The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanchanok Supanarapan, 2020-05-11 21:37:42

คู่มือ หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบื้องต้น)

คณะพยาบาลศาสตร์ ม.บูรพา

48

วนั เดือน ปี วชิ า ชม. เน้ือหา ผสู้ อน
บรกิ าร นพ.กสิวัฒน์
10.00 น. -12.00 น. ประเมนิ ฯ ศรีประดิษฐ์
2 1. Introduction: Principles Techniques
13.00 น. -16.00 น. รักษาโรค in Health Assessment พญ.จิตรลดา
เบื้องต้นฯ - Principles of History taking and รจุ ิราภลิ ักษณ์
Recording
สัปดาหท์ ี่ 2 ประเมนิ ฯ - Assessment and plan The process นพ. นริศ
เสาร์ 6 มิ.ย. 63 of clinical reasoning เจียรบรรจงกิจ
8.00 - 10.00 น. -Techniques of Physical examination
: Inspection Palpation Percussion
Auscultations and using equipment

3 แนวคิดและหลักการในการรักษาโรคเบ้ืองต้น
สาหรบั พยาบาลเวชปฏิบตั ิ
1.1 หลกั การตัดสินทางคลนิ ิก Clinical
reasoning และการวินิจฉัยแยกโรค
1.2 การจัดการอาการในภาวะฉุกเฉินและ
เร่งดว่ น
- ความหมายและคาจากดั ความ
- Fast track
- Triage
- การคดั ครองและจัดลาดับความต้องการ
การดูแล
1.3 หลักการตัดสินใจเพ่ือการรกั ษาเบอื้ งต้น
การตดิ ตามการรักษา และการสง่ ต่อ
1.4 ความปลอดภยั ผู้ปว่ ยและจรยิ ธรรม
1.5 การบันทกึ ผลการตรวจรกั ษาเบ้ืองต้นใน
ภาวะเจ็บปว่ ย ฉุกเฉินและเร่งด่วน

2 2. Head and Neck assessment
General assessment :
- Head (shape, size, face)
- Ear (eardrum using Otoscope)

49

วนั เดือน ปี วชิ า ชม. เนอ้ื หา ผู้สอน
10.00 น. -12.00 น.
รกั ษาโรค - Eye (external, anterior, posterior นพ. นริศ
เบ้ืองต้นฯ segment using Ophthalmoscope) เจยี รบรรจงกิจ

- Nose (nasal cavity and sinuses)

- Neck (Throat, Oral cavity, Thyroid
gland)

- Specific assessment: (Visual acuity,
EOM, Dix-Hall pike test, Audiogram,
Rotary chair testing: give information
about the horizontal semicircular
canal VOR) (VOR =Vestibule-ocular
response), etc.

Abnormal finding : cataracts, red eye,
icteric sclera, ear drum perforation,
rotator nystagmus, etc.

2 พยาธสิ รีรวิทยาของกลุ่มอาการ สาเหตุและ
วทิ ยาการระบาดของการเกดิ โรค ภาวะ
ผดิ ปกติในระบบต่าง ๆ การรักษาเบื้องตน้ โดย
การใช้ยาและไมใ่ ช้ยาตามกลุ่มอาการท่ีพบ
บอ่ ยและเร่งดว่ น การใหค้ าปรึกษาและการสง่
ตอ่

2.1 ระบบ หู คอ จมกู ได้แก่

2.1.1 กลุ่มอาการที่พบบ่อย

-อาการปวดหู คันหู

-หูอือ้ หตู ึง/มีเสยี งดงั ในหู

-อาการกลืนลาบาก

-อาการเจ็บคอ คอบวม คางบวม

-หนองไหล/เลือดไหลออกจากหูและ
อื่น

2.1.2 การวนิ ิจฉยั แยกโรคและการรกั ษา
เบ้ืองต้น

-ไซนัสอักเสบ เย่อื จมูกอักเสบ

-ริดสดี วงจมูก

-คออักเสบ

50

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เนือ้ หา ผูส้ อน
13.00 น. -15.00 น.
รกั ษาโรค -ทอนซิลอกั เสบ พญ.ลักษณาพร
เบื้องต้นฯ กรงุ ไกรเพชร
-ภมู ิแพ้

2.1.3 การจัดการภาวะเร่งด่วนฉกุ เฉนิ

การชว่ ยเหลือผู้ปว่ ยภาวะฉกุ เฉินทางหู
คอ จมกู ไดแ้ ก่

1) การไดร้ ับบาดเจ็บจากอบุ ตั ิเหตุหรือ
การถูกทาร้าย เช่น มีเลือดหรือ CSF
ไหลออกจากหู แก้วหูทะลหุ รอื เย่ือ
แกว้ หูฉกี ขาด เลือดกาเดาไหล ผนัง
จมกู คด

2) แมลง หรือสง่ิ แปลกปลอมเข้าหจมูก
และคอ

3) หอู ื้อจากการเปล่ยี นแปลงของความ
ดันในหูเมื่อข้ึนท่สี งู หรือดาน้า

2 2.2 ตา ไดแ้ ก่

2.2.1 กลุ่มอาการท่ีพบบ่อย

– ระคายเคืองตา คันตาเจ็บ/ปวดตา
หนังตาบวม

– ตามัว หนงั ตาตก
– ตาเห็นแสง

2.2.2 การวนิ ิจฉยั แยกโรคและการรกั ษา
เบื้องต้น

– การตดิ เชื้อท่ีตา เช่น ตาแดง ตาเป็น
กงุ้ ยิง

– ต้อเน้ือ ต้อกระจก ต้อหนิ
2.2.3 การจดั การภาวะเรง่ ดว่ นฉุกเฉิน

ได้แก่
– สารพิษเข้าตาสง่ิ แปลกปลอม
- เลือดออกในช่องหน้าลูกตา
- เลือดออกใต้ตาขวา
- เยอื่ บุตาฉีกขาด
- แกว้ ตาทะลุ
- โรคจอประสาทตาฉีกขาดและหลดุ

ลอก

51

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เน้อื หา ผูส้ อน
นพ.กสิวัฒน์
อาทติ ย์ 7 มิ.ย. 63 รกั ษาโรค 2 2.12 การวินิจฉยั การรักษาโรคเบื้องต้นและ ศรีประดษิ ฐ์
8.00 - 10.00 น. เบื้องต้นฯ การพิจารณาส่งต่อผูป้ ่วยท่ีมปี ญั หาสุขภาพท่ี
พบบ่อยและปัญหาของโรคตดิ เชื้อ ได้แก่ พญ.จิรนชุ
10.00 น. -12.00 น. ประเมนิ ฯ ธรรมคาภรี ์
2.12.1 กลุ่มอาการท่ีพบบ่อย
13.00 - 15.00 น. รักษาโรค พญ.จิรนุช
เบื้องต้นฯ -ไข้ ไข้หนาวสน่ั ธรรมคาภีร์

2.12.2 การวินิจฉัยแยกโรคและการ
รักษาเบื้องต้น

- ไขเ้ ลือดออก

- มาลาเรยี

- สครัปไทฟัส

-ไทฟอยด์

-เลปโตสไปโรซีส

-ไขห้ วัดนก ซาร์ส อีโบล่า

-ไขเ้ ลือดออก

2.12.3 การจดั การภาวะเร่งดว่ น
ฉกุ เฉิน

-ช็อคจากการติดเชื้อ

-ชกั จากไขส้ ูงในเดก็

2 2. Skin, hair and nail & Lymphatic
Assessment (ภาวะ General
assessment:

Specific assessment: capillary refill
time, etc. Abnormal finding: poor skin
turgor – dry mucous membranes,
cyanosis, cool skin, various type of
rash Nail: spoon nail, clubbing finger,
paronychia, etc.)

2 2.9 การวินิจฉัย การรกั ษาโรคเบ้ืองต้นและ
การพิจารณาส่งต่อผูป้ ว่ ยที่มปี ัญหาสขุ ภาพท่ี
พบบ่อยและปัญหาฉุกเฉินของระบบผิวหนัง
ไดแ้ ก่

52

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เนอื้ หา ผู้สอน

สปั ดาห์ที่ 3 2.9.1 กลุ่มอาการที่พบบอ่ ย
เสาร์ 13 มิ.ย. 63
8.00 - 10.00 น. - ผมรว่ ง

- ผื่น

2.9.2 การวนิ ิจฉัยแยกโรคและการรักษา

เบื้องต้น

- ผน่ื คัน ลมพิษ ผื่นแพ้

- ผวิ หนังอกั เสบจากการแพ้
สารเคมี

- ผวิ หนงั อกั เสบจากการตดิ เชื้อ
แบคทีเรยี (ฝี สิว ชันนะตุ เป็นต้น)

- ผิวหนังอักเสบจากการติดเชื้อรา
(กลาก เกล้ือน เปน็ ต้น)

- ผิวหนังอักเสบจากการติดเชื้อ
ไวรัส (เริม งูสวัด เป็นตน้ )

-รอยแผลเป็น รอยด่างขาว และ
อื่น ๆ

2.9.3 การจัดการภาวะเร่งดว่ นฉุกเฉิน

- แผลไหม้

ประเมินฯ 2 Abdominal Assessment and พญ. รัชนพี ร
demonstration (using inspection, ช่นื สวุ รรณ
palpation, percussion, auscultation)
(general, abnormal finding, specific
assessment)

General assessment: abdominal
contour, four quadrants tympani and
dullness, tenderness and guarding,
etc.

