ้ หลง่ ข้อมูลเพ่อื การประเมินผลลัพธ์การบรกิ ารสขุ ภาพ
6) นาผลการวิเคราะห์ผลลพั ธ์มาเปน็ แนวทางในการปรับปรุงการพยาบาลผู้ป่วยอย่างต่อเน่ือง
7) เคารพในสทิ ธ์ิของผู้รับบริการ ศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ และจรยิ ธรรมในการปฏิบัติการ

พยาบาล

4

สมรรถนะท่ี 4 พฒั นาความรู้ในการปฏิบตั ิงานได้อย่างต่อเนือ่ ง

1) ใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ที่เป็นปัจจุบันในการพัฒนาคุณภาพการรกั ษาพยาบาลในผู้ป่วยเฉพาะโรค
2) ทบทวน และพัฒนาความร้เู กีย่ วกับการใชย้ า การรกั ษา ในโรคท่ีเป็นปัญหาในพ้นื ท่ีอย่างต่อเน่ือง
3) พัฒนางาน/โครงการ/นวัตกรรมการดูแลจากงานประจาเพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพตามปญั หาและ
ความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายในหน่วยบรกิ าร

สมรรถนะที่ 5 มคี ุณธรรม และจรยิ ธรรมท่เี หมาะสมตอ่ วิชาชีพ

1) ซ่อื สตั ย์ สุจริตต่อตนเองและวิชาชีพ มีเจตคตทิ ี่ดใี นการใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ
2) ตรงต่อเวลา รบั ผิดชอบตอ่ การทางานและเพอ่ื นร่วมงาน
3) รับผิดชอบต่อผู้ปว่ ย คานึงถึงประโยชน์ ความปลอดภัย และสทิ ธปิ ระโยชน์

ของผู้ปว่ ย
4) ดารงตนเป็นแบบอย่างทีด่ ีต่อผู้ปว่ ย เพื่อรว่ มงานและสังคม
5) มีความมุง่ มั่นในการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่อง

4. โครงสร้างหลกั สูตร 18 หนว่ ยกิต

5

5. รายละเอยี ดวิชา

5.1 ช่อื วชิ า ระบบสุขภาพและการพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ

คาอธบิ ายรายวิชา

ระบบสขุ ภาพ หลักการจดั การระบบบรกิ ารสุขภาพ หลักการเวชศาสตร์ครอบครวั ในงานเวช
ปฏิบตั ิปฐมภูมิ ยทุ ธศาสตร์การจดั การระบบบริการสุขภาพ เครือข่ายบริการสขุ ภาพระดบั อาเภอ การ
จัดระบบบรกิ ารพยาบาล การพัฒนาคุณภาพการพยาบาล การจดั การข้อมูล การประเมินผลลัพธ์การ
ดูแลสุขภาพ กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง จริยธรรมวิชาชีพ บทบาท สมรรถนะการพยาบาลเวชปฏิบตั ิในบริการ
ปฐมภูมิ

วตั ถปุ ระสงค์ทว่ั ไป

ผ้เู ขา้ รบั การศกึ ษาอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับระบบสุขภาพ แนวคดิ การจัดการระบบ
บริการสขุ ภาพ หลกั การเวชศาสตรค์ รอบครัว และการดูแลสุขภาพชมุ ชนในงานเวชปฏิบตั ิปฐมภูมิ
นโยบายและแผนยทุ ธศาสตร์ การจัดระบบบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข และสานัก
หลักประกันสุขภาพ การจดั เครือข่ายบริการสุขภาพระดับอาเภอ ระบบบริการพยาบาลและการพัฒนา
คณุ ภาพการพยาบาล การจัดการข้อมลู และประเมินผลลัพธก์ ารดแู ลสุขภาพ บทบาทสมรรถนะและ
ทกั ษะทีจ่ าเปน็ รวมท้ังกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง จรยิ ธรรมในวิชาชีพสาหรับพยาบาลเวชปฏิบตั ใิ นการ
พฒั นาศักยภาพตนเองอย่างต่อเน่ืองในบริการปฐมภมู ิ

วัตถปุ ระสงค์เฉพาะ

เม่อื สนิ้ สุดการศกึ ษาอบรมแล้ว ผูเ้ ข้ารบั การศึกษาอบรมสามารถ
1. อธิบายระบบสุขภาพ ระบบการพยาบาล นโยบายและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ
บรกิ ารสุขภาพ และระบบบริการสขุ ภาพภาคประชาชน
2. อธบิ ายแนวคิดการจดั การดูแลโดยใชช้ ุมชนเป็นฐาน หลักการเวชศาสตร์ครอบครัว
วัฒนธรรมสขุ ภาพและการแพทย์ทางเลือกในงานเวชปฏบิ ัตปิ ฐมภูมิ
3. ระบุกลวธิ ีการสร้างการมีส่วนร่วม การจัดระบบการดแู ลต่อเนื่องและการสร้างเครือข่าย
บริการในการจัดระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
4. ระบแุ นวทางการพัฒนาคุณภาพการโดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ การจัดการขอ้ มลู และ
การประเมนิ ผลผลติ และผลลพั ธ์ทางการพยาบาล
5. วเิ คราะหป์ ระเดน็ และแนวโน้มในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลในหน่วยบริการปฐมภูมิ

ผู้รบั ผิดชอบวชิ า

ผศ.ดร.สมสมยั รัตนกรีฑากุล อาจารย์ประจาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา

จานวนชั่วโมงอบรม 30 ชวั่ โมง

6

หวั ขอ้ รายวชิ า

หนว่ ย หัวขอ้ ชัว่ โมง

หน่วยท่ี 1 ระบบสุขภาพและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ 14
2
1.1 ระบบสุขภาพ และองคป์ ระกอบของระบบสุขภาพ
- สุขภาพ และปจั จัยที่มีผลต่อภาวะสขุ ภาพ 2
- ธรรมนญู วา่ ด้วยระบบสุขภาพแหง่ ชาติ
- 6 องคป์ ระกอบหลกั ของกรอบระบบสุขภาพ 2
(6 Building Blocks of Health System) 2

1.2 หลักการจดั ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 3
- การจัดระบบบริการสขุ ภาพตามระดบั บริการ
- การจดั ระบบบรกิ ารตามกิจกรรมบรกิ าร 3

1.3 หลักการจัดการดูแลโดยใช้ชมุ ชนเปน็ ฐาน การจัดระบบการดแู ลต่อเนอ่ื ง 8
และการสร้างเครือข่ายบรกิ ารสุขภาพ 1
2
1.4 หลักการเวชศาสตร์ครอบครัวในงานเวชปฏิบัติปฐมภมู ิ 1
- แนวทางเวชศาสตรค์ รอบครวั ในมิตกิ ารดแู ลบุคคลและครอบครัว 1
- แนวทางเวชศาสตรค์ รอบครวั ในมิติการดูแลชมุ ชน 2
(community –oriented primary care, COPC)
1.5 แนวคิดการจดั ระบบบริการสุขภาพภาคประชาชน 1
- หลักการมีส่วนร่วมของชมุ ชนในการเสรมิ สร้างสุขภาพ 8
- วฒั นธรรมสุขภาพ และการแพทย์ทางเลอื ก 1
- แนวทางการดาเนนิ งานสุขภาพภาคประชาชน

1.6 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ
- การพัฒนาสขุ ภาพตามกลมุ่ วัย
- การพัฒนาจดั ระบบบริการทม่ี คี ุณภาพมาตรฐาน
- พัฒนาระบบบริหารจดั การเพอื่ สนับสนุนการจดั บริการ
- แผนและยุทธศาสตร์การจดั ระบบบรกิ ารสขุ ภาพระดับอาเภอ

หน่วยท่ี 2 การจัดระบบบริการพยาบาลและการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล

2.1 ระบบการพยาบาล และบทบาทพยาบาลในระบบบริการสุขภาพ
2.2 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลโดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์

2.3 เคร่อื งมอื ในกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพการพยาบาล
2.4 การจัดการและการใช้ข้อมูลเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการดูแล

2.5 การจดั การผลลพั ธท์ างสขุ ภาพ
: ผลลัพธก์ ารดแู ลในระบบสุขภาพ
: ปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์สขุ ภาพ และการประเมนิ คา่ ใช้จา่ ยในระบบ

สุขภาพ
2.6 การวดั และการประเมินผลลัพธท์ างการพยาบาล

หนว่ ยที่ 3 ประเด็นและแนวโนม้ ในการพัฒนาคณุ ภาพการพยาบาลในหนว่ ยบริการ
ปฐมภมู ิ
3.1 ทศิ ทางและแนวโน้มในการพัฒนาบรกิ ารในหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิ

7

หน่วย หวั ข้อ ช่ัวโมง

3.2 แนวโนม้ การพัฒนาพยาบาลวชิ าชพี ในหน่วยบริการปฐมภูมิ 1
3.3 การพัฒนาฐานข้อมลู ในการวางแผนการดแู ลในบรกิ ารปฐมภมู ิ 1
3.4 ประยกุ ตก์ ารจัดระบบบริการเพ่ือสง่ เสรมิ การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรม 2
สุขภาพ : นวตกรรมบรกิ ารและระบบบริการ 2
3.5 กฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง และจริยธรรมในวิชาชีพ
3.6 พรบ. วิชาชีพการพยาบาล 1
3.7 ระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ ทเ่ี กยี่ วข้องกับวิชาชพี
3.8 สิทธิผปู้ ว่ ย
3.9 ขอบเขตและมาตรฐานวชิ าชีพพยาบาลปฐมภมู ิ
3.10 วิเคราะห์กรณีศกึ ษา : บทบาท สมรรถนะและทักษะทจ่ี าเปน็ สาหรบั
พยาบาลเวชปฏิบัติในหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ

:- การจัดการการดูแลสุขภาพ
:- ภาวะผู้นา
:- การสื่อสารเชงิ วัฒนธรรม การสอนและการใหค้ าปรึกษา
:- การจัดการการเรยี นรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง

วิธกี ารจดั การเรยี นการสอน

1) บรรยาย
2) สัมมนา
3) อภปิ ราย

การประเมินผล

1) สอบ 70%

2) รายงานวิเคราะหก์ รณีศกึ ษา 30%

5.2 วิชา การประเมินภาวะสขุ ภาพข้นั สูงและการตดั สินใจทางคลินกิ

คาอธิบายรายวชิ า

การประเมินภาวะสุขภาพอยา่ งครอบคลมุ การวินิจฉัยความผิดปกติท่ีพบบ่อย และ
การตัดสินทางคลนิ กิ การประเมินภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรงั การวิเคราะหผ์ ลการซักประวัติ
อาการแสดง และผลการตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการ การบนั ทึกผลการประเมนิ
ภาวะสุขภาพ

วัตถปุ ระสงคท์ ว่ั ไป

ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและทักษะ การประเมินภาวะสขุ ภาพในปัญหาท่พี บ
บ่อย การประเมนิ โรคร่วมและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรอื้ รงั โดยการวิเคราะห์ผลการซักประวัติ
อาการแสดง การตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ การวินิจฉัยความผดิ ปกติ
และการตดั สินทางคลนิ กิ การบนั ทกึ ผล การประเมนิ ภาวะสุขภาพ

8

วัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ เมอ่ื ส้นิ สดุ การเรยี น ผู้เรียนมีความรแู้ ละสมรรถนะดงั ต่อไปน้ี

1. อธบิ ายหลักการซกั ประวัติ และตรวจรา่ งกายได้อย่างถูกตอ้ งเปน็ ระบบ
2. มที กั ษะในการรวบรวมขอ้ มูลจากการซักประวัติได้อยา่ งครบถว้ นและถูกตอ้ ง
3. มที ักษะในการตรวจรา่ งกายทุกระบบ ระบุและแปลตรวจร่างกายทป่ี กติและผดิ ปกตไิ ด้
4. เลอื กตรวจ แปลและวเิ คราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการทีจ่ าเป็นไดถ้ ูกตอ้ ง
5. สามารถใช้ขอ้ มูลจากการซกั ประวตั ิ การตรวจรา่ งกาย และการแปลผลการตรวจทาง

ห้องปฏิบัติการในการตัดสินทางคลนิ ิกเพ่ือการวินิจฉัยความผดิ ปกติหรือปญั หาสุขภาพ
ไดถ้ ูกตอ้ ง
6. เลือกใช้เครื่องมือในการประเมินภาวะสขุ ภาพ ปัญหาสขุ ภาพท่ัวไปและปญั หาสขุ ภาพ
เร้ือรงั ไดถ้ กู ต้อง
7. บนั ทกึ ผลการการซกั ประวตั ิ การตรวจรา่ งกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการใน
การตดั สินทางคลนิ กิ เพอื่ การวินจิ ฉยั ความผิดปกตแิ ละการสอื่ สารอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ผรู้ บั ผิดชอบวิชา
ผศ.ดร.พัชรนิ ทร์ พูลทวี อาจารยป์ ระจาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา

จานวนช่ัวโมงอบรม 45 ชัว่ โมง

หวั ข้อรายวิชา

หัวขอ้ ชั่วโมง

การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพข้ันสูง และการตัดสนิ ใจทางคลนิ ิก 45
6
1. Introduction: Principles Techniques in Health Assessment
- Principles of History taking and Recording 2
- Assessment and plan The process of clinical reasoning
-Techniques of Physical examination : Inspection Palpation 2
Percussion Auscultations and using equipment

2. Skin, hair and nail & Lymphatic Assessment (ภาวะ General
assessment:
Specific assessment: capillary refill time, etc. Abnormal finding:
poor skin turgor – dry mucous membranes, cyanosis, cool skin,
various type of rash Nail: spoon nail, clubbing finger, paronychia)

3. Head and Neck assessment
General assessment :
- Head (shape, size, face)
- Ear (eardrum using Otoscope)
- Eye (external, anterior, posterior segment using Ophthalmoscope)

9

หวั ข้อ ชั่วโมง

- Nose (nasal cavity and sinuses) 2
- Neck (Throat, Oral cavity, Thyroid gland)
- Specific assessment: (Visual acuity, EOM, Dix-Hall pike test, 2
Audiogram, Rotary chair testing: give information about the 2
horizontal semicircular canal VOR) (VOR =Vestibule-ocular 2
response), etc.
Abnormal finding : cataracts, red eye, icteric sclera, ear drum
perforation, rotator nystagmus, etc.

