The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwannnn2542, 2022-05-28 00:32:34

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

คำนำ

ด้วยสภาวฒั นธรรมจังหวัดนครราชสมี า ได้จัดทำ โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา:
ผ่านนามสกุลคนโคราช ด้วยการสนับสนุนงบดำเนินการจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ซึ่งสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติสง่ เสรมิ และรกั ษามรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม พ. ศ. 2559 มาตรา 4 กำหนดให้มรดก
ภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมท่ไี ดร้ บั การส่งเสริมและรักษาตามพระราชบญั ญัตินี้ ไดแ้ ก่ ความรู้ และการปฏิบัติ
เก่ยี วกับธรรมชาติและจักรวาล โดยมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ถ่ายทอดองค์ความรทู้ ่ีเปน็ เอกลกั ษณ์ โดดเดน่ ของ
จังหวัดนครราชสีมา ให้แก่เยาวชนและประชาชน ได้นำไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์และเอกสารที่ทางสภาวัฒนธรรมจังหวัดได้จัดทำเพื่อให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และ
แพร่หลาย

สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ได้บูรณาการการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ
และเอกชน ทั้งในด้านวิทยากรผู้ให้ความรู้ สถานที่ฝึกอบรม และคณะกรรมการ ทายาทผู้สืบทอดสกุล
โคราช และประชาชนทั่วไปได้ตระหนักเหน็ คุณค่าและภาคภูมใิ จในประวตั ิศาสตร์ท้องถนิ่ ของตน เกี่ยวกับ
นามสกุลคนโคราชจงั หวัดนครราชสมี า

ในนามสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสภาวัฒนธรรม
จังหวัดนครราชสีมา ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอและผู้ให้ข้อมูล สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่ทำให้การ
ดำเนินงานสำเร็จลุลว่ งไปด้วยดี

คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจังหวดั นครราชสมี า
๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๔

สารบัญ หนา้

๑. ชอื่ โครงการ ๑
๒. ระยะเวลาดำเนนิ โครงการ ๑
๓. หนว่ ยงานดำเนนิ งานหลกั ๑
๔. หน่วยงานทรี่ ่วมดำเนินการ ๑
๕. งบประมาณ ๓
๖. ขนั้ ตอนการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม ๓
๗. ผลการดำเนนิ โครงการ / กจิ กรรม ๓
๘. ปญั หาและอปุ สรรค ๔
๙. ขอ้ สังเกต ข้อเสนอแนะและประเด็นตอ้ งตดิ ตาม ๕
๑๐. ภาคผนวก ๖
๑๒
๑. โครงการเล่าขานประวัติศาสตรน์ ครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช ๑๓
๒. ภาพกจิ กรรม
๑๔
๒.๑ การประชุมคณะกรรมการจดั ทำโครงการโครงการเลา่ ขาน ๒๐
ประวัตศิ าสตรน์ ครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช ๓๐

๒.๒ การถ่ายทอดองคค์ วามรู้นามสกลุ คนโคราช ๓๑
๒.๓ การสืบค้นข้อมลู ของแตล่ ะอำเภอผ่านทางเว็บไซต์ ๑๒ อำเภอ ๓๕
๓. ขอ้ มลู เชิงลึกของนามสกลุ คนโคราช โดยสมั ภาษณท์ ายาทผสู้ ืบสกลุ ๓๗
๗๖
- อำเภอเมอื ง ๗๙
- อำเภอโนนไทย ๑๐๑
- อำเภอโชคชยั ๑๐๘
- อำเภอพิมาย ๑๑๙
- อำเภอดา่ นขุนทด
- อำเภอบัวใหญ่
๔. หนังสือเชญิ วิทยากรจัดเสวนาและผู้เขา้ ร่วมประชุม
๑๑. คณะกรรมการจัดทำโครงการ



รายงานผลการดำเนนิ งาน
โครงการเลา่ ขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า : ผา่ นนามสกลุ คนโคราช

๑. ชือ่ โครงการ
โครงการเล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสมี า : ผา่ นนามสกลุ คนโคราช

๒. ระยะเวลาดำเนนิ โครงการ / กจิ กรรม
เดือนกรกฎาคม – เดือนธนั วาคม ๒๕๖๔

๓. หนว่ ยงานหลกั ดำเนินงานหลกั
๓.๑ สภาวฒั นธรรมจังหวัดนครราชสีมา

๔. หนว่ ยงานทีร่ ว่ มดำเนินการ
๔.๑ สภาวัฒนธรรมจงั หวดั นครราชสีมา
๔.๒ สำนักงานวัฒนธรรมจงั หวัดนครราชสมี า
๔.๓ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
๔.๔ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลติ กลุ
๔.๕ ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอจักราช
๔.๖ ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอโชคชัย
๔.๗ ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอดา่ นขนุ ทด
๔.๘ ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอโนนไทย
๔.๙ ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอโนนสูง
๔.๑๐ ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอพมิ าย
๔.๑๑ คณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวดั นครราชสีมา
๔.๑๒ องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั นครราชสมี า

๕. งบประมาณ
๕.๑ กรมสง่ เสรมิ งานวัฒนธรรมสนับสนนุ งบประมาณ จำนวน ๑๙๓,๐๐๐ บาท + สภา

วฒั นธรรม
จังหวดั นครราชสมี า ๒๓,๖๐๐ บาท

๕.๒ ใชง้ บประมาณระหวา่ งเดือนกรกฎาคม – เดือนธนั วาคม ๒๕๖๔ จำนวน ๒๑๖,๖๐๐ บาท
๕.๓ คงเหลอื งบประมาณ จำนวน - บาท



รายละเอียดค่าใช้จา่ ยดำเนนิ การดงั นี้

ท่ี วธิ ีการดำเนินกิจกรรม งบประมาณ (บาท)

๑. การจดั ประชุม

- คา่ อาหาร / เครือ่ งดมื่ ประชมุ คณะกรรมการดำเนินงาน (๒๐x๑๒๐) ๒,๔๐๐

- ค่าอาหาร / เคร่อื งดื่ม จัดเสวนาโครงการเล่าขานประวัตศิ าสตร์ ๗,๒๐๐

นครราชสีมา : ผ่านนามสกุลคนโคราช (๖๐x๑๒๐)

-ค่าตอบแทนวทิ ยากร ๓,๐๐๐

รวม ๑๒,๖๐๐

๒. การศกึ ษาค้นคว้า สืบคน้ รวบรวมและจดั เกบ็ ข้อมูลนามสกลุ คนโคราช

-ค่าจัดเก็บขอ้ มูล (๓๒ อำเภอ)( ๓๒x๒,๐๐๐) ๖๔,๐๐๐

-ค่าเรียบเรียงข้อมลู และวิเคราะหข์ ้อมูล ๑๒,๐๐๐

-ค่าจ้างพมิ พ์ตัวอักษร ๕,๐๐๐

-ค่าออกแบบ Art Work ๕,๐๐๐

-ค่าจัดพิมพห์ นังสืออบี ุ๊ค ๑๕,๐๐๐

รวม ๑๐๑,๐๐๐

๓. การจดั กิจกรรมพร้อมเปิดเวทีถา่ ยทอดองค์ความรู้นามสกลุ คนโคราช

-ค่าจัดกจิ กรรมเปิดตัวหนังสอื / โครงการ ๑๐๐,๐๐๐
รวม ๑๐๐,๐๐๐

๔. การจดั หาวสั ดุและอุปกรณ์

-คา่ จัดซ้ือวัสดุและอุปกรณ์ ๓,๐๐๐
รวม ๓,๐๐๐
๒๑๖,๖๐๐
รวมเป็นเงินทั้งสิน้



๖. ขั้นตอนการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม
๖.๑ การประชมุ
- การจดั ประชุมคณะกรรมการการดำเนนิ โครงการ จำนวน ๒ ครัง้
๖.๒ การลงพืน้ ที่คน้ ควา้ สบื ค้น รวบรวมและจดั เก็บข้อมูล
- ครง้ั ท่ี ๑ จำนวน ๓๒ อำเภอ
- ครั้งท่ี ๒ จำนวน ๖ อำเภอ
๖.๓ การประชุมเสวนาโครงการเล่าขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผา่ นนามสกุลคนโคราช ท่ี

สำนักงานวัฒนธรรมจงั หวัดนครราชสมี า ในวันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๗. ผลการดำเนินโครงการ / กจิ กรรม
๗.๑ เชิงปริมาณ
๑. ทายาทผูส้ ืบทอดสกลุ โคราชและประชาชน จำนวน ๕๐๐ คน
๒. ขอ้ มูลองคค์ วามรู้ ( Knowledge Management : KM ) ประวัติศาสตรจ์ งั หวดั นครราชสมี า

๑ เรือ่ ง คอื นามสกลุ คนโคราช
๓. รูปเลม่ เอกสารหรอื สอ่ื อิเล็กทรอนิกสข์ องขอ้ มูลนามสกลุ คนโคราช ๑ ชุด

๗.๒ เชิงคณุ ภาพ
๑. ไดร้ ับรูแ้ ละรวบรวมองคค์ วามรู้ ( Knowledge Management : KM ) นามสกลุ คนโคราช

จงั หวัดนครราชสมี า
๒. ทายาทผู้สืบทอดสกุลโคราชและประชาชนได้ตระหนกั เห็นคณุ ค่าและภาคภมู ิใจใประวัติ

ศาสตร์ทอ้ งถิน่ ของตน
๓. ทายาทผู้สืบทอดสกุลโคราชและประชาชนได้นำข้อมลู สารสนเทศเก่ียวกับนามสกุลคนโคราช

จังหวดั นครราชสีมาทีไ่ ดร้ บั การถ่ายทอดการศกึ ษา / ค้นคว้าและการเผยแพร่ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์

๘. ปัญหาและอุปสรรค
เนอ่ื งจากอยู่ในชว่ งสถานการณก์ ารระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) จึงทำให้การจัดการ

ประชุมไม่สามารถจัดได้เต็มรูปแบบ ต้องเป็นไปตามข้อบังคับ ประกาศ และมาตรการการเฝ้าระวังของ
ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณโ์ ควิด-๑๙ (ศบค.) จึงตอ้ งจัดประชุมปรกึ ษาหารือการรเิ ริม่ โครงการเปน็ กลุ่มอำเภอ
เพอื ใหง้ านสำเรจ็ ลลุ ว่ งด้วยดี



๙. ข้อสงั เกต ข้อเสนอแนะ และประเด็นต้องติดตาม
๙.๒ ขอ้ สงั เกต
การดำเนนิ โครงการทำใหท้ ราบขอ้ มลู เชิงลึกของที่มาของนามสกลุ ในหลายพนื้ ท่ี

๙.๒ ขอ้ เสนอแนะ
ควรจัดประชมุ เสวนาในระดบั พ้นื ที่ ท้งั ๖ กลมุ่ อำเภอ

๙.๓ ประเดน็ ต้องตดิ ตาม
- ทายาทผู้สืบทอดสกุลและประชาชนในทอ้ งถิ่นได้เรยี นรู้ความสำคญั รจู้ กั วิถีชวี ติ รูถ้ งึ คุณค่าของ

ประวตั ศิ าสตร์ในทอ้ งถน่ิ ความเป็นมาของนามสกุลคนโคราช อันจะสร้าง ความภูมใิ จและจิตสำนกึ ในการ
รักบา้ นเกดิ มากขน้ึ

- ทายาทผู้สืบทอดสกุลและประชาชน ได้นำข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับนามสกุลคนโคราช จังหวัด
นครราชสมี า ทีไ่ ด้รับจากการถา่ ยทอดการศึกษา/ คน้ ควา้ และการเผยแพรไ่ ปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์

- สร้างความเป็นน้ำหนึ่งใจเดยี วกนั ใหเ้ กิดต่อทายาทผสู้ บื ทอดสกุลโคราช



ภาคผนวก



โครงการ เล่าขานประวตั ิศาสตร์นครราชสมี า : ผ่านนามสกลุ คนโคราช

๑. หน่วยงานผดู้ ำเนินการหลกั
สภาวัฒนธรรมจังหวดั นครราชสีมา

๒. หน่วยงานผรู้ ว่ มดำเนนิ งาน
๑. สภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครราชสีมา
๒. สำนักงานวัฒนธรรมจงั หวดั นครราชสมี า
3. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน
๔. มหาวิทยาลยั วงษช์ วลิตกุล
๕. ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอจักราช
๖. ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอโชคชัย
๗. ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอด่านขุนทด
8. ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอโนนไทย
9. ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอโนนสงู
๑๐. ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอพมิ าย
๑๑. คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจังหวัดนครราชสีมา
๑๒. องค์การบริหารส่วนจังหวดั นครราชสีมา

๓. หลักการและเหตผุ ลของการจัดโครงการ
สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา เป็นองค์กรภาคเอกชนที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นตาม

พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓ โดยมาตรา ๑๓-๑๘ ที่กำหนดให้มีสภาวัฒนธรรมแห่ง
ประเทศไทย สภาวัฒนธรรมจังหวัด สภาวัฒนธรรมอำเภอและสภาวัฒนธรรมตำบล เป็นองค์กร
ภาคเอกชนอยูภ่ ายใต้การกำกบั ของกรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม กรรมการของสภามที ี่มาจากเครือข่ายภาครัฐ



เครือข่ายภาคเอกชน เครือข่ายชุมชน เครือข่ายภาคธุรกิจ เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน และเครือข่ายภาค
วชิ าการ โดยเป็นกรรมการสภาวฒั นธรรมจังหวดั อำเภอและตำบล มกี ารกำหนดคุณสมบัติ การได้มาเป็น
สมาชกิ การประชมุ การดำเนินการบรหิ ารจดั การ กรรมการเหล่านน้ั และมีบทบาทตามพระราชบัญญัติท่ี
เกี่ยวข้องกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมคือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทาง
วัฒนธรรม พ.ศ.๒๕๕๙ ที่กำหนดขอบเขตเนื้อหาให้ทุกภาคส่วนแสดงบทบาทในการอนุรักษ์ ส่งเสริม
รักษาหรือพัฒนาให้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนครอบคลุม (๑) วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา (๒)
ศิลปะการแสดง (๓) แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล (๔) ความรู้และการปฏิบัติ
เกย่ี วกับธรรมชาติและจักรวาล (๕) งานชา่ งฝมี ือด้ังเดมิ (๖) การเลน่ พนื้ บ้าน กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการ
ตอ่ สู้ปอ้ งกันตวั (๗) ลักษณะอนื่ ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวงวฒั นธรรม