Specific Assessment :

-Assessing Ascites (shifting dullness,
Fluid thrill)

53

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เนอ้ื หา ผู้สอน

-Assessing Appendicitis (Alvarado นพ.กสวิ ัฒน์
score) ศรีประดษิ ฐ์

-Assessing Cholecystitis (RUQ
tenderness, Murphy’s sign, active or
decreased bowel sounds)

-Assessing Peritonitis or intestinal
obstruction (Test rebound
tenderness, tenderness, involuntary
guarding

-Assessing Aortic aneurysm (ตรวจพบ
abdominal and iliac bruits)

-Assessing ขนาดของ abdominal mass/
ขนาดของอวัยวะบรเิ วณ abdomen

-Assessing Acute Pyelonephritis (CVA
tenderness) etc.

Abnormal finding: abdominal mass
with or without pulsation, an aortic
aneurysm, hepatomegaly, peritoneal
fluid (ascites), etc.

10.00 น. -12.00 น. ประเมินฯ Pulmonary Assessment and

2 demonstration (using inspection,
palpation, percussion, auscultation)

(general and specific assessment,

abnormal finding)

- General assessment: rhythm of
breathing, expansion and symmetry
of the chest, dullness and hyper
resonant, abnormal breath sound,
etc.

- Specific Assessment: Oxygen
saturation โดยใช้ Pulse oximetry. Peak
Flow Monitoring, Pulmonary function
test, Bronchoscopy, etc.

- Abnormal finding : dyspnea, barrel
chest abnormal lung sound, stridor,

54

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เนอ้ื หา ผสู้ อน
13.00 - 15.00 น.
signs of carbon dioxide retention, etc.

รักษาโรค 3 2.4 ระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ นพ.กสวิ ัฒน์
เบ้ืองต้นฯ 2.4.1 กลุ่มอาการที่พบบ่อย ศรีประดษิ ฐ์

- ไอ ไอเปน็ เลือด
- หอบเหนื่อย/หายใจลาบาก
- เจบ็ คอ

- เสียงแหบ
- ภาวะมนี ้า/หนองในโพรงเย่ือหุ้ม
ปอด

2.4.2 การวนิ ิจฉัยแยกโรคและการรักษา
เบื้องต้น

- คออักเสบ และทอนซิลอกั เสบ

- ไอกรน และครปู้
- หัด
- หัดเยอรมัน

- อสี ุกอีใส
- สา่ ไข้
- ไขห้ วัด และไข้หวัดใหญ่

- วณั โรคปอด
- มะเรง็ ปอด
- หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน

- หลอดลมอักเสบเร้ือรัง/ถุงลมโปง่ พอง
- หอบหดื

- ปอดอักเสบ/ปอดบวม

2.4.3 การจัดการภาวะเร่งด่วนฉกุ เฉนิ
- ภาวะฉกุ เฉินต่อทรวงอก ไดแ้ ก่

Tension Pneumothorax, massive
Hemothorax, Open Pneumothorax และ
Flail chest

55

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เน้อื หา ผ้สู อน
15.00 - 17.00 น. ผศ.ดร.พัชรินทร์
ระบบสุขภาพฯ 2 3.5 กฎหมายที่เกยี่ วข้อง และจริยธรรมใน
อาทิตย์ 14 มิ.ย. 63 วิชาชีพ พลู ทวี
8.00 - 10.00 น.
3.6 พรบ. วชิ าชีพการพยาบาล นพ.พร้อมพงศ์
10.00 – 12.00 น. อนชุ ิตชาญชัย
3.7 ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุขท่ีเก่ยี วข้อง
กับวิชาชีพ นพ.พร้อมพงศ์
อนชุ ิตชาญชัย
3.8 สิทธผิ ้ปู ่วย

3.9 ขอบเขตและมาตรฐานวิชาชีพพยาบาล
ปฐมภูมิ

ประเมินฯ 2 Musculoskeletal System Assessment
and demonstration (Back and
รกั ษาโรค Extremities)
เบื้องต้นฯ
General assessment: inspection,
palpation and range of motion
regardless of the region, pain and
refer pain, vascular pulses, etc.

Specific Assessment :

Straight Leg Raising test (SLRT)

Pulse Extremities palpation Tinsel’s
test, Phalen’s test Ligaments’ teat,
etc.

Abnormal finding:

Joint effusion and stiffness, decrease
pulse extremities, edema, cyanoses,
etc.

2 2.11 การวนิ ิจฉัย การรกั ษาโรคเบื้องต้นและ
การพิจารณาสง่ ต่อผปู้ ่วยท่ีมปี ญั หาสขุ ภาพที่
พบบ่อยและปัญหาฉกุ เฉินของระบบกระดูก
และกล้ามเนื้อ ได้แก่

2.11.1 กลมุ่ อาการที่พบบ่อย

-ปวด เช่น ปวดหลัง ปวดตาม
ข้อ ปวดกล้ามเน้ือ

-บวม

56

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เนอ้ื หา ผู้สอน

13.00 – 16.00 น. รกั ษาโรค -เสียงกรอบแกรบ พญ.จิตรลดา
สัปดาหท์ ่ี 5 เบ้ืองต้นฯ รุจิราภลิ ักษณ์
เสาร์ 27 มิ.ย. 63 -ตะครวิ
8.00 - 10.00 น.
-กระดูกคด ผิดรปู

-ข้อติด

2.11.2 การวนิ ิจฉัยแยกโรคและการ
รกั ษาเบื้องต้น

-กระดูกพรุน

-ขอ้ อักเสบ เช่น โรคเกาต์ โรค
ขอ้ อกั เสบรูมาตอยด์

-ข้อเสื่อม กระดกู เสื่อม

-พังผดื ท่ีข้อมือกดทับ
เส้นประสาท

2.11.3 การจดั การภาวะเร่งด่วน
ฉกุ เฉิน

-ขอ้ เคล่ือน

-กระดูกหัก กระดูกแตก

-ข้อเคล็ด ข้อแพง

-กระดูกคอ และกระดูกสันหลังหกั

3 การปฐมพยาบาลผู้ป่วย การดแู ลรกั ษา และ
วธิ กี ารจัดการกับความเจ็บปวด

1.1 ผูท้ ่ีไดร้ ับอันตรายจากความร้อนและ
ความเย็น

1.2 ผูท้ ่ีได้รบั สารพิษ

1.3 สตั วก์ ัด งกู ัดและแมลงกดั ต่อย

เรื้อรัง ฯ 2 3.2 ความดนั โลหิตสูง นพ.อาทิตย์
ต่อพงศ์พันธ์
3.2.1 กลไกการควบคุมความดนั โลหิต

3.2.2 พยาธสิ ภาพและกลไกการเกดิ โรครว่ ม
และภาวะแทรกซ้อนจากความดนั โลหิต

57

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เนื้อหา ผสู้ อน
10.00 - 12.00 น.
13.00 - 16.00 น. เร้ือรงั ฯ 3.2.3 การจัดการภาวะสมดุล นพ.อาทิตย์
ตอ่ พงศ์พันธ์
รักษาโรค :สมดลุ อาหาร กิจกรรมทางกาย การใช้
เบ้ืองต้นฯ ยา การจัดการความเครียด พญ. รชั นีพร
ชื่นสุวรรณ
3.2.4 การควบคุมปัจจยั กาเริบของโรค ((การ
ควบคมุ อาหารไขมันสูง การจากดั ปริมาณ
โซเดียม การเลกิ บุหร่ี การควบคมุ น้าหนัก
การควบคมุ การดื่มแอลกอฮอลแ์ ละคาเฟอีน

3.2.5 การจัดการในภาวะเร่งดว่ น

2 3.4 โรคหัวใจ

3.4.1 กลไกการเกิดกล้ามเน้ือหัวใจขาดเลือด

3.4.2 พยาธิสภาพและกลไกการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนจากกล้ามเน้ือหวั ใจขาดเลือด
ไดแ้ ก่ หัวใจวาย

