1
ก
รายวชิ านวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เรื่อง นวตั กรรมทางการศึกษา ความรูเ้ บ้อื งต้นเกย่ี วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การเรียนรู้
จดั ทำโดย
นางสาวธัญจิรา เสวขนุ ทด รหัสนักศกึ ษา 646550040-7
เลขที่ 11 ห้อง 6 รนุ่ 7
เสนอ
ดร.กฤษฎาพันธ์ พงษ์บริบูรณ์
หลักสตู รประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
คณะศึกษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์
ภาคเรยี นท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565
วทิ ยาลยั บัณฑิตเอเซยี
ก
คำนำ
เอกสารฉบบั นี้เปน็ ส่วนหนึ่งของรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา โดยมี
จุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง นวัตกรรมทางการศึกษา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี
สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ซึ่งเอกสารฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับนวัตกรรมทาง
การศึกษา ความรู้เบอื้ งต้นเกีย่ วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การเรยี นรู้
คณะผู้จัดทำหวังว่าเอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความสนใจในเรื่อง
นวัตกรรมทางการศึกษา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ
เรยี นรู้ และเป็นประโยชนแ์ กผ่ อู้ า่ นทกุ ๆ ทา่ น
ธัญจิรา เสวขนุ ทด
สารบญั ข
เรอื่ ง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทที่ 1 นวตั กรรมทางการศกึ ษา
2
1.1 ประวัติ ความเป็นมาของนวัตกรรมทางการศกึ ษา 5
1.2 ความหมายนวัตกรรมทางการศึกษา 7
1.3 ความสำคัญของนวัตกรรมการศกึ ษา 9
1.4 องคป์ ระกอบนวตั กรรมการศึกษา 9
1.5 แนวคิดพ้นื ฐานนวัตกรรมทางการศกึ ษา 12
1.6 ประเภทนวัตกรรมทางการศึกษา 13
1.7 ลักษณะนวตั กรรมทางการศกึ ษา 15
1.8 การพัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษา 17
1.9 ระยะของนวัตกรรมทางการศึกษา 17
1.10 นวัตกรรมทางการศกึ ษาในยุคปัจจุบนั
บทที่ 2 ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 29
2.1 ความหมายของคำว่า ขอ้ มูล 30
2.2 ชนดิ ของขอ้ มลู 32
2.3 กรรมวธิ กี ารจดั การขอ้ มูล 33
2.4 หลกั เกณฑก์ ารประเมินผลลพั ธ์ หรือผลผลิต 34
2.5 ความหมายของสารสนเทศ 37
2.6 ความสำคญั ของสารสนเทศ 42
2.7 ววิ ัฒนาการของสารสนเทศ 44
2.8 คุณลกั ษณะของสารสนเทศที่ดี 46
2.9 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ 47
2.10 คุณภาพของสารสนเทศ 49
2.11 บทบาทของสารสนเทศ 49
2.12 สาเหตทุ ที่ ำให้เกิดสารสนเทศ 50
2.13 ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.14 องคป์ ระกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ค
2.15 เทคโนโลยีสือ่ สารโทรคมนาคม
2.16 ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ 51
2.17 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการใช้ชีวติ ในสังคมปัจจบุ ัน 56
2.18 ปัจจยั ที่ทำให้เกดิ ความลม้ เหลวในการนำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ 57
2.19 คอมพิวเตอร์และอนิ -เทอร์เน็ต 62
2.20 ระบบการสบื คน้ ผา่ นเครือขา่ ยเพือ่ การเรียนรู้ 65
2.21 การสืบคน้ และรับส่งขอ้ มูล แฟ้มขอ้ มูล และสารสนเทศเพ่อื ใช้ในการจัดการเรยี นรู้ 66
บทท่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรียนรู้ 69
3.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพวิ เตอรแ์ ละอินเตอรเ์ น็ต 73
3.2 เทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
3.3 ส่อื เพ่ือการเรยี นรู้ 78
3.4 หลัการออกแบบนวัตกรรมและส่ือเพือ่ การเรียนรู้ 84
3.5 การเรียนรู้ แหลง่ เรยี นรู้ เครอื ข่ายการเรยี นรู้ 92
3.6 การจัดการเรียนรู้บนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ 99
3.7 ระบบการสบื คน้ ผา่ นเครือข่ายเพือ่ การเรียนรู้ 102
3.8 การสืบค้น และรับสง่ ข้อมูล แฟ้มข้อมูล 104
3.9 สารสนเทศเพื่อใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ 108
3.10 การวเิ คราะห์ปญั หาทเี่ กิดจากการใชน้ วัตกรรม 109
ข้อสอบ 110
บรรณานุกรม 113
117
129
1
2
1.1 ประวัติ ความเปน็ มาของนวตั กรรมทางการศกึ ษา
“นวัตกรรม” หมายถงึ ความคิด การปฏบิ ตั ิ หรือส่ิงประดิษฐใ์ หม่ ๆ ที่ยังไมเ่ คยมีใชม้ าก่อน หรือเป็น
การพฒั นาดัดแปลงมาจากของเดิมทมี่ ีอยแู่ ลว้ ให้ทนั สมยั และใช้ได้ผลดียิง่ ขึ้น เมอ่ื นำ นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้
การทำงานน้นั ได้ผลดีมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลสูงกว่าเดมิ ท้งั ยงั ชว่ ย ประหยดั เวลาและแรงงานได้ด้วย
“นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทำสิ่งใหม่ขึ้นมา
ความหมายของนวตั กรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คอื การนำแนวความคดิ ใหม่หรือการใช้ประโยชนจ์ ากสิ่งท่ีมอี ยู่
แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทำในสิ่งที่แตกต่างจากคนอน่ื
โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และ
ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์อตุ สาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph
Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเนน้ ไปทีก่ ารสร้างสรรค์ การวจิ ยั
และพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนำไปสู่การได้มาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
(Technological Innovation) เพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เป็นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถใน
การเรยี นรู้และนำไปปฏิบัติใหเ้ กิดผลไดจ้ ริงอกี ด้วย (พนั ธอุ์ าจ ชยั รัตน์ , Xaap.com)
คำว่า “นวัตกรรม” เป็นคำที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คำนี้ เป็นศัพท์บัญญัติของ
คณะกรรมการพจิ ารณาศพั ท์วชิ าการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ มาจากภาษาองั กฤษว่า Innovation มาจาก
คำกรยิ าว่า innovate แปลว่า ทำใหม่ เปลีย่ นแปลงให้เกิดส่งิ ใหม่ ในภาษาไทยเดมิ ใช้คำว่า “นวกรรม” ต่อมา
พบวา่ คำนมี้ คี วามหมายคลาดเคลอ่ื น จึงเปลีย่ นมาใช้คำว่า นวัตกรรม (อ่านวา่ นะ วัด ตะ กำ) หมายถึงการนำ
สิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทำอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น ดังนั้นไม่ว่าวงการหรือ
กิจการใด ๆ กต็ าม เม่อื มีการนำเอาความเปลีย่ นแปลงใหม่ๆ เข้ามาใช้เพื่อปรบั ปรุงงานให้ดีขึน้ กว่าเดิมก็เรียกได้
3
ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานำเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา”
(Educational Innovation) สำหรับผู้ที่กระทำ หรือนำความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็น
“นวัตกร” (Innovator) (boonpan edt01.htm)
นวัตกรรมเป็นตัวแปรที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงองค์กรด้านต่าง ๆ ในเชิงธุรกิจ ได้แก่ ความอยู่รอด
การเจรญิ เติบโต การสร้างความไดเ้ ปรียบทางการแขง่ ขัน การสรา้ งโอกาสทางธรุ กิจใหม่และสมรรถนะหลัก ซึ่ง
นวัตกรรมไม่ใช่แค่การพัฒนาสินค้าใหม่ เท่านั้น แต่เกี่ยวข้องกับการลดต้นทุน การแสวงหาแนวทางการ
ตอบสนองความต้องการของตลาด การยกระดับคณุ ภาพชวี ติ และการสร้างคุณภาพเพ่ิม นวัตกรรมในยคุ แรก ๆ
เกดิ จากการคิดคน้ ใหมท่ งั้ หมด แตน่ วัตกรรมในยุคใหม่เกิดจากการพัฒนาให้ เป็นช้ินใหมท่ ม่ี ีมลู คา่ และสามารถ
นำไปใช้ในเชงิ พาณิชยไ์ ด้
ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes 1998) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็นการนำวิธีการ
ใหม่ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้นๆ แล้ว เริ่มตั้งแต่การคิดค้น
(Invention) การพัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเป็นไปในรูปของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot
Project) แล้วจงึ นำไปปฏบิ ัตจิ ริงซง่ึ มคี วามแตกต่างไปจากการปฏบิ ตั ิเดมิ ท่ีเคยปฏบิ ตั ิมา
มอรต์ นั (Morton,J.A. 1973) ให้ความหมาย “นวตั กรรม” ว่าเป็นการทำให้ใหม่ขึ้นอีกครง้ั (Renewal)
ซึ่งหมายถึง การปรับปรุงสิ่งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรตลอดจนหน่วยงานหรือองค์การนั้นๆ
นวัตกรรม ไมใ่ ชก่ ารขจัดหรอื ลม้ ลา้ งสงิ่ เก่าใหห้ มดไป แตเ่ ป็นการปรบั ปรงุ เสริมแตง่ และพัฒนา
ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521) ได้กลา่ วถงึ นวกรรมไว้ในเรอ่ื ง Innovation in Education ว่า “นวกรรม
หมายถึง การเปลยี่ นแปลงแนวคดิ อย่างถว้ นถ่ี การเปลยี่ นแปลงให้
ใหมข่ ึ้นเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพใหเ้ ป้าหมายของระบบบรรลผุ ล”
โรเจอร์และชูเมคเกอร์ (Rogers and Shoemaker. 1971) ให้ความหมายไว้ว่าเปน็ การนำเอาวิธีการ
ใหม่ๆ มาปฏิบัติซึ่งผ่านการทดลองและได้รับการพัฒนามาเป็นขั้นๆ ตั้งแต่การคิดค้น (Invention) พัฒนาการ
(Development) และทดลองในวงแคบ (Pilot Project) แลว้ จงึ น ามาใชป้ ฏบิ ัติจริงโดยการปฏิบัตจิ ะแตกต่าง
จากเดมิ
โรเจอร์ส (Everette M. Rogers. 1983) ได้ใหค้ วามหมายของค าวา่ นวตั กรรม (Innovation) ว่า
นวัตกรรม คือ ความคิด การกระท า หรือวัตถุใหม่ๆ ซึ่งถูกรับรู้ว่าเป็นส่ิงใหม่ๆ ด้วยตัวบุคคลแต่ละคนหรือ
หน่วยอื่นๆ ของการยอมรับในสังคม (Innovation is a new idea, practice or object, that is perceived
as newby the individual or other unit of adoption)
เสรมิ ศกั ดิ์ วศิ าลาภรณ์ (2514) กล่าวว่า นวตั กรรม หมายถงึ การเลอื กการจดั และการใช้ทรัพยากรท้ัง
บุคคลและวัสดุอย่างชาญฉลาดในวถิ ีทางใหม่ๆ ซ่ึงเป็นผลใหไ้ ดร้ ับความสำเร็จที่สงู กว่าและความสำเร็จน้ันเป็น
4
ความสำเร็จในจุดประสงค์ทีว่ างไว้และหมายรวมถึงการน าสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจเปน็ ความคิดวิธีการ ระบบความรู้
หรอื เทคโนโลยีเข้ามาเพ่มิ เติมหรอื เปลีย่ นแปลงของท่มี ีอย่เู ดมิ ใหผ้ ลดีย่ิงขึน้
สวสั ด์ิ บษุ ปาคม (2517) กลา่ ววา่ นวตั กรรม หมายถึง การปฏิบัตหิ รอื กรรม วิธที ่ีนำ เอาวิธีการใหมม่ า
ใช้ปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงวธิ ีการเดิมให้ดียิง่ ข้ึนคือทำใหม้ ีประสทิ ธิภาพสูงขน้ึ
ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521) ได้ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้ว่าหมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่
แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวธิ กี ารใหม่ๆ ข้นึ มาหรือมกี ารปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสม
และส่งิ ท้งั หลายเหล่าน้ีได้รับการทดลอง พฒั นาจนเป็นท่ีเชื่อถอื ได้แล้ววา่ ได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าว
ไปสู่จุดหมายปลายทางได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพขนึ้
จรูญ วงศ์สายัณห์ (2520) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษเอง
ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยทั่วไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใดๆ จะเป็นผลสำเร็จหรือไม่
มากน้อยเพียงใดก็ตามท่ีเป็นไปเพ่ือจะนำส่งิ ใหม่ ๆ เข้ามาเปลีย่ นแปลงวธิ กี ารที่ทำอยเู่ ดมิ แลว้ กับอีกระดับหน่ึง
ซง่ึ วงการวิทยาศาสตร์แหง่ พฤตกิ รรม ไดพ้ ยายามศกึ ษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวธิ ี และผลกระทบท่ีมีอยู่ต่อกลุ่ม
คนท่เี กยี่ วข้อง คำว่า “นวัตกรรม” มักจะหมายถงึ สง่ิ ท่ีได้นำความเปลีย่ นแปลงใหมเ่ ขา้ มาใช้ได้ผลสำเรจ็ และแผ่
กว้างออกไป จนกลายเปน็ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งธรรมดาสามญั
วสันต์ อตศิ พั ท์ (2523) กลา่ วไว้ว่า นวกรรม เปน็ คำสมาสระหว่าง “นว” และ “กรรม”ซึ่งมี
ความหมายว่า ความคดิ และการกระทำใหม่ๆ ท่ีจะทำใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงไปส่สู ิ่งทด่ี กี ว่า เชน่ นวกรรมทาง
การแพทย์ หมายถึงความคดิ และการกระทำใหม่ๆ เพ่ือท่ีจะเปล่ียนแปลง ปรบั ปรุง ตลอดจนแก้ปญั หาทางการ
แพทย์ทม่ี อี ย่ใู นปัจจุบัน นวกรรมการศกึ ษา ก็หมายถงึ ความคดิ และการกระทำใหม่ๆ ที่จะทำใหเ้ กิดการ
เปลยี่ นแปลงเพอื่ จะแก้ปัญหาท่ีเกิดขนึ้ ในระบบการศึกษา
สำนักงานนวตั กรรมแห่งชาติ (2549) ได้ให้ความหมายของนวตั กรรมไว้ว่า นวัตกรรม คือ “สิ่งใหม่ท่ี
เกดิ จากการใชค้ วามรแู้ ละความคิดสรา้ งสรรค์ท่ีมีประโยชนต์ ่อเศรษฐกจิ และสังคม”
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์และคณะ (2553) ได้ให้ความหมายของ นวัตกรรม หมายถึง “สิ่งใหม่ท่ี
เกิดขน้ึ จากการใช้ความรู้ ทักษะประสบการณ์ และความคิดสร้างสรรค์ในการพฒั นาขึ้น ซ่ึงอาจจะมีลักกษณะ
เปน็ ผลติ ภัณฑ์ใหม่ บริการใหม่ หรอื กระบวนการใหม่ ทกี่ ่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นเชงิ เศรษฐกจิ และสังคม”