นามสกุล คือ ชื่อบอกตระกูล หรือบอกสกุล เพื่อแสดงที่มาของบุคคลนั้นมาจากครอบครัวไหน
ตระกลู ใด โดยทว่ั ไปนามสกุลจะใช้ตามบิดาผูใ้ หก้ ำเนิดแตบ่ างครั้งอาจใช้นามสกุลของมารดาแทนได้ ความ
เป็นมาก่อนของนามสกลุ ชาวสยาม คือก่อนรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ ๖
เมื่อครั้งนั้นชาวสยามหรือชาวไทยยังไม่มีธรรมเนียมการใช้นามสกลุ คนสยามหรือคนไทยโดยทั่วไปจะมี
เพยี งชอื่ ตัวทพ่ี อ่ แมห่ รืออาจเปน็ ผู้อาวุโสหรือผู้ใหญ่ตัง้ ให้เพื่อใช้เรียกขาน ทั้งนี้การไม่มีนามสกุลทำให้ยาก
ต่อการจดจำบรรพบุรุษหรือญาติเชื้อสายเดียวกัน รวมถึงจะเกิดการสับสน เพราะประชากรจะเพิ่ม
จำนวนมากขึ้นและอาจมีชอ่ื ซำ้ กัน ดังน้ันในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว รัชกาลที่ ๖ ทรง
เห็นความสำคัญของการตั้งนามสกุลและทรงมีพระราชดำริการใช้นามสกุลเพราะทรงตระหนักว่าการท่ี
บ้านเมืองไม่ได้กำหนดให้ราษฎรมีนามสกุลแล้วเมื่อประเทศมีประชากรเพิ่มมากขึ้น ชื่อที่เรียกขานกัน
อาจจะมีซ้ำกันจนเกิดความยุ่งยากสับสนในการปกครองบ้านปกครองเมืองและเรื่องส่วนตัว ดังน้ัน
พระองค์จึงทรงโปรดใหต้ ราพระราชบัญญัตขิ นานนามสกลุ เมือ่ วนั ที่ ๒๒ มนี าคม ๒๔๕๕ และเร่ิมมีผล
บงั คบั ใช้ต้ังแตว่ ันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ เปน็ ต้นมาจนถงึ ปัจจบุ ันโดยเร่ิมใหม้ กี ารกล่าวขานนามสกุล
อนั เปน็ ประโยชน์ต่อการบริหารบา้ นเมอื ง ด้วยทำให้เกดิ การบัญญตั ิวธิ กี ารจดทะเบียนคนเกิด คนตาย และ
การสมรส ซึ่งใช้เป็นหลักฐานสำคัญเกี่ยวกับตัวบุคคล ในพระราชบัญญัติได้วางหลักการมีชื่อตัวและชื่อ
นามสกลุ ไวใ้ ห้เปน็ เรอ่ื งทเ่ี หมาะสม โดยในมาตรา ๑๓ กำหนดใหเ้ สนาบดีมหี น้าท่ีคิดช่อื สกุลแล้วพิมพ์เป็น
เล่มให้นายอำเภอทุกท้องที่ เพื่อให้เป็นเค้าตัวอย่างให้ประชาชนได้เลือกใช้ชื่อและนามสกุลตามความ
เหมาะสม จงั หวัดนครราชสีมานับเปน็ จังหวดั หน่ึงทมี่ ีเอกลักษณข์ องการเรียกขานและการต้ังช่ือสกุลหรือ
นามสกุล ซง่ึ ในระยะแรกของบคุ คลประชาชนโดยท่ัวไปทบ่ี รรพบุรุษไดต้ ้งั ชื่อสกุลหรือนามสกุลนั้นนิยมต้ัง
ตามภูมิลำเนาที่เกิดหรือแหล่งที่อยู่อาศัยโดยใช้ชื่อตำบล อำเภอและหมู่บ้าน เป็นส่วนประกอบท้ายของ
นามสกุล (พรทิพย์ ครามจันทึก, ๒๕๔๘ :๘๗-๘๙ และ วิทยาลัยครูนครราชสีมา, ๒๕๒๙ : ๓-๔) เช่น



นามสกลุ “ขอ้ งกระโทก” มาจากคำวา่ กระโทก ซึง่ เป็นชอ่ื เดิมของอำเภอโชคชัย นามสกุล “ดสี ูงเนิน” .
ซึ่ง มาจากอำเภอสูงเนินที่เดิมเรียกว่า “เมืองเสมา” หรือที่ที่เคยอาศัยนัน้ เป็นด่านหรือเมืองหน้าด่านมา
กอ่ น เชน่ ด่านขนุ ทด เป็นที่มาของนามสกุลท่ีลงทา้ ย “ขุนทด” หรอื ."จันทึก" ท่ีเดิมเป็นเมืองหน้าด่านใน
ดินแดนแถบภาคอีสาน ชื่อว่า "เมืองนครจันทึก" รวมถึง "ด่านนอก" เช่น นามสกุล จันทร์นอก, กลนอก
ทีม่ าจากอำเภอด่านนอกแตเ่ ดมิ ได้เปลี่ยนมาเปน็ อำเภอบวั ใหญ่ในภายหลัง นอกจากน้ใี นการตั้งนามสกุล
ในระยะแรกของคนโคราชยังปรากฏการตั้งตามที่อาศัยของการประกอบอาชีพของบรรพบุรุษด้วย อาทิ
เชน่ ผ้คู นทมี่ าอาศัยบริเวณที่ต้มเกลอื สนิ เธาวเ์ พือ่ นำไปขาย ซ่งึ ในภาษาเขมรใช้คำว่า “ทนั เทยี ะ” แปลว่า
ที่ตม้ เกลือสินเธาว์ ซงึ่ มผี เู้ พมิ่ เติมว่า "สนั เทียะ" อาจเอามาจากสภาพพื้นดนิ ของอำเภอเนือ่ งจากโดยท่ัวไป
พนื้ ดีเป็นดินเคม็ อาชพี ต้มเกลอื สินเธาว์ด้วยกไ็ ด้

แต่ทั้งนี้การตั้งนามสกุลของคนโคราชบางตระกูลยังมีความเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์ของ
บา้ นเมืองและประเทศชาติด้วยดงั ตวั อย่างของตระกูล “ณ ราชสีมา” สืบเนอ่ื งมาจากจงั หวดั นครราชสีมา
ถอื ได้วา่ เปน็ จังหวัดท่ีมีความสำคัญและเปน็ สว่ นหนง่ึ ของประวัติศาสตร์ท่เี กย่ี วพันกับความเป็นชาติไทยมา
อยา่ งต่อเนอ่ื งในทกุ ช่วงยคุ สมัย ดังปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เหน็ ไดอ้ ย่างชัดเจนต้ังแต่สมัยกรุง
ศรอี ยุธยา ทงั้ เอกสารทางประวัติศาสตรจ์ ากส่วนกลางกลา่ วถงึ ความสำคญั ของเมืองนครราชสีมาในฐานะ
หัวเมอื งสำคญั หัวเมอื งหน่ึงท่มี ีอำนาจทางการเมอื งและเป็นหัวเมืองทีม่ ีความสัมพนั ธ์อันดตี อ่ กรุงศรีอยุธยา
โดยทั้งนี้ได้พบร่องรอยที่เก่าแก่ที่สุดตามหลักฐานที่ปรากฎเกี่ยวกับเมืองนครราชสีมาปรากฎอยู่ในกฎ
มณเฑยี รบาล ท่ีอาจตราขึ้นในสมยั พระบรมไตรโลกนาถ ราว พ.ศ. ๑๙๙๑-๒๐๓๑ (อคนิ รพีพฒั น์, ๒๕๒๗
: ๒๘๐) ในกฎมณเฑียรบาลไดร้ ะบุว่า เมืองนครราชสีมาเป็นพระยามหานครเมอื งหนึ่งในจำนวน ๘ เมือง
ทีต่ อ้ งทำการถอื พิธนี ำ้ พิพัฒน์สตั ยาต่อพระมหากษัตรยิ ์ คร้ันต่อมาเม่อื เขา้ สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ได้มกี ารปฎิรปู การปกครองหวั เมอื ง ซง่ึ มีการเปลย่ี นแปลงทีส่ ำคญั คอื ยกเลกิ เมอื งพระยามหานครและได้มี
การจัดหัวเมืองขึ้นใหม่เป็นหัวเมือง เอก โท ตรี และจตั วา ตามความสำคัญของยุทธศาสตร์และกำลังของ
ไพร่พล (คลอริช เวลส์, ๒๕๑๙ : ๑๗๐) เมืองนครรราชสีมามีความสำคัญในฐานะเมอื งช้ันโทมีหน้าที่เป็น
เมืองหนา้ ด่านสำคัญชายแดนตะวันออกให้แก่อยุธยาและได้ปรากฎหลักฐานเกย่ี วกับบทบาทของเจ้าเมือง
นครราชสีมาเปน็ ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๑๓๖ โดยได้นำกองกำลังชาวเมืองนครราชสมี าจำนวน ๑,๐๐๐ คน
เข้าร่วมกบั กองทัพของกรงุ ศรอี ยุธยาในการเข้าโจมตีเมอื งเสียมราฐ (ประชุมพงศาวดาร เล่ม ๓๘ (ประชุม
พงศาวดาร ภาค ๖๔). ๒๕๑๒ : ๒๗๖) ทั้งนใี้ นฐานะท่ีเป็นเมืองช้ันโทและเปน็ เมืองหน้าด่านนี้ บุคคลที่จะ
ได้รบั ตำแหน่งเป็นเจ้าเมอื งนครราชสีมาจะได้รับการแตง่ ตงั้ มาจากเมอื งหลวงโดยมยี ศประจำตำแหน่งเป็น
เจา้ พระยามีศักดนิ า ๑๐,๐๐๐ ไร่ มรี าชทินนามว่า กำแหงสงครามรามภกั ดพี ีรียะภาหะ สมัยพระนารายณ์



มหาราชเมอื งนครราชสีมาเปน็ ยุทธศาสตร์สำคญั ในการป้องกนั ภัยจากเมืองรายลอ้ มและเปน็ เมืองควบคุม
กำลังคนและผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจท่สี ำคญั ของอยุธยา (นธิ ิ เอยี วศรวี งศ์, ๒๕๒๗ : ๑๗)
สมัยกรุงธนบุรีสมเด็จพระเจ้าตากสินนับเป็นครั้งแรกที่ขุนนางท้องถิ่นได้รับการยอมรับให้เข้ามาดำรง
ตำแหน่งเจา้ เมืองนครราชสมี า ในสมัยรตั นโกสินทร์ ภายใต้การสนับสนนุ และไวว้ างใจจากพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๓๒๕ เมืองนครราชสีมาอยู่ภายใต้อำนาจการปกครองของขุนนาง
ตระกูล ณ ราชสีมา ซึ่งได้แก่ เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา) ที่เข้ามาดำรงตำแหน่งเจ้าเมือง
นครราชสีมาหรือพระยานครราชสีมา ใน พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๔๐ ด้วยเคยมีบทบาทสำคัญในช่วงปลายกรุง
ธนบุรีที่เคยส่งเสริมอำนาจทางการเมืองของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (นิธิ เอียวศรีวงศ์,
๒๕๒๙ : ๒๒๘-๒๒๙) และเมือ่ ทา่ นอนิจกรรมลงทายาทของทา่ นได้ดำรงตำแหน่งเป็นเจา้ เมอื งนครราชสีมา
ซงึ่ ไดแ้ ก่ พระยานครราชสมี า (เท่ียง ณ ราชสีมา) บุตรคนท่ี ๒

ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๔๐-๒๓๖๖ ซึ่งนับจากนี้จะปรากฏว่า ตระกูล ณ ราชสีมา จะเข้ามามีบทบาท
ทางด้านความสัมพันธใ์ กล้ชิดและบทบาททางทหารนอกเหนือจากบทบาททางการเมืองตั้งแต่ต้นรัชกาล
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด ็ จ พ ร ะ พ ุ ท ธ เ ล ิ ศ ห ล ้ า น ภ า ล ั ย โ ด ย อ า ศ ั ย ก า ร อ ุ ป ถ ั ม ถ ์ จ า ก ก ร ม ห ม ื ่ น เ จ ษ ฎ า บ ด ิ น ท ร์
(พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยูห่ ัว) ต่อมาเมือ่ สมยั เจ้าพระยานครราชสมี า (ทองอินทร์ ณ ราชสีมา)
พ.ศ. ๒๓๖๖-๒๓๘๘ เข้ามีบทบาทสำคัญในสถานการณ์การเมืองภูมิภาคของอีสานและลาวในสมัย
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และต่อมาลูกหลานของตระกูล ณ ราชสีมา ตามเอกสารใน
จดหมายเหตุนครราชสมี าได้รบั ตำแหนง่ ทางราชการเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ตระกูล ณ ราชสีมา ยังมี
เชื้อสายตระกูลเป็นสายตระกูลอื่นอีกด้วย อาทิเช่น อินทรกำแหง อินทโสฬส มหาณรงค์ นิลนานนท์
เนียมสุริยะ ชูกฤสอินทนุชิต คชวงศ์ ศิริพร และเชิญธงไชย เป็นต้น (จดหมายเหตุนครราชสีมา,๒๔๙๗ :
๑๗-๑๘) เมื่อเจ้าพระยานครราชสมี า (ทองอินทร์ ณ ราชสีมา) ได้ถึงอนิจกรรม พระบาทสมเด็จพระนง่ั
เกล้าเจา้ อยู่หัวได้สง่ พระยาไชยวิชิตสิทธิสาตรา (ขำ ณ ราชสีมา) มาเป็นเจา้ เมืองนครราชสมี า และในสมัย
รัชกาลที่ ๙ ในวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๔ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้
ทรงพระกรุณาพระราชทานนามสกลุ แก่อนุชนผู้สืบสายสกุลมาแต่ท่านเจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) และ
ท่านเจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร)์ วา่ “ณ ราชสีมา”

จากนามสกุลของคนโคราชเพียงบางส่วนดังที่ได้ยกตัวอย่างที่ได้กล่าวข้างต้นแล้ วนั้นล้วนมี
เอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะของท้องถิ่นจังหวัดนครราชสีมาและรวมถึงนามสกุลที่มีความเกี่ยวพันและมี
บทบาททางการเมืองต้งั แต่ปลายสมัยกรุงธนบุรีถงึ สมัยรตั นโกสินทร์ตอนตน้ อย่างนามสกุล “ณ ราชสีมา”
ล้วนเป็นเรื่องราวที่สะท้อนความเป็นคนโคราชอันเป็นองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและ

๑๐

ประวัติศาสตร์จังหวัดนครราชสีมาที่ควรค่าแก่การศึกษา สืบค้นรวบรวม จัดเก็บข้อมูลและเผยแพร่องค์
ความรูแ้ ก่ทายาทผสู้ ืบทอดสกุลและประชาชนชาวนครราชสมี า รวมถงึ ประชาชนโดยทั่วไปให้ได้รบั รู้

๔. วัตถุประสงคข์ องโครงการ
๔.๑. เพอื่ ศกึ ษาข้อมูลทอ้ งถนิ่ รวบรวมและจัดเกบ็ ขอ้ มูลนามสกลุ คนโคราชจงั หวดั นครราชสมี า
๔.๒. เพื่อให้ทายาทผู้สืบทอดสกุลและประชาชนคนในท้องถิ่นได้เรียนรู้ความสำคัญ รู้จักวิถีชีวิต

รู้ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ในท้องถิ่นความเป็นมาของนามสกุลคนโคราช อันจะสร้างความภูมิใจและ
จิตสำนกึ ในการรักบา้ นเกดิ

๔.๓. เพื่อให้ทายาทผู้สืบทอดสกุลและประชาชน ได้นำข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับนามสกุลคนโคราช
จังหวัดนครราชสมี า ทีไ่ ดร้ ับจากการถ่ายทอดการศึกษา/ ค้นคว้า และการเผยแพรไ่ ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์

๔.๔. เพ่อื หล่อหลอมสรา้ งความเปน็ น้ำหน่งึ ใจเดียวกนั ใหเ้ กิดต่อทายาทผู้สืบทอดสกุลโคราช

๕. ขอบเขตการดำเนินโครงการ
๕.๑ ระยะเวลาดำเนินโครงการ
เดือน กรกฎาคม ถงึ เดือน ธันวาคม ๒๕๖๔

๖. งบประมาณ
ขอรับการสนบั สนุนงบประมาณจากกรมส่งเสริมงานวฒั นธรรม จำนวนทง้ั ส้นิ ๑๙๓,๐๐๐.- บาท (หน่ึง
แสนเกา้ หม่นื สามพันบาทถ้วน) + สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ๒๓,๖๐๐ บาท (สองหมนื่ สามพันหก
รอ้ ยบาทถ้วน) รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สน้ิ ๒๑๖,๖๐๐ บาท โดยมรี ายละเอยี ดประมาณการคา่ ใช้จา่ ย ดังน้ี

๖.๑ การจดั ประชมุ ฯ
- ค่าอาหาร / เครื่องดื่มประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน จำนวน ๒๐ คน ๒,๔๐๐ บาทคน

ละ ๑๒๐ บาท (๒๐x๑๒๐)
- คา่ อาหาร / เครอื่ งดม่ื จดั เสวนาโครงการเลา่ ขานประวตั ศิ าสตร์นครราชสีมา

๗,๒๐๐ บาท ผา่ นนามสกุลคนโคราช จำนวน ๖๐ คน คนละ ๑๒๐ บาท (๖๐x๑๒๐)
- คา่ ตอบแทนวทิ ยากร ๓,๐๐๐ บาท

รวม ๑๒,๖๐๐ บาท

๑๑

๖.๒ การศึกษาค้นคว้าสืบค้น รวบรวมและจัดเกบ็ ข้อมูลนามสกุลคนโคราช

- คา่ จัดเก็บข้อมูล (๓๒ อำเภอ) ( ๓๒x๒,๐๐๐) ๖๔,๐๐๐ - บาท

- คา่ เรยี บเรียงข้อมูลและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ๑๒,๐๐๐.- บาท

- ค่าจ้างพมิ พ์เอกสาร ๕,๐๐๐.- บาท

- ค่าออกแบบ Art Work ๕,๐๐๐.- บาท

- คา่ พิมพ์หนังสืออบี ุ๊ค ๑๕,๐๐๐.- บาท

รวม ๑๐๑,๐๐๐ บาท

๖.๓ การจัดกิจกรรม พร้อมเปิดเวทถี ่ายทอดองคค์ วามรู้นามสกุลคนโคราช

- ค่าการจัดกจิ กรรมเปิดตัวหนงั สอื / โครงการฯ ๑๐๐,๐๐๐. – บาท

๖.๔ ค่าวสั ดแุ ละอุปกรณส์ ำนักงาน รวม ๑๐๐,๐๐๐ บาท
- วสั ดแุ ละอุปกรณส์ ำนกั งาน ๓,๐๐๐ บาท

รวม ๓,๐๐๐ บาท

รวมหมดท้ังสนิ้ ๒๑๖,๖๐๐ บาท

๗. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รับ
- ได้ข้อมลู เก่ยี วกับนามสกุลคนโคราชจังหวดั นครราชสีมา
- ส่งเสริม สืบสาน ความรู้ประวัติศาสตร์นครราชสีมา :ผ่านนามสกุลคนโคราช ประชาชนได้

ตระหนักเหน็ คณุ ค่าในประวัตศิ าสตร์ท้องถ่ินของตน
- ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้นำข้อมูล สารสนเทศ เกี่ยวกับนามสกุลคนโคราช

จงั หวดั นครราชสมี า ทไ่ี ดร้ ับจากการศกึ ษา/ ค้นควา้ และการเผยแพร่ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์
- สนบั สนนุ ให้ทายาทสกุลโคราช ไดร้ วมตวั กันเปน็ ปึกแผน่ สรา้ งความรกั และความสามัคคีสำนึก

รกั บา้ นเกดิ ของตน

๑๒

ภาพกจิ กรรม

๑๓

การประชุมคณะกรรมการจัดทำโครงการ
โครงการเลา่ ขานประวตั ศิ าสตร์นครราชสมี า ผา่ นนามสกุลคนโคราช

๑๔

การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้นามสกุลคนโคราช

นายจำลอง ครฑุ ขุนทด
ทป่ี รกึ ษาสภาวัฒนธรรมจงั หวัดนครราชสีมา
ประธานกล่าวเปดิ โครงการเสวนาเล่าขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผ่านนามสกลุ คนโคราช

เลา่ ขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผา่ นนามสกลุ คนโคราช

๑๕

ร่วมฟังการเสวนาโครงการ
เลา่ ขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

นายไชยนันท์ แสงทอง วัฒนธรรมจงั หวดั นครราชสีมา
กลา่ วตอ้ นรบั การเสวนาโครงการเล่าขานประวตั ิศาสตรน์ ครราชสีมา ผา่ นนามสกุลคนโคราช

๑๖

ร่วมฟงั การเสวนาโครงการ
เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผา่ นนามสกลุ คนโคราช

นางเอมอร ศรกี งพาน ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวดั นครราชสมี า
กลา่ วต้อนรับการเสวนาโครงการเลา่ ขานประวตั ิศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกลุ คนโคราช

๑๗

รว่ มฟังการเสวนาโครงการ
เลา่ ขานประวตั ศิ าสตร์นครราชสมี า ผ่านนามสกลุ คนโคราช

รศ.ดร. จำเริญรัตน์ จิตตจ์ ริ จรรย์ ผอ.หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต ม.วงษ์ชวลิตกลุ นครราชสีมา
ประธานนำการเสวนาโครงการเล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

ผอ.นิคม คมพิทยากุล
คือ ผใู้ ห้ขอ้ มูลนามสกลุ ลงทา้ ยดว้ ยขุนทดและพนั ชนะ

ภาพสมุดขอ่ ยทอี่ า้ งถึงการต้ังอำเภอดา่ นขนุ ทด

๑๘

ร่วมฟงั การเสวนาโครงการ
เล่าขานประวัติศาสตรน์ ครราชสีมา ผา่ นนามสกลุ คนโคราช

ภาพบรรยากาสในการเสวนาโครงการ
เล่าขานประวัติศาสตรน์ ครราชสมี า ผ่านนามสกุลคน

โคราช

๑๙

ร่วมฟงั การเสวนาโครงการ
เลา่ ขานประวตั ศิ าสตรน์ ครราชสมี า ผ่านนามสกลุ คนโคราช

ประธานสภาวัฒนธรรมจงั หวดั นครราชสมี า มอบของที่ระลกึ ใหก้ บั
ท่านจำลอง ครฑุ ขนุ ทด ทีป่ รกึ ษาสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา



๒๐

การสบื คน้ ข้อมูลนามสกลุ ของคนโคราช
แต่ละอำเภอผ่านเว็บไซต์

ท่ีมา : วิกพิ ีเดีย สารานกุ รมเสรี, https://th.wikipedia.org/wiki/อำเภอเมอื งนคราชสีมา.

๑ . ประวัตอิ ำเภอเมอื งนคราชสีมา
อำเภอเมืองนครราชสีมามีชื่อเรียกตามความถนัดของชาวพื้นเมืองว่า "โคราช" เรียกตามภาษา

ราชการว่า "เมืองนครราชสีมา" เหตุที่เรียก ๒ ชื่อ ด้วยปรากฏว่าตามหลักฐานโบราณคดีเรื่องงานข้างตน้
วนิ จิ ฉัยชื่อเมืองนครราชสมี าว่า ก่อนท่ีจะสร้างขน้ึ ในสถานท่ีปัจจุบัน เดมิ มีเมอื งโบราณอยู่ ๒ เมือง ซึ่งอยู่
ทางขวาของลำตะคอง ปจั จบุ นั อยใู่ นเขตอำเภอสงู เนิน เมืองทหี่ นึ่งอย่ทู างฝงั่ ซ้ายของลำตะคองมชี ่อื เรียกวา่
เมอื งโคราช จากหลักฐานทีไ่ ด้สำรวจพบวา่ ในบริเวณเมอื งท้ังสอง เมืองเสมาสร้างเมอื งขนึ้ มาใหม่ ต่อมาได้
ข้ามมาสรา้ งเมอื งโคราชข้ึนอีกเป็นเมืองใหม่ ท้งิ เมืองเสมาให้เป็นเมอื งร้างในทีส่ ุด

ช่อื เมอื งโคราช น่าจะเพยี้ นมาจากชื่อเมือง "นครราช" ในภาษาเขมร และไม่นา่ นำมาจากชื่อเมือง
"โคราฆะปุระ" ในมัชฌิมประเทศ เนื่องจากเมืองโคราฆะปุระเป็นเมืองที่สร้างขึ้นในอินเดีย ราว
ครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๑๓ ซึ่งมอี ายุนอ้ ยกวา่ อารยธรรมขอม-ทวาราวดขี องเมืองเสมามาก

ต่อมาสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ทรงยา้ ยเมอื งโคราชและเมืองเสมามาสร้างในที่ตั้งปัจจบุ นั
และตัง้ ช่อื ใหมว่ า่ เมอื งนครราชสีมา เมอื งทส่ี รา้ งขนึ้ ใหม่นี้เป็นเมอื งหน้าดา่ น มีคูล้อมรอบและมปี ระตูเมือง
๔ ประตู คอื ทศิ เหนือ เรยี กวา่ ประตูพลแสน หรือ ประตนู ้ำ

ทิศใต้ เรยี กว่า ประตูไชยณรงค์ หรอื ประตูผี
ทิศตะวันออก เรียกวา่ ประตพู ลลา้ น
ทิศตะวันตก เรียกว่า ประตชู ุมพล

_________________________________________________________________________

๒๑

ที่มา : สำนกั งานพฒั นาชุมชนอำเภอปักธงชยั จังหวัดนครราชสีมา กรมการพฒั นาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย https://district.cdd.go.th/pakthongchai/ประวตั ิความเปน็ มา.

๒. ประวัติอำเภอปักธงชัย
สมัยโบราณ เดิมปกั ธงชยั เป็นเมอื งโบราณต้ังแตข่ อมเรอื งอำนาจ ทัง้ นี้สนั นษิ ฐานได้จากเขตอำเภอ

ปักธงชัยมีซากปรกั หักพังของปรางค์ หรือ เทวาลัยหลายแห่งที่เป็นศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมที่ขอม
นิยมสร้างตามเมืองต่างๆ ที่ตนปกครองอยู่ใหญ่บ้าง เล็กบ้างตามความสำคัญของแตล่ ะเมือง เช่น ปรางค์
นาแค ปราสาทสระหิน ปรางคบ์ า้ นปรางค์ ปรางคก์ ่เู กษม

ในสมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานที่ปรากฏตามแผนที่ยุทธศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยาได้ปรากฏ
ชื่อ เมืองปักว่าตั้งอยู่ใกล้เมืองนครราชสีมา ความสำคัญก็คือ เป็นเมืองหน้าด่านทางทิศใต้ของเมือง
นครราชสมี า เพ่ือเป็นกองระวงั หน้าคอยสอดแนมข้าศกึ และคอยปะทะขัดขวางหนว่ งเหนย่ี วไม่ให้ข้าศึกยก
ทัพประชิดเมอื งนครราชสมี าเร็วเกินไป เมอื งปกั ในสมัยนจ้ี ึงถกู ตง้ั และเรียกวา่ “ดา่ นจะโปะ” เชน่ เดียวกับ
ดา่ นเกวยี น ด่านจอหอ ดา่ นขนุ ทด เปน็ ต้น

ในสมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. ๒๓๒๑ ในรัชสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีโปรดฯให้สมเด็จเจ้าพระยามหา
กษัตริย์ศึก (รัชกาลที่ 1) ยกกองทัพไปปราบเมืองเวียงจันทน์และได้รับชัยชนะขากลับ จึงได้กวาดต้อน
เชลยชายหญิงพร้อมกับเพี้ยอุปราช และ ให้ไปพักอาศัยอยู่ที่ด่านจะโปะครั้นชาวเมืองเวียงจันทน์ต้ัง
บา้ นเรอื นเป็นหลกั ฐานม่นั คงแล้ว เจ้าพระยานครราชสมี า (ปิน่ ) จงึ กราบบงั คมทลู สมเด็จพระเจ้ากรงุ ธนบุรี
ขอพระราชทานพระบรมราชานญุ าตตั้งด่านจะโปะเป็นเมอื ง เรียกวา่ “เมืองปัก” (ยงั ไมม่ คี ำวา่ ธงชยั ) และ
ได้กราบบงั คมทูลขอให้เพี้ยอุปราชเป็นเจ้าเมืองปักคนแรก พระราชทานนามว่า “พระยาวงศาอรรคราช”
(ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นต้นตระกูลวรธงไชย ขณะนี้) เมืองปักในสมัยนี้เป็นเมืองชั้นตรีขึ้นตรงต่อเมือง
นครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๓

ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. ๒๓๖๙ เจ้าอนุวงศ์แห่งเมืองเวียงจันทน์ยกทัพมายึดเมือง
นครราชสีมาและได้กวาดต้อนชาวเมืองไป แต่ถูกคุณหญิงโมและชาวเมืองนครราชสีมาต่อสู้กับทหาร
เวียงจันทน์จนได้รับชัยชนะและได้พระราชทานนามว่า “ ท้าวสุรนารี ” การกวาดต้อนเชลยคราวน้ัน
ทหารเจา้ อนุวงศแ์ ห่งเมืองเวียงจันทน์ ไดม้ ากวาดต้อนชาวเมอื งปักท้ังชาวไทยโคราช และ ชาวเวียงจันทน์
ซง่ึ ชาวเวยี งจนั ทร์ได้อพยพมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารต้ังแตส่ มัยกรุงธนบุรี ต่างก็มีที่ทำมาหากนิ สุขสบายมา
เป็นเวลา ๔๗ ปี จึงพร้อมใจกันจับอาวุธต่อสู้ขับไล่ทหารของเจ้าอนุวงศ์พ่ายแพ้กลับไป (ปัจจุบันชาว
เวียงจันทน์เป็นบรรพบุรุษ ของชาวตำบลตะคุทั้งตำบล ตำบลเมืองปักบางหมู่บ้าน ตำบลธงชัยเหนือบาง
หมู่บ้าน ตำบลบลสะแกราชบางหมบู่ ้าน ตำบลตะขบบางหมู่บ้าน)

๒๒

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/nonthai/about-us/ประวตั คิ วามเปน็ มา.

