The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwannnn2542, 2022-05-28 00:32:34

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

งามกระโทก งอมกระโทก ๔๘
งว่ นกระโทก งว้ นกระโทก
หง่าวกระโทก หง่านกระโทก งอนกระโทก
งมึ กระโทก หงึมกระโทก หงายกระโทก
หงมิ กระโทก หงุ่มกระโทก หงา่ มกระโทก
เงยกระโทก แงกระโทก หงม่ึ กระโทก
แหงดกระโทก แหง่วกระโทก หงยุ่ กระโทก
เงียบกระโทก เงยี นกระโทก แง่งกระโทก
เหงย่ี มกระโทก เงินกระโทก เงี่ยงกระโทก
เงื่อกระโทก เงอื่ งกระโทก เหง่ยี วกระโทก
เหงากระโทก เหง่ากระโทก เงิดกระโทก
หงอ่ มกระโทก หงวนกระโทก เหง่อื กระโทก
หงอยกระโทก หงอ่ ยกระโทก เหงา้ กระโทก
หงำกระโทก หงำ่ กระโทก หงอนกระโทก
งดั กระโทก
หมวด จ. มี ๘๓ ตัว จงกระโทก
จกกระโทก จบกระโทก จง่ กระโทก
จน่ กระโทก จว่ งกระโทก จรกระโทก
จวงกระโทก เจา่ กระโทก จวนกระโทก
จวบกระโทก จะกระโทก จ่ากระโทก
จา๋ กระโทก จาบกระโทก จากกระโทก
จางกระโทก จาวกระโทก จามกระโทก
จ่ายกระโทก จริงกระโทก จิกระโทก
จิกกระโทก จิตรกระโทก จิตกระโทก
จิตตก์ ระโทก จิมกระโทก จงิ กระโทก
จิบกระโทก จบี กระโทก จีกระโทก
จม้ิ กระโทก จุกกระโทก จีนกระโทก
จกึ กระโทก จุย้ กระโทก กระโทก
จุลกระโทก จูกระโทก

จกู๋ ระโทก จงู กระโทก ๔๙
แจกระโทก แจงกระโทก
แจบกระโทก แจวกระโทก เจนกระโทก
เจียกกระโทก เจยี ดกระโทก แจ้งกระโทก
เจียมกระโทก เจียวกระโทก เจยี กระโทก
เจิน่ กระโทก เจมิ กระโทก เจียนกระโทก
เจอื กระโทก จ้อกระโทก เจนิ กระโทก
จอ้ งกระโทก จอกระโทก เจริญกระโทก
จอดกระโทก จอนกระโทก จองกระโทก
จอมกระโทก จอยกระโทก จอกกระโทก
จอ่ ยกระโทก จักรกระโทก จอบกระโทก
จังหวดั กระโทก จ่งั กระโทก จอ่ มกระโทก
จันกระโทก จั่นกระโทก จังกระโทก
จับกระโทก ใจกระโทก จัดกระโทก
โจ้งกระโทก โจทย์กระโทก จน้ั กระโทก
โจ้กระโทก
หมวด ฉ. มี ๓๓ ตัว ฉวยกระโทก
ฉะกระโทก ฉาดกระโทก ฉากกระโทก
ฉางกระโทก ฉา่ งกระโทก ฉายกระโทก
ฉาวกระโทก ฉี่กระโทก ฉมิ กระโทก
ฉิวกระโทก ฉกู่ ระโทก ฉีกกระโทก
ฉุนกระโทก เฉยกระโทก ฉูดกระโทก
เฉง่ กระโทก เฉากระโทก แฉกระโทก
เฉยี บกระโทก เฉดิ กระโทก เฉาะกระโทก
แฉะกระโทก ฉดั กระโทก ฉ่อกระโทก
เฉ่อื ยกระโทก ฉำ่ กระโทก ฉตั รกระโทก
ฉันกระโทก โฉมกระโทก

หมวด ช. มี ๖๙ ตัว ชมกระโทก ๕๐
ชนกระโทก ชากระโทก
ชว่ ยกระโทก ชาญกระโทก ชวนกระโทก
ชายกระโทก ชาวกระโทก ชาตกิ ระโทก
ชามกระโทก ชินกระโทก ชานกระโทก
ชงิ กระโทก ชุบกระโทก ช่างกระโทก
ชุดกระโทก ชกู ระโทก ชิดกระโทก
ชุ่มกระโทก ชื่นกระโทก ชมุ กระโทก
ชกู้ ระโทก เชน ก ชู่กระโทก
เชกระโทก เชิง้ กระโทก ชอ่ื กระโทก
เชงิ่ กระโท เชอื กกระโทก เชงิ กระโทก
เชญิ กระโทก เชอ่ื มกระโทก เชิดกระโทก
เช่ืองกระโทก เชยี รกระโทก เช่อื กระโทก
เชา้ กระโทก แชงกระโทก เชอื บกระโทก
แชก่ ระโทก ชอกระโทก แชกระโทก
แชม่ กระโทก ชอ๊ กกระโทก แชดกระโทก
ชอกกกระโทก ชอ่ นกระโทก ช่อกระโทก
ชอนกระโทก ช้อยกระโทก ชอ่ งกระโทก
ชอบกระโทก ช่งั กระโทก ชอ้ นกระโทก
ชงั กระโทก ชัน้ กระโทก ชัดกระโทก
ชั่นกระโทก ช้ำกระโทก ชนั กระโทก
ชำ่ กระโทก ใชก้ ระโทก ชยั กระโทก
ใช่กระโทก โชยกระโทก ไชยกระโทก
โชคกระโทก โชกระโทก
ซากระโทก โชตกิ ระโทก
หมวด ซ. มี ๓๐ ตัว ซา้ ยกระโทก
ซวงกระโทก ซุกกระโทก ซากกระโทก
ซางกระโทก ซิมกระโทก
ซมึ กระโทก ซมุ้ กระโทก

ซุยกระโทก เซกระโทก ๕๑
แซกระโทก แซ่กระโทก
แซงกระโทก แซดกระโทก เซน็ กระโทก
แซมกระโทก แซวกระโทก แซกกระโทก
เซียงกระโทก เซอื บกระโทก แซบกระดทก
ซองกระโทก ซ้อนกระโทก เซาะกระโทก
ซอ่ มกระโทก ซังกระโทก ซอกกระโทก
ซอมกระโทก
หมวด ญ. มี ๕ ตัว ญาติกระโทก ไซรก้ ระโทก
ญะกระโทก ใหญ่กระโทก
ญัตกิ ระโทก ญวนกระโทก
เฐยี รกระโทก
หมวด ฐ. มี ๒ ตัว ดวกกระโทก
ฐานกระโทก เณรกระโทก ด้วงกระโทก
ด่านต้องกระโทก
หมวด ณ. มี ๒ ตัว ดมกระโทก ด้ามกระโทก
ณ กระโทก ด่วงกระโทก ดนิ กระโทก
ดา่ นกระโท ดิษกระโทก
หมวด ด. มี ๕๒ ตวั ดาบกระโทก ดีกระโทก
ดงกระโทก ดาวกระโทก ดน่ื กระโทก
ดวงกระโทก ดิศกระโทก เดชกระโทก
ดวดกระโทก ดิษยก์ ระโทก เดน่ กระโทก
ด้านกระโทก ดึงกระโทก
ดายกระโทก ดมุ กระโทก
ดิบกระโทก แดนกระโทก
ดษิ ฐก์ ระโทก
ดึกกระโทก
ดื้แกระโทก
แดงกระโทก

เด่ือกระโทก เดือนกระโทก ๕๒
เดียนกระโทก ดอกกระโทก
ดอดกระโทก ดอนกระโทก เดิมกระโทก
ดอ่ มกระโทก ด้อมกระโทก ดองกระโทก
ดกั กระโทก ดงั กระโทก ดอมกระโทก
ดบั กระโทก ดำกระโทก ด้อยกระโทก
โดกระโทก โดก่ ระโทก ดนั กระโทก
โดนกระโทก ค่ำกระโทก
ตรงกระโทก โดดกระโทก
หมวด ต. มี ๗๙ ตัว ตมกระโทก
ตงกระโทก ตว่ นกระโทก ต้นกระโทก
ตบกระโทก ตากกระโทก ตวงกระโทก
ตว่ งกระโทก ตา่ ยกระโทก ตวยกระโทก
ตากระโทก ต้งิ กระโทก ตามกระโทก
ตาบกระโทก ตบิ กระโทก ตาลกระโทก
ตง่ิ กระโทก ติ๋วกระโทก ติดกระโทก
ตนิ กระโทก ตึงกระโทก ตมิ กระโทก
ต้วิ กระโทก ตนุ่ กระโทก ตีบกระโทก
ตึกกระโทก ตุ้มกระโทก ตรุยกระโทก
ตุงกระโทก เตน้ กระโทก ตุ้นกระโทก
ตมุ กระโทก แต้กระโทก ตยุ๋ กระโทก
เตนกระโทก แตะกระโทก เตยกระโทก
แตกระโทก เตะกระโทก แตกกระโทก
แตงกระโท เตียนกระโทก แตนกระโทก
แตม้ กระโทก เตรยี มกระโทก เตาะกระโทก
เตา๊ ะกระโทก เติมกระโทก เตือนกระดทก
เตียบกระโทก ตอ้ กระโทก เต่ากระโทก
เตา๋ กระโทก เต็มกระโทก
ตอ่ กระโทก ตอกกระโทก

