The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

ขอมูลพื้นฐาน

ชื่อโรงเรียน โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ที่อยู 195 หมูที่ 1 ตําบลแก้งเหนือ อําเภอเขมราฐ
จังหวัดอุบลราชธานี ชื่อผูบริหารโรงเรียน (รักษาราชการแทนในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา)
ว่าที่ ร.ท.สุคนธ์ ศุภสุข (ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา) เบอรโทรศัพท 045-210-494
e-mail. [email protected] จํานวน บุคลากร ๓1 คน จําแนกเป็นผู้บริหาร 1 คน ข้าราชการครู
๒3 คน เจ้าหน้าที่อื่น ๆ 7 คน จํานวนนักเรียน รวม 373 คน

ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม จัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา มีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จํานวน 373 คน จัดทํารายงานการ ประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR)
ปีการศึกษา 2563 เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่น ๆ
ผลการประเมินตนเองในภาพรวม ทั้ง 3 มาตรฐาน ร้อยละเฉลี่ย 72.63 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
มีผลการดําเนินงาน ดังต่อไปนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มีผลการประเมิน ดังนี้
ผู้เรียนร้อยละ 79.91 มีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เช่น มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ , มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา , มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม , มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร , มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ,มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ และ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน เช่น มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด , มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย , มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย , สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้
อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ซึ่งโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา มีกิจกรรมในห้องเรียนบูรณาการทุกสาระการเรียนรู้ มีหลักสูตรท้องถิ่น (รายวิชา SBMLD) ใช้แหล่ง
เรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอก ใช้วิทยากร สื่อการสอนเทคโนโลยีที่หลากหลาย มีการกระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ต
ครอบคลุมพื้นที่เพื่อให้ครู นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ทุกเวลาและโอกาส ทำให้ผู้เรียนมีความสามารถ
คุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จากผลการสอบโอเน็ตในปีการศึกษา 2563 และผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สูงขึ้น และผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ มีผลการจัดการเรียนรู้ที่สูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา นอกจากนี้มีการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่นการเลี้ยงปลา กบ ทำแปลงผักปลอดสารพิษ ทำสวนผสม และการสหกรณ์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนรุ่นพี่สามารถเป็นพี่เลี้ยงสอนน้องได้ มีผลงานที่เกิดจากงานอาชีพ มีโครงงานแปรรูปอาหาร
การจัดการและการดำเนินกิจการสหกรณ์ร้านค้า เศรษฐกิจพอเพียง ทำให้ทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีคุณธรรมสามารถดำรงตนในสังคม และประพฤติปฏิบัติตามคำสอนของศาสนาร่วมกิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม ปฏิบัติตนในวันสำคัญต่าง ๆ เช่น ทำกระทงไปลอย ร่วมตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง กราบและไหว้ได้ถูกต้อง นอกจากนี้นักเรียนทุกคนปฏิบัติหน้าที่รักษาความสะอาดในโรงเรียนทุกวัน ชอบเล่นกีฬาทำให้สุขภาพแข็งแรง ไม่เกี่ยวข้องกับอบายมุข ได้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี ทั้งส่งผลไปถึงครอบครัวและชุมชนด้วย โดยคณะครูและทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในระดับดีทุกด้าน
จุดเด่น
สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียน
โดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี
กล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
สถานศึกษามีการสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการใช้กระบวนการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เช่น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบโครงงาน การทำงานด้วยระบบทีมเป็นกลุ่ม เพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบ รวมถึงมีทักษะในสืบค้นค้นข้อมูลผ่านแอพ Googleในมือถือ เพื่อรวบรวมข้อมูล คัดเลือกคัดสรรค์ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ในการนำไปสร้างนวัตกรรมต่างๆ เพื่อเชื่อมโยงสู่การพัฒนาวิชาชีพในอนาคต และปัจจุบัน โรงเรียนได้มีการพัฒนาห้องศูนย์การรู้ศาสตร์พระราชา ในการเรียนรู้ ระบบเศรษฐกิจพอเพียงและอื่นๆ ไว้บริการนักเรียนและชุมชน มีกลุ่มนักเรียนวงดนตรี-แตรวง-โยธวาธิต –ดนตรีสากล ที่ออกงานแสดงบริการช่วยงานโรงเรียนและชุมชน มีห้องศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐาน มีห้องสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาในโรงเรียน มีห้องเรียนคอมพิวเตอร์เพียงพอกับนักเรียนที่มีคาบเรียน มีห้องสมุดสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต และมีการสนับสนุนบริการด้านอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน โดยเพิ่มจุดบริการ wifi ในบริเวณต่างๆ ในโรงเรียน ในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนนั้น โรงเรียน มีความโดดเด่นในเรื่องกิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ กิจกรรมของสถานศึกษาพอเพียง กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็งผ่านครูที่ปรึกษา รวมถึงโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ณ วัดพิชโสภาราม ร่วมงานชุมชน เช่น ประเพณีกวนน้ำทิพย์ แห่เทียนพรรษาอำเภอเขมราฐ วันชาตกาล สรงน้ำพระรูปเหมือนหลวงพ่อใหญ่วัดพิชโสภาราม แห่ฉลองพัดยศบาลีเปรียญธรรมประโยคต่างๆ เข้าบวชถือศีลปฏิบัติธรรม และ วันสำคัญความเป็นไทยต่างๆ ซึ่งคณะครูและนักเรียนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เรื่องของการมีความสามารถในการอ่านการเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณนั้น ยังต้องมีการสนับสนุนและส่งเสริมกันอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าภาพรวมจะอยู่ในเกณฑ์ดี แต่เมื่อมองในรายละเอียดจะพบว่า ยังมีอีกหลายส่วนให้พิจารณา เช่น นักเรียนระดับ ม.ต้น บางส่วนที่ยังอ่าน เขียน และสื่อสาร รวมถึงคิดคำนวณได้ยังไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ส่วนเรื่องของการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา รวมถึงความสามารถในการสร้างนวัตกรรมนั้น ยังต้องมีการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เช่นการสอดแทรกกิจกรรมต่างๆ ที่จะส่งเสริมทักษะในด้านเหล่านี้ให้มากยิ่งขึ้น ในส่วนของความสามารถในการใช้เทคโนโลยีนั้น โรงเรียนต้องส่งเสริมการใช้อินเตอร์เน็ต wifi .ให้นักเรียนได้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ส่วนบุคคล เช่น โทรศัพท์ แทปเลต โน้ตบุค ในการสืบค้นข้อมูลแผ่นแอพ Google เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แต่สิ่งที่สำคัญที่ต้องจัดเป็นลำดับที่ 1 ในการให้ความสำคัญนอกเหนือจากทักษะในการใช้เทคโนโลยีก็คือ ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย และการเคารพสิทธิ และ ความคิดเห็นของผู้อื่นในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนจำเป็นต้องพัฒนานักเรียนซึ่งมีความแตกต่างในด้านการรับรู้ และ ในปัจจุบันยังต้องเผชิญกับปัญหาเรื่องของนักเรียนที่มีความบกพร่องในด้านต่างๆ และ ปัญหานักเรียนติดเกม ซึ่งส่งผลให้นักเรียนให้ความสนใจในด้านการเรียนลดน้อยลง ทำให้ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชิ้นงานและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ส่วนในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนนั้น ปัญหาที่ยังต้องเผชิญกับกลุ่มนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เช่น หลบเรียน หนีเรียน มาสาย แต่งกายผิดระเบียบของโรงเรียน ขับรถมอเตอร์ไชเสียงดัง ซึ่งส่งผลให้มีผลการเรียนมีปัญหา ติด 0 ร มส. ซึ่งเป็นนักเรียนกลุ่มเดิม ควรเร่งพัฒนาแก้ไขผ่านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกับผู้ปกครองของนักเรียนในรูปแบบคณะกรรมการ และเรื่องของการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียนควรให้ความสำคัญในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนเข้าใจสิทธิและหน้าที่ รวมถึงการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา สังคม และ วัฒนธรรม ทั้งในโลกแห่งความเป็นจริง และ สังคมในอินเตอร์เน็ต ให้มากยิ่งขึ้น
การจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏิบัติที่ต่อเนื่อง จริงจัง การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการ
พัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวม แต่ไม่ผ่านเกณฑ์ใน
บางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงต้องมุ่งเน้นพัฒนาต่อไป
การดำเนินงานตามมาตรฐานนี้โดยเฉพาะการวางแผนพัฒนาผู้เรียนยังไม่ชัดเจนและลงไป
ที่เป้าหมายอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ผู้เรียนบางคนยังขาดทักษะในการแก้ปัญหา บางคนขาดทักษะการ
วางแผน กระบวนการและขั้นตอนการทำงานยังไม่เกิดขึ้นและปรับเปลี่ยนวิธีการอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะใน
สถานการณ์ปัจจุบัน ยุคThailand 4.0 นักเรียนยังขาดเป้าหมาย และแรงจูงใจในการเรียน และผู้เรียนต้อง
พัฒนาทักษะการสื่อสาร โดยเฉพาะทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
- แผนการการจัดการเรียนรู้ของครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
- รายงานผลการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
- แบบบันทึกผลการจัดการเรียนการสอน(ปถ.05)
- สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประจำปีการศึกษา 2563
- ผลสอบโอเน็ต ปีการศึกษา 2563
- รายงานผลการดำเนินโครงการ
- นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู
- ผลงานครู
- ผลงานนักเรียน
- ภาพถ่ายโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
- สารสนเทศโรงเรียน, บันทึกการนิเทศ, สรุปการประเมินโครงการที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงการโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น อยู่ในระดับ ดี
2) โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอนการบริหารตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” สู่ “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” อยู่ในระดับ ดี
3) โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ อยู่ในระดับ ดี
4) โครงการส่งเสริมคุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยิ้มแย้มแจ่มใส อยู่ในระดับ ดี
5) โครงการค่ายปรับพื้นฐานก่อนเรียน อยู่ในระดับ ดี
6) โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
8) โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางกีฬา อยู่ในระดับ กำลังพัฒนา
9) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
10) โครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี อยู่ในระดับ ดี
11) โครงการพัฒนากิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการรักการอ่าน อยู่ในระดับ ดี
13) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
14) โครงการพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก อยู่ในระดับ ดี
15) โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียน ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
16) โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนตามความถนัดและความสนใจ อยู่ในระดับ ดี
17) โครงการค่ายนาฏศิลป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
18) โครงการค่ายคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
19) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
20) โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการจัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
22) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) พัฒนาใหนักเรียนมีทักษะในการอาน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณเปนไปตามเกณฑที่
โรงเรียนกําหนดในแตระดับชั้น
2) พัฒนาใหนักเรียนมีความสามารถในการคิดจําแนก แยกแยะ ใครครวญไตรตรอง พิจารณาอยาง
รอบคอบโดยใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกปญหา อยางมี
เหตุผล
3) พัฒนาใหนักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรูไดทั้งดวยตนเองและการทํางานเปนทีม
เชื่อมโยงองคความรู และประสบการณมาใชในการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ
4) พัฒนาใหนักเรียน มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา
ตนเอง และสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน อยางสรางสรรค และมีคุณธรรม
5) พัฒนาใหนักเรียน มีความกาวหนาในการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในดาน
ความรู ความเขาใจ ทักษะ กระบวนการตาง ๆ รวมทั้ง
6) พัฒนาใหนักเรียนมีความกาวหนาในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู ทักษะพื้นฐานในการ
จัดการเจตคติที่ดีพรอมที่จะศึกษาตอในระดับชั้นที่สูงขึ้น มีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ
กติกา
7) พัฒนาใหนักเรียนมีคานิยมและจิตสํานึกตามที่สถานศึกษามีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของ
ความเปนไทย มีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปญญาไทย
8) พัฒนาใหนักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ และสังคม แสดงออกอยาง
เหมาะสมในแตละชวงวัย



มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลการประเมิน ดังนี้
กระบวนการบริหารและการจัดการ ร้อยละ 65.81 ประกอบด้วย การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน , มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา , ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย , พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ , จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ , และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
1. สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษานโยบายการปฏิรูปการศึกษาความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและสอดคล้องกับแนวทาง การปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ
๒. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่งข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ได้เรียนรู้
๓. สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมรับผิดชอบ
๔ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและรับทราบรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา
๕. สถานศึกษามีการนิเทศกำกับติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสมเป็นระบบและต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
5. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมาภิบาลและแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา

จุดเด่น
โรงเรียนมีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการนำเอาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เช่น ครู กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และ ผู้แทนจากชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ซึ่งส่งผลไปถึงการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี จึงทำให้โครงการต่างๆที่ออกมาเป็นไปตามความต้องการส่วนใหญ่ของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน กล่าว คือ
1. โรงเรียนมีการบริหารการจัดการอย่างเป็นระบบ
2. โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดม สมอง การประชุมกลุ่มเพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ การประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี คุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานและการจัดรายงานผลการจัดการศึกษาและโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัยในการ รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน การจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็งมีส่วน ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

1. แผนพัฒนาการศึกษาสามปี พ.ศ. 25๖1-2563
2. แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563
3. ผลการดำเนินโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, โครงการนิเทศภายใน
ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการบริหารและการจัดการที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1.โครงการสนับสนุนค่าเครื่องแบบนักเรียน อยู่ในระดับ ดี
2.โครงการสนับสนุนค่าหนังสือเรียน อยู่ในระดับ ดี
3.โครงการสนับสนุนค่าอุปกรณ์การเรียน อยู่ในระดับ ดี
4.โครงการค่าจ้างเหมาบริการ อยู่ในระดับ ดี
5.โครงการค่ารับรองและพิธีการ อยู่ในระดับ ดี
6.โครงการค่าจ้างเหมาบริการทำความสะอาด อยู่ในระดับ ดี
7.โครงการค่าวัสดุสำนักงาน อยู่ในระดับ ดี
8.โครงการค่าวัสดุงานบ้านงานครัว อยู่ในระดับ ดี
9.โครงการค่าวัสดุไฟฟ้า วิทยุและประปา อยู่ในระดับ ดี
10.โครงการค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น อยู่ในระดับ ดี
11.โครงการค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซม อยู่ในระดับ ดี
12.โครงการพัฒนาระบบควบคุมภายใน อยู่ในระดับ ดี
13โครงการพัฒนากิจกรรม๙ ส อยู่ในระดับ ดี
14.โครงการสนับสนุนค่าสาธารณูปโภค ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าบริการอินเตอร์เน็ต ค่าบริการโทรศัพท์ อยู่ในระดับ ดี
15.โครงการการซ่อมแซมอาคารเรียน อยู่ในระดับ ดี
16.โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
17.โครงการส่งเสริมการบริการเทคโนโลยีและสารสนเทศ ระบบ ADSL ระบบ WIFI อยู่ในระดับ ดี
18.โครงการพัฒนางานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับ ดี
19.โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา อยู่ในระดับ ดี
20.โครงการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) อยู่ในระดับ ดี
21.โครงการจัดทำและพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษา อยู่ในระดับ ดี
22.โครงการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ อยู่ในระดับ ดี
23.โครงการพัฒนางานโสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับ ดี

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) โครงการการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร
2) กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน
3) โครงการจัดการเรียนการสอนนักเรียนเรียนรวม
4) โครงการพัฒนาครูพัฒนาครูสูครูมืออาชีพ
5) โครงการจัดสภาพแวดลอมใหเปนแหลงเรียนรู

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมิน ดังนี้
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ร้อยละ 72.17 ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ , ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ , มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก , ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน , มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการเรียนและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา จากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครู การจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จากการดำเนินงานตามมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญซึ่ง
โรงเรียนได้วางแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในฐานะผู้สอนเพื่อนำความรู้ความเข้าใจมาส่งเสริม
และจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนได้ดำเนินงานกิจกรรมโครงการที่บรรลุเป้าหมายและผู้มี
ส่วนร่วมทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในระดับดี

จุดเด่น
กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน และครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอนโดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิดบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถปฏิบัติและบูรณาการการดำเนินชีวิตประจำวันได้จริง ใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกระบวนการบูรณาการกับการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ กล่าวสรุป
1. ครูตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน
2. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
3. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
4. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนรู้โดยการคิด ได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
5. ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรียนเรียนรู้ ครบทุกวิชาที่ทำการสอน
6. ครูมีระบบนิเทศการสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน
7. ครูมีการจัดทำ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1) จัดหลักสูตรที่ยืดหยุ่นหลากหลายตามความต้องการของผู้เรียนและชุมชน
2) จัดทำโครงการพัฒนาผู้เรียนให้สามารถค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษาด้วยตนเอง
3) กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน ICT
4) โครงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี การพัฒนาการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
5) กิจกรรมนิเทศการเรียนการสอน
6) โครงการขับเคลื่อนหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7) ควรมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้และมีการวิจัย อย่างต่อเนื่อง
8) ครูควรมีวิจัยอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
- หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
- โครงการศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่
- สถานศึกษาส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ครูทุกคนการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดหลักสูตรสถานศึกษาและพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงที่สามารถนำ
ไปจัดกิจกรรมได้จริง
-ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรียนเรียนรู้ ครบทุกวิชาที่ทำการสอน
-ครูมีระบบนิเทศการสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
-ครูมีการจัดทำ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
- ครูทุกคนมีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ที่ส่งผลให้ผู้เรียนรู้
ฝึกทักษะการแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถ ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
- ครูทุกคนมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่สอดคล้องกับสาระที่สอนมี
การใช้ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
- ครูทุกคนมีการวัดผล ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย
- ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อนำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้
- สรุปโครงการต่างๆ รูปภาพกิจกรรม

-ข้อค้นพบพิเศษ รายงานของ ที่ครูใช้จัดการเรียนรู้ ทางออนไลน์ เนื่อง สถานการณ์ โรคแพร่ระบาด ไวรัส Covid-19 ตลอดปีการศึกษา 2563 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูใช้รูปแบบ วิธีสอน สื่อการเรียนการสอนและการวัดผล ประเมินผล อย่างหลากหลาย

สื่อประกอบการสอน รายการสอนออนไลน์ แก้ปัญหา สถานการณ์ COVID 19
-สื่อไฟล์อิเล็กทรอนิกส์
- สื่อใบความรู้/ ใบงาน
-สื่อไฟล์ Porwerpoint
-ห้องเรียนออนไลน์
-ห้องแชทเพื่อติดต่อเรียนเรียนรู้สั่งงานกับนักเรียน ได้แก่
- ห้อง messenger เฟชบุ๊ค
- ห้อง Line
-สื่อประกอบการสื่อสอนที่ผู้สอน ผู้เรียน ออกแบบ ผลิตขึ้นใช้เอง
-สื่อชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ ทุกประเภทของครู
-สื่อชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ รวมทุกประเภท ที่นักเรียน ที่นักเรียนจัดทำส่ง (แบ่งเป็น เล่มรายงาน สมุดจดบันทึก ภาพวาดระบายสี ภาพเขียน ป๊อบอัพ หนังสือเล่มเล็ก แฟ้มงาน จุลสาร-แผ่นพับ แบบทดสอบ) ลงแต่ละชนิดย่อย
-นวัตกรรม งานวิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) ที่ใช้พัฒนาการเรียนการสอน
- กลุ่ม PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ที่ครูเข้าร่วมงาน
-รูปแบบการสอนที่หลากหลายที่ครูใช้สอน
-เรื่องที่มอบหมายงานให้นักเรียนไปสืบค้นทางอินเตอร์เนต เช่น แอพ Google
-โครงงานที่นักเรียนลงมือดำเนินการร่วมกันจัดทำสำเร็จ
-สื่อคลิปไฟล์ วิดีโอ ที่ครูจัดทำเอง หรือค้นคว้าจากโลกออนไลน์ เช่น You Tube มาสื่อสารให้นักเรียนได้เรียนรู้

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีตาร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
2) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านคอมพิวเตอร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
3) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
4) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อยู่ในระดับ ดี
5) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านอาหารไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
6) โครงการส่งเสริมคุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยิ้มแย้มแจ่มใส อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการพัฒนากิจกรรมวันสำคัญของชาติ อยู่ในระดับ ดี
8) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันไหว้ครู อยู่ในระดับ ดี
9) โครงการค่ายปรับพื้นฐานก่อนเรียน อยู่ในระดับ ดี
10) โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
11) โครงการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางกีฬา อยู่ในระดับ กำลังพัฒนา
13) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
14) โครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี อยู่ในระดับ ดี
15) โครงการพัฒนากิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ อยู่ในระดับ ดี
16) โครงการรักการอ่าน อยู่ในระดับ ดี
17) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
18) โครงการพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก อยู่ในระดับ ดี
19) โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียน ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
20) โครงการค่ายนาฏศิลป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการค่ายคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
22) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
23) โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน อยู่ในระดับ ดี
24) โครงการจัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
25) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี
26) โครงการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา อยู่ในระดับ ดี
27) โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้อาเซียน อยู่ในระดับ ดี
28) โครงการพัฒนา/ปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
29) โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
30) โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต อยู่ในระดับ ดี
31) โครงการพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
32) โครงการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย อยู่ในระดับ ดี
33) โครงการพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
34) โครงการพัฒนาการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
35) โครงการพัฒนาการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ อยู่ในระดับ ดี
36) โครงการพัฒนาการเรียนรู้ศิลปะ อยู่ในระดับ ดี
37) โครงการพัฒนาการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ อยู่ในระดับ ดี


แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) โครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
2) โครงการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน
3) โครงการพัฒนาการใชสื่อ เทคโนโลยี สูหองเรียน
4) โครงการสงเสริมใหครูจัดทําแผนการจัดการเรียนรูและนําไปใชจริง
5) กิจกรรมสําหรับนักเรียนที่ตองการความชวยเหลือเปนพิเศษ/นักเรียนเรียนรวมใหนักเรียนมี
ความรูสูงขึ้นตามระดับชั้น

สรุปรวม
แผนการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้น
1. ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (O-NET) ยังต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งจะต้องมีการพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
2. สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนมากขึ้น รวมทั้งควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาและการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
3. ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูผู้สอนทุกคนควรให้ข้อมูลย้อนกลับแก่
นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง จัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างหลากหลายและใช้แหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลายสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและฝึกให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้สื่อเทคโนโลยีให้มากขึ้นและพัฒนาสื่อแหล่งเรียนรู้จัดเตรียมห้องปฏิบัติการให้อยู่ในสภาพที่ดีและพร้อมใช้งานเสมอ มีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายตามสภาพจริงสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และธรรมชาติวิชา ตลอดจนควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้
4. สถานศึกษาจัดระบบให้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาดการให้ข้อมูล
ย้อนกลับแก่ครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพของนักเรียน นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู้ แต่ก็ยังขาดการติดตาม ช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายคน
5. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ICT เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
7. ส่งเสริมการเรียนสู่ความเป็นเลิศ (รายวิชา SBMLD) ได้แก่ รายวิชาดนตรีเพิ่มเติม รายวิชาอาหารไทย รายวิชาคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเพิ่มเติม เป็นต้น

แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต
1. สนับสนุนให้มีการทำวิจัยควบคู่กับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
2. ส่งเสริมการพัฒนาการจัดเรียนการสอนของครู และการสอนแบบบูรณาการ และการใช้แผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม
3. พัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น ให้นักเรียนสามารถดูผลการเรียนได้จากคอมพิวเตอร์
4. พัฒนาครูในรูปแบบที่หลากหลาย ตามสภาพความต้องการ จำเป็น ของโรงเรียนและความต้องการของครูอย่างต่อเนื่อง
5. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ICT เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
6. สนับสนุนการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่วิถีชีวิตของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนให้มากขึ้น