๓. ประวัตอิ ำเภอโนนไทย

พ.ศ. ๒๓๗๕ อำเภอโนนไทย เดิมเรียกว่า “แขวงสันเทียะ” ทางราชการได้มีการปรับปรุงการ
ปกครองโดยต้ังเป็นด่านและแขวงขึน้ บ้านสันเทยี ะได้ยกเปน็ แขวงและตง้ั ด่านทบี่ า้ นดา่ นจาก บ้านตา่ นกรง
กราง มีผูป้ กครองเรียกวา่ “ขนุ ด่าน” (เทียบกำนนั ) และ “หมนื่ ดา้ น” (เทียบสารวตั รกำนัน) แขวงสนั เทียะ
นีก้ นิ ตลอดไปถึงตำบลสงู เนินทั้งหมด(ปจั จบุ ันคืออำเภอสูงเนนิ ) และด้านทิศตะวันตกติดต่อกับแขงพนั ชนะ
(ตำบลพันชนะ อำเภอดา่ นขนุ ทดในปจั จบุ นั ) คำว่า “สันเทยี ะ” มกี ารสันนิษฐานว่ามาจาก ๓ ประเดน็ คอื

ประเดน็ ที่ ๑ เลา่ กันวา่ เดมิ เป็นทอี่ ยู่ของชาวกัมพูชาทม่ี าอาศัยต้มเกลอื สนิ เธาว์เพอ่ื นำไปขายและ
อาศัยน้ำจากลำห้วยทางเหนือของหมู่บ้านในการหุงต้มเกลือและอุปโภคบริโภค ภาษาเขมรคำว่า
“สันเทยี ะ” แปลวา่ ทตี่ ้มเกลอื สินเธาวแ์ ละยงั มีผู้เพิม่ เตมิ วา่ “สนั เทียะ”อาจมาจากสภาพพน้ื ดนิ ของอำเภอ
เนื่องจากโดยทั่วไปพน้ื ดนิ เปน็ ดนิ เค็ม

ประเด็นที่ ๒ มาจากสภาพภูมิศาสตร์ในภาษาลาว คำว่า “สันเทีย” แปลว่า บ้านที่ตั้งอยู่บนสนั
โนนท่ดี ินและเนือ่ งจากพนื้ ดินเป็นดินทรายเม่ือถงึ ฤดูฝนจะช้นื แฉะไปทัว่ ทงั้ หมู่บา้ น

ประเด็นที่ ๓ สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า “ศาลเตี้ย” เพราะแขวงสันเทียะเดิมมีเรือนจำสำหรับ
นกั โทษและมีการชำระคดที แ่ี ขวงน้ี ดงั น้ันคำวา่ “ศาลเตีย้ ” จึงนา่ จะเพย้ี นมาเปน็ สันเทยี ะ

ท่ีมา : สำนกั งานพฒั นาชุมชนอำเภอสูงเนนิ จงั หวดั นครราชสมี า กรมการพัฒนาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/sungnoen/about-us/ประวัตคิ วามเป็นมา.

๔. ประวตั ิอำเภอสูงเนิน

ที่มาของคำว่า "สูงเนิน" เป็นคำเรียกตามลักษณะภูมิประเทศ ซึ่งเป็นที่ราบสูงและเป็นเนิน เดิม
เรียกว่า "บ้านสองเนิน" เพราะมีเนินดินอยู่สองฟากบึงแห้ว (บึงใหญ่ซึ่งมีน้ำตลอดปี) ต่อมาภายหลังจึง
เพย้ี นมาเป็น "สงู เนนิ " เดมิ ข้นึ อยกู่ ับอำเภอสนั เทยี ะ (อำเภอโนนไทยในปัจจุบัน) ตอ่ มาสมยั รชั กาลท่ี ๕ มี

๒๓

การสรา้ งทางรถไฟสายกรงุ เทพ - นครราชสมี า และ ทางรถไฟตัดผ่านเขา้ สงู เนิน อนั เปน็ ชุมชนใหญ่ ทำให้
การคมนาคมระหวา่ งบ้านสูงเนนิ กบั ตัวจงั หวดั นครราชสีมา สะดวกสบายกว่าการตดิ ต่อกับอำเภอสันเท่ียะ
(โนนไทย) อีกทั้งประชาชนมาอยู่อาศัยในหมู่บ้านสูงเนินมากข้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ทางราชการจึงยก
ฐานะเป็นอำเภอสงู เนิน โดยแยกตา่ งหากจากอำเภอสันเทียะ(โนนไทย) และใช้ช่ือหมู่บ้านเป็นช่ือ “อำเภอ
สงู เนนิ ”

อำเภอสูงเนนิ มเี มอื งสำคัญอยู่ ๒ เมือง คือ เมืองเสมา และเมอื งโคราฆะปุระหรอื เมืองโคราช ซ่ึง
เมืองทั้งสองเป็นเมืองประวัติศาสตร์ของชาติไทยมาช้านานตั้งแต่สมัยสุวรรณภูมิ ต่อมาจึงได้ยุบเมืองทงั้
สอง ไปเป็นเมืองนครราชสีมา อำเภอสูงเนิน ได้จัดต้งั ข้ึนเมอื่ วันท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ (ร.ศ.๑๑๘)

ทม่ี า : สำนกั งานพัฒนาชุมชนอำเภอสคี วิ้ จงั หวัดนครราชสมี า กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/sikhio/about-us/ประวัตคิ วามเป็นมา.

๕. ประวัตอิ ำเภอสีคิว้

อ.สีค้วิ เป็นเมืองหน้าด่าน ในดินแดนแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เป็นถิ่นทอี่ ยู่ของไทยที่อพยพ
มาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือของประเทศไทย เดิม อ.สีคิ้ว ชื่อว่า "เมืองนครจันทึก"
เป็นเมืองอสิ ระเมืองหนึ่ง ขึ้นตรงตอ่ เมืองหลวง มีเจ้าเมืองปกครอง จะตั้งชื่อเมื่อวัน เดือนปีใด ไม่ปรากฏ
หลกั ฐานท่ีแน่นอน สอบถามจากคนเก่า ๆ ไดค้ วามว่า ตั้งเมอื งอยู่ ณ บ้านจนั ทึก ม.3 ต.นครจันทึก คือ เจา้
เมอื งคนแรก ชื่อ พระนคร (แกว้ ) เจ้าเมืองคนท่ี ๒ ชือ่ พระนคร (ตนุ่ ) เจา้ เมอื งคนท่ี ๓ ชอ่ื พระนคร (โต)
เจา้ เมอื งคนที่ ๔ ชือ่ พระนคร (ตา)

เจ้าเมืองคนที่ ๔ ภูมิลำเนาอยู่บ้านมะเกลือเก่า ท้องที่ อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา ทุกวันนี้ ต่อมา
เมืองนครราชสีมาตั้งขึ้นแล้ว เห็นว่าเมืองนี้อยู่ในป่าดงทึบไข้ป่าชุกชุม และไม่สะดวกแก่การติดต่อเมือง
หลวง จึงเปลีย่ นเป็นเมืองหนา้ ด่านเรียกว่า "ดา่ นจันทึก" ท่ตี ั้งด่านอยู่ ณ บา้ นจนั ทึก ม.๓ ต.จนั ทึก

ปัจจบุ ันเป็นทตี่ ั้งของสถานีรถไฟจันทึก นายด่านคนแรกชอ่ื หลวงพล หนายดา่ นคนที่ ๒ ชื่อ หม่ืน
ด่าน (จัน) เมื่อเลิกด่านแล้ว จึงเปลี่ยนเป็นอำเภอเรียกว่า "อำเภอสีคิ้ว" เมื่อวันที่ ๑ เมษายน ร.ศ.๑๑๗
(พ.ศ.๒๔๔๑) ต่อมา เมื่อ ร.ศ.๑๒๐ (พ.ศ.๒๔๔๔) ในสมัยที่หลวงเทพโอสถ ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ได้
ย้ายที่ว่าการ อ.สีคิ้ว จากบ้านจันทึกมาตั้ง ณ บ้านหนองบัว ม.๑ ต.ลาดบัวขาว ใน พ.ศ.๒๔๔๙ ขณะที่
หลวงแผลงฤทธา ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ได้ย้ายที่ว่การอำเภอจากาบ้านหนองบัว มาตั้ง ณ บ้านสีค้ิว

๒๔

ม.๒ อ.สคี ิ้ว สาเหตุท่ตี อ้ งยา้ ยทว่ี า่ การอำเภอสีคว้ิ บ่อย ๆ น้นั เน่อื งจากบา้ นจันทึก และบ้านหนองบัวต้ังอยู่
ในเขตดงพญาเย็น (พญาไฟ) มีไข้ป่า (มาลาเรีย) ชุกชุมเป็นทีเ่ กรงกลัวของข้าราชการยิ่งนัก จึงได้ย้ายมา
อยู่ที่บ้านสีคิ้ว ซึ่งอยู่นอกเขต ดงพญาเย็นดังกล่าวแล้ว เมื่อ อ.จันทึก ย้ายมาอยู่ที่บ้านสีคิ้ว ปรากฏว่า
ประชาชนที่มาติดต่อราชการมักเข้าใจขึ้นรถไฟไปลงที่สถานีจันทึกบ่อย ๆ ทางราชการจึงได้มีการ
เปลีย่ นแปลงชอื่ อ.จันทกึ เปน็ อ.สีควิ้ เมอื่ วันที่ ๑ เม.ย. พ.ศ.๒๔๘๒ ในสมัยท่ีนายชำนาญ กระบวน ดำรง
ตำแหนง่ นายอำเภอเพือ่ ให้ตรงกบั ชือ่ สถานรี ถไฟและช่ือหมบู่ ้าน ซึง่ เป็นที่ต้ังของท่วี า่ การอำเภอ
__________________________________________________________________________

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย https://district.cdd.go.th/chokchai/about-us/ประวัตคิ วามเปน็ มา

๖. ประวตั ิอำเภอโชคชยั

ตามหลักฐานศิลปากรปีที่ ๑ เลม่ ๒๔๘๘ อกั ขรนกุ รมภมู ศิ าสตร์ จ.นครราชสีมา "อำเภอโชคชัย"
น้ีเดมิ เป็นด่านเรียกวา่ "ด่านกระโทก" เมือ่ ครงั้ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรียกทัพมาตอ่ สู้กับกองทัพของหมื่น
เทพพิพิธและได้รับชัยชนะ ณ ที่แห่งนี้ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕
พระองค์ทรงจัดระเบียบการปกครองออกเป็นมณฑล ภาคจังหวัด และได้ยกฐานะด่านกระโทก ขึ้นเป็น
อำเภอกระโทก เมอ่ื พ.ศ.๒๔๔๙ จวบจนถึงปี พ.ศ.๒๔๘๘ ทางราชการพิจารณาเห็นว่า คำว่า "กระโทก" มี
สำเนียงและความหมายไม่เหมาะสม และเพื่อให้เป็นไปตามความหมายเชิงประวัติศาสตร์ในอันที่จะให้
อนุชนรุ่นหลัง ได้รำลึกถึงความเป็นมาของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ผู้ประกอบคุณงามความดีให้กับ
ประเทศชาติ และทำการรบได้ชัยชนะ ณ ทแ่ี ห่งน้ี จงึ ไดเ้ ปล่ียนนามอำเภอใหมว่ ่า "อำเภอโชคชยั "

๒๕

ท่มี า : สำนักงานพัฒนาชมุ ชนอำเภอจกั ราช จังหวัดนครราชสีมา กรมการพฒั นาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/chakkarat/about-us/ประวตั ิความเปน็ มา.

๗. ประวตั อิ ำเภอจักราช

อ.จักราช ไดร้ บั การยกฐานะเป็นกง่ิ อำเภอเมื่อปี ๒๔๗๒ เดิมเรียกว่า "ก่ิงอำเภอท่าช้าง" ขน้ึ อยู่กับ
อำเภอเมอื งนครราชสีมา ท่ีว่าการกงิ่ ตัง้ อยู่ ณ บา้ นทา่ ช้าง อ.เฉลิมพระเกียรติในปจั จุบนั ต่อมาในปี ๒๔๙๖
จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอ เรียกว่า "อำเภอจักราช" และเป็นหน่ึงในหลายอำเภอของจังหวัดทีม่ ี
ทางรถไฟสายตะวันออกเฉยี งเหนอื พาดผ่าน อำเภอนี้มแี หล่งนำ้ ที่สำคัญคือลำน้ำจักราช ซ่งึ ลอดใต้สะพาน
รถไฟบรเิ วณทศิ ตะวันตกของสถานีรถไฟจกั ราช

ท่ีมา : สำนกั งานพัฒนาชมุ ชนอำเภอพมิ าย จังหวดั นครราชสมี า กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/phimai/about-us/ประวตั ิความเป็นมา.