ตองกระโทก ตอ้ งกระโทก ๕๓
ตอนกระโทก ต่อนกระโทก
ต่อมกระโทก ตอยกระโทก ตอดกระโทก
ตังกระโทก ตงั แกว้ กระโทก ตอ๋ นกระโทก
ตัดกระโทก ตันกระโทก ตอ้ ยกระโทก
ต่ำกระโทก ไตก่ ระโทก ตั้งกระโทก
โตกระโทก โตง้ กระโทก ตน้ั กระโทก
โตมกระโทก ใต้กระโทก
ถากกระโทก โตนกระโทก
หมวด ถ. มี ๓๙ ตัว ถาดกระโทก
ถากระโทก ถี่กระโทก ถางกระโทก
ถา่ งกระโท เถรกระโทก ถนิ กระโทก
ถนิ่ กระโทก แถนกระโทก ถึงกระโทก
เถกระโทก แถะกระโทก แถกระโทก
แถบกระโทก เถื่อนกระโทก แถมกระโทก
แถวกระโทก ถอนกระโทก เถาะกระโทก
เถยี รกระโทก ถงั แก้วกระโทก ถมกระโทก
ถองกระโทก ถำกระโทก ถอยกระโทก
ถงั กระโทก ถกู ระโทก ถดั กระโทก
ถ่วั กระโทก ถบู กระโทก ถำ่ กระโทก
ถ้ำกระโทก ไถ้กระโทก ถู่กระโทก
ถูกกระโทก ไถกระโทก
ไถก่ ระโทก ทนกระโทก โถมกระโทก
ทางกระโทก
หมวด ท. มี ๕๖ ตัว ทามกระโทก ทมกระโทก
ทงกระโทก ทพิ กระโทก ทานกระโทก
ทากระโทก ทายกระโทก
ทาบกระโทก ทิพย์กระโทก
ทนิ กระโทก

ทิมกระโทก ทวิ กระโทก ๕๔
ทมึ กระโทก ทือกระโทก
ทุบกระโทก ทุมกระโทก ทิศกระโทก
ทุ่นกระโทก ทุ่มกระโทก ทนุ กระโทก
เทวกระโทก เทพกระโทก ทงุ่ กระโทก
แทกระโทก แท้กระโทก เทกระโทก
แทนกระโทก แทน่ กระโทก เทศกระโทก
เทมิ กระโทก เทิ่มกระโทก แทง่ กระโทก
เทยี ะกระโทก เทยี นกระโทก แทวกระโทก
เทยี่ งกระโทก แทะกระโทก เท้ิมกระโทก
ทอนกระโทก ทองกระโทก เทยี มกระโทก
ทวมกระโทก ทว่ มกระโทก ท่อกระโทก
ท่อมกระโทก ทบั กระโทก ท่องกระโทก
ทรพั ยก์ ระโทก ทรวงกระโทก ทอมกระโทก
ไทยกระโทก โทนกระโทก ทันกระโทก
ทรายกระโทก
หมวด ธ. มี ๓ ตัว ธมกระโทก
ธงกระโทก ธปู กระโทก
นงค์กระโทก
หมวด น. มี ๑๐๑ ตวั นนท์กระโทก นดกระโทก
นกกระโทก หนว่ งกระโทก นวนกระโทก
หนดกระโทก นากกระโทก หนว่ ยกระโทก
นวลกระโทก นาดกระโทก นาคกระโทก
นากระโทก หนา่ งกระโทก นารกระโทก
นาจกระโทก หนานกระโทก หน่ายกระโทก
นางกระโทก นายกระโทก นาบกระโทก
นานกระโทก นดิ กระโทก นกิ ระโทก
นามกระโทก หนิดกระโทก
นจิ กระโทก

นติ กระโทก นติ ย์กระโทก ๕๕
นม่ิ กระโทก น้มิ กระโทก
นิลกระโทก นกี ระโทก น่ิงกระโทก
นุงกระโทก นนุ กระโทก นนิ กระโทก
นุชกระโทก นดุ กระโทก หนีกระโทก
นยุ กระโทก นูกระโทก หนุนหระโทก
นกึ กระโทก หนึง่ กระโทก นุตย์กระโทก
เนมกระโทก แนก่ ระโทก หนูกระโทก
แนนกระโทก แน่นกระโทก หนดื กระโทก
แหน่งกระโทก แหน่นกระโทก แนบกระโทก
เนิดกระโทก เนนิ กระโทก แนมกระโทก
เนือกระโทก เนื่องกระโทก เนกิ กระโทก
เนือดกระโทก เนอื นกระโทก เนอื้ กระโทก
เนยี ดกระโทก เนยี นกระโทก เนือ้ งกระโทก
เหนี่ยงกระโทก เนยี มกระโทก เหนอื กระโทก
เนากระโทก เนาว์กระโทก เหนยี งกระโทก
เนอ่ กระโทก แนะกระโทก เหนยี่ วกระโทก
หน่อกระโท หนอกกระโทก เนอกระโทก
น๊อตกระโทก นอนกระโทก นอกกระโทก
น้อมกระโทก นอ้ ยกระโทก นอดกระโทก
นดั กระโทก นันกระโทก นวมกระโทก
หนน่ั กระโทก หนนั๋ กระโทก หนอ่ ยกระโทก
นัวกระโทก นงั่ กระโทก หนันกระโทก
ในกระโทก โนกระโทก นบั กระโทก
โหนง่ กระโทก โน้มกระโทก นำ้ กระโทก
โนนกระโทก
หมวด บ. มี ๗๗ ตวั บดกระโทก
บกกระโทก บอกระโทก บทกระโทก
บนกระโทก บอ่ กระโทก

บม่ กระโทก บรุ๋ยกระโทก ๕๖
บวกกระโทก บ่วงกระโทก
บวบกระโทก บอ้ กระโทก บลอ้ งกระโทก
บอบกระโทก บองกระโทก บวชกระโทก
บอ่ ยกระโทก บอ้ งกระโทก บอกกระโทก
บอ๋ ยกระโทก บะกระโทก บอ่ งกระโทก
บัวกระโทก บา่ กระโทก บอ้ นกระโทก
บาตรกระโทก บานกระโทก บังกระโทก
บ่ายกระโทก บำ้ กระโทก บาดกระโทก
บิดกระโทก บินกระโทก บ้านกระโทก
บ่ีกระโทก บบี กระโทก บิงกระโทก
บกุ กระโทก บุลกระโทก บิลกระโทก
บุ้งกระโทก บุญกระโทก บึนกระโทก
บุ้มกระโทก บุ้ยกระโทก บงุ่ กระโทก
เบงกระโทก เบ่งกระโทก บตุ รกระโทก
เบด็ กระโทก เบากระโทก เบรนกระโทก
เบย้ี กระโทก เบยี ดกระโทก เบง้ กระโทก
แบก่ ระโทก แบก้ ระโทก เบาะกระโทก
แบ๊งกระโทก แบบกระโทก เบอื นกระโทก
แบ่งกระโทก แบ้งกระโทก แบงกระโทก
โบกระโทก โบ้กระโทก แบนกระโทก
โบ้ยกระโทก โบนกระโทก แบ้นกระโทก
ใบกระโทก ใบก้ ระโทก โบยกระโทก
โบกกระโทก
หมวด ป. มี ๑๖๕ ตัว ปนกระโทก
ปกกระโทก ปรนกระโทก ปอกระโทก
ปรกกระโทก ปอดกระโทก ปรอกกระโทก
ปร๋อกระโทก ปรอยกระโทก ปางกระโทก
ปรอดกระโทก ปะกระโทก

ประกระโทก ประเสริฐกระโท ๕๗
ปราชกระโทก ปราชญก์ ระโทก
ปรานกระโทก ปราณกระโทก ปรางกระโทก
ปรายกระโทก ปราวกระโทก ปราดกระโทก
ปรา่ กระโทก ปรำกระโทก ปราบกระโทก
ปรงิ กระโทก ปริดกระโทก ปราศกระโทก
ปรืม่ กระโทก ปรอื กระโทก ปรกิ กระโทก
ปรงุ กระโทก ปรยุ่ กระโทก ปรีดกระโทก
ปรูกระโทก ปรกู้ ระโทก ปรุกระโทก
ปลดกระโทก ปลอ่ งกระโทก ปรุย๋ กระโทก
ปลอดกระโทก ปลกั กระโทก ปลูกกระโทก
ปลากระโทก ปลำ้ กระโทก ปลอ้ งกระโทก
ปลิดกระโทก ปลิ้นกระโทก ปล่ังกระโทก
ปลกี ระโทก ปลกี กระโทก ปลงิ กระโทก
ปว่ งกระโทก ป่วนกระโทก ปลวิ กระโทก
ป้อกระโทก ปอกกระโทก ปล่กู ระโทก
ปองกระโทก ป่อกระโทก ปอ่ กระโทก
ปอ้ นกระโทก ป้อมกระโทก ปอนกระโทก
ป่อยกระโทก ปกั กระโทก ป้องกระโทก
ปั้งกระโทก ปัวกระโทก ปอยกระโทก
ปานกระโทก ปา่ ยกระโทก ปงั กระโทก
ปิกกระโทก ปิ้งกระโทก ปากกระโทก
ปนิ กระโทก ปน่ิ กระโทก ป้ำกระโทก
ปบ๊ิ กระโทก ปก่ี ระโทก ปดิ กระโทก
ปีนกระโทก ปีบกระโทก ปบิ กระโทก
ปุกกระโทก ปกุ๊ กระโทก ปีกกระโทก
ปงุ กระโทก ป้งุ กระโทก ปืนกระโทก
ปุ๋มกระโทก ปูกระโทก ปั๊มกระโทก
ปกู้ ระโทก เป้กระโทก ป้มุ กระโทก
ปกู่ ระโทก
เปง้ กระโทก