สรุป “นวตั กรรม” หมายถงึ ความคิด การปฏบิ ัติ หรอื สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทีย่ งั ไมเ่ คยมใี ช้มาก่อน หรือ
เป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำ นวัตกรรมมาใช้จะ
ชว่ ยใหก้ ารทำงานน้ันได้ผลดมี ปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ท้ังยงั ชว่ ย ประหยัดเวลาและแรงงานได้
ดว้ ย
5
1.2 ความหมายของนวตั กรรมการศึกษา
“นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมท่จี ะชว่ ยให้การศกึ ษา และ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน ผู้เรียนสามารถเกิดการเรยี นรูอ้ ยา่ งรวดเร็วมีประสิทธผิ ลสูงกว่าเดิม
เกิดแรงจูงใจในการเรียนดว้ ยนวัตกรรมการศกึ ษา และประหยดั เวลาในการเรียนไดอ้ ีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้
นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทที่กำลัง
เผยแพร่ เชน่ การเรียนการสอนทีใ่ ชค้ อมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผน่ วิดีทัศน์
เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอรเ์ น็ต [Internet] เหล่านี้ เป็นตน้
(วารสารออนไลน์ บรรณปญั ญา.htm)
“นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ใน
รูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะ
เปล่ียนแปลงสงิ่ ที่มีอย่เู ดมิ ให้ระบบการจัดการศกึ ษามีประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน ทำให้ผ้เู รยี นสามารถเกดิ การเรียนรู้ได้
อย่างรวดเรว็ เกดิ แรงจงู ใจในการเรียน และช่วยใหป้ ระหยัดเวลาในการเรยี น เชน่ การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์
ชว่ ยสอน การใชว้ ดี ิทศั น์เชิงโตต้ อบ(Interactive Video) ส่ือหลายมิติ (Hypermedia) และอินเตอรเ์ นต็ เหลา่ น้ี
เป็นต้น
สมบูรณ์ สงวนญาติ (2534) ให้ความหมายไว้ว่า นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง วธิ กี ารปฏบิ ัติใหม่ๆ
ในทางการศกึ ษา ซึ่งแปลกไปจากเดมิ อาจได้มาจากการคน้ พบวิธีใหม่ๆ หรือปรบั ปรุงของเก่าให้เหมาะสม โดย
ไดม้ กี ารทดลอง พัฒนา จนเป็นทน่ี า่ เชือ่ ถอื ได้ว่า มีผลดีในทางปฏิบตั ิ และสามารถทำให้ระบบการศึกษาดำเนิน
ไปสเู่ ป้าหมายได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
กิดานันท์ มลิทอง (2540) ให้ความหมายไว้ว่า นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง นวัตกรรมที่ช่วยให้
การศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่าง รวดเร็วมี
ประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมเหล่านั้น และประหยัดเวลาในการเรียนได้อกี
ด้วย ในปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่างซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันแพร่หลายแล้วและ
ประเภทที่กำลังเผยแพร่ เช่น การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย การใช้แผ่นวีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ สื่อหลายมิติ และ
อินเทอรเ์ นต็ เหลา่ นเี้ ปน็ ต้น
วรวทิ ย์ นิเทศศิลป์ (2551) ให้ความหมายไวว้ า่ นวตั กรรมการศึกษา หมายถึง การนำเอาความคิดหรือ
วิธปี ฏบิ ตั ทิ างการศกึ ษาใหมๆ่ มาใช้กับการศกึ ษา
คณาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา (2539) ให้ความหมายไว้ว่า นวัตกรรม
การศึกษา หมายถึง แนวความคิดหรือวิธีการหรือเครื่องมือ ซึ่งเป็นสิ่งแปลกใหม่ยังไม่เคยนำมาใช้ในวงการ
การศึกษามาก่อน แต่ได้ถูกนำมาทดลองใช้เพื่อดูผลว่าได้ผลดีเพียงใด ถ้าได้ผลดีก็จะได้รับการยอมรับและ
เผยแพรใ่ ห้รูจ้ ักและนำมาใช้กันอยา่ งกว้างขวางตอ่ ไป
6
สุคนธ์ สินธพานนท์ (2553) ให้ความหมายไว้ว่า นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง สิ่งใหม่ๆ ที่สร้าง
ขึ้นมาเพื่อช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนหรือพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ ได้แก่แนวคดิ รูปแบบ วิธีการ กระบวนการ สอ่ื ตา่ งๆ ท่เี กย่ี วกับการศกึ ษา
ทศั นา แขมมณี (2547) ให้ความหมายไว้วา่ นวตั กรรมการศกึ ษา หมายถงึ กระบวนการ แนวคดิ หรือ
วิธีการใหมๆ่ ทางการศึกษาซ่ึงอยู่ในระหว่างการ ทดลองที่จะจัดขึ้นมาอย่างมีระบบและกว้างขวางพอสมควร
เพื่อพิสูจนป์ ระสิทธิภาพ อนั จะนำไปสู่การยอมรับนำไปใช้ในระบบการศึกษาอย่างกว้างขวางตอ่ ไป
ธำรงค์ บัวศรี (2527) ได้กลา่ ววา่ นวัตกรรมการศกึ ษาถกู สร้างขนึ้ มา เพ่ือแก้ปญั หาทางการศึกษา
ลดั ดา ศุขปรดี ี (2523) ไดใ้ หค้ วามหมายไว้วา่ หมายถงึ ความคิด วิธกี ารใหมๆ่ ทางการเรียนการสอนซึ่ง
รวมไปถึงแนวคิดวธิ ปี ฏบิ ัตทิ เี่ ก่ามาจากท่อี ่ืนและมีความเหมาะสมทจี่ ะนำมาใชใ้ นการเรียนการสอนในปจั จบุ ัน
สาลี ทองธิว (2526) ใหค้ วามหมายไว้วา่ นวัตกรรมการศึกษาเปน็ สิง่ ทถ่ี ูกสรา้ งขน้ึ มาเพ่อื แกป้ ัญหาทาง
การศึกษา หรือเพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลง สิ่งที่มีอยู่เดิมให้ได้ มาตรฐานคุณภาพเพิ่มขึ้น ผู้สร้างนวัตกรรมจะ
คำนึงถึงว่า นวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาจะต้องดีกว่าของเดิมคือ จะต้องได้รับประโยชน์มากกว่าเดิม หรือมีความ
สะดวกมากขึน้ ไม่ยากตอ่ การใช้ ตรงกบั ความต้องการของผู้ใช้
บุญเกื้อ ควรหาเวช (2543) ให้ความหมายไว้ว่า นวัตกรรมทางการ ศึกษาคือความคิดและการระทำ
ใหม่ ๆ ในระบบการศึกษาที่ได้รับการพิสูจน์ว่าดีที่สุดใน สภาพปัจจุบันเพื่อส่งเสริมให้การเรียนการสอนมี
ประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้ึน
อรนุช ลิมตศิริ (2543) นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง การนำแนวคิด วิธีการปฏิบัติ หรือ
สง่ิ ประดษิ ฐท์ ีไ่ ด้รับการพัฒนา ปรบั ปรงุ หรอื ดัดแปลงใหม้ ีความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับการนำมาใช้ในการ
จัดการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อแก้ไขปัญหา เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล และก่อให้เกิด
ความสำเรจ็ สูงสดุ แกผ่ ูเ้ รียน อัญชลี โพธ์ิ
ประพนธ์ ผาสุขยืด (2547 : ออนไลน์) อดีตผู้อำนวยการวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผอู้ านวยการฝ่ายสง่ เสรมิ การสือ่ สารพฒั นาการเรยี นรู้ สถาบันสง่ เสริมกาจัดการ
ความรู้เพื่อสังคม (สคส.) ได้กล่าวถึงนวัตกรรมทางการศึกษาว่า นวัตกรรม อาจมิได้หมายความว่าสิ่งใหม่ท่ี
เกิดขึ้นในโลก แต่เป็นสิ่งที่แปลก ฉีกแนวจากที่นิยมท ากันอยู่อาจไม่ใช่ ประดิษฐ์กรรมใหม่หรือเทคโนโลยี
ล้าสมัย แต่เป็นสิ่งที่ได้รับการพัฒนาเปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่และนวัตกรรมทางการศึกษาเป็นการจัดการ
เรียนรู้รูปแบบใหม่ ที่มีการบูรณาการกับความรู้ต่างๆ ให้เกิดการพัฒนาทั้งการบริหารการศึกษา หลักสูตร
วิธกี ารจัดการเรยี นร
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ (2551) กล่าวไว้ว่า
นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง ความคิดและวิธีการปฏิบัติใหมๆ่ ที่ส่งเสริมให้กระบวนการทางการศึกษามี
ประสทิ ธิภาพ
7
ครรชิต มาลัยวงศ์ (2540) กลา่ วไว้วา่ นวัตกรรมการศกึ ษา หมายถึง นวัตกรรมท่ีจะช่วยให้การศึกษา
และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิ ทธิผลสูง
กว่าเดมิ เกิดแรงจูงใจในการเรียนดว้ ยนวัตกรรมการศึกษา และประหยดั เวลาในการเรียนไดอ้ กี ดว้ ย ในปัจจุบัน
มกี ารใชน้ วตั กรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซ่ึงมีทง้ั นวัตกรรมท่ีใช้กนั อย่างแพรห่ ลายแล้ว และประเภทที่
กำลังเผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่น
วดิ ที ัศน์เชงิ โต้ตอบ (Interactive Video) สอ่ื หลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เนต็ (Internet) เปน็ ตน้
สมจิตร ยิ้มสุด (มปป) กล่าวไว้ว่า “นวัตกรรมทางการศกึ ษา” (Educational Innovation) หมายถึง
การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบ
การศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้
ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน
เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ
(Hypermedia) และอนิ เตอร์เนต็ เหลา่ นเี้ ป็นต้น
ครูบ้านนอก กล่าวไว้ว่า นวัตกรรมทางการศึกษา คือ การปรับประยุกต์ ความคิดใหม่ วิธีการใหม่
รูปแบบใหม่ เทคนคิ ใหม่ แนวทางใหม่ ทส่ี ร้างสรรค์และพัฒนาทัง้ จากการตอ่ ยอดภมู ิปัญญาเดิม หรือจากการ
คิดค้นขึ้นมาใหม่ให้เกิดสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตาม
อธั ยาศยั
สรุป “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) คอื การนำสิง่ ใหมๆ่ ซึง่ อาจจะเป็นความคิด
วธิ กี าร หรอื การกระทำ หรือสงิ่ ประดษิ ฐ์ขึ้น ทัง้ ในสว่ นท่ไี ม่เคยมมี าก่อน หรือเปน็ การพฒั นาดดั แปลงจากส่ิงที่มี
อยู่แต่เดิม ให้ดีขึ้น โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี ที่ได้ผ่านการทดลองวิจยั จนเชื่อถือได้นำมาใชบ้ ังเกิดผลเพ่มิ พนู
ประสทิ ธิภาพต่อการเรยี นรู้
1.3 ความสำคัญของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งนี้เนื่องจากในโลกยุคโลกาภิวัฒน์โลกมีการ
เปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความก้าวหน้าทั้งด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ
การศึกษาจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศึกษาที่มีอยู่เดิม เพื่อให้ทันสมัยต่อการ
เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสงั คมท่เี ปลี่ยนแปลงไป อกี ทัง้ เพ่ือแกไ้ ขปัญหาทางดา้ นศึกษาบางอย่างที่
เกิดขึน้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเชน่ เดยี วกัน การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นการศกึ ษาจึงจำเป็นต้องมีการศกึ ษาเก่ียวกับ
นวัตกรรมการศึกษาที่จะนำมาใช้เพ่อแก้ไขปัญหาทางการศึกษาในบางเรื่อง เช่น ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกัน
จำนวนผูเ้ รียนทมี่ ากข้นึ การพัฒนาหลกั สตู รให้ทนั สมัย การผลิตและพฒั นาสือ่ ใหม่ ๆ ข้นึ มาเพอื่ ตอบสนองการ
เรียนรู้ของมนษุ ย์ให้เพ่มิ มากขนึ้ ด้วยระยะเวลาทสี่ ้ันลง การใช้นวตั กรรมมาประยกุ ตใ์ นระบบการบรหิ ารจัดการ
8
ด้านการศึกษาก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรยี นรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ เช่น เกิดการเรียนรูด้ ้วย
ตนเอง
กลา่ วโดยสรุป นวตั กรรมการศกึ ษาเกดิ ขึ้นตามสาเหตใุ หม่ ๆ ดงั ต่อไปนี้
1) การเพิ่มปริมาณของผู้เรยี นในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเปน็ ไปอย่างรวดเร็ว ทำให้
นกั เทคโนโลยีการศกึ ษาตอ้ งหานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ เพื่อให้สามารถสอนนกั เรยี นได้มากข้ึน
2) การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยเี ป็นไปอยา่ งรวดเรว็ การเรยี นการสอนจึงต้องตอบสนองการเรียน
การสอนแบบใหม่ ๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เร็วและเรียนรู้ได้มากในเวลาจำกัดนักเทคโนโลยี
การศึกษาจ่งตอ้ งค้นหานวัตกรรมมาประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่อื วัตถุประสงค์น้ี
3) การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึด
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นวัตกรรมการศึกษาสามารถช่วยตอบสนองการเรียนรู้ตามอัตภาพ ตามความสามารถ
ของแต่ละคน เช่นการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน CAI (Computer Assisted instruction) การเรียน
แบบศูนย์การเรียน
4) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ที่ส่วนผลักดันให้มีการใช้
นวัตกรรมการศึกษาเพิ่มมากขึ้น เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทำให้คอมพิวเตอร์ มีขนาดเล็กลง แต่มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้นมาก เทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต ทำให้เกิดการสื่อสารไร้พรมแดน
นักเทคโนโลยีการศกึ ษาจึงคดิ คน้ หาวิธีการใหม่ ๆ ในการประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์เปน็ ฐานในการ
เรียนรู้ ท่ีเรยี กวา่ “Web-based Learning” ทำใหส้ ามารถเรยี นรใู้ นทุกพที่ กุ เวลาสำหรับทกุ คน (Sny where,
Any time for Everyone ) ถ้าหากผู้เรียนสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันเป็นไป
อย่างกว้างขวาง ในวงการศึกษาคอมพิวเตอร์มใิ ชเ่ พียงแต่ส่ิงอำนวยความสะดวกในสำนกั งานเท่านน้ั แต่ยังใช้
เป็นสื่อหรือเป็นเครื่องมือสร้างสื่อได้อย่างสวยงามเหมือนจริง และรวดเร็วมากกว่าก่อน นัก เทคโนโลยี
การศึกษาจึงศึกษาวิจัยบทนวัตกรรมทางด้านการผลิตและการใช้สื่อใหม่ ๆ ตามศักยภาพของเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์กราฟิก ระบบมัลติมีเดีย วิดีโอออนดีมานด์ การประชุมทางไกล อี-เส้นน่ิง อี-
เอด็ ดูเคชนั่ เปน็ ตน้
9
1.4 องคป์ ระกอบทเ่ี ป็นมติ สิ ำคญั ของนวตั กรรม มีอยู่ 3 ประการ คือ
ความใหม่ (Newness) หมายถึง เป็นสิ่งใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจเป็นตัวผลิตภัณฑ์ บริการ หรือ