๘. ประวัตอิ ำเภอพมิ าย

อ.พิมาย เปน็ อำเภอทมี่ ีขนาดใหญ่อำเภอหนงึ่ เดมิ มีช่ือเรยี กวา่ "อำเภอเมืองพมิ าย" ซ่งึ มีฐานะเปน็
อำเภอ เมอื่ พ.ศ.๒๔๔๓ โดยมขี นุ ขจติ สารกรรม ตำแหนง่ นายอำเภอคนแรก และนายวิจิตร สายเช้อื ดำรง
ตำแหน่งนายอำเภอคนปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๔ สมเด็จพระศรีพัชรินทราฯ พระบรมราชินีนาถ ใน
รัชกาลที่ ๕ หรือ สมเด็จพันปีหลวง ได้เสด็จประพาสเมืองพิมาย และได้เสด็จพักผ่อนที่ไทรงาม คณะ
กรมการเมืองพิมายได้พร้อมกันรับเสดจ็ โดยจัดสถานที่ประทับที่ลำน้ำตลาด ซึ่งเรียกว่า "วังเก่า" และได้
ปรับปรุงถนนสายต่าง ๆ ในบริเวณที่ตั้งอำเภอ ให้สะอาดสวยงามเป็นจำนวนทัง้ ส้ิน ๖ สาย และได้ตั้งชอ่ื
ถนนเพอ่ื เป็นการเฉลมิ พระเกยี รติ คือ ถนนจอมสุดาเสดจ็ ถนนวนปรางค์ ถนนอนันทจนิ ดา ถนนบชู ายันต์
ถนนราชชนนี และถนนจวนเก่า ปี พ.ศ.๒๔๕๗ ได้สร้างที่ว่าการอำเภอพิมาย บริเวณด้าน
ตะวันออกเฉียงเหนือด้านใต้ของปราสาทหินพิมาย และทางราชการได้ติดคำวา่ "เมือง" ออกเมื่อปี พ.ศ.
2483 และให้เรียกวา่ "อำเภอพิมาย" จนถงึ ปัจจบุ ัน
_________________________________________________________________________

๒๖

ทม่ี า : สำนกั งานพัฒนาชุมชนอำเภอดา่ นขนุ ทด จังหวดั นครราชสมี า กรมการพฒั นาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย
https://district.cdd.go.th/dankhunthot/about-us/ประวัติความเปน็ มา.

๙. ประวัติอำเภอด่านขุนทด

เรื่องราวทเ่ี ปน็ ตำนานชาวด่านขนุ ทด ท่ีปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นลายลกั ษณอ์ ักษรใน
พงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขาซ่ึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงนิพนธ์ไว้
ได้กล่าวถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชตอนปราบชุมชนต่างๆและปรากฏในการปราบชุมนุมพระ
เจ้าพมิ ายโดยกลา่ วไว้วา่ "ฝา่ ยพระเจา้ พิมายไดท้ ราบขา่ วศกึ จึงแตง่ ตัง้ ใหพ้ ระยาวรวงศาธิราช(พระยาน้อย)
ยกกองทัพลงมาตั้งคา่ ยรับอยู่ ณ ด่านขุนทด ทางหนึ่ง และให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ พระยามนตรี กับทั้ง
มองญา ยกกองทพั มาตั้งค่ายรับอยู่บา้ นจอหอทางหนึ่ง" และ "สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั (พระเจา้ ตากสิน) จึง
ดำรัสให้ พระมหามนตรี และพระราชวรนิ ทร์ ยกกองทัพไปตที พั พระยาวรวงศาธิราชซง่ึ ต้ัง ณ ด่านขุนทด
นน้ั " จงึ กล่าวได้วา่ ด่านขุนทดมีกำเนดิ มากอ่ นรัชสมัยของพระเจา้ ตากสนิ คอ่ นข้างแน่ชัด
__________________________________________________________________________

ที่มา : สำนักงานพฒั นาชมุ ชนอำเภอโนนสงู จังหวดั นครราชสีมา กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย,
https://district.cdd.go.th/nonsung/about-us/ประวัตคิ วามเป็นมา.

๑๐.ประวตั ิอำเภอโนนสูง

อำเภอโนนสูง ซึ่งเป็นชุมชนที่อยู่ทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของตัวเมือง จากหลักฐาน
ทางประวตั ิศาสตรท์ ่ีสามารถสบื ได้น่าเชอื่ ว่าชาวอำเภอโนนสูง เป็นชาวท้องถน่ิ ดัง้ เดมิ ทีส่ ืบเนื่องมาจากยุค
ก่อนประวัติศาสตร์ เป็นชนชาติท่ีสืบเชื้อสายมาจาก ละว้า และ ขอม เมื่อได้สถาปนาเมืองนครราชสมี า
ขึ้นมาแล้ว ประมาณ ๔๔๒ ปี ทางราชการจึงได้รวบรวมตำบลต่าง ๆ อันประกอบด้วย ตำบลจันอัด
ตำบลด่านคล้า ตำบลโนนสูง ตำบลขามเฒ่า ตำบลขามสะแกแสง (ปัจจุบันเป็นอำเภอขามสะแกแสง)
ตำบลโนนวัด ตำบลเสลา (ปัจจุบันสองตำบลเป็นหมู่บ้านขึ้นกับตำบลพลสงคราม) ตำบลโตนด ตำบล
ทองหลาง ตำบลบิง และตำบลใหมย่ กฐานะเปน็ อำเภอ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ใชช้ ่อื วา่ “อำเภอกลาง” โดย
มีพระยากำธรพายัพทศิ (ดษิ ฐ์ โสฬส) เปน็ นายอำเภอคนแรก เมื่อก่อนตำบลต่าง ๆ เหลา่ นี้ ขึ้นกบั ทอ้ งถ่ิน

๒๗

อื่น ๆ เช่น แขวงพิมาย แขวงบัวใหญ่ แขวงจอหอ (ปัจจุบันเป็นตำบลขึ้นกับอำเภอเมอื ง) และแขวงท่า
ช้าง (ปจั จบุ นั คอื อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ) ที่ตง้ั ท่ีว่าการอำเภอกลาง อยใู่ นเขต ตำบลโนนสงู อยบู่ ริเวณ
วัดร้าง ซึ่งปัจจุบันเป็น ชมุ ชนบ้านเพมิ่ สาเหตุทางราชการ ตง้ั ชอื่ อำเภอว่าอำเภอกลางนนั้ กเ็ พราะว่าเปน็
ชุมชนที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอำเภอเมือง ซึ่งเป็นเขตชั้นในกับแขวงบัวใหญ่ (ก่อตั้งอำเภอเมื่อปี พ.ศ.
๒๔๔๒)

ใน พ.ศ. ๒๔๕๙ พระยากำธรพายัพทิศ นายอำเภอกลางได้พิจารณาเห็นสถานที่ตั้ง ที่ว่าการ
อำเภอ ทบั ที่วดั รา้ งอยูเ่ พอ่ื ให้สอดคล้องกบั ชอ่ื สถานที่จึงได้เสนอขอเปล่ียนช่ือ “อำเภอกลาง”เปน็ “อำเภอ
โนนวดั ” รวมเวลาทใี่ ชช้ ่ือ อำเภอกลาง ๑๙ ปี

ระหวา่ ง พ.ศ.๒๔๖๐-๒๔๖๑ พระยาบริรักษน์ ครเขต เป็นนายอำเภอ พิจารณาเหน็ ว่าสถานที่ต้ัง
ที่ว่าการอำเภอไม่เหมาะสม จึงไดย้ ้ายมาจัดตั้งขึ้นใหมใ่ นบริเวณท่ีตั้งปจั จุบัน (อาคารที่ว่าการอำเภออยู่
ตรงบรเิ วณสวนป่าหน้าอาคารแผนกทะเบยี นราษฎร์) โดยก่อสรา้ งเป็นอาคารไม้ ๒ ชั้น หันมุมไปทางทิศ
เหนอื และยงั คงใชช้ ่อื ว่าอำเภอโนนวัดอยู่ตามเดิม

เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ทางราชการยกฐานะตำบลโนนสูงข้ึนเป็นเทศบาลตำบล (ระยะก่อตั้งเพราะ
พระราชบัญญัติเทศบาลประกาศใชใ้ น พ.ศ. ๒๔๘๗) มี “ขนุ เกษมศิมารักษ”์ เปน็ นายกเทศมนตรีคนแรก
ซึ่งในขณะนั้นเทศบาลมีพื้นที่บริการประมาณ ๕.๐๒๘ ตารางกิโลเมตร ได้ขยายเป็น ๑๒.๙๕ ตาราง
กิโลเมตร เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ นายชม วัลลิภากร เป็นนายอำเภอโนนวัด
กระทรวงมหาดไทยได้ตราพระราชกฤษฎีกา ปรับ ปรุงเขตการปกครองอำเภอ ตำบล หมู่บ้านเสียใหม่
นายอำเภอ จึงได้โอนบางหมู่บ้านของตำบลทองหลาง ไปขึ้นกับ อำเภอท่าช้าง และโอนบางหมู่บ้านไป
ข้นึ กบั ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอจอหอ พร้อมกนั นั้นใหย้ บุ ตำบลเสลา และตำบลโนนวัดรวมกัน แล้วต้ังขึ้น
เป็นตำบลพลสงคราม และได้เปลี่ยนชื่อ “ อำเภอโนนวัด ” เป็นอำเภอ “ โนนสูง ” มาจนถึงปัจจุบนั
รวมเวลาทใ่ี ชช้ ื่ออำเภอโนนวัด ๒๘ ปี ในขณะที่เปล่ียนชื่อ เปน็ อำเภอโนนสูง มีเขตการปกครอง ๑๑
ตำบล ปจั จุบนั มีตำบลทีต่ ้งั ขน้ึ ใหมไ่ ดแ้ ก่ ตำบลดอนชมพู มะคา่ ธารปราสาท หลมุ ขา้ ว ลำคอหงษ์ ลำ
มลู และ ดอนหวาย ส่วนตำบลทถี่ ูกยบุ และโอนไป ไดแ้ ก่ เสลา ทองหลาง ขามสะแกแสง

ในอดีต อำเภอโนนสูง เป็นอำเภอที่มีความเจริญสูงสุดอำเภอหนึ่ง ของจังหวัดนครราชสีมา
เพราะมีทางรถไฟผ่าน ทำให้การคมนาคมขนส่งสินค้าเกษตรกรรม และหัตถกรรมเป็นไปด้วยความ
สะดวก คนจีนเข้ามาตั้งร้าน (โรงเจก๊ ) ค้าขายสินค้า มีการก่อสรา้ งโรงสไี ฟ (โรงสีข้าว) ขึ้นในเทศบาล
๒ โรง ราษฎรนำขา้ วเปลือก สนิ คา้ หัตถกรรม และ ของปา่ มาขาย แล้วซ้ือส่งิ ของท่ีจำเปน็ ในการครอง
ชีพจากตลาดออกไป นอกจากนั้นราษฎรท่ีมฐี านะดีและ เห็นความสำคัญของการศึกษา ได้ส่งบุตรหลาน
เขา้ มาศกึ ษาต่อในระดับมัธยมศึกษาทโ่ี รงเรยี น “ศรธี านี” อำเภอโนนสูง จงึ มีความเจรญิ ดงั กล่าว

๒๘

__________________________________________________________________________

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย,
https://district.cdd.go.th/buayai/about-us/ประวัติความเป็นมา.

๑๑.ประวัตอิ ำเภอบัวใหญ่

พน้ื ท่อี ำเภอบัวใหญเ่ ดิม มีประวตั ิศาสตรค์ วามเป็นมายาวนาน จากหลกั ฐานทางโบราณสถาน
และโบราณวัตถุที่พบกระจัดกระจายอยู่ในเขตพื้นที่เป็นจำนวนมาก อาทิ บ่อไก่แก้วปรางค์ บ้านสีดา
ทอี่ ำเภอสีดา ปราสาทนางรำ ที่อำเภอประทาย ปรางคก์ ู่ท่บี า้ นกู่ ต.ดอนตะหนิน เคร่อื งภาชนะดินเผาพบที่
บริเวณ บ้านบัวใหญ่ กำไรสำลิดและไหหินพบที่บริเวณบ้านจาน เสมาหินทรายที่บ้านเสมาใหญ่ เทวรูป
สำริดที่ขุดพบจากพื้นที่หลายแห่ง ภาชนะดินเผาบรรจุกระดูก ฝังเรียงรายทับซ้อนลงไปเป็นชั้น ๆ เป็น
จำนวนมาก ซึ่งเคยขดุ พบท่ีบ้านหนองไอ้แหนบ บ้านหญา้ คา และหลังสดุ ขุดพบไหหรอื หม้อดินเผาที่บรรจุ
กระดูกเปน็ จำนวนมากท่ีเนินดินทา้ ยหมบู่ า้ นกระเบ้ือง เมือ่ พ.ศ.๒๔๕๔ ซ่งึ มีภาชนะบรรจกุ ระดกู นับพนั ไห
เจา้ หนา้ ที่ทดี่ ำเนนิ การขาดของทางราชการ ใหข้ ้อมลู เบื้องตน้ ว่าน่าจะมีอายรุ าว ๑,๕๐๐ ปี เปน็ ประเพณี
ฝังศพครัง้ ท่สี อง โดยครง้ั แรกจะนำศพไปฝังก่อน ภายหลังจะทำการขุดศพมาทำพธิ ีกรรมอกี ครง้ั หนึ่ง แล้ว
จึงนำโครงกระดูกบรรจุลง หม้อดินเผาฝังบรรจุในสุสาน หลักฐานทั้งหลายเหล่านี้ทำให้น่าเชื่อว่าพื้นท่ี
อำเภอบัวใหญ่เป็นที่ตั้งถิ่นฐาน อยู่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ มีอายุไม่น้อยกว่า
๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว ร่องรอยทางประวัติศาสตร์เหล่านี้คือแหล่งความรู้ที่ทำให้ประชาชนอำเภอบัวใหญ่ใน
ปจั จุบนั สบื สานรับวัฒนธรรมเหลา่ นั้น มาเปน็ ขนบธรรมเนยี มประเพณถี า่ ยทอดมาจนถงึ ยุคปจั จุบนั

ในยุครัตนโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๓ ราว พ.ศ. ๒๓๙๐ ในสมัยพระกำแหงสงคราม(แกว้ ) เป็นเจ้าเมือง
นครราชสีมา ได้ตั้งด่านเพื่อระวังศัตรูตรวจตรารักษาความสงบ และทำหน้าที่เก็บส่วยสาอากร (ภาษี) มี
ด่านทองหลาง ดา่ นชวน ดา่ นจาก ด่านกระโทก ด่านขนุ ทด โดยเฉพาะ “ด่านนอก” เปน็ ด่านนอกสุดของ
เมืองนครราชสีมา เพื่อดูแลเขตชายเมือง “ด่านนอก” ซึ่งเป็นด่านสุดท้ายที่อยู่ในเขตพระราชอาณาจักร
ส่วนหัวเมืองอ่ืน ๆ ถดั ข้นึ ไปทางเหนอื นน้ั ถือเป็นเมอื งประเทศราชขนึ้ ตอ่ แขวงนครเวียงจันทร์

ที่ทำการของ “ด่านนอก” ต้งั อยูท่ ีบ่ า้ นทองหลางใหญ่ บนเนินดนิ ริมหว้ ยกระเบื้อง หลักด่านด้าน
เหนือสุดของดา่ นนอก อย่ทู ีร่ ิมหว้ ยเอก ทีห่ มบู่ า้ นหลักด่าน

๒๙

พ.ศ. ๒๔๑๗ เกดิ ศึกฮอ่ เข้ามารุกรานเมอื งหนองคาย ทกุ หัวเมืองระดมกำลงั ป้องกนั เขตเมืองของ
ตน เมืองนครราชสีมาได้ส่ง “ขุนณรงค์” คุมกำลังพลจาก “ด่านชวน” มารักษาการณ์ที่ “ด่านนอก”
นับเป็นนายด่านคนสดุ ท้าย

ท่ีมา : สำนกั งานพฒั นาชุมชนอำเภอครบุรี จังหวดั นครราชสีมา กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
, https://district.cdd.go.th/khonburi/about-us/ประวตั คิ วามเป็นมา.