เปรง่ กระโทก เปรมกระโทก ๕๘
เปาะกระโทก เปราะกระโทก
เปรียงกระโทก เปรี้ยงกระโทก เปรยกระโทก
เปรยี มกระโทก เปรยี มกระโทก เปริ่มกระโทก
เปรยี่ วกระโทก เปรี้ยวกระโทก เปรยี บกระโทก
เปลกระโทก เปลวกระโทก เปรียวกระโทก
เปลี่ยนกระโทก เปลีย่ วกระโทก เปรื่องกระโทก
เปลือ้ งกระโทก เปากระโทก เปลา้ กระโทก
เป๋ากระโทก เปิดกระโทก เปลืองกระโทก
เปี้ยนกระโทก เปือ้ งกระโทก เป้ากระโทก
แปกระโทก แป้กระโทก เปียกระโทก
แปรงกระโทก แปรมกระโทก เปื้อนกระโทก
แปลกกระโทก แปลงกระโทก แปน้ กระโทก
แปะกระโทก แปะ๊ กระโทก แปลกระโทก
ปรกึ กระโทก ปรมึ กระโทก แปวกระโทก
ปลวกกระโทก ปล่อยกระโทก ปรักกระโทก
ปล่องกระโทก เปล่งกระโทก ปรมึ่ กระโทก
ปลกู กระโทก ป่ากระโทก ปลีกกระโทก
ไปกระโทก ไปล่กระโทก ปลงกระโทก
โปนกระโทก โปยกระโทก เป็นกระโทก
โปรง่ กระโทก โปรยกระโทก โปกระโทก
โป่งกระโทก
หมวด ผ. มี ๖๗ ตัว ผลกระโทก โปรดกระโทก
ผงกระโทก ผลกิ ระโทก
ผลักกระโทก ผลุงกระโทก ผลอกระโทก
ผลิตกระโทก ผองกระโทก ผลิกกระโทก
ผลุนกระโทก ผ่องกระโทก ผลดุ กระโทก
ผวยกระโทก ผัดกระโทก ผอนกระโทก
ผังกระโทก ผักกระโทก
ผนั กระโทก

ผัวะกระโทก ผากระโทก ๕๙
ผาดกระโทก ผามกระโทก
ผากระโทก ผา่ นกระโทก ผางกระโทก
ผินกระโทก ผิวกระโทก ผายกระโทก
ผอื กระโทก ผ่ึงกระโทก ผดิ กระโทก
ผุงกระโทก ผุยกระโทก ผนื กระโทก
ผกู ระโทก ผกู่ ระโทก ผ้งึ กระโทก
เผด็ กระโทก เผยกระโทก ผูกกระโทก
เผินกระโทก เผิมกระโทก ผกู้ ระโทก
เผลิมกระโทก เผยี งกระโทก เผลอกระดทก
เผือดกระโทก เผอ่ื กระโทก เผลินกระโทก
แผก่ ระโทก แผนกระโทก เผอื กกระโทก
แผงกระโทก แผลกระโทก เผ่ือนกระโทก
แผละกระโทก แผวกระโทก แผน่ กระโทก
แผ้วกระโทก ไผกระโทก แผลงกระโทก
โผกระโทก โผ่กระโทก แผ่วกระโทก
โผนกระโทก ไผ่กระโทก
ฝอกระโทก โผลก่ ระโทก
หมวด ฝ. มี ๒๗ ตัว ฝกั กระโทก
ฝนกระโทก ฝากกระโทก ฝอ่ กระโทก
ฝอยกระโทก ฝายกระโทก ฝันกระโทก
ฝากระโทก ฝกี ระโทก ฝางกระโทก
ฝาดกระโทก ฝ่นุ กระโทก ฝ่ายกระโทก
ฝ้ายกระโทก เฝือกกระโทก ฝึกกระโทก
ฝืนกระโทก แฝงกระโทก เฝ้ากระโทก
เฝือกระโทก ใฝกระโทก เฝือดกระโทก
แฝกกระโทก ไฝกระโทก
ไฝก่ ระโทก ใฝก่ ระโทก

หมวด พ. มี ๑๑๘ ตัว พงกระโทก ๖๐
พกกระโทก พอกระโทก
พรกระโทก พรวนกระโทก พบกระโทก
พรหมกระโทก พร่ันกระโทก พรมกระโทก
พระกระโทก พรานกระโทก พร้อมกระโทก
พรางกระโทก พราวกระโทก พรากกระโทก
พรายกระโทก พรกิ กระโทก พรามกระโทก
พรำกระโทก พรงุ่ กระโทก พรา้ วกระโทก
พรมึ กระโทก พลอกระโทก พรง้ิ กระโทก
พลกระโทก พลกั กระโทก พฤกษก์ ระโทก
พละกระโทก พล่ากระโทก พลอยกระโทก
พลั่นกระโทก พวงกระโทก พลนั กระโทก
พวกกระโทก พกั กระโทก พลกุ ระโทก
พอกกระโทก พนั ธุ์กระโทก พงษก์ ระโทก
พนั กระโทก พากกระโทก พัดกระโทก
พากระโทก พา่ ยกระโทก พับกระโทก
พายกระโทก พิงกระโทก พานกระโทก
พาสกระโทก พิศกระโทก พาลกระโทก
พมิ พก์ ระโทก พึ่งกระโทก พิณกระโทก
พึงกระโทก พุงกระโทก พษิ กระโทก
พุกระโทก พูกระโทก พืน้ กระโทก
พ่มุ กระโทก เพง็ กระโทก พุดกระโทก
พนู กระโทก เพช็ รกระโทก พู่กระโทก
เพชรกระโทก เพากระโทก เพญ็ กระโทก
เพ็ดกระโทก เพลงกระโทก เพช็ รก์ ระโทก
เพลกระโทก เพลิงกระโทก เพราะกระโทก
เพลาะกระโทก เพลยี ะกระโทก เพลากระโทก
เพลินกระโทก เพาะกระโทก เพลิดกระโทก
เพอ้ กระโทก เพอ่ กระโทก
เพงิ กระโทก

เพิง่ กระโทก เพมิ่ กระโทก ๖๑
เพียะกระโทก เพยี งกระโทก
เพียรกระโทก เพลี้ยวกระโทก เพียกระโทก
เพ่ือกระโทก เพือ่ นกระโทก เพียบกระโทก
แพะกระโทก แพรกระโทก เพย้ี ะกระโทก
แพงกระโทก แพลงกระโทก เพือมกระโทก
แพทย์กระโทก แพร่งกระโทก แพรก่ ระโทก
ไพ่กระโทก ไพรกระโทก แพรวกระโทก
ไพลก่ ระโทก โพกระโทก ไพกระโทก
โพรงกระโทก โพธิก์ ระโทก ไพลกระโทก
โพยกระโทก โพงกระดทก
ฟอ้ นกระโทก โพนกระโทก
หมวด ฟ. มี ๒๓ ตัว ฟังกระโทก
ฟอนกระโทก ฟางกระโทก ฟอมกระโทก
ฟกั กระโทก ฟื้นกระโทก ฟนั กระโทก
ฟากกระโทก เฟอื งกระโทก ฟานกระโทก
ฟืนกระโทก เฟ่ือมกระโทก ฟุง้ กระโทก
ฟูกระโทก แฟงกระโทก เฟือมกระโทก
เฟื่องกระโทก ไฟกระโทก เฟือ่ ดกระโทก
แฟกระโทก แฟนกระโทก
แฟบกระโทก ภกั ดิก์ ระโทก
ภาคกระโทก ภกั ษก์ ระโทก
หมวด ภ. มี ๑๔ ตัว ภาพกระโทก ภาคยก์ ระโทก
ภักกระโทก ภูกระโทก ภายกระโทก
ภยั กระโทก เภากระโทก ภู่กระโทก
ภากระโทก
ภาสกระโทก
ภูมกิ ระโทก