ความต้องการและการช่วยเหลือ
1. โรงเรียนต้องบุคลากร ในตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา (ตัวจริง) ที่ว่างเว้นเป็นเวลานาน 6 ปีแล้ว เพื่อมาขับเคลื่อนงานบริหารของโรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. เนื่องจากบุคลากรครูย้ายคืนถิ่นแล้ว 4-5 คน และยังไม่ได้คืน ทำให้โรงเรียนขาดประสิทธิภาพในงานสนับสนุนตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด หรือความต้องการของชุมชนท้องถิ่นในกิจกรรมต่างๆ ขาดแคลนครู ในสายการสอนที่ตรงกับวิชาเอก เช่น นาฎศิลป์ เกษตร คหกรรม และ ภาษาไทย เป็นต้น
3. โรงเรียนต้องการจัดใหมีโต๊ะ-เก้าอี้ นักเรียน สำหรับนั่งเรียนให้เพียงพอ เหมาะสมไม่ชำรุด และจัดหองปฏิบัติการที่เพียงพอและเหมาะสมตอการจัดการเรียนรู ยังไม่มีสารเคมี อุปกรณ์ทดลองทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ (โรงเรียนมีแต่ อาคารเรียนและห้องเรียน ที่ว่างเปล่า) ยังไม่มีโต๊ะ-เก้าสำหรับนักเรียนเป็นจำนวนมาก
4. โรงเรียนมีความต้องการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย ต้องการเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ใหม่มาแทน (เพราะเครื่องเก่าที่ชำรุดเพราะหมดอายุหลอดของการใช้งานแล้ว) คอมพิวเตอร์โน้ตบุค ระบบอินเตอร์เน็ตกระจาย WiFi ที่มีประสิทธิภาพเหมาะสม ให้บริการนักเรียนเป็นจำนวนมาก เพื่อจะได้นำมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพงานบริหาร และการจัดเรียนการสอน
5. การประสานความร่วมมือกับวิทยากรท้องถิ่นในการให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นให้แก่นักเรียน
6. การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านการวิจัยในชั้นเรียน
7. การส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองเพื่อให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้นควบคู่ไปกับการพัฒนา
ผู้เรียน


















สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม
ประจำปีการศึกษา 2563

ตามที่โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
บัดนี้ การดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรุปผลได้ดังนี้

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินภาพรวม
 กำลังพัฒนา  ปานกลาง  ดี  ดีเลิศ  ยอดเยี่ยม

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ดี
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดี

ตารางสรุปผลการประเมิน ตาม มาตรฐานและค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
...................................................
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย
เชิง
ปริมาณ
(ร้อยละ) ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน 79.91 ดี
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 75.26 ดี
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 53.71 พอใช้
๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา 74.69 ดี
๓) มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม 83.91 ดีเลิศ
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 74.39 ดี
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 74.92 ดี
๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 89.95 ดีเลิศ
๑.๒คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 84.55 ดีเลิศ
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 81.77 ดีเลิศ
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 85.52 ดีเลิศ
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 86.32 ดีเลิศ
๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 84.61 ดีเลิศ


มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย
เชิง
ปริมาณ
(ร้อยละ) ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ 65.81 ดี
๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 78.75 ดี
๒.๒มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 65.33 ดี
๒.๓ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 70.25 ดี
๒.๔พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 42.5 พอใช้
๒.๕จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคูณภาพ 60 ดี
๒.๖จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ 78 ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 72.17 ดี
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 62.31 ดี
๓.๒ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 78.26 ดี
๓.๓มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 68.11 ดี
๔.๔ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 76.81 ดี
๓.๕มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 75.36 ดี
สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา 72.63 ดี




หลักเกณฑ์พิจารณาคุณภาพ รวม ช่วงคะแนน เชิงปริมาณร้อยละ และระดับคุณภาพ
โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

ช่วงคะแนน เชิงปริมาณร้อยละ ระดับคุณภาพ
95-100 ดีเยี่ยม
80-94 ดีเลิศ
60-79 ดี
40-59 พอใช้
0-39 ปรับปรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaengnuapit, 2021-05-31 23:35:26

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

ขอมูลพื้นฐาน

ชื่อโรงเรียน โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ที่อยู 195 หมูที่ 1 ตําบลแก้งเหนือ อําเภอเขมราฐ
จังหวัดอุบลราชธานี ชื่อผูบริหารโรงเรียน (รักษาราชการแทนในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา)
ว่าที่ ร.ท.สุคนธ์ ศุภสุข (ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา) เบอรโทรศัพท 045-210-494
e-mail. [email protected] จํานวน บุคลากร ๓1 คน จําแนกเป็นผู้บริหาร 1 คน ข้าราชการครู
๒3 คน เจ้าหน้าที่อื่น ๆ 7 คน จํานวนนักเรียน รวม 373 คน

ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม จัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา มีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จํานวน 373 คน จัดทํารายงานการ ประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR)
ปีการศึกษา 2563 เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่น ๆ
ผลการประเมินตนเองในภาพรวม ทั้ง 3 มาตรฐาน ร้อยละเฉลี่ย 72.63 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
มีผลการดําเนินงาน ดังต่อไปนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มีผลการประเมิน ดังนี้
ผู้เรียนร้อยละ 79.91 มีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เช่น มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ , มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา , มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม , มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร , มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ,มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ และ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน เช่น มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด , มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย , มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย , สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้
อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ซึ่งโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา มีกิจกรรมในห้องเรียนบูรณาการทุกสาระการเรียนรู้ มีหลักสูตรท้องถิ่น (รายวิชา SBMLD) ใช้แหล่ง
เรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอก ใช้วิทยากร สื่อการสอนเทคโนโลยีที่หลากหลาย มีการกระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ต
ครอบคลุมพื้นที่เพื่อให้ครู นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ทุกเวลาและโอกาส ทำให้ผู้เรียนมีความสามารถ
คุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จากผลการสอบโอเน็ตในปีการศึกษา 2563 และผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สูงขึ้น และผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ มีผลการจัดการเรียนรู้ที่สูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา นอกจากนี้มีการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่นการเลี้ยงปลา กบ ทำแปลงผักปลอดสารพิษ ทำสวนผสม และการสหกรณ์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนรุ่นพี่สามารถเป็นพี่เลี้ยงสอนน้องได้ มีผลงานที่เกิดจากงานอาชีพ มีโครงงานแปรรูปอาหาร
การจัดการและการดำเนินกิจการสหกรณ์ร้านค้า เศรษฐกิจพอเพียง ทำให้ทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีคุณธรรมสามารถดำรงตนในสังคม และประพฤติปฏิบัติตามคำสอนของศาสนาร่วมกิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม ปฏิบัติตนในวันสำคัญต่าง ๆ เช่น ทำกระทงไปลอย ร่วมตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง กราบและไหว้ได้ถูกต้อง นอกจากนี้นักเรียนทุกคนปฏิบัติหน้าที่รักษาความสะอาดในโรงเรียนทุกวัน ชอบเล่นกีฬาทำให้สุขภาพแข็งแรง ไม่เกี่ยวข้องกับอบายมุข ได้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี ทั้งส่งผลไปถึงครอบครัวและชุมชนด้วย โดยคณะครูและทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในระดับดีทุกด้าน
จุดเด่น
สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียน
โดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี
กล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
สถานศึกษามีการสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการใช้กระบวนการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เช่น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบโครงงาน การทำงานด้วยระบบทีมเป็นกลุ่ม เพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบ รวมถึงมีทักษะในสืบค้นค้นข้อมูลผ่านแอพ Googleในมือถือ เพื่อรวบรวมข้อมูล คัดเลือกคัดสรรค์ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ในการนำไปสร้างนวัตกรรมต่างๆ เพื่อเชื่อมโยงสู่การพัฒนาวิชาชีพในอนาคต และปัจจุบัน โรงเรียนได้มีการพัฒนาห้องศูนย์การรู้ศาสตร์พระราชา ในการเรียนรู้ ระบบเศรษฐกิจพอเพียงและอื่นๆ ไว้บริการนักเรียนและชุมชน มีกลุ่มนักเรียนวงดนตรี-แตรวง-โยธวาธิต –ดนตรีสากล ที่ออกงานแสดงบริการช่วยงานโรงเรียนและชุมชน มีห้องศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐาน มีห้องสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาในโรงเรียน มีห้องเรียนคอมพิวเตอร์เพียงพอกับนักเรียนที่มีคาบเรียน มีห้องสมุดสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต และมีการสนับสนุนบริการด้านอินเตอร์เน็ตในโรงเรียน โดยเพิ่มจุดบริการ wifi ในบริเวณต่างๆ ในโรงเรียน ในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนนั้น โรงเรียน มีความโดดเด่นในเรื่องกิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ กิจกรรมของสถานศึกษาพอเพียง กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็งผ่านครูที่ปรึกษา รวมถึงโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ณ วัดพิชโสภาราม ร่วมงานชุมชน เช่น ประเพณีกวนน้ำทิพย์ แห่เทียนพรรษาอำเภอเขมราฐ วันชาตกาล สรงน้ำพระรูปเหมือนหลวงพ่อใหญ่วัดพิชโสภาราม แห่ฉลองพัดยศบาลีเปรียญธรรมประโยคต่างๆ เข้าบวชถือศีลปฏิบัติธรรม และ วันสำคัญความเป็นไทยต่างๆ ซึ่งคณะครูและนักเรียนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เรื่องของการมีความสามารถในการอ่านการเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณนั้น ยังต้องมีการสนับสนุนและส่งเสริมกันอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าภาพรวมจะอยู่ในเกณฑ์ดี แต่เมื่อมองในรายละเอียดจะพบว่า ยังมีอีกหลายส่วนให้พิจารณา เช่น นักเรียนระดับ ม.ต้น บางส่วนที่ยังอ่าน เขียน และสื่อสาร รวมถึงคิดคำนวณได้ยังไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ส่วนเรื่องของการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา รวมถึงความสามารถในการสร้างนวัตกรรมนั้น ยังต้องมีการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เช่นการสอดแทรกกิจกรรมต่างๆ ที่จะส่งเสริมทักษะในด้านเหล่านี้ให้มากยิ่งขึ้น ในส่วนของความสามารถในการใช้เทคโนโลยีนั้น โรงเรียนต้องส่งเสริมการใช้อินเตอร์เน็ต wifi .ให้นักเรียนได้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ส่วนบุคคล เช่น โทรศัพท์ แทปเลต โน้ตบุค ในการสืบค้นข้อมูลแผ่นแอพ Google เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แต่สิ่งที่สำคัญที่ต้องจัดเป็นลำดับที่ 1 ในการให้ความสำคัญนอกเหนือจากทักษะในการใช้เทคโนโลยีก็คือ ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย และการเคารพสิทธิ และ ความคิดเห็นของผู้อื่นในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนจำเป็นต้องพัฒนานักเรียนซึ่งมีความแตกต่างในด้านการรับรู้ และ ในปัจจุบันยังต้องเผชิญกับปัญหาเรื่องของนักเรียนที่มีความบกพร่องในด้านต่างๆ และ ปัญหานักเรียนติดเกม ซึ่งส่งผลให้นักเรียนให้ความสนใจในด้านการเรียนลดน้อยลง ทำให้ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชิ้นงานและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ส่วนในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนนั้น ปัญหาที่ยังต้องเผชิญกับกลุ่มนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เช่น หลบเรียน หนีเรียน มาสาย แต่งกายผิดระเบียบของโรงเรียน ขับรถมอเตอร์ไชเสียงดัง ซึ่งส่งผลให้มีผลการเรียนมีปัญหา ติด 0 ร มส. ซึ่งเป็นนักเรียนกลุ่มเดิม ควรเร่งพัฒนาแก้ไขผ่านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกับผู้ปกครองของนักเรียนในรูปแบบคณะกรรมการ และเรื่องของการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียนควรให้ความสำคัญในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนเข้าใจสิทธิและหน้าที่ รวมถึงการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา สังคม และ วัฒนธรรม ทั้งในโลกแห่งความเป็นจริง และ สังคมในอินเตอร์เน็ต ให้มากยิ่งขึ้น
การจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏิบัติที่ต่อเนื่อง จริงจัง การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการ
พัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวม แต่ไม่ผ่านเกณฑ์ใน
บางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงต้องมุ่งเน้นพัฒนาต่อไป
การดำเนินงานตามมาตรฐานนี้โดยเฉพาะการวางแผนพัฒนาผู้เรียนยังไม่ชัดเจนและลงไป
ที่เป้าหมายอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ผู้เรียนบางคนยังขาดทักษะในการแก้ปัญหา บางคนขาดทักษะการ
วางแผน กระบวนการและขั้นตอนการทำงานยังไม่เกิดขึ้นและปรับเปลี่ยนวิธีการอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะใน
สถานการณ์ปัจจุบัน ยุคThailand 4.0 นักเรียนยังขาดเป้าหมาย และแรงจูงใจในการเรียน และผู้เรียนต้อง
พัฒนาทักษะการสื่อสาร โดยเฉพาะทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
- แผนการการจัดการเรียนรู้ของครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
- รายงานผลการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
- แบบบันทึกผลการจัดการเรียนการสอน(ปถ.05)
- สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประจำปีการศึกษา 2563
- ผลสอบโอเน็ต ปีการศึกษา 2563
- รายงานผลการดำเนินโครงการ
- นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู
- ผลงานครู
- ผลงานนักเรียน
- ภาพถ่ายโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
- สารสนเทศโรงเรียน, บันทึกการนิเทศ, สรุปการประเมินโครงการที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงการโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น อยู่ในระดับ ดี
2) โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอนการบริหารตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” สู่ “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” อยู่ในระดับ ดี
3) โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ อยู่ในระดับ ดี
4) โครงการส่งเสริมคุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยิ้มแย้มแจ่มใส อยู่ในระดับ ดี
5) โครงการค่ายปรับพื้นฐานก่อนเรียน อยู่ในระดับ ดี
6) โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
8) โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางกีฬา อยู่ในระดับ กำลังพัฒนา
9) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
10) โครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี อยู่ในระดับ ดี
11) โครงการพัฒนากิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการรักการอ่าน อยู่ในระดับ ดี
13) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
14) โครงการพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก อยู่ในระดับ ดี
15) โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียน ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
16) โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนตามความถนัดและความสนใจ อยู่ในระดับ ดี
17) โครงการค่ายนาฏศิลป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
18) โครงการค่ายคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
19) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
20) โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการจัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
22) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) พัฒนาใหนักเรียนมีทักษะในการอาน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณเปนไปตามเกณฑที่
โรงเรียนกําหนดในแตระดับชั้น
2) พัฒนาใหนักเรียนมีความสามารถในการคิดจําแนก แยกแยะ ใครครวญไตรตรอง พิจารณาอยาง
รอบคอบโดยใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกปญหา อยางมี
เหตุผล
3) พัฒนาใหนักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรูไดทั้งดวยตนเองและการทํางานเปนทีม
เชื่อมโยงองคความรู และประสบการณมาใชในการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ
4) พัฒนาใหนักเรียน มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา
ตนเอง และสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน อยางสรางสรรค และมีคุณธรรม
5) พัฒนาใหนักเรียน มีความกาวหนาในการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในดาน
ความรู ความเขาใจ ทักษะ กระบวนการตาง ๆ รวมทั้ง
6) พัฒนาใหนักเรียนมีความกาวหนาในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู ทักษะพื้นฐานในการ
จัดการเจตคติที่ดีพรอมที่จะศึกษาตอในระดับชั้นที่สูงขึ้น มีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ
กติกา
7) พัฒนาใหนักเรียนมีคานิยมและจิตสํานึกตามที่สถานศึกษามีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของ
ความเปนไทย มีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปญญาไทย
8) พัฒนาใหนักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ และสังคม แสดงออกอยาง
เหมาะสมในแตละชวงวัย



มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลการประเมิน ดังนี้
กระบวนการบริหารและการจัดการ ร้อยละ 65.81 ประกอบด้วย การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน , มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา , ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย , พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ , จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ , และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
1. สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษานโยบายการปฏิรูปการศึกษาความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและสอดคล้องกับแนวทาง การปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ
๒. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่งข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ได้เรียนรู้
๓. สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมรับผิดชอบ
๔ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและรับทราบรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา
๕. สถานศึกษามีการนิเทศกำกับติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสมเป็นระบบและต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
5. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมาภิบาลและแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา

จุดเด่น
โรงเรียนมีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการนำเอาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เช่น ครู กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และ ผู้แทนจากชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ซึ่งส่งผลไปถึงการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี จึงทำให้โครงการต่างๆที่ออกมาเป็นไปตามความต้องการส่วนใหญ่ของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน กล่าว คือ
1. โรงเรียนมีการบริหารการจัดการอย่างเป็นระบบ
2. โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดม สมอง การประชุมกลุ่มเพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ การประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี คุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานและการจัดรายงานผลการจัดการศึกษาและโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัยในการ รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน การจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็งมีส่วน ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

1. แผนพัฒนาการศึกษาสามปี พ.ศ. 25๖1-2563
2. แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563
3. ผลการดำเนินโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, โครงการนิเทศภายใน
ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการบริหารและการจัดการที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1.โครงการสนับสนุนค่าเครื่องแบบนักเรียน อยู่ในระดับ ดี
2.โครงการสนับสนุนค่าหนังสือเรียน อยู่ในระดับ ดี
3.โครงการสนับสนุนค่าอุปกรณ์การเรียน อยู่ในระดับ ดี
4.โครงการค่าจ้างเหมาบริการ อยู่ในระดับ ดี
5.โครงการค่ารับรองและพิธีการ อยู่ในระดับ ดี
6.โครงการค่าจ้างเหมาบริการทำความสะอาด อยู่ในระดับ ดี
7.โครงการค่าวัสดุสำนักงาน อยู่ในระดับ ดี
8.โครงการค่าวัสดุงานบ้านงานครัว อยู่ในระดับ ดี
9.โครงการค่าวัสดุไฟฟ้า วิทยุและประปา อยู่ในระดับ ดี
10.โครงการค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น อยู่ในระดับ ดี
11.โครงการค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซม อยู่ในระดับ ดี
12.โครงการพัฒนาระบบควบคุมภายใน อยู่ในระดับ ดี
13โครงการพัฒนากิจกรรม๙ ส อยู่ในระดับ ดี
14.โครงการสนับสนุนค่าสาธารณูปโภค ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าบริการอินเตอร์เน็ต ค่าบริการโทรศัพท์ อยู่ในระดับ ดี
15.โครงการการซ่อมแซมอาคารเรียน อยู่ในระดับ ดี
16.โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
17.โครงการส่งเสริมการบริการเทคโนโลยีและสารสนเทศ ระบบ ADSL ระบบ WIFI อยู่ในระดับ ดี
18.โครงการพัฒนางานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับ ดี
19.โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา อยู่ในระดับ ดี
20.โครงการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) อยู่ในระดับ ดี
21.โครงการจัดทำและพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษา อยู่ในระดับ ดี
22.โครงการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ อยู่ในระดับ ดี
23.โครงการพัฒนางานโสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับ ดี

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) โครงการการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร
2) กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน
3) โครงการจัดการเรียนการสอนนักเรียนเรียนรวม
4) โครงการพัฒนาครูพัฒนาครูสูครูมืออาชีพ
5) โครงการจัดสภาพแวดลอมใหเปนแหลงเรียนรู

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมิน ดังนี้
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ร้อยละ 72.17 ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ , ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ , มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก , ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน , มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมค่าเฉลี่ย ของมาตรฐานนี้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

สรุปผลการดำเนินงาน
นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการเรียนและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา จากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครู การจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จากการดำเนินงานตามมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญซึ่ง
โรงเรียนได้วางแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในฐานะผู้สอนเพื่อนำความรู้ความเข้าใจมาส่งเสริม
และจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนได้ดำเนินงานกิจกรรมโครงการที่บรรลุเป้าหมายและผู้มี
ส่วนร่วมทุกฝ่ายมีความพึงพอใจในระดับดี

จุดเด่น
กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน และครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอนโดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิดบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถปฏิบัติและบูรณาการการดำเนินชีวิตประจำวันได้จริง ใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกระบวนการบูรณาการกับการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ กล่าวสรุป
1. ครูตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน
2. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
3. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
4. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนรู้โดยการคิด ได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
5. ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรียนเรียนรู้ ครบทุกวิชาที่ทำการสอน
6. ครูมีระบบนิเทศการสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน
7. ครูมีการจัดทำ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1) จัดหลักสูตรที่ยืดหยุ่นหลากหลายตามความต้องการของผู้เรียนและชุมชน
2) จัดทำโครงการพัฒนาผู้เรียนให้สามารถค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษาด้วยตนเอง
3) กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน ICT
4) โครงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี การพัฒนาการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
5) กิจกรรมนิเทศการเรียนการสอน
6) โครงการขับเคลื่อนหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7) ควรมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้และมีการวิจัย อย่างต่อเนื่อง
8) ครูควรมีวิจัยอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง

แหล่งข้อมูลหลักฐานอ้างอิง/เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
- หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
- โครงการศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่
- สถานศึกษาส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ครูทุกคนการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดหลักสูตรสถานศึกษาและพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงที่สามารถนำ
ไปจัดกิจกรรมได้จริง
-ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรียนเรียนรู้ ครบทุกวิชาที่ทำการสอน
-ครูมีระบบนิเทศการสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
-ครูมีการจัดทำ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
- ครูทุกคนมีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ที่ส่งผลให้ผู้เรียนรู้
ฝึกทักษะการแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถ ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
- ครูทุกคนมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่สอดคล้องกับสาระที่สอนมี
การใช้ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
- ครูทุกคนมีการวัดผล ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย
- ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อนำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้
- สรุปโครงการต่างๆ รูปภาพกิจกรรม

-ข้อค้นพบพิเศษ รายงานของ ที่ครูใช้จัดการเรียนรู้ ทางออนไลน์ เนื่อง สถานการณ์ โรคแพร่ระบาด ไวรัส Covid-19 ตลอดปีการศึกษา 2563 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูใช้รูปแบบ วิธีสอน สื่อการเรียนการสอนและการวัดผล ประเมินผล อย่างหลากหลาย

สื่อประกอบการสอน รายการสอนออนไลน์ แก้ปัญหา สถานการณ์ COVID 19
-สื่อไฟล์อิเล็กทรอนิกส์
- สื่อใบความรู้/ ใบงาน
-สื่อไฟล์ Porwerpoint
-ห้องเรียนออนไลน์
-ห้องแชทเพื่อติดต่อเรียนเรียนรู้สั่งงานกับนักเรียน ได้แก่
- ห้อง messenger เฟชบุ๊ค
- ห้อง Line
-สื่อประกอบการสื่อสอนที่ผู้สอน ผู้เรียน ออกแบบ ผลิตขึ้นใช้เอง
-สื่อชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ ทุกประเภทของครู
-สื่อชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ รวมทุกประเภท ที่นักเรียน ที่นักเรียนจัดทำส่ง (แบ่งเป็น เล่มรายงาน สมุดจดบันทึก ภาพวาดระบายสี ภาพเขียน ป๊อบอัพ หนังสือเล่มเล็ก แฟ้มงาน จุลสาร-แผ่นพับ แบบทดสอบ) ลงแต่ละชนิดย่อย
-นวัตกรรม งานวิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) ที่ใช้พัฒนาการเรียนการสอน
- กลุ่ม PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ที่ครูเข้าร่วมงาน
-รูปแบบการสอนที่หลากหลายที่ครูใช้สอน
-เรื่องที่มอบหมายงานให้นักเรียนไปสืบค้นทางอินเตอร์เนต เช่น แอพ Google
-โครงงานที่นักเรียนลงมือดำเนินการร่วมกันจัดทำสำเร็จ
-สื่อคลิปไฟล์ วิดีโอ ที่ครูจัดทำเอง หรือค้นคว้าจากโลกออนไลน์ เช่น You Tube มาสื่อสารให้นักเรียนได้เรียนรู้