4. Pulmonary Assessment and demonstration (using inspection,
palpation, percussion, auscultation) (general and specific
assessment, abnormal finding)
- General assessment: rhythm of breathing, expansion and
symmetry of the chest, dullness and hyper resonant, abnormal
breath sound, etc.
- Specific Assessment: Oxygen saturation โดยใช้ Pulse oximetry. Peak
Flow Monitoring, Pulmonary function test, Bronchoscopy, etc.
- Abnormal finding : dyspnea, barrel chest abnormal lung sound,
stridor, signs of carbon dioxide retention, etc.

5. Cardiovascular Assessment and demonstration (using inspection,
palpation, percussion, auscultation) (general, abnormal finding,
specific assessment)
- General assessment : Arterial Pulses, bruits, Blood Pressure, etc.
-Specific Assessment : cardiac catheterization, Echo
- Abnormal finding: abnormal heart rate and heart sound (murmur),
Thrill and Heaving, etc.

6. Breast, Lymphatic Assessment and demonstration (using inspection,
palpation, percussion)
-General assessment : Approximate symmetry, Position of nipple,
Swelling or discoloration, etc.
-Specific Assessment: Mammogram, Ultrasound, etc.
-Abnormal finding: retraction of nipples and ulcer Abnormal nipple
discharge, breast mass, etc.

7. Abdominal Assessment and demonstration (using inspection,
palpation, percussion, auscultation) (general, abnormal finding,
specific assessment)
General assessment: abdominal contour, four quadrants tympani
and dullness, tenderness and guarding, etc.
Specific Assessment :
- Assessing Ascites (shifting dullness, Fluid thrill)

10

หัวข้อ ชว่ั โมง

- Assessing Appendicitis (Alvarado score) 2
- Assessing Cholecystitis (RUQ tenderness, Murphy’s sign, active or 2
decreased bowel sounds) 2
- Assessing Peritonitis or intestinal obstruction (Test rebound 2
tenderness, tenderness, involuntary guarding
- Assessing Aortic aneurysm (ตรวจพบ abdominal and iliac bruits)
- Assessing ขนาดของ abdominal mass/ขนาดของอวยั วะบรเิ วณ abdomen
- Assessing Acute Pyelonephritis (CVA tenderness)
Abnormal finding: abdominal mass with or without pulsation, an
aortic aneurysm, hepatomegaly, peritoneal fluid (ascites), etc.

8. Male and Female genitalia and Hernia (using inspection, palpation)
General assessment :
-External genitalia examination (rash, pustule, bleeding)
-Per Vagina (uterus size, cervix, discharge, etc.)
-Per rectal exam (polyps and bleeding)
Specific Assessment : Proctoscopy, pap smear,
Abnormal finding: Per rectal exam (rectal shelf. Hemorrhoid) hernia,
etc.

9. Musculoskeletal System Assessment and demonstration (Back and
Extremities)
General assessment: inspection, palpation and range of motion
regardless of the region, pain and refer pain, vascular pulses, etc.
Specific Assessment : Straight Leg Raising test (SLRT)
Pulse Extremities palpation Tinsel’s test, Phalen’s test Ligaments’
teat, etc.
Abnormal finding: Joint effusion and stiffness, decrease pulse
extremities, edema, cyanoses, etc.

10. Neurological Assessment and demonstration
General assessment :
- Level of conscious Cerebellar function, Motor system reflexes,
sensory system, cranial nerves
Specific Assessment
- Glasgow Coma scale
- Meningeal irritation signs (Stiffness of neck, Kerning’s sign,
Brzezinski’s sign) etc.
Abnormal finding : Alteration of conscious, motor weakness, Facial
Nerve Palsy (UMN or LMN type) Babinski response, Clonus,
Fasciculation, etc.

11. การประเมินดา้ นจิตใจอารมณส์ งั คมและสิง่ แวดลอ้ ม (Psychosocial

11

หัวขอ้ ชั่วโมง

assessment) 2
- General assessment : 2
- การประเมนิ ความทกุ ข์ ความเครียด ความกดดนั : (anxiety, depression,etc.) 2
- การประเมินด้านสงั คมและส่ิงแวดล้อม
Specific Assessment 2
- การใชเ้ ครื่องมือประเมนิ ดา้ นจิตใจอารมณ์ ได้แก่ 2Q 9Q 8Q

12. Assessing Children : Infancy Through Adolescence
General assessment : Interviewing technique and Techniques of
examination
- Assessing infants, Children, Adolescents in general (Growth and
development, Head to Toe assessment)
Specific Assessment: Visual acuity, etc.
Abnormal finding: Tachycardia, Jaundice, Dehydration, Heart
murmur etc.

13. Assessment of Nutritional status across the life span
- Direct method-Anthropometric, body composition assessment etc.
- Indirect method – History taking, Dietary survey etc.

14. การประเมินโรคร่วมและภาวะแทรกซอ้ นของโรคเรื้อรัง (TOD: Target organ
damage assessment)
- ภาวะแทรกซ้อนทางหวั ใจและหลอดเลือดใหญ่
- อาการ PAD, Orthopnea, Chest pain, Pale, Palpitation, edema ประเมนิ
Neck vein engorgement
- การอดุ ตนั ของหลอดเลือดแดงสว่ นปลาย (ABI: ankle-brachial index
- ภาวะแทรกซ้อนทางไตได้แก่ Extremities edema, GFR and kidney
function
- ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสว่ นปลายและอ่ืน ๆ ได้แก่
:Sensory evaluation, Diabetic neuropathy evaluation,
:Pericardial effusion, Lung crepitation
-ภาวะเฉยี บพลันในระบบทางเดนิ หายใจ
-Acute Asthmatic Attract (Assess the Severity of Dyspnea
Exacerbation in Patients with Acute Asthmatic Attract)
-Acute Exacerbation of COPD ประเมนิ 6 minute work)
การใช้เครื่องมือและเกณฑ์ในการประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ ดชั นีบาร์เธลเอดีเอล
(Bethel ADL index) และ QOL, Stroke risk, TIA risk Framingham Risk
Score, แบบประเมนิ แผลกดทับ etc.)

15. Patient assessment in Emergency
-Initial assessment or Primary survey and life threatening condition:
(general appearance, mental status, airway, breathing, circulation)
-Rapid trauma assessment: C-spine stabilization, Bleeding, ect.

12

หัวขอ้ ชัว่ โมง

-Secondary survey : History taking, head-to-toe assessment 2

16. Health Assessment Record
การบนั ทึกผลการประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ โดยใชข้ ้อมูล หลกั ฐานทางวทิ ยาศาสตร์และ
หลกั ฐานทางคลินกิ เพื่อการวิเคราะหแ์ ละตัดสินทางคลินกิ ในการวินิจฉัยแยกโรค

วิธีการจัดการเรียนการสอน

1) บรรยายอภิปราย

2) สาธิตและทดลองปฏิบัติ

3) การศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง

การประเมนิ ผล ร้อยละ 50
1) OSCE ร้อยละ 20
2) รายงานผลการประเมินภาวะสขุ ภาพ ร้อยละ 30
3) การสอบข้อเขยี น

5.3 รายวชิ า การใช้ยาอยา่ งสมเหตุสมผลสาหรับพยาบาลเวชปฏบิ ตั ิ 2 (2-0-4)

คาอธิบายรายวิชา

หลกั การใชย้ าอย่างสมเหตุผล หลักการทางเภสัชศาสตร์ ขอบเขตการใช้ยาของพยาบาล
เวชปฏบิ ัติ การใชย้ าสมุนไพร ในการรักษาโรคเบ้ืองต้น การบรหิ ารจัดการยาในระบบปฐมภมู ิ
การสง่ มอบและการใหค้ าแนะนาการใชย้ าตามวิถีชีวิต เศรษฐกิจ สังคม ความเชื่อและวฒั นธรรม
ของผู้รับบรกิ ารสขุ ภาพ

วตั ถุประสงคท์ ัว่ ไป

เพ่อื ให้นกั ศึกษามีความร้คู วามเขา้ ใจในแนวคิดและหลกั การใช้ยาอย่างสมเหตุผล หลักการ
ทางเภสชั ศาสตร์ การใช้ยาในการบาบดั รักษาปัญหาสขุ ภาพทว่ั ไป ตามขอบเขตความรบั ผิดชอบของ
พยาบาลเวชปฏิบัติ การใชย้ าสมนุ ไพรในการรักษาโรคเบอ้ื งต้น การบริหารจดั การการใช้ยาสาหรบั
ผรู้ ับบรกิ ารสขุ ภาพ

วัตถปุ ระสงค์เฉพาะ ภายหลงั สิ้นสุดการศกึ ษานักศึกษามีความรูค้ วามสามารถ

13

1. อธิบายแนวคิดและหลักการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ลได้
2. อธบิ ายหลกั การทางเภสัชศาสตรไ์ ด้
3. ระบขุ อบเขตของการพยาบาลเวชปฏบิ ตั ใิ นการใชย้ าเพ่ือการบาบดั รกั ษาปญั หาสุขภาพที่

พบบอ่ ยได้
4. วเิ คราะห์กลไกการออกฤทธ์ิของยา การตอบสนองของร่างกายต่อยา ปฏิกริ ิยาต่อกันของ

ยา ผลข้างเคียงของยา และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากการใช้ยาในการบาบดั รักษา
ปญั หาสขุ ภาพทพ่ี บบอ่ ยได้
5. ระบุการใชย้ าสมุนไพรเพื่อการบาบัดรกั ษาปญั หาสุขภาพทีพ่ บบ่อยได้
6. วเิ คราะห์บทบาทพยาบาลเวชปฏิบัติ ในการบรหิ ารยา การใหค้ วามรู้ และใหค้ าปรึกษา
แก่ผู้ป่วยในการใช้ยาไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพและปลอดภยั

ผ้รู ับผดิ ชอบวิชา
ผศ.ดร.ชนัญชดิ าดษุ ฎี ทูลศิริ อาจารยป์ ระจาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

จานวนช่วั โมงอบรม 30 ช่ัวโมง

หวั ข้อรายวิชา

หัวข้อ ชวั่ โมง
2
บทที่ 1 หลกั การใช้ยาอยา่ งสมเหตุผลสาหรบั พยาบาลเวชปฏิบัติ
1.1 ปญั หาการใชย้ าไมส่ มเหตุผล
1.2 แนวทางการใชย้ าสมเหตุผล

- ใชย้ าตามข้อบง่ ช้ี (Indication)
- ประสิทธิผลของยา (efficacy)
- ความเสย่ี ง (risk)
- ค่าใช้จ่ายของยา (cost)
- รอบรูแ้ ละรอบคอบ ระมัดระวังและใชย้ าเป็นขั้นตอน ตามมาตรฐาน
- ขนาดยา (dose)
- วธิ ีให้ยา (method of administration)
- ความถ่ใี นการให้ยา (frequency of dose)
- ระยะเวลาในการใหย้ า (duration of treatment)

14

บทที่ 2 หัวข้อ ชั่วโมง
บทที่ 3
- ความสะดวก (patient compliance) โดยคานึงถงึ ความสะดวก 2
และการยอมรบั ของผปู้ ่วย 22
2
- โรงพยาบาลสง่ เสรมิ การใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล (RDU hospital) 2
1.3 ฉลากยาและข้อมลู สปู่ ระชาชน
1.4 จริยธรรมในการสงั่ ใช้ยา
1.5 การดูแลด้านยาเพ่ือความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ (กลุม่
ผสู้ ูงอายุ,หญิงตัง้ ครรภ์, หญิงใหน้ มบตุ ร,เดก็ , ผูป้ ่วยโรคตับและผู้ปว่ ยโรคไต)
1.6 การสร้างความตระหนักรขู้ องบุคลากรทางการแพทยแ์ ละประชาชน
หลกั การทางเภสัชศาสตร์และการใช้ยาตามขอบเขตวิชาชีพของพยาบาลเวช
ปฏบิ ัติ
2.1 Pharmacokinetics and Pharmacodynamics
2.2 การใช้ยาตามขอบเขตวิชาชีพการพยาบาล
2.3 การใชย้ าเกนิ ขอบเขตวิชาชีพการพยาบาล
2.4 การบริการจัดการยาในระบบปฐมภมู ติ ามบัญชยี าหลัก
การใช้ยาเพ่ือการบาบดั รกั ษาปญั หาสขุ ภาพทีพ่ บบ่อยอยา่ งสมเหตุผล
3.1 Drug for Inflammation

3.1.1 Inflammation and Chemical Mediator of Inflammation
3.1.2 NSAIDS เชน่ Ibuprofen, Diclofenac
3.1.3 COX-2 Sedative Inhibitors
3.1.4 COX-1 vs. COX-2
3.1.5 Glucocorticoids for Inflammation
3.2 Drug for Respiratory Tract
3.2.1 Salbutamol
3.2.2 Terbutaline
3.2.3 Antihistamines