หมวด ม. มี ๘๓ ตัว มนต์กระโทก ๖๒
มนกระโทก ม่วมกระโทก
ม้วนกระโทก มอ่ งกระโทก ม่วงกระโทก
มองกระโทก มอ่ มกระโทก มวยกระโทก
มอบกระโทก มัวกระโทก มอญกระโทก
มันกระโทก มากกระโทก มักกระโทก
มา้ กระโทก มายกระโทก มากระโทก
มา่ มกระโทก มติ รกระโทก มาบกระโทก
ม่งิ กระโทก มิ่มกระโทก มกี ระโทก
มมิ กระโทก มงุ้ กระโทก มินกระโทก
ม่งุ กระโทก มมุ กระโทก มว่ิ กระโทก
มดุ ดอนกระโทก มูลกระโทก มดุ กระโทก
มุ้ยกระโทก เมา่ กระโทก ม้มุ กระโทก
เมากระโทก เหมากระโทก เมฆกระโทก
เมงิ้ กระโทก เหมงิ กระโทก เม่งิ กระโทก
เมินกระโทก เมอื งกระโทก เหมา่ กระโทก
เมียกระโทก มนกระโทก เหมิ่งกระโทก
เมน่ กชี ระโทก แมว่ กระโทก เมอ่ื ยกระโทก
แมวกระโทก หมอกระโทก แมน้ กระโทก
หมอ่ งกระโทก หม่อมกระโทก แมว้ กระโทก
หมอ่ นกระโทก หม่ินกระโทก หมอกกระโทก
หมน่ั กระโทก หมกี่ ระโทก หมันกระโทก
หมีกระโทก มณีกระโทก หมวิ กระโทก
หมน่ื กระโทก หมุนกระโทก หมึกกระโทก
หมุ่ยกระโทก ไม้กระโทก หมยุ กระโทก
หมูก่ ระโทก โมกระโทก หมูกระโทก
ใหมก่ ระโทก โหม่งกระโทก ไหมกระดทก
โมงกระโทก โมก่ ระโทก

หมวด ย. มี ๘๐ ตัว ยอกระโทก ๖๓
ยกกระโทก ยวดกระโทก
ยวงกระโทก ยอกกระโทก ยนตก์ ระโทก
ยศกระโทก ยอดกระโทก ยวนกระโทก
ยอ่ งกระโทก ยอ่ ยกระโทก ยอนกระโทก
ยอ่ มกระโทก ยังกระโทก ยอมกระโทก
ยกั กระโทก ยนั กระโทก ยะกระโทก
ยดั กระโทก ยามกระโทก ยั้งกระโทก
ยากกระโทก ย้ำกระโทก ยากระโทก
ย้ายกระโทก ยบิ กระโทก ยา่ มกระโทก
ยิ่งกระโทก ยม้ิ กระโทก ยงิ กระโทก
ยิ่นกระโทก ยื่นกระโทก ยนิ กระโทก
ยนื กระโทก ยอื กระโทก ยีก่ ระโทก
ยมื กระโทก ยุ้งกระโทก ยืน้ กระโทก
ยุงกระโทก ยนุ กระโทก ยคุ กระโทก
ยุดกระโทก เยก้ ระโทก ยุ้ยกระโทก
เยกระโทก เยยี กระโทก ยุบกระโทก
เยย้ กระโทก เยอ่ื กระโทก เยน็ กระโทก
เยือกระโทก แยกกระโทก เยย่ี มกระโทก
เยอื นกระโทก แยม้ กระโทก เยอ้ื งกระโทก
แยบกระโทก หยองกระโทก แยน้ กระโทก
หยวนกระโทก หยดั กระโทก หยวกกระโทก
หยอ่ มกระโทก หยน๋ั กระโทก หย่องกระโทก
หยันกระโทก หยมิ กระโทก หยงั กระโทก
หยบิ กระโทก เหยียดกระโทก หยกิ กระโทก
เหย่อื กระโทก อยกู่ ระโทก หยดุ กระโทก
แหยมกระโทก ใยกระโทก แหยงกระโทก
โยนกระโทก โยงกระโทก

หมวด ร. มี ๕๔ ตัว รมกระโทก ๖๔
รดกระโทก รวมกระโทก
รวงกระโทก รสกระโทก รม่ กระโทก
รวยกระโทก รองกระโทก ร่วมกระโทก
รอกกระโทก รั้งกระโทก รอกระโทก
รกั ษก์ ระโทก รางกระโทก ระกระโทก
รากกระโทก ราดกระโทก รัดกระโทก
ราชกระโทก รำกระโทก รา่ งกระโทก
ร้าวกระโทก รมิ กระโทก รามกระโทก
รินกระโทก รุมกระโทก รดิ กระโทก
รนุ กระโทก เรยี กระโทก ริ้วกระโทก
เริ่มกระโทก เรอื งกระโทก รูปกระโทก
เรยี นกระโทก แรดกระโทก เรยี กกระโทก
เรื้องกระโทก แร้วกระโทก เรื่องกระโทก
แรมกระโทก หรี่กระโทก แรตกระโทก
หรนั้ กระโทก หริง่ กระโทก หรัง่ กระโทก
หรงิ กระโทก โรงกระโทก หรนุ่ กระโทก
ไรก่ ระโทก โรคกระโทก เหร่ียงกระโทก
โรนกระโทก โรง่ กระโทก
ลงกระโทก โรจนก์ ระโทก
หมวด ล. มี ๑๐๕ ตัว ล้นกระโทก
ลดกระโทก ลอ่ กระโทก ลนกระโทก
ล่นกระโทก ลองกระโทก ลมกระโทก
ลอกระโทก ลอบกระโทก ลวดกระโทก
ลอกกระโทก ลงั กระโทก ลอดกระโทก
ลอนกระโทก ลมั กระโทก ลอยกระโทก
ละกระโทก ลากระโทก ลับกระโทก
ลันกระโทก ลม้ กระโทก
ลอ้ มกระโทก ลากกระโทก

ลางกระโทก ลาดกระโทก ๖๕
ลาภกระโทก ลามกระโทก
ล้ามกระโทก ลำกระโทก ล่านกระโทก
ลินกระโทก ลบิ กระโทก ล่ามกระโทก
ลม้ิ กระโทก ลวิ้ กระโทก ลิกระโทก
ลกี กระโทก ลีมกระโทก ลปิ กระโทก
ลู่กระโทก ลูกกระโทก ลกี ระโทก
เลากระโทก เลขกระโทก ลึกกระโทก
เล็กกระโทก เล็งกระโทก เลกกระโทก
เลิกกระโทก เลบิ กระโทก เลยกระโทก
เลิศกระโทก เลยี กระโทก เล็บกระโทก
เลยี บกระโทก เลยี มกระโทก เลดิ กระโทก
เลอื กกระโทก เลอื ดกระโทก เลียงกระโทก
เหลือกระโทก เลือ่ นกระโทก เลย่ี มกระโทก
เลื่อยกระโทก เลอ้ื ยกระโทก เลอื นกระโทก
เหลา่ กระโทก เหล่ียมกระโทก เล่ือมกระโทก
เหล็งกระโทก แลกระโทก เหลอื งกระโทก
แล้วกระโทก แหลก่ ระโทก เหล็กกระโทก
หลงกระโทก หลง่ั กระโท แลงกระโทก
หล่นกระโทก หล่อกระโทก แหลง่ กระโทก
หลีกกระโทก ลือกระโทก หลอดกระโทก
หลืบกระโทก หลวงกระโทก หลกี ระโทก
หล่างกระโทก หล่ากระโทก ลมื กระโทก
ไลกระโทก ไลก่ ระโทก หล่วงกระโทก
โลกระโทก โลก่ ระโทก หลดุ กระโทก
โล่งกระโทก โหลกระโทก ไหลก่ ระโทก
โหลง่ กระโทก โหลยกระโทก โล้กระโทก
โหลก่ ระโทก
โหลดกระโทก

หมวด ว. มี ๔๒ ตัว วงศ์กระโทก ๖๖
วงกระโทก วอนกระโทก
วนกระโทก วดั กระโทก วงษ์กระโทก
วังกระโทก วางกระโทก วอยกระโทก
วากระโทก วะกระโทก วนั กระโทก
วายกระโทก หวดิ กระโทก วานกระโทก
หววิ กระโทก เวกกระโทก วงิ กระโทก
เวกระโทก เวน่ิ กระโทก ว้นุ กระโทก
เวรกระโทก เวียนกระโทก เวชกระโทก
เวียงกระโทก แวว่ กระโทก เวน้ิ กระโทก
แววกระโทก หวา่ นกระโทก แวดกระโทก
หวานกระโทก แหวกกระโทก วอกระโทก
แหวก่ ระโทก แหววกระโทก หวา่ กระโทก
แหวนกระโทก ไวกระโทก แหวดกระโทก
แหวว๋ กระโทก แหว่วกระโทก
ศอกกระโทก ไหวกระโทก
หมวด ศ. มี ๑๐ ตัว ศิรกิ ระโทก
ศรกี ระโทก เศรษฐกระโทก ศักดิ์กระโทก
ศากกระโทก เศรษกระโทก
เศรษฐ์กระโทก ส่งกระโทก เศษกระโทก
เศียรกระโทก สนกระโทก
สระกระโทก สงค์กระโทก
หมวด ส. มี ๗๙ ตัว สวยกระโทก สรวงกระโทก
สงกระโทก สอดกระโทก สวงกระโทก
สดกระโทก สักกระโทก สองกระโทก
สรอ้ ยกระโทก สอนกระโทก
สวนกระโทก สงั กระโทก
ส่องกระโทก
สอบกระโทก

