The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

ขอมูลพื้นฐาน

ชื่อโรงเรียน โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ที่อยู 195 หมูที่ 1 ตําบลแก้งเหนือ อําเภอเขมราฐ
จังหวัดอุบลราชธานี ชื่อผูบริหารโรงเรียน (รักษาราชการแทนในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา)
ว่าที่ ร.ท.สุคนธ์ ศุภสุข (ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา) เบอรโทรศัพท 045-210-494
e-mail. [email protected] จํานวน บุคลากร ๓1 คน จําแนกเป็นผู้บริหาร 1 คน ข้าราชการครู
๒3 คน เจ้าหน้าที่อื่น ๆ 7 คน จํานวนนักเรียน รวม 373 คน

ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม จัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา มีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จํานวน 373 คน จัดทํารายงานการ ประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR)
ปีการศึกษา 2563 เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่น ๆ
ผลการประเมินตนเองในภาพรวม ทั้ง 3 มาตรฐาน ร้อยละเฉลี่ย 72.63 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
มีผลการดําเนินงาน ดังต่อไปนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มีผลการประเมิน ดังนี้
ผู้เรียนร้อยละ 79.91 มีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เช่น มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ , มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา , มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม , มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร , มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ,มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ และ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน เช่น มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด , มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย , มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย , สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้
อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ซึ่งโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา มีกิจกรรมในห้องเรียนบูรณาการทุกสาระการเรียนรู้ มีหลักสูตรท้องถิ่น (รายวิชา SBMLD) ใช้แหล่ง
เรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอก ใช้วิทยากร สื่อการสอนเทคโนโลยีที่หลากหลาย มีการกระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ต
ครอบคลุมพื้นที่เพื่อให้ครู นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ทุกเวลาและโอกาส ทำให้ผู้เรียนมีความสามารถ
คุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จากผลการสอบโอเน็ตในปีการศึกษา 2563 และผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สูงขึ้น และผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ มีผลการจัดการเรียนรู้ที่สูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา นอกจากนี้มีการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่นการเลี้ยงปลา กบ ทำแปลงผักปลอดสารพิษ ทำสวนผสม และการสหกรณ์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนรุ่นพี่สามารถเป็นพี่เลี้ยงสอนน้องได้ มีผลงานที่เกิดจากงานอาชีพ มีโครงงานแปรรูปอาหาร
การจัดการและการดำเนินกิจการสหกรณ์ร้านค้า เศรษฐกิจพอเพียง ทำให้ทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีคุณธรรมสามารถดำรงตนในสังคม และประพฤติปฏิบัติตามคำสอนของศาสนาร่วมกิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม ปฏิบัติตนในวันสำคัญต่าง ๆ เช่น ทำกระทงไปลอย ร่วมตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง กราบและไหว้ได้ถูกต้อง นอกจากนี้นักเรียนทุกคนปฏิบัติหน้าที่รักษาความสะอาดในโรงเรียนทุกวัน ชอบเล่นกีฬาทำให้สุขภาพแข็งแรง ไม่เกี่ยวข้องกับอบายมุข ได้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี ทั้งส่งผลไปถึงครอบครัวและชุมชนด้วย โดยคณะครูและทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในระดับดีทุกด้าน
จุดเด่น
สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียน
โดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี
กล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
สถานศึกษามีการสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการใช้กระบวนการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เช่น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบโครงงาน การทำงานด้วยระบบทีมเป็นกลุ่ม เพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบ รวมถึงมีทักษะในสืบค้นค้นข้อมูลผ่านแอพ Googleในมือถือ เพื่อรวบรวมข้อมูล คัดเลือกคัดสรรค์ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ในการนำไปสร้างนวัตกรรมต่างๆ เพื่อเชื่อมโยงสู่การพัฒนาวิชาชีพในอนาคต และปัจจุบัน โรงเรียนได้มีการพัฒนาห้องศูนย์การรู้ศาสตร์พระราชา ในการเรียนรู้ ระบบเศรษฐกิจพอเพียงและอื่นๆ ไว้บริการนักเรียนและชุมชน มีกลุ่มนักเรียนวงดนตรี-แตรวง-โยธวาธิต –ดนตรีสากล ที่ออกงานแสดงบริการช่วยงานโรงเรียนและชุมชน มีห้องศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐาน มีห้องสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาในโรงเรียน มีห้องเรียนคอมพิวเตอร์เพียงพอกับนักเรียนที่มีคาบเรียน มีห้องสมุดสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต และมีการสนับสนุนบริการด้านอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน โดยเพิ่มจุดบริการ wifi ในบริเวณต่างๆ ในโรงเรียน ในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนนั้น โรงเรียน มีความโดดเด่นในเรื่องกิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ กิจกรรมของสถานศึกษาพอเพียง กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็งผ่านครูที่ปรึกษา รวมถึงโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ณ วัดพิชโสภาราม ร่วมงานชุมชน เช่น ประเพณีกวนน้ำทิพย์ แห่เทียนพรรษาอำเภอเขมราฐ วันชาตกาล สรงน้ำพระรูปเหมือนหลวงพ่อใหญ่วัดพิชโสภาราม แห่ฉลองพัดยศบาลีเปรียญธรรมประโยคต่างๆ เข้าบวชถือศีลปฏิบัติธรรม และ วันสำคัญความเป็นไทยต่างๆ ซึ่งคณะครูและนักเรียนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เรื่องของการมีความสามารถในการอ่านการเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณนั้น ยังต้องมีการสนับสนุนและส่งเสริมกันอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าภาพรวมจะอยู่ในเกณฑ์ดี แต่เมื่อมองในรายละเอียดจะพบว่า ยังมีอีกหลายส่วนให้พิจารณา เช่น นักเรียนระดับ ม.ต้น บางส่วนที่ยังอ่าน เขียน และสื่อสาร รวมถึงคิดคำนวณได้ยังไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ส่วนเรื่องของการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา รวมถึงความสามารถในการสร้างนวัตกรรมนั้น ยังต้องมีการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เช่นการสอดแทรกกิจกรรมต่างๆ ที่จะส่งเสริมทักษะในด้านเหล่านี้ให้มากยิ่งขึ้น ในส่วนของความสามารถในการใช้เทคโนโลยีนั้น โรงเรียนต้องส่งเสริมการใช้อินเตอร์เน็ต wifi .ให้นักเรียนได้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ส่วนบุคคล เช่น โทรศัพท์ แทปเลต โน้ตบุค ในการสืบค้นข้อมูลแผ่นแอพ Google เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แต่สิ่งที่สำคัญที่ต้องจัดเป็นลำดับที่ 1 ในการให้ความสำคัญนอกเหนือจากทักษะในการใช้เทคโนโลยีก็คือ ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย และการเคารพสิทธิ และ ความคิดเห็นของผู้อื่นในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนจำเป็นต้องพัฒนานักเรียนซึ่งมีความแตกต่างในด้านการรับรู้ และ ในปัจจุบันยังต้องเผชิญกับปัญหาเรื่องของนักเรียนที่มีความบกพร่องในด้านต่างๆ และ ปัญหานักเรียนติดเกม ซึ่งส่งผลให้นักเรียนให้ความสนใจในด้านการเรียนลดน้อยลง ทำให้ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชิ้นงานและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ส่วนในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนนั้น ปัญหาที่ยังต้องเผชิญกับกลุ่มนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เช่น หลบเรียน หนีเรียน มาสาย แต่งกายผิดระเบียบของโรงเรียน ขับรถมอเตอร์ไชเสียงดัง ซึ่งส่งผลให้มีผลการเรียนมีปัญหา ติด 0 ร มส. ซึ่งเป็นนักเรียนกลุ่มเดิม ควรเร่งพัฒนาแก้ไขผ่านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกับผู้ปกครองของนักเรียนในรูปแบบคณะกรรมการ และเรื่องของการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียนควรให้ความสำคัญในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนเข้าใจสิทธิและหน้าที่ รวมถึงการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา สังคม และ วัฒนธรรม ทั้งในโลกแห่งความเป็นจริง และ สังคมในอินเตอร์เน็ต ให้มากยิ่งขึ้น
การจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏิบัติที่ต่อเนื่อง จริงจัง การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการ
พัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวม แต่ไม่ผ่านเกณฑ์ใน
บางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงต้องมุ่งเน้นพัฒนาต่อไป
การดำเนินงานตามมาตรฐานนี้โดยเฉพาะการวางแผนพัฒนาผู้เรียนยังไม่ชัดเจนและลงไป
ที่เป้าหมายอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ผู้เรียนบางคนยังขาดทักษะในการแก้ปัญหา บางคนขาดทักษะการ
วางแผน กระบวนการและขั้นตอนการทำงานยังไม่เกิดขึ้นและปรับเปลี่ยนวิธีการอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะใน
สถานการณ์ปัจจุบัน ยุคThailand 4.0 นักเรียนยังขาดเป้าหมาย และแรงจูงใจในการเรียน และผู้เรียนต้อง
พัฒนาทักษะการสื่อสาร โดยเฉพาะทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
- แผนการการจัดการเรียนรู้ของครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
- รายงานผลการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
- แบบบันทึกผลการจัดการเรียนการสอน(ปถ.05)
- สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประจำปีการศึกษา 2563
- ผลสอบโอเน็ต ปีการศึกษา 2563
- รายงานผลการดำเนินโครงการ
- นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู
- ผลงานครู
- ผลงานนักเรียน
- ภาพถ่ายโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
- สารสนเทศโรงเรียน, บันทึกการนิเทศ, สรุปการประเมินโครงการที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงการโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น อยู่ในระดับ ดี
2) โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอนการบริหารตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” สู่ “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” อยู่ในระดับ ดี
3) โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ อยู่ในระดับ ดี
4) โครงการส่งเสริมคุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยิ้มแย้มแจ่มใส อยู่ในระดับ ดี
5) โครงการค่ายปรับพื้นฐานก่อนเรียน อยู่ในระดับ ดี
6) โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
8) โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางกีฬา อยู่ในระดับ กำลังพัฒนา
9) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
10) โครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี อยู่ในระดับ ดี
11) โครงการพัฒนากิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการรักการอ่าน อยู่ในระดับ ดี
13) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
14) โครงการพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก อยู่ในระดับ ดี
15) โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียน ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
16) โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนตามความถนัดและความสนใจ อยู่ในระดับ ดี
17) โครงการค่ายนาฏศิลป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
18) โครงการค่ายคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
19) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
20) โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการจัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
22) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) พัฒนาใหนักเรียนมีทักษะในการอาน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณเปนไปตามเกณฑที่
โรงเรียนกําหนดในแตระดับชั้น
2) พัฒนาใหนักเรียนมีความสามารถในการคิดจําแนก แยกแยะ ใครครวญไตรตรอง พิจารณาอยาง
รอบคอบโดยใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกปญหา อยางมี
เหตุผล
3) พัฒนาใหนักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรูไดทั้งดวยตนเองและการทํางานเปนทีม
เชื่อมโยงองคความรู และประสบการณมาใชในการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ
4) พัฒนาใหนักเรียน มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา
ตนเอง และสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน อยางสรางสรรค และมีคุณธรรม
5) พัฒนาใหนักเรียน มีความกาวหนาในการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในดาน
ความรู ความเขาใจ ทักษะ กระบวนการตาง ๆ รวมทั้ง
6) พัฒนาใหนักเรียนมีความกาวหนาในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู ทักษะพื้นฐานในการ
จัดการเจตคติที่ดีพรอมที่จะศึกษาตอในระดับชั้นที่สูงขึ้น มีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ
กติกา
7) พัฒนาใหนักเรียนมีคานิยมและจิตสํานึกตามที่สถานศึกษามีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของ
ความเปนไทย มีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปญญาไทย
8) พัฒนาใหนักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ และสังคม แสดงออกอยาง
เหมาะสมในแตละชวงวัย



มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลการประเมิน ดังนี้
กระบวนการบริหารและการจัดการ ร้อยละ 65.81 ประกอบด้วย การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน , มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา , ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย , พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ , จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ , และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
1. สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษานโยบายการปฏิรูปการศึกษาความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและสอดคล้องกับแนวทาง การปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ
๒. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่งข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ได้เรียนรู้
๓. สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมรับผิดชอบ
๔ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและรับทราบรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา
๕. สถานศึกษามีการนิเทศกำกับติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสมเป็นระบบและต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
5. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมาภิบาลและแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา

จุดเด่น
โรงเรียนมีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการนำเอาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เช่น ครู กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และ ผู้แทนจากชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ซึ่งส่งผลไปถึงการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี จึงทำให้โครงการต่างๆที่ออกมาเป็นไปตามความต้องการส่วนใหญ่ของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน กล่าว คือ
1. โรงเรียนมีการบริหารการจัดการอย่างเป็นระบบ
2. โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดม สมอง การประชุมกลุ่มเพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ การประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี คุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานและการจัดรายงานผลการจัดการศึกษาและโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัยในการ รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน การจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็งมีส่วน ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

1. แผนพัฒนาการศึกษาสามปี พ.ศ. 25๖1-2563
2. แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563
3. ผลการดำเนินโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, โครงการนิเทศภายใน
ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการบริหารและการจัดการที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1.โครงการสนับสนุนค่าเครื่องแบบนักเรียน อยู่ในระดับ ดี
2.โครงการสนับสนุนค่าหนังสือเรียน อยู่ในระดับ ดี
3.โครงการสนับสนุนค่าอุปกรณ์การเรียน อยู่ในระดับ ดี
4.โครงการค่าจ้างเหมาบริการ อยู่ในระดับ ดี
5.โครงการค่ารับรองและพิธีการ อยู่ในระดับ ดี
6.โครงการค่าจ้างเหมาบริการทำความสะอาด อยู่ในระดับ ดี
7.โครงการค่าวัสดุสำนักงาน อยู่ในระดับ ดี
8.โครงการค่าวัสดุงานบ้านงานครัว อยู่ในระดับ ดี
9.โครงการค่าวัสดุไฟฟ้า วิทยุและประปา อยู่ในระดับ ดี
10.โครงการค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น อยู่ในระดับ ดี
11.โครงการค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซม อยู่ในระดับ ดี
12.โครงการพัฒนาระบบควบคุมภายใน อยู่ในระดับ ดี
13โครงการพัฒนากิจกรรม๙ ส อยู่ในระดับ ดี
14.โครงการสนับสนุนค่าสาธารณูปโภค ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าบริการอินเตอร์เน็ต ค่าบริการโทรศัพท์ อยู่ในระดับ ดี
15.โครงการการซ่อมแซมอาคารเรียน อยู่ในระดับ ดี
16.โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
17.โครงการส่งเสริมการบริการเทคโนโลยีและสารสนเทศ ระบบ ADSL ระบบ WIFI อยู่ในระดับ ดี
18.โครงการพัฒนางานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับ ดี
19.โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา อยู่ในระดับ ดี
20.โครงการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) อยู่ในระดับ ดี
21.โครงการจัดทำและพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษา อยู่ในระดับ ดี
22.โครงการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ อยู่ในระดับ ดี
23.โครงการพัฒนางานโสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับ ดี

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) โครงการการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร
2) กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน
3) โครงการจัดการเรียนการสอนนักเรียนเรียนรวม
4) โครงการพัฒนาครูพัฒนาครูสูครูมืออาชีพ
5) โครงการจัดสภาพแวดลอมใหเปนแหลงเรียนรู

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมิน ดังนี้
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ร้อยละ 72.17 ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ , ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ , มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก , ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน , มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการเรียนและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา จากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครู การจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จากการดำเนินงานตามมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญซึ่ง
โรงเรียนได้วางแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในฐานะผู้สอนเพื่อนำความรู้ความเข้าใจมาส่งเสริม
และจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนได้ดำเนินงานกิจกรรมโครงการที่บรรลุเป้าหมายและผู้มี
ส่วนร่วมทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในระดับดี