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีตาร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
2) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านคอมพิวเตอร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
3) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
4) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อยู่ในระดับ ดี
5) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านอาหารไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระดับ ดี
6) โครงการส่งเสริมคุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยิ้มแย้มแจ่มใส อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการพัฒนากิจกรรมวันสำคัญของชาติ อยู่ในระดับ ดี
8) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันไหว้ครู อยู่ในระดับ ดี
9) โครงการค่ายปรับพื้นฐานก่อนเรียน อยู่ในระดับ ดี
10) โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
11) โครงการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางกีฬา อยู่ในระดับ กำลังพัฒนา
13) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
14) โครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี อยู่ในระดับ ดี
15) โครงการพัฒนากิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ อยู่ในระดับ ดี
16) โครงการรักการอ่าน อยู่ในระดับ ดี
17) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
18) โครงการพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก อยู่ในระดับ ดี
19) โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรียน ม.3 ม.6 อยู่ในระดับ ดี
20) โครงการค่ายนาฏศิลป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการค่ายคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
22) โครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
23) โครงการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน อยู่ในระดับ ดี
24) โครงการจัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
25) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับ ดี
26) โครงการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา อยู่ในระดับ ดี
27) โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้อาเซียน อยู่ในระดับ ดี
28) โครงการพัฒนา/ปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
29) โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
30) โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต อยู่ในระดับ ดี
31) โครงการพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
32) โครงการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย อยู่ในระดับ ดี
33) โครงการพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
34) โครงการพัฒนาการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
35) โครงการพัฒนาการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ อยู่ในระดับ ดี
36) โครงการพัฒนาการเรียนรู้ศิลปะ อยู่ในระดับ ดี
37) โครงการพัฒนาการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ อยู่ในระดับ ดี


แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับใหสูงขึ้น
1) โครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
2) โครงการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน
3) โครงการพัฒนาการใชสื่อ เทคโนโลยี สูหองเรียน
4) โครงการสงเสริมใหครูจัดทําแผนการจัดการเรียนรูและนําไปใชจริง
5) กิจกรรมสําหรับนักเรียนที่ตองการความชวยเหลือเปนพิเศษ/นักเรียนเรียนรวมใหนักเรียนมี
ความรูสูงขึ้นตามระดับชั้น

สรุปรวม
แผนการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้น
1. ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (O-NET) ยังต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งจะต้องมีการพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
2. สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนมากขึ้น รวมทั้งควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาและการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
3. ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูผู้สอนทุกคนควรให้ข้อมูลย้อนกลับแก่
นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง จัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างหลากหลายและใช้แหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลายสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและฝึกให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้สื่อเทคโนโลยีให้มากขึ้นและพัฒนาสื่อแหล่งเรียนรู้จัดเตรียมห้องปฏิบัติการให้อยู่ในสภาพที่ดีและพร้อมใช้งานเสมอ มีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายตามสภาพจริงสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และธรรมชาติวิชา ตลอดจนควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้
4. สถานศึกษาจัดระบบให้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาดการให้ข้อมูล
ย้อนกลับแก่ครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภาพของนักเรียน นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู้ แต่ก็ยังขาดการติดตาม ช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายคน
5. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ICT เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
7. ส่งเสริมการเรียนสู่ความเป็นเลิศ (รายวิชา SBMLD) ได้แก่ รายวิชาดนตรีเพิ่มเติม รายวิชาอาหารไทย รายวิชาคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเพิ่มเติม เป็นต้น

แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต
1. สนับสนุนให้มีการทำวิจัยควบคู่กับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
2. ส่งเสริมการพัฒนาการจัดเรียนการสอนของครู และการสอนแบบบูรณาการ และการใช้แผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม
3. พัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น ให้นักเรียนสามารถดูผลการเรียนได้จากคอมพิวเตอร์
4. พัฒนาครูในรูปแบบที่หลากหลาย ตามสภาพความต้องการ จำเป็น ของโรงเรียนและความต้องการของครูอย่างต่อเนื่อง
5. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ICT เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
6. สนับสนุนการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่วิถีชีวิตของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนให้มากขึ้น

ความต้องการและการช่วยเหลือ
1. โรงเรียนต้องบุคลากร ในตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา (ตัวจริง) ที่ว่างเว้นเป็นเวลานาน 6 ปีแล้ว เพื่อมาขับเคลื่อนงานบริหารของโรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. เนื่องจากบุคลากรครูย้ายคืนถิ่นแล้ว 4-5 คน และยังไม่ได้คืน ทำให้โรงเรียนขาดประสิทธิภาพในงานสนับสนุนตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด หรือความต้องการของชุมชนท้องถิ่นในกิจกรรมต่างๆ ขาดแคลนครู ในสายการสอนที่ตรงกับวิชาเอก เช่น นาฎศิลป์ เกษตร คหกรรม และ ภาษาไทย เป็นต้น
3. โรงเรียนต้องการจัดใหมีโต๊ะ-เก้าอี้ นักเรียน สำหรับนั่งเรียนให้เพียงพอ เหมาะสมไม่ชำรุด และจัดหองปฏิบัติการที่เพียงพอและเหมาะสมตอการจัดการเรียนรู ยังไม่มีสารเคมี อุปกรณ์ทดลองทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ (โรงเรียนมีแต่ อาคารเรียนและห้องเรียน ที่ว่างเปล่า) ยังไม่มีโต๊ะ-เก้าสำหรับนักเรียนเป็นจำนวนมาก
4. โรงเรียนมีความต้องการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย ต้องการเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ใหม่มาแทน (เพราะเครื่องเก่าที่ชำรุดเพราะหมดอายุหลอดของการใช้งานแล้ว) คอมพิวเตอร์โน้ตบุค ระบบอินเตอร์เน็ตกระจาย WiFi ที่มีประสิทธิภาพเหมาะสม ให้บริการนักเรียนเป็นจำนวนมาก เพื่อจะได้นำมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพงานบริหาร และการจัดเรียนการสอน
5. การประสานความร่วมมือกับวิทยากรท้องถิ่นในการให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นให้แก่นักเรียน
6. การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านการวิจัยในชั้นเรียน
7. การส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองเพื่อให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้นควบคู่ไปกับการพัฒนา
ผู้เรียน


















สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม
ประจำปีการศึกษา 2563

ตามที่โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
บัดนี้ การดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรุปผลได้ดังนี้

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินภาพรวม
 กำลังพัฒนา  ปานกลาง  ดี  ดีเลิศ  ยอดเยี่ยม

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ดี
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดี

ตารางสรุปผลการประเมิน ตาม มาตรฐานและค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
...................................................
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย
เชิง
ปริมาณ
(ร้อยละ) ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน 79.91 ดี
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 75.26 ดี
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 53.71 พอใช้
๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา 74.69 ดี
๓) มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม 83.91 ดีเลิศ
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 74.39 ดี
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 74.92 ดี
๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 89.95 ดีเลิศ
๑.๒คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 84.55 ดีเลิศ
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 81.77 ดีเลิศ
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 85.52 ดีเลิศ
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 86.32 ดีเลิศ
๔) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 84.61 ดีเลิศ


มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย
เชิง
ปริมาณ
(ร้อยละ) ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ 65.81 ดี
๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 78.75 ดี
๒.๒มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 65.33 ดี
๒.๓ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 70.25 ดี
๒.๔พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 42.5 พอใช้
๒.๕จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคูณภาพ 60 ดี
๒.๖จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ 78 ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 72.17 ดี
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 62.31 ดี
๓.๒ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 78.26 ดี
๓.๓มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 68.11 ดี
๔.๔ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 76.81 ดี
๓.๕มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 75.36 ดี
สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา 72.63 ดี




หลักเกณฑ์พิจารณาคุณภาพ รวม ช่วงคะแนน เชิงปริมาณร้อยละ และระดับคุณภาพ
โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

ช่วงคะแนน เชิงปริมาณร้อยละ ระดับคุณภาพ
95-100 ดีเยี่ยม
80-94 ดีเลิศ
60-79 ดี
40-59 พอใช้
0-39 ปรับปรุง

Keywords: SAR 2563,รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา,ปีการศึกษา 2563,รายงานการประเมินตนเอง,โรงเรียน,sar,2563,แก้งเหนือพิทยาคม,อุบลราชธานี,องค์การบริหารส่วนจังหวัด,sar 2563,sar2563,SAR2563,รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม ๔๕

จดุ เดน่ จดุ ท่ีควรพฒั นา
12.บคุ ลากรทกุ คนใหค้ วามร่วมมอื และมสี ว่ นร่วมในการจดั

โครงการ / กิจกรรมสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ตามนโยบายเกี่ยวกับการจัด

การศกึ ษา

13.สถานศึกษาจดั ทาเอกสารเผยแพรข่ อ้ มูลทง้ั ดา้ นวารสารและ
อินเตอร์เนต็ ส่ชู ุมชน

14.สถานศึกษานาผลการประเมินคณุ ภาพมาวิเคราะห์หา
ข้อบกพร่อง เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อไป สถานศกึ ษา
เผยแพร่รายงานผลการประเมินคุณภาพใหผ้ เู้ กี่ยวข้องทราบ เพอ่ื

นาไปพฒั นาการศกึ ษาใหม้ ีประสิทธภิ าพมากยิง่ ขึน้

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่

ผู้เรียนเปน็ สาคัญ เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ

1) ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและการเป็น 1) ครคู วรพฒั นาการศกึ ษาคน้ คว้า แสวงหา

สมาชิกท่ีดีของสถานศึกษา ยึดมั่นและปฏิบัติตาม ความรู้ และมีความร้เู กี่ยวกับการวิจยั ในชน้ั

หลักธรรมของศาสนาท่ตี นนบั ถือ เรียน ทาวจิ ยั ในชั้นเรยี นอยา่ งน้อย ปลี ะ 1

2) ครสู ่วนใหญจ่ บการศึกษาระดบั ปริญญาโท เรอื่ งในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ
3) ครมู เี พยี งพอตามเกณฑ์ ผลงาน เปน็ แบบอย่างทดี่ ีและสามารถให้

4) ครมู ีวฒุ ิการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีขึ้นไปและสอนตรง คาแนะนา ชีแ้ นะแก่ผู้อนื่ ได้ นาผลการวจิ ัย

ตามวชิ าเอก/ความถนัด ในชัน้ เรียน ไปแก้ปญั หา และหรือพฒั นา
5) ครูมีคุณวฒุ /ิ ความรู้ ความสามารถและไดร้ ับการพฒั นา ผูเ้ รียน มีการเผยแพร่ผลการวจิ ยั และมีการ
แก้ปัญหา และหรือพัฒนาผ้เู รียนโดยการ
ตามครุ สุ ภากาหนด วิจัยอยา่ งตอ่ เน่ือง
6) ครูมคี วามมุ่งม่ันในการปฏบิ ตั ิหน้าทีแ่ ละงานที่ไดร้ บั 2) โรงเรียนไม่มีผอู้ านวยการสถานศึกษา
3) สถานศึกษา ควรจดั ทาแผนงบประมาณเพื่อ
มอบหมาย มมี นษุ ยสัมพนั ธ์ท่ีดี สนับสนนุ เก่ยี วกบั การจัดสภาพแวดลอ้ ม
7) ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามีความต้ังใจ สนใจ มคี วามพยายาม ภายในสถานศึกษา โดยใหบ้ คุ ลากรมีส่วน
ร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมท่เี อ้ือตอ่ การ
ดงึ ชุมชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาคุณภาพ จัดการเรยี นรู้
การศกึ ษา
8) ผู้บรหิ ารมคี ณุ ธรรมจริยธรรมและปฏบิ ตั ติ นตาม

จรรยาบรรณวิชาชพี บรหิ ารการศกึ ษา

9) สถานศึกษามที รัพยากรและสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการ

ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ ป็นสังคม ตอ่ การเรียนได้เปน็ อย่าง

ดี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ๔๖

แผนการพัฒนาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานให้สูงข้ึน

-แผนกลยุทธ์-ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาสามปี แผนปฎิบัตกิ ารประจาปี แผนประจาปี
งบประมาณ โครงกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตลอดวงรอบปีการศึกษา

ทศิ ทาง/แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษาในอนาคต
๑. ปรบั เปลีย่ นรูปแบบการเรียนการสอนใหม้ ีความหลากหลาย ทันสมัยกบั ยุคโลกาภิวฒั น์
๒. เตรียมความพรอ้ มผู้เรยี นใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจในการเปน็ พลเมอื งไทย พลเมืองอาเซียนและพลเมือง

โลก
3. มวี ิสยั ทัศนแ์ ละภารกิจท่สี อดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษา สภาวการณ์ปัจจบุ ัน มีการกาหนดภารกิจ

ทม่ี งุ่ ไปสู่วสิ ัยทัศน์โดยแทจ้ ริง มกี ารจดั ทาแผนพัฒนาสถานศกึ ษาจากบุคคลทเี่ ก่ยี วขอ้ งหลายฝุาย ใชส้ ารสนเทศท่ี
ทนั สมัยในการวางแผนพัฒนาสถานศกึ ษา กาหนดแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทสี่ อดคล้องสมั พันธก์ ับวิสัยทัศน์
และภารกจิ และสอดคลอ้ งแผนปฏิบัตริ าชการและกลยุทธ์ขององค์การบริหารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี เป็นอยา่ ง
ดี มกี ารวเิ คราะหจ์ ดุ เด่น จุดที่ควรพัฒนาของโรงเรยี นเพอ่ื กาหนดแผนพฒั นาสถานศึกษา

4. ผู้บริหารมภี าวะผ้นู า มีความสามารถท้ังดา้ นวิชาการและการบริหารเป็นผนู้ าการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
เพอ่ื ใช้จัดกระบวนการเรยี นรู้ เปดิ โอกาสใหค้ รูและผทู้ ีเ่ กี่ยวขอ้ งมีส่วนรว่ มในการวางแผนและตัดสนิ ใจในการจัด
การศกึ ษา เปน็ ผนู้ าการจดั โรงเรยี นใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรขู้ องชมุ ชน กระตุ้นการนาภูมิปญั ญาท้องถนิ่ มาใช้จัด
การศึกษา ส่งเสรมิ การแลกเปล่ียนประสบการณ์ระหวา่ งหน่วยงาน/องค์กร

5. ครตู อ้ งเป็นผู้รอบรู้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ สามารถใช้ส่ือเทคโนโลยีได้คล่องครบทุกคน ครูสว่ นมากมี
ความรคู้ วามเข้าใจมาตรฐานของผเู้ รียนตามหลักสตู ร และสามารถจัดการศกึ ษาทั้งดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สติปญั ญา
และด้านคุณธรรม จริยธรรม ครูรเู้ ปูาหมายของการจดั การศึกษาและเปาู หมายของหลักสตู ร ครมู ีความสามารถใน
การจัดการเรียนการสอนและเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั ครูมคี วามสามารถประเมินผลการเรียนการสอนตามสภาพจริง
ปรบั การเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคณุ ภาพอย่างต่อเน่ือง

6. นักเรยี นเรียนรู้ด้วยตนเองจากสือ่ มัลติมเิ ดีย อินเตอร์เน็ต ห้องสมดุ ไอที เพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนใหส้ ูงขน้ึ มีวินัย มคี วามรับผดิ ชอบ ปฏบิ ตั ิตนตามระเบยี บของสถานศึกษา มคี วามเมตตากรุณาและ
เสียสละเพ่อื สว่ นรวม มีความซ่ือสัตย์สุจรติ และประหยัด ผเู้ รยี นมีทักษะในการทางาน สามารถทางานตามลาดับ
ขัน้ ตอนและผลงานมปี ระสิทธิภาพ มผี ลงานเป็นท่ยี อมรบั และชนะเลศิ การประกวดผลงาน ท้ังในระดับเขตและ
ระดบั จังหวัด สามารถทางานเป็นทมี ได้ดี ชว่ ยเหลอื กัน รบั ผดิ ชอบในการท างานร่วมกนั รักการทางานและมีเจต
คตทิ ีด่ ตี ่อการทางาน มคี วามขยันอดทนและมีความละเอียดรอบคอบในการทางาน มนี ้าหนกั สว่ นสงู และ
สมรรถภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั และกรมพลศึกษา มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบรู ณ์ มคี วามรา่
เริงแจม่ ใส มีมนุษยสมั พันธท์ ่ีดีกบั ครู เพ่อื นและบคุ คลอ่ืนทั่วไป และปลอดจากส่ิงเสพติดและส่งิ มอมเมา มี
สุนทรียภาพและลกั ษณะนิสัยด้านศลิ ปะ ดนตรีและกีฬา

ความตอ้ งการและการชว่ ยเหลอื
จากผลการดาเนินงานในปกี ารศึกษา 256๒ โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม ยงั ต้องการบคุ ลากรทาง

การศึกษาและบคุ ลากรปฏิบตั ิการประจาเพมิ่ เพ่ือใหเ้ พยี งพอกบั จานวนนักเรียนและบุคลากรท่มี ีความเชย่ี วชาญ
เฉพาะด้าน สาขาวชิ าภาษาไทย วิชาเอกภาษาองั กฤษ วิชาเอกนาฏศลิ ป์ และ ตอ้ งการ ผอ.สถานศกึ ษา(ตัวจริง)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนือพิทยาคม ๔๗

12. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม นาหนกั คะแนน ระดบั
๑2.1 ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน คะแนน ที่ได้ คุณภาพ

ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

(ประถมศกึ ษา และมธั ยมศึกษา)

กลุ่มตัวบ่งชพ้ี น้ื ฐาน 10.00 9.35 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผเู้ รยี นมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ี 10.00 9.38 ดีมาก
ตัวบ่งชที้ ่ี ๒ ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์ 10.00 9.24 ดมี าก
ตวั บ่งชี้ท่ี ๓ ผเู้ รียนมคี วามใฝรุ ู้ และเรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง 10.00 7.83
ตวั บ่งช้ีที่ ๔ ผเู้ รยี นคิดเปน็ ทาเปน็ 20.00 11.03 ดี
ตวั บง่ ชี้ที่ ๕ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผู้เรยี น 10.00 8.00 พอใช้
ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๖ ประสทิ ธิผลของการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 5.00 4.30
ตัวบง่ ชี้ท่ี ๗ ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจัดการและการพฒั นาสถานศึกษา 5.00 4.90 ดี
ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๘ พฒั นาการของการประกันคณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและตน้ สงั กัด ดี
กลุ่มตัวบ่งชอ้ี ตั ลักษณ์ ดมี าก

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ 5.00 5.00 ดมี าก

วัตถุประสงค์ของการจดั ตั้งสถานศกึ ษา

ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๐ ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเด่นท่ีส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ 5.00 5.00 ดมี าก

สถานศึกษา

กลุ่มตวั บง่ ชีม้ าตรการส่งเสริม

ตวั บ่งช้ที ่ี ๑๑ ผลการดาเนนิ งานโครงการพิเศษเพ่ือสง่ เสริมบทบาทของสถานศกึ ษา 5.00 5.00 ดีมาก

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา 5.00 4.00 ดี

มาตรฐาน และพัฒนาสคู่ วามเปน็ เลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป

การศกึ ษา

คะแนนรวม 100.00 83.03 ดี

ผลรวมคะแนนประเมนิ สถานศกึ ษา 83.03 คะแนน มคี ุณภาพระดับ ดี

ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไมร่ บั รอง

หมายเหตุ - สมศ. เขา้ มา ประเมินภายนอก รอบ 3 เมื่อวันท่ี 19-21 มกราคม พ.ศ. 2558

โดย หจก.วิจัยการประเมิน

- โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ได้รบั การรบั รองมาตรฐานการศึกษา การประเมนิ ภายนอก รอบ 3

พ.ศ.2554-2558 จาก สมศ. (เมอื่ 21 กันยายน 2558)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนอื พิทยาคม ๔๘

13.การนาผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรับปรุงและพฒั นาคณุ ภาพ
การศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง

โรงเรียนได้ดาเนินการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามผลการประเมินภายนอกรอบสาม
มาใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนอื่ ง ตามแผนพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษา
ทง้ั 4 แผน คือแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา แผนพฒั นาการศกึ ษาสามปี (2561-2563) แผนปฏิบตั กิ าร
ประจาปีงบประมาณ 2563 และแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปกี ารศกึ ษา 2563

14.การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา

14.๑ การบรหิ ารจัดการศึกษา
โรงเรียน แกง้ เหนือพทิ ยาคม ไดจ้ ัดแบ่งโครงสร้างการบรหิ ารงานเปน็ 4 ฝาุ ย โดยแบง่ เป็น ฝาุ ยบริหาร

งบประมาณและบคุ ลากร ฝุายบริหารงานวชิ าการ ฝาุ ยบรหิ ารงานทว่ั ไป และ ฝาุ ยบริหารงานปกครองและงาน
กจิ การนักเรยี น

ผู้บริหารยึดหลกั การบริหาร/เทคนคิ การบรหิ ารแบบ POSDCoRBซึ่งเปน็ การบรหิ ารงานท่ีเปน็ หลกั สากล
ซึ่งประกอบดว้ ย

1. การวางแผน (Planing) ก่อนดาเนนิ งานใดๆ โรงเรยี นจะมกี ารประชมุ เพือ่ วางแผนงานกอ่ นเสมอ
2. การจดั องค์การ (Organizing) โรงเรยี นไดจ้ ดั โครงสรา้ งการบรหิ ารงานออกเป็น 4 ฝาุ ย ไดแ้ ก่ ฝุาย
บริหารงบประมาณและบุคลากร ฝุายบรหิ ารงานวิชาการ ฝุายบริหารงานทว่ั ไป และ ฝุายบริหารงานปกครองและ
งานกิจการนักเรียนซงึ่ แตล่ ะกลมุ่ งานกม็ งี านในขอบข่ายเพ่ือให้การบริหารงานเกดิ การคล่องตัวและสามารถ
ให้บรกิ ารได้คลอบคลมุ และทั่วถึง
3. การจัดคนเข้าทางาน (Staffing) เพือ่ ให้การดาเนนิ งานเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โรงเรียนได้จัดการ
มอบหมายหน้าทพ่ี ิเศษให้กับบุคลากรทุกคนโดยพจิ ารณาตามความร้คู วามสามารถ ความถนดั และศกั ยภาพของ
บคุ ลากร
4. การอานวยการ (Directing) โรงเรียนมีการให้บริการส่ิงอานวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ านให้อยา่ ง
เพยี งพอ
5. การควบคุม (Controling) การควบคุมทาโดยการออกคาสั่ง การปฏิบัตงิ านทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณ์อักษร มี
การตดิ ตามนิเทศการปฏิบตั งิ านอยา่ งสมา่ เสมอ
6. การประสานงาน (Co – ordinaing) มีการประสานงานกบั บุคคลทเ่ี กยี่ วข้องกับการดาเนนิ งานต่างๆ
ของโรงเรยี น เช่นการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา การประชุมผู้ปกครอง เพือ่ ให้การดาเนินงานสาเร็จลลุ ่วง
ไปดว้ ยดี
7. การรายงาน (Reporting) มีการรายงานผลการดาเนินงานทงั้ ภายในและภายนอกเพ่อื ให้ผูเ้ กี่ยวขอ้ ง
ไดร้ บั ทราบผลการดาเนนิ งานตา่ งๆของโรงเรยี น
8. การงบประมาณ (Budjeting) มีการใชจ้ า่ ยงบประมาณโดยคานึงถึงหลักความคุ้มค่า และความโปร่งใส
สามารถตรวจสอบได้
นอกจากน้ี โรงเรยี นยังใชห้ ลกั การบรหิ ารทรัพยากร 4M2T ไดแ้ ก่ Man คือคน , Money คอื เงนิ ,
Material คอื วสั ดอุ ุปกรณ์ , Management คอื การจัดการ , Time คือ เวลา และเทคโนโลยี สง่ิ เหล่านี้ ถือว่า
เปน็ ปจั จัยสาคัญ ที่จะเปน็ กลไกการขับเคลอื่ น ให้งานสาเร็จลุลว่ งไปไดต้ ามเปูาหมาย และแผนงานท่ีวางไว้ บน
พนื้ ฐานของเศรษฐกิจพอเพยี ง คอื ความพอดี พอประมาณ การมเี หตุผลและภมู ิคมุ้ กัน อันจะทาการบริหารงาน
เปน็ ไปด้วยความมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ลสูงสดุ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแกง้ เหนือพทิ ยาคม ๔๙