ส้งั กระโทก สันกระโทก ๖๗
สากกระโทก สาดกระโทก
สาปกระโทก สามกระโทก สบั กระโทก
สารกระโทก สิงหก์ ระโทก สานกระโทก
สินกระโทก สิ้นกระโทก สายกระโทก
สีกระโทก สกึ กระโทก สวิ กระโทก
สกุ กระโทก สขุ กระโทก สว่ิ กระดทก
สกู่ ระโทก สงู กระโทก สบื กระโทก
สตู รกระโทก สูบกระโทก สุดกระโทก
เสมกระโทก เสยกระโทก สญู กระโทก
เสริฐก์ ระโทก เสรมิ กระโทก เสง็ กระโทก
เสากระโทก เสาร์กระโทก เสรฐิ กระโทก
เสิงกระโทก เสียกระโทก เสวกระโทก
เส่ยี งกระโทก เสยี ดกระโทก เสาว์กระโทก
เสียมกระโทก แส่กระโทก เสยี งกระโทก
แสดกระโทก แสนกระโทก เสียบกระโทก
แสะกระโทก สระกระโทก แสงกระโทก
ใสก่ ระโทก ใสก้ ระโทก แสวกระโทก
โสนกระโทก โสบกระโทก ใสกระโทก
โสมกระโทก โสดกระโทก
หดกระโทก โสปกระโทก
หมวด ห. มี ๗๐ ตัว หลกระโทก
หกกระโทก หอกกระโทก หนกระโทก
หอกระโทก หวยกระโทก หอนกระโทก
หวลกระโทก หว่ ยกระโทก หวงกระโทก
หอยกระโทก ห้วยกระโทก หอมกระโทก
หว่ งกระโทก หดั กระโทก ห่อมกระโทก
หอ้ งกระโทก ห้อยกระโทก
หะกระโทก หันกระโทก

หากระโทก ห้ากระโทก ๖๘
หงสก์ ระโทก หงสก์ ระโทก
หาดกระโทก หาบกระโทก ห่างกระโทก
หารกระโทก หาวกระโทก หาญกระโทก
หนิ กระโทก ห่ินกระโทก หา่ มกระโทก
หน่ื กระโทก หึกระโทก หำ่ กระโทก
หนึ กระโทก หุนกระโทก หนื กระโทก
หบุ กระโทก หม่ กระโทก หกึ กระโทก
หมุ้ กระโทก หยุ กระโทก หนุ่ กระโทก
เหงกระโทก เหนกระโทก หมุ่ กระโทก
เหอกระโทก เห่อกระโทก เหกระโทก
เหิบกระโทก เหิรกระโทก เหมกระโทก
ไหกระโทก ใหก้ ระโทก เหาะกระโทก
โหก่ ระโทก โหก้ ระโทก เหยี กระโทก
โหบกระโทก โหมกระโทก โหกระโทก
โหยกระโทก โหงกระโทก
องค์กระโทก โหรกระโทก
หมวด อ. มี ๖๙ ตัว อมกระโทก
อกกระโทก อว่ มกระโทก อดกระโทก
อบกระโทก อ่อมกระโทก ออนกระโทก
ออมกระโทก ออ้ นกระโทก อว่ ยกระโทก
ออ่ นกระโทก อัดกระโทก อ้อมกระโทก
อน้ กระโทก อั่งกระโทก ออ๊ ดกระโทก
อังกระโทก อ่างกระโทก อันกระโทก
อับกระโทก อ่ำกระโทก อั้นกระโทก
อาบกระโทก อินทรก์ ระโทก อาจกระโทก
อำกระโทก อกุ กระโทก อิงกระโทกฃ
อนิ กระโทก อิม่ กระโทก
อ๋กี ระโทก อุน่ กระโทก

อุบกระโทก อุ้ยกระโทก ๖๙
อมู กระโทก เอ้กระโทก
เอนกระโทก เอมกระโทก อบู กระโทก
เอม็ กระโทก เอย่ กระโทก เอ๋กระโทก
เอียกระโทก เอยี ะกระโทก เอ็นกระโทก
เอือ่ มกระโทก เอื่อยกระโทก เออกระโทก
แอกกระโทก แอนกระโทก เอ๊ยี ะกระโทก
แอมกระโทก แอวกระโทก เอื้อนกระโทก
แอ่วกระโทก แอม้ กระโทก แอบกระโทก
ไอก้ ระโทก โอกระโทก แอ่นกระโทก
โอกกระโทก โอดกระโทก ไอกระโทก
โอนกระโทก โอยกระโทก โอ้กระโทก
โอตกระโทก
หมวด ฮ. มี ๒๔ ตวั ฮากระโทก อปุ กระโทก
ฮอกระโทก ฮ้อกระโทก
ฮวบกระโทก ฮนู กระโทก ฮวดกระโทก
ฮกู ระโทก เฮมกระโทก ฮือกระโทก
เฮงกระโทก แฮกระโทก ฮูมกระโทก
เฮากระโทก แฮ้กระโทก เฮอะกระโทก
แฮมกระโทก โฮงกระโทก แฮงกระโทก
โฮกระโทก โฮปกระโทก ไฮกระโทก
โฮบกระโทก โฮนกระโทก
โฮมกระโทก
หมวดสระเกนิ ฤ. มี ๑ ตัว
ฤทธ์ิกระโทก

๗๐

ไดร้ บั ความอนุเคราะหข์ อ้ มลู ช่อื -นามสกุล “คนกระโทก”
จากหนงั สือ “บันทกึ ประวตั ศิ าสตร์

๑๐๙ ปี อำเภอกระโทก โดยกราบนัมสการพระคุณเจา้ พระมหาวิเชียร กลฺยาโณ
เจ้าคณะอำเภอโชคชยั วัดใหมส่ ระประทุม ตำบลโชคชยั อำเภอโชคชยั จังหวัดนครราชสมี า

๗๑

หนงั สอื ๑๐๙ ปีอำเภอกระโทก

พมิ พ์คร้งั ที่ 1 มีนาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๒๐๐๐ เล่ม
หนงั สือ ๑๐๙ ปีอำเภอกระโทก ๒๗๔ หนา้
จัดพิมพ์โดย วัดใหม่สระประทมุ ๑๑๕ หมู่ ๒ ตำบลโชคชยั อำเภอโชคชยั จงั หวดั นครราชสมี า
๓๐๑๙๐

ท่ปี รึกษา พระมหาจันทร์ คุณวุฒโฒ,นายอภสิ ทิ ธิ์ ธรี ภูวฤทธิ์, นายวบิ ูลย์ ตั้งอดุลยร์ ัตน์ นาย

ชิวปอ สรณคมน์ ,พลโทณรงค์ ธรี ะวัฒนา

บรรณาธิการบรหิ าร นายพิทักษ์ จิตต์กระโทก

กองบรรณาธกิ าร นางสมพันธ์ุ วงศ์จำปา, นางสมพอง สกลุ ภกั ดี, นางวัฒนา สัจถาวร,

นาย สมหมาย สุพยากรณ์ นายกำพล กัมพลานนท์

พสิ ูจนอ์ ักษร พระปลัดวชิ ัย ปรชิ าโน, พระจติ รกร เนรินโท, นายประวตั ิ สริ สิ วัสด์ิ,

นางสาวบุปผยา สังฆมานนท์, นางสวุ ิมล หาญกลา้

ตัดภาพถา่ ย นางบุญพรอ้ ม รกั ษ์วิเชยี ร, นางกาญจนา ภูสมี า, นายศวิ ัช นางสำเนียง

กิง่ กาญจน์เจริญ,นายชู คอ้ นกระโทก, นางประสพศรี พมิ ล, นายสมชั ชา

เจียรณัย, นายอนรุ กั ษ์ ธรรมนติ ย์กจิ ,

นางสาวจารุวรรณ สงั ฆมานนท์, นายพษิ ณุ เนตรศลิ านนท์

จัดพิมพ์โดย หจก. มติ รภาพการพมิ พ์ ๒๖๗ ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง

จงั หวัดนครราชสีมา ๓๐๐๐๐ โทร ๐๔๔-๒๔ ๔๕ ๕๑, ๒๔๑๔๗๖

โทรสาร ๐๔๔-๒๔๔ ๕๕๑

หนงั สือเลม่ น้ีหา้ ม จำหน่าย

๗๒

พระมหาวเิ ชียร กลยฺ าโณ เจ้าคณะอำเภอโชคชัย
วัดใหม่สระประทุม รเิ ร่ิมในการจดั ทำ
หนงั สอื “บนั ทึกประวตั ศิ าสตร์