3.4.3 การจดั การภาวะสมดุล ไดแ้ ก่ สมดุล
อาหารและน้า กิจกรรมทางกาย การใชย้ า

3.4.4 การควบคุมปัจจยั กาเริบของโรค

3.4.5 การจดั การในภาวะเรง่ ด่วน

3 2.6 ระบบทางเดนิ อาหาร ได้แก่

2.6.1 กลมุ่ อาการที่พบบ่อย

- กลนื ลาบาก

- ปวดท้อง

- คล่นื ไส้ และอาเจียน

- อาเจียนเป็นเลือด

- ถ่ายเป็นเลือด

- ถ่ายเปน็ สดี า

- ทอ้ งผกู

- ท้องเสีย

- ตัว ตาเหลอื ง

2.6.2 การวนิ ิจฉยั แยกโรคและการรกั ษา
เบื้องต้น

-กระเพาะอาหารอักเสบ โรคกระ

58

วัน เดือน ปี วิชา ชม. เนอ้ื หา ผสู้ อน

เพราะอาหาร กรดไหลย้อน

-กลุ่มโรคทมี่ ีภาวะเย่ือบุช่องท้อง
อักเสบ เช่น กระเพาะอาหารทะลุ

-กลมุ่ โรคทมี่ ีอาการถ่ายเป็นมูก
เลือด หรือกลุ่มโรคบิด เช่น โรคบิดมีตัว โรค
บิดไมม่ ีตวั โรคบิดอะมีบา

-กลมุ่ โรคที่มีอุจจาระร่วง เช่น ลาไส้
อกั เสบ อาหารเป็นพิษ

-ไส้ต่งิ อกั เสบ

-ถงุ นา้ ดีอกั เสบไส้เลื่อน

-ตบั อ่อนอักเสบ

-มะเร็งต่าง ๆ เช่น มะเร็งหลอด
อาหาร มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งลาไส้
ใหญ่ มะเรง็ ตบั และมะเรง็ ตับอ่อน เป็นต้น

-ตบั แข็ง

-พยาธิในลาไส้ parasitic
infestation

-ริดสีดวงทวาร

2.6.3 การจดั การภาวะเร่งด่วนฉุกเฉนิ

-อาการปวดท้องรุนแรง

-ภาวะตกเลือดในทางเดินอาหาร
เชน่ อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายเป็นเลือด การ
ชว่ ยเหลอื ผู้ปว่ ยภาวะฉุกเฉินของทางเดิน
อาหาร

-การบาดเจ็บช่องท้อง เชน่ ถูกแทง
ถกู ยงิ และการถกู กระแทกของอวัยวะในช่อง
ท้อง

อาทติ ย์ 28 ม.ิ ย. 63 2 Cardiovascular Assessment and นพ.กสวิ ัฒน์
8.00 - 10.00 น. ประเมินฯ demonstration (using inspection, ศรีประดษิ ฐ์
palpation, percussion, auscultation)
(general, abnormal finding, specific
assessment)

59

วนั เดือน ปี วชิ า ชม. เนือ้ หา ผูส้ อน
10.00 - 12.00 น. นพ.กสวิ ัฒน์
13.00 - 14.00 น. - General assessment : Arterial ศรีประดิษฐ์
Pulses, bruits, Blood Pressure, etc.
14.00 - 16.00 น. ผศ.ดร.สมสมยั
เสาร์ 4 ก.ค. 63 -Specific Assessment : cardiac รตั นกรีฑากุล
catheterization, Echo

- Abnormal finding: abnormal heart
rate and heart sound (murmur), Thrill
and Heaving, etc.

รักษาโรค 3 2.5 ระบบหวั ใจและหลอดเลือด ไดแ้ ก่

เบ้ืองต้นฯ 2.5.1 กลุ่มอาการที่พบบ่อย

-เจบ็ หน้าอก

-หวั ใจเต้นไม่เป็นจังหวะ/ผิดปกติ

-บวมร่วมกับเหน่ือยหอบ

2.5.2 การวินิจฉัยแยกโรคแลการรักษา
เบื้องต้น

-กลุ่มโรคหัวใจพกิ ารแตก่ าเนิดในเด็ก

-กลมุ่ โรคหัวใจขาดเลอื ด เช่น
โรคหัวใจขาดเลือดช่วั ขณะ และโรคกล้ามเน้ือ
หัวใจตาย

-กลุ่มลน้ิ หัวใจผดิ ปกติ เช่น ล้ินหัวใจ
ตีบและลิ้นหัวใจร่วั

2.5.3 การจดั การภาวะเร่งดว่ นฉกุ เฉิน

-อาการเหนื่อยหอบ จากภาวะหัวใจ
ล้มเหลว

-เจ็บหน้าอกรุนแรง จากกลุ่มอาการ
Coronary Syndrome ไดแ้ ก่ โรคหวั ใจขาด
เลือดชั่วขณะ และโรคกล้ามเนือ้ หวั ใจตาย

-ภาวะหัวใจถูกบีบรัด

-ภาวะ Shock

ระบบสุขภาพฯ 2 1.3 หลกั การจดั การดูแลโดยใชช้ มุ ชนเป็นฐาน
การจัดระบบการดูแลต่อเน่ืองและการสร้าง
เครือข่ายบริการสุขภาพ

สอบครั้งท่ี 1

60

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เนื้อหา ผู้สอน
9.00 -12.00 น.
อาทติ ย์ 5 ก.ค. 63 เรื้อรังฯ 4 2.2 การจัดการการดูแล สรุ ีรัตน์ ธนากิจ
8.00 - 12.00 น.
2.2.1 แนวคิดการจัดการโรค และการจัดการ ผศ.ดร.พัชรินทร์
13.00 - 16.00 น. พูลทวี
รายกรณี
สปั ดาหท์ ่ี 6
เสาร์ 11 ก.ค. 63 2.2.2 การประเมินปัจจยั ความแปรปรวนท่มี ี
8.00 - 10.00 น. ผลต่อภาวะแทรกซ้อนปญั หาสุขภาพ และ
ความต้องการการดูแล

2.2.3 การวางแผนการดแู ล

2.2.4 การตดิ ตาม และการประเมนิ ผลลัพท์
การดแู ล

ระบบสุขภาพฯ 3 1.5 แนวคิดการจัดระบบบริการสุขภาพภาค
ประชาชน

- หลักการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการ
เสริมสรา้ งสุขภาพ

- วัฒนธรรมสุขภาพ และการแพทย์
ทางเลือก

- แนวทางการดาเนินงานสุขภาพภาค
ประชาชน

ประเมินฯ 2 Breast, Lymphatic Assessment and นพ.กิตติ
demonstration (using inspection, กรงุ ไกรเพชร
palpation, percussion)

-General assessment : Approximate
symmetry, Position of nipple,
Swelling or discoloration, etc.

-Specific Assessment: Mammogram,
Ultrasound, etc.

-Abnormal finding: retraction of
nipples and ulcer Abnormal nipple
discharge, breast mass, etc.

61

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เน้อื หา ผสู้ อน
10.00 - 12.00 น. ประเมนิ ฯ นพ.กิตติ
2 Male and Female genitalia and Hernia กรงุ ไกรเพชร
13.00 - 16.00 น. รักษาโรค (using inspection, palpation)
เบ้ืองต้นฯ นพ.กสวิ ัฒน์
General assessment : ศรีประดิษฐ์

-External genitalia examination (rash,
pustule, bleeding)

-Per Vagina (uterus size, cervix,
discharge, etc.)

-Per rectal exam (polyps and
bleeding)

Specific Assessment : Proctoscopy,
pap smear,

Abnormal finding: Per rectal exam
(rectal shelf. Hemorrhoid) hernia, etc.

3 2.8 การวนิ ิจฉัย การรักษาโรคเบ้ืองต้นและ
พจิ ารณาส่งต่อผ้ปู ว่ ยทมี่ ีปัญหาสขุ ภาพที่พบ
บอ่ ยและปัญหาฉกุ เฉนิ ของระบบทางเดิน
ปสั สาวะ ได้แก่

2.8.1 กลุ่มอาการทพี่ บบ่อย

-ลกั ษณะอาการทผ่ี ิดปกติที่พบบ่อย
เช่น กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะน้อย
ปสั สาวะไม่ออก ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะออก
มากผิดปกติ ไมม่ ปี ัสสาวะ ปัสสาวะไม่ออก
ปัสสาวะมากกลางคืน ปสั สาวะค้าง

-ลกั ษณะปสั สาวะท่ีผิดปกติ เชน่
ปัสสาวะเป็นเลือด มีสีน้าตาลในปัสสาวะ มี
โปรตีนในปัสสาวะ มีคโี ตนในปสั สาวะ
ปัสสาวะมสี ีเหลืองน้าตาลของบลิ ริ ูบนิ

2.8.2 การวินิจฉยั แยกโรคและการรักษา
เบื้องต้น

-ภาวะไตวาย

-นิ่วในทางเดินปัสสาวะ

-เนื้องอก

-ต่อมลกู หมากโต

62

วนั เดือน ปี วชิ า ชม. เน้ือหา ผสู้ อน

อาทติ ย์ 12 ก.ค. 63 -โรคไตเร้ือรงั นพ.กิตติ
8.00 - 10.00 น. -หนว่ ยไตอกั เสบเฉียบพลัน กรุงไกรเพชร
-กระเพาะปสั สาวะอกั เสบ
10.00 - 12.00 น. -กรวยไตอักเสบ นพ.กิตติ
2.8.3 การจัดการภาวะเร่งด่วนฉุกเฉิน กรุงไกรเพชร
-จากอบุ ตั ิเหตหุ รือถูกทาร้าย เช่น
ไตแตก และกระเพาะปัสสาวะแตก

ประเมินฯ 2 Breast, Lymphatic Assessment and
ประเมินฯ demonstration (using inspection,
palpation, percussion)

-General assessment : Approximate
symmetry, Position of nipple,
Swelling or discoloration, etc.