14.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์
ของสถานศกึ ษา

วิสยั ทัศน์
โรงเรยี นแก้งเหนือพิทยาคม เป็นองค์กรแห่งคุณธรรม จริยธรรม นาวชิ าการ ประสานชมุ ชน รวมพล 9 ส. ดาเนนิ
ชวี ิตเศรษฐกจิ พอเพียง

พนั ธกิจ
6. สง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม
7. สง่ เสรมิ พัฒนา นักเรียน ครูและบุคลากร ด้านวชิ าการและเทคโนโลยี เพอื่ พัฒนากระบวนการเรยี นรู้
8. ประสานงานกบั ชมุ ชนเพ่ือมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา
9. พฒั นากิจกรรม 9 ส.
10.ส่งเสริมการดาเนนิ ชวี ติ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

เปา้ ประสงค์
7. เด็กนักเรยี นมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
8. อนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
9. นกั เรียนสามารถใช้เทคโนโลยี ประกอบในกระบวนการจดั การเรยี นรู้
10.ครูและบุคลากร สามารถใชเ้ ทคโนโลยี ประกอบการจัดการเรยี นการสอน
11.โรงเรยี นและชมุ ชน ร่วมจัดการศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพได้มาตรฐาน
12.โรงเรียนมีการพัฒนากิจกรรม 9 ส. อย่างเป็นระบบและได้มาตรฐาน
บุคลากร ครู และนักเรยี น ดารงชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของนักเรยี น
6. มีคุณธรรม จริยธรรม และวสิ ัยทัศน์ท่ีกวา้ งไกล ลึกซ้งึ
7. มคี วามสามารถทางด้านทักษะวชิ าการ
8. เสยี สละ มุ่งทาประโยชนต์ ่อสงั คมส่วนรวม
9. ปฏบิ ตั ติ นตามหลักพฒั นากิจกรรม 9 ส.
10.ปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

พนั ธสัญญาของโรงเรียน
รว่ มมือสานฝัน รวมพลังปัญญา
พฒั นาเด็กไทย รบั ใชส้ ังคม
ธารงความเป็นไทย ก้าวไกลสูส่ ากล

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนอื พิทยาคม ๕๐

ยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนา

ยทุ ธศาสตร์ แนวทางการพฒั นา หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบ
ฝาุ ยอานวยการ
1. การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั 1.๑.การจดั หาและพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการทดี่ ี ฝุายอานวยการ
การศกึ ษาของสถานศึกษา 1.2. การพัฒนาอาคารสถานท่(ี ปรบั ปรงุ ซ่อมแซม/
ตอ่ เติม) ฝาุ ยวิชาการ
1.3. พัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารจัด
การศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีท่ีทนั สมยั ฝาุ ยบริหารงานท่ัวไป
1.4. สถานศกึ ษาจดั ทาและใชแ้ ผนพฒั นาการศึกษา
เปน็ เครอ่ื งมือในการจัดการศึกษา ฝุายวิชาการ
1.5. ส่งเสริมและพฒั นาระบบการค้มุ ครองนักเรยี น

2. การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 2.๑. การจัดทามาตรฐานการปฏบิ ัติงานของ หนว่ ยงานต้นสังกัด
สถานศึกษา ฝาุ ยอานวยการ
2.๒. จัดทาและพัฒนาระบบนิเทศการศกึ ษาใหม้ ี ฝุายอานวยการ
ประสทิ ธิภาพ
2.๓. พฒั นาคุณภาพครูและบคุ ลากรของ
สถานศกึ ษา

3. จดั หาและพัฒนา อปุ กรณ์ 2.๔. พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ฝาุ ยวชิ าการ
นวตั กรรมและเทคโนโลยี 2.5. การจดั ทาและพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาให้มี ฝาุ ยวิชาการ
ความหลากหลายตามความถนัดและความสนใจของ
ผู้เรยี นโดยเน้นการเรียนรทู้ ่ีเป็นอตั ลักษณแ์ ละ ฝาุ ยวิชาการ
สอดคลอ้ งกบั บริบทท้องถิ่น

3.1 จัดหาและพัฒนาสื่ออปุ กรณ์ นวตั กรรมและ
เทคโนโลยที างการศึกษา

4. จัดหาและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 4.๑. ส่งเสรมิ และพัฒนาใหโ้ รงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ ฝุายกจิ การนกั เรียน
และเป็นรากฐานในการพฒั นาท้องถิน่

5. การพฒั นาการบรหิ าร 5.1 สง่ เสริม ทานบุ ารุงศาสนา กลมุ่ สาระการเรียนรู้

การศึกษาโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน 5.2 สง่ เสรมิ อนุรกั ษ์ ศิลปวฒั นธรรม ประเพณีและ สังคมศึกษา ศาสนาและ

(SBMLD) ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ วฒั นธรรม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพทิ ยาคม ๕๑

ยทุ ธศาสตร์ แนวทางการพฒั นา หนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบ
ฝุายกจิ การนกั เรยี น
6. การพัฒนาและสง่ เสริมการ 6.1. ใหค้ วามร้ใู นเรอ่ื งปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งแก่
ดาเนนิ ชีวติ ตามแนวทางปรชั ญา เด็ก เยาวชน และประชาชน ฝุายกิจการนกั เรียน
เศรษฐกิจพอเพียง 6.2. จดั กิจกรรมสง่ เสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชน
ดาเนินชวี ติ ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

7. การอนรุ ักษแ์ ละส่งเสริมศาสนา 7.1. ส่งเสรมิ อนรุ ักษ์ ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม ฝุายวชิ าการ
ศลิ ปะ วฒั นธรรมประเพณีและภมู ิ ประเพณี และภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่
ปัญญาท้องถ่นิ ฝาุ ยกจิ การนักเรียน
ฝุายวิชาการ
8. ปูองกนั และแก้ไขปัญหายาเสพ 8.1. ปูองกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ
ตดิ

9. การสง่ เสริมและพัฒนาให้ 9.1. พฒั นาความรู้ ทักษะภาษา
สถานศกึ ษาสามารถส่ือสารได้
หลากหลายภาษา

จดุ มุ่งหมายเพื่อการพัฒนา
1. ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้และมคี วามรอบรู้ รวมทง้ั ปลูกฝังคุณธรรมคา่ นิยมท่ีดแี ละคุณลักษณะท่พี งึ
ประสงค์
2. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มีความสามารถด้านวิชาการและเทคโนโลยีการศึกษา เพ่ือพัฒนา
กระบวนการเรยี นรูส้ ู่ครูมืออาชีพ
3. โรงเรียนเป็นฐานในการบริหารจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาท้องถน่ิ

4. จดั การเรยี นรใู้ หเ้ กิดขนึ้ ทกุ เวลาทกุ สถานท่ีและพัฒนาแหลง่ เรียนรูท้ หี่ ลากหลาย

5. เสรมิ สรา้ งความสัมพนั ธโ์ รงเรียนกบั ชุมชน ประสานความร่วมมอื กบั บดิ า มารดา ผู้ปกครองและบคุ คล
ในชุมชนทุกฝุาย เพื่อร่วมกนั พฒั นาผเู้ รียนตามศักยภาพ

6. ส่งเสริมและพฒั นาความพร้อมใหก้ ับผู้เรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาในการพัฒนาการเรยี นรู้สู่
ประชาคมอาเซยี น พรอ้ มท้งั ก้าวทนั สงั คมโลก

“อัตลกั ษณ์” โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม คือ “ยมิ้ แยม้ แจม่ ใส ใฝ่เรียนรู้”
“เอกลักษณ์” โรงเรียนแก้งเหนอื พิทยาคม คือ “วฒั นธรรมดี วถิ พี ทุ ธเดน่ ”

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ๕๒

ส่วนที่ 2

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ตารางสรุปผลการประเมิน ตาม มาตรฐานและคา่ เปา้ หมายของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2563
โรงเรยี นแก้งเหนอื พิทยาคม สงั กัด องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดอบุ ลราชธานี

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ผลเปา้ หมาย

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพ องผเู้ รยี น เชงิ ระดับ
ปรมิ าณ คุณภาพ
๑.๑ ผลสัมฤทธิทางวิชาการ องผู้เรียน (ร้อยละ)
๑ มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สารและการคดิ คานวณ
๒ มีความสามารถในการวเิ คราะห์และคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปราย 79.91 ดี

แลกเปลย่ี นความคิดเห็น และแกป้ ัญหา 75.26 ดี
๓ มคี วามสามารในการสร้างนวัตกรรม 53.71 พอใช้
๔ มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร
๕ มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา 74.69 ดี
๖ มคี วามรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานและเจตคติทดี่ ีต่องานอาชพี 83.91 ดเี ลิศ
74.39 ดี
๑.๒คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ องผูเ้ รยี น 74.92 ดี
๑ การมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมที่ดตี ามทีส่ ถานศึกษากาหนด 89.95 ดีเลศิ
๒ ความภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย 84.55 ดีเลศิ
๓ การยอมรับทจ่ี ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 81.77 ดเี ลิศ
๔ สุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สงั คม 85.52 ดเี ลศิ
86.32 ดเี ลศิ
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและจัดการ 84.61 ดีเลศิ

๒ ๑ การมเี ป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกิจท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน 65.81 ดี
๒ ๒มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒ ๓ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการท่ีเนน้ คณุ ภาพผูเ้ รยี นรอบด้านตามหลกั สุตรสถานศึกษา 78.75 ดี
และทุกกลุ่มเป้าหมาย 65.33 ดี
๒ ๔พัฒนาครูและบุคลกรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ
๒ ๕จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ ออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นร้อู ยา่ งมีคูณ 70.25 ดี
ภาพ 42.5 พอใช้
๒ ๖จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ
เรียนรู้ 60 ดี

78 ดี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนอื พทิ ยาคม ๕๓

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ผลเปา้ หมาย

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ เชงิ ระดบั
ปรมิ าณ คณุ ภาพ
๓ ๑ จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ (ร้อยละ)

๓ ๒ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ 72.17 ดี
๓ ๓มกี ารบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก
๔ ๔ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น 62.31 ดี
78.26 ดี
๓ ๕มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ 68.11 ดี
76.81 ดี
สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม องสถานศึกษา 75.36 ดี

72.63 ดี

หลกั เกณฑ์พจิ ารณาคณุ ภาพ รวม ชว่ งคะแนน คา่ เป้าหมาย เชงิ ปริมาณรอ้ ยละ และระดบั คุณภาพ
โรงเรยี นแก้งเหนือพทิ ยาคม สังกดั องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั อุบลราชธานี

ชว่ งคะแนน เชิงปริมาณร้อยละ ระดบั คุณภาพ
95-100 ดีเยยี่ ม
80-94 ดเี ลิศ
60-79 ดี
40-59 พอใช้
0-39 ปรบั ปรงุ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มผี ลการประเมิน ดังน้ี

-ผูเ้ รยี นร้อยละ 79.91 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น เช่น มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น
การส่อื สาร และการคดิ คานวณ , มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี น
ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา , มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม , มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สาร , มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา ,มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจต
คตทิ ี่ดตี ่องานอาชีพ และ มคี ุณลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องผเู้ รยี น เชน่ มีคุณลักษณะและคา่ นิยมทด่ี ีตามท่ี
สถานศึกษากาหนด , มีความภมู ใิ จในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย , มีการยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่าง
และหลากหลาย , สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ในภาพรวมค่าเฉล่ยี ของมาตรฐานนี้
อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี

แผนดาเนินการ/การต้งั ค่าเปา้ หมาย

-โรงเรียนแกง้ เหนือพทิ ยาคม ได้วางแผนงานฯ โครงการ ดาเนินการ พฒั นา คุณภาพผ้เู รยี น เกย่ี วกับ
ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น จานวน 6 ประเดน็ การพิจารณา 18 เปาู หมาย และ คุณลกั ษณะทีพ่ ึง
ประสงค์ จานวน 4 ประเด็นการพจิ ารณา 15 เปูาหมาย รายละเอยี ด ตามประกาศแนบทา้ ยภาคผนวก ซง่ึ
ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื คา่ เปาู หมายรอ้ ยละเชงิ ปรมิ าณ และ เปาู หมายระดบั คณุ ภาพ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม ๕๔

-ซึ่งมรี ายละเอียด เปรยี บเทียบ ระหวา่ ง ค่าเปูาหมายท่ีตง้ั ไว้ กับ ผลการประเมนิ ดงั น้ี

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา คา่ ประกาศตั้งไว้ คา่ ผลการประเมนิ
ตนเอง
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพ องผู้เรียน ค่าเป้าหมาย
เชิงปริมาณ ระดับ ค่าเปา้ หมาย
๑ ๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รยี น (รอ้ ยละ) คุณภาพ เชงิ ปรมิ าณ ระดับ
๑ มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การ (ร้อยละ) คุณภาพ
74.17 ดี
สื่อสารและการคิดคานวณ 79.91 ดี
๒ มีความสามารถในการวเิ คราะห์และคดิ อยา่ งมี 68.33 ดี
75.26 ดี
วจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และ 60 ดี
แก้ปัญหา 53.71 พอใช้
60 ดี
๓ มคี วามสามารในการสร้างนวตั กรรม 80 ดีเลิศ 74.69 ดี
๔ มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 83.91 ดีเลศิ
และการส่ือสาร 70 ดี
๕ มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู ร 74.39 ดี
สถานศึกษา 60 ดี
๖ มีความรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคติทด่ี ีต่องาน 74.92 ดี
อาชีพ 80 ดีเลศิ
80 ดเี ลิศ 89.95 ดเี ลศิ
๑ ๒คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้ รยี น 84.55 ดเี ลศิ
๑ การมีคุณลักษณะและคา่ นิยมท่ดี ตี ามที่ 80 ดีเลิศ
80 ดีเลศิ 81.77 ดเี ลิศ
สถานศกึ ษากาหนด 85.52 ดีเลศิ
80 ดีเลิศ
๒ ความภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเป็นไทย 80 ดีเลศิ 86.32 ดีเลศิ
๓ การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและ 84.61 ดเี ลิศ
หลากหลาย

๔ สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สงั คม

กระบวนพฒั นา/ วธิ ีการดาเนนิ การ

โรงเรียนแกง้ เหนอื พิทยาคม ให้ครจู ดั กระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ โดยการ
ดาเนินงาน/กิจกรรมอยา่ งหลากหลาย โดยมีการนาผลการประเมนิ การอ่าน การเขยี น การสอื่ สาร ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ ผลการประเมินการคิดคานวณโดยพิจารณาจากวิชาคณิตศาสตร์ความสามารถความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาในการพัฒนาผู้เรียนส่งเสริม
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยโรงเรียนได้จัด

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนอื พิทยาคม ๕๕

กิจกรรม/โครงการเพื่อส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตร
สถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ดั ฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) เพ่ือให้ครูใช้เป็นกรอบในการจัดการ
เรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเปูาหมายที่ว่า “การจัดการศึกษาต้อง
เป็นไปเพอื่ พัฒนาคนไทยใหเ้ ป็นมนษุ ยท์ ่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และ
วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข ซ่ึงสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) และจัดการเรียนการสอนเพื่อ
ส่งเสริมทักษะอาชีพรายวิชาเพิ่มเติม (SBMLD) ได้แก่ รายวิชาดนตรีเพิ่มเติมเติม รายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม
รายวิชาอาหารไทย รายวิชาภาษาอังกฤษ รายวิชาภาษาไทย ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มี
ความสุข ดังน้ันโรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม จึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจานวน 2 ด้าน
ไดแ้ ก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและ 2) ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การคิดคานวณ รวมท้ังการมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถใน
การสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร และการมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน เจตคติที่ดีต่องาน
อาชีพ สาหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ี
สถานศึกษากาหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับท่ี
จะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย

ผลการดาเนินการ/การบรรลผุ ลสาเรจ็

มาตรฐานดา้ น คุณภาพของผเู้ รียน มรี ายละเอียด ดังต่อไปนี้
1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผ้เู รียน มีผลการประเมนิ จาก 10 ประเด็นพิจารณา 18 ค่าเปูาหมาย มีผลการ
ประเมินไดค้ า่ เฉล่ีย 75.26 มีคณุ ภาพอย่ใู นระดบั ดี

๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเ ียน การสือ่ สาร และการคิดคานวณ ค่าเฉลยี่ ผู้เรียนรอ้ ยละ
53.71 มคี ุณภาพอย่ใู นระดบั พอใช้ ซึ่งมผี ลการประเมินตาม 6 คา่ เปา้ หมายดังนี้ จากผู้เรยี น ท้ังหมด 373 คน )

1. ผเู้ รยี น จากท้งั หมด 373 คน โดยประเมินจากแบบประเมินของครผู ูส้ อนภาษาอังกฤษ ผล
ปรากฏว่า ผู้เรยี นรอ้ ยละ 44.77 จานวน 167 คน มีผลการประเมินความสามารถในด้านการ
อา่ น - เขียน ภาษาอังกฤษอยู่ในระดบั พอใช้

2. ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 44.52 มผี ลสมั ฤทธิ์ในรายวชิ าภาษาอังกฤษตั้งแต่ระดบั เกรด 3 ขึ้นไป โดย
ประเมนิ จาก ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน วชิ า ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระฯ ภาษาตา่ งประเทศ ทั้ง 2
ภาคเรยี น รวมตลอดปีการศกึ ษา

3. ผเู้ รียนร้อยละ 71.84 จานวน 268 คน มผี ลการประเมินความสามารถในการอา่ น–เขยี น
ภาษาไทย อย่ใู นระดับดี โดย ประเมินจากครผู สู้ อนวชิ า ภาษาไทย กลมุ่ สาระฯ ภาษาไทย

4. ผู้เรียนรอ้ ยละ ๖7.04 มผี ลสมั ฤทธิใ์ นรายวชิ าภาษาไทย ต้ังแตร่ ะดบั เกรด 3 ข้ึนไป โดยประเมนิ
จาก ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น วิชา ภาษาไทย กลุ่มสาระฯ ภาษาไทย ท้ัง 2 ภาคเรียน รวมตลอด
ปกี ารศึกษา

5. ผ้เู รียนร้อยละ 43.04 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการคดิ คานวณในระดับ พอใช้ โดย
ประเมิน จาก ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น กลมุ่ สาระฯ คณติ ศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ รวมกนั
ตลอดปกี ารศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม ๕๖

6. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 51.04 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนคณติ ศาสตร์ ตัง้ แต่เกรด 2.5 ขน้ึ ไป อยู่ในระดับ
พอใช้ โดยนบั สถติ ผิ ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน จากผูเ้ รียนรายวิชาคณติ ศาสตร์ทงั้ หมด ทั้ง 2 ภาค
เรยี น รวมตลอดปกี ารศึกษา

๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เห็น และ
แกป้ ญั หา คา่ เฉล่ียผูเ้ รยี นร้อยละ 74.69 มคี ุณภาพอยู่ในระดับ ดี ซึ่งมผี ลการประเมินตาม 3 ค่าเปา้ หมายดังนี้
จากผูเ้ รยี น ทั้งหมด 373 คน )

1. รอ้ ยละ 82.53 มผี ลการประเมนิ นกั เรียนจากกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ้งั หมด มผี ลการประเมิน
ระดับ ดเี ลิศ ขน้ึ ไป โดยประเมนิ จาก ปถ.05 ระดบั 2 ข้นึ ไป (เกณฑ์ ปถ.05 ระดบั 1=ผา่ น ,
2=ดี , 3=ดเี ยีย่ ม)

2. ร้อยละ 77.74 จานวน 290 คน มผี ลการประเมนิ จากผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์
เขียน มีผลการประเมนิ ระดบั ดี ขนึ้ ไป โดยประเมนิ จาก ปถ.05 ม.1-ม.6 ท่ไี ด้ ระดบั 2 ขน้ึ ไป
ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้

3. ร้อยละ 63.8 จานวน 238 คน มีผลการดาเนินโครงการกิจกรรม โครงงานนกั เรียนทกุ รายวชิ า
อยใู่ นระดบั ดี

3) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม คา่ เฉลีย่ ผเู้ รยี นร้อยละ 83.91 มคี ุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ
ซง่ึ มผี ลการประเมินตาม 2 คา่ เป้าหมายดงั น้ี จากผู้เรยี น ท้งั หมด 373 คน )

1. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 82.84 จานวน 309 คน มคี วามสามารถในคน้ ควา้ หาความรดู้ ้วยตนเองและ
สามารถนาองค์ความรู้มาสร้างนวตั กรรม เช่น โครงงาน หนังสอื เล่มเล็ก POP UP Power Point อยา่ งน้อย ๒
ช้ิน/ปีการศึกษา ทาได้ ระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ

2. ผู้เรยี นร้อยละ 84.98 จานวน 317 คน มีความสามารถทางานเป็นทีม ในคน้ คว้าหาความรู้
และสามารถนาองคค์ วามรู้มาสรา้ งนวัตกรรม เชน่ โครงงาน หนังสอื เลม่ เลก็ POP UP Power Point อยา่ งน้อย
๒ ชน้ิ /ปกี ารศึกษา ทาได้ ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ

4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ค่าเฉลี่ยผเู้ รยี นรอ้ ยละ 74.39 มี
คณุ ภาพอยู่ในระดบั ดี ซงึ่ มีผลการประเมนิ ตาม 2 ค่าเปา้ หมายดงั นี้ จากผ้เู รยี น ทงั้ หมด 373 คน )

1. ผ้เู รียนร้อยละ ๘3.91 จานวน 313 คน มผี ลการประเมินความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สารเพื่อพฒั นาตนเองและสังคมในด้านการเรยี นรู้ การสื่อสาร การทางาน การแกป้ ญั หา อยู่
ในระดับคุณภาพ ดีเลศิ

2. ผเู้ รยี นร้อยละ ๖4.87 จานวน 242 คน มีความสามารถใชส้ ่อื ออนไลนผ์ า่ นเครือขา่ ย
คอมพวิ เตอร์ อินเตอรเ์ น็ต ในการส่อื สาร ประชาสัมพนั ธ์ และสืบค้นข้อมูล ได้อยา่ งน้อย 2 ชอ่ งทาง อาทิ E-Mail
line เสิร์ชเอนจิน (Search Engines)ต่างๆ เปน็ ต้น ในระดบั คุณภาพ ดี

5) มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ค่าเฉล่ียผเู้ รยี นรอ้ ยละ 74.92 มีคณุ ภาพอยูใ่ น
ระดับ ดี ซึง่ มีผลการประเมนิ ตาม 3 ค่าเป้าหมายดังน้ี จากผ้เู รียน ทัง้ หมด 373 คน )

1. ผเู้ รียนร้อยละ 60.95 มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนทุกรายวชิ า ในระดับ ๓ ขน้ึ ไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพทิ ยาคม ๕๗

มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี โดยประเมินจากสถิติ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ท้งั 2 ภาคเรยี นรวมกัน ตลอดปีการศึกษา
2. ผ้เู รียนรอ้ ยละ 85.76 ของผู้เรยี นระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ มีผลการทดสอบระดับชาติ

ขน้ั พื้นฐาน (O-NET) T-Score 40 ขน้ึ ไป มคี ณุ ภาพอยู่ในระดบั ดีเลศิ โดยนับจากผู้เรยี นทีเ่ ข้าสอบ o-net
ทงั้ หมด จานวน 65 คน 4 รายวชิ า คือ รหัสวิชา 91=ภาษาไทย , 94=คณติ ศาสตร์ , 95=วทิ ยาศาสตร์ ,
93=ภาษาอังกฤษ นบั สถิติได้ 223 ครงั้ จากสถติ ิทง้ั หมด 260 คร้งั (อ้างองิ เอกสารแนบทา้ ยภาคผนวก)

3. ผเู้ รียนร้อยละ 78.06 ของผ้เู รียนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 มผี ลการทดสอบระดับชาติ
ขัน้ พื้นฐาน (O-NET) T-Score 40 ข้ึนไป มคี ณุ ภาพอยู่ในระดับ ดี โดยนับจากผูเ้ รยี นทีเ่ ข้าสอบ o-net ทง้ั หมด
จานวน 65 คน 5 รายวชิ า คอื รหัสวชิ า 01=ภาษาไทย , 02=สงั คมศึกษาฯ , 03=ภาษาองั กฤษ , 04=
คณติ ศาสตร์ , 05=วทิ ยาศาสตร์ นับสถติ ิได้ 121 ครง้ั จากสถติ ิทัง้ หมด 155 ครั้ง (อา้ งองิ เอกสารแนบท้าย
ภาคผนวก)

6) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ คา่ เฉลี่ยผเู้ รียนรอ้ ยละ 89.95 มีคณุ ภาพ
อยใู่ นระดบั ดีเลิศ ซง่ึ มผี ลการประเมนิ ตาม 2 ค่าเป้าหมายดงั น้ี จากผู้เรยี น ทั้งหมด 373 คน )

1. ผเู้ รยี นร้อยละ 93.04 จานวน 107 คน มผี ลการประเมินความรู้และทักษะพนื้ ฐานในการเลอื ก
ศึกษาต่อระดับท่ีสงู ขึ้น มีคุณภาพอยู่ระดบั ดีเลิศ โดยประเมินเกบ็ แบบสอบถาม จากผู้เรียน ม.3 จานวน 84 คน
ม.6 จานวน 31 คน รวม 115 คน

2. ผ้เู รยี นร้อยละ 86.86 จานวน 324 คน สามารถบอกอาชีพทต่ี นสนใจพรอ้ มทงั้ ใหเ้ หตุผล
ประกอบได้ มคี ณุ ภาพอยู่ระดับ ดีเลิศ โดยประเมนิ จากผูเ้ รียนทุกคน

1.2 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผเู้ รียน มผี ลการประเมิน จาก 4 ประเด็นพจิ ารณา 15 คา่ เปาู หมาย มผี ล
การประเมินได้ค่าเฉลย่ี 84.55 มีคณุ ภาพอยใู่ นระดับ ดเี ลศิ

1) การมคี ุณลกั ษณะและค่านยิ มทดี่ ีตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด ค่าเฉลี่ยผ้เู รียนร้อยละ 81.77 มี
คณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดีเลิศ ซ่ึงมีผลการประเมินตาม 6 ค่าเป้าหมายดงั นี้ จากผเู้ รียน ท้ังหมด 373 คน )

1. ผู้เรียนรอ้ ยละ 87.93 จานวน 328 คน มีผลการประเมนิ ดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
อย่ใู นระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ

2. ผู้เรียนร้อยละ 81.76 จานวน 305 คน มผี ลการประเมนิ ดา้ นการดารงตนตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง อย่ใู นระดับคุณภาพ ดีเลศิ

3. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 85.79 จานวน 320 คนมผี ลการประเมนิ ดา้ นประพฤตปิ ฏิบัตติ นตามระเบยี บ
วนิ ยั ของสถานศกึ ษา อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดีเลิศ

4. ผู้เรียนร้อยละ 84.45 จานวน 315 คน มผี ลการประเมนิ ดา้ นความซ่ือสตั ย์สจุ รติ อย่ใู นระดบั
คณุ ภาพ ดีเลิศ

5. ผเู้ รยี นร้อยละ 63.80 จานวน 238 คน มผี ลการประเมินดา้ นความกระตือรอื ร้นใฝุเรยี นรู้
อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ดี

6. ผเู้ รยี นร้อยละ 86.86 จานวน 324 คน มผี ลการประเมนิ ด้านมจี ิตสาธารณะ เสียสละ ม่งุ ทา
ประโยชนต์ อ่ สังคมส่วนรวม อยู่ในระดบั คุณภาพ ดีเลิศ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนอื พิทยาคม ๕๘

2) ความภูมิใจในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย คา่ เฉลย่ี ผเู้ รียนรอ้ ยละ 85.52 มีคุณภาพอยใู่ นระดับ ดี
เลิศ ซงึ่ มีผลการประเมินตาม 2 คา่ เปา้ หมายดังน้ี จากผู้เรยี น ทั้งหมด 373 คน )

1. ผู้เรยี นร้อยละ 83.10 จานวน 310 คน มีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษภ์ ูมิปัญญาท้องถิน่ เช่น
การเขา้ รว่ มกจิ กรรม หรือ มีผลงานดา้ นภูมปิ ัญญา ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ิน อย่างน้อย 5 กิจกรรม/ปี
การศึกษา อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ

2. ผเู้ รยี นร้อยละ 87.93 จานวน 328 คน มสี ่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย
เชน่ การเขา้ รว่ มกิจกรรมวนั สาคัญ หรือ มีผลงานดา้ นประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย อย่างน้อย 3 กจิ กรรม/ปี
การศกึ ษา อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ

3) การยอมรบั ท่จี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย คา่ เฉลยี่ ผเู้ รียนรอ้ ยละ 86.32 มี
คุณภาพอยใู่ นระดับ ดีเลศิ ซ่ึงมผี ลการประเมนิ ตาม 2 คา่ เป้าหมายดงั น้ี จากผเู้ รยี น ท้ังหมด 373 คน )

1.ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 89.00 จานวน 332 คน มผี ลการประเมนิ ด้านการประพฤติปฏิบตั ิตน
เป็นพลเมืองดี ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข อยู่ในระดับคุณภาพ
ดเี ลิศ

2.ผเู้ รยี นร้อย 83.64 จานวน 312 คน มีผลการประเมินดา้ นความสามารถในการปรับตวั ในการ
ทางานหรือเข้ารว่ มกจิ กรรมอนรุ กั ษ์ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ประเพณี และวัฒนธรรม อย่รู ว่ มกันกับผอู้ ืน่ อย่างมีความสุข
อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ดีเลศิ

4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม ค่าเฉลย่ี ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 84.61 มคี ุณภาพอยู่ในระดบั ดีเลิศ
ซง่ึ มีผลการประเมนิ ตาม 5 ค่าเปา้ หมายดังน้ี จากผูเ้ รยี น ท้งั หมด 373 คน )

1. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 89.54 จานวน 334 คน มนี ้าหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสขุ อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดเี ลิศ

2. ผู้เรยี นร้อยละ 77.74 จานวน 290 คน ผ่านการทดสอบสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
มาตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ หรือ กรมพลศกึ ษา หรอื สานักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.) อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

3. ผูเ้ รียนร้อยละ 80.42 จานวน 300 คน เขา้ รว่ มกจิ กรรมสุนทรียภาพดา้ นศิลปะ ทศั นศิลป์
ดนตรี นาฏศิลป์ และวรรณศิลป์ อยา่ งน้อย 5 กิจกรรม/ปีการศึกษา อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ

4. ผู้เรียนร้อยละ 86.86 จานวน 324 คน เขา้ ร่วมกจิ กรรมกฬี าและนนั ทนาการทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศกึ ษา อยา่ งน้อย 5 กจิ กรรม/ปีการศึกษา อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ

5. ผ้เู รียนร้อยละ 88.47 จานวน 330 คน มีผลการประเมินความสามารถอยู่รว่ มกับผู้อื่นอยา่ งมี
ความสุข เข้าใจผู้อ่ืน ไม่มคี วามขดั แย้งกับผอู้ นื่ อยู่ในระดบั คุณภาพ ดีเลิศ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ๕๙

สรปุ ผลการดาเนินงาน
ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิท์ างวิชาการ ซง่ึ โรงเรยี นมีการจัดกจิ กรรมตามแผนพัฒนาคณุ ภาพ
การศกึ ษา มกี ิจกรรมในหอ้ งเรียนบูรณาการทกุ สาระการเรยี นรู้ มีหลกั สูตรท้องถิน่ (รายวชิ า SBMLD) ใชแ้ หลง่
เรยี นรทู้ ัง้ ภายใน ภายนอก ใชว้ ิทยากร สื่อการสอนเทคโนโลยีทีห่ ลากหลาย มีการกระจายสญั ญาณอนิ เตอรเ์ นต็
ครอบคลุมพืน้ ท่เี พอื่ ใหค้ รู นักเรยี นไดศ้ กึ ษาค้นคว้าหาความรทู้ ุกเวลาและโอกาส ทาให้ผู้เรียนมีความสามารถ
คณุ ภาพผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสงู ขน้ึ จากผลการสอบโอเน็ตในปกี ารศึกษา 2563 และผลสมั ฤทธิท์ างการ
เรียนใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สูงขึ้น และผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์
เขียนส่ือความ มีผลการจัดการเรียนรู้ที่สูงขึ้นกว่าปีท่ีผ่านมา นอกจากน้ีมีการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่นการ
เลย้ี งปลา กบ ทาแปลงผกั ปลอดสารพษิ ทาสวนผสม และการสหกรณโ์ ดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
นักเรยี นรนุ่ พี่สามารถเปน็ พเ่ี ล้ยี งสอนน้องได้ มีผลงานท่ีเกิดจากงานอาชีพ มโี ครงงานแปรรูปอาหาร
การจัดการและการดาเนนิ กิจการสหกรณ์รา้ นคา้ เศรษฐกิจพอเพยี ง ทาให้ทกุ คนมคี ุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคต์ ามท่ี
สถานศึกษากาหนด ผูเ้ รียนมีคณุ ธรรมสามารถดารงตนในสังคม และประพฤติปฏิบตั ิตามคาสอนของศาสนา
รว่ มกจิ กรรมเขา้ คา่ ยคุณธรรม ปฏบิ ตั ติ นในวันสาคัญตา่ ง ๆ เชน่ ทากระทงไปลอย รว่ มตักบาตรขา้ วสาร
อาหารแหง้ กราบและไหวไ้ ด้ถกู ตอ้ ง นอกจากนน้ี กั เรียนทุกคนปฏบิ ตั ิหนา้ ท่รี กั ษาความสะอาดในโรงเรียนทุกวัน
ชอบเลน่ กีฬาทาให้สขุ ภาพแข็งแรง ไมเ่ กี่ยวขอ้ งกบั อบายมขุ ได้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี ทง้ั ส่งผลไปถงึ
ครอบครวั และชุมชนด้วย โดยคณะครูและทุกฝุายมีความพงึ พอใจในระดับดีทุกด้าน
จดุ เดน่
สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นและได้กาหนดเปน็ เปาู หมายทางการเรยี น
โดยใชข้ อ้ มลู ฐาน 3 ปียอ้ นหลังเป็นเปูาหมายคุณภาพนักเรียนใหพ้ ฒั นาสงู ข้นึ จดั กิจกรรมการเรียนการสอนเน้น
การปฏิบตั ิ เนน้ ทกั ษะในการอา่ น การเขยี น และการคดิ คานวณ ส่งเสรมิ ผเู้ รียนใหพ้ ัฒนาเต็มศกั ยภาพ มีการจัด
แหล่งเรยี นร้ภู ายในได้อย่างเหมาะสม มสี อ่ื ด้านเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั ผู้เรียนมี สขุ ภาพกาย สุขภาพจติ ดี
กล้าแสดงออก และสามารถอยรู่ ว่ มกับผ้อู ืน่ อยา่ งมคี วามสุข
สถานศึกษามีการสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
โดยเฉพาะการใช้กระบวนการการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เช่น การจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนในรูปแบบโครงงาน การทางานด้วยระบบทีมเป็นกลุ่ม เพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบ
รวมถึงมีทักษะในสืบค้นค้นข้อมูลผ่านแอพ Googleในมือถือ เพ่ือรวบรวมข้อมูล คัดเลือกคัดสรรค์ คิดวิเคราะห์
สงั เคราะห์ ในการนาไปสรา้ งนวตั กรรมตา่ งๆ เพอื่ เชอ่ื มโยงสูก่ ารพฒั นาวชิ าชีพในอนาคต และปัจจุบัน โรงเรียนได้มี
การพฒั นาหอ้ งศนู ย์การรู้ศาสตร์พระราชา ในการเรียนรู้ ระบบเศรษฐกิจพอเพียงและอื่นๆ ไว้บริการนักเรียนและ
ชมุ ชน มีกลุ่มนักเรียนวงดนตรี-แตรวง-โยธวาธติ –ดนตรสี ากล ทอ่ี อกงานแสดงบริการช่วยงานโรงเรียนและชุมชน
มีห้องศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐาน มีห้องสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน มีระบบเทคโนโลยีสารส นเทศเพื่อ
การศกึ ษาในโรงเรียน มีหอ้ งเรยี นคอมพวิ เตอร์เพียงพอกับนักเรียนท่ีมีคาบเรียน มีห้องสมุดสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต
และมกี ารสนบั สนุนบรกิ ารดา้ นอินเตอรเ์ น็ตในโรงเรียน โดยเพมิ่ จดุ บริการ wifi ในบริเวณต่างๆ ในโรงเรียน ในด้าน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนนั้น โรงเรียน มีความโดดเด่นในเรื่องกิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ กิจกรรมของ
สถานศึกษาพอเพยี ง กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนที่เข้มแข็งผ่านครูท่ีปรึกษา รวมถึงโครงการและกิจกรรม
ที่เก่ียวข้องกับการส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ณ วัดพิชโสภาราม ร่วมงานชุมชน เช่น ประเพ ณีกวนน้า
ทิพย์ แห่เทียนพรรษาอาเภอเขมราฐ วันชาตกาล สรงน้าพระรูปเหมือนหลวงพ่อใหญ่วัดพิชโสภาราม แห่ฉลอง
พัดยศบาลีเปรียญธรรมประโยคต่างๆ เข้าบวชถือศีลปฏิบัติธรรม และ วันสาคัญความเป็นไทยต่างๆ ซ่ึงคณะครู
และนักเรียนใหค้ วามร่วมมือเป็นอยา่ งดี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม ๖๐

จุดท่ีควรพฒั นา/ข้อเสนอแนะ
ในดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน เร่ืองของการมคี วามสามารถในการอา่ นการเขียน การสอื่ สาร
และการคิดคานวณนั้น ยงั ตอ้ งมกี ารสนบั สนนุ และส่งเสรมิ กันอยา่ งต่อเนอ่ื ง ถงึ แมว้ า่ ภาพรวมจะอยู่ในเกณฑ์ดี แต่
เม่ือมองในรายละเอยี ดจะพบวา่ ยงั มีอีกหลายส่วนให้พิจารณา เช่น นักเรียนระดับ ม.ตน้ บางสว่ นที่ยังอ่าน เขยี น
และส่อื สาร รวมถงึ คิดคานวณได้ยังไม่อยู่ในเกณฑท์ ่ีดี สว่ นเรื่องของการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ การ
อภปิ รายแลกเปลีย่ น ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา รวมถึงความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรมน้ัน ยงั ต้องมีการ
สง่ เสริมและสนบั สนุนอย่างต่อเนือ่ ง เชน่ การสอดแทรกกิจกรรมตา่ งๆ ทจ่ี ะสง่ เสรมิ ทักษะในด้านเหลา่ นใ้ี ห้มาก
ยิง่ ขน้ึ ในสว่ นของความสามารถในการใช้เทคโนโลยนี น้ั โรงเรยี นตอ้ งสง่ เสริมการใช้อินเตอรเ์ น็ต wifi .ใหน้ กั เรียน
ได้เช่ือมต่อกับอปุ กรณส์ ่วนบคุ คล เช่น โทรศัพท์ แทปเลต โน้ตบุค ในการสบื ค้นข้อมูลแผ่นแอพ Google เพอื่ ใชใ้ น
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน แต่สงิ่ ทส่ี าคัญท่ีต้องจดั เป็นลาดบั ที่ 1 ในการให้ความสาคัญนอกเหนือจากทักษะ
ในการใช้เทคโนโลยกี ็คือ ทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างปลอดภัย และการเคารพสิทธิ และ ความคดิ เห็นของผูอ้ น่ื
ในการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมถึงกฎหมายที่เกย่ี วข้อง
ในด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นจาเปน็ ต้องพัฒนานักเรยี นซง่ึ มีความ
แตกต่างในดา้ นการรับรู้ และ ในปจั จบุ นั ยังตอ้ งเผชิญกับปัญหาเรอ่ื งของนักเรียนทม่ี ีความบกพร่องในดา้ นต่างๆ
และ ปัญหานกั เรียนติดเกม ซ่ึงส่งผลใหน้ กั เรยี นใหค้ วามสนใจในด้านการเรยี นลดน้อยลง ทาใหส้ ่งผลโดยตรงต่อ
คุณภาพชน้ิ งานและ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี น
สว่ นในด้านคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผ้เู รียนน้ัน ปญั หาท่ียงั ต้องเผชญิ กับกลุ่มนกั เรยี นทมี่ ี
พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ เชน่ หลบเรยี น หนเี รียน มาสาย แต่งกายผิดระเบียบของโรงเรยี น ขบั รถมอเตอร์ไชเสยี ง
ดงั ซึ่งสง่ ผลให้มผี ลการเรยี นมปี ัญหา ตดิ 0 ร มส. ซ่ึงเป็นนกั เรียนกลมุ่ เดิม ควรเร่งพัฒนาแก้ไขผา่ นระบบดแู ล
ชว่ ยเหลอื นักเรียนร่วมกับผปู้ กครองของนักเรียนในรูปแบบคณะกรรมการ และเร่ืองของการอยูร่ ว่ มกันบนความ
แตกตา่ งและหลากหลาย โรงเรยี นควรใหค้ วามสาคัญในการจัดกิจกรรมใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจสิทธิและหน้าท่ี รวมถึงการ
ยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกันในสงั คมที่มีความหลากหลายทงั้ ทางดา้ นเชอ้ื ชาติ ศาสนา สงั คม และ วัฒนธรรม ทงั้ ในโลก
แหง่ ความเปน็ จรงิ และ สังคมในอนิ เตอรเ์ นต็ ให้มากยงิ่ ขนึ้
การจดั กจิ กรรมที่มุ่งเนน้ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ ยังขาดการปฏบิ ัติทต่ี อ่ เนื่อง จริงจัง การยกระดับผลสมั ฤทธิ์
แตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนร้ปู ระสบผลสาเร็จในระดับหนง่ึ นักเรียนสว่ นใหญ่ยงั ตอ้ งได้รบั การ
พัฒนาตอ่ ไป ผลสัมฤทธ์ิระดบั ชาติของนักเรียนมแี นวโนม้ เปลยี่ นแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวม แต่ไมผ่ ่านเกณฑใ์ น
บางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ จึงต้องมงุ่ เนน้ พัฒนาต่อไป
การดาเนนิ งานตามมาตรฐานนี้โดยเฉพาะการวางแผนพฒั นาผู้เรยี นยังไมช่ ดั เจนและลงไป
ทีเ่ ปูาหมายอยา่ งจริงจงั และต่อเนื่อง ผูเ้ รียนบางคนยังขาดทักษะในการแกป้ ญั หา บางคนขาดทักษะการ
วางแผน กระบวนการและขั้นตอนการทางานยังไม่เกิดขน้ึ และปรบั เปลี่ยนวิธีการอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะใน
สถานการณ์ปจั จบุ นั ยคุ Thailand 4.0 นกั เรียนยงั ขาดเปูาหมาย และแรงจูงใจในการเรียน และผู้เรียนต้อง
พัฒนาทักษะการสอื่ สาร โดยเฉพาะทกั ษะการส่ือสารภาษาองั กฤษ

แหล่งข้อมูลหลกั ฐานอา้ งองิ /เอกสารเชิงประจักษ์ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
- แผนการการจดั การเรียนรขู้ องครูทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้
- รายงานผลการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้
- แบบบันทกึ ผลการจดั การเรยี นการสอน(ปถ.05)
- สรุปผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ประจาปกี ารศึกษา 2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพทิ ยาคม ๖๑

- ผลสอบโอเน็ต ปกี ารศึกษา 2563
- รายงานผลการดาเนนิ โครงการ
- นวัตกรรมการจัดการเรยี นรขู้ องครู
- ผลงานครู
- ผลงานนักเรยี น
- ภาพถ่ายโครงการ/กิจกรรมการจดั การเรียนรู้
- สารสนเทศโรงเรียน, บนั ทึกการนเิ ทศ, สรปุ การประเมินโครงการท่ีเกี่ยวข้อง เช่น โครงการโรงเรียนวิถี
พทุ ธ โครงการพัฒนาศกั ยภาพการจัดการเรยี นรทู้ ุกกลุ่มสาระ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน

ประเด็นภาพความสาเรจ็ ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี นท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
1) โครงการโรงเรียนพอเพยี งทอ้ งถ่ิน อย่ใู นระดบั ดี
2) โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอนการบริหารตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

“สถานศกึ ษาพอเพียง” สู่ “ศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง” อยใู่ นระดับ ดี
3) โครงการโรงเรยี นวถิ พี ุทธ อยูใ่ นระดับ ดี
4) โครงการสง่ เสริมคุณธรรม มารยาทไทย ทักทาย ย้มิ แยม้ แจ่มใส อยู่ในระดับ ดี
5) โครงการค่ายปรบั พน้ื ฐานก่อนเรียน อยู่ในระดบั ดี
6) โครงการส่งเสรมิ ประชาธิปไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการสง่ เสริมและพัฒนานกั เรียนสูค่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ อยู่ในระดับ ดี
8) โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาความเปน็ เลศิ ทางกีฬา อยูใ่ นระดับ กาลังพัฒนา
9) โครงการพฒั นาวงดนตรโี รงเรียน อยูใ่ นระดบั ดี
10) โครงการพฒั นากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี อย่ใู นระดบั ดี
11) โครงการพัฒนากจิ กรรมผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ อยู่ในระดบั ดี
12) โครงการรักการอ่าน อยู่ในระดบั ดี
13) โครงการคา่ ยดาราศาสตร์ อยู่ในระดบั ดี
14) โครงการพฒั นาการเรียนรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้ภายนอก อยใู่ นระดับ ดี
15) โครงการปัจฉิมนเิ ทศนกั เรียน ม.3 ม.6 อยใู่ นระดบั ดี
16) โครงการพฒั นาศกั ยภาพนกั เรยี นตามความถนดั และความสนใจ อยใู่ นระดับ ดี
17) โครงการค่ายนาฏศลิ ปไ์ ทย อย่ใู นระดบั ดี
18) โครงการคา่ ยคณติ ศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
19) โครงการสง่ เสริมกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน อย่ใู นระดบั ดี
20) โครงการสนบั สนุนปจั จัยพ้ืนฐานสาหรบั นกั เรียนยากจน อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการจัดแสดงนทิ รรศการและผลงานทางวิชาการ อยูใ่ นระดบั ดี
22) โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น อยูใ่ นระดับ ดี