๑๐๙ ปอี ำเภอกระโทก และสบื คน้ นามสกลุ ที่ลงดว้ ย “กระโทก”

๗๓

นายพทิ กั ษ์ จิตต์กระโทก ปราชญ์อำเภอโชคชยั
บรรณาธกิ ารจัดทำหนังสอื “บนั ทกึ ประวัตศิ าสตร์ ๑๐๙ ปี อำเภอกระโทก

และสบื ค้น นามสกลุ ทลี่ งดว้ ย “กระโทก”

๗๔
สตรตี ำบลโชคชัย เลา่ ขานนามสกุลทล่ี งด้วย “กระโทก”

๗๕

๗๖

เล่าขานประวตั ศิ าสตร์
นครราชสีมาผา่ นนามสกลุ คนโคราช

“ประวัตอิ ำเภอพมิ าย”

๗๗

เลา่ ขานผ่านนามสกลุ คนพมิ าย
านนามสกลุ คนพมิ าย

ประวัตินามสกุล การพิมาย
เล่าขานผ่าน นางปราณี การพิมาย นามสกุล การพิมาย มีที่มาของนามสกุล มาจากบ้านตะปัน
อำเภอพิมาย เมื่อก่อนมีอาชีพขายของเร่ ทำไร่ทำนา เมื่อว่างเว้นจากการทำงาน ก็มีอาชีพเสริมขายของ
เล่น อนั ได้แก่ ขันทองเหลือง ขายไปไกลถงึ เมืองเขมรตำ่ ปัจจุบนั คือ เมืองเสียมราฐ ประเทศกมั พูชา ใน
ปัจจบุ ันเลอื กไขขันทองเหลืองแลว้ แตย่ งั คงมกี ารทำไร่ทำนา ขณะน้นั คณุ ยายโชว์ตะกร้าหวาย ท่ีได้รับมา
จากเมืองเขมรต่ำ เม่ือคร้งั ท่คี ุณยายยังขายของเร่ สรปุ ทมี่ าของนามสกลุ การพิมาย มตี น้ กำเนิด กำเนิดมา
จากคนพิมายดั้งเดิม ที่ต้องการตั้งนามสกลุ โดยใช้ชื่อถิ่นที่อยู่เป็นส่วนหนึ่งของนามสกลุ และนำอาชพี
ของตน มาตั้งนามสกุล มาสะท้อนอัตลักษณ์ของครอบครัว คือการค้าขาย จึงมาเป็น ที่มาของนามสกุล
การพมิ าย

ประวัตินามสกลุ คา้ ขาย
เล่าขานผ่านนายนิติ คา้ ขาย อดตี ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านตะบองราษฎร์อุทิศ นามสกุล ค้าขาย
ตน้ ตระกลู มาจากการคา้ ขาย แรกเรม่ิ จะเป็นการนำสนิ ค้า จากเขมร อาทเิ ชน่ ขนั เงนิ เสอื่ หวาย รบั มาขาย
ในทอ้ งถน่ิ และยึดอาชีพนีเ้ ลี้ยงลูกหลานสบื ต่อมา ปัจจุบันยังมีการยึดอาชีพคา้ ขายในการดำรงชพี เปน็ การ
ทำหวาย การขายที่นอน เรียกได้ว่ามีความภูมิ ใจในนามสกุลนี้ เพราะเป็นเอกลักษณ์ คิดถึงคนท้องถิ่น
อำเภอพมิ าย บ้านรังกาจะต้องนึกถึงอาชพี ค้าขาย, จงึ ทำใหเ้ กดิ เปน็ นามสกุลตา่ งๆ และเมอ่ื ไปจดทะเบียน
นามสกุลที่อำเภอ ก็จะตั้งนามสกุลลงท้ายอาชีพของตน เช่น สืบค้า เพียรค้า ค้าขาย อุตส่าห์ค้า การค้า
ตา่ งๆเป็นตน้

ประวัตินามสกุล ภูมคิ า้
เล่าขานผ่านครูวิเชียรภูมิค้า นามสกุลภูมิค้า มีต้นกำเนิดจากการตั้งนามสกุลของรุ่นคุณปู่ของ
คุณครูวิเชียร ภูมิค้า ซึ่งมีที่มาจากการค้าขาย และคุณปู่ได้มาเจอคุณย่าที่อำเภอพิมาย จึงได้กำเนิด
นามสกุลภมู ิคา้ ขนึ้ เนือ่ งจากปู่เปน็ คนค้าขาย ซ่ึงร่นุ คุณปู่คะขายจะเปน็ พวกขนั ทองเหลอื ง นอกจากขัน
ทองเหลืองก็จะเป็นพวกเสื่อหวาย หลังจากนั้นมาเท่าที่จำความได้จะเป็นปลาย่าง มาจากเขมรต่ำ มา
ค้าขาย ต่อจากนั้นที่จำความได้ก็จะเป็น ขายโอ่ง ของด่านเกวียน เคยนั่งเกวียนไปกับพ่อเพื่อ ไปเอาโอ่ง
แนะนำใส่เกวยี นมาเพอื่ เลขขาย รนุ่ ปูแ่ ละรุน่ พอ่ นามสกุลภมู ิค้า ไม่มีการเปลี่ยนนามสกุลเพื่อสืบเชื้อสาย

๗๘

จึงได้ใช้นามสกุลนีส้ ืบตอ่ มายังรุ่นปัจจุบัน และปัจจุบันยงั มีการประกอบอาชีพค้าขาย ซึ่งเป็นอาชีพหลกั
ดั้งเดมิ ของคนพมิ าย ซงึ่ คนพมิ ายนี้จะลงท้ายนามสกุลด้วยคำวา่ ค้า พาณิชย์ เชน่ วัชรพาณชิ ย์ เปล่งค้า ภมู ิ
ค้า และอืน่ ๆ ซึง่ เป็นความภาคภูมใิ จของนามสกลุ ภูมคิ ้า ทีไ่ มไ่ ด้มีการเปล่ียนแปลง ซ่ึงทำใหเ้ ป็นเอกลักษณ์
ที่เมื่อเอ่ยถึงนามสกุล ภูมิค้า ค้าขาย อื่นๆ ก็จะนึกถึงถิ่นอำเภอพิมาย ทางบ้านดง บ้านชาด เขาก็จะทำ
การค้าขายเช่นเดยี วกัน แตส่ นิ ค้าจะแตกต่างกบั ของ บา้ นรังกา และเน่อื งจาก ทำอาชพี ค้าขาย ทำใหค้ นใน
หมูบ่ า้ น ออกขายของตามพ้ืนทตี่ า่ งๆ ทว่ั ประเทศ แตเ่ ป็นทรี่ ูจ้ กั อยา่ งแพร่หลาย

ประวตั นิ ามสกุล สืบคา้
เลา่ ขานผา่ นอดตี ผู้ใหญ่บ้าน วรี ชาติ สบื คา้ ท่านเป็นบตุ รของนายแดง สบื ค้า เป็นอดีตผู้ใหญ่บ้าน
ดั้งเดิมที่ทวดเป็นคนจีนมาจากประเทศจีน แล้วขึ้นมาที่หนองเรือ แล้วมาได้เมียเป็นคนไทย ออกลูกออก
หลานมาตั้งถิ่นฐานที่บ้านรังกา ซึ่งคนที่ตั้งถิน่ ฐานทีบ่ ้านลังกาคือ ขุนชาญ ซึ่งมีศักดิ์เปน็ ตาทวด และที่มา
ของนามสกุลสืบเนอื่ งมาจาก อาชีพการค้าขาย บรรพบรุ ษุ แรกเรมิ่ ไดท้ ำการค้าขายกับเขมร คือ นำเกลือไป
ขายและซื้อปลาแห้งจากเขมร นำกลับมาค้าขาย เปน็ การแลกเปล่ียน ปจั จุบนั ยงั มกี ารทำการค้าขายตามท่ี
ต่างๆ จากเมอ่ื กอ่ นคา้ ขายกับเขมร ขายโลงหนิ ขายเสื่อหวายต่างๆ สังเกตไดจ้ ากคนเรข่ ายสินคา้ ต่างๆ ไป
กรุงเทพฯ หรือต่างจังหวัด ส่วนใหญ่มาจากพิมาย ซึ่งเปน็ ท่มี าและความภาคภมู ิใจ ของนามสกุล สืบค้า
ทไี่ ดม้ าจากการค้าขายนัน่ เอง

๗๙

เลา่ ขานประวตั ศิ าสตร์
นครราชสีมาผ่านนามสกลุ คนโคราช

“ประวัตอิ ำเภอดา่ นขุนทด”

๘๐

เล่าขานผา่ นนามสกุล คนดา่ นขนุ ทด

นามสกุล หมายถึง ชื่อสกุลบอกตระกูล เพื่อแสดงที่มาของบุคคลนั้นว่ามาจากครอบครัวไหน
ตระกูลใด ธรรมเนียมการใช้นามสกุลปรากฏอยู่ทั่วไปในหลายๆ ประเทศและวัฒนธรรม ซึ่งในแต่ละที่ก็
อาจจะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกนั ไป เช่น ตะวันออกกลาง และในทวีปแอฟรกิ า นามสกลุ จะอยู่ในลำดับ
หลงั สุด ของชอื่ บคุ คล แต่นามสกลุ ในทวีปเอเชยี ตะวนั ออก จีน ญปี่ ุ่น เกาหลี เวยี ดนาม นามสกุลจะอยู่ใน
ลำดับแรก สว่ นนามสกุลของไทยน้นั จะอยเู่ ปน็ ลำดับสดุ ท้ายเหมือนทางตะวนั ตก