- Chlorpheniramine maleate
- Hydroxyzine
3.2.4 Cough preparation
- Dextromethorphan

15

หวั ข้อ ช่ัวโมง

- Brown Mixture 2
- Glyceryl Guaiacolate (ยาแก้ไอเด็ก) 2
- Ammon Carb
3.3 Drugs for Gastrointestinal(GERD, Peptic Ulcers, Constipation
and Diarrhea)
3.3.1 Antacids and other drugs for dyspepsia
- Aluminium hydroxide
- Mixt. Carminative
- Magnesiam hydroxide (MOM)
- Simethicone
-Sodium bicarbonate mixture
3.3.2 Antispasmodics and other drugs altering gut motility
- Domperidone
- Hyoscine-N-butylbromide
3.3.3 Ulcer-healing drugs and drugs used in variceal bleeding
- Ranitidine
- Omeprazole
-Sodium Chloride enema
- ORS (Oral Rehydration Salt)
- Bisacodyl
3.4 Drugs used in treating infection disease
3.4.1 Antibiotic
- Penicillin V
- Amoxicillin
- Dicloxacillin
- Cloxacillin
- Doxycycline
- Roxithromycin
- Erythromycin

16

หัวขอ้ ชั่วโมง

- Norfloxacin 1
- Trimethoprim 3
- Sulfamethoxazole (Co-trimoxazole)
3.4.2 Antiviral
- Abcavir
- Anti-Influenza: Neuraminidase
Inhibitors
- Drugs for Hepatitis
3.4.3 Antifungal
- Ketoconazole
- Griseofulvin
3.4.4 กลุ่มยาถา่ ยพยาธิ (Anthelmintic)
- Albendazole
- Mebendazole
3.5 การใชย้ าในกลุม่ โรคเรื้อรงั
- บทบาทของพยาบาลในการใช้ยากลุม่ โรคเร้ือรัง
- การ refill ยา โดยคานึงถึงการใชย้ าเกิน ยาซา้ ซ้อน และยาเสริมฤทธิ์
3.5.1 Drugs for Cardiovascular
3.5.1 Oral anti-hypertensive drug

- Diuretics
- Beta blockers
- Alpha blockers
- ACE inhibitor
- Calcium antagonist
- Angiotensin receptor antagonist
- Vasodilators
3.5.2 Parenteral drugs for treatment of hypertensive
emergencies
3.5.2.1 Vasodilator:

17

หัวขอ้ ชัว่ โมง
2
- Sodium nitropusside 2
- Nicardipine hydrochloride
- Nitroglycerine 2
3.5.2.2 Adrenergic inhibitor:
- Phentolamine
3.5.3 Antilipidemia
-Simvastatin
3.7 Drug for Reproductive
3.7.1 Oral Contraceptive: Types Estrogen-Progesterone
Formulation
3.7.2 Agents for Emergency Contraception
3.7.3 ยาคุมกาเนิด
3.8 Drugs for CNS and Psychotropic agents
3.8.1 Drugs used in nausea and vertigo

- Cinarizine
- Flunarizine
- Dimenhydrinate
- Amitriptyline
3.8.2 Analgesics and antipyretics
- Paracetamol
- ASA
3.8.3 Hypnotics and anxiolytics
- Diazepam
- Amitriptyline
3.9 Drug for Dermatology
- Silver Sulfadiazine (Silveral)
- Clotrimazole
- Benzyl Benzoate
- Calamine lotion

หัวข้อ 18

- Prednisolone ชว่ั โมง
- Betamethasone 2
- Triamcinolone cream
- Whitfield ointment 1
- Acyclovir cream
- Benzyl benzoate 25% 2
3.10 Eye Ear Nose and Pharynx Preparation
3.10.1 กลุ่มยา Eye
- Boric Acid (ยาลา้ งตา : Eye Lotion)
- Chloramphenicol
- Antazoline HCL + Tetrahydrozoline (Hista oph)
3.10.2 กลมุ่ ยา Ear, Nose, and Oropharynx
- Chloramphenicol
- TA oral paste
- Gentian violet

3.11 กล่มุ ยา Nutrition and Blood
3.11.1 Folic Acid
3.11.2 Glucose 50% injection
3.11.3 Vitamin
- Vitamin B complex injection
- Vitamin B complex
- Vitamin C
- Multivitamin (MTV)
- Ferrous Fumarate

บทท่ี 4 การใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรคเบื้องตน้
4.1 สถานการณแ์ ละปญั หาการใชส้ มุนไพรในชุมชน

19

หัวขอ้ ช่วั โมง

4.2 หลกั การเลอื กใชส้ มุนไพรในการรกั ษาโรคเบ้ืองต้น
4.3 กลุ่มยาสมนุ ไพรทีใ่ ช้ในการรกั ษาปญั หาสุขภาพทั่วไป(เชน่ ฟ้าทะลายโจร
ขมน้ิ ชัน ไพล เถาวัลยเ์ ปรยี ง พญายอ และว่านหางจระเข้ เป็นตน้ )

บทที่ 5 การจัดการบรหิ ารยาตามวิถชี ีวิต เศรษฐกิจ สังคม ความเช่ือ และวฒั นธรรม 2

5.1 Client education and adherence

5.2 Economic implications of drug management on
client’s lifestyle

5.3การสง่ มอบและการใหค้ าแนะนา ตามวัฒนธรรมและเชอ่ื เก่ยี วกับ
การใช้ยา

วิธกี ารจัดการเรียนการสอน
1. บรรยาย
2. อภปิ ราย

การประเมินผล
สอบข้อเขียน 100%

8.4 วิชาการรกั ษาโรคเบ้ืองตน้ และการจัดการภาวะเร่งดว่ น 3 (3-0-6) หน่วยกิต

คาอธิบายรายวิชา
หลกั การวนิ ิจฉัยแยกโรค พยาธิสรรี วิทยาของกลุม่ อาการ สาเหตุและวทิ ยาการระบาดของ

การเกดิ โรค ในภาวะเจ็บปว่ ยเล็กน้อยและเฉยี บพลันในระบบต่าง ๆ การรกั ษาเบ้ืองต้นโดยการใช้ยา
และไมใ่ ช้ยา การใช้สมุนไพร การคดั กรองและการจดั ลาดบั ปัญหาเร่งด่วน การปฐมพยาบาลและ
ชว่ ยเหลือเบ้ืองตน้ ในภาวะฉุกเฉนิ การใหค้ าปรกึ ษาและการสง่ ต่อโดยคานงึ ถงึ ความปลอดภัยของ
ผู้ป่วยและจรยิ ธรรมวิชาชพี

20

วัตถุประสงคท์ ว่ั ไป
ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลกั การวินิจฉัยแยกโรค พยาธสิ รรี วทิ ยาของ

กลุ่มอาการ สาเหตุและวทิ ยาการระบาดของการเกิดโรค ในภาวะเจ็บปว่ ยเล็กน้อยและเฉียบพลันในระบบ
ต่าง ๆ การรกั ษาเบื้องต้นโดยการใชย้ าและไมใ่ ช้ยา การคดั กรองและการจัดลาดับปัญหาเร่งดว่ น การ
ปฐมพยาบาลและชว่ ยเหลือเบ้ืองต้นในภาวะฉกุ เฉิน การให้คาปรกึ ษาและการสง่ ต่อยอดคานงึ ถึง
ความปลอดภยั ของผ้ปู ว่ ยและจรยิ ธรรมวชิ าชพี
วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแลว้ ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความสามารถดังน้ี

3.1 ระบุหลักการวนิ ิจฉยั แยกโรคตามกลุม่ อาการ และโรคท่ีพบบ่อยในระบบต่าง ๆ
3.2 บอกการรกั ษาโรคเบื้องต้นในระบบต่าง ๆ โดยการใช้ยาและไมใ่ ชย้ าได้
3.3 วิเคราะหป์ ัญหาการเจ็บป่วยและตัดสนิ ใจส่งต่อผู้ปว่ ยเพื่อใหก้ ารดแู ลต่อเน่ืองได้
3.4 อธิบายหลกั การคัดกรอง ประเมนิ ปญั หาและช่วยเหลอื ดูแลผูป้ ่วยในภาวะฉุกเฉินเรง่ ด่วนได้
3.5 อธบิ ายวธิ กี ารใหก้ ารดูแลรักษาผู้ป่วยในภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉนิ และอบุ ัติเหตุได้
3.6 ระบวุ ิธีการปฐมพยาบาลชว่ ยเหลอื ดูแลผูป้ ว่ ยในภาวะเรง่ ด่วนและฉุกเฉินได้
3.7 บอกวธิ กี ารให้ความช่วยเหลือรบี ดว่ นแก่ผทู้ ่ไี ด้รบั อันตราย มีอาการผิดปกติ

ของการหายใจ การช่วยเหลือฟน้ื คนื ชพี ได้
3.8 ระบุวิธกี ารทาหัตการเพอ่ื การรักษาโรคเบื้องต้นได้
3.9 ระบแุ นวทางในการสอน ใหค้ าปรกึ ษาและการสง่ ต่อโดยคานงึ ถึงความปลอดภัยของ

ผู้ป่วยตามขอบเขตการปฏบิ ัตแิ ละจรยิ ธรรมวิชาชพี ได้
3.10 อธบิ ายหลกั การบนั ทึกเพอื่ ตดิ ตามผลการรักษาอยา่ งต่อเนื่องได้

ผรู้ บั ผิดชอบวชิ า
ผศ.ดร.พัชรนิ ทร์ พูลทวี อาจารย์ประจาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา

จานวนชั่วโมงอบรม 45 ชั่วโมง

21

หวั ขอ้ รายวชิ า

หวั ขอ้ ชั่วโมง

หนว่ ยท่ี 1 แนวคิดและหลกั การในการรกั ษาโรคเบื้องต้นสาหรับพยาบาลเวชปฏบิ ัติ 3
1.1 หลกั การตัดสนิ ทางคลินิก Clinical reasoning และการวินิจฉยั แยกโรค 2
1.2 การจดั การอาการในภาวะฉุกเฉนิ และเรง่ ด่วน
- ความหมายและคาจากัดความ
- Fast track
- Triage
- การคัดครองและจัดลาดับความต้องการการดแู ล
1.3 หลักการตดั สนิ ใจเพื่อการรักษาเบ้ืองต้น การติดตามการรกั ษา
และการส่งตอ่
1.4 ความปลอดภัยผู้ปว่ ยและจริยธรรม
1.5 การบนั ทึกผลการตรวจรกั ษาเบื้องต้นในภาวะเจ็บป่วย ฉุกเฉินและเรง่ ด่วน

หนว่ ยท่ี 2 พยาธิสรรี วิทยาของกลุ่มอาการ สาเหตแุ ละวทิ ยาการระบาดของการเกิดโรค
ภาวะผิดปกตใิ นระบบตา่ ง ๆ การรักษาเบ้ืองตน้ โดยการใช้ยาและไม่ใชย้ าตาม
กล่มุ อาการท่ีพบบ่อยและเร่งดว่ น การให้คาปรกึ ษาและการสง่ ต่อ
2.1 ระบบ หู คอ จมกู ไดแ้ ก่
2.1.1 กลมุ่ อาการท่ีพบบอ่ ย
- อาการปวดหู คันหู
- หอู อ้ื หตู ึง/มเี สยี งดงั ในหู
- อาการกลืนลาบาก
- อาการเจบ็ คอ คอบวม คางบวม
- หนองไหล/เลือดไหลออกจากหูและอนื่ ๆ
2.1.2 การวินจิ ฉัยแยกโรคและการรักษาเบื้องต้น
- ไซนสั อกั เสบ เยอ่ื จมูกอักเสบ
- รดิ สีดวงจมกู
- คออักเสบ
- ทอนซลิ อักเสบ
- ภูมิแพ้
2.1.3 การจัดการภาวะเรง่ ดว่ นฉุกเฉนิ

22

หัวขอ้ ชัว่ โมง

- การช่วยเหลือผู้ปว่ ยภาวะฉุกเฉินทางหู คอ จมกู ได้แก่ การได้รับ 2
บาดเจบ็ จากอุบตั ิเหตุหรือการถูกทาร้าย เชน่ มเี ลอื ดหรือ CSF ไหลออกจากหู 3
แก้วหู ทะลุหรือเยื่อแกว้ หฉู ีกขาด เลอื ดกาเดาไหล ผนงั จมูกคด

- แมลงหรอื สง่ิ แปลกปลอมเข้าหูจมูกและคอ
- หอู อ้ื จากการเปลยี่ นแปลงของความดนั ในหเู มอ่ื ขึน้ ที่สงู หรือดาน้า
2.2 ตา ไดแ้ ก่
2.2.1 กล่มุ อาการท่พี บบอ่ ย
- ระคายเคืองตา คนั ตาเจ็บ/ปวดตา หนังตาบวม
- ตามวั หนังตาตก
- ตาเหน็ แสง
2.2.2 การวนิ จิ ฉัยแยกโรคและการรกั ษาเบ้ืองตน้
- การตดิ เช้ือทต่ี า เชน่ ตาแดง ตาเป็นกุ้งยิง
- ต้อเนอ้ื ต้อกระจก ตอ้ หิน
2.1.3 การจัดการภาวะเร่งดว่ นฉุกเฉนิ ได้แก่
- สารพิษเข้าตา
- สงิ่ แปลกปลอม
- เลอื ดออกในช่องหน้าลูกตา
- เลือดออกใตต้ าขวา
- เยอ่ื บุตาฉีกขาด
- แก้วตาทะลุ
- โรคจอประสาทตาฉีกขาดและหลุดลอก
2.3 ระบบอวัยวะสืบพันธ์ ได้แก่
2.3.1 กล่มุ อาการท่ีพบบอ่ ย
- การขาดประจาเดอื น
- ปวดทอ้ ง/ปวดประจาเดอื น
- สารคัดหลั่งผดิ ปกตอิ อกจากช่องคลอด เช่น ตกขาว หนอง เปน็ ต้น
- มีเลือดออกทางช่องคลอด
- มีกอ้ น/ถุงนา้ ท่ีอวยั วะสืบพนั ธ์ุ
- แผลทอ่ี วัยวะเพศ