จดุ เน้นการทาโครงการแตล่ ะโครงการ โรงเรยี นกาหนดใหใ้ ช้ ระบบทางานรปู แบบ PDCA ยกตวั อยา่ งดังนี้
โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม มารยาทไทย ทักทาย ย้มิ แย้มแจม่ ใส อย่ใู นระดับ ดี

P-การวางแผน

-โรงเรียนร่วมกันประชุมวางแผนพัฒนาผ้เู รยี นใหม้ คี ุณลักษณะตามอตั ลักษณโ์ รงเรียน คือ ย้มิ แยม้ แจม่ ใส
ใฝุเรียนรู้ กาหนดให้ มีโครงการประกวดมารยาทไทย และใฝุเรยี นรู้ มีนักเรยี นเขา้ ร่วม โครงการ 250 คน
นกั เรียนที่เข้าร่วมตั้งเปูาหมาย รอ้ ยละ 100 ตอ้ งมีมารยาท และใฝเุ รียนรู้ มีคุณภาพระดบั ดีเลิศข้นึ ไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพทิ ยาคม ๖๒

D-ขั้นตอนการปฏิบตั ิ

-โดยดาเนนิ การ คัดเลอื กนักเรยี นที่เข้ารม่ โดยการสังเกตพฤตกิ รรมตลอดปกี ารศึกษา 2563

C-การตรวจสอบวดั และประเมนิ ผล

-จากการสังเกต โดยครปู ระจาวชิ า/ทปี่ รกึ ษา ลงในแบบสังเกตภาคเรียนละ 2 ครั้ง ตามบญั ชีรายชื่อแบบสังเกต
เกบ็ ข้อมูล
-ผลปรากฏวา่ มจี านวนนักเรียนท่บี รรลุผลสาเรจ็ รอ้ ยละ 80 จานวน 200 คน ทม่ี ีคณุ ภาพมารยาทปฏบิ ัติและใฝุ
เรียนรู้ ได้ ระดบั ดีเลศิ ข้นึ ไป

A-การนาผลไปปรับปรงุ พฒั นา

- ทง้ั น้ี โรงเรียน จะดาเนนิ โครงการประกวดมารยาทไทย ในปกี ารศึกษา 2564 เพ่ือพัฒนานักเรยี น ร้อยละ 20
จานวน 50 คน ท่ยี ังไม่บรรลุ ให้มคี ณุ ภาพมารยาทปฏิบัตแิ ละใฝุเรียนรู้ ระดบั ดีเลิศตอ่ ไป

-การนาเสนอตอ่ ผทู้ ี่เก่ียวข้อง

-รายงาน ,จุลสาร-แผน่ พับ, การประชุมผ้ปู กครองนักเรยี น ประจาภาคเรยี นที่ 1 , 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
-โรงเรยี นได้ประชาสัมพันธ์ภาพประมวลโครงการ/กิจกรรม ไวท้ ่ี เฟซบุคโรงเรียนที่

https://www.facebook.com/knpubon หรือ สแกน QR-code คือ

เว็บไซต์โรงเรียนท่ลี ิงค์ http://www.kaengnuea.ac.th/mainpage หรือ สแกน QR-code คอื

-ด้านการพัฒนาคภุ าพผเู้ รยี น โรงเรยี นแกง้ เหนอื พิทยาคม ยงั ไม่มี แบบอย่างทดี่ ี (Best Pratice ) หรือ
นวตั กรรม (Innovation) แต่โรงเรยี นมีโครงการทเี่ ป็นแบบอย่างทดี่ ี กลา่ วคอื ทปี่ ระสบผลสาเรจ็ จนได้รบั การ
ยอมรับ หรือเปน็ ตัวอยา่ งการปฏิบตั กิ ารศึกษาขั้นพื้นฐาน เสนอไว้ที่ สว่ นท่ี 4 ของรายงานการประเมนิ ตนเองของ
สถานศกึ ษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพทิ ยาคม ๖๓

-หมายเหตุ แผนพฒั นายกระดบั คุณภาพผ้เู รียนให้สงู ขึ้น หรือ การนาผลการประเมินผเู้ รียนดา้ นผลสมั ฤทธ์ิให้
สูงขึ้น และการนาเสนอผลการประเมินคุณภาพของผเู้ รยี นตอ่ ผทู้ เ่ี กย่ี วข้อง เสนอรายละเอียดไวท้ ่ีสว่ นที่ 3 รวมท้ัง
ภาคผนวก ของรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา เลม่ นี้

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มีผลการประเมนิ ดังน้ี

-กระบวนการบริหารและการจดั การ ร้อยละ 65.81 ประกอบด้วย การมีเปูาหมาย วสิ ัยทศั น์ และ
พันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน , มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา , ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการท่ี
เน้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลกั สุตรสถานศึกษาและทุกกลมุ่ เปูาหมาย , พัฒนาครูและบคุ ลกรให้มคี วาม

เชี่ยวชาญทางวชิ าชพี , จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่เี อ้ือต่อการจดั การเรียนรูอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ , และ
จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ ในภาพรวมค่าเฉลย่ี ของ
มาตรฐานนี้ อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดี

แผนดาเนินการ/การตัง้ ค่าเปา้ หมาย

-โรงเรยี นแกง้ เหนือพทิ ยาคม ไดว้ างแผนงานฯ โครงการ ดาเนินการ พฒั นา ระบบ กระบวนการบริหาร
และการจดั การ ในการประกันคุณภาพ รปู แบบ PDCA จานวน 6 ประเดน็ การพจิ ารณา 20 เปาู หมาย
รายละเอียด ตามประกาศแนบท้ายภาคผนวก ซึง่ ประกอบดว้ ย 2 สว่ น คือ คา่ เปาู หมายรอ้ ยละเชิงปรมิ าณ และ
เปาู หมายระดับคุณภาพ

-ซงึ่ มีรายละเอยี ด เปรยี บเทยี บ ระหวา่ ง ค่าเปูาหมายท่ีต้ังไว้ กับ ผลการประเมิน ดงั น้ี

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ค่าประกาศตัง้ ไว้ คา่ ผลการประเมนิ
ตนเอง
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและจัดการ ค่าเปา้ หมาย
เชงิ ปริมาณ ระดบั คา่ เป้าหมาย
๒ ๑ การมเี ป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกิจท่ี (รอ้ ยละ) คุณภาพ เชิงปริมาณ ระดบั
สถานศึกษากาหนดชดั เจน (ร้อยละ) คณุ ภาพ
๒ ๒ มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 70.63 ดี
๒ ๓ ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทเี่ น้นคุณภาพผ้เู รยี นรอบ 73.75 ดี 65.81 ดี
ดา้ นตามหลักสุตรสถานศกึ ษาและทุกกลุม่ เป้าหมาย 78.75 ดี
๒ ๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลกรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ 70 ดี
๒ ๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่เี อื้อต่อ 75 ดี 65.33 ดี
การจัดการเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ 70.25 ดี
๒ ๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การ 70 ดี
บริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ 70 ดี 42.5 พอใช้
60 ดี
65 ดี
78 ดี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนอื พิทยาคม ๖๔

กระบวนพัฒนา/ วธิ ีการดาเนนิ การ

วิธกี ารพัฒนา/ผลท่ีเกิดจากการพัฒนา เพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพ
ของสถานศึกษา โรงเรียน ได้ดาเนินการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา โดยเน้น สภาพปัญหา และ
ความต้องการของผู้ท่ีมี่ส่วนร่วมทุกภาคส่วน โดยมีการแต่งต้ังคณะกรรมการเพ่ือจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศึกษา ซ่ึงประกอบไปด้วย ครู กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และ ผู้แทนจากชุมชน ในการใช้
กระบวนการวิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา (SWOT Analysis) มาเป็นเครื่องมือในการหา จุดเด่น จุดที่ควร
พฒั นา โอกาส อุปสรรค เพือ่ นาไปสกู่ ารกาหนดวิสยั ทศั น์ พันธกิจ และแผนปฏิบัติการประจาปี มีการใชว้ งจรการ
บริหารงานเชิงระบบ (PDCA) มาเป็นหลักในการบริหารงาน ซึ่งประกอบด้วย ขั้นวางแผน(Plan) ซึ่งเป็นการ
กาหนดกรอบงานทต่ี อ้ งการแก้ปัญหา รวมถึงพัฒนาสิ่งใหม่ๆ โดยพิจารณาว่า ต้องนาข้อมูลอะไรบ้างท่ีเก่ียวข้องมา
วเิ คราะห์ แลว้ กาหนดทางเลอื กในการปรบั ปรุงเปล่ยี นแปลง และขัน้ ตอนตอ่ ไปคอื การดาเนนิ งาน (DO) ในขั้นน้ีเป็น
การลงมือปรับปรุง เปล่ียนแปลง และพัฒนา ตามกรอบหรือแนวทางที่ได้กาหนดไว้ และข้ันตอนต่อมาคือ ขั้น
ตรวจสอบ (Check) เป็นการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลท่ีได้รับจากการดาเนินการ เพื่อให้ทราบว่าการ
ดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ และ เปูาหมายที่วางไว้หรือไม่ โดยกาหนดความถ่ีของการตรวจสอบตามความ
เหมาะสม และในข้ันตอนต่อไปคือข้ันตอนของการปรับปรุงแก้ไข (Act) หมายถึง การนาผลการประเมินมาพัฒนา
อาจประกอบดว้ ย การนาผลการ ประเมินมาวเิ คราะห์ว่ามีขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงานใดทค่ี วร ปรบั ปรงุ หรอื
พัฒนาสิ่งท่ีดีอยแู่ ล้วให้ดยี ิ่งข้นึ ไปอีก และสงั เคราะหร์ ูปแบบ การดาเนนิ การใหมท่ ี่เหมาะสม สาหรบั
การดาเนินการ ในครั้งต่อไป และ นาเสนอการพัฒนาต่อผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน กรรมการ
สถานศึกษา และสาธารณชนท่วั ไป ทางเฟซบุคและเว็บไซต์โรงเรยี นแกง้ เหนอื พิทยาคม

ผลการดาเนินการ/การบรรลผุ ลสาเรจ็

มาตรฐาน ด้าน กระบวนการบริหารและการจดั การ มีรายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี
2.1 มเี ป้าหมายวิสยั ทศั นแ์ ละพันธกิจทส่ี ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน มคี ่าเฉลยี่ ร้อยละ 78.75 มีคุณภาพ

อยู่ในระดับ ดี ซง่ึ มีผลการประเมนิ ตาม 4 คา่ เปา้ หมาย ดังนี้
1. ร้อยละ 76 สถานศกึ ษา มีผลการประเมิน ความสอดคลอ้ งของเปูาหมาย วิสัยทศั น์ พันธกิจ

ที่สถานศึกษากาหนดไว้กับแผนการศึกษาชาติ ความต้องการของชุมชน และท้องถิ่น อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
2. รอ้ ยละ 73 สถานศกึ ษามผี ลการประเมนิ การจัดกิจกรรม 9 ส. ของสถานศึกษา

อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี
3. ร้อยละ 82 สถานศึกษามีผลการประเมินการจดั ทาเว็บไซต์ ของสถานศึกษา

อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ
4. รอ้ ยละ 84 สถานศึกษามีผลการประเมินการกิจกรรมโรงเรียนวถิ ีพุทธ อย่ใู นระดบั คุณภาพ ดีเลศิ

2.2 มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา มคี า่ เฉลยี่ รอ้ ยละ 65.33 มีคุณภาพอยใู่ นระดับ ดี ซง่ึ
มผี ลการประเมินตาม 3 คา่ เป้าหมาย ดังน้ี

1. รอ้ ยละ 74 สถานศึกษามีผลการประเมนิ การวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้มีความ
สอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาและมีนาข้อมลู มาใชใ้ นการพัฒนาบุคลากรและผู้ท่เี กี่ยวข้องทุกฝุายมสี ่วนรว่ ม
การวางแผน ปรบั ปรุงและพัฒนา และรว่ มรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี

2. ร้อยละ 62 สถานศึกษามผี ลการประเมินการปฏบิ ตั ิงาน การบรหิ ารอัตรากาลัง ทรัพยากร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม ๖๕

ทางการศึกษา และระบบดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียน มรี ะบบการนิเทศภายใน และดาเนินงานโครงการ กจิ กรรม
ต่างๆตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

3. ร้อยละ 60 สถานศกึ ษามผี ลการประเมนิ การตดิ ตาม นิเทศตรวจสอบ ประเมนิ ผล ปรบั ปรงุ
พฒั นางาน และการประเมนิ ตนเอง (Self-Asseseement Report: SAR)อย่างต่อเนื่อง ตามมาตรฐานสถานศึกษา
อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ดี

2.3 ดาเนินงานพัฒนาวชิ าการทีเ่ น้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมาย มคี า่ เฉลยี่ รอ้ ยละ 70.25 มีคุณภาพอยใู่ นระดบั ดี ซึง่ มีผลการประเมนิ ตาม 4 ค่าเป้าหมาย
ดังนี้

1. รอ้ ยละ 78 สถานศึกษามผี ลการประเมนิ สรปุ ผลการจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษา
อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดี

2. รอ้ ยละ 76 สถานศึกษามีผลการประเมินสรปุ ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพของผเู้ รยี น
ในคา่ ยวิชาการ คา่ ยคุณธรรม ทัศนศึกษา อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดี

3. ร้อยละ 65 สถานศกึ ษามผี ลการประเมนิ สรุปผลการจดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น
อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดี

4. ร้อยละ 62 สถานศึกษามผี ลการประเมินสรปุ ผลการระบบนิเทศการจัดการเรยี นรู้
อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดี

2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี มีค่าเฉลย่ี ร้อยละ 42.5 มคี ุณภาพอยู่
ในระดับ พอใช้ ซ่ึงมผี ลการประเมินตาม 4 ค่าเปา้ หมาย ดังนี้

1. รอ้ ยละ 55 สถานศึกษามกี ารสนับสนุน สง่ เสริม ใหค้ รู และบคุ ลากรทางการศึกษา
ให้มกี ารพัฒนาศักยภาพ ความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพตามมาตรฐานตาแหน่ง อย่างน้อย 12 ชวั่ โมง/คน/ปีการศึกษา
อย่ใู นระดับคณุ ภาพ พอใช้

2. ร้อยละ 40 สถานศึกษามีผลประเมนิ สรปุ ผลการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมชุมชน
เครอื ข่ายการเรียนรเู้ พือ่ พฒั นาวิชาชพี อยใู่ นระดับคุณภาพ พอใช้

3. รอ้ ยละ 45 สถานศกึ ษามีผลการประเมิน รายงานการไปราชการของครู / คาสงั่ ไปราชการ
อยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้

4. ร้อยละ 30 สถานศกึ ษามีผลการประเมิน รายงานโครงการสง่ เสริมพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา รายงานการประเมินตนเองของขา้ ราชการครู อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ

2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ มคี ่าเฉลย่ี
รอ้ ยละ 60 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดี ซ่ึงมีผลการประเมินตาม 4 ค่าเปา้ หมาย ดังน้ี

1. ร้อยละ 65 สถานศกึ ษามผี ลการประเมนิ สรุปผลการจดั สภาพทางอาคารเรียน
อาคารประกอบ ห้องเรียน หอ้ งสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วสั ดุ ครุภณั ฑ์ เพียงพออยู่ในสภาพการใช้การ
ไดด้ ี มีความเปน็ ระเบียบสะดวก ปลอดภัย ถูกสขุ ลักษณะ สะอาด สวยงาม และเอ้ือต่อการเรยี นรู้ อย่ใู นระดับ
คุณภาพ ดี

2. ร้อยละ 62 สถานศึกษามีผลการประเมนิ สรุปผลการใช้และพัฒนาแหล่งเรียนรูภ้ ายในทเ่ี อ้ือต่อ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนือพทิ ยาคม ๖๖

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี
3. ร้อยละ 55 สถานศกึ ษามีผลการประเมิน สรปุ ผลการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ภายนอกที่เออื้ ตอ่ การจดั

กจิ กรรมการเรียนรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพอย่ใู นระดับคุณภาพ พอใช้
4. รอ้ ยละ 58 สถานศึกษามีผลการประเมิน สรุปผลการใช้ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ทเ่ี อ้ือต่อการจัด

กิจกรรมการเรียนรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ อย่ใู นระดับคุณภาพ พอใช้

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มผี ล
ประเมิน ร้อยละ 78 มีคุณภาพอยู่ในระดบั ดี ซงึ่ มผี ลการประเมนิ ตาม 1 ค่าเปา้ หมาย ดงั นี้
1. ร้อยละ 78 สถานศึกษามีผลการประเมนิ สรุปผลการจดั ให้มรี ะบบอนิ เตอรเ์ น็ตความเร็ว

สถิตกิ ารใชห้ อ้ งคอมพวิ เตอร์ อินเตอร์เน็ต และห้องสมุดศูนย์การเรยี นรู้ เพ่อื อานวยความสะดวกต่อการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนและการสืบคน้ ข้อมลู ของผเู้ รยี นครอบคลุมทกุ พน้ื ท่ีอย่างมีประสิทธภิ าพ อยใู่ นระดับ
คุณภาพ ดี

สรุปผลการดาเนนิ งาน
1. สถานศึกษามีการกาหนดเปูาหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการ

พัฒนาของสถานศึกษานโยบายการปฏิรูปการศึกษาความต้องการของชุมชนท้องถ่ินและสอดคล้องกับแนวทาง
การปฏริ ปู ตามแผนการศกึ ษาชาติ

๒. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาแผนปฏิบัติการประจาปีสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุก
กลุ่มเปูาหมายมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเช่ียวชาญตามมาตรฐานตาแหน่งข้อมูล
สารสนเทศมีความถกู ตอ้ ง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ได้มีการดาเนินการอย่างเป็นระบบและมีกิจกรรมจัด
สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่กระตุ้นผเู้ รียนให้ได้เรียนรู้

๓. สถานศกึ ษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีให้สอดคล้องกับ
สภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่ วนร่วมในการพัฒนาและ
ร่วมรบั ผิดชอบ

๔ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝุายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาและรบั ทราบรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา

๕. สถานศกึ ษามีการนิเทศกากับติดตามและประเมนิ ผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสมเป็น
ระบบและต่อเนอื่ ง เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกย่ี วขอ้ งมสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา

5. สถานศกึ ษามรี ูปแบบการบรหิ ารและการจดั การเชงิ ระบบโดยทกุ ฝุายมีส่วนร่วมยดึ หลักธรรมาภิบาล
และแนวคดิ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมุ่งพฒั นาผเู้ รยี นตามแนวทางปฏริ ปู การศึกษา

จุดเดน่
โรงเรียนมีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการนาเอาผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา เช่น ครู กรรมการ

สถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และ ผู้แทนจากชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และ กาหนดวิสัยทัศน์
พนั ธกจิ ซึง่ สง่ ผลไปถงึ การจดั ทาแผนปฏิบัติการประจาปี จึงทาให้โครงการต่างๆที่ออกมาเป็นไปตามความต้องการ
สว่ นใหญ่ของผทู้ ี่เก่ยี วข้องทกุ คน กล่าว คือ

1. โรงเรยี นมีการบรหิ ารการจัดการอยา่ งเป็นระบบ
2. โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดม
สมอง การประชุมกลุ่มเพื่อให้ทุกฝุายมีส่วนร่วมในการ กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาหมายที่ชัดเจน มีการปรับ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนอื พิทยาคม ๖๗

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ การประจาปี ท่ีสอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา
ความต้องการพัฒนา และนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมี คุณภาพตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี คุณภาพ มีการดาเนินการนิเทศ
กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงานและการจัดรายงานผลการจัดการศึกษาและโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัย
ในการ รวบรวมขอ้ มูลเพ่ือใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนา คณุ ภาพสถานศกึ ษา

จดุ ท่คี วรพัฒนา/ขอ้ เสนอแนะ
1. เปดิ โอกาสใหผ้ ู้ปกครองได้มีส่วนรว่ มในการเสนอความคิดเห็นในการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาผเู้ รียน
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน การจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง

มสี ว่ น รว่ มรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา และการขับเคล่ือนคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา

แหล่งข้อมูลหลกั ฐานอา้ งองิ /เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ที่สนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง

1. แผนพฒั นาการศกึ ษาสามปี พ.ศ. 25๖1-2563
2. แผนปฏิบัติการประจาปีการศกึ ษา 2563
3. ผลการดาเนินโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา,
โครงการนิเทศภายใน
ประเดน็ ภาพความสาเรจ็ ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การท่ีสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง

1.โครงการสนับสนนุ ค่าเครอ่ื งแบบนกั เรยี น อยู่ในระดบั ดี
2.โครงการสนบั สนนุ คา่ หนังสือเรียน อยใู่ นระดบั ดี
3.โครงการสนบั สนนุ คา่ อปุ กรณ์การเรียน อยใู่ นระดับ ดี
4.โครงการคา่ จา้ งเหมาบรกิ าร อย่ใู นระดบั ดี
5.โครงการค่ารับรองและพิธีการ อย่ใู นระดับ ดี
6.โครงการค่าจ้างเหมาบรกิ ารทาความสะอาด อยใู่ นระดับ ดี
7.โครงการค่าวัสดสุ านักงาน อยู่ในระดบั ดี
8.โครงการค่าวสั ดุงานบา้ นงานครัว อยใู่ นระดบั ดี
9.โครงการค่าวสั ดุไฟฟูา วิทยุและประปา อยใู่ นระดบั ดี
10.โครงการคา่ วสั ดเุ ช้อื เพลงิ และหลอ่ ล่นื อยู่ในระดบั ดี
11.โครงการคา่ บารุงรกั ษาและซ่อมแซม อย่ใู นระดับ ดี
12.โครงการพัฒนาระบบควบคมุ ภายใน อยู่ในระดบั ดี
13โครงการพัฒนากิจกรรม๙ ส อยู่ในระดับ ดี
14.โครงการสนบั สนุนคา่ สาธารณปู โภค ค่ากระแสไฟฟูา ค่าบรกิ ารอนิ เตอรเ์ นต็ ค่าบริการ
โทรศพั ท์ อยู่ในระดับ ดี
15.โครงการการซ่อมแซมอาคารเรียน อย่ใู นระดบั ดี
16.โครงการปรับปรุงภมู ทิ ศั น์และสงิ่ แวดลอ้ มโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
17.โครงการสง่ เสรมิ การบริการเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ ระบบ ADSL ระบบ WIFI อยใู่ นระดบั ดี
18.โครงการพฒั นางานประชาสมั พันธ์และเผยแพรข่ ้อมลู ข่าวสาร อยู่ในระดับ ดี
19.โครงการพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษา อย่ใู นระดบั ดี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแกง้ เหนอื พิทยาคม ๖๘