๑๒.ประวัติอำเภอครบุรี

ครบุรี เป็นอำเภอหนึ่งทางตอนใต้ของจังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากตัวจังหวัด
นครราชสมี าประมาณ ๕๘ กโิ ลเมตร พ้ืนทีท่ างตอนใตข้ องครบุรีอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติทบั ลาน ท่ีได้รับ
การประกาศให้เป็น "มรดกโลกทางธรรมชาติ" จากองค์การยูเนสโก ภายใต้ชื่อกลุ่ม ดงพญาเย็น-เขาใหญ่
และยงั เปน็ พืน้ ทีต่ ้นน้ำ สายสำคญั ของ แม่นำ้ มลู ซ่ึงเปน็ แม่น้ำสายหลกั ของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

ประวตั ิศาสตร์
อำเภอครบุรี เดมิ มฐี านะเป็นก่งิ อำเภอ อย่ใู นเขตการปกครองของอำเภอกระโทก หรอื อำเภอ

โชคชัยในปัจจุบัน โดยได้รับการยกฐานะเป็นกิ่งอำเภอ ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๐ ซึ่งขณะนั้นมีเขตการ
ปกครอง รวม ๓ ตำบล ไดแ้ ก่ ตำบลแซะ ตำบลจระเข้หิน และตำบลสระตะเคยี น เรยี กวา่ "กงิ่ อำเภอแชะ"
เน่ืองจาก ทีต่ ั้งของท่ีว่าการอำเภอ อยูใ่ นเขตหมูบ่ า้ นแชะ ตำบลแชะ

ต่อมาในปี พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๒ ได้รับการยกฐานะขน้ึ เป็นอำเภอ และได้ช่อื ว่า "อำเภอครบุรี"
โดยรวมพ้ืนที่กิง่ อำเภอแชะเดมิ กบั ตำบลครบุรีท่ีแยกมาจากก่ิงอำเภอสะแกราช เน่ืองจากกิ่งอำเภอสะแก
ราช ถูกยุบให้ไปรวมกับอำเภอปักธงชัย สำหรับคำว่า"แชะ"เป็นภาษาพื้นเมือง ส่วนภาษาไทยคือคำว่า
"แฉะ" ซึ่งแปลวา่ เปียก หรือชุ่มนำ้ อยู่เสมอ จากการบอกเล่าของผู้สูงอายุในหมู่บ้านต่างๆ ได้รับการบอก
เลา่ ว่า การทไ่ี ดช้ ื่อว่า "บ้านแชะ" น้ันมาจากสภาพของหมู่บา้ นซ่ึงเปน็ ทีต่ ่ำและมีโคลนตมอยู่ท่วั ไป ชาวบ้าน
จงึ เรยี กวา่ "บา้ นแชะ" คำวา่ "ครบรุ "ี กร่อนมาจากคำว่า สาครบรุ ี ซึง่ แปลวา่ เมอื งตน้ นำ้ หรอื เมืองสายน้ำ
เพราะมแี ควน้ำนอ้ ยใหญห่ ลายสาย จึงเรียกว่า "เมืองสาครบรุ ี" ต่อมาคำว่า "สา" กล่อนหายไปเหลือเพียง
คำวา่ "ครบรุ ี"มาตราบจนทุกวันนี้

๓๐

ขอ้ มูลเชิงลึกของนามสกุลคนโคราช
โดยสมั ภาษณ์ทายาทผสู้ ืบสกลุ

๓๑

เล่าขานประวัติศาสตร์
นครราชสมี าผ่านนามสกุลคนโคราช

“ประวัติอำเภอเมอื ง”

๓๒

นามสกุลชาวโคราช

คนไทยมีนามสกุลคร้งั แรกในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี ๖ ทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้า ให้ตราพระราชบัญญัติ ขนานนามสกุลขึ้น เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๔๕
ชาวโคราช ส่วนใหญ่นิยมตั้งนามสกุลตามภูมิลำเนา ที่เกิดหรือที่อยู่อาศัย หรือใช้ชื่อตำบล อำเภอ หรือ
หมู่บ้าน มาเป็นส่วนท้ายของนามสกุล เช่น งามกระโทก ซึ่งคำว่ากระโทก ที่อยู่ท้ายนั้นบอกให้รู้ว่าผู้มี
นามสกุลเช่นน้ี คือ คนที่ภูมิลำเนาอยู่อำเภอโชคชัย ที่เดิมเรียกว่า กระโทก ซึ่งลักษณะการตั้งนามสกลุ
แบบนี้ ได้เผยแพร่ไปยังเมืองชัยภูมิและบุรีรัมย์ด้วย เนื่องจากเคยเป็นส่วนหนึ่งในมณฑลนครราชสีมา
พทุ ธศกั ราช ๒๔๓๖-๒๔๗๖

๒๐ นามสกุลยอดนิยมของคนไทย

๑. ปลงั่ กลาง ๕,๙๗๖ คน
๒. กล้าหาญ ๔,๕๔๓ คน
๓. ทิศกระโทก ๓,๖๘๕ คน
๔. ภูมโิ คกรกั ษ์ ๓,๒๗๑ คน
๕. นาดี ๒,๖๔๘ คน
๖. การบรรจง ๒,๕๕๓ คน
๗. ด่านกระโทก ๒,๕๐๕ คน
๘. เจรญิ สุข ๒,๔๔๒ คน
๙. ปราณีตพลกรัง ๒,๓๒๙ คน
๑๐. บุญมา ๒,๒๓๖ คน
๑๑. ศรจี ันทร์ ๒,๑๖๗ คน
๑๒. จอดนอก ๒,๑๕๕ คน
๑๓. เจิมขนุ ทด ๒,๑๑๒ คน
๑๔. เพยี ซา้ ย ๒,๐๕๖ คน
๑๕. ประจิตร ๒,๐๔๑ คน
๑๖. สีนอก ๒,๐๒๘ คน

๓๓

๑๗. โพธ์ินอก ๒,๐๑๒ คน
๑๘. ทองดนี อก ๒,๐๐๕ คน
๑๙. พลจนั ทกึ ๑,๙๘๐ คน
๒๐. พริ ักษา ๑,๙๒๙ คน

คำลงทา้ ยของนามสกุลของคนโคราชในอำเภอตา่ งๆ

อำเภอเมือง คำลงท้าย ในเมือง โพธิ์กลาง ทะเล (ตำบลหัวทะเล) มะเริง พุดซา พลกรัง ปรุ
(ตะบลปรุใหญ่) ใหม่ โคกสงู จอหอ โพธ์ิ (ตำบลโพธิ์กลาง) โคกกรวด เกาะ (ตำบลบ้านเกาะ) หม่ืนไวย พะ
เนาว์ จะบก (ตำบลหนองจะบก)

อำเภอปักธงชัย คำลงท้าย เมืองปัก ตะคุ ตะขบ ฉิมพลี (ตำบลงิ้ว) พรหมราช (ตำบลตูม)
กิง่ (ตำบลสะแกราช) ดอน สำโรง จะโป๊ะ ผกั แว่น (บา้ นหนองผกั แว่น) จังหรีด

อำเภอโนนไทย คำลงท้าย สนั เทยี ะ ค้างพลู พงั เทยี ม ดา่ นจาก สายยอ ลำพัง พันดุง

อำเภอสูงเนิน ลงทา้ ยดว้ ยคำว่า สงู เนินทงั้ หมด

อำเภอสีคิว้ เดิมเป็นตำบลหนงึ่ ของอำเภอจันทึก หรอื เมืองจนั ทกึ นามสกลุ จึงลงทา้ ยด้วยวา่ "จัน
ทึก" นามสกุลนี้แพร่ไปถึงอำเภอปากช่อง ซึ่งเป็นหมู่บ้านหนึ่งของอำเภอจันทึก และมีในบางส่วนของ
อำเภอสงู เนิน เพราะมีพ้นื ท่ีตดิ ตอ่ กัน

อำเภอโชคชัย เดิมชือ่ อำเภอกระโทก สว่ นทา้ ยของนามสกุลจงึ ลงท้ายวา่ "กระโทก"

อำเภอจักราช - เฉลิมพระเกียรติ คำลงท้าย ทองหลาง หนองงเู หลอื ม สีสุก

อำเภอพมิ าย – ชมุ พวง - โนนแดง คำลงท้าย พิมาย และ ค้า

อำเภอดา่ นขนุ ทด คำลงท้าย ขนุ ทด ชนะ โคกรักษ์ กุดพมิ าน พนั ชนะ

๓๔

อำเภอสูงเนิน - ขามสะแกแสง - คง เดิมเรยี กว่า "อำเภอกลาง ดงั นจี้ ึงมีคำลงทา้ ยนามสกุลว่า"
กลาง" และตำบลจดั อัดใช้" จนั อัด" อกี ดว้ ย

อำเภอบัวใหญ่ – สดี า – บวั ลาย - บ้านเหลอ่ื ม เดมิ เรียกอำเภอนว้ี ่า "นอก" คำลงท้ายจึงใช้คำ
ว่า "นอก"

อำเภอครบุรี คำลงท้าย ครบุรี

ส่วนนามสกุลท่อี ย่ตู อนตน้ อาจได้มาโดยวธิ ตี า่ งๆดงั นี้

๑. นำช่อื ปู่ย่าตายาย หรอื พ่อแมม่ าตงั้ เปน็ สว่ นตน้ แล้วตอ่ ด้วยชอ่ื หมบู่ า้ นตำบลหรอื อำเภอ เช่น
ปชู่ อ่ื พรมบา้ นอยพู่ ะเนาว์ จะได้นามสกลุ ว่า พรมพะเนาว์

๒. ตั้งจากกิริยาอาการของบุคคลที่จะขอนามสกุล เช่น เดินกางร่มเข้าไปหาเจ้านาย ผู้ออก
ใบสำคัญใหต้ ง้ั นามสกลุ ภมู ิลำเนาอยูบ่ ้านสูงเนิน เจา้ หน้าที่ก็จะตัง้ นามสกุลให้ว่า ร่มสงู เนนิ

๓. ตั้งตามลักษณะเฉพาะ หรือเอกลักษณ์ประจำตัวของผู้ที่จะขอนามสกุล เช่น นายจันทร์ ไป
ไหนชอบถือจอบ จนชาวบ้านเรียกทั้งชื่อตัวและลักษณะประจำตัวว่า จันทร์จอบ เมื่อไปขอนามสกุล
เจา้ หนา้ ท่ีทราบว่าอยูโ่ พธกิ์ ลาง ก็จะไดน้ ามสกลุ ว่า จอบโพธก์ิ ลาง

๔. ตั้งตามใจเจ้าหน้าที่ เช่น เจา้ หน้าที่คิดถงึ ต้นไม้ ก็จะนำส่วนต่างๆของตน้ ไมม้ าต้ัง เช่น กิ่ง ใบ
ดอก ผล ราก มาต้งั เปน็ ส่วนตน้ ของนามสกุล ต่อท้ายด้วยถิน่ ทอ่ี ยู่ลงไป เช่น ก่งิ กระโทก ใบกลาง ดอกจัน
ทึก ผลสันเทียะ รากพดุ ซา เป็นต้น

๓๕

เล่าขานประวัตศิ าสตร์
นครราชสมี าผา่ นนามสกุลคนโคราช

“ประวตั อิ ำเภอโนนไทย”

๓๖

นามสกุล พรมสนั เทียะ
คุณตา อายุ ๘๑ ปี พอ่ ชอ่ื เพกิ แม่ช่ือเอีย้ ง ตา มพี ี่นอ้ ง ๓ คน ตายแล้ว ๑ คน เหลืออยู่ ๒ คน ใช้

นามสกลุ พอ่ เพิก นามสกลุ มาจากไหนไมท่ ราบ ตาเพกิ อาศัยอยบู่ า้ นตะครอ้ มอี าชีพทำนา ทำไร่ นามสกุล
ทใี่ ช้มาแต่ด่ังเดมิ มคี วามชอบและภาคภมู ิใจในนามสกุล ในหมบู่ ้านนี้ มคี นใช้นามสกุล

นามสกุล ยส้ี ันเทยี ะ
เป็นนามสกุลของพอ่ มีพนี่ ้องทัง้ หมด ๙ คน ตาย ๗ คน เหลอื ๒ คน พ่อจนั ทร์ แม่อ่ืม พ่อจันทร์

มีพ่ีนอ้ ง ๔ คน เป็นผชู้ าย ๒ หญิง ๒ คน ผชู้ ายมีพ่อกล้าหา กับพอ่ จันทร์

๓๗

เล่าขานประวัตศิ าสตร์
นครราชสีมาผ่านนามสกุลคนโคราช

“ประวัตอิ ำเภอโชคชยั ”

๓๘

“เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสมี าผา่ นนามสกุลคนโคราช”