จุดเด่น
กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน และครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอนโดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิดบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถปฏิบัติและบูรณาการการดำเนินชีวิตประจำวันได้จริง ใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกระบวนการบูรณาการกับการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ กล่าวสรุป
1. ครูตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน
2. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
3. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
4. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนรู้โดยการคิด ได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
5. ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรียนเรียนรู้ ครบทุกวิชาที่ทำการสอน
6. ครูมีระบบนิเทศการสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน
7. ครูมีการจัดทำ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1) จัดหลักสูตรที่ยืดหยุ่นหลากหลายตามความต้องการของผู้เรียนและชุมชน
2) จัดทำโครงการพัฒนาผู้เรียนให้สามารถค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษาด้วยตนเอง
3) กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน ICT
4) โครงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี การพัฒนาการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
5) กิจกรรมนิเทศการเรียนการสอน
6) โครงการขับเคลื่อนหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7) ควรมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้และมีการวิจัย อย่างต่อเนื่อง
8) ครูควรมีวิจัยอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
- หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
- โครงการศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่
- สถานศึกษาส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ครูทุกคนการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดหลักสูตรสถานศึกษาและพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงที่สามารถนำ
ไปจัดกิจกรรมได้จริง
-ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรียนเรียนรู้ ครบทุกวิชาที่ทำการสอน
-ครูมีระบบนิเทศการสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
-ครูมีการจัดทำ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
- ครูทุกคนมีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ที่ส่งผลให้ผู้เรียนรู้
ฝึกทักษะการแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถ ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
- ครูทุกคนมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่สอดคล้องกับสาระที่สอนมี
การใช้ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
- ครูทุกคนมีการวัดผล ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย
- ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อนำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้
- สรุปโครงการต่างๆ รูปภาพกิจกรรม

-ข้อค้นพบพิเศษ รายงานของ ที่ครูใช้จัดการเรียนรู้ ทางออนไลน์ เนื่อง สถานการณ์ โรคแพร่ระบาด ไวรัส Covid-19 ตลอดปีการศึกษา 2563 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูใช้รูปแบบ วิธีสอน สื่อการเรียนการสอนและการวัดผล ประเมินผล อย่างหลากหลาย

สื่อประกอบการสอน รายการสอนออนไลน์ แก้ปัญหา สถานการณ์ COVID 19
-สื่อไฟล์อิเล็กทรอนิกส์
- สื่อใบความรู้/ ใบงาน
-สื่อไฟล์ Porwerpoint
-ห้องเรียนออนไลน์
-ห้องแชทเพื่อติดต่อเรียนเรียนรู้สั่งงานกับนักเรียน ได้แก่
- ห้อง messenger เฟชบุ๊ค
- ห้อง Line
-สื่อประกอบการสื่อสอนที่ผู้สอน ผู้เรียน ออกแบบ ผลิตขึ้นใช้เอง
-สื่อชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ ทุกประเภทของครู
-สื่อชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ รวมทุกประเภท ที่นักเรียน ที่นักเรียนจัดทำส่ง (แบ่งเป็น เล่มรายงาน สมุดจดบันทึก ภาพวาดระบายสี ภาพเขียน ป๊อบอัพ หนังสือเล่มเล็ก แฟ้มงาน จุลสาร-แผ่นพับ แบบทดสอบ) ลงแต่ละชนิดย่อย
-นวัตกรรม งานวิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) ที่ใช้พัฒนาการเรียนการสอน
- กลุ่ม PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ที่ครูเข้าร่วมงาน
-รูปแบบการสอนที่หลากหลายที่ครูใช้สอน
-เรื่องที่มอบหมายงานให้นักเรียนไปสืบค้นทางอินเตอร์เนต เช่น แอพ Google
-โครงงานที่นักเรียนลงมือดำเนินการร่วมกันจัดทำสำเร็จ
-สื่อคลิปไฟล์ วิดีโอ ที่ครูจัดทำเอง หรือค้นคว้าจากโลกออนไลน์ เช่น You Tube มาสื่อสารให้นักเรียนได้เรียนรู้

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีตาร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
2) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านคอมพิวเตอร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
3) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
4) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อยู่ในระดับ ดี
5) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านอาหารไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
6) โครงการส่งเสริมคุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยิ้มแย้มแจ่มใส อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการพัฒนากิจกรรมวันสำคัญของชาติ อยู่ในระดับ ดี
8) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันไหว้ครู อยู่ในระดับ ดี
9) โครงการค่ายปรับพื้นฐานก่อนเรียน อยู่ในระดับ ดี
10) โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
11) โครงการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางกีฬา อยู่ในระดับ กำลังพัฒนา
13) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
14) โครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี อยู่ในระดับ ดี
15) โครงการพัฒนากิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ อยู่ในระดับ ดี
16) โครงการรักการอ่าน อยู่ในระดับ ดี
17) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
18) โครงการพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก อยู่ในระดับ ดี
19) โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียน ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
20) โครงการค่ายนาฏศิลป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการค่ายคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
22) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
23) โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน อยู่ในระดับ ดี
24) โครงการจัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
25) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี
26) โครงการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา อยู่ในระดับ ดี
27) โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้อาเซียน อยู่ในระดับ ดี
28) โครงการพัฒนา/ปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
29) โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
30) โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต อยู่ในระดับ ดี
31) โครงการพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
32) โครงการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย อยู่ในระดับ ดี
33) โครงการพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
34) โครงการพัฒนาการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
35) โครงการพัฒนาการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ อยู่ในระดับ ดี
36) โครงการพัฒนาการเรียนรู้ศิลปะ อยู่ในระดับ ดี
37) โครงการพัฒนาการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ อยู่ในระดับ ดี


แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) โครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
2) โครงการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน
3) โครงการพัฒนาการใชสื่อ เทคโนโลยี สูหองเรียน
4) โครงการสงเสริมใหครูจัดทําแผนการจัดการเรียนรูและนําไปใชจริง
5) กิจกรรมสําหรับนักเรียนที่ตองการความชวยเหลือเปนพิเศษ/นักเรียนเรียนรวมใหนักเรียนมี
ความรูสูงขึ้นตามระดับชั้น

สรุปรวม
แผนการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้น
1. ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (O-NET) ยังต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งจะต้องมีการพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
2. สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนมากขึ้น รวมทั้งควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาและการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
3. ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูผู้สอนทุกคนควรให้ข้อมูลย้อนกลับแก่
นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง จัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างหลากหลายและใช้แหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลายสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและฝึกให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้สื่อเทคโนโลยีให้มากขึ้นและพัฒนาสื่อแหล่งเรียนรู้จัดเตรียมห้องปฏิบัติการให้อยู่ในสภาพที่ดีและพร้อมใช้งานเสมอ มีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายตามสภาพจริงสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และธรรมชาติวิชา ตลอดจนควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้
4. สถานศึกษาจัดระบบให้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาดการให้ข้อมูล
ย้อนกลับแก่ครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพของนักเรียน นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู้ แต่ก็ยังขาดการติดตาม ช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายคน
5. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ICT เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
7. ส่งเสริมการเรียนสู่ความเป็นเลิศ (รายวิชา SBMLD) ได้แก่ รายวิชาดนตรีเพิ่มเติม รายวิชาอาหารไทย รายวิชาคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเพิ่มเติม เป็นต้น

แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต
1. สนับสนุนให้มีการทำวิจัยควบคู่กับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
2. ส่งเสริมการพัฒนาการจัดเรียนการสอนของครู และการสอนแบบบูรณาการ และการใช้แผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม
3. พัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น ให้นักเรียนสามารถดูผลการเรียนได้จากคอมพิวเตอร์
4. พัฒนาครูในรูปแบบที่หลากหลาย ตามสภาพความต้องการ จำเป็น ของโรงเรียนและความต้องการของครูอย่างต่อเนื่อง
5. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ICT เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
6. สนับสนุนการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่วิถีชีวิตของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนให้มากขึ้น

ความต้องการและการช่วยเหลือ
1. โรงเรียนต้องบุคลากร ในตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา (ตัวจริง) ที่ว่างเว้นเป็นเวลานาน 6 ปีแล้ว เพื่อมาขับเคลื่อนงานบริหารของโรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. เนื่องจากบุคลากรครูย้ายคืนถิ่นแล้ว 4-5 คน และยังไม่ได้คืน ทำให้โรงเรียนขาดประสิทธิภาพในงานสนับสนุนตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด หรือความต้องการของชุมชนท้องถิ่นในกิจกรรมต่างๆ ขาดแคลนครู ในสายการสอนที่ตรงกับวิชาเอก เช่น นาฎศิลป์ เกษตร คหกรรม และ ภาษาไทย เป็นต้น
3. โรงเรียนต้องการจัดใหมีโต๊ะ-เก้าอี้ นักเรียน สำหรับนั่งเรียนให้เพียงพอ เหมาะสมไม่ชำรุด และจัดหองปฏิบัติการที่เพียงพอและเหมาะสมตอการจัดการเรียนรู ยังไม่มีสารเคมี อุปกรณ์ทดลองทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ (โรงเรียนมีแต่ อาคารเรียนและห้องเรียน ที่ว่างเปล่า) ยังไม่มีโต๊ะ-เก้าสำหรับนักเรียนเป็นจำนวนมาก
4. โรงเรียนมีความต้องการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย ต้องการเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ใหม่มาแทน (เพราะเครื่องเก่าที่ชำรุดเพราะหมดอายุหลอดของการใช้งานแล้ว) คอมพิวเตอร์โน้ตบุค ระบบอินเตอร์เน็ตกระจาย WiFi ที่มีประสิทธิภาพเหมาะสม ให้บริการนักเรียนเป็นจำนวนมาก เพื่อจะได้นำมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพงานบริหาร และการจัดเรียนการสอน
5. การประสานความร่วมมือกับวิทยากรท้องถิ่นในการให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นให้แก่นักเรียน
6. การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านการวิจัยในชั้นเรียน
7. การส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองเพื่อให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้นควบคู่ไปกับการพัฒนา
ผู้เรียน


















สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม
ประจำปีการศึกษา 2563

ตามที่โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
บัดนี้ การดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรุปผลได้ดังนี้

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินภาพรวม
 กำลังพัฒนา  ปานกลาง  ดี  ดีเลิศ  ยอดเยี่ยม

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ดี
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดี

ตารางสรุปผลการประเมิน ตาม มาตรฐานและค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
...................................................
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย
เชิง
ปริมาณ
(ร้อยละ) ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน 79.91 ดี
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 75.26 ดี
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 53.71 พอใช้
๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา 74.69 ดี
๓) มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม 83.91 ดีเลิศ
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 74.39 ดี
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 74.92 ดี
๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 89.95 ดีเลิศ
๑.๒คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 84.55 ดีเลิศ
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 81.77 ดีเลิศ
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 85.52 ดีเลิศ
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 86.32 ดีเลิศ
๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 84.61 ดีเลิศ


มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย
เชิง
ปริมาณ
(ร้อยละ) ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ 65.81 ดี
๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 78.75 ดี
๒.๒มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 65.33 ดี
๒.๓ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 70.25 ดี
๒.๔พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 42.5 พอใช้
๒.๕จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคูณภาพ 60 ดี
๒.๖จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ 78 ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 72.17 ดี
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 62.31 ดี
๓.๒ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 78.26 ดี
๓.๓มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 68.11 ดี
๔.๔ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 76.81 ดี
๓.๕มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 75.36 ดี
สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา 72.63 ดี




หลักเกณฑ์พิจารณาคุณภาพ รวม ช่วงคะแนน เชิงปริมาณร้อยละ และระดับคุณภาพ
โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

ช่วงคะแนน เชิงปริมาณร้อยละ ระดับคุณภาพ
95-100 ดีเยี่ยม
80-94 ดีเลิศ
60-79 ดี
40-59 พอใช้
0-39 ปรับปรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaengnuapit, 2021-05-31 23:35:26

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

ขอมูลพื้นฐาน

ชื่อโรงเรียน โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ที่อยู 195 หมูที่ 1 ตําบลแก้งเหนือ อําเภอเขมราฐ
จังหวัดอุบลราชธานี ชื่อผูบริหารโรงเรียน (รักษาราชการแทนในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา)
ว่าที่ ร.ท.สุคนธ์ ศุภสุข (ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา) เบอรโทรศัพท 045-210-494
e-mail. [email protected] จํานวน บุคลากร ๓1 คน จําแนกเป็นผู้บริหาร 1 คน ข้าราชการครู
๒3 คน เจ้าหน้าที่อื่น ๆ 7 คน จํานวนนักเรียน รวม 373 คน

ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม จัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา มีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จํานวน 373 คน จัดทํารายงานการ ประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR)
ปีการศึกษา 2563 เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่น ๆ
ผลการประเมินตนเองในภาพรวม ทั้ง 3 มาตรฐาน ร้อยละเฉลี่ย 72.63 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
มีผลการดําเนินงาน ดังต่อไปนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มีผลการประเมิน ดังนี้
ผู้เรียนร้อยละ 79.91 มีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เช่น มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ , มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา , มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม , มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร , มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ,มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ และ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน เช่น มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด , มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย , มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย , สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้
อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ซึ่งโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา มีกิจกรรมในห้องเรียนบูรณาการทุกสาระการเรียนรู้ มีหลักสูตรท้องถิ่น (รายวิชา SBMLD) ใช้แหล่ง
เรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอก ใช้วิทยากร สื่อการสอนเทคโนโลยีที่หลากหลาย มีการกระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ต
ครอบคลุมพื้นที่เพื่อให้ครู นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ทุกเวลาและโอกาส ทำให้ผู้เรียนมีความสามารถ
คุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จากผลการสอบโอเน็ตในปีการศึกษา 2563 และผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สูงขึ้น และผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ มีผลการจัดการเรียนรู้ที่สูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา นอกจากนี้มีการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่นการเลี้ยงปลา กบ ทำแปลงผักปลอดสารพิษ ทำสวนผสม และการสหกรณ์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนรุ่นพี่สามารถเป็นพี่เลี้ยงสอนน้องได้ มีผลงานที่เกิดจากงานอาชีพ มีโครงงานแปรรูปอาหาร
การจัดการและการดำเนินกิจการสหกรณ์ร้านค้า เศรษฐกิจพอเพียง ทำให้ทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีคุณธรรมสามารถดำรงตนในสังคม และประพฤติปฏิบัติตามคำสอนของศาสนาร่วมกิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม ปฏิบัติตนในวันสำคัญต่าง ๆ เช่น ทำกระทงไปลอย ร่วมตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง กราบและไหว้ได้ถูกต้อง นอกจากนี้นักเรียนทุกคนปฏิบัติหน้าที่รักษาความสะอาดในโรงเรียนทุกวัน ชอบเล่นกีฬาทำให้สุขภาพแข็งแรง ไม่เกี่ยวข้องกับอบายมุข ได้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี ทั้งส่งผลไปถึงครอบครัวและชุมชนด้วย โดยคณะครูและทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในระดับดีทุกด้าน
จุดเด่น
สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียน
โดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี
กล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
สถานศึกษามีการสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการใช้กระบวนการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เช่น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบโครงงาน การทำงานด้วยระบบทีมเป็นกลุ่ม เพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบ รวมถึงมีทักษะในสืบค้นค้นข้อมูลผ่านแอพ Googleในมือถือ เพื่อรวบรวมข้อมูล คัดเลือกคัดสรรค์ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ในการนำไปสร้างนวัตกรรมต่างๆ เพื่อเชื่อมโยงสู่การพัฒนาวิชาชีพในอนาคต และปัจจุบัน โรงเรียนได้มีการพัฒนาห้องศูนย์การรู้ศาสตร์พระราชา ในการเรียนรู้ ระบบเศรษฐกิจพอเพียงและอื่นๆ ไว้บริการนักเรียนและชุมชน มีกลุ่มนักเรียนวงดนตรี-แตรวง-โยธวาธิต –ดนตรีสากล ที่ออกงานแสดงบริการช่วยงานโรงเรียนและชุมชน มีห้องศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐาน มีห้องสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาในโรงเรียน มีห้องเรียนคอมพิวเตอร์เพียงพอกับนักเรียนที่มีคาบเรียน มีห้องสมุดสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต และมีการสนับสนุนบริการด้านอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน โดยเพิ่มจุดบริการ wifi ในบริเวณต่างๆ ในโรงเรียน ในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนนั้น โรงเรียน มีความโดดเด่นในเรื่องกิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ กิจกรรมของสถานศึกษาพอเพียง กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็งผ่านครูที่ปรึกษา รวมถึงโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ณ วัดพิชโสภาราม ร่วมงานชุมชน เช่น ประเพณีกวนน้ำทิพย์ แห่เทียนพรรษาอำเภอเขมราฐ วันชาตกาล สรงน้ำพระรูปเหมือนหลวงพ่อใหญ่วัดพิชโสภาราม แห่ฉลองพัดยศบาลีเปรียญธรรมประโยคต่างๆ เข้าบวชถือศีลปฏิบัติธรรม และ วันสำคัญความเป็นไทยต่างๆ ซึ่งคณะครูและนักเรียนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เรื่องของการมีความสามารถในการอ่านการเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณนั้น ยังต้องมีการสนับสนุนและส่งเสริมกันอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าภาพรวมจะอยู่ในเกณฑ์ดี แต่เมื่อมองในรายละเอียดจะพบว่า ยังมีอีกหลายส่วนให้พิจารณา เช่น นักเรียนระดับ ม.ต้น บางส่วนที่ยังอ่าน เขียน และสื่อสาร รวมถึงคิดคำนวณได้ยังไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ส่วนเรื่องของการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา รวมถึงความสามารถในการสร้างนวัตกรรมนั้น ยังต้องมีการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เช่นการสอดแทรกกิจกรรมต่างๆ ที่จะส่งเสริมทักษะในด้านเหล่านี้ให้มากยิ่งขึ้น ในส่วนของความสามารถในการใช้เทคโนโลยีนั้น โรงเรียนต้องส่งเสริมการใช้อินเตอร์เน็ต wifi .ให้นักเรียนได้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ส่วนบุคคล เช่น โทรศัพท์ แทปเลต โน้ตบุค ในการสืบค้นข้อมูลแผ่นแอพ Google เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แต่สิ่งที่สำคัญที่ต้องจัดเป็นลำดับที่ 1 ในการให้ความสำคัญนอกเหนือจากทักษะในการใช้เทคโนโลยีก็คือ ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย และการเคารพสิทธิ และ ความคิดเห็นของผู้อื่นในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนจำเป็นต้องพัฒนานักเรียนซึ่งมีความแตกต่างในด้านการรับรู้ และ ในปัจจุบันยังต้องเผชิญกับปัญหาเรื่องของนักเรียนที่มีความบกพร่องในด้านต่างๆ และ ปัญหานักเรียนติดเกม ซึ่งส่งผลให้นักเรียนให้ความสนใจในด้านการเรียนลดน้อยลง ทำให้ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชิ้นงานและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ส่วนในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนนั้น ปัญหาที่ยังต้องเผชิญกับกลุ่มนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เช่น หลบเรียน หนีเรียน มาสาย แต่งกายผิดระเบียบของโรงเรียน ขับรถมอเตอร์ไชเสียงดัง ซึ่งส่งผลให้มีผลการเรียนมีปัญหา ติด 0 ร มส. ซึ่งเป็นนักเรียนกลุ่มเดิม ควรเร่งพัฒนาแก้ไขผ่านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกับผู้ปกครองของนักเรียนในรูปแบบคณะกรรมการ และเรื่องของการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียนควรให้ความสำคัญในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนเข้าใจสิทธิและหน้าที่ รวมถึงการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา สังคม และ วัฒนธรรม ทั้งในโลกแห่งความเป็นจริง และ สังคมในอินเตอร์เน็ต ให้มากยิ่งขึ้น
การจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏิบัติที่ต่อเนื่อง จริงจัง การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการ
พัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวม แต่ไม่ผ่านเกณฑ์ใน
บางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงต้องมุ่งเน้นพัฒนาต่อไป
การดำเนินงานตามมาตรฐานนี้โดยเฉพาะการวางแผนพัฒนาผู้เรียนยังไม่ชัดเจนและลงไป
ที่เป้าหมายอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ผู้เรียนบางคนยังขาดทักษะในการแก้ปัญหา บางคนขาดทักษะการ
วางแผน กระบวนการและขั้นตอนการทำงานยังไม่เกิดขึ้นและปรับเปลี่ยนวิธีการอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะใน
สถานการณ์ปัจจุบัน ยุคThailand 4.0 นักเรียนยังขาดเป้าหมาย และแรงจูงใจในการเรียน และผู้เรียนต้อง
พัฒนาทักษะการสื่อสาร โดยเฉพาะทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
- แผนการการจัดการเรียนรู้ของครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
- รายงานผลการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
- แบบบันทึกผลการจัดการเรียนการสอน(ปถ.05)
- สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประจำปีการศึกษา 2563
- ผลสอบโอเน็ต ปีการศึกษา 2563
- รายงานผลการดำเนินโครงการ
- นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู
- ผลงานครู
- ผลงานนักเรียน
- ภาพถ่ายโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
- สารสนเทศโรงเรียน, บันทึกการนิเทศ, สรุปการประเมินโครงการที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงการโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น อยู่ในระดับ ดี
2) โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอนการบริหารตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” สู่ “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” อยู่ในระดับ ดี
3) โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ อยู่ในระดับ ดี
4) โครงการส่งเสริมคุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยิ้มแย้มแจ่มใส อยู่ในระดับ ดี
5) โครงการค่ายปรับพื้นฐานก่อนเรียน อยู่ในระดับ ดี
6) โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
8) โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางกีฬา อยู่ในระดับ กำลังพัฒนา
9) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
10) โครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี อยู่ในระดับ ดี
11) โครงการพัฒนากิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการรักการอ่าน อยู่ในระดับ ดี
13) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
14) โครงการพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก อยู่ในระดับ ดี
15) โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียน ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
16) โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนตามความถนัดและความสนใจ อยู่ในระดับ ดี
17) โครงการค่ายนาฏศิลป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
18) โครงการค่ายคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
19) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
20) โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการจัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
22) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) พัฒนาใหนักเรียนมีทักษะในการอาน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณเปนไปตามเกณฑที่
โรงเรียนกําหนดในแตระดับชั้น
2) พัฒนาใหนักเรียนมีความสามารถในการคิดจําแนก แยกแยะ ใครครวญไตรตรอง พิจารณาอยาง
รอบคอบโดยใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกปญหา อยางมี
เหตุผล
3) พัฒนาใหนักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรูไดทั้งดวยตนเองและการทํางานเปนทีม
เชื่อมโยงองคความรู และประสบการณมาใชในการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ
4) พัฒนาใหนักเรียน มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา
ตนเอง และสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน อยางสรางสรรค และมีคุณธรรม
5) พัฒนาใหนักเรียน มีความกาวหนาในการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในดาน
ความรู ความเขาใจ ทักษะ กระบวนการตาง ๆ รวมทั้ง
6) พัฒนาใหนักเรียนมีความกาวหนาในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู ทักษะพื้นฐานในการ
จัดการเจตคติที่ดีพรอมที่จะศึกษาตอในระดับชั้นที่สูงขึ้น มีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ
กติกา
7) พัฒนาใหนักเรียนมีคานิยมและจิตสํานึกตามที่สถานศึกษามีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของ
ความเปนไทย มีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปญญาไทย
8) พัฒนาใหนักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ และสังคม แสดงออกอยาง
เหมาะสมในแตละชวงวัย



มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลการประเมิน ดังนี้
กระบวนการบริหารและการจัดการ ร้อยละ 65.81 ประกอบด้วย การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน , มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา , ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย , พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ , จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ , และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
1. สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษานโยบายการปฏิรูปการศึกษาความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและสอดคล้องกับแนวทาง การปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ
๒. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่งข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ได้เรียนรู้
๓. สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมรับผิดชอบ
๔ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและรับทราบรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา
๕. สถานศึกษามีการนิเทศกำกับติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสมเป็นระบบและต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
5. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมาภิบาลและแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา

จุดเด่น
โรงเรียนมีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการนำเอาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เช่น ครู กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และ ผู้แทนจากชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ซึ่งส่งผลไปถึงการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี จึงทำให้โครงการต่างๆที่ออกมาเป็นไปตามความต้องการส่วนใหญ่ของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน กล่าว คือ
1. โรงเรียนมีการบริหารการจัดการอย่างเป็นระบบ
2. โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดม สมอง การประชุมกลุ่มเพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ การประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี คุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานและการจัดรายงานผลการจัดการศึกษาและโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัยในการ รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน การจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็งมีส่วน ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

1. แผนพัฒนาการศึกษาสามปี พ.ศ. 25๖1-2563
2. แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563
3. ผลการดำเนินโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, โครงการนิเทศภายใน
ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการบริหารและการจัดการที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1.โครงการสนับสนุนค่าเครื่องแบบนักเรียน อยู่ในระดับ ดี
2.โครงการสนับสนุนค่าหนังสือเรียน อยู่ในระดับ ดี
3.โครงการสนับสนุนค่าอุปกรณ์การเรียน อยู่ในระดับ ดี
4.โครงการค่าจ้างเหมาบริการ อยู่ในระดับ ดี
5.โครงการค่ารับรองและพิธีการ อยู่ในระดับ ดี
6.โครงการค่าจ้างเหมาบริการทำความสะอาด อยู่ในระดับ ดี
7.โครงการค่าวัสดุสำนักงาน อยู่ในระดับ ดี
8.โครงการค่าวัสดุงานบ้านงานครัว อยู่ในระดับ ดี
9.โครงการค่าวัสดุไฟฟ้า วิทยุและประปา อยู่ในระดับ ดี
10.โครงการค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น อยู่ในระดับ ดี
11.โครงการค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซม อยู่ในระดับ ดี
12.โครงการพัฒนาระบบควบคุมภายใน อยู่ในระดับ ดี
13โครงการพัฒนากิจกรรม๙ ส อยู่ในระดับ ดี
14.โครงการสนับสนุนค่าสาธารณูปโภค ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าบริการอินเตอร์เน็ต ค่าบริการโทรศัพท์ อยู่ในระดับ ดี
15.โครงการการซ่อมแซมอาคารเรียน อยู่ในระดับ ดี
16.โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
17.โครงการส่งเสริมการบริการเทคโนโลยีและสารสนเทศ ระบบ ADSL ระบบ WIFI อยู่ในระดับ ดี
18.โครงการพัฒนางานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับ ดี
19.โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา อยู่ในระดับ ดี
20.โครงการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) อยู่ในระดับ ดี
21.โครงการจัดทำและพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษา อยู่ในระดับ ดี
22.โครงการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ อยู่ในระดับ ดี
23.โครงการพัฒนางานโสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับ ดี

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) โครงการการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร
2) กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน
3) โครงการจัดการเรียนการสอนนักเรียนเรียนรวม
4) โครงการพัฒนาครูพัฒนาครูสูครูมืออาชีพ
5) โครงการจัดสภาพแวดลอมใหเปนแหลงเรียนรู

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมิน ดังนี้
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ร้อยละ 72.17 ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ , ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ , มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก , ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน , มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการเรียนและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา จากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครู การจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จากการดำเนินงานตามมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญซึ่ง
โรงเรียนได้วางแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในฐานะผู้สอนเพื่อนำความรู้ความเข้าใจมาส่งเสริม
และจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนได้ดำเนินงานกิจกรรมโครงการที่บรรลุเป้าหมายและผู้มี
ส่วนร่วมทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในระดับดี

จุดเด่น
กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน และครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอนโดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิดบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถปฏิบัติและบูรณาการการดำเนินชีวิตประจำวันได้จริง ใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกระบวนการบูรณาการกับการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ กล่าวสรุป
1. ครูตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน
2. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
3. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
4. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนรู้โดยการคิด ได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
5. ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรียนเรียนรู้ ครบทุกวิชาที่ทำการสอน
6. ครูมีระบบนิเทศการสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน
7. ครูมีการจัดทำ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1) จัดหลักสูตรที่ยืดหยุ่นหลากหลายตามความต้องการของผู้เรียนและชุมชน
2) จัดทำโครงการพัฒนาผู้เรียนให้สามารถค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษาด้วยตนเอง
3) กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน ICT
4) โครงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี การพัฒนาการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
5) กิจกรรมนิเทศการเรียนการสอน
6) โครงการขับเคลื่อนหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7) ควรมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้และมีการวิจัย อย่างต่อเนื่อง
8) ครูควรมีวิจัยอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
- หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
- โครงการศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่
- สถานศึกษาส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ครูทุกคนการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดหลักสูตรสถานศึกษาและพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงที่สามารถนำ
ไปจัดกิจกรรมได้จริง
-ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรียนเรียนรู้ ครบทุกวิชาที่ทำการสอน
-ครูมีระบบนิเทศการสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
-ครูมีการจัดทำ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
- ครูทุกคนมีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ที่ส่งผลให้ผู้เรียนรู้
ฝึกทักษะการแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถ ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
- ครูทุกคนมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่สอดคล้องกับสาระที่สอนมี
การใช้ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
- ครูทุกคนมีการวัดผล ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย
- ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อนำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้
- สรุปโครงการต่างๆ รูปภาพกิจกรรม

-ข้อค้นพบพิเศษ รายงานของ ที่ครูใช้จัดการเรียนรู้ ทางออนไลน์ เนื่อง สถานการณ์ โรคแพร่ระบาด ไวรัส Covid-19 ตลอดปีการศึกษา 2563 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูใช้รูปแบบ วิธีสอน สื่อการเรียนการสอนและการวัดผล ประเมินผล อย่างหลากหลาย

สื่อประกอบการสอน รายการสอนออนไลน์ แก้ปัญหา สถานการณ์ COVID 19
-สื่อไฟล์อิเล็กทรอนิกส์
- สื่อใบความรู้/ ใบงาน
-สื่อไฟล์ Porwerpoint
-ห้องเรียนออนไลน์
-ห้องแชทเพื่อติดต่อเรียนเรียนรู้สั่งงานกับนักเรียน ได้แก่
- ห้อง messenger เฟชบุ๊ค
- ห้อง Line
-สื่อประกอบการสื่อสอนที่ผู้สอน ผู้เรียน ออกแบบ ผลิตขึ้นใช้เอง
-สื่อชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ ทุกประเภทของครู
-สื่อชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ รวมทุกประเภท ที่นักเรียน ที่นักเรียนจัดทำส่ง (แบ่งเป็น เล่มรายงาน สมุดจดบันทึก ภาพวาดระบายสี ภาพเขียน ป๊อบอัพ หนังสือเล่มเล็ก แฟ้มงาน จุลสาร-แผ่นพับ แบบทดสอบ) ลงแต่ละชนิดย่อย
-นวัตกรรม งานวิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) ที่ใช้พัฒนาการเรียนการสอน
- กลุ่ม PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ที่ครูเข้าร่วมงาน
-รูปแบบการสอนที่หลากหลายที่ครูใช้สอน
-เรื่องที่มอบหมายงานให้นักเรียนไปสืบค้นทางอินเตอร์เนต เช่น แอพ Google
-โครงงานที่นักเรียนลงมือดำเนินการร่วมกันจัดทำสำเร็จ
-สื่อคลิปไฟล์ วิดีโอ ที่ครูจัดทำเอง หรือค้นคว้าจากโลกออนไลน์ เช่น You Tube มาสื่อสารให้นักเรียนได้เรียนรู้

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีตาร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
2) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านคอมพิวเตอร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
3) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
4) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อยู่ในระดับ ดี
5) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านอาหารไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
6) โครงการส่งเสริมคุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยิ้มแย้มแจ่มใส อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการพัฒนากิจกรรมวันสำคัญของชาติ อยู่ในระดับ ดี
8) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันไหว้ครู อยู่ในระดับ ดี
9) โครงการค่ายปรับพื้นฐานก่อนเรียน อยู่ในระดับ ดี
10) โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
11) โครงการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางกีฬา อยู่ในระดับ กำลังพัฒนา
13) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
14) โครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี อยู่ในระดับ ดี
15) โครงการพัฒนากิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ อยู่ในระดับ ดี
16) โครงการรักการอ่าน อยู่ในระดับ ดี
17) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
18) โครงการพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก อยู่ในระดับ ดี
19) โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียน ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
20) โครงการค่ายนาฏศิลป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการค่ายคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
22) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
23) โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน อยู่ในระดับ ดี
24) โครงการจัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
25) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี
26) โครงการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา อยู่ในระดับ ดี
27) โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้อาเซียน อยู่ในระดับ ดี
28) โครงการพัฒนา/ปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
29) โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
30) โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต อยู่ในระดับ ดี
31) โครงการพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
32) โครงการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย อยู่ในระดับ ดี
33) โครงการพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
34) โครงการพัฒนาการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
35) โครงการพัฒนาการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ อยู่ในระดับ ดี
36) โครงการพัฒนาการเรียนรู้ศิลปะ อยู่ในระดับ ดี
37) โครงการพัฒนาการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ อยู่ในระดับ ดี


แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) โครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
2) โครงการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน
3) โครงการพัฒนาการใชสื่อ เทคโนโลยี สูหองเรียน
4) โครงการสงเสริมใหครูจัดทําแผนการจัดการเรียนรูและนําไปใชจริง
5) กิจกรรมสําหรับนักเรียนที่ตองการความชวยเหลือเปนพิเศษ/นักเรียนเรียนรวมใหนักเรียนมี
ความรูสูงขึ้นตามระดับชั้น

สรุปรวม
แผนการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้น
1. ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (O-NET) ยังต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งจะต้องมีการพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
2. สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนมากขึ้น รวมทั้งควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาและการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
3. ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูผู้สอนทุกคนควรให้ข้อมูลย้อนกลับแก่
นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง จัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างหลากหลายและใช้แหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลายสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและฝึกให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้สื่อเทคโนโลยีให้มากขึ้นและพัฒนาสื่อแหล่งเรียนรู้จัดเตรียมห้องปฏิบัติการให้อยู่ในสภาพที่ดีและพร้อมใช้งานเสมอ มีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายตามสภาพจริงสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และธรรมชาติวิชา ตลอดจนควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้
4. สถานศึกษาจัดระบบให้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาดการให้ข้อมูล
ย้อนกลับแก่ครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพของนักเรียน นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู้ แต่ก็ยังขาดการติดตาม ช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายคน
5. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ICT เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
7. ส่งเสริมการเรียนสู่ความเป็นเลิศ (รายวิชา SBMLD) ได้แก่ รายวิชาดนตรีเพิ่มเติม รายวิชาอาหารไทย รายวิชาคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเพิ่มเติม เป็นต้น

แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต
1. สนับสนุนให้มีการทำวิจัยควบคู่กับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
2. ส่งเสริมการพัฒนาการจัดเรียนการสอนของครู และการสอนแบบบูรณาการ และการใช้แผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม
3. พัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น ให้นักเรียนสามารถดูผลการเรียนได้จากคอมพิวเตอร์
4. พัฒนาครูในรูปแบบที่หลากหลาย ตามสภาพความต้องการ จำเป็น ของโรงเรียนและความต้องการของครูอย่างต่อเนื่อง
5. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ICT เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
6. สนับสนุนการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่วิถีชีวิตของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนให้มากขึ้น

ความต้องการและการช่วยเหลือ
1. โรงเรียนต้องบุคลากร ในตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา (ตัวจริง) ที่ว่างเว้นเป็นเวลานาน 6 ปีแล้ว เพื่อมาขับเคลื่อนงานบริหารของโรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. เนื่องจากบุคลากรครูย้ายคืนถิ่นแล้ว 4-5 คน และยังไม่ได้คืน ทำให้โรงเรียนขาดประสิทธิภาพในงานสนับสนุนตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด หรือความต้องการของชุมชนท้องถิ่นในกิจกรรมต่างๆ ขาดแคลนครู ในสายการสอนที่ตรงกับวิชาเอก เช่น นาฎศิลป์ เกษตร คหกรรม และ ภาษาไทย เป็นต้น
3. โรงเรียนต้องการจัดใหมีโต๊ะ-เก้าอี้ นักเรียน สำหรับนั่งเรียนให้เพียงพอ เหมาะสมไม่ชำรุด และจัดหองปฏิบัติการที่เพียงพอและเหมาะสมตอการจัดการเรียนรู ยังไม่มีสารเคมี อุปกรณ์ทดลองทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ (โรงเรียนมีแต่ อาคารเรียนและห้องเรียน ที่ว่างเปล่า) ยังไม่มีโต๊ะ-เก้าสำหรับนักเรียนเป็นจำนวนมาก
4. โรงเรียนมีความต้องการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย ต้องการเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ใหม่มาแทน (เพราะเครื่องเก่าที่ชำรุดเพราะหมดอายุหลอดของการใช้งานแล้ว) คอมพิวเตอร์โน้ตบุค ระบบอินเตอร์เน็ตกระจาย WiFi ที่มีประสิทธิภาพเหมาะสม ให้บริการนักเรียนเป็นจำนวนมาก เพื่อจะได้นำมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพงานบริหาร และการจัดเรียนการสอน
5. การประสานความร่วมมือกับวิทยากรท้องถิ่นในการให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นให้แก่นักเรียน
6. การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านการวิจัยในชั้นเรียน
7. การส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองเพื่อให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้นควบคู่ไปกับการพัฒนา
ผู้เรียน


















สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม
ประจำปีการศึกษา 2563

ตามที่โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
บัดนี้ การดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรุปผลได้ดังนี้

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินภาพรวม
 กำลังพัฒนา  ปานกลาง  ดี  ดีเลิศ  ยอดเยี่ยม

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ดี
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดี

ตารางสรุปผลการประเมิน ตาม มาตรฐานและค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
...................................................
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย
เชิง
ปริมาณ
(ร้อยละ) ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน 79.91 ดี
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 75.26 ดี
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 53.71 พอใช้
๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา 74.69 ดี
๓) มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม 83.91 ดีเลิศ
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 74.39 ดี
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 74.92 ดี
๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 89.95 ดีเลิศ
๑.๒คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 84.55 ดีเลิศ
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 81.77 ดีเลิศ
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 85.52 ดีเลิศ
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 86.32 ดีเลิศ
๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 84.61 ดีเลิศ


มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย
เชิง
ปริมาณ
(ร้อยละ) ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ 65.81 ดี
๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 78.75 ดี
๒.๒มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 65.33 ดี
๒.๓ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 70.25 ดี
๒.๔พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 42.5 พอใช้
๒.๕จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคูณภาพ 60 ดี
๒.๖จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ 78 ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 72.17 ดี
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 62.31 ดี
๓.๒ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 78.26 ดี
๓.๓มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 68.11 ดี
๔.๔ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 76.81 ดี
๓.๕มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 75.36 ดี
สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา 72.63 ดี




หลักเกณฑ์พิจารณาคุณภาพ รวม ช่วงคะแนน เชิงปริมาณร้อยละ และระดับคุณภาพ
โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

ช่วงคะแนน เชิงปริมาณร้อยละ ระดับคุณภาพ
95-100 ดีเยี่ยม
80-94 ดีเลิศ
60-79 ดี
40-59 พอใช้
0-39 ปรับปรุง

Keywords: SAR 2563,รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา,ปีการศึกษา 2563,รายงานการประเมินตนเอง,โรงเรียน,sar,2563,แก้งเหนือพิทยาคม,อุบลราชธานี,องค์การบริหารส่วนจังหวัด,sar 2563,sar2563,SAR2563,รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

บทสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร -หน้า ก -

ขอมูลพื้นฐาน

ชื่อโรงเรียน โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม ที่อยู 195 หมูท่ี 1 ตาํ บลแก้งเหนือ อําเภอเขมราฐ
จงั หวัดอบุ ลราชธานี ชือ่ ผูบรหิ ารโรงเรียน (รกั ษาราชการแทนในตาํ แหน่งผูอ้ ํานวยการสถานศกึ ษา)
ว่าท่ี ร.ท.สคุ นธ์ ศุภสขุ (ตาํ แหนง่ รองผูอ้ าํ นวยการสถานศึกษา) เบอรโทรศพั ท 045-210-494
e-mail. [email protected] จํานวน บคุ ลากร ๓1 คน จําแนกเป็นผูบ้ ริหาร 1 คน ข้าราชการครู
๒3 คน เจ้าหน้าท่อี น่ื ๆ 7 คน จาํ นวนนกั เรียน รวม 373 คน

ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

โรงเรียนแกง้ เหนอื พทิ ยาคม จดั การเรียนการสอนระดบั มัธยมศึกษา มนี กั เรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษา
ปที ี่ 1 ถงึ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 จํานวน 373 คน จัดทาํ รายงานการ ประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR)
ปกี ารศึกษา 2563 เสนอต่อหน่วยงานตน้ สังกดั และหน่วยงานอื่น ๆ

ผลการประเมินตนเองในภาพรวม ท้ัง 3 มาตรฐาน รอ้ ยละเฉล่ยี 72.63 อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี
มผี ลการดําเนนิ งาน ดังต่อไปน้ี

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น มผี ลการประเมิน ดงั นี้

ผู้เรยี นร้อยละ 79.91 มผี ลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผ้เู รียน เชน่ มคี วามสามารถในการอ่าน การ
เขียน การสือ่ สาร และการคดิ คาํ นวณ , มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปล่ยี นความคิดเห็น และแก้ปญั หา , มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม , มคี วามสามารถในการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร , มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ,มคี วามรู้ ทักษะ
พื้นฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี ่องานอาชีพ และ มคี ุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรียน เชน่ มีคณุ ลักษณะและ
คา่ นยิ มที่ดีตามท่ีสถานศึกษากาํ หนด , มีความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย , มีการยอมรบั ทีจ่ ะอยรู่ ว่ มกัน
บนความแตกตา่ งและหลากหลาย , สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม ในภาพรวมค่าเฉลีย่ ของมาตรฐานน้ี
อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ดี

สรปุ ผลการดาเนินงาน
ในด้านผลการประเมินผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการ ซงึ่ โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมตามแผนพฒั นาคุณภาพ

การศึกษา มีกจิ กรรมในห้องเรียนบรู ณาการทุกสาระการเรียนรู้ มีหลักสูตรท้องถน่ิ (รายวชิ า SBMLD) ใช้แหลง่
เรียนร้ทู ั้งภายใน ภายนอก ใชว้ ิทยากร สือ่ การสอนเทคโนโลยที หี่ ลากหลาย มกี ารกระจายสญั ญาณอนิ เตอร์เน็ต
ครอบคลุมพนื้ ทเ่ี พ่อื ให้ครู นักเรยี นได้ศึกษาค้นควา้ หาความรู้ทุกเวลาและโอกาส ทําใหผ้ ู้เรียนมคี วามสามารถ
คณุ ภาพผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสูงข้นึ จากผลการสอบโอเนต็ ในปกี ารศกึ ษา 2563 และผลสมั ฤทธิ์ทางการ
เรียนใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรูท้ ี่สูงขึน้ และผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์
เขยี นส่ือความ มีผลการจดั การเรยี นรทู้ ่สี งู ขึ้นกว่าปีท่ผี ่านมา นอกจากนมี้ ีการส่งเสรมิ ทกั ษะด้านต่าง ๆ เช่นการ
เลี้ยงปลา กบ ทําแปลงผักปลอดสารพิษ ทําสวนผสม และการสหกรณ์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง นักเรียนรุน่ พ่ีสามารถเปน็ พ่เี ลยี้ งสอนน้องได้ มผี ลงานที่เกิดจากงานอาชีพ มโี ครงงานแปรรูปอาหาร
การจัดการและการดําเนินกิจการสหกรณ์ร้านค้า เศรษฐกิจพอเพียง ทําให้ทุกคนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
ตามท่ีสถานศึกษากําหนด ผู้เรียนมีคุณธรรมสามารถดํารงตนในสังคม และประพฤติปฏิบัติตามคําสอนของ

-หน้า ข -

ศาสนาร่วมกิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม ปฏิบัติตนในวันสําคัญต่าง ๆ เช่น ทํากระทงไปลอย ร่วมตักบาตร
ข้าวสารอาหารแห้ง กราบและไหว้ได้ถูกต้อง นอกจากน้ีนักเรียนทุกคนปฏิบัติหน้าที่รักษาความสะอาดใน
โรงเรียนทกุ วัน ชอบเล่นกีฬาทําให้สุขภาพแข็งแรง ไม่เก่ียวข้องกับอบายมุข ได้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี ทั้ง
ส่งผลไปถงึ ครอบครวั และชมุ ชนด้วย โดยคณะครูและทกุ ฝ่ายมคี วามพึงพอใจในระดับดที ุกดา้ น

จดุ เด่น
สถานศึกษามกี ารวเิ คราะห์ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและได้กําหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียน
โดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
เน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคํานวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ มี
การจดั แหล่งเรยี นรู้ภายในไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มสี อื่ ดา้ นเทคโนโลยีทท่ี ันสมยั ผู้เรยี นมี สขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิตดี
กล้าแสดงออก และสามารถอย่รู ่วมกบั ผู้อื่นอยา่ งมีความสุข
สถานศึกษามีการสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
โดยเฉพาะการใช้กระบวนการการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เช่น การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนในรปู แบบโครงงาน การทํางานด้วยระบบทมี เป็นกล่มุ เพ่อื ท่จี ะส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างเป็น
ระบบ รวมถึงมีทักษะในสืบค้นค้นข้อมูลผ่านแอพ Googleในมือถือ เพ่ือรวบรวมข้อมูล คัดเลือกคัดสรรค์ คิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์ ในการนําไปสร้างนวัตกรรมต่างๆ เพื่อเชื่อมโยงสู่การพัฒนาวิชาชีพในอนาคต และ
ปัจจุบัน โรงเรียนได้มีการพัฒนาห้องศูนย์การรู้ศาสตร์พระราชา ในการเรียนรู้ ระบบเศรษฐกิจพอเพียงและ
อ่ืนๆ ไว้บริการนักเรียนและชุมชน มีกลุ่มนักเรียนวงดนตรี-แตรวง-โยธวาธิต –ดนตรีสากล ที่ออกงานแสดง
บริการช่วยงานโรงเรยี นและชุมชน มหี ้องศูนยก์ ารเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน มีห้องสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน
มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาในโรงเรียน มีห้องเรียนคอมพิวเตอร์เพียงพอกับนักเรียนท่ีมีคาบ
เรียน มีห้องสมุดสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต และมีการสนับสนุนบริการด้านอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน โดยเพ่ิมจุด
บรกิ าร wifi ในบรเิ วณตา่ งๆ ในโรงเรยี น ในด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของ ผ้เู รียนน้นั โรงเรียน มีความโดด
เดน่ ในเรอ่ื งกจิ กรรมโรงเรียนวิถพี ทุ ธ กจิ กรรมของสถานศึกษาพอเพียง กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่
เข้มแข็งผา่ นครทู ป่ี รกึ ษา รวมถงึ โครงการและกิจกรรมท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การส่งเสริมวฒั นธรรม ประเพณีท้องถ่ิน ณ
วัดพิชโสภาราม รว่ มงานชุมชน เช่น ประเพณกี วนนา้ํ ทพิ ย์ แหเ่ ทียนพรรษาอําเภอเขมราฐ วนั ชาตกาล สรงนํ้า
พระรูปเหมือนหลวงพ่อใหญ่วัดพิชโสภาราม แห่ฉลองพัดยศบาลีเปรียญธรรมประโยคต่างๆ เข้าบวชถือศีล
ปฏิบัติธรรม และ วันสาํ คญั ความเป็นไทยตา่ งๆ ซงึ่ คณะครูและนกั เรยี นใหค้ วามร่วมมือเปน็ อย่างดี
จดุ ท่ีควรพฒั นา/ข้อเสนอแนะ
ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เร่ืองของการมีความสามารถในการอ่านการเขียน การ
ส่ือสาร และการคิดคํานวณนั้น ยังต้องมีการสนับสนุนและส่งเสริมกันอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าภาพรวมจะอยู่ใน
เกณฑ์ดี แตเ่ ม่ือมองในรายละเอยี ดจะพบวา่ ยงั มีอกี หลายส่วนใหพ้ จิ ารณา เชน่ นกั เรียนระดบั ม.ต้น บางส่วนที่
ยังอ่าน เขียน และส่ือสาร รวมถึงคิดคํานวณได้ยังไม่อยู่ในเกณฑ์ท่ีดี ส่วนเร่ืองของการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ การอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ และแก้ปญั หา รวมถงึ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
นั้น ยังต้องมีการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเน่ือง เช่นการสอดแทรกกิจกรรมต่างๆ ท่ีจะส่งเสริมทักษะใน
ด้านเหล่านี้ให้มากยิ่งขึ้น ในส่วนของความสามารถในการใช้เทคโนโลยีนั้น โรงเรียนต้องส่งเสริมการใช้
อินเตอรเ์ นต็ wifi .ให้นกั เรียนได้เช่ือมต่อกับอุปกรณ์ส่วนบุคคล เช่น โทรศัพท์ แทปเลต โน้ตบุค ในการสืบค้น
ข้อมูลแผน่ แอพ Google เพอื่ ใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน แต่สิ่งที่สําคัญที่ต้องจัดเป็นลําดับที่ 1 ใน
การใหค้ วามสาํ คัญนอกเหนอื จากทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยีก็คอื ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย และ
การเคารพสทิ ธิ และ ความคดิ เห็นของผ้อู ืน่ ในการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมถึงกฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
ในด้านผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนจําเป็นต้องพัฒนานักเรียนซึ่งมีความ
แตกตา่ งในด้านการรบั รู้ และ ในปจั จบุ นั ยงั ตอ้ งเผชิญกับปัญหาเรื่องของนกั เรียนที่มีความบกพร่องในด้านต่างๆ

-หน้า ค -

และ ปัญหานักเรยี นตดิ เกม ซึง่ สง่ ผลให้นกั เรยี นใหค้ วามสนใจในด้านการเรียนลดนอ้ ยลง ทาํ ให้สง่ ผลโดยตรงต่อ
คณุ ภาพชิน้ งานและ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรียน

ส่วนในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนน้ัน ปัญหาที่ยังต้องเผชิญกับกลุ่มนักเรียนท่ีมี
พฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ เช่น หลบเรียน หนีเรียน มาสาย แต่งกายผิดระเบียบของโรงเรียน ขับรถมอเตอร์ไช
เสยี งดัง ซ่ึงสง่ ผลให้มีผลการเรยี นมปี ญั หา ติด 0 ร มส. ซ่ึงเปน็ นกั เรยี นกลุ่มเดมิ ควรเร่งพฒั นาแกไ้ ขผ่านระบบ
ดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นรว่ มกบั ผู้ปกครองของนักเรยี นในรูปแบบคณะกรรมการ และเร่ืองของการอยู่ร่วมกันบน
ความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียนควรให้ความสําคัญในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนเข้าใจสิทธิและหน้าท่ี
รวมถึงการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา สังคม และ
วัฒนธรรม ทงั้ ในโลกแห่งความเป็นจริง และ สังคมในอนิ เตอร์เน็ต ให้มากยง่ิ ขึ้น

การจัดกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏิบัติที่ต่อเนื่อง จริงจัง การยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรปู้ ระสบผลสาํ เร็จในระดับหนงึ่ นกั เรยี นส่วนใหญย่ ังตอ้ งได้รบั การ
พัฒนาตอ่ ไป ผลสมั ฤทธิ์ระดบั ชาติของนกั เรียนมแี นวโนม้ เปลี่ยนแปลงพัฒนาขนึ้ โดยรวม แต่ไมผ่ า่ นเกณฑ์ใน
บางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จงึ ต้องมุ่งเน้นพฒั นาต่อไป

การดําเนนิ งานตามมาตรฐานนี้โดยเฉพาะการวางแผนพฒั นาผู้เรยี นยงั ไม่ชัดเจนและลงไป
ที่เปา้ หมายอย่างจริงจัง และตอ่ เนอ่ื ง ผู้เรียนบางคนยงั ขาดทักษะในการแก้ปญั หา บางคนขาดทักษะการ
วางแผน กระบวนการและขน้ั ตอนการทํางานยงั ไมเ่ กิดข้นึ และปรับเปลีย่ นวิธกี ารอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะใน
สถานการณ์ปัจจุบัน ยคุ Thailand 4.0 นกั เรยี นยังขาดเปา้ หมาย และแรงจงู ใจในการเรยี น และผูเ้ รยี นต้อง
พัฒนาทักษะการส่ือสาร โดยเฉพาะทักษะการสอ่ื สารภาษาองั กฤษ

แหลง่ ข้อมลู หลกั ฐานอ้างองิ /เอกสารเชงิ ประจักษ์ที่สนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง
- แผนการการจัดการเรยี นรขู้ องครทู กุ กลุ่มสาระการเรียนรู้
- รายงานผลการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้
- แบบบนั ทกึ ผลการจัดการเรียนการสอน(ปถ.05)
- สรุปผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประจาํ ปกี ารศึกษา 2563
- ผลสอบโอเน็ต ปกี ารศกึ ษา 2563
- รายงานผลการดําเนินโครงการ
- นวตั กรรมการจัดการเรียนรขู้ องครู
- ผลงานครู
- ผลงานนกั เรยี น
- ภาพถา่ ยโครงการ/กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้
- สารสนเทศโรงเรียน, บันทึกการนิเทศ, สรุปการประเมินโครงการที่เก่ียวข้อง เช่น โครงการโรงเรียน

วิถีพทุ ธ โครงการพฒั นาศกั ยภาพการจดั การเรียนรทู้ ุกกลมุ่ สาระ โครงการสง่ เสริมประชาธิปไตยในโรงเรยี น

ประเด็นภาพความสาเร็จดา้ นคุณภาพผู้เรยี นทีส่ นับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงการโรงเรียนพอเพียงท้องถนิ่ อยู่ในระดับ ดี
2) โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอนการบริหารตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

“สถานศกึ ษาพอเพยี ง” สู่ “ศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง” อยใู่ นระดบั ดี
3) โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ อย่ใู นระดบั ดี
4) โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยมิ้ แย้มแจ่มใส อยู่ในระดบั ดี
5) โครงการค่ายปรบั พืน้ ฐานกอ่ นเรียน อยู่ในระดับ ดี

-หน้า ง -

6) โครงการสง่ เสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน อย่ใู นระดบั ดี
7) โครงการสง่ เสริมและพฒั นานักเรียนสู่ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ อยใู่ นระดับ ดี
8) โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาความเป็นเลศิ ทางกฬี า อยู่ในระดับ กําลังพฒั นา
9) โครงการพัฒนาวงดนตรโี รงเรียน อยู่ในระดบั ดี
10) โครงการพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี อยู่ในระดบั ดี
11) โครงการพัฒนากจิ กรรมผู้บําเพ็ญประโยชน์ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการรักการอา่ น อย่ใู นระดับ ดี
13) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อยูใ่ นระดับ ดี
14) โครงการพฒั นาการเรียนรู้จากแหลง่ เรยี นรูภ้ ายนอก อยูใ่ นระดับ ดี
15) โครงการปัจฉิมนิเทศนกั เรยี น ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
16) โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรยี นตามความถนัดและความสนใจ อยใู่ นระดบั ดี
17) โครงการคา่ ยนาฏศิลป์ไทย อยใู่ นระดบั ดี
18) โครงการค่ายคณิตศาสตร์ อยใู่ นระดบั ดี
19) โครงการสง่ เสรมิ กจิ กรรมวันสถาปนาโรงเรยี น อยู่ในระดบั ดี
20) โครงการสนับสนุนปจั จยั พน้ื ฐานสําหรับนกั เรียนยากจน อยู่ในระดบั ดี
21) โครงการจดั แสดงนทิ รรศการและผลงานทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
22) โครงการสง่ เสริมการจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน อยใู่ นระดับ ดี

แผนพฒั นาคณุ ภาพเพ่ือยกระดบั ใหสูงขนึ้
1) พัฒนาใหนกั เรยี นมีทักษะในการอาน การเขียน การสือ่ สาร และการคิดคาํ นวณเปนไปตามเกณฑที่

โรงเรยี นกาํ หนดในแตระดบั ชั้น
2) พัฒนาใหนกั เรียนมีความสามารถในการคิดจาํ แนก แยกแยะ ใครครวญไตรตรอง พิจารณาอยาง

รอบคอบโดยใชเหตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ มีการอภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกปญหา อยางมี
เหตุผล

3) พัฒนาใหนกั เรยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความรูไดทงั้ ดวยตนเองและการทาํ งานเปนทมี
เช่ือมโยงองคความรู และประสบการณมาใชในการสรางสรรคส่ิงใหม ๆ

4) พฒั นาใหนักเรยี น มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพอื่ พฒั นา
ตนเอง และสังคมในดานการเรยี นรู การส่ือสาร การทํางาน อยางสรางสรรค และมคี ุณธรรม

5) พัฒนาใหนักเรียน มคี วามกาวหนาในการเรยี นรูตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในดาน
ความรู ความเขาใจ ทักษะ กระบวนการตาง ๆ รวมท้ัง

6) พัฒนาใหนกั เรียนมีความกาวหนาในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู ทักษะพ้นื ฐานในการ
จัดการเจตคติท่ดี ีพรอมทจี่ ะศึกษาตอในระดับชน้ั ท่ีสงู ข้นึ มีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ
กติกา

7) พัฒนาใหนกั เรยี นมีคานยิ มและจติ สํานึกตามท่ีสถานศึกษามคี วามภมู ใิ จในทองถ่ิน เห็นคณุ คาของ
ความเปนไทย มีสวนรวมในการอนรุ กั ษวฒั นธรรมประเพณีไทยรวมทัง้ ภมู ปิ ญญาไทย

8) พัฒนาใหนกั เรยี น มีการรักษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ อารมณ และสังคม แสดงออกอยาง
เหมาะสมในแตละชวงวัย

-หนา้ จ -

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มีผลการประเมนิ ดังน้ี

กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ร้อยละ 65.81 ประกอบด้วย การมีเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และ
พันธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากําหนดชดั เจน , มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา , ดําเนินงานพัฒนา
วิชาการท่ีเนน้ คุณภาพผูเ้ รยี นรอบดา้ นตามหลกั สุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเปา้ หมาย , พัฒนาครูและบุคลกร
ใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพ , จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ ออื้ ตอ่ การจัดการเรียนร้อู ย่างมี
คุณภาพ , และจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ ใน
ภาพรวมคา่ เฉลยี่ ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี

สรุปผลการดาเนนิ งาน
1. สถานศึกษามีการกาํ หนดเป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการ

พัฒนาของสถานศึกษานโยบายการปฏริ ูปการศึกษาความต้องการของชุมชนท้องถ่ินและสอดคล้องกับแนวทาง
การปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ

๒. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาแผนปฏิบัติการประจําปีสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุก
กลุ่มเป้าหมายมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตําแหน่ง
ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นําไปประยุกต์ใช้ได้มีการดําเนินการอย่างเป็นระบบและมี
กิจกรรมจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีกระต้นุ ผู้เรยี นใหไ้ ด้เรยี นรู้

๓. สถานศึกษามกี ารปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจําปีให้สอดคล้อง
กับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาและรว่ มรับผดิ ชอบ

๔ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษาและรบั ทราบรบั ผดิ ชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา

๕. สถานศึกษามกี ารนิเทศกาํ กบั ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม
เปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ ง เปดิ โอกาสให้ผูเ้ ก่ียวขอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา

5. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมาภิ
บาลและแนวคิดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมุ่งพฒั นาผเู้ รียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา

จุดเด่น
โรงเรียนมีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการนําเอาผู้ที่เก่ียวข้องกับการศึกษา เช่น ครู กรรมการ

สถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และ ผู้แทนจากชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และ กําหนด
วิสยั ทศั น์ พันธกิจ ซ่งึ ส่งผลไปถึงการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี จึงทําให้โครงการต่างๆที่ออกมาเป็นไปตาม
ความตอ้ งการสว่ นใหญข่ องผู้ทเ่ี ก่ยี วข้องทกุ คน กลา่ ว คือ

1. โรงเรยี นมีการบรหิ ารการจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ
2. โรงเรียนได้ใช้เทคนคิ การประชมุ ทหี่ ลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมสี ่วนร่วม การประชุม
ระดม สมอง การประชมุ กลุ่มเพือ่ ให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ กาํ หนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายท่ีชดั เจน มี
การปรบั แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบตั ิ การประจาํ ปี ท่ีสอดคล้องกบั ผลการจดั การศึกษา
สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา ทมี่ ุ่งเนน้ การพฒั นาให้ผเู้ รียนมี คุณภาพ
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจดั การเรยี นรู้ได้อยา่ งมี คุณภาพ มกี าร
ดาํ เนนิ การนิเทศ กํากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล การดาํ เนินงานและการจดั รายงานผลการจัดการศึกษาและ
โรงเรียนไดใ้ ชก้ ระบวนวิจัยในการ รวบรวมขอ้ มูลเพื่อใชเ้ ป็นฐานในการวางแผนพัฒนา คุณภาพสถานศกึ ษา

จุดที่ควรพัฒนา/ขอ้ เสนอแนะ
1. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา

ผูเ้ รยี น

-หนา้ ฉ -

2. สร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือของผมู้ ีสว่ นเก่ยี วข้องใน การจดั การศึกษาของโรงเรยี นให้มีความ
เข้มแข็งมสี ่วน รว่ มรับผิดชอบต่อผลการจดั การศึกษา และการขบั เคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

แหล่งข้อมลู หลักฐานอา้ งองิ /เอกสารเชงิ ประจกั ษท์ ่ีสนับสนุนผลการประเมินตนเอง

1. แผนพัฒนาการศกึ ษาสามปี พ.ศ. 25๖1-2563
2. แผนปฏบิ ัติการประจําปกี ารศึกษา 2563
3. ผลการดําเนินโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา,
โครงการนิเทศภายใน
ประเดน็ ภาพความสาํ เร็จด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการที่สนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง

1.โครงการสนบั สนุนคา่ เครอื่ งแบบนกั เรยี น อยใู่ นระดบั ดี
2.โครงการสนบั สนนุ คา่ หนังสอื เรียน อยู่ในระดบั ดี
3.โครงการสนบั สนุนคา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น อยูใ่ นระดับ ดี
4.โครงการคา่ จ้างเหมาบริการ อย่ใู นระดบั ดี
5.โครงการค่ารับรองและพิธีการ อยู่ในระดับ ดี
6.โครงการคา่ จา้ งเหมาบรกิ ารทําความสะอาด อยู่ในระดับ ดี
7.โครงการคา่ วสั ดสุ าํ นกั งาน อยใู่ นระดบั ดี
8.โครงการคา่ วัสดุงานบา้ นงานครัว อยู่ในระดบั ดี
9.โครงการคา่ วสั ดุไฟฟ้า วิทยุและประปา อยู่ในระดบั ดี
10.โครงการค่าวสั ดุเชอื้ เพลิงและหล่อล่นื อยใู่ นระดบั ดี
11.โครงการคา่ บาํ รงุ รักษาและซ่อมแซม อยู่ในระดับ ดี
12.โครงการพัฒนาระบบควบคุมภายใน อยู่ในระดับ ดี
13โครงการพัฒนากิจกรรม๙ ส อยู่ในระดับ ดี
14.โครงการสนบั สนุนค่าสาธารณปู โภค ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าบริการอนิ เตอรเ์ น็ต
คา่ บริการโทรศัพท์ อยูใ่ นระดับ ดี
15.โครงการการซอ่ มแซมอาคารเรยี น อยู่ในระดบั ดี
16.โครงการปรบั ปรงุ ภูมิทศั น์และส่งิ แวดล้อมโรงเรียน อย่ใู นระดับ ดี
17.โครงการสง่ เสรมิ การบริการเทคโนโลยีและสารสนเทศ ระบบ ADSL ระบบ WIFI อย่ใู นระดับ ดี
18.โครงการพัฒนางานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดบั ดี
19.โครงการพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษา อย่ใู นระดับ ดี
20.โครงการบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) อยู่ในระดบั ดี
21.โครงการจดั ทาํ และพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษา อยใู่ นระดบั ดี
22.โครงการค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ อยใู่ นระดับ ดี
23.โครงการพฒั นางานโสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับ ดี

แผนพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดับใหสูงข้นึ
1) โครงการการบริหารจดั การเกีย่ วกบั งานวชิ าการ การพัฒนาหลักสูตร
2) กิจกรรมเสริมหลักสตู รที่เนนคณุ ภาพผูเรยี นรอบดาน
3) โครงการจัดการเรียนการสอนนักเรยี นเรยี นรวม
4) โครงการพัฒนาครพู ัฒนาครสู ูครูมอื อาชพี
5) โครงการจดั สภาพแวดลอมใหเปนแหลงเรียนรู

-หน้า ช -

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มผี ลการประเมิน ดงั นี้

กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สาํ คญั ร้อยละ 72.17 ประกอบดว้ ย การจดั การ
เรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนําไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ได้ , ใชส้ อ่ื เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้ , มกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชิงบวก , ตรวจสอบและ
ประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาํ ผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น , มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อน
กลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ ในภาพรวมคา่ เฉลยี่ ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี

สรุปผลการดาเนนิ งาน
นักเรียนไดร้ ับการพัฒนาคุณภาพการเรยี นและคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคต์ ามหลกั สูตรสถานศึกษา

จากการดาเนนิ งาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือพัฒนาให้ครู การจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียน
เปน็ สาคัญ จากการดาเนินงานตามมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญซ่ึง
โรงเรยี นไดว้ างแผนพัฒนาบุคลากรเพ่ือใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจในฐานะผสู้ อนเพอ่ื นาความรู้ความเข้าใจมา
สง่ เสรมิ
และจดั การเรยี นการสอนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โรงเรยี นไดด้ าเนินงานกิจกรรมโครงการที่บรรลเุ ป้าหมายและผู้มี
ส่วนร่วมทกุ ฝา่ ยมคี วามพึงพอใจในระดับดี

จดุ เดน่
กระบวนการจดั การเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงาน และครูมีความต้ังใจ มงุ่ ม่ันในการพฒั นาการสอนโดย

จดั กิจกรรมให้นักเรยี นไดเ้ รยี นร้โู ดยการคดิ บรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงทส่ี ามารถปฏิบตั ิและ
บรู ณาการการดําเนนิ ชีวิตประจาํ วันได้จริง ใช้ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนเป็นกระบวนการบรู ณาการกับการ
เรยี นการสอนในแต่ละรายวชิ า มีการใหว้ ิธกี ารและแหล่งเรียนรู้ท่หี ลากหลายใหน้ กั เรียนแสวงหาความร้จู ากส่ือ
เทคโนโลยดี ้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง นกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรยี นรู้
กล่าวสรปุ

1. ครตู ้ังใจ ม่งุ ม่นั ในการพฒั นาการสอน
2. ครจู ดั กจิ กรรมให้นักเรียนแสวงหาความร้จู ากส่อื เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเน่อื ง
3. ครใู ห้นกั เรียนมสี ว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้
4. ครจู ัดกิจกรรมใหน้ กั เรียนรโู้ ดยการคิด ได้ปฏิบตั ิจรงิ ดว้ ยวธิ กี ารและแหล่งเรียนร้ทู ีห่ ลากหลาย
5. ครมู ีการใชแ้ ผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรยี นเรยี นรู้ ครบทุกวชิ าทีท่ าํ การสอน
6. ครูมีระบบนเิ ทศการสอนแลกเปล่ียนเรยี นรู้ซง่ึ กัน
7. ครูมีการจัดทาํ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