23

หัวข้อ ช่วั โมง
3
- อาการปวดท่ีอวัยวะสืบพันธ์
2.3.2 การวนิ ิจฉยั แยกโรคและการรกั ษาเบื้องต้น

- หนองใน
- แผลรมิ อ่อน
- การตดิ เช้ือทางช่องคลอด จากแบคทเี รยี เช้ือรา และโปรโตซวั
- การตั้งครรภ์
- เน้ืองอกและมะเรง็
2.3.3 การจัดการภาวะเร่งด่วนฉุกเฉนิ
- ปวดทอ้ งรนุ แรง
- การแท้ง
- การตง้ั ครรภน์ อกมดลูก
- การตกเลอื ดช่องคลอดเฉยี บพลัน
- ความดนั โลหิตสูงในระยะต้งั ครรภ์หรือภาวะครรภเ์ ป็นพษิ
2.4 ระบบทางเดนิ หายใจ ได้แก่
2.4.1 กลุ่มอาการท่ีพบบ่อย
- ไอ ไอเปน็ เลือด
- หอบเหนื่อย/หายใจลาบาก
- เจ็บคอ
- เสยี งแหบ
- ภาวะมีนา้ /หนองในโพรงเยื่อหุม้ ปอด
2.4.2 การวนิ ิจฉยั แยกโรคและการรักษาเบ้ืองตน้
- คออกั เสบ และทอนซลิ อกั เสบ
- ไอกรน และครปู้
- หัด
- หัดเยอรมนั
- อีสุกอใี ส
- สา่ ไข้
- ไขห้ วดั และไข้หวัดใหญ่
- วัณโรคปอด

24

หัวข้อ ช่ัวโมง
3
- มะเร็งปอด
- หลอดลมอกั เสบเฉยี บพลัน 3
- หลอดลมอักเสบเรื้อรัง/ถุงลมโป่งพอง
- หอบหืด
- ปอดอกั เสบ/ปอดบวม
2.4.3 การจดั การภาวะเร่งด่วนฉุกเฉิน
- ภาวะฉกุ เฉนิ ต่อทรวงอก ได้แก่ Tension Pneumothorax,
Massive Hemothorax, Open Pneumothorax และ Flail chest
2.5 ระบบหวั ใจและหลอดเลือด ไดแ้ ก่
2.5.1 กลมุ่ อาการท่ีพบบ่อย
- เจ็บหน้าอก
- หัวใจเต้นไมเ่ ป็นจังหวะ/ผดิ ปกติ
- บวมรว่ มกับเหนื่อยหอบ
2.5.2 การวินจิ ฉยั แยกโรคแลการรกั ษาเบือ้ งตน้
- กลมุ่ โรคหวั ใจพิการแต่กาเนิดในเดก็
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลอื ด เช่น โรคหวั ใจขาดเลอื ดชว่ั ขณะ และโรค
กลา้ มเนื้อหวั ใจตาย
- กลุ่มลนิ้ หัวใจผดิ ปกติ เช่น ลน้ิ หัวใจตีบและลิ้นหัวใจรว่ั
2.5.3 การจัดการภาวะเร่งดว่ นฉกุ เฉิน
- อาการเหนือ่ ยหอบ จากภาวะหัวใจล้มเหลว
- เจบ็ หน้าอกรุนแรง จากกลุ่มอาการ Coronary Syndrome ได้แก่
โรคหวั ใจขาดเลือดชวั่ ขณะ และโรคกล้ามเน้ือหวั ใจตาย
- ภาวะหัวใจถูกบีบรดั
- ภาวะ Shock
2.6 ระบบทางเดนิ อาหาร ไดแ้ ก่
2.6.1 กลมุ่ อาการที่พบบ่อย
- กลนื ลาบาก
- ปวดทอ้ ง
- คลื่นไส้ และอาเจยี น

25

หวั ข้อ ช่ัวโมง

- อาเจยี นเป็นเลือด 3
- ถ่ายเป็นเลือด และอุจจาระเป็นมูกปนเลือด
- ถ่ายเป็นสีดา
- ทอ้ งผูก
- ท้องเสีย
- ตวั ตาเหลือง
2.6.2 การวนิ ิจฉัยแยกโรคและการรักษาเบ้ืองต้น
- กระเพาะอาหารอกั เสบ โรคกระเพราะอาหาร กรดไหลย้อน
- กลุ่มโรคทมี่ ีภาวะเยือ่ บุช่องท้องอักเสบ เช่น กระเพาะอาหารทะลุ
- กลุม่ โรคที่มีอาการถ่ายเป็นมกู เลือด หรือกลุ่มโรคบิด เชน่ โรคบดิ มี
ตวั โรคบดิ ไมม่ ีตวั โรคบดิ อะมบี า
-กลุ่มโรคทีม่ ีอจุ จาระรว่ ง เช่น ลาไส้อักเสบ อาหารเปน็ พษิ
-ไสต้ ิ่งอักเสบ
-ถงุ นา้ ดอี ักเสบไส้เลอื่ น
-ตับอ่อนอกั เสบ
-มะเรง็ ตา่ ง ๆ เชน่ มะเรง็ หลอดอาหาร มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็ง
ลาไส้ใหญ่ มะเร็งตับ และมะเร็งตบั อ่อน เปน็ ตน้
-ตับแข็ง
-พยาธิในลาไส้ parasitic infestation
-รดิ สดี วงทวาร
2.6.3 การจัดการภาวะเรง่ ด่วนฉุกเฉนิ
-อาการปวดท้องรุนแรง
-ภาวะตกเลือดในทางเดินอาหาร เชน่ อาเจียนเปน็ เลือด ถา่ ยเป็น
เลอื ด การช่วยเหลือผ้ปู ่วยภาวะฉุกเฉินของทางเดินอาหาร
-การบาดเจ็บชอ่ งท้อง เชน่ ถูกแทง ถกู ยงิ และการถูกกระแทกของ
อวยั วะในชอ่ งท้อง

2.7 ระบบประสาท ได้แก่
2.7.1 กลุ่มอาการที่พบบ่อย
-อาการปวดศีรษะ
-อาการวิงเวยี น/เวียนศรี ษะ

26

หวั ขอ้ ชั่วโมง

-อาการแขน ขาอ่อนแรง ชา เปน็ อมั พาต 3
-อาการหมดสติ
2.7.2 การวินิจฉยั แยกโรคและการรกั ษาเบ้ืองต้น
-เน้อื งอกในสมอง
-โรคสมองอกั เสบ
-กล่มุ โรคท่ีมคี วามผิดปกตเิ ส้นเลอื ดสมอง
-โรคเย่ือหุม้ สมองอักเสบหรือเย่ีอหมุ้ สมองและไขสันหลังอกั เสบ
- โรคมัลติเป้ลิ สเกลอโรซิส
- เส้นประสาทไขสันหลงั ถกู กดทบั
2.7.3 การจดั การภาวะเรง่ ด่วนฉุกเฉิน
- ภาวะความดนั ในกะโหลกศีรษะสงู
- ภยนั ตรายตอ่ ศีรษะและสมอง
- ภยนั ตรายตอ่ ไขสันหลัง

2.8 การวินิจฉยั การรกั ษาโรคเบอื้ งต้นและพิจารณาสง่ ต่อผู้ป่วยทีม่ ีปญั หา
สุขภาพท่ีพบบ่อยและปัญหาฉกุ เฉนิ ของระบบทางเดินปสั สาวะ ไดแ้ ก่

2.8.1 กลุม่ อาการทพี่ บบ่อย
- ลักษณะอาการท่ีผิดปกตทิ ่พี บบอ่ ย เช่น กลนั้ ปสั สาวะไม่อยู่

ปัสสาวะน้อย ปสั สาวะไม่ออก ปัสสาวะบอ่ ย ปสั สาวะออกมากผดิ ปกติ ไม่มี
ปัสสาวะ ปสั สาวะไม่ออก ปัสสาวะมากกลางคนื ปัสสาวะคา้ ง

- ลกั ษณะปัสสาวะทผ่ี ิดปกติ เชน่ ปสั สาวะเป็นเลือด มสี นี ้าตาลใน
ปสั สาวะ มโี ปรตนี ในปสั สาวะมีคีโตนในปสั สาวะ ปัสสาวะมสี เี หลอื งน้าตาลของ
บิลิรบู นิ

2.8.2 การวนิ ิจฉยั แยกโรคและการรกั ษาเบื้องต้น
- ภาวะไตวาย
- นิว่ ในทางเดินปัสสาวะ

- เนื้องอก
- ตอ่ มลูกหมากโต
- โรคไตเรอ้ื รัง
- หนว่ ยไตอักเสบเฉียบพลนั
- กระเพาะปัสสาวะอักเสบ

27

หัวข้อ ชั่วโมง

- กรวยไตอกั เสบ 2
2.8.3 การจัดการภาวะเรง่ ด่วนฉุกเฉนิ
3
-จากอบุ ัตเิ หตุหรือถูกทาร้าย เช่น ไตแตก และกระเพาะปสั สาวะแตก 2

2.9 การวินิจฉยั การรักษาโรคเบ้อื งตน้ และการพิจารณาส่งต่อผู้ปว่ ยท่ีมี
ปัญหาสุขภาพทพ่ี บบ่อยและปัญหาฉกุ เฉนิ ของระบบผิวหนงั ได้แก่

2.9.1 กลุ่มอาการที่พบบ่อย
- ผมรว่ ง
- ผนื่

2.9.2 การวนิ ิจฉยั แยกโรคและการรกั ษาเบ้ืองตน้
- ผ่ืนคนั ลมพษิ ผืน่ แพ้
- ผวิ หนงั อักเสบจากการแพ้ สารเคมี
- ผวิ หนังอักเสบจากการตดิ เช้ือแบคทเี รยี (ฝี สิว ชนั นะตุ เป็นต้น)
- ผวิ หนังอกั เสบจากการติดเชื้อรา (กลาก เกล้อื น เปน็ ตน้ )
- ผวิ หนังอกั เสบจากการติดเชื้อไวรัส (เรมิ งสู วัด เปน็ ต้น)
- รอยแผลเป็น รอยดา่ งขาว และอื่น ๆ

2.9.3 การจัดการภาวะเรง่ ด่วนฉกุ เฉิน
- แผลไหม้

2.10 การวินิจฉยั การรักษาโรคเบ้ืองตน้ และการพิจารณาสง่ ต่อผู้ปว่ ยทีม่ ี
ปญั หาสขุ ภาพท่ีพบบอ่ ย และปญั หาฉุกเฉินของระบบตอ่ มไร้ท่อ ไดแ้ ก่

2.10.1 กลุ่มอาการที่พบบ่อย
- กล่มุ อาการคชุ ชงิ่

2.10.2 การวินิจฉัยแยกโรคและการรกั ษาเบื้องต้น
- เบาหวาน
- ตอ่ มธัยรอยด์โต (คอพอกธรรมดา คอพอกเป็นพิษ)
- โรคของกลุ่มอาการคุชชงิ

2.10.3 การจัดการภาวะเรง่ ดว่ นฉุกเฉนิ
-ภาวะหมดสตจิ ากนา้ ตาลต่า

2.11 การวนิ ิจฉยั การรักษาโรคเบ้ืองตน้ และการพิจารณาสง่ ต่อผปู้ ว่ ยทีม่ ี
ปญั หาสขุ ภาพที่พบบอ่ ยและปัญหาฉกุ เฉนิ ของระบบกระดูกและกลา้ มเนื้อ
ได้แก่

28

หัวขอ้ ช่วั โมง
2
2.11.1 กลมุ่ อาการท่ีพบบอ่ ย
-ปวด เชน่ ปวดหลัง ปวดตามข้อ ปวดกล้ามเนื้อ
- บวม
- เสียงกรอบแกรบ
- ตะคริว
- กระดูกคด ผิดรูป
- ขอ้ ตดิ

2.11.2 การวินิจฉยั แยกโรคและการรักษาเบื้องต้น
- กระดกู พรนุ
- ข้ออักเสบ เช่น โรคเกาต์ โรคข้ออักเสบรมู าตอยด์
- ข้อเสอ่ื ม กระดูกเสอ่ื ม
-พงั ผืดที่ข้อมือกดทับเส้นประสาท

2.11.3 การจดั การภาวะเรง่ ดว่ นฉุกเฉิน
-ขอ้ เคลอ่ื น
-กระดกู หัก กระดกู แตก
-ข้อเคลด็ ข้อแพง
-กระดกู คอ และกระดกู สนั หลังหกั

2.12 การวนิ ิจฉยั การรักษาโรคเบ้ืองตน้ และการพิจารณาสง่ ต่อผูป้ ว่ ยทีม่ ี
ปัญหาสุขภาพทพ่ี บบอ่ ยและปัญหาของโรคตดิ เชอ้ื ได้แก่

2.12.1 กลุม่ อาการทพ่ี บบ่อย
- ไข้ ไข้หนาวส่ัน

2.12.2 การวนิ จิ ฉัยแยกโรคและการรักษาเบ้ืองตน้
- ไข้เลือดออก มาลาเรีย
- สครัปไทฟัส
- ไทฟอยด์
- เลปโตสไปโรซสี
- ไขห้ วัดนก ซาร์ส อีโบล่า
- ไข้เลือดออก