-Specific Assessment: Mammogram,
Ultrasound, etc.

-Abnormal finding: retraction of
nipples and ulcer Abnormal nipple
discharge, breast mass, etc.

2 Male and Female genitalia and Hernia
(using inspection, palpation)

General assessment :

-External genitalia examination (rash,
pustule, bleeding)

-Per Vagina (uterus size, cervix,
discharge, etc.)

-Per rectal exam (polyps and
bleeding)

Specific Assessment : Proctoscopy,
pap smear,

Abnormal finding: Per rectal exam
(rectal shelf. Hemorrhoid) hernia, etc.

63

วนั เดือน ปี วชิ า ชม. เนอ้ื หา ผู้สอน
13.00 - 16.00 น.
รักษาโรค 3 2.7 ระบบประสาท ไดแ้ ก่ นพ.วิฑูรย์
สปั ดาห์ท่ี 7 เบื้องต้นฯ 2.7.1 กล่มุ อาการทีพ่ บบ่อย จันทรโรทัย
เสาร์ 18 ก.ค. 63 -อาการปวดศีรษะ
9.00 - 12.00 น. -อาการวงิ เวยี น/เวยี นศีรษะ
-อาการแขน ขาอ่อนแรง ชา เป็น

อมั พาต
-อาการหมดสติ

2.7.2 การวินิจฉยั แยกโรคและการรักษา
เบ้ืองต้น
-เน้ืองอกในสมอง
-โรคสมองอักเสบ
-กลมุ่ โรคทมี่ ีความผิดปกตเิ ส้นเลือด

สมอง
-โรคเย่ือหมุ้ สมองอักเสบหรือเย่ีอหุ้ม

สมองและไขสนั หลงั อักเสบ
-โรคมลั ตเิ ปิ้ล สเกลอโรซิส
-เสน้ ประสาทไขสันหลังถกู กดทับ

2.7.3 การจัดการภาวะเรง่ ด่วนฉุกเฉิน
-ภาวะความดนั ในกะโหลกศรี ษะสงู
-ภยันตรายต่อศีรษะและสมอง
-ภยนั ตรายต่อไขสันหลงั

รักษาโรค 3 2.10 การวินิจฉยั การรักษาโรคเบ้ืองต้นและ นพ.สุริยา
เบ้ืองต้นฯ การพิจารณาสง่ ต่อผู้ป่วยท่ีมีปัญหาสขุ ภาพที่ โปร่งน้าใจ
พบบ่อย และปัญหาฉุกเฉินของระบบต่อมไร้
ทอ่ ไดแ้ ก่

2.10.1 กลมุ่ อาการท่ีพบบ่อย

-กลมุ่ อาการคุชชิง่

2.10.2 การวนิ ิจฉัยแยกโรคและการ

64

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เนอ้ื หา ผ้สู อน

รกั ษาเบ้ืองต้น - เบาหวาน

- ต่อมธัยรอยดโ์ ต

(คอพอกธรรมดา คอพอกเปน็ พิษ)

-โรคของกลุ่มอาการคชุ ชงิ

2.10.3 การจดั การภาวะเรง่ ดว่ นฉุกเฉิน

-ภาวะหมดสติจากน้าตาลต่า

13.00 - 15.00 น. เรื้อรงั ฯ 2 3.1 เบาหวาน นพ.สุริยา
โปร่งน้าใจ
15.00 - 16.00 น. 3.1.1 กลไกการควบคุมโรคเบาหวาน
16.00 - 17.00 น. รศ.ดร.สุวรรณา
อาทติ ย์ 19 ก.ค. 63 3.1.2 พยาธิสภาพและกลไกการเกดิ ภาวะ จันทรป์ ระเสริฐ
8.00 - 10.00 น. ฉกุ เฉินจากเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนจาก รศ.ดร.สุวรรณา
การมนี ้าตาลในเลือดสูง จันทรป์ ระเสริฐ
ผศ.พญ.รมร
3.1.3 การจดั การภาวะสมดุล แย้มประทมุ

:สมดลุ อาหาร กิจกรรมทางกาย การใช้
ยา การจัดการความเครียด

3.1.4 การควบคุมปัจจัยกาเริบของโรค

3.1.5 การจดั การในภาวะเรง่ ดว่ น

ระบบสุขภาพฯ 1 2.3 เครื่องมือในกระบวนการพัฒนาคุณภาพ
การพยาบาล

ระบบสุขภาพฯ 1 2.4 การจัดการและการใชข้ ้อมูลเพื่อการ
พัฒนาคุณภาพการดูแล

ประเมนิ ฯ 2 Assessing Children : Infancy
Through Adolescence

General assessment : Interviewing
technique and Techniques of
examination

- Assessing infants, Children,
Adolescents in general (Growth and
development, Head to Toe
assessment)

65

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เนือ้ หา ผ้สู อน
10.00 - 12.00 น.
13.00 - 15.00 น. Specific Assessment: Visual acuity, พญ.ผกาพรรณ
etc. ดินชไู ท
15.00 – 17.00 น.
Abnormal finding: Tachycardia, พญ.ผกาพรรณ
Jaundice, Dehydration, Heart ดนิ ชูไท
murmur etc.
ผศ.ดร.นิสากร
ประเมินฯ 2 Assessment of Nutritional status ชีวเกตุ
across the life span

-Direct method-Anthropometric,
body composition assessment etc.

-Indirect method – History taking,
Dietary survey etc.

เรื้อรงั 2 3.3 โรคปอดอุดก้นั เร้ือรงั และหอบหืด

3.3.1 พยาธสิ ภาพและกลไกการเกิดภาวะ
ปอดอุดก้นั เร้ือรงั

3.3.2 พยาธสิ ภาพและกลไกการเกดิ โรคหอบ
หืด

3.3.3 พยาธสิ ภาพและกลไกการเกิดอาการ
กาเรบิ รนุ แรงในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเร้ือรงั

3.3.4 พยาธิสภาพและกลไกการเกิดอาการ
กาเรบิ รุนแรงในผ้ปู ว่ ยโรคหอบหืด

3.3.5 การจัดการภาวะสมดุล ได้แก่ สมดุล
อาหารกิจกรรมทางกาย การใช้ยา

3.3.6 การควบคุมปัจจยั กาเริบของโรค (การ
เลกิ บุหร่ี การป้องกันปัจจยั กระตนุ้ การ
ป้องกันโรคตดิ เช้ือทางเดนิ หายใจ)

3.3.7 การจัดการในภาวะเรง่ ด่วน

ระบบสุขภาพฯ 2 3.4 ประยุกตก์ ารจัดระบบบรกิ ารเพื่อสง่ เสรมิ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ : นวตก
รรมบริการและระบบบรกิ าร

66

วัน เดือน ปี วิชา ชม. เนอื้ หา ผู้สอน
สัปดาห์ท่ี 8 นพ.เวทิศ
เสาร์ 25 ก.ค. 63 ประเมินฯ 2 11. การประเมินด้านจิตใจอารมณ์สังคมและ ประทุมศรี
8.00 - 10.00 น. สงิ่ แวดล้อม (Psychosocial assessment)
รกั ษาโรค นพ.เวทิศ
10.00 - 12.00 น. เบ้ืองต้นฯ - General assessment : ประทุมศรี
13.00 - 14.00 น. - การประเมินความทุกข์ ความเครียด ความ
กดดนั : (anxiety, depression, etc.)