กระบวนการ โดยจะเป็นการปรับปรุงจากของเดิมหรือพัฒนาขึ้นใหม่เลยก็ได้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ
(Economic Benefits) หรอื การสรา้ งความสำเร็จในเชิงพาณิชย์ กล่าวคือ นวตั กรรม จะตอ้ งสามารถทำให้เกิด
มูลค่าเพิ่มข้ึนได้จากการพัฒนาสิ่งใหม่นั้นๆซึ่งผลประโยชนท์ ี่จะเกิดขึ้นอาจจะวัดไดเ้ ป็นตัวเงินโดยตรง หรือไม่
เปน็ ตวั เงนิ โดยตรงก็ได้การใชค้ วามรู้และความคดิ สร้างสรรค์ (Knowledge and Creativity Idea) ส่ิงทีจ่ ะเป็น
นวัตกรรมไดน้ ั้นตอ้ งเกิดจากการใชค้ วามรู้และความคิดสรา้ งสรรค์เป็นฐานของการพฒั นาให้เกิดซ้ำใหม่ ไม่ใช่
เกดิ จากการลอกเลยี นแบบ การทำซ้ำ เป็นต้น
1.5 แนวคดิ พนื้ ฐานของนวตั กรรมทางการศึกษา
10
1.5.1 การขยายพิสัยของทรัพยากรของการเรียนรู้ กล่าวคือ แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ มิได้
หมายถึงแต่เพียงตำรา ครู และอุปกรณ์การสอน ที่โรงเรียนมีอยู่เท่านัน้ แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการศึกษา
ต้องการให้ผู้เรียนมโี อกาสเรียนจากแหล่งความรู้ท่ีกวา้ งขวางออกไปอีก แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ครอบคลุม
ถึงเรือ่ งต่างๆ เช่น
1) คน คนเป็นแหล่งทรพั ยากรการเรียนรทู้ ่ีสำคญั ซงึ่ ได้แก่ ครู และวิทยากรอ่นื ซ่ึงอยนู่ อก
โรงเรียน เชน่ เกษตรกร ตำรวจ บรุ ุษไปรษณยี ์ เปน็ ตน้
2) วัสดแุ ละเครือ่ งมือ ได้แก่ โสตทัศนวสั ดอุ ุปกรณต์ ่าง ๆ เชน่ ภาพยนตร์ วทิ ยุ โทรทัศน์
เคร่อื งวดิ ีโอเทป ของจรงิ ของจำลองสิ่งพิมพ์ รวมไปถงึ การใชส้ ่ือมวลชนตา่ งๆ
3) เทคนิค-วิธกี าร แตเ่ ดมิ นน้ั การเรียนการสอนสว่ นมาก ใช้วิธีใหค้ รูเป็นคนบอกเนอ้ื หา แก่
ผู้เรียนปัจจุบันนั้น เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้มากที่สุด ครูเป็นเพียง ผู้วางแผนแนะ
แนวทางเท่านั้น
4) สถานท่ี อนั ได้แก่ โรงเรียน หอ้ งปฏิบัติการทดลอง โรงฝกึ งาน ไร่นา ฟารม์ ท่ีทำการ
รฐั บาล ภูเขา แม่นำ้ ทะเล หรือสถานท่ีใด ๆ ที่ชว่ ยเพิ่มประสบการณท์ ีด่ แี ก่ผู้เรยี นได้
1.5.2 การเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล ถึงแม้นกั เรยี นจะลน้ ชัน้ และกระจัดกระจาย ยากแก่การ
จัดการศึกษาตามความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้พยายามคิด หาวิธีนำเอา
ระบบการเรียนแบบตัวต่อตัวมาใช้ แต่แทนที่จะใช้ครูสอนนักเรียนทีละคน เขาก็คิด ‘แบบเรียนโปรแกรม’ ซึ่ง
ทำหน้าที่สอน ซึ่งเหมอื นกบั ครมู าสอน นักเรียนจะเรียนด้วยตนเอง จากแบบเรียนด้วยตนเองในรูปแบบเรยี น
เป็นเล่ม หรือเคร่ืองสอนหรอื สื่อประสมหลายๆ อย่าง จะเรียนช้าหรือเร็วก็ทำได้ตามความสามารถของผู้เรียน
แต่ละคน
1.5.3 การใช้วิธวี ิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธรี ะบบ ในการปฏิบตั ิหรือแก้ปัญหา เป็นวิธีการ
ท่ีเปน็ วิทยาศาสตร์ ทเ่ี ชอื่ ถือได้วา่ จะสามารถแก้ปัญหา หรอื ช่วยใหง้ านบรรลุเปา้ หมายได้ เนอ่ื งจากกระบวนการ
ของวิธรี ะบบ เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบของงานหรอื ของระบบ อย่างมีเหตุผล หาทางให้ส่วนต่าง ๆ ของ
ระบบทำงาน ประสานสัมพันธก์ นั อยา่ งมีประสิทธิภาพ
1.5.4 พฒั นาเครื่องมือ-วสั ดุอุปกรณ์ทางการศึกษา วัสดุและเคร่อื งมือต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการศึกษา หรือ
การเรยี นการสอนปัจจบุ นั จะต้องมีการพัฒนา ใหม้ ีศกั ยภาพ หรอื ขีดความสามารถในการทำงานให้สูงย่ิงขึ้นไป
อกี แนวคิดพนื้ ฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา
Kanjanaporjai (2013) กล่าวว่า แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญที่มี
อิทธพิ ลอยา่ งมาก ตอ่ วธิ กี ารศกึ ษา ได้แก่แนวความคิดพน้ื ฐานทางการศกึ ษาที่เปลยี่ นแปลงไป อนั มีผลทำให้เกิด
นวตั กรรมการศกึ ษาท่ีสำคัญๆ พอจะสรปุ ได4้ ประการ คอื
11
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้
ความสำคญั ในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้
มงุ่ จัดการศกึ ษาตามความถนดั ความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตวั อย่างทเ่ี ห็นได้ชัดเจน
ได้แก่ การจดั ระบบหอ้ งเรยี นโดยใชอ้ ายุเป็นเกณฑบ์ ้าง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บา้ ง นวตั กรรมที่เกิดขึ้นเพื่อ
สนองแนวความคิดพนื้ ฐานนี้ เช่น
– การเรยี นแบบไมแ่ บง่ ชัน้ (Non-Graded School)
– แบบเรียนสำเรจ็ รูป (Programmed Text Book)
– เครอื่ งสอน (Teaching Machine)
– การสอนเป็นคณะ (TeamTeaching)
– การจัดโรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School)
– เครื่องคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction)
2. ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็น
พัฒนาการตามธรรมชาติ แตใ่ นปจั จบุ ันการวจิ ยั ทางด้านจติ วทิ ยาการเรยี นรู้ ชี้ใหเ้ หน็ วา่ ความพรอ้ มในการเรียน
เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดบั ความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาท่ี
เคยเชื่อกันว่ายาก และไม่เหมาะสมสำหรับเด็กเล็กก็สามารถนำมาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมที่ตอบสนอง
แนวความคิดพ้นื ฐานน้ีไดแ้ ก่ ศูนย์การเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรยี น นวัตกรรมทีส่ นองแนวความคิดพื้นฐาน
ดา้ นนี้ เช่น
– ศูนย์การเรยี น (Learning Center)
– การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
– การปรบั ปรงุ การสอนสามชัน้ (Instructional Development in 3 Phases)
3. การใช้เวลาเพอื่ การศึกษา แตเ่ ดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรอื ตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัย
ความสะดวกเปน็ เกณฑ์ เชน่ ถอื หน่วยเวลาเป็นชวั่ โมง เท่ากันทุกวชิ า ทกุ วนั นอกจากนนั้ กย็ งั จดั เวลาเรยี นเอาไว้
แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัดเปน็ หนว่ ยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของ
แต่ละวชิ าซ่ึงจะใช้เวลาไม่เท่ากนั บางวชิ าอาจใช้ช่วงสั้นๆ แต่สอนบ่อยคร้งั การเรยี นกไ็ ม่จำกัดอยู่แต่เฉพาะใน
โรงเรียนเท่านน้ั นวตั กรรมทส่ี นองแนวความคิดพน้ื ฐานด้านน้ี เช่น
– การจดั ตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)
– มหาวทิ ยาลัยเปิด (Open University)
– แบบเรยี นสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
– การเรยี นทางไปรษณยี ์
12
4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทำให้มีส่ิง
ต่างๆ ที่คนจะต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึง
จำเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหมท่ ี่มีประสิทธิภาพสูงข้ึน ทั้งในด้านปัจจัยเกีย่ วกับตัวผู้เรยี น และปัจจัยภายนอก
นวตั กรรมในดา้ นน้ที ีเ่ กดิ ข้นึ เช่น
– มหาวทิ ยาลัยเปิด
– การเรียนทางวทิ ยุ การเรยี นทางโทรทศั น์
– การเรยี นทางไปรษณีย์ แบบเรยี นสำเรจ็ รูป
– ชดุ การเรียน
1.6 ประเภทของนวตั กรรมทางการศกึ ษา
นักการศึกษาได้แบ่งประเภทของนวตั กรรมทางการศึกษาตามจุดเนน้ ของการพัฒนาการจัดการศึกษา
หลายลักษณะ คอื
วุทธิศักดิ์ โภชนกุ ูล (2550) อธิบายว่า นวัตกรรมทางการศึกษา แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท คือ
1) นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เช่น หลักสูตรบูรณาการ หลักสูตรรายบคุ คล หลักสูตรกิจกรรมและ
ประสบการณ์ หลกั สูตรทอ้ งถ่นิ
2) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เช่น การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพนั ธ์
การสอนแบบเรียนรรู้ ่วมกัน และการเรียนผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ น็ต กระบวนการสร้างความ
ตระหนัก กระบวนการสรา้ งเจตคติ กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการสืบ
สอบ กระบวนการสร้างทักษะการคิดคำนวณ การสอนแบบศูนย์การเรียน การสอนแบบใช้ บทบาทสมมติ
การสอนโดยใชส้ ถานการณ์จำลอง การเรยี นแบบสัญญาการเรยี น การเรียนเปน็ คู่ การเรยี นเพ่อื รอบรู้ การเรยี น
แบบร่วมมือ เปน็ ต้น
3) นวัตกรรมสื่อการสอน เช่น Computer Assisted Instruction (CAI), Web-based Instruction
(WBI) Web-based Training (WBT) Virtual Classroom (VC) Web Quest Web Blog บ ท เ ร ี ย น
สำเร็จรูป บทเรียนโมดูล บทเรียนออนไลน์ คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน ชุดการสอน จุลบท ชุดสื่อประสม วีดิทัศน์
สไลดป์ ระกอบเสียง แผ่นโปร่งใส บัตรการเรยี นรู้ บัตรกิจกรรม แบบฝึกทักษะ เกม เพลง เป็นตน้
4) นวัตกรรมการประเมินผล เช่น การพัฒนาคลังข้อสอบ การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่าย
คอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอร์เน็ต การใช้บตั รสมาร์ทการ์ดเพ่อื การใช้บริการของสถาบันศึกษา การใช้คอมพิวเตอร์
ในการตัดเกรด
5) นวัตกรรมการบริหารจัดการ เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์ และ
บคุ ลากร ในสถานศกึ ษา ดา้ นการเงนิ บญั ชี พัสดุ และครุภณั ฑ์
13
มหาวิทยาลัยรงั สิต (2549) กลา่ ววา่ นวตั กรรมทางการศึกษาด้านการจัดการเรยี นรู้ท่ีครูผู้สอนสร้าง
หรอื พฒั นาข้ึนเพื่อพัฒนาหรอื ปรับปรุงแก้ไขปญั หาการจดั การเรยี นรู้ แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ
1) กิจกรรมการพฒั นาการเรียนรหู้ รอื เทคนิควธิ สี อน (Instruction) เชน่ บทเรยี นสำเร็จรูป ชุดการ
เรียนการสอน ชุดฝึก แบบฝึก แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นรูปแบบการสอน, กิจกรรมการเรียนรู้, หรือ
กระบวนการเรียนรู้ ชุดพฒั นาคณุ ลักษณะ เป็นตน้
2) สื่อการเรียนรู้หรือสิ่งประดิษฐ์ (Invention) เช่น สื่อประสม วีดิทัศน์ แบบจำลอง รูปภาพ,
แผน่ โปร่งใส, แผนภาพ เกมประดษิ ฐห์ รอื เกมฝึกทกั ษะ เปน็ ต้น
สำหรับนวัตกรรมทางการศึกษาที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน แบ่งเป็น 2
ประเภทหลัก คือ ประเภทกิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้และเทคนิควิธีสอน (Learning and Instruction)
และประเภทส่ือการเรยี นรู้หรือสง่ิ ประดิษฐ์ (Invention
1.7 คณุ ลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา เปน็ การนำแนวคิดวิธกี ารมาใช้ในการจัดการศึกษาเพือ่ สง่ เสรมิ กิจกรรมการ
เรยี นการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ขน้ึ มลี ักษณะสำคญั คอื
1) เปน็ แนวความคิดที่ไมย่ งั ไม่มีการนำมาปฏิบัติในวงการศึกษาและอาจเป็นสง่ิ ใหม่บางส่วนหรือเป็น
สิ่งใหม่ทง้ั หมดซ่ึงใชไ้ ด้ไม่ได้ผลในอดตี ซ่งึ ได้รับการปรับปรุงแกไ้ ขให้ดขี น้ึ เช่น การนำคอมพวิ เตอร์มาใช้ในการ
จัดการเรียนรู้
2) เป็นแนวความคิดหรือแนวทางปฏิบัติในลักษณะใหม่ซึ่งดัดแปลงจากแนวความคิดหรือแนวทาง
ปฏิบัติเดิมที่ปฏิบัติไม่ประสบความสำเร็จให้มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบันและก่อให้เกิด
ความสำเร็จได้ และมีการจัดระบบขั้นตอนการดำเนินงาน (System Approach) โดยการพิจารณาข้อมูล
กระบวนการ และผลลัพธ์ ให้เหมาะสมก่อนทำการเปล่ยี นแปลงนัน้ ๆ
3) เป็นแนวความคิดหรอื แนวทางปฏิบัติซ่ึงมีมาแต่เดมิ และไดร้ บั การปรับปรุงให้มีลักษณะทันสมัยและ
ได้รบั การพิสจู น์ประสิทธภิ าพด้วยวธิ ีทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื อยรู่ ะหวา่ งการวจิ ยั
4) เป็นแนวความคิดหรือแนวทางปฏิบัติที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ซ่ึง
เออ้ื อำนวยใหเ้ กดิ ความสำเรจ็ ย่งิ ขน้ึ เชน่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5) เป็นแนวความคดิ หรือแนวทางปฏบิ ัติท่ีค้นพบใหม่อย่างแท้จริงซ่งึ ยงั ไม่ได้ทำการเผยแพร่หรือได้รับ
การยอมรบั เปน็ ส่วนหน่งึ ของระบบงานในปจั จบุ ัน
สุคนธ์ สินธพานนท์ (2553) กล่าวว่า นวัตกรรมทางการศึกษา ควรมีคุณลักษณะซึ่งพอสรุปได้
ดังตอ่ ไปน้ี
1. เป็นส่งิ ใหม่เก่ียวกบั การศึกษาท้งั หมด เช่น วธิ กี ารสอนใหมๆ่ ส่ือการสอนใหมๆ่
ซ่ึงไม่เคยมีใครทำมากอ่ น
14
2. เป็นส่ิงใหม่เพียงบางส่วน เช่น มีการผลิตชุดการสอนรปู แบบใหม่ แต่ยังคงมรี ูปแบบเดมิ เป็นหลักอยู่
ตัวอย่างเช่น มีบัตรเนื้อหา บัตรความรู้ บัตรทดสอบ แต่มีการเพิ่มบัตรฝึกทักษะความคิด บัตรงานสำหรับ
ผ้เู รยี น เป็นตน้
3. เป็นสิ่งใหม่ที่ยังอยู่ในกระบวนการทดลองว่ามีประสิทธิภาพในการนำไปใช้มากน้อยเพียงไร เช่น
การนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงบรู ณาการเข้าไปในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทุกรายวิชา
4. เปน็ สง่ิ ใหมท่ ไ่ี ด้รับการยอมรบั และนำไปใช้บา้ งแลว้ แตย่ งั ไม่แพรห่ ลาย เชน่ แหลง่ การเรียนรู้ท้องถิ่น
มีวนอุทยานอยู่ในท้องถิ่นนั้นแต่เนื่องจากมีอุปสรรคเกี่ยวกับการเดินทางจึงยังไม่เป็นที่นิ ยมของสถานศึกษา
ต่างๆ
5. เป็นสิ่งที่เคยปฏิบัติมาแล้วครั้งหนึ่งแต่ไม่ค่อยได้ผลเนื่องจากขาดปัจจัยสนับสนุนต่อมาได้นำมา
ปรับปรุงใหมท่ ดลองใช้และเผยแพร่จดั วา่ เปน็ นวัตกรรมได้ในกรณที ี่สิ่งนั้นได้นำมาใช้จนกลายเปน็ ส่ิงปกติของ