2.12.3 การจดั การภาวะเร่งดว่ นฉุกเฉนิ

29

หัวข้อ ช่ัวโมง
3
- ชอ็ คจากการติดเชือ้
- ชกั จากไข้สงู ในเดก็ 3
2.13 การวนิ ิจฉัย การรกั ษาโรคเบื้องตน้ และการพิจารณาส่งต่อผูป้ ่วยท่มี ี 2
ปัญหาสขุ ภาพทพี่ บบ่อยและปญั หาทางสุขภาพจิต ไดแ้ ก่ 3
2.13.1 กลุม่ อาการท่ีผดิ ปกติทีพ่ บบ่อย
- ด้านความคดิ และการรับรู้
- ดา้ นความจา สติปญั ญา
- ดา้ นความสนใจ สมาธิ และการเคลื่อนไหว
- ดา้ นอารมณ์
- ด้านพฤติกรรม
2.13.2 การวนิ ิจฉยั แยกโรคและการรักษาเบ้ืองตน้
- โรคจิตเภท
- โรคซมึ เศร้า
- โรคอารมณส์ องข้วั
- โรคกังวลไปเอง
- โรคออทิสซ่ึม
- ความผิดปกติท่เี กดิ จากการใชส้ ารเสพติด
- โรคสมองเสื่อม เชน่ อลั ไซเมอร์
2.13.3 การจดั การภาวะเร่งด่วนฉุกเฉนิ
- ผปู้ ว่ ยทมี่ ภี าวะคลุ้มคลง่ั ผ้ปู ว่ ยทีค่ ดิ ฆา่ ตวั ตาย
หน่วยที่ 3 การปฐมพยาบาลผู้ป่วย การดูแลรักษา และวธิ กี ารจดั การกับความเจ็บปวด
3.1 ผทู้ ี่ไดร้ บั อนั ตรายจากความร้อนและความเยน็
3.2 ผู้ที่ไดร้ บั สารพิษ
3.3 สัตว์กดั งูกัดและแมลงกัดตอ่ ย
หน่วยท่ี 4 การช่วยฟื้นคืนชีพข้นั พ้นื ฐานในผูป้ ว่ ยฉุกเฉนิ
หน่วยที่ 5 หลักการและวิธกี ารทาหัตถการเบ้ืองต้น
5.1 การผ่าตัดเล็กและการตกแตง่ บาดแผล
5.2 หลักการเย็บแผล
5.3 การถอดเลบ็ และผ่าเอาสิง่ แปลกปลอมออก

30

การประเมินผล รอ้ ยละ 90
สอบขอ้ เขียน ร้อยละ 10
การมีสว่ นร่วมในช้ันเรียน

5.5 วชิ าการจัดการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคเรือ้ รงั ในชุมชน 2 (2-0-4)

คาอธบิ ายรายวชิ า
แนวคิดการจดั การโรคเรื้อรัง การจัดระบบการดแู ลผปู้ ่วยโรคเรื้อรงั ในชมุ ชน การประเมน

ปัจจยั ทมี่ ีผลต่อภาวะแทรกซ้อน การตดั สินทางคลินิก การบาบัดการรกั ษา การจัดการภาวะฉุกเฉิน การ
ดแู ลต่อเน่ืองทีบ่ ้าน การดแู ลผู้ป่วยในภาวะพึง่ พงิ และผู้ดแู ล ประเมนิ ทรัพยากรที่จาเป็นในชุมชน การ
วางแผนจดั การการดูแล การจดั การข้อมูล การประเมนิ ผลลพั ธก์ ารดแู ล การประสานทมี งาน การมี
สว่ นร่วมของชมุ ชน การสนับสนนุ การจัดการตนเอง การปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมสขุ ภาพเพอื่ การดูแล
ผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรังและครอบครวั ได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม

วัตถปุ ระสงคท์ ว่ั ไป
เพ่อื ให้ผู้เข้าอบรมมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในแนวคดิ ธรรมชาติและการจดั การโรคเรือ้ รัง การ

จดั ระบบการดแู ลผปู้ ว่ ยเร้ือรงั ในชมุ ชน การประเมนิ ปัจจยั ที่มผี ลต่อภาวะแทรกซ้อน การรวบรวม
ข้อมูลเอการตดั สนิ ทางคลินิกและจัดการดูแลผปู้ ่วยโรคเรอื้ รังในภาวะฉกุ เฉิน การบาบดั การรกั ษาโรค
เรอ้ื รงั ทีพ่ บบ่อยในชุมชน การดแู ลผู้ปว่ ยในภาวะพึ่งพงิ และการดูแล การดูแลต่อเน่ืองท่บี า้ น ประเมิน
ทรพั ยากรท่จี าเปน็ ในชมุ ชน การจดั การขอ้ มูล การประเมินผลลัทธ์การดูแล การประสานทีมงาน การ
สนับสนุนการจัดการตนเองเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน
เพ่อื การจัดการการดแู ลผู้ป่วยโรคเรื้อรงั และครอบครัวได้อยา่ งคมุ้ คา่ และเหมาะสม

วตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ เมือ่ สิ้นสดุ การอบรม ผ้เู ข้ารับการอบรมมคี วามรูค้ วามสามารถ ดังนี้
1. อธบิ ายแนวคิดการจัดการโรคเรื้อรงั การจัดระบบการดแู ลผู้ปว่ ยเรอ้ื รังในชมุ ชนได้
2. ระบวุ ิธกี ารประเมินปัจจัยท่ีมีผลต่อภาวะแทรกซ้อนเพื่อการตัดสินทางคลินิกในการ
บาบัดรักษาในผปู้ ่วยโรคเรื้อรังที่พบบ่อย

31

3. ประเมินความต้องการผู้ปว่ ยโรคเร้ือรังในภาวะพง่ึ พิงและผดู้ ูแลเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่
บา้ นได้

4. ระบแุ นวทางในการบาบดั รักษาผูป้ ่วยโรคเรื้อรงั ทพ่ี บบ่อยในภาวะฉกุ เฉนิ ได้
5. วเิ คราะห์ทรัพยากรและข้อมลู ท่จี าเปน็ เพื่อการวางแผนและประเมินผลลัพธก์ ารจัดการ

ดแู ลได้
6. ระบแุ นวทางการการประสานทีมงาน การมสี ่วนร่วมของชุมชนการสนับสนุนการจัดการ

ตนเองในการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมสุขภาพเพ่ือการดูแลผู้ป่วยโรคเรอ้ื รังและครอบครัวได้

ผ้รู บั ผดิ ชอบวชิ า ชั่วโมง
ผศ.ดร.นสิ ากร ชีวะเกตุ อาจารยป์ ระจาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 6

จานวนชวั่ โมงอบรม 30 ช่วั โมง

หวั ข้อรายวชิ า

หวั ขอ้
หนว่ ยท่ี 1 แนวคดิ การจดั การโรคเรื้อรัง

1.1 ธรรมชาตขิ องโรคเร้ือรัง
ภาวะ acute และ chronic
การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ น
การเกดิ โรครว่ ม

1.2 การจดั การโรคเร้ือรัง
แนวคดิ การจดั การโรคเรื้อรัง
รูปแบบการจดั การโรคเรื้อรัง
chronic care model
trajectory model
integrate care model

1.3 หลักการจดั การโรคเร้ือรัง
1.3.1 การจัดการดูแลรกั ษา : ความต่อเน่ือง ความรว่ มมือ และครอบคลุม
1.3.2 การสง่ เสรมิ การจดั การควบคมุ โรค

: การสรา้ งความสมดุล ไดแ้ ก่ สมดลุ อาหาร กิจกรรมทางกาย
การใชย้ า การจัดการความเครยี ด

32

หวั ขอ้ ชวั่ โมง

: การปรับแบบแผนการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั ได้แก่ ปรับการบริโภค 12
การออกกาลังกาย กจิ กรรมทางกาย การควบคมุ ปัจจยั เสย่ี งและปอ้ งกนั 2
ภาวะแทรกซ้อน
4
: การเสริมสร้างพลังอานาจ

1.3.3 การสนับสนุนการตัดการตนเอง (self-management support)

: หลกั การแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกย่ี วข้องกับการสนับสนนุ การจัดการ
ตนเอง

: การสนบั สนุนการจัดการตนเองในผปู้ ่วยโรคเรื้อรงั

หนว่ ยท่ี 2 การจัดระบบบริการการจดั การโรคเรื้อรงั ในชมุ ชน

2.1 Ambulatory care and community-based care

2.1.1 หลกั การและแนวคิด

 ambulatory care sensitive condition
 strategies to reduce the use of hospital beds
 strategies to reduce the need for emergency department

service

2.1.2 ขน้ั ตอนการจัดบริการ

2.1.3 การจัดการทีมงาน

2.1.4 การจัดคลนิ ิกบริการ

2.2 การจดั การการดูแล

2.2.1 แนวคิดการจดั การโรค และการจดั การรายกรณี

2.2.2 การประเมนิ ปัจจัยความแปรปรวนท่ีมีผลต่อภาวะแทรกซ้อนปัญหา
สุขภาพ และความต้องการการดแู ล

2.2.3 การวางแผนการดูแล

2.2.4 การตดิ ตาม และการประเมนิ ผลลัพธก์ ารดแู ล

2.3 การดแู ลต่อเนื่องท่ีบ้าน 4

2.3.1 การดแู ลโดยยึดผูป้ ว่ ยและครอบครวั เปน็ ศูนย์กลาง

2.3.2 เกณฑก์ ารจาแนกผ้เู ปน็ โรคเร้อื รังท่ีต้องการการบริการทีบ่ า้ น

 โรคหลอดเลือดสมอง
 โรคหัวใจล้มเหลว
 โรคไตวายเรอ้ื รังทีล่ า้ งไตทางหน้าท้อง

33

หัวข้อ ช่วั โมง
 โรคเบาหวานทม่ี ภี าวะแทรกซ้อน 2
 โรคปอดอุดกนั้ เร้ือรงั และหอบหดื 12
 มารดาหลงั คลอด 2

2.3.3 การใชเ้ ทคโนโลยแี ละเครือ่ งมอื แพทยใ์ นการดูแลผ้เู ป็นโรคเรื้อรงั ท่บี ้าน 2

2.3.4 การดูแลผปู้ ่วยในภาวะพึ่งพิงและผูด้ ูแล

2.4 การจดั การทรัพยากรในชมุ ชน

2.4.1 การดแู ลท่เี นน้ ผู้ป่วยและครอบครัวเปน็ ศนู ยก์ ลาง

2.4.2 การเตรยี มความพร้อมครอบครัว ผู้ดูแล

2.4.3 แหล่งประโยชน์ในชุมชน เครือข่ายสถานบรกิ าร

2.4.4 ระบบรบั และส่งต่อ การใหค้ าปรกึ ษา

2.4.5 ระบบข้อมูลเพ่ือการจดั การผ้ปู ่วยโรคเรื้อรงั

หนว่ ยท่ี 3 การจัดการการดูแลผู้ป่วยโรคเร้ือรังในภาวะเรง่ ด่วน และการดูแลต่อเน่ืองท่ี
บา้ น

3.1 เบาหวาน
1) กลไกการควบคมุ โรคเบาหวาน
2) พยาธิสภาพและกลไกการเกิดภาวะฉกุ เฉินจากเบาหวานและ

ภาวะแทรกซ้อนจากการมนี ้าตาลในเลอื ดสงู

3) การจัดการภาวะสมดลุ
 สมดุลอาหาร กิจกรรมทางกาย การใช้ยา
 การจดั การความเครยี ด

4) การควบคมุ ปัจจัยกาเริบของโรค

5) การจัดการในภาวะเรง่ ด่วน

3.2 ความดนั โลหิตสูง

1) กลไกการควบคุมความดนั โลหิต

2) พยาธิสภาพและกลไกการเกิดโรคร่วม และภาวะแทรกซ้อน

จากความดนั โลหิต

3) การจดั การภาวะสมดลุ

:สมดลุ อาหาร กิจกรรมทางกาย การใชย้ า การจดั การความเครียด

4) การควบคุมปัจจัยกาเรบิ ของโรค (การควบคุมอาหารไขมันสูง การ
จากัดปริมาณโซเดียม การเลิกบหุ ร่ี การควบคมุ นา้ หนัก การควบคุม
การด่ืมแอลกอฮอล์และคาเฟอีน)

34

หัวขอ้ ชัว่ โมง
5) การจดั การในภาวะเร่งดว่ น 2

3.3 โรคปอดอุดก้นั เรื้อรังและหอบหืด 2
1) พยาธิสภาพและกลไกการเกดิ ภาวะปอดอุดกั้นเรือ้ รงั 2
2) พยาธสิ ภาพและกลไกการเกดิ โรคหอบหดื
3) พยาธิสภาพและกลไกการเกดิ อาการกาเริบรนุ แรงในผ้ปู ่วยโรคปอด 2

อุดกนั้ เร้ือรัง
4) พยาธสิ ภาพและกลไกการเกิดอาการกาเริบรุนแรงในผปู้ ว่ ยโรคหอบหดื
5) การจัดการภาวะสมดุล ได้แก่ สมดลุ อาหารกิจกรรมทางกาย การใชย้ า

การควบคุมปัจจัยกาเริบของโรค (การเลกิ บหุ ร่ี การป้องกันปจั จยั กระตุ้น การ
ป้องกนั โรคติดเช้ือทางเดนิ หายใจ)