- การประเมนิ ด้านสงั คมและส่งิ แวดล้อม
Specific Assessment
- การใชเ้ คร่ืองมือประเมนิ ด้านจิตใจอารมณ์
ได้แก่ 2Q 9Q 8Q

3 2.13 การวินิจฉยั การรักษาโรคเบ้ืองต้นและ
การพิจารณาสง่ ต่อผปู้ ่วยท่ีมปี ญั หาสุขภาพที่
พบบ่อยและปัญหาทางสุขภาพจิต ไดแ้ ก่
2.13.1 กลมุ่ อาการทผี่ ิดปกตทิ ่ีพบบ่อย
- ด้านความคิด และการรับรู้

- ดา้ นความจา สตปิ ัญญา
- ดา้ นความสนใจ สมาธิ

และการเคล่อื นไหว

- ดา้ นอารมณ์
- ด้านพฤติกรรม
2.13.2 การวินิจฉัยแยกโรคและ

การรักษาเบ้ืองตน้
-โรคจิตเภท
-โรคซึมเศร้า

- โรคอารมณ์สองข้ัว
- โรคกงั วลไปเอง
- โรคออทสิ ซม่ึ

- ความผดิ ปกตทิ ่ีเกิดจากการ
ใช้สารเสพติด

67

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เนอื้ หา ผ้สู อน

14.00 - 17.00 น. -โรคสมองเสื่อม เช่น อัลไซเมอร์ ผศ.ดร.นิสากร
ชวี ะเกตุ
อาทิตย์ 26 ก.ค. 63 2.13.3 การจัดการภาวะเรง่ ดว่ น
8.00 - 10.00 น. ฉกุ เฉิน นพ.วิฑรู ย์
จันทรโรทยั
-ผู้ปว่ ยท่ีมีภาวะคลุม้ คลง่ั

- ผ้ปู ว่ ยทค่ี ิดฆ่าตัวตาย

ระบบสุขภาพฯ 3 1.6 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบบรกิ าร
สุขภาพ

- การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวยั

- การพัฒนาจัดระบบบริการท่ีมีคณุ ภาพ
มาตรฐาน

- พฒั นาระบบบริหารจดั การเพ่ือสนับสนุน
การจัดบรกิ าร

- แผนและยทุ ธศาสตรก์ ารจัดระบบบรกิ าร
สุขภาพระดบั อาเภอ

ประเมินฯ 2 การประเมนิ โรคร่วมและภาวะแทรกซ้อนของ
โรคเรื้อรงั (TOD: Target organ damage
assessment)

-ภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด
ใหญ่

-อาการ PAD, Orthopnea, Chest pain,
Pale, Palpitation, edema ประเมิน Neck
vein engorgement

-การอุดตันของหลอดเลือดแดงสว่ นปลาย
(ABI: ankle-brachial index

-ภาวะแทรกซ้อนทางไตได้แก่ Extremities
edema, GFR and kidney function

-ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดส่วนปลาย
และอ่ืน ๆ ไดแ้ ก่

:Sensory evaluation, Diabetic
neuropathy evaluation,

:Pericardial effusion, Lung
crepitation

68

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เน้ือหา ผสู้ อน
10.00 - 12.00 น.
13.00 - 16.00 น. เร้ือรงั ฯ - ภาวะเฉียบพลันในระบบทางเดินหายใจ นพ.วฑิ รู ย์
จันทรโรทัย
รักษาโรค - Acute Asthmatic Attract (Assess the
เบ้ืองต้นฯ Severity of Dyspnea Exacerbation in นพ.กิตติ
Patients with Acute Asthmatic Attract) กรงุ ไกรเพชร

- Acute Exacerbation of COPD ประเมิน
6 minute work)

การใช้เครื่องมือและเกณฑ์ในการประเมิน
ภาวะสุขภาพ ดัชนีบาร์เธลเอดีเอล (Bethel
ADL index) และ QOL, Stroke risk, TIA
risk Framingham Risk Score, แบบ
ประเมินแผลกดทบั etc.)

2 3.5 โรคหลอดเลือดสมอง

3.5.1 กลไกการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง

3.5.2 พยาธิสภาพและกลไกการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนจากโรคหลอดเลือดสมอง

3.5.3 การจัดการภาวะสมดุล ได้แก่ สมดุล
อาหารและน้า การใช้ยา

3.5.4 การฟ้ืนฟูสภาพ

3.5.5 การควบคุมปัจจัยกาเรบิ ของโรค

3.5.5.1 การป้องกันและควบคมุ

3.5.5.2 การควบคมุ ปัจจัยเสี่ยง (ความดัน
โลหิต อาหารเคม็ ภาวะเครียด เปน็ ตน้ )

3.5.6 การจัดการในภาวะเร่งด่วน

3 2.3 ระบบอวยั วะสืบพันธ์ ได้แก่

2.3.1 กลมุ่ อาการที่พบบ่อย

- การขาดประจาเดือน

- ปวดท้อง/ปวดประจาเดือน

- สารคัดหล่งั ผิดปกติออกจากช่อง
คลอด

เช่น ตกขาว หนอง เปน็ ต้น

- มีเลอื ดออกทางช่องคลอด

69

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เนื้อหา ผู้สอน

สปั ดาห์ที่ 9 - มีกอ้ น/ถงุ น้าที่อวัยวะสืบพันธุ์
เสาร์ 1 ส.ค. 63 - แผลท่ีอวัยวะเพศ
8.00 - 10.00 น.
10.00 - 12.00 น. - อาการปวดที่อวัยวะสบื พนั ธ์
2.3.2 การวินิจฉัยแยกโรคและการรกั ษา
เบื้องต้น

-หนองใน
-แผลรมิ อ่อน
-การติดเชื้อทางช่องคลอด จาก
แบคทีเรีย เชื้อรา และโปรโตซัว
-การตัง้ ครรภ์
-เน้ืองอกและมะเร็ง

2.3.3 การจัดการภาวะเร่งด่วนฉกุ เฉนิ
-ปวดท้องรุนแรง
-การแท้ง

-การต้ังครรภ์นอกมดลกู
-การตกเลือดช่องคลอดเฉยี บพลัน
-ความดันโลหิตสงู ในระยะตัง้ ครรภ์
หรือภาวะครรภ์เปน็ พษิ

ประเมนิ ฯ 2 Patient assessment in Emergency พญ.จิตรลดา
ประเมินฯ รุจิราภลิ กั ษณ์
-Initial assessment or Primary survey
and life threatening condition: ผศ.ดร.พัชรินทร์
พลู ทวี
(general appearance, mental status,
airway, breathing, circulation)

-Rapid trauma assessment: C-spine
stabilization, Bleeding, ect.

-Secondary survey : History taking,
head-to-toe assessment

2 Health Assessment Record

การบันทกึ ผลการประเมินภาวะสุขภาพ โดยใช้
ขอ้ มลู หลักฐานทางวิทยาศาสตร์และ

70

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เน้ือหา ผ้สู อน
ผศ.ดร.สมสมยั
หลกั ฐานทางคลนิ ิกเพื่อการวิเคราะห์และ รัตนกรีฑากุล
ตัดสนิ ทางคลนิ ิกในการวินิจฉัยแยกโรค
นพ.กสวิ ัฒน์
13.00 - 15.00 น. ระบบสุขภาพฯ 2 1.4 หลักการเวชศาสตร์ครอบครวั ในงานเวช ศรีประดิษฐ์
ปฏบิ ัติปฐมภมู ิ
15.00 - 17.00 น. สรุ ีรัตน์ ธนากิจ
- แนวทางเวชศาสตรค์ รอบครวั ในมิตกิ าร
อาทติ ย์ 2 ส.ค. 63 ดูแลบุคคลและครอบครวั
8.00 - 12.00 น.
- แนวทางเวชศาสตรค์ รอบครัวในมิตกิ าร
ดแู ลชมุ ชน (community –oriented
primary care, COPC)

เร้ือรงั ฯ 2 3.6 ภาวะไตวาย

3.6.1 กลไกการเกดิ ไตวาย

3.6.2 พยาธสิ ภาพและกลไกการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนจากไตวาย

3.6.3 การจัดการภาวะสมดุล ได้แก่ สมดุล
อาหารและน้า การใชย้ า

3.6.4 การควบคุมกาเริบของโรค

3.6.5 การจัดการในภาวะเร่งด่วน

เร้ือรังฯ 4 2.3 การดแู ลต่อเนื่องทีบ่ ้าน

2.3.1 การดูแลโดยยดึ ผปู้ ่วยและครอบครวั
เปน็ ศูนยก์ ลาง

2.3.2 เกณฑก์ ารจาแนกผู้เป็นโรคเรื้อรงั ท่ี
ตอ้ งการการบริการท่ีบ้าน

2.3.2.1 โรคหลอดเลือดสมอง

2.3.2.2 โรคหัวใจล้มเหลว

2.3.2.3 โรคไตวายเร้ือรงั ทลี่ ้างไตทางหน้า
ทอ้ ง

2.3.2.4 โรคเบาหวานทม่ี ีภาวะแทรกซ้อน

2.3.2.5 โรคปอดอุดก้ันเรื้อรังและหอบหดื

2.3.2.6 มารดาหลังคลอด

2.3.3 การใชเ้ ทคโนโลยีและเคร่ืองมือแพทย์

71

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เน้ือหา ผ้สู อน
13.00 - 15.00 น. ผศ.ดร.วรรณรัตน์
ในการดแู ลผู้เป็นโรคเรื้อรังท่ีบ้าน
15.00-16.00 น. ลาวัง
2.3.4 การดูแลผู้ปว่ ยในภาวะพึ่งพงิ และ
ผู้ดแู ล ผศ.ดร.สมสมยั
รตั นกรฑี ากุล
เร้ือรงั ฯ การจดั ระบบบรกิ ารการจัดการโรคเรื้อรงั ใน
2 ชมุ ชน
2.1 Ambulatory care and community-
based care