จุดทค่ี วรพฒั นา/ขอ้ เสนอแนะ
1) จัดหลกั สูตรท่ียืดหยุ่นหลากหลายตามความต้องการของผูเ้ รยี นและชุมชน
2) จัดทาํ โครงการพัฒนาผเู้ รียนให้สามารถค้นคว้าข้อมลู จากแหล่งเรยี นร้ตู ่างๆ ท้งั ในและนอก

สถานศึกษาดว้ ยตนเอง
3) กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นร้ดู า้ น ICT
4) โครงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี การพัฒนาการเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
5) กจิ กรรมนิเทศการเรยี นการสอน
6) โครงการขบั เคล่อื นหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7) ควรมกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบสรา้ งองค์ความรู้และมกี ารวจิ ยั อย่างต่อเนอ่ื ง
8) ครูควรมวี จิ ัยอยา่ งน้อยปกี ารศกึ ษาละ 1 เรื่อง

-หนา้ ซ -
แหล่งข้อมลู หลักฐานอ้างองิ /เอกสารเชิงประจกั ษ์ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง

- หลกั สูตรสถานศกึ ษา หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
- โครงการศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่
- สถานศึกษาส่งเสริมกระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาํ คญั
- ครูทุกคนการวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนร้ตู ัวชี้วดั หลักสูตรสถานศกึ ษาและพัฒนา
แผนการจดั การเรยี นรู้ ให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริงทส่ี ามารถนาํ
ไปจัดกิจกรรมได้จริง
-ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจดั การเรียนเรยี นรู้ ครบทกุ วิชาทท่ี ําการสอน
-ครมู รี ะบบนิเทศการสอนแลกเปลีย่ นเรียนรซู้ ึ่งกนั และกนั
-ครมู ีการจดั ทํา ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)
- ครทู ุกคนมีการจดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ ทีส่ ง่ ผลใหผ้ ู้เรียนรู้
ฝกึ ทักษะการแสดงออก แสดงความคิดเหน็ สรุปองค์ความรู้ นาํ เสนอผลงาน และสามารถ ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้
- ครูทกุ คนมีการวิเคราะหผ์ ู้เรียนรายบคุ คลจดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้สอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยี
สารสนเทศ
- ครจู ดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใชแ้ หลง่ เรยี นรูใ้ นชุมชนที่สอดคล้องกับสาระท่สี อนมี
การใชค้ รูภูมปิ ัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรยี นรู้
- ครูทุกคนมีการวดั ผล ประเมินผลตามสภาพจรงิ ด้วยวิธีการทหี่ ลากหลาย
- ครูมีการทาํ วิจยั ในช้ันเรียนเพอื่ นาํ ไปใชพ้ ัฒนาการเรยี นรู้
- สรุปโครงการตา่ งๆ รูปภาพกจิ กรรม

-ขอ้ ค้นพบพิเศษ รายงานของ ทค่ี รูใช้จดั การเรียนรู้ ทางออนไลน์ เนอื่ ง สถานการณ์ โรคแพรร่ ะบาด ไวรสั

Covid-19 ตลอดปีการศกึ ษา 2563 ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั ครใู ช้
รปู แบบ วิธีสอน สื่อการเรยี นการสอนและการวัดผล ประเมินผล อย่างหลากหลาย
สอ่ื ประกอบการสอน รายการสอนออนไลน์ แก้ปัญหา สถานการณ์ COVID 19

-สอื่ ไฟล์อเิ ล็กทรอนกิ ส์
- ส่อื ใบความรู/้ ใบงาน
-สอ่ื ไฟล์ Porwerpoint
-หอ้ งเรียนออนไลน์
-หอ้ งแชทเพ่ือติดต่อเรยี นเรียนรสู้ ัง่ งานกบั นักเรยี น ได้แก่
- ห้อง messenger เฟชบ๊คุ
- ห้อง Line
-ส่ือประกอบการสอื่ สอนท่ีผ้สู อน ผู้เรยี น ออกแบบ ผลิตข้ึนใชเ้ อง
-สอ่ื ชิ้นงานสิง่ ประดษิ ฐ์ ทุกประเภทของครู
-สื่อชิ้นงาน สงิ่ ประดิษฐ์ รวมทุกประเภท ท่นี ักเรียน ทน่ี ักเรยี นจัดทาํ ส่ง (แบง่ เป็น เลม่ รายงาน
สมุดจดบันทกึ ภาพวาดระบายสี ภาพเขยี น ป๊อบอัพ หนงั สือเลม่ เล็ก แฟ้มงาน จุลสาร-แผ่นพับ
แบบทดสอบ) ลงแตล่ ะชนดิ ย่อย
-นวตั กรรม งานวิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) ทใี่ ชพ้ ัฒนาการเรยี นการสอน
- กลุม่ PLC ชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี ทีค่ รูเข้าร่วมงาน
-รปู แบบการสอนที่หลากหลายที่ครูใช้สอน
-เรือ่ งท่มี อบหมายงานให้นกั เรียนไปสืบคน้ ทางอนิ เตอรเ์ นต เช่น แอพ Google
-โครงงานทน่ี กั เรียนลงมือดําเนนิ การรว่ มกนั จดั ทําสาํ เร็จ

-หน้า ฌ -
-ส่ือคลปิ ไฟล์ วิดโี อ ทคี่ รจู ดั ทาํ เอง หรอื คน้ คว้าจากโลกออนไลน์ เช่น You Tube มาส่ือสารให้
นักเรียนไดเ้ รียนรู้
ประเด็นภาพความสาเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ที่สนบั สนุนผลการ
ประเมินตนเอง

1) โครงการสง่ เสริมความเป็นเลิศด้านกีตารร์ ะดับมัธยมศึกษาตอนตน้ อยู่ในระดบั ดี
2) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านคอมพิวเตอร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ อยใู่ นระดับ ดี
3) โครงการสง่ เสริมความเป็นเลศิ ด้านภาษาอังกฤษระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น อยใู่ นระดบั ดี
4) โครงการส่งเสริมความเปน็ เลศิ ดา้ นภาษาอังกฤษ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อย่ใู นระดบั ดี
5) โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศดา้ นอาหารไทยระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น อยใู่ นระดับ ดี
6) โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ย้มิ แย้มแจ่มใส อยใู่ นระดับ ดี
7) โครงการพฒั นากิจกรรมวันสาํ คญั ของชาติ อยู่ในระดบั ดี
8) โครงการสง่ เสริมกจิ กรรมวนั ไหว้ครู อย่ใู นระดบั ดี
9) โครงการค่ายปรับพื้นฐานก่อนเรียน อยู่ในระดบั ดี
10) โครงการส่งเสรมิ ประชาธิปไตยในโรงเรยี น อยูใ่ นระดับ ดี
11) โครงการสง่ เสริมและพฒั นานักเรยี นสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ อยใู่ นระดับ ดี
12) โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาความเป็นเลศิ ทางกีฬา อยู่ในระดบั กาํ ลังพฒั นา
13) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรยี น อยูใ่ นระดับ ดี
14) โครงการพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี อยใู่ นระดับ ดี
15) โครงการพฒั นากจิ กรรมผู้บําเพญ็ ประโยชน์ อยูใ่ นระดบั ดี
16) โครงการรกั การอา่ น อยู่ในระดบั ดี
17) โครงการคา่ ยดาราศาสตร์ อยใู่ นระดบั ดี
18) โครงการพัฒนาการเรยี นรู้จากแหล่งเรยี นร้ภู ายนอก อย่ใู นระดับ ดี
19) โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียน ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
20) โครงการค่ายนาฏศลิ ป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการคา่ ยคณิตศาสตร์ อย่ใู นระดบั ดี
22) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรยี น อยู่ในระดับ ดี
23) โครงการสนับสนนุ ปัจจยั พนื้ ฐานสาํ หรับนักเรยี นยากจน อยู่ในระดับ ดี
24) โครงการจัดแสดงนทิ รรศการและผลงานทางวชิ าการ อยใู่ นระดบั ดี
25) โครงการสง่ เสริมการจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน อยูใ่ นระดบั ดี
26) โครงการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา อย่ใู นระดบั ดี
27) โครงการพัฒนาศูนยก์ ารเรียนรอู้ าเซยี น อยูใ่ นระดบั ดี
28) โครงการพัฒนา/ปรับปรุงห้องสมุดโรงเรยี น อย่ใู นระดับ ดี
29) โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรูใ้ นโรงเรยี น อยใู่ นระดับ ดี
30) โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวี ิต อยใู่ นระดับ ดี
31) โครงการพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
32) โครงการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย อยู่ในระดับ ดี
33) โครงการพฒั นาการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ อยใู่ นระดบั ดี
34) โครงการพฒั นาการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
35) โครงการพฒั นาการเรยี นรู้สงั คมศึกษาฯ อยู่ในระดับ ดี
36) โครงการพัฒนาการเรยี นรู้ศิลปะ อยู่ในระดบั ดี
37) โครงการพฒั นาการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ อยู่ในระดบั ดี

แผนพฒั นาคณุ ภาพเพือ่ ยกระดับใหสูงข้นึ -หนา้ ญ -

1) โครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา

2) โครงการจดั การเรยี นรูแบบโครงงาน

3) โครงการพัฒนาการใชสื่อ เทคโนโลยี สหู องเรียน

4) โครงการสงเสรมิ ใหครูจัดทําแผนการจดั การเรียนรูและนาํ ไปใชจริง

5) กิจกรรมสาํ หรบั นักเรียนท่ีตองการความชวยเหลือเปนพิเศษ/นกั เรียนเรียนรวมใหนกั เรียนมี

ความรูสงู ขน้ึ ตามระดับชัน้

สรุปรวม

แผนการพฒั นาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั มาตรฐานให้สงู ขน้ึ
1. ผลสมั ฤทธิร์ ะดับชาติ (O-NET) ยังต่าํ กวา่ ระดบั ประเทศซึ่งจะต้องมีการพฒั นาด้านผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นให้มปี ระสิทธภิ าพอยา่ งต่อเนื่องเป็นประจําทุกปี
2. สถานศกึ ษาควรเปดิ โอกาสให้ผปู้ กครองได้มสี ว่ นร่วมในการเสนอความคิดเหน็ ในการจัดการศึกษา
เพือ่ พัฒนาผ้เู รยี นมากข้นึ รวมท้งั ควรสร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื กับผู้มีสว่ นเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของ
โรงเรยี นใหม้ คี วามเข้มแข็ง มีสว่ นร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษาและการขับเคลื่อนคุณภาพการจดั
การศึกษา
3. ด้านกระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสําคัญ ครูผู้สอนทกุ คนควรให้ข้อมูลยอ้ นกลบั แก่
นักเรียนทนั ทเี พอ่ื นักเรยี นนําไปใชพ้ ฒั นาตนเอง จดั กิจกรรมเนน้ ให้ผเู้ รยี นได้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คดิ สังเคราะห์อยา่ งหลากหลายและใช้แหลง่ เรียนร้ใู นการพัฒนาตนเอง จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการท่ี
หลากหลายสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชวี้ ัดตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานและฝึกให้นกั เรียนได้
คิดวเิ คราะห์หาความร้จู ากแหล่งเรยี นรสู้ อ่ื เทคโนโลยีใหม้ ากขึน้ และพัฒนาส่ือแหล่งเรียนรู้จัดเตรยี ม
หอ้ งปฏบิ ตั ิการให้อย่ใู นสภาพทด่ี แี ละพร้อมใช้งานเสมอ มีวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี นด้วยวธิ ีท่ี
หลากหลายตามสภาพจริงสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละธรรมชาตวิ ชิ า ตลอดจนควรนําภมู ิปัญญา
ทอ้ งถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นได้เรยี นรู้
4. สถานศกึ ษาจัดระบบให้ครูประเมนิ ตนเองรายบุคคลตามแผนพฒั นาตนเอง แตย่ งั ขาดการให้ข้อมูล
ย้อนกลบั แกค่ รใู นการพฒั นาตนเองในการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่อื ยกระดบั คณุ ภาพของนักเรียน นกั เรยี นมี
การประเมินตนเองในการเรยี นรู้ แตก่ ็ยังขาดการตดิ ตาม ช่วยเหลือดา้ นการเรียนรู้ของนักเรยี นเปน็ รายคน
5. ส่งเสรมิ การเรยี นรูด้ ว้ ย ICT เพื่อการเรียนรูต้ ลอดชีวิต
7. ส่งเสริมการเรยี นสู่ความเปน็ เลิศ (รายวิชา SBMLD) ได้แก่ รายวชิ าดนตรีเพมิ่ เติม รายวิชาอาหาร
ไทย รายวิชาคอมพวิ เตอร์ ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารเพ่ิมเตมิ เป็นตน้

แนวทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต
1. สนบั สนนุ ใหม้ กี ารทําวจิ ยั ควบคกู่ บั การพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง
2. สง่ เสรมิ การพัฒนาการจัดเรียนการสอนของครู และการสอนแบบบรู ณาการ และการใชแ้ ผนการ

จัดการเรียนรู้อย่างเป็นรปู ธรรม
3. พฒั นาระบบสารสนเทศเก่ียวกบั ผเู้ รียน เชน่ ให้นกั เรยี นสามารถดผู ลการเรยี นไดจ้ ากคอมพิวเตอร์
4. พัฒนาครใู นรูปแบบท่หี ลากหลาย ตามสภาพความต้องการ จาํ เปน็ ของโรงเรียนและความต้องการ

ของครอู ย่างต่อเน่ือง
5. สง่ เสรมิ การเรียนรดู้ ว้ ย ICT เพื่อการเรียนรตู้ ลอดชีวติ

-หน้า ฎ -

6. สนบั สนุนการนอ้ มนําปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงลงสู่วถิ ชี วี ติ ของนกั เรยี นและบคุ ลากรใน
โรงเรียนใหม้ ากข้นึ

ความต้องการและการชว่ ยเหลอื
1. โรงเรียนต้องบุคลากร ในตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศกึ ษา (ตัวจริง) ท่วี า่ งเวน้ เป็นเวลานาน

6 ปีแล้ว เพ่อื มาขับเคลื่อนงานบริหารของโรงเรยี นแก้งเหนือพิทยาคม ให้มีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล
2. เนอ่ื งจากบคุ ลากรครูยา้ ยคนื ถนิ่ แล้ว 4-5 คน และยังไม่ไดค้ นื ทาํ ใหโ้ รงเรียนขาดประสทิ ธภิ าพใน

งานสนับสนุนตามนโยบายของหนว่ ยงานต้นสังกดั หรือความตอ้ งการของชุมชนท้องถิน่ ในกิจกรรมตา่ งๆ ขาด
แคลนครู ในสายการสอนท่ีตรงกบั วชิ าเอก เชน่ นาฎศลิ ป์ เกษตร คหกรรม และ ภาษาไทย เปน็ ตน้

3. โรงเรียนต้องการจัดใหมโี ต๊ะ-เกา้ อ้ี นักเรยี น สาํ หรับน่ังเรียนใหเ้ พียงพอ เหมาะสมไมช่ ํารดุ และ
จัดหองปฏิบัตกิ ารทเี่ พียงพอและเหมาะสมตอการจดั การเรียนรู ยงั ไมม่ สี ารเคมี อุปกรณ์ทดลองทาง
วทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน ทจ่ี าํ เป็นตอ่ การเรยี นรู้ (โรงเรียนมีแต่ อาคารเรยี นและห้องเรียน ทีว่ า่ งเปลา่ ) ยังไม่มีโต๊ะ-
เกา้ สําหรบั นักเรียนเป็นจํานวนมาก

4. โรงเรียนมีความต้องการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศให้ทนั สมยั ต้องการเคร่ืองฉาย
โปรเจคเตอร์ใหม่มาแทน (เพราะเครื่องเก่าทช่ี าํ รุดเพราะหมดอายุหลอดของการใช้งานแล้ว) คอมพิวเตอรโ์ น้ต
บุค ระบบอนิ เตอร์เนต็ กระจาย WiFi ที่มปี ระสิทธิภาพเหมาะสม ให้บริการนักเรยี นเป็นจาํ นวนมาก เพื่อจะได้
นํามาใช้อย่างมีประสิทธภิ าพงานบรหิ าร และการจัดเรียนการสอน

5. การประสานความรว่ มมือกับวิทยากรท้องถ่ินในการใหค้ วามร้เู กย่ี วกับภูมปิ ัญญาท้องถิ่นให้แก่
นกั เรียน

6. การพฒั นาบคุ ลากรให้มคี วามรคู้ วามสามารถด้านการวจิ ัยในช้นั เรยี น
7. การสง่ เสริมสนับสนุนใหบ้ ุคลากรได้พัฒนาตนเองเพื่อให้มวี ิทยฐานะท่สี ูงข้นึ ควบคู่ไปกับการพฒั นา
ผ้เู รยี น

-หนา้ ฏ -

สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนแกง้ เหนอื พทิ ยาคม
ประจาปกี ารศึกษา 2563

ตามที่โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ได้ดําเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจําปี
การศึกษา 2563 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดย
จัดทํารายงานประจําปเี สนอต่อหน่วยงานตน้ สงั กัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพ่ือนําไปสู่
การพฒั นาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และเพ่ือรองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก

บัดนี้ การดําเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการ
ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรุปผลได้ดงั นี้

ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
สรปุ ผลการประเมินภาพรวม

 กําลงั พฒั นา  ปานกลาง  ดี  ดีเลศิ  ยอดเยีย่ ม

มาตรฐาน/ตวั บง่ ชี้ ระดบั คุณภาพ
มาตรฐานที่๑ คุณภาพของผเู้ รยี น ดี
มาตรฐานท่ี๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดี
มาตรฐานที่๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาํ คญั ดี

ตารางสรปุ ผลการประเมนิ ตาม มาตรฐานและคา่ เป้าหมายของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2563
โรงเรยี นแก้งเหนือพิทยาคม สงั กดั องค์การบริหารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี

...................................................

ระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา คา่ เป้าหมาย

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น เชงิ ระดบั
๑.๑ ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รียน ปรมิ าณ คุณภาพ
(รอ้ ยละ)
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสารและการคิดคานวณ
๒) มคี วามสามารถในการวิเคราะห์และคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปราย 79.91 ดี
แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และแก้ปัญหา
๓) มคี วามสามารในการสร้างนวตั กรรม 75.26 ดี
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร 53.71 พอใช้
๕) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา
๖) มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานและเจตคติทีด่ ีต่องานอาชีพ 74.69 ดี
๑.๒คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรยี น 83.91 ดเี ลิศ
๑) การมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มทีด่ ตี ามท่ีสถานศึกษากาหนด 74.39 ดี
๒) ความภูมใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย 74.92 ดี
๓) การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 89.95 ดเี ลิศ
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลกั ษณะจติ สงั คม 84.55 ดเี ลิศ
81.77 ดีเลศิ
85.52 ดีเลศิ
86.32 ดเี ลิศ
84.61 ดเี ลิศ

-หน้า ฐ -

มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจดั การ เชิง ระดับ
๒.๑ การมีเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพันธกจิ ที่สถานศึกษากาหนดชดั เจน ปริมาณ คุณภาพ
๒.๒มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา (ร้อยละ)
๒.๓ดาเนินงานพฒั นาวิชาการที่เนน้ คณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลกั สตุ รสถานศึกษา
และทุกกลุ่มเป้าหมาย 65.81 ดี
๒.๔พัฒนาครูและบุคลกรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี
๒.๕จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเี่ อือ้ ต่อการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ูณ 78.75 ดี
ภาพ 65.33 ดี
๒.๖จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการและการจดั การ
เรยี นรู้ 70.25 ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ 42.5 พอใช้

๓.๑ จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ 60 ดี

๓.๒ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้ 78 ดี
๓.๓มีการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก
๔.๔ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผ้เู รยี น 72.17 ดี

๓.๕มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลับเพ่อื พฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้ 62.31 ดี
78.26 ดี
สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา 68.11 ดี
76.81 ดี
75.36 ดี

72.63 ดี

หลักเกณฑ์พจิ ารณาคณุ ภาพ รวม ช่วงคะแนน เชงิ ปรมิ าณร้อยละ และระดบั คณุ ภาพ
โรงเรียนแกง้ เหนอื พิทยาคม สงั กดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี

ชว่ งคะแนน เชงิ ปริมาณรอ้ ยละ ระดบั คณุ ภาพ
95-100 ดีเยี่ยม
80-94 ดเี ลศิ
60-79 ดี
40-59 พอใช้
0-39 ปรบั ปรุง

-หน้า ฑ -

คานา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR)ปีการศึกษา 2563
ของโรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สํานักการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี ฉบับน้ี จดั ทาํ ขึน้ เพอ่ื สรุปผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
(Self-Assessment Report :SAR) ปีการศึกษา 2563 ของสถานศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาและ
ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาให้สูงขน้ึ

เน้ือหาสาระของเอกสารประกอบด้วย บทสรุปสําหรับผู้บริหาร ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการช่วยเหลือ การ
ปฏบิ ตั ิ ทเ่ี ป็นเลศิ ของสถานศกึ ษาภาคผนวก ของทัง้ 3 มาตรฐาน

โรงเรยี นแกง้ เหนือพิทยาคม ขอขอบคุณผอู้ าํ นวยการโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ค ณ ะ ค รู ผู้ ป ก ค ร อ ง ชุ ม ช น แ ล ะ ผู้ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ทุ ก ภ า ค ส่ ว น ท่ี ร่ ว ม พั ฒ น า
ร่วมประเมินคุณภาพ และร่วมจัดทํารายงานรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment
Report : SAR) ให้สมบูรณ์ครบถ้วน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูล สารสนเทศ และข้อเสนอแนะในรายงาน
ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ในการพฒั นาเพ่อื ยกระดบั คุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ใหส้ ูงข้นึ ต่อไป

โรงเรียนแกง้ เหนือพทิ ยาคม
วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

-หนา้ ฒ -

สารบญั

หนา้

บทสรปุ สําหรบั ผ้บู รหิ าร....................................................................................................................... ก

คาํ นาํ ................................................................................................................................................... ฑ

สารบัญ....................................................................................................................... ......................... ฒ

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา.......................................................................................................... 1

ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา................................................................................. 52
ส่วนท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการการช่วยเหลอื .............................................. 77
สว่ นท่ี ๔ การปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ ของสถานศึกษา..................................................................................... 84
ภาคผนวก............................................................................................................................................. 85
- หลักฐาน ข้อมูลสําคัญ เอกสารอ้างอิงต่างๆ ภาพกิจกรรมสําคัญ ที่แสดงผลงานดีเด่นของ 86
สถานศึกษา ประจําปกี ารศกึ ษา 2563

- รายงาน คะแนนผลการทดสอบ O-net ม.3 และ ม.6 ปกี ารศึกษา 2563 118

(จากเว็บไซต์ สทศ.)

- แสดงคะแนน o-net ทไี่ ด้ และคะแนนมาตรฐาน (T-Score) 131

จําแนกตามรายวชิ า ม.3 และ 6 ปกี ารศกึ ษา 2563

- รายละเอียดผลการจดั การเรียนรู้ (ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น) ปกี ารศึกษา 2563 136

สรุปภาพรวม และ สรปุ แยกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทงั้ 8 กลุ่มสาระ

-

- ประกาศ/หนังสือสําคัญ รับรองรายงานประจําปีการศึกษา 2563 โดยประธาน 166
คณะกรรมการสถานศกึ ษา

- คําส่งั แตง่ ต้ังคณะทาํ งาน และคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา 157

- คณะทํางาน 170

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนือพทิ ยาคม 1

ส่วนท่ี 1

ข้อมูลพน้ื ฐาน

๑. ขอ้ มูลทวั่ ไป
ท่ีตั้ง : โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม ตั้งอย่เู ลขที่ 195 ตาบลแก้งเหนอื อาเภอ.เขมราฐ จงั หวดั

อุบลราชธานีรหัสไปรษณีย์ 34170 โทรศัพท์ 045-210494 โทรสาร 045-210494
อีเมล: [email protected] เฟซบคุ : https://www.facebook.com/knpubon
เว็บไซต์ : http://www.kaengnuea.ac.th/

สังกัด : องค์การบริหารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี อาเภอเขมราฐ จังหวดั อบุ ลราชธานี
ประวัติพอสังเขป : โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม เดิมเปน็ สาขาของโรงเรยี นเขมราฐพิทยาคม โดย
จัดการเรยี นการสอนที่โรงเรียนบา้ นแกง้ เหนือ ตาบลแกง้ เหนอื อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ตอ่ มาได้
ยา้ ยมาก่อตั้งอาคารช่ัวคราวที่พ้ืนที่ปจั จุบนั เปน็ ทบ่ี ริจาคของนายใบ การะพันธ์ โดยมี นายสรยุทธ์ วิศษิ ฐ์ศิลป์
ผอู้ านวยการโรงเรยี นเขมราฐ พทิ ยาคม เป็นผบู้ รหิ าร และนายสรศกั ดิ์ พาดี เปน็ ผปู้ ระสานงาน ต่อมมาเมื่อ
วนั ท่ี 13 มกราคม 2536 ได้รับการประกาศใหเ้ ป็นโรงเรยี นแกง้ เหนือพิทยาคม มีนางพรรณี ขจรวิทย์
ผอู้ านวยการโรงเรียนเขมราฐพิทยาคมเปน็ ผ้บู ริหาร และในปีเดียวกัน กรมสามัญศกึ ษาได้มีคาสง่ั แต่งตงั้ ให้ นาย
พรี ะพงษ์ องั คุระษี ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการโรงเรยี นมาดารงตาแหนง่ ผู้บรหิ าร ในปี พ.ศ. 2544 นายพีระพงษ์ อังคุ
ระษี ไดย้ า้ ยไปดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการโรงเรียนปลาค้าววทิ ยานสุ รณ์ จงั หวัดอานาจเจริญ กรมสามัญศึกษา
แตง่ ตั้งนายพนมเทพ สังขะวรรณ ได้มาดารงตาแหน่งอาจารยใ์ หญใ่ นต้นปี 2545 นายพนมเทพ สงั ขะวรรณ ได้
ยา้ ยไปดารงตาแหนง่ อาจารย์ใหญโ่ รงเรยี นหนามแท่งพทิ ยาคม นายพชรพงษ์ ตรีเทพา ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการ
โรงเรียนมัธยมวดั กฎุ กษตั รยิ ์ มาดารงตาแหน่งผูบ้ ริหารจนถึงวนั ที่ 20 พฤษภาคม 2548 จากนั้นนายวชั ระ
โสมรกั ษ์ ผอู้ านวยการโรงเรียนเหล่างามพิทยาคม ยา้ ยมาดารงตาแหน่งผอู้ านวยการโรงเรยี นในวันที่ 15
มิถุนายน 2548 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 เม่ือวันท่ี 25 ธันวาคม 2552 นายวฒั นา เตชะโกมล ผ้ชู ่วย
ผู้อานวยการโรงเรียนพิบลู มังสาหาร มาดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรยี นแก้งเหนือพิทยาคม จนถงึ 2559 และ
ปจั จุบัน ว่าท่ี รท.สุคนธ์ ศภุ สขุ รองผอู้ านวยการโรงเรยี นแก้งเหนือพทิ ยาคม รักษาราชการแทนผ้อู านวยการ
โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม
การจดั การศกึ ษา : เปิดสอนตง้ั แตร่ ะดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ถงึ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6
จานวน 1๔ ห้องเรียน โรงเรยี นมเี นอื้ ที่พนื้ ที่ 31 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา
ขอ้ มูล สภาพชุมชน เศรษฐกิจ และสังคม โดยรวม

สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรยี นมีลักษณะเบาบาง มีประชากรประมาณ 6,998 คน
บรเิ วณใกลเ้ คียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ทุ่งนา, หมู่บ้าน, วดั พิชโสภาราม .อาชีพหลักของชมุ ชน คอื ทานา
สว่ นใหญน่ บั ถือศาสนาพุทธ ประเพณ/ี ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถิ่นที่เปน็ ทร่ี ูจ้ ักโดยทัว่ ไป คอื ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ,
เขา้ กรรมปฏบิ ัติธรรมกมั มัฎฐาน

ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศกึ ษา ระดบั ป.4, ป.6 , ม.3 อาชพี หลัก คอื ทานา ส่วนใหญน่ บั ถือ
ศาสนาพุทธ .สภาพฐานะทางเศรษฐกจิ /รายได้โดยเฉล่ยี ต่อครอบครัว ต่อปี 50,00 บาท

โอกาสและขอ้ จากัดของโรงเรียน
โอกาส คอื โรงเรยี นอยใู่ กลแ้ หลง่ เรยี นรวู้ ัดพชิ โสภาราม เป็นศนู ยร์ วมศรัทธามหาชนท่วั ไป ในการทา
กิจกรรมประเพณชี มุ ชน ทาบุญตลอดปี และเป็นสานักปฏิบตั ธิ รรม ฝึกอบรมเยาวชน นกั เรยี น จงึ ทาให้โรงเรยี น
ดาเนนิ งานกจิ กรรมวถิ พี ุทธ และทางานสนบั สนนุ ประสานกัน ระหวา่ ง บ้าน วดั โรงเรียน
ขอ้ จากัด คือ ผูป้ กครองนักเรียนสว่ นใหญ่ มีรายไดน้ ้อย การระดมทุนขอการสนับสนุนจงึ ทาได้น้อย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพทิ ยาคม 2

วิสยั ทศั น์
โรงเรียนแกง้ เหนอื พิทยาคม เป็นองค์กรแหง่ คุณธรรม จริยธรรม นาวิชาการ ประสานชุมชน รวมพล 9 ส.

ดาเนนิ ชวี ิตเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พันธกจิ
1. สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
2. ส่งเสรมิ พฒั นา นกั เรียน ครูและบุคลากร ดา้ นวชิ าการและเทคโนโลยี เพือ่ พฒั นากระบวนการเรยี นรู้
3. ประสานงานกับชมุ ชนเพื่อมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา
4. พฒั นากิจกรรม 9 ส.
5. ส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เปา้ ประสงค์
1. เด็กนกั เรยี นมีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
2. อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
3. นกั เรยี นสามารถใชเ้ ทคโนโลยี ประกอบในกระบวนการจัดการเรยี นรู้
4. ครูและบุคลากร สามารถใช้เทคโนโลยี ประกอบการจดั การเรียนการสอน
5. โรงเรียนและชมุ ชน ร่วมจดั การศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพได้มาตรฐาน
6. โรงเรยี นมีการพัฒนากจิ กรรม 9 ส. อย่างเป็นระบบและได้มาตรฐาน
บุคลากร ครู และนักเรยี น ดารงชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องนักเรยี น
1. มคี ุณธรรม จริยธรรม และวิสัยทัศนท์ ่ีกว้างไกล ลกึ ซ้ึง
2. มคี วามสามารถทางด้านทักษะวชิ าการ
3. เสยี สละ มุง่ ทาประโยชนต์ ่อสงั คมส่วนรวม
4. ปฏบิ ัตติ นตามหลกั พัฒนากจิ กรรม 9 ส.
5. ปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

พันธสญั ญาของโรงเรียน
รว่ มมอื สานฝัน รวมพลงั ปญั ญา
พัฒนาเด็กไทย รับใชส้ ังคม
ธารงความเป็นไทย กา้ วไกลสู่สากล

“อตั ลกั ษณ์” โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม คอื “ย้มิ แย้ม แจม่ ใส ใฝ่เรียนรู้”
“เอกลักษณ์” โรงเรียนแกง้ เหนอื พิทยาคม คอื “วัฒนธรรมดี วถิ ีพุทธเด่น”

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพทิ ยาคม 3
2. โครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี น

แผนภูมกิ ารบรหิ ารโรงเรยี นแกง้ เหนือพิทยาคม

ผู้อานวยการสถานศึกษา

คณะทีป่ รกึ ษาหลักสูตร คณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา
สมาคมผู้ปกครอง – ครู / ศิษยเ์ ก่าฯ
คณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

รองผู้อานวยการฝา่ ยบรหิ ารงานทวั่ ไป รองผอู้ านวยการบริหารงานฝ่ายวิชาการ

ผู้ช่วยฝ่ายบริหารงาน ผูช้ ่วยฝา่ ยบริหารงาน ผูช้ ว่ ยฝา่ ยบรหิ าร ผู้ชว่ ยฝา่ ยปกครอง
งบประมาณและ บรกิ ารทั่วไป งานวิชาการ และกจิ การนักเรยี น
บคุ ลากร

- งานสารบรรณ - งานอนามยั โรงเรยี น - งานพัฒนาการเรยี นการ - งานครูท่ีปรกึ ษา
- งานพัสดุ – ครภุ ัณฑ์ - งานโสตทัศนปู กรณ์ สอน - งานรกั ษาความปลอดภยั
- งานการเงิน – บญั ชี - งานโรงเรยี นกับชุมชน - งานสอื่ และนวัตกรรมทาง - งานสง่ เสริมประชาธปิ ไตย
- งานพฒั นาบคุ ลากร - งานอาคารสถานท่ี การศกึ ษา ในโรงเรียน
- งานทะเบยี นประวตั ิ และสิ่งแวดลอ้ ม - งานพฒั นาหลักสูตรและ - งานแกไ้ ขและปรับปรุง
และสถติ บิ คุ ลากร - งานสหกรณร์ า้ นคา้ ฯ งานวจิ ัยในชน้ั เรยี น พฤติกรรมนกั เรียน
- งานสวสั ดิการ - งานประชาสัมพนั ธ์ - งานทะเบียนและวัดผล - งานระเบียนวนิ ัยและ
- งานแผนงานและ - งานแหลง่ เรียนรภู้ ายใน - งานวัดผลและประเมินผล สง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะอนั พึง
สารสนเทศ และนอกสถานศกึ ษา - งานหวั หน้ากล่มุ การเรียนรู้ ประสงค์ของนกั เรยี น
- งานประเมนิ ภายใน - งานพยาบาล - งานสง่ เสริมกิจกรรมพฒั นา - งานขอ้ มูลและสถติ ินักเรยี น
ภายนอกสถานศึกษา - งานแนะแนว ผเู้ รยี น - งานระบบดแู ลและพฒั นา
- งานประกนั คุณภาพและ ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น
มาตรฐานการศึกษา
-งานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียน

นักเรยี นโรงเรยี นแก้งเหนอื พิทยาคม
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์นักเรียน ๗ คุณลกั ษณะ ๒๕ ตัวชี้วัด

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนอื พิทยาคม 4

2. ขอ้ มูลบุคลากร
2.1 ขอ้ มลู ผ้บู รหิ าร
๑) ผู้อานวยการสถานศึกษา ....( ว่าง )......(รอง.ผอ. รกั ษาราชการแทน)......................................