6) การจดั การในภาวะเร่งดว่ น

3.4 โรคหวั ใจ
1) กลไกการเกดิ กล้ามเนอ้ื หัวใจขาดเลือด
2) พยาธิสภาพและกลไกการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากกลา้ มเนื้อหัวใจ
ขาดเลอื ด ไดแ้ ก่ หัวใจวาย
3) การจัดการภาวะสมดุล ไดแ้ ก่ สมดลุ อาหารและน้า กจิ กรรมทางกาย
การใชย้ า
4) การควบคุมปัจจยั กาเรบิ ของโรค
5) การจดั การในภาวะเร่งด่วน

3.5 โรคหลอดเลอื ดสมอง
1) กลไกการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
2) พยาธสิ ภาพและกลไกการเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นจากโรคหลอดเลอื ดสมอง
3) การจดั การภาวะสมดุล ไดแ้ ก่ สมดลุ อาหารและน้า การใช้ยา
4) การฟ้ืนฟูสภาพ
5) การควบคุมปัจจัยกาเรบิ ของโรค
 การป้องกนั และควบคุม
 การควบคุมปัจจัยเสี่ยง (ความดนั โลหิต อาหารเคม็ ภาวะเครยี ด
เป็นต้น)
6) การจัดการในภาวะเร่งดว่ น

3.6 ภาวะไตวาย

หัวข้อ 35

1) กลไกการเกิดไตวาย ช่ัวโมง
2) พยาธิสภาพและกลไกการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากไตวาย
3) การจัดการภาวะสมดลุ ได้แก่ สมดลุ อาหารและน้า การใชย้ า
4) การควบคุมกาเริบของโรค
5) การจดั การในภาวะเรง่ ด่วน

วิธกี ารจัดการเรยี นการสอน

1. บรรยาย
2. อภปิ ราย

การประเมนิ ผล

สอบข้อเขยี น รอ้ ยละ 100

8.6 รายวชิ า ปฏบิ ตั กิ ารรกั ษาโรคเบ้ืองต้นและการจดั การภาวะเร่งดว่ น 4 (0-16-0)

คาอธบิ ายรายวชิ า

ปฏิบัตกิ ารประเมินภาวะสขุ ภาพอย่างครอบคลุม อาการและอาการแสดงทผ่ี ิดปกติในภาวะ
เจบ็ ป่วยเล็กน้อยและเฉียบพลนั ในระบบต่าง ๆ การตัดสนิ ใจวินิจฉยั แยกโรค การเลอื กใชย้ าและ
สมุนไพรในการรักษาโรคเบื้องต้น คัดกรองและจดั ลาดับความต้องการการดูแลตามปัญหาสุขภาพ
การปฐมพยาบาลและชว่ ยเหลอื เบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน รับและส่งต่อผู้ป่วย ให้ความรู้และคาปรกึ ษา
บนั ทกึ ติดตามการรกั ษา เพ่ือใหผ้ ู้ปว่ ยได้รับการดแู ลอย่างตอ่ เนอ่ื งอยา่ งปลอดภัยตามขอบเขตการ
ปฏบิ ตั แิ ละจรยิ ธรรมวิชาชีพ

วัตถปุ ระสงค์ทั่วไป

ผู้เข้ารบั การอบรมมที ักษะการประเมนิ ภาวะสุขภาพตามอาการและอาการแสดงท่ีผิดปกตใิ น
ภาวะเจบ็ ป่วยเลก็ น้อยและเฉียบพลนั ในระบบต่างๆ การตัดสินใจวนิ ิจฉัยแยกโรค การเลือกใชย้ าและ
สมุนไพรในการรกั ษาโรคเบื้องต้น รวมทงั้ ให้คดั กรองและจัดลาดับความต้องการการดูแลตามปัญหา
สุขภาพ ให้การปฐมพยาบาลและช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ป่วยในภาวะฉกุ เฉิน จดั ระบบการรับและสง่ ต่อ

36

ผปู้ ่วย ใหค้ วามรู้และคาปรกึ ษา รวมทั้งการบนั ทึกผลและตดิ ตามการรักษา เพื่อใหผ้ ู้ปว่ ยไดร้ บั การ
ดแู ลอย่างต่อเน่ืองอย่างปลอดภยั ตามขอบเขตการปฏิบัติและจรยิ ธรรมวชิ าชพี

วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ

เมอ่ื สิน้ สุดการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้
1. บูรณาการการประเมนิ ภาวะสุขภาพ พยาธสิ รรี วิทยาของอาการและอาการแสดงอย่าง
เป็นองค์รวม เพื่อการตัดสินใจใหก้ ารวินิจฉยั แยกโรคในระบบต่าง ๆ ไดถ้ ูกต้อง
2. ตัดสนิ ใจเลือกใช้ยา และสมนุ ไพรในการรักษาเบื้องตน้ ในภาวะเจ็บปว่ ยเล็กน้อยและ
เฉียบพลนั ได้อย่างเหมาะสม
3. คัดกรอง ประเมนิ ปัญหาและจัดลาดบั ความต้องการการดแู ลตามปัญหาสขุ ภาพเพื่อให้
การช่วยเหลือผูป้ ่วยในภาวะฉกุ เฉิน เรง่ ด่วนได้อยา่ งเหมาะสม
4. ปฏบิ ตั หิ ตั ถการเบื้องตน้ และให้การดแู ลตามขอบเขตการปฏบิ ตั แิ ละจรยิ ธรรมวชิ าชีพได้
5. พิจารณาตดั สนิ ใจรับ และส่งตอ่ ผู้ป่วยตามระบบได้อยา่ งเหมาะสม
6. ใหค้ วามรู้ คาแนะนาและให้การปรกึ ษาเพอ่ื ใหผ้ ูป้ ่วยได้รับการดแู ลอย่างต่อเน่ือง

ผู้รบั ผดิ ชอบวชิ า
ผศ.ดร.พัชรนิ ทร์ พลู ทวี อาจารยป์ ระจาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา

ผสู้ อน 1) อาจารยแ์ พทย์ แพทย์เฉพาะทาง และแพทย์ท่วั ไปทม่ี ปี ระสบการณ์
1) อาจารย์พยาบาล
2) ผูปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลข้ันสูง (APN) พยาบาลเวชปฏิบัติ พยาบาลวชิ าชีพทมี่ ีประสบการณ์

จานวนชว่ั โมงอบรม 240 ชวั่ โมง

กิจกรรมการเรยี นการสอน

1. ฝึกปฏิบตั ิการรกั ษาโรคเบ้ืองต้นในสถานบรกิ ารระดบั ทุตตยิ ภมู ิ เช่น โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลชุมชน หรือหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ทิ ี่มแี พทย์ประจา เชน่ ศูนย์แพทย์ชมุ ชน โดยมีกจิ กรรม
การฝกึ ปฏบิ ัติ ดังนี้

1.1 ประเมินภาวะสขุ ภาพ อาการและอาการแสดงทผ่ี ิดปกติ โดยการซักประวตั ิ
ตรวจรา่ งกาย ส่งตรวจทางห้องปฏบิ ัติการ รวบรวมขอ้ มูลและแปลผล เพ่ือใหก้ ารวนิ จิ ฉยั โรค หรือ
อาการเจบ็ ป่วย และตัดสนิ ใจเลือกใช้ยาและสมนุ ไพรในการรักษาโรคเบื้องตน้ จานวน 30 ราย
(ตามตาราง 1)

37

1.2 วางแผนการรกั ษาต่อเน่ืองอย่างเป็นระบบ โดยมรี ายละเอียดในการฝึกปฏบิ ัติ

1.2.1 ใหก้ ารดแู ลผปู้ ่วยโดยการใหข้ อ้ มูลสาคญั เช่น ผลการประเมินภาวะ
สขุ ภาพ การวนิ ิจฉัยโรคหรืออาการเจ็บป่วย ทางเลือกในการรบั การรกั ษาและความปลอดภยั ของ
ผู้ปว่ ย นัดตดิ ตามผลการรกั ษา ให้คาปรึกษา ใหค้ าแนะนาการดแู ลสขุ ภาพตนเอง หรือส่งต่อเพื่อให้
ไดร้ บั การรักษาอยา่ งต่อเน่ือง (จานวน 5 ราย)

1.2.2 ใหก้ ารดแู ลผู้ปว่ ยในกรณผี ู้ป่วยได้รับการวินิจฉยั ใหร้ บั การรักษาไว้ใน
หอผูป้ ่วย เพื่อใหก้ ารรักษาและการใหก้ ารพยาบาลอย่างต่อเน่ือง ติดตามผลการตรวจร่างกาย ผลการ
ตรวจทางห้องปฏิบัตกิ าร ผลการรกั ษาและความปลอดภัยของผปู้ ว่ ย ใหค้ าแนะนา ให้คาปรึกษา
เสริมสร้างการปรบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพเพ่ือการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วย (จานวน 2 ราย)

1.3 บันทึกผลการตรวจอย่างเป็นระบบตามแบบบนั ทึกที่กาหนด และมีสว่ นรว่ มใน
การบันทึกตามระบบบนั ทกึ เวชระเบียน เพ่ือติดตามผลการรักษา

1.4 ปฏิบัติโดยตระหนกั ถึงการสร้างสมั พนั ธภาพที่ดีกับผู้ปว่ ย ญาติผ้ปู ่วยและ
ครอบครวั และเปิดโอกาสให้ผปู้ ว่ ยมีสว่ นร่วมในการคัดสนิ ใจรับการดแู ลรกั ษาอยา่ งเหมาะสมโดย
คานงึ ถึงสิทธิผูป้ ่วยและจริยธรรมวชิ าชพี

2. ฝกึ ปฏบิ ตั ิการคัดกรอง ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพและจัดลาดับความรุนแรงตามปัญหาผูป้ ว่ ย
ในภาวะฉุกเฉนิ ในสถานบริการระดับทุตติยภูมิ เชน่ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน หรอื หนว่ ย
บรกิ ารปฐมภูมทิ ่มี ีแพทย์ประจา เชน่ ศูนยแ์ พทยช์ ุมชน จานวน 30 ราย (ตามตาราง 2) โดยมี
กจิ กรรมการฝกึ ปฏบิ ัติ ดังนี้

2.1 คัดกรอง ประเมนิ ปัญหาและจดั ลาดบั ความรนุ แรงตามปัญหาผ้ปู ว่ ยในภาวะ
ฉุกเฉิน เพอื่ ใหก้ ารปฐมพยาบาลและใหก้ ารชว่ ยเหลอื ตามลาดับกอ่ นหลังและสง่ ต่อผปู้ ว่ ยตามระบบ
การสง่ ต่อผปู้ ว่ ยเพือ่ รบั การรกั ษาอย่างต่อเนื่อง

2.2 ทาหัตถการเบ้อื งต้น เช่น เย็บแผลทีไ่ ม่สาหัส ผ่าฝีและถอดเล็บ ทีห่ ้องอุบัติเหตุ
และฉกุ เฉินตามท่ีกาหนด

3. อภปิ รายกรณศี ึกษา (Conference case) ในผู้ป่วยเฉพาะราย ในกรณใี หก้ ารดูแล
รายบุคคล (case) ตามรายละเอียดในข้อ 1.2.2 จานวน 1 ครง้ั และในกรณตี ิดตามการดแู ลผูป้ ว่ ย
อยา่ งต่อเน่ืองในหอผูป้ ว่ ย ตามรายละเอียดในขอ้ 1.2.2 จานวน 1 คร้งั รวม 2 ครง้ั

38

ตาราง 1 จานวนประสบการณ์การฝึกปฏบิ ัติการรักษาโรคเบือ้ งต้นจาแนกตามกลมุ่ อาการ

ในระบบตา่ งๆ

เนื้อหา จานวน
(ราย)
1 การตรวจวินิจฉัยและให้การรกั ษาโรคเบื้องต้น ในกลมุ่ อาการต่าง ๆ ของระบบ
หู คอ จมูก เช่น อาการปวดหู คนั หู หูออื้ หตู ึง/มเี สยี งดังในหู อาการกลืน 2
ลาบาก อาการเจ็บคอ คอบวม และคางบวม เป็นตน้ 2
3
2 การตรวจวินจิ ฉยั และใหก้ ารรกั ษาโรคเบื้องต้น ในกลุ่มอาการต่าง ๆ ของระบบ
หู คอ จมกู เชน่ ระคายเคืองตา คันตา เจ็บ/ปวดตา หนังตาบวม ตามวั หนังตา 3
ตก และตาเหน็ แสง เป็นต้น 3
3
3 การตรวจวินจิ ฉยั และให้การรกั ษาโรคเบื้องต้น ในกลุ่มอาการต่าง ๆ ของระบบ
สืบพนั ธ์ุ เชน่ ปวดทอ้ ง/ปวดประจาเดือน สารคัดหล่ังผิดปกตอิ อกจากช่อง 2
คลอด เช่น ตกขาว หนอง มีเลือดออกทางช่องคลอด มกี ้อน/ถงุ น้าทอี่ วัยวะ 2
สืบพนั ธุ์ แผลทีอ่ วัยวะเพศ และอาการปวดท่ีอวัยวะสืบพนั ธ์ เป็นตน้

4 การตรวจวินจิ ฉยั และให้การรักษาโรคเบ้ืองตน้ ในกลมุ่ อาการต่าง ๆ ของระบบ
หายใจ เช่น ไอ ไอเป็นเลอื ด หอบเหน่ือย/หายใจลาบาก เจบ็ คอ เสียงแหบ และ
ภาวะมนี า้ /หนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด เป็นตน้