20.โครงการบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) อยู่ในระดบั ดี
21.โครงการจัดทาและพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษา อยู่ในระดบั ดี
22.โครงการคา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ อยู่ในระดับ ดี
23.โครงการพฒั นางานโสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับ ดี
-ด้านการบรหิ ารและการจดั การ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ยังไม่มี แบบอย่างท่ีดี (Best Pratice ) หรือ
นวตั กรรม (Innovation)
-หมายเหตุ แผนพฒั นายกระดบั คุณภาพผเู้ รียนใหส้ งู ขึ้น หรอื การนาผลการประเมินไปใชใ้ นการปรบั ปรุง
แก้ไขในปีการศกึ ษา 2564 และการนาเสนอผลการบริหารจดั การของสถานศกึ ษาใหผ้ มู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ได้
รบั ทราบ เสนอรายละเอียดไวท้ ่ีส่วนที่ 3 รวมทั้งภาคผนวก ของรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา เลม่ น้ี

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั มีผลการประเมิน ดังน้ี

-กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ ร้อยละ 72.17 ประกอบด้วย การจัดการ
เรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตได้ , ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหลง่ เรยี นรทู้ ีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้ , มกี ารบริหารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก , ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอยา่ ง
เปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผ้เู รยี น , มีการแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละให้ข้อมูลสะทอ้ นกลบั เพื่อพฒั นาและปรับปรุง
การจัดการเรยี นรู้ ในภาพรวมค่าเฉลีย่ ของมาตรฐานน้ี อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดี

แผนดาเนนิ การ/การต้ังคา่ เป้าหมาย

-โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม ไดว้ างแผนงานฯ โครงการ ดาเนินการ พัฒนา กระบวนการจดั การเรียน
การสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ในการประกนั คุณภาพ จานวน 5 ประเด็นการพจิ ารณา 15 เปาู หมาย
รายละเอยี ด ตามประกาศแนบท้ายภาคผนวก ซง่ึ ประกอบดว้ ย 2 สว่ น คือ ค่าเปาู หมายรอ้ ยละเชิงปรมิ าณ และ
เปูาหมายระดบั คุณภาพ

-ซึ่งมรี ายละเอยี ด เปรยี บเทยี บ ระหว่าง คา่ เปูาหมายที่ต้ังไว้ กบั ผลการประเมนิ ดงั นี้

ค่าประกาศต้ังไว้ คา่ ผลการประเมนิ
ตนเอง

มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมาย ค่าเปา้ หมาย

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้น เชิงปริมาณ ระดับ เชิงปรมิ าณ ระดับ
ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั (รอ้ ยละ) คณุ ภาพ (รอ้ ยละ) คณุ ภาพ

๓ ๑ จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริง และ 62.67 ดี 72.17 ดี
สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้
60.00 ดี 62.31 ดี
๓ ๒ ใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่เี อื้อ
ตอ่ การเรยี นรู้ 73.33 ดี 78.26 ดี
๓ ๓ มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชิงบวก 60.00 ดี 68.11 ดี

๔ ๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และ 60.00 ดี 76.81 ดี
นาผลมาพฒั นาผู้เรยี น 60.00 ดี 75.36 ดี

๓ ๕ มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพอ่ื พฒั นา
และปรับปรุงการจดั การเรียนรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนอื พทิ ยาคม ๖๙

กระบวนพัฒนา/ วิธกี ารดาเนินการ

โรงเรียนแก้งเหนอื พิทยาคม ส่งเสรมิ ใหค้ รจู ดั กระบวนการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ
โดยการดาเนนิ งาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสตู รมีการประชมุ ปฏบิ ตั กิ าร ปรับปรงุ หลักสตู ร
สถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชว้ี ดั ฯ(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ส่งเสริมใหค้ รูจดั การเรียนการสอน
เนน้ การปฏิบตั ิ (Active learning) ใหผ้ ู้เรยี นผา่ นกระบวนการคิด ปฏิบตั ิจรงิ เพ่ือนาไปสู่การเรยี นร้ทู ่ลี กึ ซ้งึ และ
คงทน ตามมาตรฐานและตวั ชี้วดั ของหลกั สตู รสถานศึกษา ใหน้ ักเรียนมีสว่ นร่วม ครูรจู้ กั ผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล
ดาเนินการตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผูเ้ รียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลยี่ น
เรียนรู้ และนาผลที่ได้มาปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ ส่งเสริมให้ครูมีแผนการจดั การเรียนรู้ทุกรายวชิ าท่ีสอน ท่ี
สามารถนาไปใชจ้ ัดกิจกรรมได้จริง ครใู ช้สื่อ และแหลง่ เรียนรู้ มกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชิงบวก เพอ่ื ใหเ้ ดก็ รัก
การเรียนร้แู ละเรียนรูร้ ่วมกนั อยา่ งมคี วามสุข ครรู ว่ มแลกเปล่ยี นเรียนรู้และนาข้อมลู มารว่ มพัฒนาปรับปรุงการ
จัดการเรียนรแู้ ละสอนตามแผน ครูผลติ นวัตกรรม แผนการจดั การเรยี นรู้ กาหนดคุณลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ่ี
สอดคล้องกับหน่วยการเรยี นรู้ สนับสนุนใหค้ รจู ดั การเรียนการสอนที่สรา้ งโอกาสใหน้ กั เรยี นทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลง
มอื ปฏิบตั จิ ริงจนสรปุ ความรู้ไดด้ ้วยตนเอง และไดน้ ากระบวนการ PLC : Professional Learning
Community การทาชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ รว่ มกบั ระบบนเิ ทศติดตามแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ มาใชใ้ น
การพัฒนาครูเพื่อศิษย์ ยุค Thailand 4.0 มกี ารจดั การเรียนการสอนที่เน้นทกั ษะการคดิ เชน่ จัดการเรยี นร้ดู ้วย
โครงงาน ครูมกี ารมอบหมายหนา้ ที่ใหน้ กั เรียนจัดปูายนเิ ทศ และบรรยากาศตามสถานท่ีต่าง ๆทงั้ ภายในห้องเรยี น
และนอกหอ้ งเรยี น ครูใช้ส่อื การเรยี นการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน

โรงเรยี นแกง้ เหนือพทิ ยาคม ได้ทาโครงการพฒั นาบุคลากรเพ่อื ใหเ้ ป็นครมู ืออาชพี สามารถพฒั นา
ผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบมปี ระสิทธิภาพ เชน่ การสง่ เสริมให้มกี ารพัฒนาตนเองอยา่ งน้อยปีละ 1 ครั้ง และ
สถานศกึ ษาได้จัดทาโครงการพฒั นาหลักสตู ร โดยจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรรายสาระโดยการมสี ่วนร่วม
จากทกุ ฝาุ ยมอบหมายใหค้ รูไดจ้ ัดทาหน่วยการเรยี นรู้ แผนจดั การเรียนรู้ โดยยึดผูเ้ รยี นสาคัญเน้นการสง่ เสริมให้
นักเรยี น ไดป้ ฏบิ ัตจิ ริง โครงการเพ่ิมผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน โดยจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามแผนท่ี
สอดคล้องกับข้อมูลผเู้ รยี นรายบคุ คลที่นักเรยี นและครไู ด้รว่ มกนั จัดทากิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ ความสนใจและความถนดั
ได้แก่ การจดั การเรียนการสอนรายวิชาเพม่ิ เตมิ เลือกเสรีหลักสตู รรายวิชาเพิม่ เติม SBMLD รายวิชาดนตรีเพ่มิ เติม
รายวิชาอาหารไทย รายวชิ าคอมพิวเตอร์เพมิ่ เตมิ รายวชิ าภาษาอังกฤษและรายวิชาภาษาไทยโรงเรยี นเปดิ โอกาส
ให้ทกุ ฝุายมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเช่น การประชุมสอบถามความคิดเหน็ ในการดาเนนิ งาน
และข้อเสนอแนะให้กบั โรงเรยี น ร่วมประชุมคณะกรรมการ 4 ฝาุ ย ร่วมประชมุ เสนอความเหน็ และร่วมกจิ กรรม
ต่างๆ ท่ีโรงเรียนจัดดาเนนิ ตามโครงการต่างๆ

ผลการดาเนินการ/การบรรลผุ ลสาเร็จ

มาตรฐาน ด้าน กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั มีรายละเอียด ดงั ตอ่ ไปน้ี
3.1 จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตได้ มีค่าเฉลีย่
ครู ร้อยละ 62.31 มีคณุ ภาพอยใู่ นระดับ ดี ซง่ึ มผี ลการประเมนิ ตาม 3 คา่ เป้าหมาย ดังน้ี (ครูทง้ั หมด 23 คน)

1. ครรู อ้ ยละ 60.86 จานวน 14 คน มผี ลการประเมนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลักสตู ร
สถานศกึ ษาท่เี น้นใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรผู้ า่ นกระบวนการคิด ปฏบิ ัตจิ ริงและผเู้ รยี นสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ใน
ชีวติ ประจาวนั ได้ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนอื พิทยาคม ๗๐

2. ครูรอ้ ยละ 52.17 จานวน 12 คน มีผลการประเมินรปู แบบวธิ กี ารจดั การเรียนรู้เฉพาะสาหรบั
ผู้ที่มคี วามจาเปน็ หรือ ตอ้ งการพิเศษ อยใู่ นระดบั คุณภาพ พอใช้

3. ครรู อ้ ยละ 73.91 จานวน 17 คน มผี ลการประเมนิ รูปแบบวิธีการจดั การเรียนรู้ที่ใหผ้ เู้ รยี น
ไดร้ บั การฝกึ ทักษะ แสดงออก แสดงความคดิ สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงานและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ
ได้ อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดี

3.2 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ทเี่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ค่าเฉลีย่ ครู ร้อยละ 78.26 มี
คุณภาพอยใู่ นระดบั ดี ซงึ่ มผี ลการประเมนิ ตาม 3 คา่ เป้าหมาย ดังน้ี (ครูทัง้ หมด 23 คน)

1. ครูร้อยละ 69.56 จานวน 16 คน มกี ารผลติ สอ่ื หรอื พัฒนานวตั กรรมเพื่อนามาใช้ในการ
เรยี นรูอ้ ย่างน้อย 2 ชนิ้ /ปีการศกึ ษา อย่ใู นระดบั คุณภาพ ดี

2. ครรู อ้ ยละ 86.95 จานวน 20 คน มีการใชแ้ หล่งเรยี นรูภ้ ายใน แหลง่ เรียนรู้ภายนอก
ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ปราชญช์ าวบ้าน หรอื ผ้ทู รงคณุ วุฒิในการจดั การเรยี นรู้ อย่างน้อย 2 แหลง่ ขนึ้ ไป/ปีการศึกษา
อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ

3. ครูรอ้ ยละ 78.26 จานวน 18 คน มรี ูปแบบวิธีการทใ่ี ห้ผูเ้ รยี นได้แสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองจาก
สอ่ื เทคโนโลยี ข้อมลู สารสนเทศ แหล่งเรยี นรู้ และภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ อย่างนอ้ ย 2 แหล่งขน้ึ ไป/ปีการศึกษา อยใู่ น
ระดับคุณภาพ ดี

3.3 มีการบริหารจดั การช้ันเรียนเชิงบวก เรียนรู้ ค่าเฉลี่ยครู ร้อยละ 68.11 มีคุณภาพอย่ใู นระดับ ดี
ซงึ่ มผี ลการประเมนิ ตาม 3 คา่ เป้าหมาย ดังนี้ (ครทู ้ังหมด 23 คน)

1. ครูร้อยละ 65.21 จานวน 15 คน มผี ลการประเมนิ การสรา้ งปฏสิ มั พนั ธท์ ดี่ ีกบั ผเู้ รยี นโดยผา่ น
การจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทั้งในและนอกห้องเรียน อย่ใู นระดับคุณภาพ ดี

2. ครูร้อยละ 78.26 จานวน 18 คน มีผลการประเมินการเปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นมีส่วนร่วมในการ
สร้างวินยั ขอ้ ตกลงและแนวปฏิบตั ิตนในการอยูร่ ่วมกนั อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

3. ครรู อ้ ยละ 60.86 จานวน 14 คน มผี ลการประเมินการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีสง่ เสริมให้
ผ้เู รียนรกั การเรียนรู้ และเรียนรรู้ ว่ มกันอยา่ งมีความสขุ อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น ค่าเฉล่ยี ครู ร้อยละ
78.61 มคี ุณภาพอยูใ่ นระดับ ดี ซง่ึ มีผลการประเมินตาม 3 ค่าเปา้ หมาย ดังนี้ (ครทู ั้งหมด 23 คน)

1. ครรู ้อยละ 86.95 จานวน 20 คน มผี ลการประเมนิ ระบบการตรวจสอบและประเมิน
คณุ ภาพการเรียนรู้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลศิ

2. ครูร้อยละ 65.21 จานวน 15 คน มกี ารออกแบบและสร้างเครื่องมือสาหรับการวัดผลและ
ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้อย่างน้อย 2 วิธีขน้ึ ไป อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี

3. ครูร้อยละ 78.26 จานวน 18 คน มผี ลการประเมนิ การนาผลการจัดการเรียนรูไ้ ปใชใ้ นการ
พัฒนาผู้เรียนได้เต็มศักยภาพ อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม ๗๑

3.5 มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ ค่าเฉลยี่
ครู รอ้ ยละ 75.36 มคี ณุ ภาพอย่ใู นระดับ ดี ซงึ่ มผี ลการประเมนิ ตาม 3 ค่าเป้าหมาย ดงั นี้ (ครูทง้ั หมด 23 คน)

1. ครูรอ้ ยละ 86.95 จานวน 20 คน มีชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพระหวา่ งครเู พอื่ พัฒนา
และปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้ อยา่ งนอ้ ย 50 ชัว่ โมง/ปกี ารศกึ ษา อย่ใู นระดับคุณภาพ ดีเลิศ

2. ครรู อ้ ยละ 78.26 จานวน 18 คน มผี ลการประเมินการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระหวา่ งครูและ
ผูเ้ กีย่ วขอ้ งเพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้ อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ดี

3. ครูรอ้ ยละ 60.86 จานวน 14 คน มีการศึกษา วิจยั เพ่ือพัฒนาการเรยี นรูข้ องผู้เรียน อย่างนอ้ ย
2 เรอ่ื ง/ปีการศึกษา อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ดี

สรปุ ผลการดาเนินงาน
นกั เรยี นได้รับการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนและคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา จาก
การดาเนนิ งาน/โครงการ/กจิ กรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือพัฒนาให้ครู การจัดการเรยี นการสอนเนน้ ผเู้ รยี นเป็น
สาคัญ จากการดาเนนิ งานตามมาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั ซึ่ง
โรงเรียนได้วางแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจในฐานะผ้สู อนเพอ่ื นาความรู้ความเข้าใจมาส่งเสรมิ
และจดั การเรยี นการสอนอย่างมปี ระสิทธภิ าพ โรงเรียนไดด้ าเนินงานกจิ กรรมโครงการท่ีบรรลุเปา้ หมายและผ้มู ี
ส่วนรว่ มทกุ ฝา่ ยมีความพึงพอใจในระดบั ดี

จุดเด่น
กระบวนการจดั การเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงาน และครูมคี วามต้ังใจ มุง่ มัน่ ในการพฒั นาการสอนโดยจดั

กิจกรรมให้นักเรยี นได้เรียนรโู้ ดยการคดิ บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทีส่ ามารถปฏิบตั แิ ละบูรณา
การการดาเนินชีวติ ประจาวันไดจ้ รงิ ใช้ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนเปน็ กระบวนการบรู ณาการกับการเรยี นการ
สอนในแต่ละรายวชิ า มีการให้วิธีการและแหล่งเรยี นรทู้ หี่ ลากหลายให้นักเรยี นแสวงหาความรจู้ ากสื่อเทคโนโลยี
ดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่อื ง นักเรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ กลา่ วสรุป

1. ครตู งั้ ใจ มุง่ ม่ันในการพฒั นาการสอน
2. ครูจัดกิจกรรมใหน้ ักเรยี นแสวงหาความรจู้ ากสือ่ เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
3. ครูให้นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้
4. ครูจัดกจิ กรรมให้นักเรียนรโู้ ดยการคดิ ได้ปฏบิ ัติจรงิ ด้วยวธิ กี ารและแหล่งเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย
5. ครมู ีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรยี นเรียนรู้ ครบทุกวชิ าท่ที าการสอน
6. ครมู รี ะบบนเิ ทศการสอนแลกเปลยี่ นเรียนรู้ซง่ึ กนั
7. ครูมกี ารจดั ทา ชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC)

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1) จัดหลักสตู รทีย่ ดื หยุ่นหลากหลายตามความต้องการของผ้เู รียนและชมุ ชน
2) จดั ทาโครงการพัฒนาผูเ้ รยี นใหส้ ามารถค้นคว้าข้อมลู จากแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ ทั้งในและนอก

สถานศกึ ษาด้วยตนเอง
3) กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรดู้ ้าน ICT
4) โครงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี การพัฒนาการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
5) กจิ กรรมนเิ ทศการเรียนการสอน
6) โครงการขบั เคลอื่ นหลกั คิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
7) ควรมกี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้และมกี ารวิจยั อย่างต่อเน่อื ง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนอื พทิ ยาคม ๗๒

8) ครคู วรมีวจิ ยั อยา่ งน้อยปกี ารศกึ ษาละ 1 เร่ือง
แหล่งข้อมลู หลักฐานอ้างองิ /เอกสารเชิงประจกั ษท์ ่ีสนับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง

- หลกั สูตรสถานศึกษา หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้
- โครงการศึกษาเรียนรนู้ อกสถานท่ี
- สถานศึกษาส่งเสริมกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั
- ครูทกุ คนการวิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้ตวั ชี้วดั หลกั สตู รสถานศึกษาและพัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้ ให้ผเู้ รียนได้เรยี นรูโ้ ดยผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ ท่ีสามารถนา
ไปจัดกิจกรรมได้จริง
-ครูมีการใช้แผนการสอน หรือ แผนการจัดการเรยี นเรยี นรู้ ครบทุกวชิ าทท่ี าการสอน
-ครูมีระบบนเิ ทศการสอนแลกเปลย่ี นเรียนรู้ซึง่ กันและกัน
-ครูมีการจัดทา ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC)
- ครูทุกคนมีการจัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง ท่ีส่งผลให้ผู้เรียนรู้
ฝกึ ทกั ษะการแสดงออก แสดงความคดิ เหน็ สรปุ องคค์ วามรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถ ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้
- ครทู ุกคนมีการวเิ คราะหผ์ เู้ รียนรายบคุ คลจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชส้ อื่ นวตั กรรม เทคโนโลยี
สารสนเทศ
- ครจู ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใช้แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชนท่ีสอดคล้องกบั สาระที่สอนมี
การใชค้ รภู ูมิปัญญาทอ้ งถิน่ เพ่ือสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
- ครูทุกคนมีการวัดผล ประเมินผลตามสภาพจรงิ ดว้ ยวธิ ีการที่หลากหลาย
- ครูมกี ารทาวจิ ัยในช้ันเรยี นเพื่อนาไปใช้พัฒนาการเรยี นรู้
- สรปุ โครงการต่างๆ รปู ภาพกิจกรรม

-ขอ้ ค้นพบพเิ ศษ รายงานของ ทค่ี รูใช้จัดการเรียนรู้ ทางออนไลน์ เนอื่ ง สถานการณ์ โรคแพร่ระบาด ไวรัส

Covid-19 ตลอดปกี ารศึกษา 2563 ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ ครใู ช้
รปู แบบ วธิ สี อน ส่อื การเรยี นการสอนและการวดั ผล ประเมินผล อย่างหลากหลาย
ส่ือประกอบการสอน รายการสอนออนไลน์ สถานการณ์ COVID 19

-ส่ือไฟล์อเิ ลก็ ทรอนิกส์
- จานวนใบความร้/ู ใบงาน
-ส่อื ไฟล์ Porwerpoint
-หอ้ งเรียนออนไลน์
-ห้องแชทเพ่ือติดตอ่ เรยี นเรยี นรสู้ ั่งงานกบั นักเรียน ไดแ้ ก่
- ห้อง messenger เฟชบคุ๊
- ห้อง Line
-สื่อประกอบการสอ่ื สอนทผี่ สู้ อน ผเู้ รียน ออกแบบ ผลิตข้ึนใชเ้ อง
-ส่อื ชิ้นงานสิ่งประดษิ ฐ์ ทุกประเภทของครู
-สอ่ื ชิ้นงาน ส่ิงประดิษฐ์ รวมทกุ ประเภท ทนี่ ักเรยี น ทีน่ ักเรียนจัดทาส่ง (แบง่ เปน็ เลม่ รายงาน สมดุ จด
บนั ทกึ ภาพวาดระบายสี ภาพเขยี น ปฺอบอัพ หนงั สอื เล่มเลก็ แฟูมงาน จุลสาร-แผน่ พับ
แบบทดสอบ) ลงแต่ละชนิดย่อย
-นวตั กรรม งานวิจยั เต็มรูปแบบ (5 บท) ท่ีใช้พัฒนาการเรยี นการสอน
- กลุ่ม PLC ชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี ทคี่ รูเขา้ ร่วมงาน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนอื พทิ ยาคม ๗๓

-รูปแบบการสอนท่ีหลากหลายทีค่ รูใชส้ อน
-เรอื่ งท่ีมอบหมายงานให้นักเรียนไปสืบคน้ ทางอินเตอรเ์ นต เช่น แอพ Google
-โครงงานท่นี ักเรียนลงมือดาเนินการรว่ มกนั จัดทาสาเร็จ
-สือ่ คลปิ ไฟล์ วดิ ีโอ ที่ครูจัดทาเอง หรือคน้ ควา้ จากโลกออนไลน์ เชน่ You Tube มาส่ือสารให้
นักเรียนได้เรยี นรู้
ประเดน็ ภาพความสาเรจ็ ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั ที่สนับสนุนผลการ
ประเมินตนเอง

1) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกตี าร์ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น อยใู่ นระดบั ดี
2) โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลิศดา้ นคอมพิวเตอร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น อยู่ในระดบั ดี
3) โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ดา้ นภาษาองั กฤษระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ อยู่ในระดับ ดี
4) โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศดา้ นภาษาองั กฤษ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย อยใู่ นระดับ ดี
5) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศดา้ นอาหารไทยระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ อยู่ในระดบั ดี
6) โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม มารยาทไทย ทักทาย ยมิ้ แย้มแจม่ ใส อยู่ในระดับ ดี
7) โครงการพัฒนากจิ กรรมวันสาคัญของชาติ อยใู่ นระดบั ดี
8) โครงการส่งเสริมกจิ กรรมวนั ไหวค้ รู อยใู่ นระดับ ดี
9) โครงการค่ายปรบั พ้ืนฐานก่อนเรียน อยู่ในระดบั ดี
10) โครงการสง่ เสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรียน อยู่ในระดับ ดี
11) โครงการส่งเสริมและพฒั นานกั เรียนสคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ อยู่ในระดับ ดี
12) โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาความเปน็ เลศิ ทางกีฬา อยู่ในระดบั กาลังพัฒนา
13) โครงการพัฒนาวงดนตรีโรงเรียน อยใู่ นระดบั ดี
14) โครงการพฒั นากจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี อยูใ่ นระดับ ดี
15) โครงการพฒั นากิจกรรมผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ อยใู่ นระดบั ดี
16) โครงการรกั การอา่ น อยู่ในระดับ ดี
17) โครงการค่ายดาราศาสตร์ อย่ใู นระดับ ดี
18) โครงการพัฒนาการเรยี นรู้จากแหลง่ เรยี นร้ภู ายนอก อยใู่ นระดบั ดี
19) โครงการปจั ฉิมนิเทศนกั เรียน ม.3 ม.6 อย่ใู นระดับ ดี
20) โครงการค่ายนาฏศิลป์ไทย อยู่ในระดับ ดี
21) โครงการคา่ ยคณติ ศาสตร์ อยูใ่ นระดบั ดี
22) โครงการสง่ เสรมิ กิจกรรมวนั สถาปนาโรงเรยี น อย่ใู นระดบั ดี
23) โครงการสนับสนุนปจั จยั พื้นฐานสาหรับนกั เรยี นยากจน อยใู่ นระดบั ดี
24) โครงการจดั แสดงนทิ รรศการและผลงานทางวชิ าการ อยู่ในระดับ ดี
25) โครงการสง่ เสริมการจดั กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน อยใู่ นระดับ ดี
26) โครงการรณรงค์ปอู งกันยาเสพติดในสถานศึกษา อยูใ่ นระดบั ดี
27) โครงการพฒั นาศูนยก์ ารเรียนรู้อาเซยี น อยูใ่ นระดบั ดี
28) โครงการพฒั นา/ปรบั ปรุงหอ้ งสมุดโรงเรียน อยใู่ นระดับ ดี
29) โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรใู้ นโรงเรียน อย่ใู นระดับ ดี
30) โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต อยู่ในระดบั ดี
31) โครงการพฒั นางานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น อยู่ในระดบั ดี
32) โครงการจัดกจิ กรรมวันภาษาไทย อยู่ในระดบั ดี
33) โครงการพฒั นาการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม ๗๔