ประวตั ิอำเภอโชคชัย
ตามการสบื สวนถงึ ความเป็นมาทป่ี รากฏหลกั ฐานในหนังสอื ศลิ ปกร ปีท่ี ๑ เล่ม ๔ พ.ศ. ๒๔๘๐
อักขรานกุ รมภมู ิศาสตร์ จงั หวดั นครราชสีมา วา่ อำเภอโชคชัยนี้ เดมิ เป็นด่านทม่ี กี องคาราวานซึ่งมีเกวียน
เป็นพาหนะ ที่เดินผ่านไปมาระหว่างประเทศไทยกับประเทศเขมรในสมัยโบราณ กล่าวคือ เม่ือเดินทาง
มาถึงทบ่ี า้ นดา่ นเกวียนท่ีจะพกั แรมทนี่ ้ีเปน็ ด่านท่ีหนึง่ แลว้ ก็จะเดินทางตอ่ มาพักทดี่ ่านกระโทกเป็นด่านที่
สอง แลว้ ก็เดินทางต่อไปเรอื่ ย ๆ จนถงึ ประเทศเขมรอยู่เปน็ ประจำ จงึ เรียกด่านนีว้ ่า "ดา่ นกระโทก" คำว่า
"กระโทก" นี้ มีผู้สันนิษฐานว่า ในบริเวณน้ี มีป่าไม้ชนิดหนึ่งซึ่งประกอบด้วยต้นไม้ชื่อว่า "ต้นกระโท
กโรก" มาก จึงได้ตั้งชือ่ ว่า "ด่านกระโทกโรก" ต่อมาคำนีอ้ าจจะไม่เหมาะสมหรอื อาจเรียกผิดเพี้ยนไป จึง
เปลีย่ นมาเป็น "ดา่ นกระโทก"และต้ังชอ่ื ว่า บ้านกระโทก มาจนถึงปนั จจุบันนี้
เมอ่ื ครงั้ สมเด็จพระเจ้ากรงุ ธนบรุ ี ยกทพั มาตอ่ สู้กับกองทัพของหมน่ื เทพพพิ ธิ และได้รบั ชยั ชนะ ณ ท่แี ห่งน้ี
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ พระองค์ทรงจัดระเบียบการปกครอง
ออกเป็นมณฑล ภาค จงั หวัด และอำเภอได้ยกฐานะด่านกระโทก ขึ้นเป็นอำเภอกระโทก เมือ่ พ.ศ. ๒๔๔๙
จวบจนถึงปี ๒๔๘๘ ทางราชการ พิจารณาเห็นว่า คำว่า “กระโทก” มีสำเนียงและภาษาที่ไม่เหมาะสม
และเพอื่ ให้เปน็ ไปตามความหมายเชิงประวัตศิ าสตร์ในอันท่ีจะใหอ้ นุชนรุ่นหลังได้รำลกึ ถงึ ความเป็นมาของ
สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบุรี ผู้ประกอบคุณงามความดี ให้กับประเทศชาติ และทำการรบไดช้ ัยชนะ ณ ที่
แห่งนี้ (บรเิ วณบึงกระโทก และสนามหนา้ เทศบาลตำบลโชคชัย ) จงึ ได้เปล่ียนนามอำเภอใหม่ว่า “อำเภอ
โชคชัย” มาตราบจนทกุ วันน้ี
- พ.ศ. ๒๔๔๙ ตงั้ อำเภอมชี ื่อว่า อำเภอกระโทก
- วันท่ี ๒๙ ธนั วาคม ๒๔๘๖ เปลย่ี นชือ่ อำเภอเป็น อำเภอโชคชยั

อำเภอครบุรี
เดิมมีฐานะเป็นก่ิงอำเภอ อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอกระโทก หรืออำเภอโชคชยั ในปจั จุบนั
โดยไดร้ ับการยกฐานะเปน็ ก่ิงอำเภอ ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๐ ซงึ่ ขณะนัน้ มเี ขตการปกครอง รวม ๓ ตำบล
ไดแ้ ก่ ตำบลแซะ ตำบลจระเขห้ ิน และตำบลสระตะเคยี น เรยี กว่า "กิง่ อำเภอแชะ" เนื่องจากท่ีตั้งของท่ีว่า
การอำเภอ อยู่ในเขตหมู่บ้านแชะ ตำบลแชะ ต่อมาในปี พุทธศักราช ๒๔๘๒ ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น
อำเภอ และได้ชอื่ ว่า "อำเภอครบรุ ี"

๓๙

อำเภอเสงิ สาง
- วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๑๙ แยกพื้นที่ตำบลสระตะเคียน อำเภอครบุรี มาตั้งเป็น กิ่งอำเภอ
เสิงสาง ขึน้ กบั อำเภอครบุรี - วนั ท่ี ๒๖ มนี าคม ๒๕๒๒ ยกฐานะเปน็ อำเภอเสิงสาง

อำเภอหนองบุนนาก
แต่เดิมเป็นเพียงตำบลเดียว คือ ตำบลสารภี ซึ่งอยู่ในเขตปกครอง ของอำเภอโชคชัย จังหวัด
นครราชสีมา เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๒๖ กระทรวงมหาดไทย ได้จัดตั้งท้องที่ตำบลสารภี ขึ้นเป็นก่ิง
อำเภอเรยี กวา่ “กิ่งอำเภอหนองบุนนาก”
- วันท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๓๒ ยกฐานะเปน็ อำเภอหนองบุนนาก
- วันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๔๖ เปลย่ี นชื่ออำเภอจาก อำเภอหนองบุนนาก เปน็ อำเภอหนองบุญมาก

ตั้งแต่โบราณมาจนถึงสมัยรชั กาลที่ ๕ คนไทยเราไม่มีนามสกุลใช้ มีแต่ชื่อโดดๆ ทั้งชื่อก็ยังซ้ำกนั
มาก อย่าง อิน จัน มั่น คง แดง ดำ ขาว เขียว ตอนจะมีไปรษณีย์ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อแก้ปัญหาไม่มี
เลขที่บ้านไปแล้ว ก็ยังมีปัญหาเรื่องชื่อบุคคลที่จะรับจดหมายอีก ไม่รู้ว่าแดงไหน ดำไหน ตอนไปสำรวจ
จัดทำบ้านเลขที่ ก็ขอให้บอกชื่อคนท่ีอยู่ รวมทั้งชื่อบดิ า-มารดาด้วย จะได้ชดั เจนขึ้น โดยมีประกาศตอน
หนงึ่ วา่ “...ถา้ ไมจ่ ดชอ่ื บดิ ากำกับดว้ ย ก็ไมท่ ราบวา่ อนิ จัน มั่น คง คนใด จึงตอ้ งถามช่ือบดิ าด้วย จะได้ลง
ชื่อบิดากำกบั ไมใ่ ช้ชื่อซำ้ กัน เหมือนดั่งชอื่ ธรรมเนียมจนี ธรรมเนียมยโุ รป อ่ืน ๆ นนั้ เหมอื นกับนายอินบุตร
นายอ้น นายจันบตุ รนายจร นายมั่นบตุ รนายมว่ ง นายคงบุตรนายคำ ด่งั นีเ้ ปน็ ต้น”
ดว้ ยเหตทุ ีย่ ่งุ ยากเร่ืองช่ือน้ี ในรัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัวจงึ ทรงพระกรุณาโปรด
เกล้าฯให้ประกาศพระราชบัญญัตินามสกุลขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๔๕๕ บังคับใช้เป็นกฎหมายต้ังแต่
วันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๔๕๖ เปน็ ตน้ ไป ใหค้ นไทยตอ้ งมีนามสกุล เพ่ือสะดวกแก่การจดทะเบยี นคนเกิด คน
ตาย และทำการสมรส ทรงชี้แจงถึงคณุ ประโยชน์ของการมนี ามสกลุ ไวใ้ น “จดหมายเหตุรายวนั ” ว่า
“...การมีช่อื ตระกลู เปนความสะดวกมาก อย่างต่ำๆ ท่ใี คร ๆ กย็ อ่ มจะมองเห็นได้ คอื ชอื่ คนในทะเบียน
สำมโนครัวจะได้ไมป่ นกัน แต่อนั ที่จรงิ จะมีผลสำคญั กวา่ นน้ั คอื จะทำให้เรารูจ้ กั รำฤกถงึ บรรพบุรุษของ
ตน ผ้ไู ด้อสุ าหก่อสรา้ งตัวมา และได้ตั้งตระกูลไวใ้ ห้มชี ่อื ในแผน่ ดิน เราผูเ้ ป็นเผา่ พนั ธ์ุของทา่ นได้รบั
มรดกมาแลว้ จำต้องประพฤติตนให้สมกับทที่ ่านได้ทำดีมาไว้ และการที่จะตงั้ ใจเช่นน้ี ถา้ มีช่ือที่ต้อง
รกั ษามใิ หเ้ สอื่ มทรามไปแล้ว ยอ่ มจะทำให้เปนเครอื่ งยดึ เหนย่ี วหนว่ งใจคนมิให้ตามใจตนไปฝา่ ยเดียว
จะถือวา่ “ตัวใครก็ตวั ใคร” ไม่ได้อีกต่อไป จะต้องรักษาท้ังชื่อของตัวเองทั้งชอื่ ของตระกลู ด้วยอีกส่วน ๑...”

๔๐

การมนี ามสกลุ จงึ ไม่ใช่ “ตัวใครก็ตวั ใคร” ถ้าใครทำไม่ดกี ็จะเสยี ไปถึงโคตรเงา่ บรรพบรุ ุษด้วย
คนท่คี ิดจะประพฤตชิ ั่ว ก็โปรดสำนกึ ในข้อน้ดี ว้ ยตอนใหต้ ั้งนามสกลุ กเ็ ปน็ เร่อื งโกลาหลไมน่ ้อย เพราะ
ชาวบา้ นส่วนใหญ่ไม่เขา้ ใจวา่ จะต้ังอย่างไร นายอำเภอและเจ้าเมอื งจึงเป็นท่ีพง่ึ วันๆไมต่ อ้ งทำอะไรไดแ้ ต่
ต้งั นามสกุลใหค้ นท่ีไปหากนั แนน่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ ฯ กท็ รงพระราชทานนามสกลุ ให้แก่
ขา้ ราชการ พ่อค้า ประชาชน ดังท่ีทรงบันทกึ ไวใ้ น “ทะเบยี ฬนามสกุล” มีถงึ ๖,๔๓๒ นามสกุลนามสกลุ
หมายเลข ๑ ท่ีทรงพระราชทาน คือ นามสกุล “สุขุม” พระราชทานเมอื่ วนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๕๖
ตน้ สกลุ คือ เจ้าพระยายมราช (ปน้ั สุขุม)

เมอื่ รัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู ัว โปรดเกล้าให้คนไทยกำหนดให้มีการ
ตั้งนามสกุล จากชื่อจึงมีการเลือกถิ่นฐานที่อยเู ป็นหลักต่อทา้ ยสุดของนามสกุลเพือ่ ใหร้ ู้ว่าอยู่อำเภออะไร
บ้านอะไร แต่ก่อนการออกจากหมู่บา้ นไปท่ีอ่นื จะต้องแจ้งนายบ้านใหท้ ราบว่าไปไหนไปกี่วัน สำหรับใน
เขตอำเภอกระโทก (ซ่ึงสมัยน้ัน อำเภอครบุรี อำเภอเสงิ สาร อำเภอหนองบญุ มาก อยใู่ นเขตการปกครอง
ของอำเภอกระโทก ปัจจุบันเป็นอำเภอโชคชัย) ก็ตั้งชื่อสกุลลงท้ายด้วยคำว่า “กระโทก” เช่นนามสกลุ
จติ ต์กระโทก ไชยกระโทก กาจกระโทก กาดกระโทก จากการสำรวจพบว่า ในแตล่ ะตำบลจะมอี กั ษรนำ
ไม่เหมอื นกัน เชน่

ตำบลกระโทก มีอักษร ก มากที่สุด เช่น กากระโทก กลอกกระโทก การกระโทก ก่ำกระโทก กลั้วกระ
โทก กาพยก์ ระโกท กลบี กระโทก กลบั กระโทก เกณฑ์กระโทก เปน็ ต้น

ตำบลพลับพลา มีอักษร ข ค มากที่สุด เช่น ชลิบกระโทก ขาลกระโทก โขกระโทก ขลุ่ยกระโทก ข่า
กระโทก ครามกระโทก ครั่งกระโทก แคร่กระโทก ใคร่กระโทก ครึกกระโทก คลากระโทก ครากกระ
โทก คร่อมกระโทก คึมกระโทก

ตำบลท่าลาดขาว มีอักษร จ มากที่สุด เช่น จอดกระโทก จอกกระโทก จอมกระโทก จักรกระโทก
จัดกระโทก จูกระโทก จามกระโทก แจวกระโทก รองจาก จ จะเปน็ ฉ เช่น เฉยี บกระโทก เฉง่ กระโทก
ฉัตรกระโทก ฉาวกระโทก เฉยกระโทก อักษรอนื่ มีบ้างเชน่ ชุมกระโกท เช้ากระโทก ไชยกระโทก

ตำบลด่านเกวียน มีอักษร ป มากที่สุด เช่น ปลอกกระโทก เปรี้ยวกระโทก เปรียงกระโทก แปะกระ
โทก เปรื่องกระโทก ปอ้ มกระโทก ปรอยกระโทก ปลากระโทก ปลงิ กระโทก เปน็ ต้น นีค่ อื ตำบลหลักของ
อำเภอ กระโทก ก่อนจะแยกตำบลในภายหลัง ส่วนอักษรตัวอื่น ๆ จะมีปรากฏในตำบลนั้น ๆ อยู่ด้วย
แต่ไมม่ ากเทา่ กยั ตวั หลักของตำบลน้นั

๔๑

การเปล่ยี นนามสกลุ

นามสกุลที่ลงทา้ ยดว้ ยคำว่า “กระโทก” ซึ่งบงบอกถงึ สถานที่อยูอ่ าศัย อำเภอแหล่งกำเนิดของ
ตน ซึ่งถูกกำหนดให้มีในสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั รัชการท่ี ๖ เม่ือกาลเวลาผ่านไป
บุคคลที่ใช้นามสกุลที่ลงท้ายด้วยคำว่า “กระโทก” ได้มีการเปลี่ยนแปลนามสกุลที่ลงด้วยกระโทกใหม่
เนื่องจากกระโทก เป็นสำเนียงที่ไม่ไพเราะฟังแล้วไม่เสนาะหู ไปสมัครเข้าทำงานในกรุงเทพฯ ถูกคนอ่ืน
ล้อเลียนให้อับอาย ไปสมัครงานนายจ้างก็รังเกียจเพราะเป็นทหารเกณฑ์ที่ชอบหนีทหารจึงไม่รับ
ทำงาน รับราชการก็ไม่ก้าวหน้า บางครั้งเกิดเบื่อนามสกุลเก่าว่าเชยล้าสมัย ดังนั้นจึงมีดารเป ลี่ยน
นามสกุลกันใหม่ แม้แต่คนจีนที่อยู่ในกระโทก เมื่อทางราชการอนุญาตให้เปลี่ยนนามสกุลกันได้ใหม่ก็
เปล่ียนกันทนั ท่ี นามสกลุ ทีเ่ ปล่ยี นกนั ขอนำเสนอ เพยี งบางส่วน ดังน้ี