เดิมที่คนไทยไม่ได้มีนามสกุลจะมีเพียงชื่อเรียกเท่านั้น ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจา้ อยู่หวั รัชกาลท่ี ๖ จงึ โปรดเกล้าใหม้ กี ารตัง้ นามสกุลเหมือนกับประเทศอื่นๆ โดยใหต้ ราพระราชบัญญัติ
ขนานนามสกลุ เม่อื วันท่ี ๒๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๕๕ มีผลใชบ้ งั คับตั้งแตว่ นั ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. 2456 และ
มีการพระราชทานนามสกุลให้แก่หลายครอบครัว นามสกุลพระราชทานจำนวน ๖5,๔๓๒ นามสกลุ และ
หลายครอบครวั ก็ตั้งนามสกลุ ตามชอื่ ของผู้นำของครอบครัว หรอื ตามถิ่นทอ่ี ยอู่ าศัยของครอบครัว เมอ่ื มี
พระราชบัญญัติขนาน นามสกุลขึ้นราษฎรไทยจึงต้องตั้งนามสกุลหรับใช้ในครอบครัวหรือตระกูลของตน
โดยมีความนิยมหลายด้าน ทั้งการตั้งตามช่ือของบรรพบุรุษ (ปู่ ย่า ตา หรือ ยาย) การตั้งตามหน้าท่กี าร
งานที่เป็นข้าราชการที่มีราชทินนาม มักจะนำราชทินนามมาตั้งเป็นนามสกุลของตน เช่นหลวงพิบูล
สงคราม (แปลก) ใช้นามสกุล “พบิ ลู สงคราม” การต้ังตามสถานทีอ่ ยอู่ าศยั การตงั้ ตามเช้ือสายจีนอาจแปล
ความหมายจาก "แซ่" หรอื ใชค้ ำวา่ แซน่ ำหนา้ ชอ่ื แซ่ หรอื ใชช้ ่อื แซ่นำหนา้ เป็นตน้

เมืองนครราชสีมาหรือเมืองเสมาถือว่าเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีผู้คนอาศัยอยู่เป็น
จำนวนมากและมีหลายเชื้อสาย ทั้งกลุ่มชนพื้นเมืองที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สมัยอยุธยาในสมัย
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช กลุ่มชนเชื้อสายลาว กลุ่มชนเชื้อสายเขมร กลุ่มชนเชื้อสายจีน เป็นต้น
เมืองนครราชสีมา จึงถือเป็นเมืองที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๖ ชาวเมือง
นครราชสีมาจึงมีตั้งนามสกุล ตามประกาศพระราชบัญญัติขนานนามสกุลสมัยรัชกาลที่ ๖ ซึ่งการตั้ง
นามสกุลของชาวเมืองนครราชสมี าถือว่าเป็นจังหวัดหน่ึงที่มีเอกลกั ษณ์เฉพาะตัว สมัยแรกๆ มีการนำชื่อ
ที่ตั้งของลักษณะพิเศษ ของภูมิประเทศ เมืองเก่า อำเภอ สิ่งศักดิ์สิทธ์ิที่เคารพนับถือมาตั้งเป็นนามสกลุ
โดยในเมืองนครราชสีมา มีการแบ่งอาณาเขตและภูมิลำเนาที่อยู่อาศัย ซึ่งในนามสกุลชาวเมือง
นครราชสีมา ก็ได้นำชอ่ื อำเภอมาเป็นส่วนประกอบ ดังนี้

๑. “กลาง” เดิมชื่อ มณฑลลาวกลาง เช่น นามสกุล ขอใยกลาง ทองกลาง จงกลกลาง พ.ศ.
๒๔๕๙ พระยากำธรพายพั ทิศ ได้พจิ ารณาวา่ สถานท่ีตงั้ ทวี่ ่าการอำเภอทับทว่ี ัดร้างอยู่ เพื่อให้สอดคล้อง

๘๑

กบั ชอ่ื สถานที่ จงึ ไดเ้ สนอขอเปลยี่ นจาก อำเภอกลาง เปน็ อำเภอโนนวดั ตอ่ มา พ.ศ. ๒๔๘๗ นายชม วลั ลิ
ภากร เป็นนายอำเภอโนนวดั ได้เปลยี่ นช่ือ อำเภอโนนวัด เปน็ อำเภอโนนสงู สืบถงึ ปจั จบุ ัน

๒. “กระโทก” ในอดีตมีฐานะเป็นด่าน คือ ด่านกระโทก เช่น นามสกุล ขวางกระโทก ข้องกระ
โทก ปลูกกระโทก ต่อมาทางราชการพิจารณาเห็นว่า คำว่า “กระโทก” มีสำเนียงและความหมายไม่
เหมาะสม และเพอ่ื ให้เป็นไปตามความหมายเชงิ ประวตั ิศาสตร์ในอันทจี่ ะใหอ้ นุชนรนุ่ หลงั ได้รำลึกถึงความ
เป็นมา ของสมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบุรีผู้ประกอบคณุ งามความดีให้กบั ประเทศชาตแิ ละทำการรบได้ชัยชนะ
ณ ทีแ่ หง่ น้ี จงึ ได้เปลย่ี นนามอำเภอใหมว่ ่า “อำเภอโชคชัย”

๓. “จันทึก” เดิมเป็นเมืองหน้าด่านในดินแดนแถบภาคอีสาน ชื่อว่า “เมืองนครจันทึก” เช่น
นามสกลุ เผือกจนั ทึก ทรงจันทึก ฝาดจนั ทกี ตอ่ มาเม่อื ได้ตง้ั เมอื งนครราชสีมาขน้ึ ดแู ลหัวเมืองตา่ งๆ ทางที่
ราบสูง จึงเปลี่ยนเป็นเมืองหน้าด่าน เรียกว่า “ด่านจันทึก” เมื่อยกเลิกด่านแล้ว ได้เปลี่ยนเป็นอำเภอ
เรียกว่า “อำเภอจันทึก” เน่ืองจากบา้ นจนั ทึก และบา้ นหนองบัวตง้ั อยู่ในเขตดงพญาเยน็ (พญาไฟ) มิใช้
ปา่ (มาลาเรีย) ชกุ ชมุ เป็นที่เกรงกลัวของข้าราชการย่งิ นัก จงึ ไดย้ ้ายทีว่ ่าการอำเภอมาตั้งที่บ้านสีค้ิว แล้ว
เปลย่ี นช่ืออำเภอจันทกึ เป็นอำเภอสคี วิ้ จนถงึ ปจั จุบันนี้

๔. “ไธสง” มาจากคำว่า “พทุ ไธสง” เช่น นามสกลุ น้อยไรสง, ตลุกไรสง เมืองพทุ ไธสง เป็นมือง
เก่า ตอ่ มาไดร้ ้างไปในสมยั การปกครองแบบมณฑลข้ึนตอ่ เทศาภิบาลเมืองแปะ ต่อมา พ.ศ. ๒๓๔๒ รัชกาล
ท่ี ๑ โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มให้นายเพยี้ ศรปี าก เปน็ พระยาเสนาสงคราม เจ้าเมอื งคนแรกของพุทไธสง
และได้ยกฐานะเปน็ อำเภอปจั จบุ ันอยู่ในเขตการปกครอง จ.บรุ รี มั ย์

๕. “นอก” ในอดตี มีฐานะเปน็ ด่าน ชอ่ื วา่ “ด่านนอก” เช่น นามสกุล จันทรน์ อก ชาญนอก ตอ่ มา
ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ยกฐานะเป็นอำเภอ ชื่อว่า อำเอด่านนอก พ.ศ. ๒๔๕๕ ได้ย้ายที่ว่าการอำเภอด่านนอก
มาตั้งอยทู่ ีแ่ ละไดเ้ ปลีย่ นชือ่ จากอำเภอดา่ นนอก มาเป็นอำเภอบวั ใหญ่

๖. “สนั เทียะ” เดมิ เรยี กวา่ “แขวงสนั เทยี ะ” เช่น นามสกุล นอมสันเทยี ะ ขอสนั เทยี ะ เล่ากันว่า
ของชาวกมั พูชา ทีม่ าอาศยั ต้มเกลือสนิ เธาว์ เพ่ือนำไปขาย และอาศยั นำ้ จากลำห้วยทางเหนอื ของหมู่บ้าน
ในการหุงต้มเกลือและอุปโภคบริโภค คำว่า ทันเทียะ ภาษาเขมร แปลว่า ที่มกลือสินฮาว์ และยังมีผู้
เพมิ่ เตมิ วา่ “สันเทยี ะ” อาจเอามาจากสภาพพน้ื ดินของอำเภอเน่ืองจากโดยทว่ั ไปพน้ื ดีเป็นดนิ เค็ม มาจาก
สภาพภมู อิ ากาศในภาษาลาวคำว่า สนั เทียะ แปลวา่ บา้ นทีต่ งั้ อยูบ่ นสันโนนทีด่ ิน และเนอ่ื งจากพื้นดินเป็น
ดนิ ปนทราย เมอ่ื ถึงฤดูฝนจะข้นึ แฉะไปทั่วทง้ั หมบู่ า้ น