ระบบงานนั้นก็ไมจ่ ัดวา่ เปน็ นวัตกรรม เช่น การจัดทำบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนของโรงเรียนเมฆวทิ ยา
เปน็ นวตั กรรมของโรงเรียนทผี่ ู้บรหิ ารสนใจและสนบั สนุนใหท้ ุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ ผลิตบทเรยี นคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนทุกระดบั ชั้น จนกลายเป็นสื่อการสอนชนดิ หนึง่ ของโรงเรียน จึงไม่เรยี กคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนวา่ เปน็
นวตั กรรมอกี ต่อไป
นคร ละลอกนำ้ (สมั ภาษณ์) กลา่ วว่า คุณลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา คือ นวัตกรรมท่ผี ่านวิธี
ระบบวเิ คราะห์ออกมาแล้ว ทดลองและพฒั นาแลว้ นำมาใช้ในวงกว้างแต่ยงั ไม่เป็นปกติวิสยั มีผลยืนยันว่าใช้ได้
จรงิ แกป้ ญั หาได้จริงสามารถยนื ยันดว้ ยข้อมลู มหาศาล
ราตรี (2552) ไดก้ ลา่ ววา่ นวัตกรรมทางการศึกษามีลักษณะ ดังน้ี
1) เปน็ สงิ่ ประดษิ ฐห์ รือวิธกี ารใหม่
- คดิ หรือทำขึ้นใหม่
- เก่าจากที่อน่ื พง่ึ นำเขา้
- คดั แปลงปรับปรุงของเดมิ
- เดมิ ไมเ่ หมาะแตป่ จั จุบนั ใช้ได้ดี
- สถานการณ์เออื้ อำนวยทำใหเ้ กดิ สง่ิ ใหม่
2) เปน็ สิง่ ได้รับการตรวจสอบหรือทดลองและพฒั นา
3) นำมาใช้หรอื ปฏิบัติไดด้ ี
4) มีการแพรก่ ระจายออกสชู่ ุมชน
จริ าพร (2552) ได้กลา่ วว่านวัตกรรมทางการศึกษามีลักษณะ ดังน้ี
1) เป็นสง่ิ ใหมท่ ีไ่ มเ่ คยมีผู้ใดเคยทำมาก่อนเลย
2) ส่งิ ใหมท่ เ่ี คยทำมาแล้วในอดตี แตไ่ ดม้ กี ารรอ้ื ฟ้ืนขึ้น มาใหม่
15
3) สิ่งใหมท่ ่ีมีการพฒั นามาจากของเกา่ ท่ีมีอย่เู ดิม
4) เปน็ สิง่ ที่อยู่ในระหว่างการทดลอง
ลักษณะของนวัตกรรม
- เปน็ สงิ่ ใหม่ที่ไม่เคยมผี ูใ้ ดเคยทำมาก่อนเลย
- สง่ิ ใหม่ที่เคยทำมาแลว้ ในอดีตแตไ่ ดม้ กี ารร้อื ฟื้นข้ึน มาใหม่
- สง่ิ ใหมท่ ม่ี ีการพัฒนามาจากของเก่าท่ีมอี ย่เู ดิม
1.7.1 ลกั ษณะของนวตั กรรม
Sukanya (2012) ได้กล่าวว่า ลกั ษณะของนวัตกรรมทางการศกึ ษามี ดงั น้ี
1. นวัตกรรมใหม่อย่างสิ้นเชิง (Radical Innovation) หมายถึง ขบวนการเสนอสิ่งใหม่ที่ใหม่อย่าง
แท้จริง สู่สังคม โดยการเปลี่ยนแปลงค่านยิ ม (value), ความเชื่อ (belief ) เดิม ตลอดจนระบบคุณค่า(value
system)ของสงั คม อย่างสนิ้ เชงิ ตวั อยา่ งเชน่ อนิ เตอรเ์ น็ต (Internet) จดั วา่ เปน็ นวัตกรรมหน่ึงในยุคโลกข้อมูล
ข่าวสาร การนำเสนอระบบอนิ เตอร์เน็ต ทำให้ค่านยิ มเดมิ ที่เชื่อวา่ โลกข้อมลู ขา่ วสารจำกัดอยู่ ในวงเฉพาะทั้ง
ในดา้ นเวลา และ สถานท่นี ้ัน เปล่ียนไป อนิ เตอร์เน็ตเปดิ โอกาส ให้ความสามารถในการเขา้ ถึงขอ้ มลู ไร้ขีดจำกัด
ทั้งในด้านของเวลา และระยะทาง การเปลย่ี นแปลงในคร้ังนี้ ทำให้ระบบคณุ คา่ ของข้อมลู ข่าวสาร เปลยี่ นแปลง
ไป บางคนเชื่อว่า อินเตอร์เน็ตจะเข้ามาแทนที่ระบบการส่งข้อมูลข่าวสารในระบบเดิม อย่างสิ้นเชิงในไม่ช้า
อาทเิ ช่น ระบบไปรษณีย์
2. นวัตกรรม ที่มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไปเป็นขบวนการการค้นพบ (discover) หรือ คิดค้นสิ่งใหม่
(invent)โดยการประยุกต์ ใช้แนวคิดใหม่ (new idea) หรือ ความรู้ใหม่ (new knowledge) ที่มีลักษณะ
ต่อเนื่องไม่สิ้นสุด โดยการประยุกต์ใช้ แนวคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ ของมนุษย์ และการค้นค้น เทคนิค
(technique) หรือ เทคโนโลยี (technology) ใหม่ นวตั กรรมทีม่ ลี ักษณะคอ่ ยเปน็ ค่อยไป จึงมลี ักษณะของการ
สะสมการเรียนรู้ (cumulative learning) อยใู่ นบรบิ ท ของสังคมหนึ่ง ในปจั จุบันสังคมไดเ้ ปลย่ี นแปลงไปอย่าง
มาก เพราะผลของขบวนการโลกาภิวตั น์ ทำใหส้ งั คมมีลักษณะไร้ขอบเขต (borderless) เป็นสงั คมของชาวโลก
ท่ีมคี วามหลากหลายทางด้านสงั คมวัฒนธรรมและการเมือง ส่งผลให้นวตั กรรม มแี นวโน้มที่จะเปน็ ขบวนการ
คน้ พบใหมอ่ ยา่ งตอ่ เน่ืองในระดบั นานาชาติ มากกว่า ท่จี ะเป็นนวัตกรรมใหม่โดยสน้ิ เชิง สำหรับสังคมหน่งึ ๆ
กระบวนการสรา้ งและพัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษา
1.8 กระบวนการสรา้ งและพฒั นานวัตกรรมทางการศึกษา
Lukpla Boonyacharoenkul (2554) กระบวนการสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา มี 5
ข้นั ตอน ดังน้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารแนวคิดหลกั การ
16
เป็นข้ันตอนของการสำรวจว่าในทางวิชาการมีพฒั นาเรือ่ งนี้ไวว้ า่ อย่างไร มใี ครที่เคยประสบปัญหาการ
พัฒนาการเรียนรหู้ รอื การบริหารสถานศกึ ษาเชน่ เดียวกันน้มี ากอ่ น และคนทห่ี าปัญหาเช่นเดยี วกันนี้มีแนวทาง
ในการแก้ไขปัญหานี้ในห้องเรียนของตนเองอย่างไร เพื่อให้ได้แนวคิดและแนวทางที่จะนำมาแก้ปัญหาของ
ตนเองตอ่ ไป
1.1 การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และการแสวงหาแนวคดิ และหลกั การ
1.2 การศึกษาเอกสารงานวจิ ยั และประสบการของผเู้ ก่ยี วขอ้ ง
ขัน้ ตอนท่ี 2 การเลือกและการวางแผนสร้างนวัตกรรม
โดยพจิ ารณาเลอื กจากลักษณะของนวตั กรรมการเรียนรทู้ ่ีดี ดังน้ี
1. เปน็ นวัตกรรมการเรียนรทู้ ีต่ รงกับความต้องการและความจำเป็น
2. มคี วามหนา้ เช่ือถือและเปน็ ไปได้สงู ทจ่ี ะสามารถแก้ปัญหา และพฒั นาการเรยี นรขู้ อง
ผูเ้ รยี น
3. เปน็ นวัตกรรมทมี่ แี นวคดิ หรือหลักการทางวชิ าการรองรับจนนา่ เชือ่ ถือ
4. สามารถนำไปใชใ้ นห้องเรียนไดจ้ รงิ ใชไ้ ด้งา่ ย สะดวกตอ่ การใช้และการพัฒนานวัตกรรม
5. มีผลการพสิ ูจนเ์ ชงิ ประจกั ษว์ ่าไดใ้ ช้ในสถานการณ์จรงิ แลว้ สามารถแก้ปัญหาหรอื พัฒนา
คุณภาพการจัดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งน่าเพงิ่ พอใจ
ขน้ั ตอนที่ 3 สรา้ งและพัฒนานวตั กรรม
จากแผนการสร้างนวัตกรรม ครูต้องศกึ ษาถงึ รายละเอียดของนวัตกรรมที่จะสรา้ งและดำเนินการตาม
ข้นั ตอน เช่น การสรา้ งนวัตกรรมทเ่ี ปน็ ชุดการเรยี นรู้ ครูอาจดำเนินการสร้างตามขั้นตอนตอ่ ไปนี้ เช่น
- วิเคราะหจ์ ุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
- กำหนดและออกแบบชดุ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
- ออกแบบสอื่ เสริม
- ลงมือทำ
- ตรวจสอบคณุ ภาพคร้ังแรกโดยผเู้ ชี่ยวชาญ
- ทดลองใชร้ ะยะสั้นเพ่อื ปรบั ปรงุ เนอ้ื หาสาระ
- นำไปใช้เพอื่ แก้ปญั หาหรอื การพัฒนาการเรยี นรู้
ขนั้ ตอนที่ 4 การหาประสิทธิภาพของนวตั กรรม
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่พิสูจน์ว่านวัตกรรมที่สร้างขั้นนั้นเมื่อนำไปใช้จะได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่
สามารถแกป้ ัญหาในชน้ั เรียนหรือพฒั นาผูเ้ รยี นไดจ้ ริงหรือไม่การประสทิ ธิภาพของนวตั กรรมมีหลายวิธี เช่น
1. การตรวจสอบโดยผู้เช่ยี วชาญ
2. การบรรยายคุณภาพ
17
3. การคำนวณคา่ ร้อยละของผูเ้ รยี น
4. การหาประสทิ ธฺ ภิ าพของนวตั กรรม
5. การประเมินสือ่ มัลติมเี ดีย
ข้นั ตอนท่ี 5 ปรับปรุงนวัตกรรม
หลังจากที่หาประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่สร้างขั้น ไม่ว่าจะโดยวิธีการใดก็ตามควรนำความคิดเห็น
หรือข้อเสนอแนะเล่านั้นมาปรับปรุงนวัตกรรมให้มีคุณภาพเหมาะสมที่จะนำไปใช้ในห้องเรียนได้มากขึ้น
โดยเฉพาะคา่ หาประสทิ ธิภาพโดยการให้ผู้เช่ยี วชาญช่วยตรวจและการบรรยายคุณภาพกอ่ นการทดลองใช้และ
หลงั การทดลองใช้กับผู้เรียนกลมุ่ เลก็ จะทำใหไ้ ด้ข้อมูลที่ชดั เจนและเป็นรายละเอียดที่จะปรับปรุงนวัตกรรมได้
งา่ ยขนึ้
1.9 ระยะนวัตกรรมทางการศึกษา
อรรคเดช โสสองช้นั (2563) นวตั กรรม แบ่งออกเปน็ 3 ระยะ คอื
ระยะท่ี 1 มกี ารประดิษฐค์ ิดคน้ (Innovation) หรอื เป็นการปรุงแตง่ ของเก่าใหเ้ หมาะสมกบั กาลสมัย
ระยะท่ี 2 พฒั นาการ (Development) มีการทดลองในแหลง่ ทดลองจัดทำอยูใ่ นลกั ษณะของโครงการ
ทดลองปฏบิ ัติกอ่ น (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัตใิ นสถานการณ์ทั่วไป ซ่ึงจัดว่าเปน็ นวัตกรรมขั้นสมบรู ณ์
1.10 นวตั กรรมทางการศกึ ษาของไทยในปัจจบุ นั
นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทำใหม่ๆ (chetsada kakanuek, 2017) ซึ่งนักวิชาการหรือ
ผู้เช่ียวชาญในแต่ละวงการจะมกี ารคิดและทำสงิ่ ใหม่อยเู่ สมอ ดงั นนั้ นวัตกรรมจึงเปน็ สง่ิ ที่เกิดขึ้นใหม่ได้เร่ือยๆ
สงิ่ ใดท่คี ดิ และทำมานานแล้วกถ็ อื ว่าหมดความเป็นนวตั กรรมไป โดยจะมีสง่ิ ใหมม่ าแทน ในวงการศกึ ษาปจั จุบนั
มสี งิ่ ท่เี รยี กว่า นวัตกรรมทางการศึกษา หรอื นวัตกรรมการเรยี นการสอน อย่เู ปน็ จำนวนมาก บางอย่างเกิดข้ึน
18
ใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ยังคงถือว่าเป็นนวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรมเหล่านั้นยังไม่
แพร่หลายเปน็ ทีร่ ู้จักทว่ั ไปในวงการศกึ ษา
ประเภทของการใช้นวตั กรรมการศกึ ษาในประเทศไทย
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติที่
เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราที่สำคัญ คือ มาตรา 67 รัฐ
ต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับ
กระบวนการเรียนร้ขู องคนไทยและในมาตรา 22 "การจดั การศึกษาต้องยึดหลักวา่ ผ้เู รียนทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผูเ้ รียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเองได้และถือว่า
ผู้เรยี นมคี วามสำคญั ทสี่ ดุ กระบวนการจดั การศึกษาตอ้ งสง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม
ตามศักยภาพ" การดำเนินการปฏิรูปการศึกษาให้สำเร็จได้ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จำเป็นต้องทำการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใหมๆ่ ที่จะเข้ามาช่วยแก้ไข
ปญั หาทางการศกึ ษาทงั้ ในรูปแบบของการศึกษาวิจยั การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรอื เทคโนโลยี
ที่นำมาใช้ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมที่นำมาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้วและที่จะมีในอนาคตมี
หลายประเภทขนึ้ อยู่กบั การประยุกต์ใชน้ วตั กรรมในดา้ นต่างๆ ในท่ีนี้จะขอกลา่ วคือ นวัตกรรม 5 ประเภท คือ
1. นวัตกรรมทางดา้ นหลักสตู ร
2. นวตั กรรมการเรยี นการสอน
3. นวตั กรรมสอื่ การสอน
4. นวัตกรรมการประเมนิ ผล
5. นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ
1.10.1 นวตั กรรมทางด้านหลกั สตู ร
เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและ
ตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้
สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก นอกจากนี้การ
พัฒนาหลักสูตรยังมีความจำเป็นทีจ่ ะตอ้ งอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎแี ละปรัชญาทางการจัดการสัมมนาอกี
ด้วย การพัฒนาหลักสตู รตามหลักการและวิธกี ารดงั กลา่ วต้องอาศัยแนวคิดและวิธกี ารใหมๆ่ ที่เป็นนวัตกรรม
การศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรในประเทศไทย
ไดแ้ ก่ การพฒั นาหลกั สูตรดังตอ่ ไปน้ี
19
1.1 หลกั สตู รบรู ณาการ เป็นการบรู ณาการส่วนประกอบของหลกั สูตรเขา้ ดว้ ยกันทางด้านวิทยาการใน
สาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์จากอ งค์
ความร้ใู นสาขาต่างๆ ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมอย่างมีจรยิ ธรรม
1.2 หลกั สตู รรายบคุ คล เปน็ แนวทางในการพัฒนาหลกั สตู รเพื่อการศกึ ษาตามอัตภาพ เพ่อื ตอบสนอง
แนวความคดิ ในการจัดการศึกษารายบุคคล ซง่ึ จะตอ้ งออกแบบระบบเพื่อรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
ดา้ นต่างๆ
1.3 หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและ
ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ เช่น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน
ประสบการณ์การเรียนรู้จากการสืบค้นดว้ ยตนเอง เป็นต้น
1.4 หลักสูตรท้องถิ่น เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถิ่น
เพื่อให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมส่ิงแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยูใ่ นแต่ละทอ้ งถิ่น แทนท่ี
หลกั สตู รในแบบเดิมทใี่ ช้วธิ กี ารรวมศูนย์การพัฒนาอยใู่ นส่วนกลาง
1.10.2 นวตั กรรมการเรยี นการสอน
เปน็ การใช้วิธรี ะบบในการปรบั ปรงุ และคิดคน้ พัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียน
รายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลาง การเรยี นแบบมีสว่ นร่วม การเรียนร้แู บบแก้ปญั หา การพัฒนาวิธี
สอนจำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอย่าง
นวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การ
สอนแบบเรียนรรู้ ว่ มกนั และการเรยี นผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอร์เนต็ การวิจัยในชั้นเรยี น ฯลฯ
การเรียนผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์และอินเทอร์เนต็
1.10.3 นวตั กรรมส่ือการสอน
20
เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี
โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านีม้ าใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ
สอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ท้ังการเรยี นด้วยตนเองการเรยี นเปน็ กลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อท่ี
ใชเ้ พอื่ สนับสนนุ การฝึกอบรม ผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ตัวอยา่ ง นวตั กรรมสอื่ การสอน ไดแ้ ก่
บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (CAI)
มลั ตมิ เี ดีย (Multimedia)
21
การประชุมทางไกล (Teleconference)
ชุดการสอน (Instructional Module)
วดี ิทศั น์แบบมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ (Interactive Video)
22
1.10.4 นวตั กรรมทางด้านการประเมนิ ผล
เป็นนวัตกรรมทีใ่ ชเ้ ปน็ เครื่องมือเพื่อการวดั ผลและประเมนิ ผลได้อย่างมีประสิทธภิ าพและทำได้อยา่ ง
รวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มา
สนับสนุนการวดั ผล ประเมนิ ผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตวั อย่าง นวตั กรรมทางดา้ นการประเมินผล ได้แก่
- การพฒั นาคลังข้อสอบ
- การลงทะเบียนผา่ นทางเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และอินเตอรเ์ นต็
- การใช้บัตรสมารท์ การด์ เพือ่ การใช้บริการของสถาบันศกึ ษา
- การใช้คอมพวิ เตอร์ในการตดั เกรด
- ฯลฯ
การใชบ้ ัตรสมารท์ การ์ด เพ่อื การใช้บริการของสถาบนั ศกึ ษา
1.10.5 นวตั กรรมการบริหารจดั การ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ ตัดสินใจ
ของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลีย่ นแปลงของโลกนวัตกรรมการศกึ ษาท่ี
นำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศึกษา เช่น
ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ
และครุภณั ฑ์ ฐานขอ้ มูลเหลา่ นี้ตอ้ งการออกระบบท่ีสมบูรณ์มีความปลอดภยั ของข้อมูลสูงนอกจากนี้ยังมีความ
เกี่ยวข้องกบั สารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ที่เกี่ยวกับการจดั
การศึกษา ซึ่งจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดีพอซึ่งผู้บริหารสามารถสืบค้น
ขอ้ มลู มาใชง้ านได้ทันทีตลอดเวลาการใชน้ วัตกรรมแต่ละด้านอาจมกี ารผสมผสานท่ีซอ้ นทับกันในบางเรื่อง ซึ่ง
23
จำเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทำเป็นกลุ่มเพื่อให้
สามารถนำมาใช้ร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
1.10.6 นวัตกรรมทางการศึกษาตา่ งๆ ทีก่ ล่าวถงึ กนั มากในปจั จุบนั [ E-learning / M-Leaning ]
ความหมายของ e-Learning
Witchutawijitnawee (2013) กล่าวว่า การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning รูปแบบการ
เรียนการสอน ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหา(delivery methods) ผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น
คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณ
ดาวเทียม และใช้รูปแบบการนำเสนอเนื้อหาสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบการเรียนที่เรา
คนุ้ เคยกันมาพอสมควร
1.10.7 ลักษณะสำคัญของ e-Learning (Feature of e-Learning)
1. ทุกเวลาทกุ สถานที่ (Anywhere, Anytime) หมายถงึ e-Learning ควรตอ้ งช่วยขยายโอกาสในการ
เขา้ ถงึ เนอ้ื หาการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นได้จรงิ
2. มัลติมเี ดีย (Multimedia) หมายถึง e-Learning ควรตอ้ งมกี ารนำเสนอเน้ือหาโดยใชป้ ระโยชน์จาก
สื่อประสมเพื่อช่วยในการประมวลผลสารสนเทศ ของผู้เรียนเพื่อให้เกิดความคงทนในการจดจำและ/หรอื การ
เรยี นรไู้ ด้ดีขน้ึ
3. การเชื่อมโยง (Non-linear) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะที่ไม่
เปน็ เชงิ เสน้ ตรง
4. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนโต้ตอบ(มี
ปฏิสมั พันธ)์ กบั เนื้อหา หรือกบั ผู้อ่ืนได้
1.10.8 องคป์ ระกอบของ e-Learning (Component of e-Learning)
1. เน้ือหา (Content)
เนื้อหาเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดสำหรับ e-Learning คุณภาพของการเรียนการสอนของ e-
Learningและการที่ผู้เรียนจะบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนในลักษณะนี้หรือไม่อย่างไร สิ่งสำคัญที่สุดก็คือ
เนอื้ หาการเรียนซงึ่ ผูส้ อนได้จดั หาให้แกผ่ ูเ้ รียน ซ่งึ ผ้เู รียนมีหนา้ ทใ่ี นการใช้เวลาสว่ นใหญ่ศึกษาเนอ้ื หาด้วยตนเอง
เพื่อทำการปรับเปลี่ยน (convert) เนื้อหาสารสนเทศที่ผู้สอนเตรียมไว้ให้เกิดเป็นความรู้ โดยผ่านการคิดค้น
วิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผลด้วยตัวของผู้เรียนเอง คำว่า “เนื้อหา” ในองค์ประกอบแรกของ e-
Learning น้ี ไมไ่ ด้จำกดั เฉพาะสอื่ การสอน และ/หรือ คอร์สแวร์ เท่านัน้ แตย่ ังหมายถงึ สว่ นประกอบสำคัญอื่น
ๆ ท่ี e-Learning จำเปน็ จะต้องมเี พ่อื ให้เนอื้ หามีความสมบรู ณ์ เช่น คำแนะนำการเรียน ประกาศสำคญั ต่าง ๆ
ผลป้อนกลับของผสู้ อน เป็นต้น
2. ระบบบรหิ ารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System)
24
องค์ประกอบที่สำคัญมากเช่นกันสำหรับ e-Learning ได้แก่ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ ซึ่งเป็น
เสมือนระบบที่รวบรวมเครื่องมือซึ่งออกแบบไว้เพื่อใหค้ วามสะดวกแก่ผู้ใช้ในการจดั การกับการเรียนการสอน
ออนไลน์นั่นเอง ซึ่งผู้ใช้ในท่ีนี้ แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้สอน (instructors) ผู้เรียน (students) ผู้ช่วยสอน
(course manager) และผู้ที่จะเข้ามาช่วยผู้สอนในการบริหารจัดการด้านเทคนิคต่าง ๆ ( network
administrator)ซ่งึ เครอ่ื งมอื และระดับของสิทธิในการเขา้ ใช้ท่ีจัดหาไว้ใหก้ ็จะมคี วามแตกต่างกนั ไปตามแต่การ
ใช้งานของแต่ละกลุ่ม ตามปรกติแล้ว เครื่องมือที่ระบบบรหิ ารจัดการการเรียนรู้ต้องจัดหาไว้ให้กับผู้ใช้ ได้แก่
พื้นที่และเครื่องมือสำหรับการช่วยผู้เรียนในการเตรียมเนื้อหาบทเรียน พื้นที่และเครื่องมือสำหรับการทำ
แบบทดสอบ แบบสอบถาม การจัดการกับแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ นอกจากนี้ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ท่ี
สมบูรณ์จะจัดหาเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารไว้สำหรับผู้ใช้ระบบไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของ ไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เว็บบอร์ด(Web Board) หรือ แชท (Chat) บางระบบก็ยังจัดหาองค์ประกอบพิเศษ
อื่น ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้อีกมากมาย เช่น การจัดให้ผู้ใช้สามารถเข้าดูคะแนนการทดสอบ ดู
สถติ ิการเขา้ ใชง้ านในระบบ การอนญุ าตใหผ้ ู้ใชส้ ร้างตารางการเรียน ปฏทิ นิ การเรียน เปน็ ต้น
3. โหมดการติดต่อสื่อสาร (Modes of Communication)
องค์ประกอบสำคัญของ e-Learning ท่ีขาดไม่ได้อีกประการหนึ่ง ก็คือ การจัดให้ผู้เรียนสามารถ
ติดต่อสือ่ สารกบั ผู้สอน วิทยากร ผเู้ ชี่ยวชาญอน่ื ๆ รวมท้งั ผเู้ รยี นด้วยกนั ในลักษณะท่หี ลากหลาย และสะดวก
ต่อผู้ใช้ กล่าวคือ มีเครื่องมือที่จัดหาไว้ให้ผูเ้ รียนใช้ไดม้ ากกว่า 1 รูปแบบ รวมทั้งเครื่องมือนั้นจะต้องมีความ
สะดวกในการใช้งาน (user-friendly) ด้วย ซ่ึงเครอ่ื งมอื ที่ e-Learning ควรจดั หาใหผ้ เู้ รียน ไดแ้ ก่
- การประชุมทางคอมพวิ เตอร์
ในที่นี้หมายถึง การประชุมทางคอมพิวเตอร์ทั้งในลักษณะของการติดต่อสื่อสารแบบต่างเวลา
(Asynchronous) เช่น การแลกเปลี่ยนข้อความผา่ นทางกระดานขา่ วอเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ ที่รู้จกั กันในชื่อของ
เว็บบอร์ด (Web Board) เป็นต้น หรือในลักษณะของการติดต่อสื่อสารแบบเวลาเดียวกัน (Synchronous)
เช่น การสนทนาออนไลน์ หรือที่คุน้ เคยกันดีในชือ่ ของ แชท (Chat) และ ICQ หรือ ในบางระบบ อาจจัดให้มี
การถ่ายทอดสญั ญาณภาพและเสยี งสด (Live Broadcast / Videoconference) ผา่ นทางเวบ็ เป็นต้น ในการ
นำไปใช้ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ผสู้ อนสามารถเปดิ สมั มนาในหวั ข้อท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั เนอื้ หาในคอร์ส ซ่ึง
อาจอยูใ่ นรปู ของการบรรยาย การสมั ภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ การเปิดอภิปรายออนไลน์ เป็นต้น
- ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-mail)
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นองค์ประกอบสำคัญเพื่อให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้สอนหรือ
ผ้เู รยี นอน่ื ๆ ในลักษณะรายบุคคล การสง่ งานและผลป้อนกลับให้ผู้เรยี น ผสู้ อนสามารถใหค้ ำแนะนำปรึกษาแก่
ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งนี้เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนอย่าง
25
ต่อเนื่อง ทั้งนี้ผู้สอนสามารถใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ในการให้ความคิดเห็นและผลป้อนกลับที่ทันต่อ
เหตุการณ์
4. แบบฝกึ หดั /แบบทดสอบ
องค์ประกอบสุดท้ายของ e-Learning แต่ไม่ได้มีความสำคัญน้อยที่สุดแต่อย่างใด ได้แก่ การจัดให้
ผู้เรียนไดม้ ีโอกาสในการโตต้ อบกับเนื้อหาในรปู แบบของการทำแบบฝึกหดั และแบบทดสอบความรู้
- การจัดใหม้ ีแบบฝกึ หดั สำหรบั ผเู้ รยี น
เนอื้ หาทนี่ ำเสนอจำเปน็ ต้องมกี ารจัดหาแบบฝกึ หัดสำหรบั ผ้เู รียนเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจไว้
ด้วยเสมอ ทั้งนี้เพราะ e-Learning เป็นระบบการเรียนการสอนซึ่งเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนเป็น
สำคัญ ดังนั้นผู้เรียนจึงจำเปน็ อย่างยิ่งทีจ่ ะต้องมีแบบฝึกหัดเพ่ือการตรวจสอบว่าตนเข้าใจและรอบรู้ในเร่อื งท่ี
ศึกษาด้วยตนเองมาแล้วเป็นอย่างดีหรือไม่ อย่างไร การทำแบบฝึกหัดจะทำใหผ้ ู้เรียนทราบได้วา่ ตนนั้นพร้อม
สำหรับการทดสอบ การประเมนิ ผลแลว้ หรอื ไม่
- การจดั ให้มีแบบทดสอบผู้เรยี น
แบบทดสอบสามารถอยใู่ นรปู ของแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ระหว่างเรยี น หรือหลงั เรยี นกไ็ ด้
สำหรับ e-Learning แล้ว ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ทำให้ผู้สอนสามารถสนับสนุนการออกข้อสอบของ
ผู้สอนได้หลากหลายลักษณะ กล่าวคือ ผู้สอนสามารถออกแบบการประเมินผลในลักษณะของ อัตนัย ปรนัย
ถูกผดิ การจับคู่ ฯลฯ นอกจากนีย้ ังทำให้ผู้สอนมีความสะดวกสบายในการสอบเพราะผู้สอนสามารถท่ีจะจัดทำ
ข้อสอบในลักษณะคลังข้อสอบไว้เพื่อเลือกในการนำกลับมาใช้ หรือปรับปรุงแก้ไขใหม่ได้อย่างง่ายดาย
นอกจากนี้ในการคำนวณและตัดเกรด ระบบ e-Learning ยังสามารถช่วยให้การประเมินผลผู้เรียนเป็นไปได้
อย่างสะดวก เนื่องจากระบบบรหิ ารจัดการการเรยี นรู้ จะช่วยทำใหก้ ารคิดคะแนนผู้เรยี น การตัดเกรดผู้เรียน
เป็นเรื่องง่ายขึ้นเพราะระบบจะอนุญาตใหผ้ ู้สอนเลือกได้ว่าต้องการที่จะประเมินผลผู้เรียนในลักษณะใด เช่น
อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์ หรือใช้สถิติในการคิดคำนวณในลักษณะใด เช่น การใช้ค่าเฉลี่ย ค่า T-Score เป็นต้น
นอกจากนย้ี ังสามารถท่จี ะแสดงผลในรูปของกราฟได้อกี ดว้ ย
1.10.9 ข้อได้เปรียบและข้อจำกัดของ e-Learning (advantage of e-Learning) ประโยชน์ที่ได้รับ
จากการนำ e-Learning ไปใชใ้ นการเรียนการสอนมี ดังน้ี
1. e-Learning ชว่ ยให้การจดั การเรียนการสอนมปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึน้
2. e-Learning ชว่ ยทำให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤตกิ รรมการเรียนของผเู้ รียนได้
อยา่ งละเอียดและตลอดเวลา
3. e-Learning ชว่ ยทำใหผ้ ้เู รียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้
4. e-Learning ช่วยทำใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรยี นรู้ไดต้ ามจงั หวะของตน (Self-paced Learning)
5. e-Learning ช่วยทำให้เกิดปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งผู้เรยี นกบั ครูผู้สอน และกบั เพื่อน ๆ ได้
26
6. e-Learning ชว่ ยส่งเสรมิ ให้เกดิ การเรียนรู้ทกั ษะใหม่ ๆ
7. e-Learning ทำให้เกดิ รูปแบบการเรียนทสี่ ามารถจัดการเรยี นการสอนใหแ้ ก่ผ้เู รยี นในวงกว้างขนึ้
8. e-Learning ทำให้สามารถลดต้นทนุ ในการจดั การศึกษาน้ัน ๆ ได้
1.10.10 ขอ้ จำกดั
1. ผ้สู อนท่นี ำ e-Learning ไปใชใ้ นลกั ษณะของสอ่ื เสรมิ โดยไม่มกี ารปรบั เปลี่ยนวิธกี ารสอนเลย
2. ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (impart) เนื้อหาแก่ผู้เรียน มาเป็น (facilitator)
ผู้ช่วยเหลือและใหค้ ำแนะนำตา่ ง ๆ แก่ผู้เรียน พร้อมไปกับการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูด้ ้วยตนเอง
จาก e-Learning ทง้ั น้ี หมายรวมถงึ การทผ่ี ูส้ อนควรมีความพร้อมทางด้านทักษะคอมพิวเตอร์และรับผิดชอบ
ต่อการสอนมีความใสใ่ จกับผู้เรยี นโดยไม่ท้ิงผเู้ รียน
3. การลงทุนในดา้ นของ e-Learning ตอ้ งครอบคลมุ ถึงการจัดการให้ผู้สอนและผู้เรยี นสามารถเข้าถึง
เนื้อหาและการติดต่อสื่อสารออนไลน์ได้สะดวก สำหรับ e-Learning แล้ว ผู้สอนหรือผู้เรียนที่ใช้รูปแบบการ
เรียนในลักษณะนี้จะต้องมีสิ่งอำนวยความสะดวก (facilities) ต่าง ๆ ในการเรียนที่พร้อมเพรียงและมี
ประสทิ ธภิ าพ