จิตตก์ ระโทก เปลี่ยนเปน็ จิตตพ์ พิ ัฒน์
ไชยกระโทก เปลย่ี นเปน็ ไชยสมบูรณ์
กาวกระโทก เปลย่ี นเปน็ แสงทองสกาว
ผลกระโทก เปล่ียนเปน็ อุตสาหพงษ์
เปลา้ กระโทก เปล่ยี นเปน็ กิตติเศรษฐ์
ไขกระโทก เปลี่ยนเปน็ วรรณวิกรณ์
แก่งกระโทก เปลยี่ นเป็น กำเนิดพลายงาม
แจกระโทก เปลี่ยนเปน็ แก้วกุลธร
ครามกระโทก เปลีย่ นเปน็ ครุฑขาม
โครงกระโทก เปลี่ยนเปน็ โครงชยั
กล่นิ กระโทก เปล่ียนเปน็ เชาวด์ ำรงสกลุ
ไคร่กระโทก เปลี่ยนเป็น แสงปล้มื ภิรมย์
ชกู ระโทก เปลยี่ นเป็น ชเู กยี รตสิ กลุ
ขวางกระโทก เปล่ยี นเปน็ วีระสขุ
มมิ่ กระโทก เปลี่ยนเปน็ นอ้ มนวิ ตั ิศริ ิ
แจมกระโทก เปลย่ี นเป็น ปัญญาพตระกูล
พลกุ ระโทก เปลย่ี นเปน็ ธรรมรตั น์ชัย
เพลากระโทก เปลย่ี นเปน็ ชพี ชัชวาล
เกราะกระโทก เปลย่ี นเปน็ บณั ฑิตานนท์

๔๒

แป้นกระโทก เปลย่ี นเปน็ กติ ตเิ วทยานสุ รณ์
เขยี งกระโทก เปลย่ี นเปน็ บญุ วรสถิต
เหงากระโทก เปลย่ี นเป็น วโิ รจน์ปัญญา
ฝางกระโทก เปลย่ี นเปน็ อภัยสวสั ดิช์ ย้
ปราดกระโทก เปลี่ยนเป็น คำสกุงวงศ์ชื่น
ปำ่ กระดทก เปลย่ี นเป็น ศุภเมธานนท์
แฉง่ กระโทก เปลี่ยนเป็น มหิทธานุภาพ
นำ้ กระดทก เปลย่ี นเป็น พนู น้ำเพชร
ต่ายกระโทก เปลย่ี นเปน็ หม่ันบำรงุ ศาสน์
กำกระโทก เปลี่ยนเปน็ วัฒนชัยไผส่ วัสด์ิ
โครมกระโทก เปลย่ี นเปน็ จารวุ รรณมนต์
คมกระโทก เปลี่ยนเปน็ คงรักษส์ จั จา
แกะกระโทก เปลี่ยนเป็น พรมศรกี หุ ลาบ
เทย่ี งกระโทก เปลย่ี นเปน็ หมน่ั มงคลชัย
กา้ วกระโทก เปล่ยี นเปน็ เท่ยี งเจริญรักษ์
ชุมกระโทก เปลย่ี นเปน็ คมจักรกฤษ
เขง็ กระโทก เปลย่ี นเป็น เปร่ียมรัตนชยั
เผลอกระโทก เปลี่ยนเป็น ทองอำนวยสขุ
บกกระโทก เปลยี่ นเปน็ ฤทธ์เิ มฆินทร์
งึมกระโทก เปลีย่ นเปน็ สทุ ธินฤพนั ธ์
มติ รกระโทก เปลี่ยนเป็น มติ รโพธ์ิทอง
ครวญกระโทก เปลี่ยนเป็น พฒั นสขุ ศรี
นาคกระโทก เปลี่ยนเป็น นาคคงเกษมศรี
ครอบกระโทก เปลย่ี นเปน็ หยดทองแท้
ฝนกระโทก เปลย่ี นเป็น วฒุ ิไกรเลศิ ภพ
หมอกกระโทก เปล่ยี นเป็น เกษมโชค
ตงกระโทก เปลย่ี นเปน็ ตงดสั กร
แตะกระโทก เปลย่ี นเป็น อนุชานุรกั ษ์
จบกระโทก เปลย่ี นเปน็ ควรรตกิ ลุ

๔๓

พกกระโทก เปลย่ี นเป็น พชั รมนตรี
นามกระโทก เปลี่ยนเปน็ แก้วสีนวลอ่อน
โค่นกระโทก เปลย่ี นเป็น รตั นชยั เดชา
ครูก่ ระโทก เปลี่ยนเปน็ อธิพรหม
ปรกิ กระโทก เปล่ียนเปน็ ปิติสุรเดช
เปลีย่ นกรโทก เปลย่ี นเป็น แนบเหรียญชัย
เขยี วกระโทก เปลยี่ นเป็น เลิศภูมิจติ
โปกระโทก เปลี่ยนเปน็ สรอ้ ยบวั จันทร์
ตา่ ยกระโทก เปลี่ยนเปน็ ศรโี พธ์ิกลาง
ดวดกระโทก เปลย่ี นเป็น ศักดิศ์ รีมีชยั

นามสกุลที่ลงท้ายด้วยคำว่า “กระโทก” ๒.๐๕๙ ตัวอักษร เป็นสิ่งที่บงบอกให้รู้ว่าคนอำเภอ
กระโทกสมัยก่อนมีนามสกุลทีใ่ ช้เป็นสญั ญาลักษณข์ องคนภายในอำเภอกระโทก อย่างแท้จริง นามสกุล
กระโทกนี้คัดลอกมาจากทะเบียนราษฎร์ อำเภอโชคชัย อำเภอครบุรี อำเภอเสิงสาง อำเภอหนองุบญ
มาก อำเภอจกั ราช และอำเภอเฉลมิ พระเกรยี ติ

หมวด ก. มี ๑๘๒ ตัว กบกระโทก กอกระโทก
กกกระโทก กรกระโทก กอนกระโทก
กนกระโทก กลอนกระโทก กรอนกระโทก
ก่อนกระโทก กรนกระโทก กรมกระโทก
กรงกระโทก กวดกระโทก กรวดกระโทก
กลมกระโทก กรวยกระโทก กางกระโทก
กวนกระโทก กลา่ งกระโทก กาจกระโทก
กลางกระโทก กราดกระโทก กาบกระโทก
กาศกระโทก กาพย์กระโทก กาวกระโทก
กราบกระโทก ก้าวกระโทก เกา้ กระโทก
กราวกระโทก กวางกระโทก กวา่ งกระโทก
เกลา้ กระโทก การกระโทก ก้านกระโทก
กรายกระโทก

ก้ามกระโทก กลา้ กระโทก ๔๔
กงิ กระโทก กิ่งกระโทก
กิจกระโทก กินกระโทก กลา้ มกระโทก
กรดิ กระโทก กรชิ กระโทก กำกระโทก
กรมิ กระโทก กลิ่งกระโทก กีบกระโทก
กลน่ิ กระโทก กรกี ระโทก กริบกระโทก
กรีดกระโทก กรีมกระโทก กล้ิงกระโทก
กีกกระโทก กก่ี ระโทก กรีกกระโทก
กงึ กระโทก กึ่งกระโทก กลีบกระโทก
กลงึ กระโทก กรมึ กระโทก กี๋กระโทก
กลืนกระโทก กรืมกระโทก กรึกกระโทก
กลุ กระโทก กุกกระโทก กลบี กระโทก
กุยกระโทก กรุยกระโทก กนุ กระโทก
กลมุ่ กระโทก กรกู ระโทก กรงุ กระโทก
กูมกระโทก กกู่ ระโทก กรยุ่ กระโทก
เกกระโทก เกกกระโทก กูบกระโทก
เก๋งกระโทก เกตุกระโทก ก้กู ระโทก
เกลด็ กระโทก เกณฑ์กระโทก เกง่ กระโทก
แกงกระโทก แกรกระโทก เก็บกระดทก
แกมกระโทก แกม้ กระโทก แกกระโทก
แก่นกระโทก แกว้ กระโทก แกรกกระโทก
แกลงกระโทก แกล้วกระโทก แกล้มกระโทก
แกระกระโทก เกะกระโทก แกรงกระโทก
เกย่ี งกระโทก เกลยี วกระโทก แกะกระโทก
เกี้ยวกระโทก เกร้ียวกระโทก เกียงกระโทก
เกรยี บกระโทก เกลยี่ กระโทก เกี่ยวกระโทก
เกลือกกระโทก เกอ้ื กระโทก เกวยี นกระโทก
เกอื งกระโทก เกอื่ งกระโทก เกลือกระโทก
เกรนิ่ กระโทก เกริกกระโทก เกลย่ี นกระโทก
เกินกระโทก
เกรียมกระโทก

เกิดกระโทก เกากระโทก ๔๕
เกราะกระโทก เกลอกระโทก
กลอ่ กระโทก ก้อกระโทก เกาะกระโทก
กอ่ งกระโทก กรองกระโทก เกากระโทก
กลอ่ งกระโทก กอ้ งกระโทก กองกระโทก
กอกกระโทก กรอกกระโทก กลองกระโทก
กลอกกระโทก กลอดกระโทก กลอ้ งกระโทก
ก้อนกระโทก กร่อยกระโทก กรอบกระโทก
กอบกระโทก กล่อมกระโทก กอ่ นกระโทก
กลับกระโทก กันกระโทก ก้อยกระโทก
กัน้ กระโทก กลัดกระโทก กบั กระโทก
กลวั้ กระโทก กำกระโทก กลนั่ กระโทก
กลกั กระโทก ก่ำกระโทก กลงั้ กระโทก
กร่ำกระโทก กล่ำกระโทก กรำกระโทก
กฤษกระโทก ไกลกระโทก กำ้ กระโทก
โกกระโทก โก้กระโทก กลำ้ กระโทก
โกะ๊ กระโทก โกก๋ ระโทก ใกล้กระโทก
โกงกระโทก โกนกระโทก โกก๊ ระโทก
โกง่ กระโทก โกร่งกระโทก โกกกระโทก
โกรธกระโทก โกลนกระโทก โกบกระโทก
โกรนกระโทก
หมวด ข มี ๖๑ ตัว ขากระโทก
ขนกระโทก ข่วนกระโทก ขา่ กระโทก
ขลนกระโทก ขามกระโทก ขลากระโทก
ขานกระโทก ขายกระโทก ขาบกระโทก
ขาดกระโทก ข่าวกระโทก ข่ายกระโทก
ขาวกระโทก ขิงกระโทก ขวางกระโทก
ขวานกระโทก ขึงกระโทก ขนิ กระโทก
ขิมกระโทก ขึน้ กระโทก

ขุ่นกระโทก ขนุ กระโทก ๔๖
ขุยกระโทก ขุ่ยกระโทก
ขลุ่ยกระโทก เขยกระโทก ขมุ กระโทก
เขตรก์ ระโทก เขม็ กระโทก ขลุกกระโทก
แขกกระโทก แขง่ กระโทก เขตกระโทก
เขยี งกระโทก เขียดกระโทก แขกระโทก
เขยี วกระโทก เข่ืองกระโทก แขง็ กระโทก
เขงิ กระโทก เขินกระโทก เขียนกระโทก
ขอนกระโทก ขอบกระโทก เขลากระโทก
ข่อมกระโทก ขลังกระโทก เขล๊ิกกระโทก
ขดั กระโทก ขวัญกระโทก ขอมกระโทก
ขนั กระโทก ขนั ธก์ ระโทก ขอ้ งกระโทก
ไขกระโทก ไข่กระโทก ขลก๊ิ กระโทก
โขลนกระโทก ขำกระโทก
คนกระโทก โขนกระโทก
หมวด ค. มี ๑๐๔ ตัว ควรกระโทก
คงกระโทก ครากระโทก คบกระโทก
คมกระโทก คา่ กระโทก ครวญกระโทก
ควนกระโทก คานกระโทก คลากระโทก
ครา่ กระโทก คราดกระโทก คา้ กระโทก
คางกระโทก คล้ากระโทก คลานกระโทก
คาดกระโทก ความกระโทก คลากกระโทก
คลา่ กระโทก คลา้ ยกระโทก คราบกระโทก
ครามกระโทก คลนี กระโทก ควายกระโทก
ครา่ วกระโทก ครกึ กระโทก คริ้วกระโทก
คมี กระโทก ครึ้มกระโทก ครีมกระโทก
ครบี กระโทก คล่ืนกระโทก ครึบกระโทก
ครมึ่ กระโทก คืบกระโทก
ครืนกระโทก คณุ กระโทก

คนุ่ กระโทก คนุ้ กระโทก ๔๗
คลุมกระโทก คลมุ้ กระโทก
คณู กระโทก คกู่ ระโทก ค้มุ กระโทก
ครู่กระโทก เคยกระโทก คลุกกระโทก
เครงกระโทก เครง่ กระโท ครูกระโทก
เค็มกระโทก เครากระโทก เคนกระโทก
เคล้ากระโทก เคยี นกระโทก เคา้ กระโทก
เครอื กระโทก เคลอ่ื นกระโทก เคลากระโทก
แคกระโทก แคนกระโทก เคืองกระโทก
แครงกระโทก แคลนกระโทก เคล้มิ กระโทก
แครก่ ระโทก แคลว้ กระโทก แคะกระโทก
ควบกระโทก คอกกระโทก แคลน่ กระโทก
คอยกระโทก ค่อยกระโทก แคลก้ ระโทก
ครอบกระโทก คอ้ มกระโทก คอบกระโทก
คลองกระโทก คลอ่ ยกระโทก ครองกระโทก
ค้อนกระโทก คลงั กระโทก ครอ่ มกระโทก
คร่ังกระโทก ครัวกระโทก คลอ่ งกระโทก
คำ่ กระโทก ครำ่ กระโทก คลง่ั กระโทก
คล้ำกระโทก ไคลกระโทก คำกระโทก
ใคร่กระโทก โครงกระโทก ค้ำกระโทก
โค้งกระโทก โคนกระโทก ใครกระโทก
โคลนกระโทก โครมกระโทก โคลงกระโทก
โค่นกระโทก
หมวด ฆ มี ๓ ตัว ฆอ้ งกระโทก
ฆอ่ งกระโทก ค้อนกระโทก
งดกระโทก
หมวด ง . มี ๔๗ ตวั งอกกระโทก งบกระโทก
งกกระโทก งานกระโทก
งอกระโทก


Click to View FlipBook Version