2.1.1 หลักการและแนวคิด

2.1.1.1 ambulatory care sensitive
condition

2.1.1.2 strategies to reduce the use of
hospital beds

2.1.1.3 strategies to reduce the need
for emergency department service

2.1.2 ขน้ั ตอนการจดั บรกิ าร

2.1.3 การจดั การทีมงาน

2.1.4 การจัดคลินิกบริการ

ระบบสุขภาพฯ 1 3.1 ทศิ ทางและแนวโน้มในการพัฒนาบริการ
ในหนว่ ยบริการปฐมภูมิ

16.00-17.00 น. ระบบสุขภาพฯ 1 3.2 แนวโนม้ การพัฒนาพยาบาลวชิ าชีพใน ผศ.ดร.สมสมัย
หน่วยบริการปฐมภูมิ รตั นกรฑี ากุล
สัปดาหท์ ่ี 10
เสาร์ 8 ส.ค. 63 ระบบสุขภาพฯ 1 3.3 การพัฒนาฐานข้อมูลในการวางแผนการ ผศ.ดร.นิสากร
8.00 – 9.00 น.
ดูแลในบริการปฐมภมู ิ ชีวะเกตุ
9.00 - 12.00 น.
เรื้อรัง ฯ 3 แนวคดิ การจัดการโรคเร้ือรัง ผศ.ดร.วรรณรัตน์

1.1 ธรรมชาตขิ องโรคเรื้อรงั ลาวัง

1.1.1 ภาวะ acute และ chronic

1.1.2 การเกิดภาวะแทรกซ้อน

1.1.3 การเกดิ โรครว่ ม

72

วัน เดือน ปี วิชา ชม. เน้ือหา ผู้สอน
13.00 - 15.00 น.
15.00 - 17.00 น. 1.2 การจดั การโรคเร้ือรงั สุรรี ัตน์ ธนากิจ

1.2.1 แนวคดิ การจดั การโรคเรื้อรงั รศ.ดร.สุวรรณา
จนั ทรป์ ระเสริฐ
1.2.2 รปู แบบการจดั การโรคเร้ือรัง

1.2.2.1 chronic care model

1.2.2.2 trajectory model

1.2.2.3 integrate care model

เรื้อรงั ฯ 2 2.4 การจดั การทรัพยากรในชมุ ชน

2.4.1 การดแู ลท่ีเน้นผปู้ ่วยและครอบครัว
เปน็ ศูนยก์ ลาง

2.4.2 การเตรยี มความพร้อมครอบครัว
ผู้ดูแล

2.4.3 แหลง่ ประโยชน์ในชุมชน เครือข่าย
สถานบริการ

2.4.4 ระบบรับและส่งต่อ การใหค้ าปรึกษา

2.4.5 ระบบข้อมูลเพ่ือการจัดการผปู้ ่วยโรค
เรื้อรงั

ระบบสุขภาพฯ 2 2.5 การจัดการผลลัพธท์ างสขุ ภาพ

: ผลลัพธ์การดูแลในระบบสุขภาพ

: ปัจจยั ทางเศรษฐศาสตรสขุ ภาพ และ
การประเมนิ ค่าใช้จ่ายในระบบสขุ ภาพ

อาทติ ย์ 9 ส.ค. 63 ระบบสุขภาพฯ 1 3.10 วเิ คราะห์กรณีศึกษา : บทบาท ผศ.ดร.พัชรินทร์
8.00 - 9.00 น.
สมรรถนะและทักษะท่ีจาเป็นสาหรับพยาบาล พลู ทวี
เวชปฏิบตั ิในหนว่ ยบริการปฐมภมู ิ

:- การจัดการการดูแลสุขภาพ

:- ภาวะผู้นา

:- การส่ือสารเชงิ วัฒนธรรม การสอนและ
การให้คาปรึกษา

:- การจัดการการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่าง
ตอ่ เน่ือง

:- ฯลฯ

73

วนั เดือน ปี วชิ า ชม. เนื้อหา ผสู้ อน
9.00 - 12.00 น. เรื้อรงั ฯ ผศ.ดร.วรรณรัตน์
3 1.2.3 หลกั การจดั การโรคเร้ือรงั
13.00 - 16.00 น. รกั ษาโรค ลาวัง
สัปดาห์ท่ี 11 เบื้องต้นฯ 1.2.3.1 การจัดการดูแลรักษา : ความ
เสาร์ 15 ส.ค. 63 ตอ่ เน่ือง ความร่วมมือ และความครอบคลุม นพ.สันติชยั
8.00 - 10.00 น. ดินชไู ท
1.2.3.2 การสง่ เสริมการจัดการควบคุมโรค

:การสร้างความสมดุล ไดแ้ ก่ สมดุล
อาหาร กิจกรรมทางกาย การใช้ยา การ
จัดการความเครียด

: การปรับแบบแผนการดาเนิน
ชีวติ ประจาวนั ได้แก่ ปรับการบรโิ ภค การ
ออกกาลงั กาย กิจกรรมทางกาย การควบคุม
ปัจจยั เสยี่ งและป้องกนั ภาวะแทรกซ้อน

: การเสริมสร้างพลังอานาจ

1.2.3.3 การสนับสนุนการตดั การตนเอง
(self-management support)

:หลกั การแนวคดิ และทฤษฎีท่เี ก่ียวข้องกบั
การสนบั สนนุ การ

จัดการตนเอง

: การสนบั สนุนการจดั การตนเองใน
ผูป้ ่วยโรคเร้ือรัง

3 หลักการและวธิ กี ารทาหัตถการเบื้องต้น

5.1 การผ่าตดั เล็กและการตกแตง่

บาดแผล

5.2 หลกั การเย็บแผล

5.3 การถอดเล็บและผ่าเอาส่ิง

แปลกปลอมออก

การใชย้ าฯ 2 หลกั การใช้ยาอย่างสมเหตุผลสาหรับ รศ.ดร.ลัดดาวัลย์
พยาบาลเวชปฏิบัติ ผวิ ทองงาม

1.1 ปญั หาการใช้ยาไม่สมเหตผุ ล

1.2 แนวทางการใช้ยาสมเหตุผล

74

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เนือ้ หา ผูส้ อน
10.00 - 12.00 น. การใช้ยาฯ
- ใช้ยาตามข้อบง่ ชี้ (Indication)

- ประสิทธิผลของยา (efficacy)

- ความเส่ียง (risk)

- ค่าใช้จ่ายของยา (cost)

- รอบรู้และรอบคอบ ระมัดระวงั และ
ใชย้ าเป็นขั้นตอน ตามมาตรฐานวิชาการ

- ขนาดยา (dose)

- วธิ ใี ห้ยา (method of
administration)

- ความถ่ีในการใหย้ า (frequency
of dose)

- ระยะเวลาในการใหย้ า (duration
of treatment)

- ความสะดวก (patient
compliance) โดยคานงึ ถงึ ความสะดวกและ
การยอมรับของผปู้ ว่ ย

- โรงพยาบาลสง่ เสริมการใช้ยาอย่าง
สมเหตุผล (RDU hospital)

1.3 ฉลากยาและข้อมูลสู่ประชาชน

1.4 จริยธรรมในการสง่ั ใช้ยา

1.5 การดแู ลด้านยาเพ่ือความปลอดภัยของ
ประชากรกลุ่มพิเศษ (กลุม่ ผู้สูงอายุ, หญิง
ตัง้ ครรภ์, หญงิ ให้นมบุตร, เด็ก, ผปู้ ว่ ยโรค
ตบั , และผ้ปู ่วยโรคไต)

1.6 การสร้างความตระหนักร้ขู องบุคลากร
ทางการแพทยแ์ ละประชาชน

2 หลักการทางเภสัชศาสตร์และการใช้ยาตาม รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์
ขอบเขตวิชาชีพของพยาบาลเวชปฏิบตั ิ ผวิ ทองงาม

2.1 Pharmacokinetics and
Pharmacodynamics

2.2 การใชย้ าตามขอบเขตวิชาชีพการ
พยาบาล

75

วัน เดือน ปี วชิ า ชม. เน้อื หา ผู้สอน
13.00 - 15.00 น. การใช้ยาฯ
2.3 การใชย้ าเกินขอบเขตวชิ าชีพการพยาบาล
15.00 - 17.00 น. การใช้ยาฯ
2.4 การบริการจัดการยาในระบบปฐมภูมิ
อาทติ ย์ 16 ส.ค. 63 ตามบญั ชียาหลกั
8.00 - 10.00 น.
2 3.1 Drug for Inflammation รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์

3.1.1 Inflammation and ผิวทองงาม
Chemical Mediator of Inflammation

3.1.2 NSAIDS เชน่
Ibuprofen, Diclofenac

3.1.3 COX-2 Sedative
Inhibitors

3.1.4 COX-1 vs. COX-2

3.1.5 Glucocorticoids for
Inflammation

2 3.2 Drug for Respiratory Tract รศ.ดร.ลัดดาวัลย์

ผิวทองงาม

3.2.1 Salbutamol

3.2.2 Terbutaline

3.2.3 Antihistamines

- Chlorpheniramine

maleate

- Hydroxyzine

3.2.4 Cough preparation

- Dextromethorphan

- Brown Mixture

- Glyceryl Guaiacolate

(ยาแกไ้ อเดก็ )