4. การออกแบบ e-Learning ที่ไม่เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน เช่น ผู้เรียนระดับอุดมศึกษาใน
บ้านเราซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในวัยรุ่น e-Learning จะต้องได้รับการออกแบบตามหลักจิตวทิ ยาการศึกษา กล่าวคือ
จะต้องเนน้ ใหม้ ีการออกแบบให้มีกจิ กรรมโตต้ อบอยู่ตลอดเวลา ไมว่ า่ จะเป็นกับเนอื้ หาเอง กับผเู้ รียนอื่น ๆ หรือ
กบั ผสู้ อนกต็ าม
5. ในการท่ี e-Learning จะสง่ ผลตอ่ ประสิทธผิ ลของการเรียนรูข้ องผเู้ รียนไดน้ ัน้ สงิ่ สำคัญได้แก่ การท่ี
ผู้เรียนจะต้องรู้จักวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง (self-Learning) อย่างมีประสทิ ธิภาพ ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะตอ้ งมี
การสนับสนุน และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างวินัยในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
(selfdiscipline)รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างเสริมลักษณะนิสัย ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ รู้จักวิธีการ
เลือกสรรประเมิน รวบรวมสารสนเทศ รวมทั้งรู้จกั การจัดระเบียบ (organize) วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการ
นำเสนอสารสนเทศตามความเขา้ ใจของตนเอง
1.10.11 การนำ e-Learning ไปใช้ในการเรยี นการสอน สามารถทำได้ 3 ระดบั
1. ใช้ e-Learning เป็นสอ่ื เสรมิ (Supplementary) หมายถงึ การนำ e-Learning ไปใชใ้ นลกั ษณะสื่อ
เสริม นอกจากเนื้อหาที่ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผู้เรียนยังสามารถศึกษาเนื้อหาเดียวกันนี้ใน
ลกั ษณะอน่ื ๆ
2. ใช้ e-Learning เป็นสื่อเติม (Complementary) หมายถึง การนำ e-Learning ไปใช้ในลักษณะ
เพม่ิ เตมิ จากวธิ ีการสอนในลักษณะอ่ืน ๆ เชน่ นอกจากการบรรยายในห้องเรียนแลว้ ผู้สอนยงั ออกแบบเน้ือหา
ให้ผู้เรยี นเข้าไปศึกษาเนอื้ หาเพ่มิ เติมจาก e-Learning
27
3. ใช้ e-Learning เปน็ ส่อื หลกั (ComprehensiveReplacement) หมายถึง การนำ e-Learning ไป
ใชใ้ นลกั ษณะแทนทีก่ ารบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะตอ้ งศึกษาเน้ือหาทั้งหมดออนไลน์ และโตต้ อบกับเพื่อน
และผเู้ รยี นอื่น ๆ
1.10.12 ความหมายของ M – Learning
m-Learning (mobile learning) คือ การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสำเร็จรูป (Instruction
Package) ที่นำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีไร้สาย ( wireless
telecommunication network) และเทคโนโลยีอนิ เทอรเ์ นต็ ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทกุ ท่แี ละทกุ เวลา โดยไม่
ต้องเชื่อมต่อโดยใช้สายสัญญาณ ผู้เรียนและผู้สอนใช้เครื่องมือสำคัญ คือ อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ได้
โดยสะดวกและสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องใช้สายสัญญาณแบบเวลาจริงได้แก่
Notebook Computer, Portable computer, Tablet PC, Cell Phones ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน
1.10.13 บทบาทของ M-Learning
M-Learning กำลังก้าวเข้ามาเป็นการเรียนรู้คู่กับสังคมอย่างแท้จริง เนื่องจากความเป็นอิสระ ของ
เครอื ข่ายไรส้ าย ที่สามารถเขา้ ถึงได้ทุกที่ ทกุ เวลา อกี ท้งั จำนวนเครือ่ งคอมพิวเตอร์แบบพกพาทีใ่ ช้เปน็ เครอ่ื งมอื
นนั้ มีจำนวนเพม่ิ ขนึ้ เรื่อยๆ จงึ เปน็ การเรียนรูอ้ ีกทางเลอื กหน่ึงของการนำเทคโนโลยี มาใช้เป็นชอ่ งทางในการให้
ผู้คนได้เข้าถึงความรู้ แต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีก็ได้ย่อโลก ของเครือข่ายให้อยู่ในมือของผู้บริโภคแล้ว และ
สามารถเข้าสู่แหล่งการเรียนรู้ได้เมื่อต้องการอย่างแท้จริงทุกเวลา นับว่าเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นมาได้ดี
ทเี ดยี ว และในอนาคตข้างหน้า คาดว่าการเรยี นรู้แบบ M-Learning จะแพร่หลายมากขึ้นยง่ิ กวา่ ในปจั จุบัน
1.10.14 ผลกระทบต่อการศกึ ษาและการเรยี นการสอน
เมื่อมีอุปกรณ์ที่สะดวกต่อการเรียนการสอนเช่นนี้แล้ว จะช่วยส่งผลให้การศึกษา เป็นไปได้โดยง่าย
เพราะผู้เรียนสามารถที่จะเข้าถึงความรู้อย่างง่ายดายมากขึ้น ในปัจจุบันนั้นเปน็ ยคุ ที่วัยรุ่น วัยเรียน ให้ความ
สนใจกับเทคโนโลยีมาก โดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือ น้อยคนมากที่จะไม่มี มือถือไว้ใช้ ดังนั้น M-learning จึง
เหมาะท่ีจะนำมาใช้กับการศกึ ษาในสมยั ปจั จุบันมากทีส่ ุด เพอื่ เปน็ การเสริมความรู้ให้กับผูเ้ รยี นอย่างทว่ั ถงึ
1.10.15 ปจั จัยท่มี ผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี
- ผลกระทบต่อชมุ ชน
- ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ
- ผลกระทบด้านจติ วิทยา
- ผลกระทบทางด้านสง่ิ แวดลอ้ ม
- ผลกระทบทางด้านการศกึ ษา
28
29
2.1 ความหมายของคำว่า ขอ้ มลู
จากการศกึ ษาพบว่ามีผู้ใหค้ ำนิยามของคำวา่ ขอ้ มูลไว้ หลากหลาย เช่น
Alter (1996 : 28) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริง ภาพ (Images) หรือเสียง (Sounds) ที่อาจจะ(หรือไม่)
แกไ้ ขปญั หา (Pertinent) หรือเปน็ ประโยชนต์ ่อการปฏิบตั งิ าน
Nickerson (1998 : 10-11) ข้อมูล คือ ตัวแทนของข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ รูปภาพ หรือ
เสยี ง
Laudon and Laudon (1999 :8) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่แทนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในองค์การ
หรอื ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพกอ่ นท่ีจะมีการจดั ระบบใหเ้ ปน็ รูปแบบทค่ี นสามารถเขา้ ใจ และนำไปใชไ้ ด้
Haag, Cummings and Dawkins (2000 : 31) ขอ้ มูล คอื ข้อเทจ็ จรงิ หรือการอภิปรายปรากฏการณ์
อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ
McLeod, Jr. and Schell (2001 : 12) ข้อมูล คือ สิ่งประกอบไปด้วยข้อเท็จจริง และสัญลักษณ์
(Figures) ที่มคี วามสมั พนั ธ์ (ไม่มคี วามหมาย หรอื มี ความหมายนอ้ ย) กบั ผใู้ ช้
Turban, McLean and Wetherbe (2001 : 17) ข้อมูล คือ คำอธิบายพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งของ
เหตุการณ์ กจิ กรรม หรือธรุ กรรม ซงึ่ ได้รับการบันทกึ จำแนก และ เกบ็ รกั ษาไว้ โดยทยี่ งั ไมไ่ ด้เก็บให้เป็นระบบ
เพื่อที่จะใหค้ วามหมายอย่างใดอย่างหนง่ึ ทแ่ี น่ชัด
Stair and Reynolds (2001 : 4) ข้อมูล ประกอบไปด้วยข้อเท็จจริง (Raw Facts) เช่น ชื่อลูกค้า
ตวั เลขเก่ียวกับจำนวนชว่ั โมงทที่ ำงานในแต่ละ สปั ดาห์ ตวั เลขเกย่ี วกบั สินค้าคงคลัง หรอื รายการสง่ั ของ
ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 134) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ก่อ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง
(ข้อเท็จจริง หมายถึง ขอ้ ความ หรอื เหตุการณท์ ี่ เปน็ มา หรอื ท่ีเป็นอย่จู รงิ สำหรับใชเ้ ปน็ หลักอนุมานหาความ
จรงิ หรอื การคำนวณ (หน้าเดยี วกนั )
30
สุชาดา กีระนันท์ (2542 : 4) ข้อมูล คือ ข้อความจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยอาจเป็นตัวเลข
หรอื ขอ้ ความทที่ ำใหผ้ ู้อา่ นทราบความเป็น ไป หรอื เหตกุ ารณท์ ่เี กดิ ขึน้
จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ (2544 : 3) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่มีอยู่ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับบุคคล
สิ่งของ หรือเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ทอี่ าจเป็นตัวเลข ตัวอกั ษร ข้อความ ภาพ หรอื เสียงก็ได้
ณฏั ฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบลู ย์ เกียรติโกมล (2545 : 40) ขอ้ มลู คอื ขอ้ มูลดิบ (Raw Data) ที่ยัง
ไม่มีความหมายในการนำไปใช้งาน และถูกรวบรวมจากแหล่งต่างๆ ทง้ั ภาย ใน และภายนอกองคก์ าร
ทพิ วรรณ หลอ่ สุวรรณรตั น์ (2545 : 9) ข้อมลู คือ ขอ้ เท็จจริง เกีย่ วกับเหตกุ ารณ์ หรือขอ้ มูลดบิ ท่ียงั ไม่
ผ่านการประมวลผล ยงั ไมม่ คี วามหมายในการ นำไปใชง้ าน ขอ้ มูลอาจเปน็ ตัวเลข ตวั อกั ษร สญั ลกั ษณ์ รปู ภาพ
เสียง หรือภาพเคล่อื นไหว
นภิ าภรณ์ คำเจรญิ (2545 : 14) ข้อมูล คือ ตัวอักษร ตัวเลข หรอื สัญลักษณ์ใดๆ
เลาว์ดอน และ เลาว์ดอน (2545 : 6) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริง ที่ใช้แทนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และได้รับ
การรวบรวม หรือปอ้ นเข้าระบบ
สรุป ขอ้ มูล คอื ขอ้ เทจ็ จริงเกย่ี วกับเรอื่ งต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นตวั เลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ ภาพ เสียง
กลนิ่ หรือมี ลักษณะประสมกนั
2.2 ชนิดของข้อมลู
(Alter 1996 : 151-152, Stair and Reynolds 2001 : 5) ชนิดของข้อมูลแบง่ ไดห้ ลายชนดิ ดงั นี้
1. ขอ้ มูลตวั เลข จะประกอบดว้ ยตวั เลขเท่านน้ั เชน่ 145 , 2468 เป็นตน้ มกั จะนำมาใชใ้ นการคำนวณ
145 , 2468 เปน็ ต้น มักจะนำมาใชใ้ นการคำนวณ
2. ข้อมูลอักขระ ประกอบด้วย ตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษหรือเครื่องหมายพิเศษต่าง ๆ เช่น
บา้ นเลขท่ี 13/2 เป็นต้น ถา้ มตี วั เลขประกอบ จะมไิ ดน้ ำมาคำนวณ
31
3. ขอ้ มูลภาพ รบั ร้จู ากการมองเหน็ เชน่ ภาพดารา ภาพสตั วต์ า่ ง ๆ
4. ขอ้ มูลเสียง รบั ร้จู ากทางหหู รือการไดย้ ิน เชน่ เสยี งพูด เสยี งเพลง เปน็ ต้น
ขอ้ มูลมปี ระโยชนม์ ากมาย ดังนี้
32
1. ด้านการเรยี น เช่น ข้อมลู ทไี่ ดจ้ าก โทรทัศน์ วทิ ยุ หนังสือพิมพ์ มาใช้ประโยชน์ในการเรียนได้ เป็น
ข้อมลู หรือความร้เู พม่ิ เติม
2. ด้านการติดต่อสื่อสาร เช่น ถ้าเรามีข้อมูล เราสามารถที่จะสนทนาพูดคุย หรือบอกเรื่องต่าง ๆ
ให้กบั ผ้อู ื่นได้
3. ด้านการตัดสินใจ เป็นการใช้ช่วยให้เราตัดสินใจต่าง ๆ ได้ดีขึ้น เช่น การเลือกซื้อของเล่น ถ้าเรา
ทราบราคาของเลน่ ในแต่ละร้าน จะทำใหเ้ ราเลอื กซอ้ื ของเล่นท่ีเหมอื นกันไดใ้ นราคาทถ่ี กู ท่สี ุด
2.3 กรรมวธิ กี ารจัดการขอ้ มลู
Kroenke and Hatch (1994 : 18-20) การจัดการข้อมูล คือ การบริหาร การจัดเก็บข้อมูล การ
ประมวลขอ้ มูลใหไ้ ด้มาซึง่ ข้อมูลท่มี ีประโยชน์ท่พี ร้อมจะสามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ด้ในทันทีการจัดการข้อมูล
จะเกิดประโยชน์สูงสุดหรือประสิทธิภาพสูงสุดก็ต่อเมื่อผู้ใช้ข้อมูลสามารถใช้ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
ถูกตอ้ ง และเป็นกลางมากทีส่ ุด เพ่ือจะได้นำขอ้ มูลเหล่า น้ันมาช่วยในการตัดสนิ ใจหรือนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ
ต่อไปใน ปัจจุบันนี้ข้อมูลต่างๆ ได้ถูกจัดการไว้อย่างเป็นระเบียบ โดยเก็บไว้ในสิ่งที่เรียกว่า แฟ้ม ( File)
(Datamanipulation) (ให้มีคณุ คา่ เปน็ สารสนเทศ) การจัดการข้อมูลให้มคี ุณค่าเป็นสารสนเทศ กระทำได้โดย
การเปลย่ี นแปลงสถานภาพของขอ้ มลู ซึ่งมวี ธิ ีการ หรอื กรรมวธิ ีดังตอ่ ไปน้ี
1. การรวบรวมข้อมูล (Capturing/gathering/collecting Data) ที่ต้องการจากแหล่งตา่ งๆ โดยการ
เครื่องมือ ช่วยค้นที่เป็นบัตรรายการ หรือ OPAC แล้วนำตัวเล่มมาพจิ ารณาว่ามีรายการใดที่สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ได้
2. การตรวจสอบข้อมูล (Verifying/checking Data) โดยตรวจสอบเนื้อหาของข้อมูลที่หามาได้ ใน
ประเด็นของ ความถกู ต้องและความแม่นยำของเนื้อหา ความสอดคล้องของตาราง, ภาพประกอบ หรือแผนท่ี
กบั เนื้อหา
3. การจัดแยกประเภท/จัดหมวดหมู่ข้อมูล (Classifying Data) เมื่อผ่านการตรวจสอบความถูกต้อง
สอดคล้องกนั ของเน้อื หาแลว้ นำข้อมูลตา่ งๆ เหล่านัน้ มาแยกออกเป็นกอง หรือกลุ่ม ๆ ตามเรอื่ งราวท่ีปรากฏ
ในเน้ือหา
4. จากนน้ั กน็ ำแต่ละกอง หรือกลุม่ มาทำการเรยี งลำดบั /เรียบเรยี งข้อมูล (Arranging/sorting Data)
ให้เปน็ ไป ตามความเหมาะสมของเน้ือหาวา่ จะเรม่ิ จากหัวข้อใด จากนน้ั ควรเปน็ หัวข้ออะไร
5. ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตวั เลขจะต้องนำตัวเลขนั้นมาทำการวิเคราะห์หาค่าทางสถิติท่ีเก่ียวข้อง หรือทำการ
คำนวณข้อมูล (Calculating Data) ให้ได้ผลลัพธอ์ อกเสยี ก่อน
6.หลังจากนัน้ จึงทำการสรุป (Summarizing/conclusion Data) เนอ้ื หาในแต่ละหัวขอ้
33
7. เสร็จแล้วทำการจัดเก็บ หรือบันทึกข้อมูล (Storing Data) ลงในสื่อประเภทต่างๆ เช่น ทำเป็น
รายงาน หนงั สือ บทความตีพิมพใ์ นวารสาร หนังสือพมิ พ์ หรือลงในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ (แผน่ ดสิ ก์ ซีดี-รอม
ฯลฯ)
8. จัดทำระบบการค้นคืน เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Retrieving Data)
จะได้ จัดเกบ็ และคน้ คืนสารสนเทศอย่างถกู ตอ้ ง แมน่ ยำ รวดเรว็ และตรงกบั ความต้อง
9. การประมวลผลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จักต้องมีการสำเนาข้อมูล (Reproducing Data) เพื่อ
ปอ้ งกนั ความเสียหายที่อาจเกิดขนึ้ กบั ข้อมูล ทัง้ จากสาเหตทุ างกายภาพ และระบบการจัดเกบ็ ขอ้ มูล
10. การเผยแพร่ หรือสื่อสาร หรือกระจายข้อมูล (Communicating/disseminating Data) เพื่อให้