34) โครงการพฒั นาการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี
35) โครงการพัฒนาการเรยี นร้สู ังคมศึกษาฯ อยู่ในระดับ ดี
36) โครงการพฒั นาการเรยี นร้ศู ิลปะ อยู่ในระดบั ดี
37) โครงการพฒั นาการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ อยู่ในระดับ ดี
-ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ โรงเรียนแก้งเหนือพทิ ยาคม ยังไม่มี แบบอย่าง
ท่ดี ี (Best Pratice ) หรอื นวตั กรรม (Innovation)
-หมายเหตุ แผนพฒั นายกระดับคุณภาพ ใหส้ งู ขน้ึ หรือ การนาผลการประเมนิ มาพัฒนาการเรยี นการสอน
ของครูอย่างเป็นระบบ เช่น PLC,นเิ ทศการสอน และการแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละใช้ข้อมูลปอู นกลับเพ่ือพัฒนา
ปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นการสอน เสนอรายละเอยี ดไวท้ ่ีส่วนท่ี 3 รวมทงั้ ภาคผนวก ของรายงานการประเมิน
ตนเองของสถานศึกษา เลม่ น้ี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพิทยาคม ๗๕

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน อยู่ในระดับ ดี
จากผลการดาเนนิ งานโครงการและกิจกรรมตา่ ง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ประสบผลสาเร็จตามท่ีตั้งเปูาหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่า อยู่ในระดับคุณภาพดี ทั้งน้ี
เพราะมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน อยู่ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ อยู่ใน
ระดบั คุณภาพดี มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั อยูใ่ นระดบั ดี

ด้านผลการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ ซง่ึ โรงเรยี นมกี ารจัดกจิ กรรมตามแผนพัฒนาคณุ ภาพ
การศกึ ษา มกี ิจกรรมในหอ้ งเรยี นบรู ณาการทกุ สาระการเรียนรู้ มหี ลักสตู รท้องถิ่น (รายวิชา SBMLD) ใช้แหล่ง
เรียนรู้ทง้ั ภายใน ภายนอก ใชว้ ทิ ยากร สือ่ การสอนเทคโนโลยีทห่ี ลากหลาย มีการกระจายสญั ญาณอินเตอร์เน็ต
ครอบคลุมพื้นทเ่ี พอื่ ใหค้ รู นักเรียนได้ศกึ ษาค้นคว้าหาความรูท้ กุ เวลาและโอกาส ทาใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามสามารถ
คณุ ภาพผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงข้ึน จากผลการสอบโอเนต็ ในปกี ารศกึ ษา 2563 และผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรียนใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สูงขึ้น และผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์
เขียนส่ือความ มีผลการจัดการเรียนรู้ที่สูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา นอกจากนี้มีการส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ เช่นการ
เลี้ยงปลา กบ ทาแปลงผักปลอดสารพษิ ทาสวนผสม และการสหกรณโ์ ดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
นกั เรยี นรนุ่ พี่สามารถเปน็ พ่เี ลย้ี งสอนน้องได้ มีผลงานท่เี กดิ จากงานอาชพี มีโครงงานแปรรูปอาหาร การจัดการและ
การดาเนินกิจการสหกรณ์ร้านค้า เศรษฐกิจพอเพียง ทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามท่ีสถานศึกษากาหนด
ผู้เรียนมีคุณธรรมสามารถดารงตนในสังคม และประพฤติปฏิบัติตามคาสอนของศาสนาร่วมกิจกรรมเข้าค่าย
คุณธรรม ปฏิบัติตนในวันสาคัญต่าง ๆ เช่น ทากระทงไปลอย ร่วมตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง กราบและไหว้ได้
ถูกต้อง นอกจากน้ีนักเรียนทุกคนปฏิบัติหน้าท่ีรักษาความสะอาดในโรงเรียนทุกวัน ชอบเล่นกีฬาทาให้สุขภาพ
แข็งแรง ไม่เกย่ี วขอ้ งกบั อบายมุข ไดม้ ีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี ท้ังส่งผลไปถึงครอบครัวและชุมชนด้วย โดยคณะ
ครูและทุกฝุายมีความพึงพอใจในระดับดีทุกด้าน ดังท่ีปรากฏผลประเมินใน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพเด็ก อยู่ใน
ระดับคณุ ภาพมาตรฐานอย่ใู นระดับดี

โรงเรียนมีการบริหารงานอย่างเป็นระบบ มีการนาเอาผู้ที่เก่ียวข้องกับการศึกษา เช่น ครู กรรมการ
สถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และ ผู้แทนจากชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ และ กาหนดวิสัยทัศน์
พันธกจิ ซึ่งสง่ ผลไปถงึ การจดั ทาแผนปฏิบัติการประจาปี จึงทาให้โครงการต่างๆที่ออกมาเป็นไปตามความต้องการ
สว่ นใหญ่ของผ้ทู ี่เก่ียวขอ้ งทุกคน กลา่ ว คือ โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมท่ีหลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบ
มีส่วนร่วม การประชุมระดม สมอง การประชุมกลุ่มเพ่ือให้ทุกฝุายมีส่วนร่วมในการ กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
เปูาหมายท่ีชัดเจน มกี ารปรบั แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ัติ การประจาปี ที่สอดคล้องกับผลการ
จดั การศึกษา สภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมี
คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี คุณภาพ มี
การดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงานและการจัดรายงานผลการจัดการศึกษาและ
โรงเรยี นไดใ้ ช้กระบวนวิจัยในการ รวบรวมขอ้ มูลเพื่อใชเ้ ป็นฐานในการวางแผนพัฒนา คณุ ภาพสถานศึกษา
ส่งผลใหผ้ ลการประเมนิ ในมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจดั การ อยใู่ นระดับคุณภาพดี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม ๗๖

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีผลประเมินอยู่ในระดับ
คณุ ภาพดี ทงั้ นโ้ี รงเรยี นได้ สง่ เสรมิ ให้ครจู ดั กระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน/
กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ
(Active learning) ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพ่ือนาไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน ตาม
มาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดาเนินการ
ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนา
ผลท่ไี ด้มาปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้สื่อ และ
แหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพื่อให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครู
ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้ กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการ
เรยี นการสอนท่ีสร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง และได้นา
การนากระบวนการ PLC : Professional Learning Community มาใช้ในการพัฒนาครูเพ่ือศิษย์ ยุค Thailand
4.0 มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าที่ให้
นักเรียนจัดปูายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานท่ีต่าง ๆท้ังภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียน
การสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ๗๗

สว่ นท่ี 3

สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการชว่ ยเหลอื

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญท่ีสถานศึกษาจะต้องนาไปวิเคราะห์
สงั เคราะห์ เพื่อสรุปนาไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะทอ้ นภาพความสาเรจ็ กบั แผนพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาของ
สถานศึกษา และนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการดาเนินงาน
ของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐานพร้อมท้ัง
แนวทางการพัฒนาในอนาคตเพอ่ื ให้ได้มาตรฐานทีส่ ูงข้นึ และความต้องการช่วยเหลือ ดังน้ี

ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

สรุปผล

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู รียน

จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา

คณุ ภาพของผู้เรยี น คณุ ภาพของผู้เรียน

-สถานศึกษามีการวเิ คราะหผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น -การจัดกิจกรรมท่ีมงุ เนนยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ ยงั ขาด

และไดกาหนดเปนเปาหมาย ทางการเรียนโดยใช การปฏิบตั ทิ ่ีตอเนอ่ื ง จรงิ จงั การยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ

ขอมลู ฐาน 3 ปยอนหลังเปน เปาหมายคณุ ภาพ แตละกลุมสาระประสบผลสาเรจ็ ในระดับหนึ่ง

นกั เรยี นใหพัฒนาสงู ขนึ้ จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน นกั เรียนสวนใหญยงั ตองไดรับการพัฒนาตอไป

เนนการปฏบิ ัติ เนนทักษะในการอาน การเขยี น และ ผลสมั ฤทธ์ิระดบั ชาตขิ องนักเรียนมแี นวโนม

การคดิ คานวณ สงเสริมผูเรยี นใหพัฒนาเตม็ ศกั ยภาพ เปล่ยี นแปลงพฒั นาขนึ้ โดยรวม แตไมผานเกณฑใน

มีการจัดแหลงเรยี นรูภายในไดอยางเหมาะสม มสี ่ือ บางกลมุ สาระการเรียนรู จึงตองมงุ เนนพฒั นาตอไป

ดานเทคโนโลยีท่ที นั สมยั ผูเรียนมีสขุ ภาพกาย จดั กจิ กรรมดานการอาน การเขียน คานวณ ใหกบั

สุขภาพจติ ดี กลาแสดงออก และสามารถอยู รวมกับ นักเรียนเรยี นรวม เปรยี บเทียบความกาวหนา และ

ผูอ่ืนอยางมีความสขุ การพัฒนาของนักเรยี นเปนรายบุคคล

-การดาเนินงานตามมาตรฐานนโี้ ดยเฉพาะการ

วางแผนพฒั นาผเู้ รยี นยังไมช่ ัดเจนและลงไป

ที่เปูาหมายอยา่ งจริงจัง และต่อเนอ่ื ง ผู้เรยี นบางคนยัง

ขาดทกั ษะในการแก้ปญั หา บางคนขาดทักษะการ

วางแผน กระบวนการและขัน้ ตอนการทางานยงั ไม่

เกิดขึ้นและปรับเปลีย่ นวธิ กี ารอยา่ งเหมาะสม

โดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบนั ยคุ Thailand 4.0

นักเรยี นยงั ขาดเปูาหมาย และแรงจูงใจในการเรียน

และผู้เรยี นต้องพฒั นาทักษะการสื่อสาร โดยเฉพาะ

ทกั ษะการส่ือสารภาษาองั กฤษ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพทิ ยาคม ๗๘

แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั ใหสูงขึน้
1) พัฒนาใหนักเรยี นมีทักษะในการอาน การเขียน การส่อื สาร และการคิดคานวณเปนไปตามเกณฑท่ี

โรงเรยี นกาหนดในแตระดับชั้น
2) พฒั นาใหนักเรียนมีความสามารถในการคดิ จาแนก แยกแยะ ใครครวญไตรตรอง พิจารณาอยาง

รอบคอบโดยใชเหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ มีการอภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และแกปญหา อยางมี
เหตุผล

3) พฒั นาใหนักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรูไดทง้ั ดวยตนเองและการทางานเปนทีม
เช่อื มโยงองคความรู และประสบการณมาใชในการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ

4) พัฒนาใหนักเรียน มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพือ่ พฒั นา
ตนเอง และสังคมในดานการเรยี นรู การสือ่ สาร การทางาน อยางสรางสรรค และมีคุณธรรม

5) พัฒนาใหนกั เรยี น มีความกาวหนาในการเรยี นรูตามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพน้ื ฐานเดิมในดาน
ความรู ความเขาใจ ทักษะ กระบวนการตาง ๆ รวมทั้ง

6) พฒั นาใหนกั เรียนมคี วามกาวหนาในผลการทดสอบระดับชาติ มคี วามรู ทกั ษะพ้นื ฐานในการ
จดั การเจตคติทีด่ ีพรอมที่จะศึกษาตอในระดับชนั้ ที่สงู ขึ้น มีพฤติกรรมเปนผูทม่ี ีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎ
กตกิ า

7) พฒั นาใหนกั เรยี นมคี านยิ มและจิตสานึกตามทส่ี ถานศกึ ษามีความภูมิใจในทองถ่ิน เหน็ คณุ คาของ
ความเปนไทย มีสวนรวมในการอนรุ ักษวัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทัง้ ภูมิปญญาไทย

8) พฒั นาใหนกั เรียน มกี ารรักษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ อารมณ และสังคม แสดงออกอยาง
เหมาะสมในแตละชวงวัย

-การนาเสนอตอ่ ผู้ท่ีเกย่ี ว อ้ ง

-การประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา ชุมชน
-รายงาน จุลสาร-แผ่นพับ การประชมุ ผู้ปกครองนักเรยี น ประจาภาคเรียนที่ ปการศกึ ษา
-โรงเรียนได้ประชาสมั พันธ์ภาพประมวลโครงการ/กจิ กรรม ไวท้ ่ี เฟซบคุ โรงเรยี นที่

https://www.facebook.com/knpubon หรอื สแกน QR-code คอื

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนแกง้ เหนือพทิ ยาคม ๗๙

เวบ็ ไซตโ์ รงเรียนทลี่ งิ ค์ http://www.kaengnuea.ac.th/mainpage หรือ สแกน QR-code คือ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

จุดเดน่ จดุ ควรพัฒนา

กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
โรงเรียนมเี ปาหมาย วิสัยทศั น พันธกจิ ที่กาหนดไว โรงเรียนควรจัดใหมีโตะ๊ -เกา้ อี้ นัง่ เรยี นใหเ้ พียงพอ
ชัดเจนสอดคลองกับบรบิ ทของโรงเรยี นตาม เหมาะสมไมช่ ารุด และจัดหองปฏบิ ัติการท่เี พยี งพอ
ความตองการของชุมชน วตั ถุประสงคของ แผนการ และเหมาะสมตอการจดั การเรียนรู ยังไม่มีสารเคมี
จดั การศึกษาของชาตนิ โยบายของ รัฐบาล และ อปุ กรณ์ทดลองทางวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน ทจี่ าเป็น
ตนสังกดั ทนั ตอการเปลยี่ นแปลงของสังคม พฒั นา และควรมีการนิเทศตดิ ตามงานทกุ ระบบท่ชี ัดเจน
งานวิชาการเนนคณุ ภาพผูเรยี นรอบดานตามหลักสตู ร
สถานศกึ ษา และสงเสริมสนับสนุนพฒั นาครู และ -เปิดโอกาสให้ผปู้ กครองได้มีส่วนรว่ มในการเสนอ
บุคลากรใหมีความ เช่ยี วชาญตรงตามความตองการ ความคดิ เหน็ ในการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาผเู้ รียน
ใหเปนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชพี มาใชในการ -สรา้ งเครือข่ายความร่วมมือของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องใน
พัฒนางานและการเรียนรูของผูเรยี น การจดั การศึกษาของโรงเรียนใหม้ ีความเขม้ แข็ง
มสี ว่ นร่วมรบั ผดิ ชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา และการ
ขับเคลื่อนคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนอื พทิ ยาคม ๘๐

แผนพฒั นาคณุ ภาพเพื่อยกระดับใหสูงข้ึน
1) มีโครงการการบริหารจัดการเก่ยี วกับงานวิชาการ การพัฒนาหลกั สูตร
2) กิจกรรมเสรมิ หลักสตู รทเ่ี นนคณุ ภาพผูเรียนรอบดาน
3) โครงการจดั การเรียนการสอนนกั เรยี นเรียนรวม
4) โครงการพฒั นาครูพฒั นาครูสูครมู อื อาชีพ
5) โครงการจัดสภาพแวดลอมใหเปนแหลงเรียนรู

-การนาเสนอตอ่ ผูท้ เ่ี กี่ยว ้อง

-การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน
-รายงาน จุลสาร-แผน่ พบั การประชมุ ผปู้ กครองนักเรียน ประจาภาคเรยี นที่ ปการศกึ ษา
-โรงเรยี นได้ประชาสมั พนั ธ์ภาพประมวลโครงการ/กจิ กรรม ไว้ที่ เฟซบุคโรงเรยี นท่ี

https://www.facebook.com/knpubon หรือ สแกน QR-code คอื

เวบ็ ไซต์โรงเรยี นทลี่ ิงค์ http://www.kaengnuea.ac.th/mainpage หรอื สแกน QR-code คอื

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสาคญั

จุดเด่น จุดควรพฒั นา

การจัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั การจดั การเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ

ครมู ีความต้ังใจ มุงมน่ั ในการพฒั นาการ สอน โดยจัด -ควรนาภมู ปิ ญญาทองถนิ่ ใหเขามามีสวน รวมในการ

กิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรูทีเ่ นนทักษะกระบวนการ จดั กิจกรรมใหนักเรียนไดเรยี นรู และการใหขอมลู

คิด ไดปฏิบัตจิ รงิ มีการใหวิธีการและแหลงเรียนรูท่ี ยอนกลับแกนักเรียนทนั ทีเพื่อนักเรียนนาไปใชพฒั นา

หลากหลาย ใหนกั เรียน แสวงหาความรูจากส่ือ ตนเอง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแก้งเหนอื พิทยาคม ๘๑

เทคโนโลยดี วยตนเองอยาง ตอเนอ่ื ง นักเรียนมสี วน -ควรมีการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบสรา้ งองคค์ วามรู้
รวมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอมทเ่ี อือ้ ตอการ และมีการวจิ ยั อย่างต่อเนือ่ ง ใชก้ ระบวนการวจิ ยั และ
เรียนรู้ พฒั นามาใชป้ รับปรงุ ในการจัดการเรยี นการสอน

- ครูควรมวี จิ ัยอยา่ งน้อยปีการศกึ ษาละ 1 เรอ่ื ง

แผนพฒั นาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดับใหสูงข้ึน
1) โครงการปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศกึ ษา
2) โครงการจดั การเรยี นรูแบบโครงงาน
3) โครงการพฒั นาการใชสื่อ เทคโนโลยี สหู องเรยี น
4) โครงการสงเสริมใหครจู ดั ทาแผนการจดั การเรียนรูและนาไปใชจริง
5) กิจกรรมสาหรบั นักเรยี นที่ตองการความชวยเหลือเปนพิเศษ/นกั เรยี นเรียนรวมใหนกั เรยี นมี

ความรูสงู ขึน้ ตามระดับชั้น

-การนาเสนอต่อผู้ทีเ่ กยี่ ว อ้ ง

-ระบบนิเทศการสอน ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชาชีพ PLC)
-การประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา ชุมชน
-รายงาน จลุ สาร-แผ่นพบั การประชุมผู้ปกครองนักเรยี น ประจาภาคเรียนที่ ปการศึกษา
-โรงเรียนได้ประชาสมั พันธ์ภาพประมวลโครงการ/กิจกรรม ไว้ที่ เฟซบุคโรงเรยี นท่ี

https://www.facebook.com/knpubon หรือ สแกน QR-code คือ

เวบ็ ไซตโ์ รงเรยี นที่ลงิ ค์ http://www.kaengnuea.ac.th/mainpage หรือ สแกน QR-code คอื

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนแก้งเหนอื พิทยาคม ๘๒

สรุปรวม

แผนการพัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดับมาตรฐานให้สูงขน้ึ
1. ผลสมั ฤทธิ์ระดบั ชาติ (O-NET) ยังต่ากว่าระดบั ประเทศซ่ึงจะต้องมีการพฒั นาด้านผลสมั ฤทธ์ิทางการ

เรียนใหม้ ปี ระสิทธิภาพอยา่ งต่อเนอื่ งเปน็ ประจาทกุ ปี
2. สถานศกึ ษาควรเปดิ โอกาสให้ผ้ปู กครองได้มสี ่วนร่วมในการเสนอความคิดเหน็ ในการจัดการศึกษาเพ่อื

พัฒนาผเู้ รยี นมากขน้ึ รวมทง้ั ควรสร้างเครอื ข่ายความร่วมมือกับผู้มสี ว่ นเกยี่ วข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรยี น
ใหม้ คี วามเข้มแข็ง มสี ่วนรว่ มรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษาและการขับเคลอื่ นคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา

3. ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนท่เี น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั ครูผ้สู อนทุกคนควรให้ข้อมลู ย้อนกลับแก่
นักเรียนทนั ทีเพอ่ื นักเรียนนาไปใช้พฒั นาตนเอง จดั กจิ กรรมเน้นใหผ้ เู้ รยี นได้มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ
สังเคราะห์อย่างหลากหลายและใช้แหลง่ เรยี นร้ใู นการพัฒนาตนเอง จดั การเรียนการสอนดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ตวั ชว้ี ดั ตามหลักสตู รการศึกษาขัน้ พื้นฐานและฝกึ ให้นกั เรยี นได้คิดวเิ คราะห์หา
ความรู้จากแหลง่ เรยี นรสู้ ื่อเทคโนโลยใี หม้ ากขึน้ และพฒั นาสอื่ แหล่งเรยี นรจู้ ัดเตรยี มห้องปฏิบตั ิการให้อยู่ในสภาพด
และพร้อมใช้งานเสมอ มีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี นดว้ ยวิธีท่หี ลากหลายตามสภาพจริงสอดคลอ้ งกับ
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละธรรมชาติวิชา ตลอดจนควรนาภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ใหเ้ ขา้ มามีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมให้
นักเรยี นไดเ้ รียนรู้

4. สถานศกึ ษาจัดระบบให้ครูประเมนิ ตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยงั ขาดการให้ข้อมลู
ยอ้ นกลับแก่ครูในการพฒั นาตนเองในการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พอื่ ยกระดบั คุณภาพของนกั เรียน นักเรียนมีการ
ประเมนิ ตนเองในการเรียนรู้ แต่ก็ยังขาดการติดตาม ช่วยเหลอื ด้านการเรยี นรู้ของนักเรียนเปน็ รายคน

5. ส่งเสริมการเรยี นรดู้ ว้ ย ICT เพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ
7. ส่งเสรมิ การเรยี นสู่ความเปน็ เลศิ (รายวชิ า SBMLD) ได้แก่ รายวชิ าดนตรีเพมิ่ เติม รายวิชาอาหารไทย
รายวชิ าคอมพวิ เตอร์ ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารเพ่ิมเตมิ เปน็ ต้น

แนวทางการพฒั นาสถานศกึ ษาในอนาคต
1. สนบั สนนุ ใหม้ ีการทาวจิ ยั ควบคู่กับการพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง
2. สง่ เสริมการพัฒนาการจัดเรียนการสอนของครู และการสอนแบบบรู ณาการ และการใชแ้ ผนการ

จดั การเรยี นรอู้ ย่างเป็นรปู ธรรม
3. พฒั นาระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรยี น เช่น ให้นักเรียนสามารถดผู ลการเรียนได้จากคอมพิวเตอร์
4. พฒั นาครูในรปู แบบทีห่ ลากหลาย ตามสภาพความต้องการ จาเป็น ของโรงเรียนและความตอ้ งการของ

ครอู ย่างต่อเน่ือง
5. ส่งเสรมิ การเรยี นรดู้ ว้ ย ICT เพื่อการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต
6. สนบั สนนุ การนอ้ มนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งลงสู่วถิ ชี วี ติ ของนกั เรียนและบคุ ลากรในโรงเรียน

ใหม้ ากข้ึน


Click to View FlipBook Version