- Ammon Carb

การใช้ยาฯ 2 3.3 Drugs for Gastrointestinal(GERD, รศ.ดร.ลัดดาวัลย์
Peptic Ulcers, Constipation and ผวิ ทองงาม
Diarrhea)

76

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เนื้อหา ผ้สู อน
10.00 - 12.00 น. การใช้ยาฯ
3.3.1 Antacids and other drugs for รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์
dyspepsia ผวิ ทองงาม

- Aluminium hydroxide
- Mixt. Carminative
- Magnesiam hydroxide (MOM)
- Simethicone
- Sodium bicarbonate mixture
3.3.2 Antispasmodics and other
drugs altering gut motility
- Domperidone
- Hyoscine-N-butylbromide
3.3.3 Ulcer-healing drugs and
drugs used in variceal bleeding
- Ranitidine
- Omeprazole
- Sodium Chloride enema
- ORS (Oral Rehydration Salt)
- Bisacodyl
2 3.4 Drugs used in treating infection
disease
3.4.1 Antibactic
-Penicillin V
- Amoxycillin
- Dicloxacillin
- Cloxacillin
- Doxycycline
- Roxithromycin
- Erythromycin
- Norfloxacin
-Trimethoprim

77

วัน เดือน ปี วิชา ชม. เน้อื หา ผู้สอน

13.00 - 15.00 น. การใช้ยาฯ - Sulfamethoxazole
15.00 - 17.00 น. การใช้ยาฯ
(Co-trimoxazole)

3.4.2 Antiviral

- Abcavir

- Anti-Influenza:
Neuraminidase Inhibitors

- Drugs for Hepatitis

3.4.3 Antifungal

- Ketoconazole

- Griseofulvin

3.4.4 กลมุ่ ยาถ่ายพยาธิ

(Anthelmintics)

- Albendazole

- Mebendazole

1 3.5 การใชย้ าในกลุ่มโรคเร้ือรงั รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์

- บทบาทของพยาบาลในการใช้ยากลมุ่ ผิวทองงาม
โรคเร้ือรัง

- การ refill ยา โดยคานึงถึงการใช้ยาเกนิ
ยาซ้าซ้อน และยาเสรมิ ฤทธิ์

3 3.5.1 Drugs for Cardiovascular รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์

3.5.1 Oral anti-hypertensive drug ผวิ ทองงาม

- Diuretics

- Beta blockers

- Alpha blockers

- ACE inhibitor

- Calcium antagonist

- Angiotensin receptor
antagonist

- Vasodilators

3.5.2 Parenteral drugs for

78

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เน้ือหา ผ้สู อน

เสาร์ 22 ส.ค. 63 treatment of hypertensive
9.00-12.00 น. emergencies
13.00-17.00 น.
3.5.2.1 Vasodilator:

- Sodium nitropusside

- Nicardipine
hydrochloride

- Nitroglycerine

3.5.2.2 Adrenergic
inhibitor:

- Phentolamine

3.5.3 Antilipidemia

-Simvastatin

สอบคร้งั ท่ี 2

ประเมินฯ 4 -Techniques of Physical examination นพ.กสวิ ัฒน์
: Inspection Palpation Percussion ศรีประดษิ ฐ์
Auscultations and using equipment

อาทติ ย์ 23 ส.ค. 63 การใช้ยาฯ 2 3.7 Drug for Reproductive รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์
8.00 - 10.00 น. การใช้ยาฯ ผิวทองงาม
3.7.1 Oral Contraceptive:
10.00 - 12.00 น. Types Estrogen-Progesterone รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์
Formulation ผิวทองงาม

3.7.2 Agents for
Emergency Contraception

3.7.3 ยาคุมกาเนดิ

2 3.8 Drugs for CNS and Psychotropic
agents3.8.1 Drugs used in nausea
and vertigo - Cinarizine

- Flunarizine

- Dimenhydrinate

79

วนั เดือน ปี วชิ า ชม. เน้ือหา ผูส้ อน
13.00 - 15.00 น. การใช้ยาฯ
16.00 - 17.00 น. การใชย้ าฯ -Amitriptyline

3.8.2 Analgesics and
antipyretics

-Paracetamol

-ASA

3.8.3 Hypnotics and
anxiolytics

-Diazepam

-Amitriptyline

2 3.9 Drug for Dermatology รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์

- Silver Sulfadiazine (Silveral) ผิวทองงาม

- Clotrimazole

- Benzyl Benzoate

- Calamine lotion

- Prednisolone

- Betamethasone

- Triamcinolone cream

- Whitfield ointment

- Acyclovir cream

- Benzyl benzoate 25%

2 3.10 Eye Ear Nose and Pharynx รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์
Preparation ผวิ ทองงาม

3.10.1 กล่มุ ยา Eye

- Boric Acid (ยาลา้ งตา : Eye
Lotion)

- Chloramphenicol

- Antazoline HCL +
Tetrahydrozoline (Hista oph)

3.10.2 กล่มุ ยา Ear, Nose,
and Oropharynx

80

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เนอื้ หา ผู้สอน
สปั ดาห์ที่ 12
เสาร์ 29 ส.ค. 63 - Chloramphenicol
8.00 - 10.00 น. - TA oral paste
- Gentian violet
10.00 - 12.00 น.
2 การใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรคเบื้องตน้ รศ.ดร.ลัดดาวลั ย์
13.00 - 14.00 น. ผิวทองงาม
4.1 สถานการณแ์ ละปัญหาการใชส้ มุนไพร
ในชุมชน รศ.ดร.ลัดดาวัลย์
ผิวทองงาม
4.2 หลกั การเลือกใช้สมนุ ไพรในการรักษา
โรคเบื้องต้น รศ.ดร.ลัดดาวัลย์
ผวิ ทองงาม
4.3 กลุ่มยาสมนุ ไพรที่ใช้ในการรกั ษา
ปัญหาสุขภาพทั่วไป(เช่น ฟ้าทะลายโจร
ขมิ้นชนั ไพล เถาวัลย์เปรียง พญายอ และ
วา่ นหางจระเข้ เป็นต้น

2 การจดั การบรหิ ารยาตามวถิ ีชวี ติ เศรษฐกิจ
สังคม ความเช่ือ และวัฒนธรรม

1.1 Client education and adherence

1.2 Economic implications of drug
management on client’s lifestyle

1.3 การส่งมอบและการใหค้ าแนะนา ตาม
วฒั นธรรมและเช่ือเกีย่ วกับการใช้ยา 2

1 3.11 กลุ่มยา Nutrition and Blood

3.11.1 Folic Acid

3.11.2 Glucose 50%
injection

3.11.3 Vitamin

- Vitamin B complex
injection

- Vitamin B complex

- Vitamin C

- Multivitamin (MTV)

81

วนั เดือน ปี วิชา ชม. เน้อื หา ผสู้ อน

14.00 - 16.00 น. รักษาโรค - Ferrous Fumarate พญ.จิตรลดา
เบ้ืองต้นฯ 2 การช่วยฟ้นื คืนชพี ขน้ั พื้นฐานในผ้ปู ่วยฉกุ เฉิน รจุ ิราภลิ ักษณ์
อาทติ ย์ 30 ส.ค. 63
8.00 - 10.00 น. สอบ
ปฐมนเิ ทศการฝึกปฏิบัติ

82

รายชื่อผเู้ ขา้ อบรม โครงการอบรมหลกั สูตรการพยาบาลเฉพาะทาง
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบตั ิทว่ั ไป(การรกั ษาโรคเบื้องต้น) รนุ่ ท่ี 9

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา

ลาดับ ชื่อ – นามสกลุ หน่วยงาน เบอรโ์ ทรศัพท์
รพ.สต.เขาไม้แกว้ 085-5054088
1 นางสาวธนัชญา วงศ์เจริญ รพ.สต. บ้านตาลหมัน 088-2108737
รพ.สต.อ่างศิลา 093-5089691
2 นายศูรกาจ ภมรนาค ผู้ป่วยนอก 097-2148539
เวชกรรมสังคม 087-6949459
3 นางสาวพิมลพรรณ บุญเกิด รพสต.บ้านหนองสมอ 094-1981379
ศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ เทศบาลเมือง 097-1072653
4 นางสาวสุพรรณสา เขาแก้ว บ้านสวน
รพ.สต.บา้ นไรห่ น่งึ 085-3907231
5 นางสาวธนภร ทพิ นาคค์ OPD ผู้ปวยนอก 062-4159296
รพ.สต.บา้ นเซดิ 091-7794388
6 นางโนรีซัน สะอะ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมือง 062-4696464
บ้านสวน
7 นางสาวณัฐณิชา มณสี วุ รรณ รพ.สต.หนองตาคง 090-3801789
รพ.สต.ท่าช้าง 086-3887230
8 นางสาวเบญจวรรณ ประมลู จะโก รพ.สต.บ้านหว้ ยก่มุ 062-6424252
9 นางสาวแก้วตา บรรลุสันติ รพ.สต.บา้ นเสม็ดงาม 087-7813513
10 นางสาวกนกพร วฉิ ายะโรจน์ โรงพยาบาลชุมชน 086-8879263
11 นางสาวพูนสุข สืบสุข เทศบาลตาบลดอนหวั ฬอ่ 087-6789842
รพ.สต.หมอนนาง 063-8538538
12 นางสาวอญั ชนา บัวเรอื ง
13 นางสาวรงุ่ ฤทยั แซด่ ่าน
14 นางสาวชมพูนุช ทองกลม
15 นางสาวนิตย์จิรา เลก็ วัฒนะ
16 นางสาวอรษา มณีไพร
17 นางสาวสุชาธิกานต์ หน่อไชย
18 นางสาวสุณีญา วนั เที่ยง