5 การตรวจวินจิ ฉัยและใหก้ ารรกั ษาโรคเบ้ืองต้น ในกลุ่มอาการต่าง ๆ ของหวั ใจ
และหลอดเลือด เชน่ เจ็บคอ หวั ใจเต้นไมเ่ ป็นจังหวะ/ผิดปกติ บวมและบวม
ร่วมกับเหนื่อยหอบ เป็นตน้

6 การตรวจวินจิ ฉัยและใหก้ ารรกั ษาโรคเบื้องต้น ในกลมุ่ อาการต่าง ๆ ของระบบ
ทางเดนิ อาหารและโรคตับ เช่น กลืนลาบาก ปวดทอ้ ง คลน่ื ไส้และอาเจยี น
อาเจยี นเปน็ เลือด ถ่ายเป็นเลือด และอุจจาระเป็นมูกปนเลือด ถ่ายเปน็ สีดา
ท้องผกู ทอ้ งเสีย ตวั ตาเหลือง

7 การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาโรคเบ้ืองต้น ในกลมุ่ อาการต่าง ๆ ของระบบ
ประสาท เช่น อาการปวดศรี ษะ อาการวงิ เวยี น/เวยี นศีรษะ อาการแขน ขาอ่อน
แรง ชาเป็นอมั พาต และอาการหมดสติ เปน็ ต้น

8 การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาโรคเบื้องตน้ ในกลุ่มอาการต่าง ๆ ของระบบ
ทางเดนิ ปสั สาวะ เชน่ ลักษณะอาการทผ่ี ดิ ปกติทพ่ี บบ่อย เชน่

- กลน้ั ปสั สาวะไม่อยู่ ปสั สาวะออกน้อย ปัสสาวะไมอ่ อก ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะออกมากผดิ ปกติ ไม่มปี ัสสาวะ ปัสสาวะไม่ออก ปัสสาวะมากกลางคืน

39

เน้ือหา จานวน
(ราย)
ปสั สาวะค้าง
2
- ลักษณะปัสสาวะทผ่ี ิดปกติ เชน่ ปัสสาวะเปน็ เลือด มีน้าตาลในปสั สาวะ มี
โปรตีนในปสั สาวะ มีคโี ตนในปัสสาวะ ปสั สาวะมสี เี หลืองน้าตาลของบิลริ บู ิน 3
3
9 การตรวจวินิจฉยั และให้การรักษาโรคเบ้ืองต้น ในกลุ่มอาการต่าง ๆ ของ 2
ผวิ หนงั เช่น ผ่นื คัน/ลมพิษ/ผ่ืนแพ้ ผวิ หนังอกั เสบจากการแพ้/สารเคมี ผิวหนัง
อักเสบจากการตดิ เชื้อแบคทีเรีย (ฝี ชันนะตุ เป็นต้น) ผิวหนังอกั เสบจากการ
ตดิ เชือ้ รา (กลาก เกลอื้ น เป็นตน้ ) ผิวหนังอกั เสบจากการติดเชอ้ื ไวรสั (เริม
งสู วดั เปน็ ต้น)

10 การตรวจวินจิ ฉยั และใหก้ ารรักษาโรคเบื้องต้น ในกลุ่มอาการต่าง ๆ และกลุ่ม
โรค ในระบบต่อมไร้ทอ่ เช่น เบาหวาน ต่อมธยั รอยดโ์ ต (คอพอกธรรมดา/คอ
พอกเป็นพิษ) และโรคของกล่มุ อาการคุชชิง เปน็ ตน้

11 การตรวจวินิจฉัยและใหก้ ารรักษาโรคเบ้ืองตน้ ในกล่มุ อาการต่าง ๆ และกลมุ่
โรค ในระบบกระดูกและกล้ามเน้อื เช่น ปวด เช่น ปวดหลัง ปวดตามขอ้ ปวด
กลา้ มเนื้อ บวม เสียงกรอบแกรบ ตะครวิ กระดกู คด/ผิดรปู ขอ้ ต่อ เป็นตน้

12 การตรวจวินิจฉยั และให้การรกั ษาโรคเบื้องตน้ และการพิจารณาสง่ ต่อผ้ปู ว่ ยท่ี
มีปญั หาสุขภาพทพี่ บบ่อยและปญั หาของโรคตดิ เชือ้ เช่น ไข้ ไขห้ นาวส่ัน ได้แก่
ไขเ้ ลอื ดออก มาลาเรยี สครัปไทฟัส ไทฟอยด์ เลปโตสไปโรซสี ไข้หวัดนก ซาร์ส
อีโบล่า Malaria และ Thalassemia ไข้เลือดออกการตรวจรกั ษาโรคเบือ้ งตน้

ตาราง 2 จานวนประสบการณแ์ ละทกั ษะในการทาหตั ถการจาแนกตามปญั หาท่ตี อ้ งการการดแู ล

ในภาวะฉุกเฉิน

เนื้อหา จานวน
(ราย)

1 ทักษะการทาหัตถการผ่าตดั เล็ก (เย็บแผลไม่สาหสั ผา่ ฝี ถอดเล็บ หดู 5
ตงิ่ เนอ้ื ตาปลา ก้อนใต้ผิวหนงั ตดั ชิ้นเน้ือสง่ ตรวจ

2 ทักษะการประเมิน ความผดิ ปกติของ Lung sound 2

3 ทกั ษะการประเมินความรนุ แรงของแผลไหมแ้ ละดแู ลบาดแผลไหม้ 2

4 ทกั ษะการประเมินและดแู ลผปู้ ่วยภาวะช็อกและดูแลภาวะขาดน้า 2

40

เนอ้ื หา จานวน
(ราย)
5 ทกั ษะการกู้ชีพ/ร่วมในทมี ช่วยฟ้นื คืนชพี
6 ทกั ษะการใส่สายล้างทอ้ ง/ล้างท้อง 2
7 ทกั ษะการใสส่ วนปัสสาวะ 2
8 ทกั ษะการประเมินภาวะซึมเศร้าและการประเมินความเครยี ด 2
9 ตดั สินใจให้ และดแุ ลผู้ปว่ ยท่ใี ห้สารน้า Intravenous Fluid 2
10 ทักษะการเจาะเลือดประเมิน วิเคราะหแ์ ละการแปลผลทางหอ้ งปฏิบัติการ 2
2
เชน่ Hematocrit DTX CBC มาลาเรยี รวมถึงการตรวจ เสมหะ และแปลผล
ปสั สาวะ 2
11 การประเมินภาวะสขุ ภาพ ตัดสนิ ใจสง่ ต่อผปู้ ่วยและเขยี นแบบสาหรบั
สง่ ต่อผปู้ ว่ ย 3
12 การช่วยเหลือ ผปู้ ่วยที่ได้รับสารพิษและถูกสัตวก์ ัด (เช่น กนิ ยาพษิ
Centipedes bite Cat bite Dog bite Snake bite String bite) 2
13 เย็บแผลผู้ป่วยท่ไี มส่ าหสั ผ่าฝแี ละถอดเลบ็ 30
รวม

การวดั และประเมนิ ผล ร้อยละ 40
รอ้ ยละ 20
1. ฝึกปฏบิ ัติการรกั ษาโรคเบื้องตน้ ครบถว้ นตามจานวนรายทกี่ าหนด
2. ฝึกปฏบิ ตั ิการทาหัตถการตามปญั หาท่ีต้องการการดูแลในภาวะฉุกเฉนิ ร้อยละ 20
ร้อยละ 20
ตามจานวนท่ีกาหนด
3. บันทกึ ผลการตรวจอยา่ งเป็นระบบตามแบบบนั ทึกท่ีกาหนดในการดูแล

ผู้ปว่ ย (ข้อ 1.2.1) จานวน 5 ราย และการดูแลผปู้ ่วยอยา่ งต่อเนื่องใน
หอผปู้ ่วย(ขอ้ 1.2.2) จานวน 2 ราย
4. อภปิ รายกรณีศึกษา รวม 2 ครัง้

41

8.7 รายวชิ า ปฏิบัตกิ ารจัดการโรคเรอื้ รังในชมุ ชน

คาอธบิ ายรายวิชา

ปฏิบัติการประเมินสขุ ภาพ การวินิจฉัย และการบาบดั ปัญหาสุขภาพของผ้ปู ่วยเร้ือรัง การส่ง
ปรึกษาและรกั ษาต่อ การดูแลต่อเน่ืองทบ่ี ้านและในชุมชน การพัฒนาศกั ยภาพผู้ป่วยและครอบครวั ใน
การดูแลตนเองและดูแลผ้ทู ่ีต้องพง่ึ พงิ วิเคราะหค์ วามแปรปรวน การวางแผนการจัดการเพอ่ื ลด
ความรนุ แรงและซับซอ้ นของปัญหา การใช้ทรพั ยากรสุขภาพอยา่ งคุ้มค่า ประสานงานกับทีมสุขภาพ
และความรว่ มมอื กับชุมชน การเสรมิ สร้างการจดั การตนเอง ประเมินผลลพั ธก์ ารจัดการดูแลและ
ความค้มุ ค่าของการใช้ทรัพยากรในการดแู ลผปู้ ว่ ยเร้ือรัง

วัตถุประสงค์ทวั่ ไป

ผเู้ ขา้ รับการอบรมมที ักษะการจดั การรายกรณีในการดูแลผเู้ ปน็ โรคเรื้อรงั สามารถวเิ คราะห์
และตัดสินใจทางคลินิกในการจัดการโรคเรื้อรงั แบบองค์รวม การกาหนดผลลัพธท์ ่ีคาดหวงั การ
วางแผนการจัดการเพอ่ื ลดความรนุ แรงและซับซอ้ นของปญั หา วเิ คราะห์ความแปรปรวน การใช้
ทรพั ยากรสขุ ภาพอย่างค้มุ ค่า ประสานงานกับทมี สขุ ภาพและสร้างความร่วมมอื กับชุมชน โดยใชก้ าร
ส่อื สารและการเจรจาต่อรอง การเสริมสร้างพลงั อานาจการสนับสนนุ การจัดการตนเอง ลดปจั จัย
เส่ยี ง ประเมินผลลัพธก์ ารจัดการดูแล สามารถประเมินความคุม้ ค่าของการดแู ลได้

วตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ เมือ่ สนิ้ สุดการอบรม ผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรคู้ วามสามรถ ดังนี้

1. ตรวจคัดกรองผู้ใชบ้ รกิ ารกลมุ่ เสยี่ งหรอื ผูป้ ว่ ยทม่ี ีปญั หาสขุ ภาพเรอ้ื รังได้
2. ตดั สนิ ใจเก็บรวบรวมข้อมูลทจี่ าเปน็ ของผู้ป่วยโรคเร้อื รัง โดยการสมั ภาษณ์ประวตั ิ
สุขภาพการตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการหรอื การตรวจพิเศษได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
3. วเิ คราะหป์ ญั หาสขุ ภาพของผปู้ ่วยโรคเรื้อรัง และจัดลาดับความสาคัญของปัญหา โดยใช้
ความรูท้ างดา้ นพยาธสิ รรี วิทยา ระบาดวิทยา หลักเศรษฐศาสตรส์ ุขภาพ ข้อมูลเชิงประจกั ษ์และ
หลักฐานทางวิทยาศาสตร์
4. เลอื กวธิ ีการบาบัดรักษาผู้ป่วยด้วยวธิ กี ารใชย้ า เพื่อคงสภาวะของความเจ็บป่วยเร้ือรงั

42

หรือพิจารณาความจาเปน็ /ไมจ่ าเป็นในการใช้ยาของผปู้ ่วยเรื้อรัง โดยใชค้ วามรู้ หลักฐานทาง
วทิ ยาศาสตร์ ข้อมูลเชิงประจักษ์ และประสบการณเ์ ดิมเปน็ พน้ื ฐานการตดั สินใจปฏิบัติ

5. ตัดสนิ ใจส่งต่อผปู้ ่วยเร้อื รังไดเ้ หมาะสม ในกรณที ีม่ คี วามเสย่ี งต่อการเกดิ ปัญหา
เฉยี บพลันหรือวิกฤต

6. วินจิ ฉัยและตดั สนิ ใจทาหัตถการพยาบาลทกี่ าหนด เพื่อการปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ นและ
คงสภาวะสุขภาพของผู้ป่วยเร้อื รงั

7. ประสานงานกับทีมสขุ ภาพและสรา้ งความรว่ มมอื กับชุมชน โดยใช้การส่ือสารและการ
เจรจาต่อรองการเสรมิ สร้างพลังอานาจ การสนับสนุนการจัดการตนเอง ลดปัจจัยเส่ยี งได้ถกู ตอ้ ง

8. ปฏิบตั ิงานร่วมกับทมี สุขภาพอืน่ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพในการจดั การใหผ้ ู้ปว่ ยเร้ือรังได้รับ
การบาบัดรักษาและการฟ้ืนฟสู ภาพอย่างตอ่ เนือ่ งและมีคุณภาพ

9. วางแผนการตรวจสอบผลลัพธ์การบาบัดรักษา โดยใช้เคร่อื งมอื หรือวธิ กี ารตดิ ตาม
ประเมนิ ผลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยคานงึ ถึงผลลัพธ์ทางด้านสขุ ภาพและความคุม้ ทุน

10. ใช้ความร้แู ละเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการพัฒนากลวธิ ีต่าง ๆ เพอื่ สง่ เสรมิ ให้ผู้ปว่ ยและ
ครอบครวั สามารถจัดการดุแลสขุ ภาพตนเอง หรอื ตดั สินใจเลือกใช้บรกิ ารสขุ ภาพได้อย่างเหมาะสม

ผูร้ ับผิดชอบวชิ า
ผศ.ดร.ชนัญชิดาดุษฎี ทลู ศริ ิ อาจารยป์ ระจาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา

จานวนช่ัวโมงอบรม 120 ชั่วโมง

กจิ กรรมการเรยี นการสอน (รวมจานวนช่วั โมงในการฝกึ ปฏิบตั ิ 120 ชั่วโมง)

1. ฝึกปฏิบตั ิการวิเคราะหร์ ะบบการดแู ลรกั ษาและทรัพยากร
1.1 คัดกรองและค้นหา โรคร่วมและภาวะแทรกซ้อนในผ้ปู ่วยนอก เพอ่ื วเิ คราะห์

ค่าใช้จา่ ยเปรียบเทียบผลต่างของค่าใช้จ่ายในการจดั การต้งั แตเ่ บ้ืองต้น เทียบกับคา่ ใช้จ่ายที่อาจ
เกิดข้ึนกรณีทผ่ี ้ปู ่วยไม่ได้รบั การ early detection และไมไ่ ด้รับการจัดการต้ังแต่เบ้ืองต้น
จานวน 10 ราย

1.2 วเิ คราะหท์ รัพยากรในกรณีทมี่ ีปญั หารุนแรงซบั ซอ้ น โดยบันทึกวิถชี ีวิตผู้ปว่ ย

43

ที่บ้านและชมุ ชน (บนั ทึกวเิ คราะหว์ ถิ ีชีวิต อย่างละเอยี ด 24 ชม.) ผ้ปู ว่ ย HT/DM/COPD หรือ
Asthma จานวน 3 ราย

1.3 วิเคราะหแ์ ละออกแบบการจดั การดูแลผปู้ ว่ ยท่ไี มม่ าตรวจตามนดั วิเคราะห์
ความสูญเสียท่อี าจเกิดข้นึ จากการไม่มาตรวจตามนัด ติดตามและวางแผนการจดั การ

- H-ypHeyprteerntesnisoinon จานจวานน2วนราย2 ราย

- D-iaDbiaebteestems melelliltiutuss จานวจนาน2วรนาย2 ราย
- C-OCPODPหDรหอื รือAsAtshthmmaa จานวจนาน2วรนาย2 ราย

1.4 วเิ คราะหก์ ารจดั การผ้ปู ่วยโรคเร้ือรงั และลดความผันแปร

ประมวลขอ้ มลู ผปู้ ว่ ยที่มโี รคร่วม ภาวะแทรกซ้อนหรอื ปัญหาสุขภาพซับซ้อน โดยวิเคราะห์

กระบวนการดูแลตงั้ แต่มารับบรกิ ารจนกระทงั่ ส้ินสุดการบริการแต่ละคร้ัง ประสานการดแู ลกับทมี ที่

เกย่ี วข้องวิเคราะหค์ วามเส่ยี ง ระบุจาการทา clinical tracer วเิ คราะหค์ วามสูญเสียด้นกาลงั คน

คา่ ใช้จ่าย เวลา และคณุ ภาพชวี ติ ของผู้ป่วย ความผนั แปรท่ีเก่ยี วข้องท่ีเกี่ยวกบั การวินจิ ฉยั ทกั ษะการ

ดูแลตนเอง การใชย้ าและได้รบั ยา (ปัจจัยส่งเสริม/ขัดขวางจากตัวผู้ป่วยเอง จากระบบการจัดการใน

โรงพยาบาล จากสังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม) และผลที่เกดิ ข้นึ (เชน่ ความลา่ ช้า การสูญเสยี โอกาสในการ

เข้าถงึ บริการสุขภาพ ความคลาดเคล่ือนของการปฏบิ ัติตามแนวปฏิบัติ/protocol ที่วางไว้) แลว้

ออกแบบการจัดการดูแล (ดา้ นนโยบาย การบรหิ ารจดั การทรัพยากรบคุ คล อุปกรณ์ และ

งบประมาณ) เพื่อลดความสญู เสียดงั กล่าวโดยครอบคลุมการประเมินผล

ผู้ปว่ ยนอก

- Hypertension จานวน 10 ราย

- Hy-pDeiratbeentseisomn ellitus จานวจนาน1ว0น 1ร0ายราย
- Dia-bSetrtoeksemellitus จานวจนาน1ว0น 2รารยาย
- St-roCkVeD จานวจนาน2วนร2ายราย

- CV-DCOPD/Asthma จานวจนาน2วนร3ายราย

- CO-PODs/tAeostrhitmis a จานวจนาน3วนร3ายราย

44

2. ฝึกปฏบิ ตั ิการจัดการ

2.1 ฝกึ ปฏบิ ัติการจัดการผปู้ ว่ ยเรอื้ รงั ที่ได้วเิ คราะหไ์ ว้ใน ขอ้ 1.4 ผู้ป่วยนอก จานวน

30 ราย
วางแผนการจัดการประสานงานการทางานรว่ มกับทมี สขุ ภาพและผู้รับบรกิ าร เพื่อการดแู ล

ผู้ปว่ ยอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลโดยประหยัดคาใช้จา่ ย การพิทักษ์สิทธิ เจรจาต่อรอง และ
ประสานงานเพ่ือดูแลผ้ปู ่วยในกรณที ่ีเกยี่ วขอ้ งกับกฎหมายและจรยิ ธรรมวิชาชีพในประเด็นต่อไปนี้

2.1.1 สิทธิการเบิกจา่ ยและการเข้าถึงการวินิจฉยั และการรักษา
2.1.2 การใหข้ ้อมลู และทางเลือกในการตัดสินใจก่อนเซ็นยินยอมในการวนิ ิจฉยั และรกั ษา
2.1.3 การปฏบิ ัติเกนิ ขอบเขตและทางออกในการพัฒนาแนวปฏิบตั ิท่ีสอดคลอ้ งกับขอบเขต
กฎหมายวชิ าชีพ
2.1.4 การบนั ทกึ ข้อมูลและการวินิจฉยั โรคของพยาบาลท่กี า้ วลว่ งวชิ าชีพเวชกรรม
2.1.5 การระบบุ ันทกึ รายงานความเส่ยี งและความผันแปรจากระบบบรกิ ารสุขภาพ
2.1.6 การใหข้ ้อมูลทเ่ี หมาะสมเพือ่ พทิ ักษ์

2.2 ฝึกปฏิบตั กิ ารจัดการดูแลผ้ปู ว่ ย

2.2.1 ฝึกทักษะผูร้ บั บรกิ ารและครอบครัวใหม้ ีการจัดการตนเอง (self-management)
เช่น การควบคุมอาหาร การรบั ประทานยา การโน้มน้าวจูงใจใหป้ ฏบิ ัตติ ามคาแนะนา ตดิ ตาม
การดแู ลรกั ษาในกลุ่ม

- Hyper-teHnyspieornte,nHsTiown,itHhTcwoit-hmcoor-bmidoritbyidity จาจนานววนน55รราย
จาจนานววนน55รราายย
- Diabet-eDsiambeetellsitmuse,llDituMs,wDiMthwcioth-mcoo-rmboidrbitiydity จจาาจนนานวววนนน111 รรราาายยย
- SCVtrDoke-Stroke จาจนานววนน31 ราย
-
- COPD/-ACsVtDhma/Osteotritis

45

2.2.2 ใหค้ าปรกึ ษา ในผปู้ ว่ ยทมี่ ปี ญั หาซับซ้อนเพ่ือปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ ความเส่ยี ง
ตอ่ การเกดิ ความรุนแรงของโรค ในหวั ข้อ Weight reduction, Adopt DASH eating plan,
Diabetes diet, Dietary sodium reduction, Physical activity, Moderation of alcohol
consumption and smoking cessation

- HT with Comorbidity จานวน 3 ราย
- DM with comorbidity จานวน 3 ราย
- Stroke จานวน 1 ราย
- CVD จานวน 1 ราย

- COPD/Asthma/ Osteotritis จานวน 2 ราย

2.2.3 การเสรมิ สร้างพลงั อานาจ ผู้ปว่ ยและครอบครวั จานจวานว5น 5รารยาย
จานจวานนว5น 5รารยาย
- H-THwTiwthithCCoommoorrbiddiittyy
- D-MDwMiwthithCCoommoorrbbiiddiittyy

3. ฝึกปฏบิ ตั ิการจัดการฐานขอ้ มูลขนาดเลก็

3.1 ออกแบบฐานข้อมูลขนาดเล็กจากการวิเคราะหค์ วามต้องการข้อมูลทจ่ี าเปน็ ในการดแู ล
ผู้รับบรกิ ารตามแนวทาง วงจรการพัฒนาระบบ (The System Development Life Cycle :SDLC)

3.1.1 ฐานข้อมูลขนาดเล็กผู้ปว่ ยเบาหวาน 1 ชดุ
3.1.2 ฐานขอ้ มูลขนาดเล็กผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 1 ชุด
3.2 พัฒนา data dictionary, data structure ประกอบฐานข้อมูลที่พัฒนาในข้อ 3.1.1
และ 3.1.2 จานวน 2 ชุด
3.3 บนั ทึกขอ้ มูลผู้รบั บริการ และทดสอบความถกู ต้องของข้อมูล (จากฐานข้อมลู ทีผ่ ู้เข้ารับ
การอบรมสรา้ งขน้ึ ในขอ้ 3.1 ใช้บันทึกขอ้ มลู ผ้ปู ว่ ย 5 ต้องเก็บขอ้ มูล individual case จานวนอย่าง
นอ้ ย 20 ราย/ฐานข้อมูล)

46

3.4 ฝึกปฏิบัตปิ ระมวลและวิเคราะห์ข้อมูล
3.4.1 ประมวลวเิ คราะหข์ ้อมูลจากฐานขอ้ มูลท่ีจัดเตรยี มไว้ให้ (ประเดน็ ทว่ี ิเคราะห์

ได้แก่ variance analysis, cost-effectiveness, resource utilization, quality
improvement)

3.4.2 สรุปรายงานการวเิ คราะห์ 1 ชุด

กาหนดการฝกึ ปฏิบัติ

ฝึกปฏบิ ตั งิ านในโรงพยาบาลที่คณะพยาบาลศาสตร์จดั ใหฝ้ ึก ฝึกปฏบิ ตั งิ านที่ 4 สัปดาหแ์ รก
และโรงพยาบาลตน้ สงั กดั หรอื สถานทเ่ี ลอื กศกึ ษา 5 สปั ดาหห์ ลงั ใชร้ ะยะเวลา 9 สปั ดาห์ โดย
ปฏบิ ัติงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง (ไม่เวน้ วันหยดุ – นักขตั ฤกษ)์ ณ โรงพยาบาลชุมชนในจงั หวัดชลบรุ ี
ฉะเชงิ เทรา ระยอง จนั ทบุรี สระแกว้ และปราจนี บรุ ี โดยจัดฝึกปฏิบตั เิ ป็นรอบๆ ละ 30 – 40 คน

สถานท่ี ระยะเวลาทฝ่ี กึ
1. โรงพยาบาลที่คณะพยาบาลศาสตร์จัดให้ 4 สปั ดาห์แรก
2. โรงพยาบาลต้นสงั กดั หรือที่เลอื กศึกษา 5 สปั ดาห์หลงั

โดยกาหนด จานวนผู้เข้ารับการอบรมตอ่ อาจารยผ์ สู้ อนในภาคปฏิบตั เิ ป็น 1 : 2 ตามขอ้ กาหนดของ
สภาพยาบาล โดยแผนการฝึกปฏิบตั งิ านในโรงพยาบาลท่คี ณะพยาบาลศาสตร์จัดให้ 4 สัปดาห์แรก

47

ตารางเรยี น
ตารางเรียนโครงการอบรมหลกั สตู รการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบตั ิทว่ั ไป

(การรักษาโรคเบอ้ื งตน้ ) รนุ่ ที่ 9
ดว้ ยระบบออนไลน์ ZOOM และ Microsoft Team

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา

วนั เดือน ปี วชิ า ชม. เน้ือหา ผู้สอน
สปั ดาห์ที่ 1

เสาร์ 30 พ.ค. 63 ลงทะเบียน กรรมการโครงการ

8.30 - 10.00 น. พธิ ีเปดิ การอบรม

กจิ กรรมสัมพนั ธ์ (ประตูสู่ NP)

ปฐมนิเทศการเรยี นการสอน

10.00 น. -12.00 น. ระบบสุขภาพฯ 2 1.1 ระบบสขุ ภาพ และองค์ประกอบของระบบ ผศ.ดร.สมสมัย
สุขภาพ รัตนกรฑี ากุล

- สขุ ภาพ และปัจจยั ทม่ี ีผลต่อภาวะ
สขุ ภาพ

- ธรรมนูญว่าด้วยระบบสขุ ภาพแห่งชาติ

- 6 องคป์ ระกอบหลักของกรอบระบบ
สขุ ภาพ

- (6 Building Blocks of Health
System)

13.00-14.00 น. ระบบสุขภาพฯ 1 2.1 ระบบการพยาบาล และบทบาท รศ.ดร.สุวรรณา
พยาบาลในระบบบริการสุขภาพ จนั ทร์ประเสริฐ

14.00-16.00 น. ระบบสุขภาพฯ 2 2.2 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการ รศ.ดร.สุวรรณา
พยาบาลโดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ จนั ทรป์ ระเสริฐ

อาทิตย์ 31 พ.ค. 63 ผศ.ดร.สมสมยั
รตั นกรีฑากุล
8.00 - 10.00 น. ระบบสุขภาพฯ 2 1.2 หลักการจดั ระบบบริการสขุ ภาพ

- การจดั ระบบบรกิ ารสุขภาพตามระดบั
บรกิ าร

- การจัดระบบบรกิ ารตามกิจกรรม


Click to View FlipBook Version