ผลลพั ธท์ ่ีได้ถึงยังผรู้ บั หรอื ผทู้ ี่เกยี่ วขอ้ ง
การจัดการข้อมูลใหม้ ีสถานภาพเปน็ สารสนเทศ (Transformation Processing) ในความเปน็ จริงแล้ว
ไม่จำเป็นที่ จะต้องทำครบ ทั้ง 10 วิธีการ การที่จะทำกี่ขั้นตอนนั้นขึ้นอยู่กับ ข้อมูลที่นำเข้ามาในระบบการ
ประมวลผล หากข้อมูลผ่าน ขั้นตอน ที่ 1 หรือ 2 มาแล้ว พอมาถึงเรา เราก็ทำขั้นตอนที่ 3 ต่อไปได้ทันที แต่
อย่างไรก็ตามการให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่มี คุณค่า จักต้องทำตามลำดับดังกล่าวข้างต้น ไม่ควรทำข้ามขั้นตอน
ยกเว้นข้ันตอนที่ 5 และขั้นตอนท่ี 6 กรณีที่เป็นข้อมูล เกี่ยวกบั ตวั เลขก็ทำขั้นตอนที่ 5 หากข้อมูลไมใ่ ช่ตวั เลข
อาจจะข้ามขั้นตอนที่ 5 ไปทำขั้นตอนที่ 6 ได้เลย เป็นต้น ผลลัพธ์ หรือผลผลิตที่ได้จากการประมวลผล หรือ
กรรมวิธีจัดการข้อมูล ปรากฏแก่สงั คมในรูปของส่ือประเภทต่างๆ เช่น เปน็ หนังสือ วารสาร หนงั สือพิมพ์ ซีดี-
รอม สไลด์ แผน่ ใส แผนท่ี เทปคลาสเซท ฯลฯ แต่อยา่ งไรก็ตามไมไ่ ด้หมายความวา่ ผลผลติ หรือผลลพั ธ์น้ันจะ
มสี ถานภาพเปน็ สารสนเทศเสมอไป
2.4 หลกั เกณฑ์การประเมนิ ผลลัพธ์ หรือผลผลิต
หลักเกณฑ์การประเมนิ ผลลัพธ์ หรือผลผลติ (Criterias to Evaluated Outputs)
ข้อมูลของบางคนอาจเป็นสารสนเทศสำหรับอีกคนหนึ่ง (Nickerson 1998 : 11) การที่จะบง่ บอกว่า
ผลผลิต หรอื ผลลพั ธ์มีคณุ ค่า หรอื สถานภาพเป็นสารสนเทศ หรือไม่น้นั เราใช้หลกั เกณฑต์ ่อไปน้ีประกอบการ
พจิ ารณา
1. ความถกู ต้อง (Accuracy) ของผลผลติ หรือผลลัพธ์
2. ตรงกบั ความตอ้ งการ (Relevance/pertinent)
3. ทนั กับความตอ้ งการ (Timeliness)
การพิจารณาความถูกต้องดูที่เนื้อหา (Content) ของผลผลิต โดยพิจารณาจากขั้นตอนของการ
ประมวลผล (Process; verifying, calculating) ข้อมูล สำหรับการตรงกับความต้องการ หรือทันกับความ
ต้องการ มีผู้ใช้ผลผลิตเป็น เกณฑ์ในการพิจารณา หากผู้ใช้เห็นว่าผลผลิตตรงกับความต้องการ หรือผลผลิต
34
สามารถตอบปัญหา หรือแกไ้ ขปัญหา ของผู้ใช้ได้ และสามารถเรยี กมาใช้ได้ในเวลาท่ีเขาต้องการ (ทันต่อความ
ตอ้ งการใช)้
สรุปได้ว่า ผลผลิต หรือ ผลลัพธ์นั้นมสี ถานภาพ เป็นสารสนเทศ คุณภาพ หรือคุณค่าของสารสนเทศ
ขึ้นอยู่กบั ข้อมลู (Data) ท่นี ำเข้ามา (Input) หากข้อมูลทีน่ ำเขา้ มาประมวลผล เปน็ ขอ้ มูลทด่ี ี ผลลพั ธท์ ี่ได้ก็จะมี
คุณภาพดี หรอื มคี ณุ คา่ ผูใ้ ช้ หรือผ้บู ริโภคสามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ด้ แต่หากข้อมูลที่ นำเข้ามาประมวลผล
ไม่ดี ผลผลิต หรือผลลัพธ์ก็จะมีคุณภาพไม่ดี หรือไม่มีคุณค่า สมดั่งกับวลีที่ว่า GIGO (Garbage In Garbage
Out) หมายความว่า ถา้ นำขยะเข้ามา ผลผลิต (สิ่งท่ีได้ออกไป) ก็คอื ขยะน่ันเอง
2.5 ความหมายของสารสนเทศ
Saracevic and Wood (1981 : 10) ไดใ้ ห้คำนิยามสารสนเทศไว้ 4 นยิ ามดงั น้ี
1. Information is a selection from a set of available message, a selection which reduces
uncertainty. สารสนเทศ คอื การเลือกสรรจากชุดของข่าวสารที่มีอยู่ เปน็ การเลือกที่ช่วยลดความไม่แน่นอน
หรือกล่าวได้ว่า สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้มีเลือกสรรมาแล้ว (เป็นข้อมูลที่มีความแน่นอนแลว้ ) จากกลุ่มของ
ข้อมลู ทมี่ อี ยู่
2. Information as the meaning that a human assigns to data by means of conventions
used in their presentation. สารสนเทศ คือ ความหมายที่มนุษย์ (สั่ง) ให้แก่ ข้อมูล ด้วยวิธีการนำเสนอท่ี
เป็นระเบยี บแบบแผน
3. Information is the structure of any text-which is capable of changing the image-
structure of a recipient. (Text is a collection of signs purposefully structured by a sender with
the intention of changing the image-structure of recipient) สารสนเทศ คือ โครงสร้างของข้อความ
35
ใดๆ ที่สามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทาง จินตภาพ (ภาพลักษณ์) ของผู้รับ (ข้อความ หมายถึง ที่รวมของ
สัญลักษณต์ ่างๆ มโี ครงสรา้ งท่ีมี จดุ มุ่งหมาย โดยผ้สู ง่ มีเป้าหมายทจี่ ะ เปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งทาง จินตภาพ (+
ความรู้สึกนึกคิด) ของผูร้ ับ(สาร)
4. Information is the data of value in decision making. สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีค่าในการ
ตัดสินใจ
2.5.1 ความหมายของสารสนเทศ
สารสนเทศ เป็นคำที่มีความหมายตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Information ซึ่งมีความหมายใน
ภาษาไทยไว้หลายคำ เช่น ข่าวสารขอ้ มูล ขอ้ สนเทศ สารนเิ ทศ เป็นตน้ อย่างไรก็ตาม โดยสรปุ แล้วสารสนเทศ
หมายถึง ข้อมูลที่ที่ได้รับการประมวลผลด้วยวิธีการต่างๆ ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมายต่อผู้รับ จาก
ความหมายนเี้ ราจะพบว่า สารสนเทศมีลักษณะสำคญั อยู่ 3 ประการ
1. สารสนเทศเปน็ ขอ้ มูลทีป่ ระมวลผลแล้ว
2. อยู่ในรูปแบบท่ีมีประโยชนส์ ามารถนำไปใชง้ านได้
3. มคี วามหมายหรอื คณุ ค่าสำหรบั ใชใ้ นการดำเนนิ งานหรือตดั สินใจได้
สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ข้อมลู ที่มสี าระอย่ใู นตัว สามารถสอื่ ความหมายใหเ้ กดิ การเข้าใจ
กับผู้ทต่ี อ้ งการใช้ข้อมูลน้นั และสามารถที่จะนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ การท่จี ะไดม้ าซ่งึ สารสนเทศที่ต้องการ
นั้นจะต้องนำข้อมูล (data) ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ มาทำการประมวลผลเสียก่อน โดยข้อมูลที่นำมา
ประมวลผลนนั้ อาจจะมาจากแหล่งข้อมูลท้งั ภายในหรือภายนอกองค์การ
Post (1997 : 7) สารสนเทศ คือ ตัวแทนของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล (Process) การจัดการ
(Organized) และการผสมผสาน (Integrated) ให้เกดิ ความเขา้ ใจอย่างถอ่ งแท้
Nickerson (1998 : 11) สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีความหมาย (Meaningful) หรือเป็นประโยชน์
(Useful) สำหรบั บางคนทจ่ี ะใชช้ ว่ ยในการ ปฏิบตั งิ านและการจัดการ องค์การ
Schultheis and Sumner (1998 : 39) สารสนเทศ คอื ขอ้ มูลทม่ี ีความหมาย
Haag, Cummings and Dawkins (2000 : 20) สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีความหมายเฉพาะภายใต้
บรบิ ท (Context) ท่เี กี่ยวขอ้ ง
O’Brien (2001 : 15) สารสนเทศ คือ ขอ้ มูลท่ผี ่านการปรบั เปลย่ี น (Converted) มาเป็นสิ่งที่มีความ
หมาย (meaningful) และเปน็ ประโยชน์ (Useful) กับเฉพาะบุคคล
McLeod, Jr. and Schell (2001 : 12) สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล หรือข้อมูลที่มี
ความหมาย
Turban, McLean and Wetherbe (2001 : 7) สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้รับการจัดระบบเพื่อให้มี
ความหมายและมคี ุณค่าสำหรบั ผใู้ ช้
36
Stair and Reynolds (2001 : 4) สารสนเทศ คือ ที่รวม (ชุด) ข้อเท็จจริงที่ได้มีการจัดการแล้ว ใน
กรณเี ชน่ ข้อเทจ็ จริงเหลา่ นนั้ ไดม้ กี ารเพิ่มคุณค่า ภายใตค้ ุณค่าของข้อเทจ็ จริงนน้ั เอง
ครรชิต มาลัยวงศ์ (2535 : 12) สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบที่มี
ความหมายต่อผ้รู ับ และมีคุณค่าอนั แท้จริง หรือ คาดการณ์วา่ จะมีค่าสำหรบั การดำเนนิ งาน หรือการตัดสินใจ
ใน ปัจจุบัน หรืออนาคต
กัลยา อดุ มวทิ ติ (2537 :3) สารสนเทศ คือ เรอื่ งราว ความรตู้ ่างๆ ทไ่ี ด้จากการนำข้อมลู มาประมวลผล
ด้วยวิธีการอยา่ งใดอย่างหน่ึง และมี การผสมผสานความรู้ หรือหลักวิชาที่เกี่ยวข้อง หรือความคิดเห็น ลงไป
ด้วย
เลาวด์ อน (2545 : 6) สารสนเทศ คอื ข้อมลู ทีไ่ ด้รับการประมวลผล หรือปรุงแตง่ เพ่อื ให้มคี วามหมาย
และเปน็ ประโยชน์ต่อผใู้ ช้
ไพโรจน์ คชชา (2542) สารสนเทศ (Information) หมาย ถึง ข้อมูลต่างๆ ที่ได้ผ่านการเปลีย่ นแปลง
หรือมีการประมวลหรอื วเิ คราะห์ผลสรุปดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ ให้อยใู่ นรปู แบบที่มคี วามสัมพันธ์กัน มคี วามหมาย มี
คณุ คา่ เพม่ิ ขนึ้ และมวี ัตถุประสงค์ในการใช้งาน
วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา (2542) ได้ให้ความหมาย สารสนเทศ (Information) หมาย ถึงข้อมูลที่ได้ถกู
กระทำให้มีความสัมพันธห์ รือความหมายนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การเก็บข้อมูล การขายรายวนั แล้วนำการ
ประมวลผล เพื่อหาว่าสินค้าใดมียอดขายสูงที่สุด เพื่อจัดทำแผนการขายในเดือนต่อไป ซึ่งสารสนเทศมี
ประโยชน์ คอื
1. ให้ความรู้
2. ทำใหเ้ กดิ ความคิดและความเขา้ ใจ
3. ทำใหเ้ ห็นสภาพปัญหา สภาพการเปล่ียนแปลงวา่ ก้าวหน้าหรอื ตกตำ่
4. สามารถประเมนิ ค่าได้
สุชาดา กีระนันท์ (2542 : 5) สารสนเทศ คือ ข้อความรู้ทีป่ ระมวลไดจ้ ากขอ้ มูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องใน
เรอ่ื งนั้นจนได้ ขอ้ สรุป เปน็ ขอ้ ความรทู้ ี่ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเน้นที่การเกิดประโยชน์ คือความรู้ท่ี
เกิดขึ้นเพิ่มขนึ้ กับผู้ใช้
จติ ติมา เทยี มบญุ ประเสรฐิ (2544 : 4) สารสนเทศ คือ ข้อมลู ท่ผี ่านการประมวลผล ผ่านการวิเคราะห์
หรือสรุปใหอ้ ยู่ในรปู ทมี่ ีความหมายทสี่ ามารถนำไป ใชป้ ระโยชน์ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์
ปทปี เมธาคุณวุฒิ (2544 : 1) สารสนเทศ คอื ขา่ วสาร หรือการชี้แจงข่าวสาร
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล (2545 : 40) สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการ
ประมวลผลข้อมูลดิบที่ถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ ที่สามารถนำไป ประกอบการทำงาน หรือสนับสนุนการ
37
ตัดสินใจของผู้บริหาร ทำให้ผู้บริหารสามารถแก้ไขปัญหา หรือทางเลือกในการ ดำเนิน งานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ทิพวรรณ หลอ่ สวุ รรณรัตน์ (2545 : 9) สารสนเทศ คอื ข้อมูลทีไ่ ดผ้ ่านการประมวลผล หรือจัดระบบ
แลว้ เพ่อื ใหม้ คี วามหมายและ คณุ ค่าสำหรับผใู้ ช้
นิภาภรณ์ คำเจริญ (2545 : 14) สารสนเทศ คอื ผลลพั ธ์ทไี่ ด้จากการประมวลผลของข้อมูลดิบ (Raw
Data) ประกอบไปด้วย ข้อมูลต่างๆ ที่เป็น ตัวอักษร ตัวเลข เสียง และภาพ ท่ีนำไปใช้สนับสนุนการ บริหาร
และการตัดสนิ ใจของผบู้ รหิ าร
มนตรี ดวงจิโน (2546) สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ความร้หู รอื ข้อมลู และขอ้ เท็จจริงตา่ งๆ ท่ี
ไดร้ ับการประมวลแล้วและสามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้
สรุปได้ว่า สารสนเทศ คือ ข้อมูล ข่าวสาร ข่าว ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น หรือประสบการณ์ อยู่ใน
รูปแบบที่แตกต่างกันออกไป เช่น ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง สัญลักษณ์ หรือกลิ่น ที่ถูกนำมาผ่าน
กระบวนการประมวลผล ดว้ ยวิธีการท่ี เรียก วา่ กรรมวิธจี ัดการขอ้ มูล (Data Manipulation) และผลท่ีได้อาจ
แสดงผลออกมาในรูปแบบของสื่อประเภทต่าง เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ แผนที่ แผ่นใส ฯลฯ และ
เป็นผลลพั ธ์ทผี่ ใู้ ช้สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างถูกตอ้ ง ตรงและทันกบั ความตอ้ งการ หรอื สารสนเทศ คือ
ผลลัพธ์ที่มีความถูกต้อง ตรงตามต้องการ และทันต่อความต้องการของผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นผลลัพธ์ท่ี
ได้มาจากการนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยกรรมวิธีจัดการข้อมูล สารสนเทศคือการเปลี่ยนแปลงหรือมีการ
ประมวลผลข้อมูลความรแู้ ละข้อเท็จจรงิ ตา่ งๆ และมคี ุณค่าเพ่มิ ขึ้นกบั วัตถปุ ระสงค์ในการใช้
2.6 ความสำคญั ของสารสนเทศ
2.6.1 ความสำคัญของสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศิลปศาสตร์ (2551) ในปัจจุบันโลกของเราอยู่ในยุคท่ี
เรียกว่า ยุคสารสนเทศ (Information Age) สังคมสารสนเทศ (Information Society) สังคมแห่งการเรียนรู้
(Knowledge Society) หรือ ยุคการสื่อสารไร้พรมแดน สารสนเทศเป็นปัจจัยสำคัญ ในการกำหนดแนว
ทางการพัฒนาด้านการเมอื ง สงั คม เศรษฐกจิ และวัฒนธรรม ปจั จุบันสารสนเทศมีปรมิ าณการผลติ เพม่ิ มากข้ึน
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นการที่เราจะปล่อยละเลยไม่แสวงหาสารสนเทศ จะทำให้ได้รับข้อมูลท่ี
ลา่ ช้า ไมท่ ันต่อเหตกุ ารณ์ บางคร้ังก็อาจทำใหเ้ สียเวลาในการทำงานที่ซำ้ ซ้อน เสียทรพั ยากรโดยเปลา่ ประโยชน์
สารสนเทศช่วยในการถา่ ยทอดเทคโนโลยี และวทิ ยาการต่างๆ จากคนหน่ึงไปสอู่ กี คนหนึง่ จากองคก์ รหนึ่ง
ไปสู่อกี องค์กรหนง่ึ จากประเทศหนึ่งไปสูอ่ ีกประเทศหนง่ึ นอกจากนย้ี งั ก่อใหเ้ กดิ แนวคดิ และแนวทางการเร่มิ ต้น
งานใหม่ๆ เพื่อนำไปสู่การพัฒนา ประเทศที่เจริญแล้วตา่ งตระหนักถึงความสำคัญของสารสนเทศและสง่ เสริม
ใหม้ กี าร นำสารสนเทศไปใชเ้ พ่ือการพฒั นาประเทศอยา่ งกว้างขวาง
เราอาจสรปุ ความสำคญั ของสารสนเทศ ว่ามีความสำคัญตอ่ บุคคลและสังคมดงั นี้
38
2.6.2 ความสำคญั ของสารสนเทศต่อบคุ คล
2.6.2.1 ทำใหส้ ามารถต่อสู้กบั สง่ิ แวดล้อมซ่ึงไม่รจู้ กั และอาจเปน็ อันตรายถงึ ชวี ติ และสามารถ
นำเอาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิต ทำให้มีปัจจัยในการดำรงชีวิตอันได้แก่ อาหาร
เคร่อื งนุง่ หม่ ที่อยอู่ าศยั และยารักษาโรค
2.6.2.2 สารสนเทศ ช่วยให้มนุษย์เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ที่อยู่รอบตัว เช่น
ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เรื่องร่างกาย และจติ ใจของตน เร่อื งเก่ียวกบั พฤติกรรมของเพ่ือนมนษุ ย์ ทำให้สามารถ
ปรับตัว และสร้างสัมพันธภาพกบั เพ่อื นมนษุ ย์ ท่อี ยรู่ ว่ มกันได้
39
2.6.2.3 ทำใหส้ ามารถเผชิญกับปัญหาตา่ งๆ รู้จักใช้สารสนเทศในการตดั สนิ ใจ แก้ปัญหา และ
รู้วา่
ควรทำส่งิ ใดหรือไม่ควรทำสง่ิ ใด เพราะการได้รบั สารสนเทศที่ถูกตอ้ ง ครบถ้วน และทนั เวลา ทำให้ตัดสินใจได้
อยา่ งเดด็ ขาดและรอบคอบ
2.6.2.4 ทำให้เกิดความเจริญทางจิตใจ มีสติ รู้จักควบคุมอารมณ์ รู้จักสร้างสรรค์ศิลปะ ให้
เกดิ
ความสวยงาม มคี วามเพลิดเพลนิ ในการศึกษา ทางศาสนา ก่อให้เกดิ ความสงบ เยือกเยน็ และดำรงชพี ได้อย่าง
มสี ขุ
40
2.6.3 ความสำคัญของสารสนเทศตอ่ สงั คม
2.6.3.1 ก่อให้เกิดการศึกษา ซึ่งจำเป็นต่อการพัฒนาสังคม หากสังคมใดที่คนในสังคมได้รับ
การศึกษา รูห้ นงั สือ และสามารถเขา้ ถึงสารสนเทศ สงั คมนั้นก็จะสามารถพฒั นาได้อย่างรวดเรว็
2.6.3.2 รักษาไวแ้ ละถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม สารสนเทศนนั้ จะชว่ ยอนรุ กั ษพ์ ฒั นา และ
ถ่ายทอดความรู้ ให้แกค่ นรุ่นใหม่ตอ่ ไปได้ สามารถเรยี นรคู้ วามเขา้ ใจ ในวัฒนธรรมของคนทอ่ี ยู่ตา่ งสังคมได้ เกดิ
การแลกเปลย่ี นทางวัฒนธรรม มคี วามเข้าใจระหว่างกนั ทำใหอ้ ย่รู ว่ มกันไดอ้ ยา่ งสนั ตสิ ขุ
2.6.3.3 เสริมสร้างความรู้ ความสามารถทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ การ
พาณิชย์ และความรู้อน่ื ๆ ที่เป็นพ้ืนฐานจำเปน็ ต่อการพฒั นาสงั คม
41
วุฒิศักดิ์ เกิดเขียว (2012) สารสนเทศได้กลายมาเปน็ ปัจจัยสำคัญต่อการดำเนินชวี ิตของคนในสังคม
ปัจจุบัน ในองค์กรต่างๆ สารสนเทศได้กลายเป็นทรัพย์สินอันมีค่า จนมีคำกล่าวว่าสารสนเทศ คือ อำนาจ
(Information is power) ใครที่มีสารสนเทศมากก็จะสามารถควบคุมหรือต่อรองได้ ฝ่ายที่มีสารสนเทศ
มากกวา่ มักจะไดเ้ ปรียบคู่แข่งเสมอ จนอาจนำไปสยู่ ุค “ สงครามขอ้ มลู ขา่ วสาร ” ได้
ดังนั้น สารสนเทศจึงมปี ระโยชน์มากมาย เช่น ช่วยลดความอยากรู้ คลายความสงสัย ช่วยแก้ปัญหา
ช่วยวางแผนและการตัดสนิ ใจไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง สารสนเทศจึงชว่ ยพัฒนาบุคคล ช่วยการปฏิบัติงาน ช่วยในการ
ดำเนนิ ชีวติ ซึ่งสง่ ผลต่อการพฒั นาสังคมและประเทศ สารสนเทศจงึ มีความสำคญั ต่อบุคคล องคก์ ร และสังคม
ดังน้ี
1 ความสำคัญของสารสนเทศตอ่ บุคคลและต่อองคก์ ร
- ในชวี ิตประจำวัน ไม่วา่ จะเปน็ การศึกษา การประกอบอาชีพ หรอื การดำรงชีพ สารสนเทศมี
บทบาทตอ่ มนษุ ยม์ ากเกนิ กว่าทีบ่ างคนตระหนกั ถงึ
- ในด้านการปฏิบัติงานและในการจัดการ สารสนเทศที่ถูกต้องนับเป็นองค์ประกอบสำคัญ
โดยเฉพาะการแก้ปญั หา การตดั สินใจ และการปฏบิ ัตงิ านให้บรรลุวตั ถปุ ระสงคไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
2 ความสำคัญของสารสนเทศตอ่ สงั คม
สารสนเทศมคี วามสำคญั ตอ่ สังคม 2 ดา้ น คือ ด้านการปกครอง และด้านการพฒั นา
- ด้านการเมืองการปกครอง สารสนเทศจำเป็นต่อการดำเนินชีวิตและการตัดสินใจของ
ประชาชนอันเป็นพื้นฐานของสังคม ผู้ปกครองจึงต้องจัดการให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงสารสนเทศที่
ตอ้ งการได้ จึงจะเกิดการบรหิ ารท่โี ปรง่ ใส เป็นสังคมประชาธปิ ไตย ไม่เกดิ ความวนุ่ วาย
- ด้านการพัฒนา สารสนเทศมคี วามสำคัญยงิ่ ทัง้ ในการเตรียมแผนพฒั นาและการปฏบิ ตั ติ าม
แผน เชน่ สารสนเทศเก่ยี วกบั ชมุ ชน สารสนเทศเก่ียวกบั ส่งิ แวดล้อม สารสนเทศเกีย่ วกบั การเมืองการปกครอง
สารสนเทศเกี่ยวกับเทคนิคการแกป้ ัญหา สารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานวิจยั หรือการประดิษฐซ์ ึ่งจะช่วยในการ
พฒั นาตอ่ ไป
สรุปได้ว่า สารสนเทศเป็นรากฐานที่สำคัญและจำเป็นสำหรับความก้าวหน้าของสังคมและเป็นส่วน
หน่ึงของกระบวนการสรา้ งสรรคแ์ ละเป็นสงิ่ ท่ีขาดไม่ได้เลยในการตัดสินใจ และเปน็ องค์ประกอบที่มบี ทบาทต่อ
การพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม การศกึ ษาและการวิจัย นอกจากน้ีสารสนเทศยังเป็นมรดกของสังคมท่ีมี
การบันทกึ และถา่ ยทอดไปส่คู นรุ่นหลัง สารสนเทศท่ีสะสมไวจ้ ะช่วยเปน็ แนวทางแก้ปญั หาตา่ งๆ ในอนาคตได้
อกี ดว้ ยฉนั คดิ วา่ หากเรารู้จกั เลือกทีจ่ ะใช้สารสนเทศใหอ้ ย่างถูกต้อง กจ็ ะนำไปสู่ผลการตอบรับท่ีดียิ่งกว่า ใช้ให้
ถูกวธิ ี ใชใ้ หถ้ ูกที่ กน็ า่ จะเปน็ ประโยชนท์ ง้ั ผใู้ ห้ และผรู้ ับ
42
2.7 วิวัฒนาการของสารสนเทศ
Saifun tabasa (2015) ในระบบสารสนเทศนั้นจะมีการนำเสนอข้อมลู ต่างๆ มาประมวลผลให้ข้อมลู
น้นั เปน็ ประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้งานในอดีตทย่ี งั ไมม่ ี คอมพิวเตอรก์ ย็ ังมเี ครอ่ื งมอื อื่นมาชว่ ยในการประมวลผล
ขอ้ มูลและชว่ ยในการสรา้ งผลผลติ ได้ จนถึงปจั จบุ นั ไดม้ ีการนำเอาคอมพวิ เตอรม์ าช่วยในการประมวลผลข้อมูล
ก็ทำให้ระบบสารสนเทศนี้พัฒนาไปได้มากขึ้น ช่วยให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ดีขึ้นในโลกของเราได้มีการ
นำเสนอเครื่องมือมา ช่วยในการดำรงชีวิตมากมาย จนปัจจุบันนั้นถือได้ว่าเป็นยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หากแบ่งวิวัฒนาการของยุคสารสนเทศจะแบ่งไดด้ งั น้ี
- โลกยคุ กสกิ รรม (Agriculture Age) ยุคนน้ี ับต้งั แตก่ ่อนปี ค.ศ. 1800 ถอื วา่ เปน็ ยคุ ทก่ี ารดำเนิน
ชีวิตของมนุษย์ขึ้นอยู่กับการทำนา ทำสวน ทำไร่ โลกในยุคนี้ยังมีการซ้ือขายสินค้าระหว่างกัน แต่ก็ถือวา่ เป็น
สนิ คา้ เกษตรกรเปน็ หลกั มีการนำเครื่องมอื เคร่ืองทุ่นแรงมาใช้ใหไ้ ด้ผลผลิตดีขึ้น ในระบบหนง่ึ ๆ จะมผี ู้ร่วมงาน
เปน็ ชาวนา ชาวไรเ่ ป็นหลกั
- ยุคอุตสาหกรรม (Industrial Age) ยุคนี้นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1800 เป็นต้นมา โดยในประเทศ
อังกฤษไดน้ ำเครื่องจกั รกลมาชว่ ยงานทางดา้ นการเกษตร ทำให้มีผลผลิตมากขึ้นและมผี ู้รว่ มงานในระบบมาก
ขนึ้ เรม่ิ มีโรงงานอุตสาหกรรม เริ่มมีคนงานในโรงงาน ตอ่ มาการนำเครื่องจักรมาใช้งานนไี้ ด้ขยายไปสู่ประเทศ
ตา่ งๆ และได้มีการแปรรปู ผลิตผลทางด้านการเกษตรออกมามากขนึ้ และเครอ่ื งจักรกลก็เป็นเคร่ืองมอื ท่ีทำงาน
ร่วมกับมนุษย์ และเริ่มมีโรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้น ซึ่งทำให้โลกของเรามีทั้งภาคอุตสาหกรรม และ ภาค
เกษตรกรรมควบคกู่ นั ไป
- ยุคสารสนเทศ (Information Ago) ยุคนี้นบั ตั้งแต่ประมาณปี ค.ศ.1957 จากที่การทำงานของ
มนุษย์มีทั้งด้านการเกษตรและด้านอตุ สาหกรรมรม ทำให้คนงานต้องมีการสื่อสารกันมากขึ้น ต้องมีความร้ใู น
การใชเ้ ครอ่ื งจักรกล ต้องมีการจดั การข้อมูลเอกสาร ข้อมูลสำนักงาน งานดา้ นบญั ชี จงึ ทำให้มคี นงานส่วนหน่ึง
มาทำงานในสำนักงาน คนงานเหล่านี้ถือว่าเป็นผู้ที่มีความรู้และต้องทำหนา้ ที่ประสานงานระหว่าง ฝ่ายผลิต
และลูกค้า ทำใหม้ กี ารพฒั นาเคร่อื งมอื ตา่ งๆ มาชว่ ยในการประมวลผล จดั การให้ระบบงานมปี ระสิทธภิ าพดีขึ้น
ทำใหเ้ กดิ การใช้เครือ่ งมอื ทางสารสนเทศข้ึนมา ซ่งึ ถอื วา่ เปน็ จุดเรมิ่ ตน้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เมื่อเข้าสู่ยุคสารสนเทศ องค์กรต่างๆ ที่นำเทคโนโลยีสื่อสารมาใช้ในการจัดการงานประจำวัน จะ
ทำงานได้สำเร็จเร็วขึ้น การผลิตทำได้เร็วขึ้น เนื่องจากผู้ผลิตสามารถประมวลผลข้อมูลต่างๆได้รวดเร็วข้ึน มี
การนำระบบอตั โนมตั ดิ า้ นการผลิตมาใช้ มีระบบบญั ชี และมีโปรแกรมท่ที ำงานเฉพาะด้านมากขึน้
อดีตมนุษย์ยังไม่มีภาษาที่ใช้สำหรับการสื่อสาร เมื่อเกิดมีเหตุการณ์ (Event) อะไร เกิด ขึ้น ก็ไม่
สามารถถ่ายทอด หรอื เผยแพรแ่ กบ่ คุ คลอื่น หรือสังคมอ่นื ได้ อย่างถูกตอ้ งตรงกนั ระหว่างผูส้ ่งสารกับผู้รับสาร
จึงมีการคิดใชส้ ญั ลกั ษณ์ (Symbol) หรอื เครอ่ื งหมาย ทำหน้าท่ีส่อื ความหมายแทนเหตุการณด์ ังกล่าว จึงมกี าร
ใช้กฎ และสูตร (Rule & Formulation) มาใช้เพื่ออธิบายเหตุการณ์ดังกล่าวว่าเกิดมาจากสาเหตุใด หรือเกิด
43
มาจากสารใดผสมกับสารใด เป็นต้น จากนั้นเมื่อ มนุษย์มีภาษา สำหรับการสื่อสารแล้ว ก็เกิดมีข้อมูล (Data)
เกี่ยวกับเหตุการณ์ดังกล่าว เกิดขึ้นมามากมาย ทั้งจากภายในสังคมเดียวกัน หรือจากสังคมอื่นๆ เพื่อให้ได้
คำตอบท่ถี กู ต้อง ทำใหต้ อ้ งมีการวเิ คราะห์ หรอื ประมวลผล ข้อมลู ให้มสี ถานภาพเปน็ สารสนเทศ(Information)
ที่จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผูใ้ ช้ หรอื ผู้บรโิ ภค เม่ือผ้บู รโิ ภคมกี ารสะสม เพม่ิ พนู สารสนเทศมากๆเขา้ และมกี ารเรียนรู้
(Learning) จนเกิดความเข้าใจ (Understanding) ก็จะเป็นการพัฒนา สารสนเทศที่มีอยู่ในตนเองเป็นองค์
ความรู้ (Knowledge) เนื่องจากมนุษย์เป็นผู้ที่มีสติ (สัมปชัญญะ) (Intellect) รู้จักใช้ เหตุและผล
(Reasonable) กับความร้ทู ่ีตนเองมอี ยูก่ จ็ ะมีการพฒั นาความรเู้ ปน็ ปญั ญา (Wisdom) ในท่ีสุด ดังแสดงได้ ตาม
ภาพข้างลา่ งนี้
44
2.8 คณุ ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี
ปรานอม หยวกทอง (ม.ป.ป) ลักษณะของสารสนเทศทด่ี ี ดงั น้ี
2.8.1 มคี วามถูกต้องแมน่ ยำ (accuracy) สารสนเทศท่ีดีจะต้องตรงกบั ความเปน็ จริงและเชอื่ ถอื ได้
สารสนเทศบางอย่างมีความสำคัญ หากไม่ตรงกบั ความเป็นจริงแล้ว อาจกอ่ ให้เกิดความเสียหายได้ สารสนเทศ
ท่ีถูกต้องแมน่ ยำจะตอ้ งเกิดจากการปอ้ นขอ้ มูลรวมถงึ โปรแกรมที่ประมวลผลจะต้องถูกตอ้ ง
2.8.2 ทันต่อเวลา (timeliness) สารสนเทศที่ดีต้องทันต่อการใช้งาน หมายถึง ข้อมูลที่ป้อนให้กับ
เครื่องคอมพวิ เตอร์ตอ้ งมีความเปน็ ปัจจุบันทนั สมยั อยู่ตลอดเวลา เพ่อื การนำไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ รงิ ตัวอยา่ งเช่น
ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ปกครองนักเรียน จะต้องมีการปรับปรุงให้ทันสมัย หากหมายเลขโทรศัพท์
ลา้ สมัยก็จะไมส่ ามารถติดต่อกับผ้ปู กครองไดห้ ากเกดิ กรณีฉกุ เฉนิ
2.8.3 มีความสมบูรณ์ครอบถ้วน (complete) สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความครบถ้วน สารสนเทศที่มี
ความครบถว้ นเกิดจากการเก็บข้อมูลได้ครบถว้ น หากเก็บขอ้ มลู เพียงบางส่วนก็จะไม่สามารถใช้ประโยชน์จาก
สารสนเทศได้เต็มประสทิ ธิภาพ ตวั อยา่ ง เช่น ข้อมลู นกั เรียน กจ็ ะต้องมกี ารเกบ็ รายละเอียดเกย่ี วกบั นกั เรยี นให้
ได้มากที่สุด เช่น ชื่อ อายุ ที่อยู่ ชื่อผู้ปกครอง หมายเลขโทรศัพท์ โรคประจำตัว คะแนนที่ได้รับในแต่ละวิชา
เป็นตน้ ทั้งนเ้ี พือ่ ใหค้ รูสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งเต็มที่ หากไมม่ ขี อ้ มูลของหมายเลขโทรศัพท์ เมอ่ื
เกิดเหตฉุ ุกเฉนิ กจ็ ะไมส่ ามารถตดิ ตอ่ กบั ผปู้ กครองไดเ้ ช่นเดียวกัน
2.8.4 มีความสอดคล้องกบั ความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) สารสนเทศจะตอ้ งสอดคลอ้ งกับความ
ตอ้ งการของผุใ้ ช้ กลา่ วคือ การเกบ็ ข้อมูลต้องมีการสอบถามการใชง้ านของผู้ใชว้ ่าต้องการในเรื่องใดบ้าง จึงจะ
สามารถสรุปสารสนเทศได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ตัวอย่างเช่น หากต้องการเก็บข้อมูลของ
นกั เรยี นก็ต้องถามครวู า่ ตอ้ งการเก็บขอ้ มลู ใดบา้ ง เพ่ือให้ครูสามารถนำไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ
45
2.8.5 สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรวจสอบแหล่งที่มาได้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้
ตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศได้
สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ (Alter 1996 : 170-175, Stair and Reynolds 2001 :
6-7, จติ ติมา เทยี มบุญประเสรฐิ 2544 : 12-15, ณฏั ฐพนั ธ์ เขจรนันทน์ และไพบลู ย์ เกยี รติโกมล 2545 : 41-
42 และทพิ วรรณ หลอ่ สุวรรณรัตน์ 2545 : 12-15)
1. สารสนเทศทีด่ ตี ้องมคี วามความถกู ต้อง (Accurate) และไมม่ ีความผิดพลาด
2. ผู้ที่มีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาที่
เหมาะสม ตาม ความตอ้ งการของผู้ใช้
3. สารสนเทศตอ้ งมคี วามชัดเจน (Clarity) ไมค่ ลุมเครอื
4. สารสนเทศที่ดตี อ้ งมีความสมบรู ณ์ (Complete) บรรจุไปดว้ ยขอ้ เท็จจรงิ ที่มสี ำคัญครบถว้ น
5. สารสนเทศต้องมคี วามกะทดั รดั (Conciseness) หรือรดั กุม เหมาะสมกบั ผใู้ ช้
6. กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจมักจะต้อง
สร้างดุลยภาพ ระหว่างคณุ ค่าของสารสนเทศกับราคาท่ีใช้ในการผลิตต้องมีความยึดหยนุ่ (Flexible) สามารถ
ในไปใช้ในหลาย ๆ เปา้ หมาย หรือวตั ถุประสงค์
7. สารสนเทศที่ดีต้องมีรปู แบบการนำเสนอ (Presentation) ทีเ่ หมาะสมกบั ผใู้ ช้ หรอื ผู้ที่เกี่ยวข้อง
8. สารสนเทศทดี่ ีตอ้ งตรงกบั ความตอ้ งการ (Relevant/Precision) ของผู้ทท่ี ำการตัดสินใจ