83

ลาดับ ช่ือ – นามสกลุ หน่วยงาน เบอรโ์ ทรศัพท์
083-1141898
19 นางสาวเตือนใจ ประดิษฐ์พฤกษ์ โรงพยาบาลแกลง 084-4679121
082-4600584
20 นางสาวนิภารัตน์ บญุ ธรรม โรงพยาบาลบ่อทอง 061-6951196

21 นางสาวนันทฤดี ศรมี งคล สานักงานสาธารณสุขอาเภอบอ่ ทอง 096-9744747
095-5322664
22 นายศรากลู อมรรัตนชัย สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอเมือง 089-6049317
สระแกว้ 086-1128570
061-5195616
23 นางสาวราตรี คนสน โรงพยาบาลมหาวิทยาลยั บูรพา 094-6815444
084-7637835
24 นางสาวนวลจันทร์ ปติ คุณ สานักงานเทศบาลตาบลนาปา่ 064-0323051

25 นางสาวจันทมิ า อกั ษร รพ.สต.หนองตีนนก 098-2623236
088-2465598
26 นาวาโทหญิงวรศิ า ตันตยิ ะกลุ โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ิ์ 088-0221773
083-0559751
27 นางสาวยจุ ิรา พุทธเมฆ โรงพยาบาลบ้านโพธ์ิ 080-0926623
081-9828338
28 นางสาวศิรนิ าถ เนียมภริ มย์ เทศบาลเมืองบ้านสวน 088-2961532

29 นางนลิ ุบล คมุ้ ไขน่ ้า โรงพยาบาลชลบุรี

30 นางสาวสุพรรณี จงมถี ม สานักงานสาธารณสุขอาเภอเมือง
สระแกว้

31 นางสาวกญั ญาภคั แดงชาติ รพ.สต.ตลาดบึง

32 นางสาวอมรรัตน์ สงั ข์เงนิ รพ.สต.บ้านทับเจริญ

33 นางกฤษณา ธปู สมทุ ร์ ศูนย์บรกิ ารสาธารณสุขท่ี 4 สมรโกฏิ

34 นางสาวพรรณภา พิมพ์พระธรรม รพ.สต.เขาสิงห์โต

35 นางสาวลาวลั ย์ นิตกิ าร โรงพยาบาลแกลง

36 รตท.หญิงชรลั ดา เจริญพิภพ สานกั งานเทศบาลเมืองอ่างศิลา

37 นางสาวเครอื จติ โชตชิ ัยโรจน์กุล สานักงานเทศบาลเมืองอ่างศลิ า

84

รายนามอาจารยแ์ ละเจ้าหน้าทป่ี ระสานงานโครงการฯ

1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. พชั รนิ ทร์ พลู ทวี

Tel. 087-5418748 E-mail : [email protected]

2. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ชรัญญากร วริ ิยะ

Tel. 082-9269544 E-mail : [email protected]

3. อาจารยอ์ โนชา ทัศนาธนชยั

Tel. 092-2629716 E-mail : [email protected]

4. นางสาวสรารัตน์ นุชจารัส

Tel. 095-0479042 E-mail : [email protected]

คมู่ อื การใชง้ าน Video Conference ดว้ ยโปรแกรม zoom

1. ตดิ ตงั้
1.1 เขา้ เว็บไซท์ www.zoom.us

1.2 คลก้ิ ที่ Download ทางดา้ นลา่ งของเว็บไซท์

1.3 คลก้ิ ที่ Run เพอ่ื ทาการตดิ ตงั้ โปรแกรม
1.4 คลกิ้ ที่ Yes ทห่ี นา้ ตา่ ง User Account Control

1.5 ตดิ ตงั้ เรยี บรอ้ ยจะไดห้ นา้ จอดงั รปู

2. เขา้ ระบบ
2.1 ดบั เบล้ิ คลก้ิ ท่ี Icon บนหนา้ จอ

2.2 จะเขา้ สหู่ นา้ โปรแกรม ดงั รปู

3. กรณีทเี่ ป็ นผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ
3.1 ใหเ้ ลอื กท่ี Join a meeting

3.2 ทช่ี อ่ ง Meeting ID ใหใ้ สห่ มายเลขหอ้ ง ซง่ึ จะไดจ้ ากผทู ้ เ่ี ป็ นเจา้ ของหอ้ งประชมุ

3.3 ทชี่ อ่ ง Your Name ใหใ้ สช่ อื่ เพอ่ื ทจี่ ะแสดงใหผ้ เู ้ ขา้ ร่วมประชมุ ทา่ นอนื่ ทราบ

3.4 เลอื กที่ Join
3.5 จะเขา้ สหู่ อ้ งประชมุ ดงั รปู

4. กรณีทเ่ี ป็ นเจา้ ของหอ้ งประชุม
4.1 ใหเ้ ลอื กท่ี Host a meeting

การใชง้ าน Zoom ทกุ ๆ Gmail ทยี่ ังไมไ่ ดช้ าระเงนิ จะสามารถเป็ นเจา้ ของหอ้ งประชมุ ไดน้ าน
40 นาที ตอ่ การประชมุ
พอครบ 40 นาทที า่ นสามารถสรา้ งหอ้ งใหมไ่ ดอ้ กี แตจ่ ะมรี ะยะเวลาประชมุ 40 นาทเี ชน่ เดมิ สาหรับ
ทา่ นทต่ี อ้ งการประชมุ ไดไ้ มจ่ ากดั เวลา สามารถเลอื กได ้ 2 ทาง คอื
1. ใช ้ Gmail และ Password ของทางกรมจัดไวใ้ ห ้
2. ทา่ นชาระเงนิ ผา่ นทางระบบของ Zoom ตามหวั ขอ้ 7.5 และใช ้ อเี มลลท์ ไี่ ดท้ าการชาระนัน้ ๆ

4.2 โปรแกรม zoom สามารถเขา้ ระบบได ้ 3 ทาง คอื
1 ลงทะเบยี นทางเวบ็ ไซท์ zoom.us
2 เขา้ ระบบโดยผา่ นทาง Gmail
3 เขา้ ระบบโดยผา่ นทาง Facebook
แนะนาใหเ้ ขา้ ใชง้ านผา่ นทาง Gmail เพอ่ื ความสะดวกในการใชง้ าน

4.3 เลอื ก Login with Google
4.4 ใหท้ า่ นสมคั ร Gmail หรอื มี Gmail อยแู่ ลว้ นัน้ ใหท้ า่ นใส่ Gmail และ รหสั ผา่ นลงไป

4.5 เลอื ก ลงชอื่ เขา้ ใชง้ าน
4.6 เลอื ก ยอมรับ

4.7 จะเขา้ สหู ้ นา้ จอหลักดงั รปู
4.8 เลอื ก Video Meeting

4.9 จะเขา้ สหู่ นา้ จอประชมุ ดงั รปู

5.การเชญิ ทา่ นอน่ื เขา้ ประชมุ
5.1 จากหนา้ จอผทู ้ เี่ ป็ นเจา้ ของหอ้ งประชมุ เลอื กท่ี Invite

5.2 จะปรากฏหนา้ จอเชญิ เขา้ ร่วมประชมุ ทางดา้ นบนจะมหี มายเลขหอ้ งประชมุ

5.3 สามารถเชญิ ทา่ นอน่ื ประชมุ ได ้ 2 ทางเลอื ก คอื 1.ให ้ URL หอ้ งประชมุ ทางอเี มลล์ 2. บอกเลข
หอ้ งประชมุ ผา่ นทางระบบ IM (chat) อนื่ ๆ เชน่ โปรแกรมไลน์ (Line) เฟสบคุ (Facebook)

5.4 เลอื ก Gmail เพอื่ สง่ อเี มลลเ์ ชญิ ไปยังทา่ นอน่ื

5.5 เลอื กท่ี Meeting Information เพอ่ื ดหู มายเลขหอ้ งประชมุ และแจง้ ไปยังทา่ นอนื่ ผา่ นระบบ
IM เชน่ Line หรอื Facebook

5.6 ถา้ มที า่ นอน่ื เขา้ หอ้ งมาจะแสดงดงั รปู

,


Click to View FlipBook Version