วุฒิการศึกษาสูงสดุ ……………………-.……………………สาขา……………………-...........................………………….……….
โทรศพั ท.์ ........................-.....................e-mail………………………………………-…….………………...................………..
ดารงตาแหนง่ ท่ีโรงเรยี นน้ตี ั้งแต่ ...........-............... จนถงึ ปัจจุบัน เป็นเวลา ...-.... ปี ...-..... เดอื น

๒) รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา(ตามมาตรฐานตาแหน่ง) จานวน .........1......... คน
ช่ือ-สกลุ วา่ ท่ี รท.สคุ นธ์ ศุภสขุ วฒุ ิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ (ศษ.ม.) สาขา
การบรหิ ารการศกึ ษา โทรศัพท์ 081-071-1342 e-mail: -
รับผดิ ชอบฝาุ ย (ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา) ...(รกั ษาราชการแทน แทน ผอ.)

2.2. ขอ้ มลู ครูและบคุ ลากรสนับสนนุ การสอน
1) ขา้ ราชการคร/ู พนกั งานครู

ท่ี ชอื่ – ชื่อสกลุ อายุ อายุ ตาแหน่ง/วิทยฐานะ วฒุ ิ วิชาเอก สอนกลมุ่ สาระ จานวนคร้ัง
ราชการ การเรยี นรู้ และช่วั โมงท่ี
เข้ารับการ
1 นายประจกั ษ์ ยนื ยง่ิ ๕1 29 ครชู านาญการพเิ ศษ วท.บ. อุตสาหกรรม การงานอาชพี พฒั นา/ปี
2 นางยวุ ดี หวังสขุ 50 26 ครูเชย่ี วชาญ ศษ.ม. บริหารการศกึ ษา สงั คมศกึ ษาฯ
3 นายสมาน เรือนเจริญ 48 22 ครชู านาญการพเิ ศษ วทิ ยาศาสตร์ 4/32
ค.บ. สังคม 9/90
4 นางมงคล จนั ทราภรณ์ ๔1 18 ครชู านาญการพเิ ศษ ศษ.ม. บริหารการศึกษา วิทยาศาสตร์ 10/120

5 นางธัญกมล ตันเมอื งปกั ๔1 17 ครูชานาญการพเิ ศษ ค.บ. ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ 10/125
กศ.ม. วทิ ยศาสตร์ศกึ ษา
6 นางสาววาสนา ใจเออ้ื 37 15 ครูชานาญการพเิ ศษ คณติ ศาสตร์ 6/80
7 นางอรวรรณ ยาตรา 40 15 ครูชานาญการพเิ ศษ (ฟิสกิ ส)์ วิทยาศาสตร์
9/90
ค.บ. ฟสิ กิ ส์ 8/76
วท.ม. วทิ ยศาสตรศ์ กึ ษา

(ฟสิ ิกส)์

ค.บ. เคมี
วท.ม. วทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา

(เคมี)

ค.บ. คณติ ศาสตร์
กศ.ม. การวจิ ยั การศกึ ษา

ค.บ. วิทยาศาสตร์ทว่ั ไป

8 นางสาวชูวิภา สาเภานนท์ 38 ๑1 ครูชานาญการ ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ 10/80

9 นายจักรกฤษณ์ สสี วุ ะ 45 ๑1 ครชู านาญการพเิ ศษ ค.บ. ศลิ ปศกึ ษา ศิลปะ 6/48
10 นางสาวสุทธมิ า ดบี ุบผา 40 ๑1 ครชู านาญการพเิ ศษ ค.บ. คณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ 6/63

11 นางจารุณี การะปกั ษ์ 39 ๑1 ครูชานาญการพเิ ศษ ค.บ. คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 9/105
ศษ.ม บริหารการศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนอื พิทยาคม 5

ท่ี ชื่อ – ชื่อสกลุ อายุ อายุ ตาแหน่ง/วิทยฐานะ วฒุ ิ วชิ าเอก สอนกลมุ่ สาระ จานวนครั้ง
12 นายวรกร สหี มอก ราชการ การเรียนรู้ และช่ัวโมงท่ี
เขา้ รบั การ
13 นางศศิธร ผาหยาด 37 ๑1 ครูชานาญการพเิ ศษ วท.บ. จุลวิทยา วทิ ยาศาสตร์ พัฒนา/ปี
14 นายเดชชาติ จนั ทราภรณ์ วท.ม. วิทยศาสตร์ศกึ ษา
15 นางสาวกาญจนา เพชรพนั ธ์ (ชวี วิทยา) ภาษาไทย 9/140

16 นายเนตินยั สายเนตร 41 ๑1 ครูชานาญการพเิ ศษ ศศ.บ. ภาษาไทย ศิลปะ 7/65
ศษ.ม บริหารการศึกษา
สงั คมศกึ ษา 7/60
๔1 ๑1 ครชู านาญการพเิ ศษ ค.บ. ดนตรี ศาสนาและ
ค.ม. บรหิ ารการศึกษา วฒั นธรรม 10/120
คณิตศาสตร์
47 ๑1 ครูชานาญการพเิ ศษ ค.บ. สงั คมศึกษา 5/40
พ.ธ.ม. บรหิ ารการศึกษา

56 ๑1 ครูชานาญการพเิ ศษ ค.บ. สถิติประยกุ ต์
ศษ.ม. การบริหารการศึกษา

17 นางปิยาภรณ์ โกศัลวติ ร 37 ๑1 ครูชานาญการพเิ ศษ ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ 9 / 120
19 นางบุษบา บารุงศลิ ป์ 43 15 ครูชานาญการ 6/75
19 นางสาวกาญจนารักษ์ หาเคน 38 ๑4 ครชู านาญการพเิ ศษ ศษ.ม. การบริหารการศึกษา 8/120
20 นางสาวอรพรรณ ศรีจันทรแ์ ดง 36 7 ครูชานาญการ 8/72
ศศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย
6/62
ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา 4/40
4/40
วท.บ. คอมพิวเตอร์ การงานอาชีพ

ศษ.ม. บริหารการศกึ ษา และเทคโนโลยี

ศศ.บ. รัฐศาสตร์ สังคมศึกษา

ศษ.ม. บรหิ ารการศึกษา ศาสนาและ

วฒั นธรรม

21 นายวศิ รุต กระมล 27 3 ครู ค.บ. คอมพิวเตอรศ์ ึกษา การงานอาชพี
๒2 นายเดชศักดด์ิ า ดวงจติ ต์ ๓9 ๑1 ครูชานาญการพเิ ศษ
และเทคโนโลยี

ค.บ. พลศึกษา สุขศึกษาและ

พละศึกษา

๒3 นายอภิวัฒน์ ปดั นา ๓5 7 ครูชานาญการ ค.บ. พลศกึ ษา สขุ ศึกษาและ
พละศึกษา

หมายเหตุ อายุ , อายรุ าชการ นบั ถึง ปี พ.ศ. 2563

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพทิ ยาคม ๔

2) พนกั งานจ้าง(ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีสอน)

อายุ สอนกลมุ่ สาระ ภาระงาน จานวนชวั่ โมง
งาน การเรียนร/ู้ ช้ัน
ท่ี ชื่อ – ชือ่ สกลุ อายุ วฒุ ิ สาขาวิชา จ้างด้วยเงิน สอน ทเ่ี ข้ารบั
(ชัว่ โมง/ การพัฒนา

สัปดาห)์ (ปปี ัจจุบัน)

- - -- - - - --

3) ขา้ ราชการ/พนกั งานจา้ ง/ลูกจ้าง (สนบั สนุนการสอน)

ท่ี ชื่อ – ช่อื สกลุ อายุ ตาแหนง่ วุฒิ สาขา ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี จ้างด้วยเงิน

๑ นายสายยา โคตรสมบัติ 58 พนกั งาน ม.3 - นกั การ งบประมาณ
-ภารโรง
บริการ
- นักการ งบประมาณ
๒ นายชัยยนต์ จันทรแ์ จง้ 53 พนักงาน ม.3 -ภารโรง

บรกิ าร - แม่บา้ น งบประมาณ

3 นางอรทัย พาดี 53 คนงานบริการ ม.6

4 นางคาเบย สาวรยี ์ 55 คนงานบรกิ าร ม.3 - แม่บ้าน งบประมาณ

5 นางสาวกฤษณา ตน้ วงษ์ 36 พนกั งานจา้ ง บธ.บ. การตลาด ผูช้ ว่ ยฯงาน งบประมาณ
6 นายธนกฤต กอทอง ตามภารกจิ วท.บ. พัสดุ งบประมาณ
เทคโนโลยี
36 พนักงานจ้าง สารสนเทศ ผู้ชว่ ยฯ งบประมาณ
ตามภารกจิ งานสาร
บญั ชี บรรณ
7 นางสาวสตุ ศินี ออ่ นสงิ ห์ 44 พนักงานจา้ ง ศศ.บ.
ตามภารกิจ ผชู้ ่วยฯ
งานการเงิน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม ๕

สรปุ จานวนบุคลากร

1) จานวนบุคลากรจาแนกตามประเภท/ตาแหน่ง และวฒุ ิการศึกษา

ประเภท/ตาแหนง่ จานวนบุคลากร (คน) รวม

ต่ากว่า ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก 1
ปริญญาตรี -
- 1
1. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา - - - - 1
- 23
- ผอู้ านวยการ --- - 23
- -
- รองผู้อานวยการ - -1 - -
- 23
รวม - - 1 - 7
- 3
2. สายงานการสอน --- - 2
- 2
- ขา้ ราชการ/พนกั งานครู - 4 19 -
- 7
- พนกั งานจ้าง(สอน) - - - 31
-
- อื่นๆ (ระบุ) --- -

รวม - 4 19

3. สายงานสนับสนุนการสอน - --

- พนกั งานจ้างตามภารกจิ - 3 -

- พนกั งานจ้างท่วั ไป 2 - -

- ลกู จ้างประจา 2- -

- อ่ืนๆ (ระบ)ุ

รวม 4 3 -

รวมทัง้ ส้ิน 4 7 20

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นแกง้ เหนอื พิทยาคม ๖

แผนภูมิแสดงร้อยละ องวฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ องบุคลากร

0.00%12.90%

22.58% ตา่ กวา่ ปริญญาตรี
ปริญญาตรี
64.52% ปรญิ ญาโท
ปริญญาเอก

แผนภูมิแสดงร้อยละ องบคุ ลากรจาแนกตามประเภทตาแหนง่

3.23%

22.58%

ผู้บริหารสถานศกึ ษา
สายงานการสอน
สายงานสนบั สนุนการสอน

74.19%

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม ๗

2) จานวนครูจาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน คดิ เป็นรอ้ ยละ จานวนชัว่ โมงสอนเฉลี่ย
ชัว่ โมง/สัปดาห์
ภาษาไทย 2 9.09
คณติ ศาสตร์ 4 18.18 ของครภู ายในกลุ่มสาระฯ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 30.43 20
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 13.64 21
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๒ 9.09 23
ศิลปะ 2 9.09 20
การงานอาชพี 1 4.34 23
ภาษาต่างประเทศ ๒ 9.09 19
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 0.00 20
รวมครผู ูส้ อนทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 23 100 21
-
167

แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละของบลุ ากรจาแนกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้
35 30.43
30

25 13.64
20 18.18
15 9.09 9.09 9.09 9.09
10
5 4.34
0
0

ภา า ย ติ าสตร
ิ ยา าสตรและเ โนโลยี สง ม ึก า าสนา และ น รรม
สขุ กึ าและ ล ึก า ลิ ปะ
การงานอา ี ภา าตา่ งประเ
กจิ กรรม นาผูเ้ รียน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนอื พิทยาคม ๘

4. ขอ้ มูลนักเรยี น และผู้สาเรจ็ การศึกษา
1) ข้อมูลนกั เรยี น

1.1) จานวนนักเรยี นในโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2563 ทั้งหมด 373 คน
จาแนกตามระดับชัน้ ท่ีเปดิ สอน

ระดบั ช้นั เรยี น จานวนหอ้ ง เพศ รวม จานวนเฉลีย่
ชาย หญงิ
ต่อหอ้ ง
ม.๑ 3 38 48 86
28.67
ม.๒ 2 33 37 70 35.00
28.00
ม.๓ 3 39 45 84 28.50
22.50
ม.๔ 2 26 31 57 15.50
26.64
ม.๕ 2 13 32 45

ม.๖ 2 15 16 31

รวมท้ังสนิ้ 14 164 209 373

จานวนเดก็ พิเศษในโรงเรยี น ชาย......-...คน หญิง.......-.....คน รวม จานวน......-......คน

อตั ราส่วน ครู ต่อ นกั เรียน ระดบั มัธยมศึกษา = 23 : 373= 1 : 16  เป็นไปตามเกณฑ์

อตั ราส่วน ห้องเรยี น ต่อ นักเรยี น= 14 : 373 = 1 : 27

จานวนครู ครบทกุ ชัน้ เรยี น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแกง้ เหนือพิทยาคม ๙

1.2) จานวนนกั เรยี น เปรยี บเทยี บ 3 ปีการศกึ ษาย้อนหลัง ปีการศึกษา 2561 - 2563

มัธยม 3 เปรยี บเทียบจานวนนักเรียนระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น
มัธยม 2 ปการศึกษา 2561 - 2563
มธั ยม 1
ป กศ ป กศ ป กศ
84

76
64

70
86

83

86
68

92

มัธยม 6 เปรียบเทยี บจานวนนกั เรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
มัธยม 5 ปการศกึ ษา 2561 - 2563
มธั ยม 4
ป กศ ป กศ ป กศ
31
49
37

45
32

49

57

45
34

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแกง้ เหนือพิทยาคม ๑๐

1.3) ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นในระดับสถานศึกษา

ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
สรปุ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563

จานวน จานวนนักเรยี นทไ่ี ดผ้ ลการเรยี น ผลการ S.D. นักเรยี น นัก เรยี นที่ได้ 3 ขน้ึ ไป
นักเรียน 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 4 รวม เรยี น ที่ได้
เฉลยี่
ร จานวน รอ้ ยละ
ภาษาไทย 432 84 107 129 37 32 10 7 24 430 2.97 0.69 2.00 320 74.07

คณติ ศาสตร์ 509 23 47 77 117 82 77 46 38 507 2.18 0.80 2.00 147 28.88

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนฯ 1,016 332 106 159 143 89 48 49 83 1,009 2.81 0.91 7.00 597 58.76

สงั คมศกึ ษาฯ 1,032 234 120 215 167 140 45 63 45 1,029 2.75 0.88 3.00 569 55.14

สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 775 636 69 22 19 7 5 10 7 775 3.78 0.52 0.00 727 93.81

ศลิ ปะ 522 318 43 27 41 53 10 21 9 522 3.35 0.89 0.00 388 74.33

การงานอาชพี 476 263 37 76 6 68 15 3 8 476 3.33 0.82 0.00 376 78.99

ภาษาตา่ งประเทศ 623 120 50 93 115 107 35 73 29 622 2.51 0.96 1.00 263 42.22

รวม 4,287 2,010 579 798 645 578 245 272 243 4,272 3.71 1.23 15 3,387 79.01

รอ้ ยละ 100 46.89 13.51 18.61 15.05 13.48 5.71 6.34 5.67 99.65 0.35 79

รอ้ ยละของนกั เรยี น 79
ผลการเรียนระดบั ดี (3) ขึน้ ไป 41
6
ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า (1) ถึง
คอ่ นข้างดี (2.5)

ไมผ่ ่านการประเมนิ (0,ร)

แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละ องระดบั ผลสมั ฤทธิทางการเรยี นรวมทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู้
ระดับมธั ยมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563

5%

32%
63%

ผลการเรยี นระดับดี ข้นึ ไป ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต่า ถึงค่อนขา้ งดี ไมผ่ ่านการประเมนิ ร












































Click to View FlipBook Version