๗. “สงู เนิน” เดิมเรียกว่า เมอื งเสมา นามสกลุ เชน่ ดสี ูงเนิน ฝากสูงเนนิ เมืองเดิมต้ังอยู่ท่ีตำบล
สูงเนิน ครั้นสร้างเมืองนครราชสีมา จึงย้ายมาอยู่เมืองใหม่ เมืองเสมา จึงเป็นกลายเป็นเมืองเก่าต่อมา
เปลยี่ นฐานะ เปน็ อำเภอและได้ตง้ั ชอื่ ตามชอ่ื ที่ตง้ั ทีว่ า่ การอำเภอวา่ อำเภอสงู เนิน

๘๒

๘. “ขุนทด” หมายถึง “ด่าน” มีขุนทดเป็นผู้ปกครองดูแล เช่น นามสกุล พาขุนทด ช่วงของ
แผ่นดินสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ซึง่ ได้รบั การแตง่ ต้งั จากพระยายมราชให้เปน็ ผู้ปกครองดแู ล “ด่าน”
น้ีเป็น ผกู ขุนทด สันนิษฐานว่าเปน็ ด่านแรก นอกจากทำหนา้ ท่ีปกครองดูแสรักษาด่านแล้ว “ขุนทด” ยังมี
หน้าท่ีเกบ็ ภาษอี ากรส่งให้เมืองนครราชสมี า

จากสว่ นประกอบของนามสกุลมีความหมายถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ สภาพวฒั นธรรม ซึ่งเป็นช่ือ
เมือง แขวง และด่านในสมัยที่ปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล แขวง และด่าน ในสมัยที่ปกครองแบบ
มณฑลเทศาภิบาล เมื่อเปลี่ยนการปกครองแบ่งเป็นอำเภอ แต่ยังใช้ชื่อท้องถิ่นเดิมนั้นๆ เมื่อตั้งนามสกุล
ประชาชนจังหวดั นครราชสีมา เสนาบดีเจ้าเมืองใช้เกณฑ์ภูมิลำเนาให้ประชาชนแต่ละตำบลในเวลานั้นมี
ส่วนท้าย ของนามสกุลตั้งตามถ่ินที่อยู่อาศัยถึงแม้จะมีการเปลี่ยนชื่ออำเภอหรือมีการแบ่งเขตอำเภอข้นึ
ใหม่ ตามจำนวนประชากรต่อพื้นทน่ี น้ั ๆ แต่นามสกลุ ประชาชนจังหวัดนครราชสีมากย็ งั สามารถบอกถ่ินท่ี
อยใู่ ด้

อำเภอด่านขุนทดถอื ได้ว่าเป็นอำเภอทีป่ ระซากรส่วนใหญ่ท่ีมีนามสกุลลงท้ายด้วยคำว่า "ขุนทด"
เช่น กองขุนทด ชิขุนทด เชาว์ขุนทด ครุฑขุนทด เดขขุนทด บวดขุนทด บำขุนทด แบขุนทด พรขุนทด
สายขุนทด เป็นต้น นอกจากน้ี นามสกุล ด่านกุล ด่านกิตติกุล ต้นสกุลมีภูมิลำเนาอยู่ที่อำเภอด่านขนุ ทด
เชน่ กัน ในหนังสือ หลวงพ่อคูณ ปริสทุ ฺโธ ไดก้ ลา่ วถึงหลักการในเชิงลกึ ของการตง้ั นามสกลุ โดยใช้ตวั อักษร
ของช่ือตำบลทนี่ บั ว่าเปน็ เอกลักษณ์โดดเดน่ ของอำเภอดา่ นขนุ ทด ดงั น้ี

- ตำบลด่านขนุ ทด-บา้ นโคกรักษ์ นามสกุลท่ลี งทา้ ยดว้ ย "โคกรกั ษ์" เชน่ ภมู โิ คกรักษ์ วายโคกรักษ์
ใสโคกรกั ษ์

- ตำบลกดุ พิมาน จะขน้ึ ตน้ นามสกลุ ด้วยอกั ษร "พ" เชน่ พาขนุ ทด พำขุนทด พชิ นุ ทด เพิกขุนทด
เพยี กขุนทด

- กดุ ม่วง จะขน้ึ ต้นนามสกุลดว้ ยอักษร "ม" เช่น มากขุนทด มาขนุ ทด มายขนุ ทด มำขนุ ทด
- ตำบลตะเคียน จะขึ้นตันนามสกุลด้วยอักษร "ท" เช่น เทียนขุนทด แทนขุนทด ทิวขุนทด ทาย
ขุนทด
- ตำบลบ้านเกา่ จะข้นึ ต้นนามสกุลด้วยอกั ษร "ก" เชน่ กองขนุ ทด เกงชนุ ทด กางขนุ ทด กามขุนทด

กนขนุ ทด
- ตำบลสระจระเข้ จะข้ึนตันนามสกุลด้วยอักษร "ส" เช่น สวยขุนทด สายขุนทด เสกขุนทด เสขุนทด
- ตำบลหนองบัวตะเกียด จะขน้ึ ตันนามสกุลด้วยอักษร "บ, ป, ต" เช่น แบขุนทด ปนู ขนุ ทด เดอื นขนุ ทด
- ตำบลพันชนะ จะขน้ึ ตนั นามสกุลดว้ ยอกั ษร "ช"หรือนามสกุลท่ีลงท้ายด้วย"ชนะ" เชน่ พนั ชนะ
ชขึ ุนทด

๘๓

พันชนะ และบ้านพันขนะ ถือว่าเป็นหนึ่งในตำบลพันขนะที่มีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
การใช้นามสกุล จึงมีความเกี่ยวกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ทั้งที่ถูกบันทึกไว้เป็นลายสักษณ์อักษร
โดยอิงจากเรอ่ื งราวทางประวัติศาสตร์ คือ ในปี พ.ศ. ๒๓๑๑ สมยั กรุงธนบุรสี มเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช
พร้อมด้วยพระราชวรินทร์ พระมหามนตรี และพระมหาสุรสีหนาถ (วังหน้ารัชกาลที่ ๓) ได้เสด็จยกทัพ
ปราบชมุ นุมเจา้ พิมาย โดยยกทพั เส้นทางเดินทพั ผา่ นหมู่บ้านพันชนะ ทหารของเจ้าเมอื งพิมายก็ได้ตั้งกอง
กำลงั หยง่ั เชงิ ศกึ และตรวจทัพขา้ ศกึ ซงึ่ ทำกรต้งั คา่ ยยอ่ ยอยู่ทบ่ี ้านพนั ชนะท้งั สองฝา่ ยใตส้ ้รู บกัน ปรากฎว่า
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชใช้ดาบนศัตรู จนได้รับชัยชนะ ประกอบกับคนโนนไทยโคราช พูดภาษา
โคราช จึงเรียกชื่อบ้านนั้นว่า “บ้านฟันฉะณะไท” ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นชือ่ เป็น “บ้านพันชนะ” (ปีจจุบัน
ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 ตำนพันชนะ อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสมา) นอกจากนี้ยังมีหลักฐานอ้างถึงราช
กิจจานุเบกษา กล่าวไวว้ า่ บา้ นพันชนะในปจั จุบัน คอื อำเภอพนั ชะนะ ดงั ข้อความในราชกิจจานุเบกษา
วันที่ 6 ตลุ าคม ๑๒๐ เล่มที่ ๑๘ หน้า ๔๔๙

“ด้วยข้าหลวงเทศาภิบาล มณฑลนครราชสีห์มา มีใบบอกที่ ๑๙๓,๒๔๒๐ ลงวันที่ ๑๒ สิงหาคม
ร,ศ, ๑๒๐ มาว่า ได้จัดตั้งอำเภอพันชะนะ เมืองนครราชสีห์มาขึ้นอีกหนึ่งอำเภอ แลได้จัดให้หลวงพิไชยลงครามพล
ปลัดอำเภอ เมืองนางรอง รับราชการแทนนายอำเภอพันชะนะ แต่วันที่ ๓ กรกฎาคม ร,ศ, ๑๒๐ แล้ว
ศาลาว่าการมหาดไทย วันที่ ๒๘ กันยายน รัตนโกสินทรศก ๑๒๐ (เซ็น) พระยาศรีสหเทพราชปลัดทูล
ฉลอง"

ซึง่ ใจความข้างต้นสอดคลอ้ งกบั เรอื่ งเล่ามขุ ปาฐะของบรรพบรุ ุษชาวพนั ชนะทเ่ี ล่าขานว่า “ในอดีต
หลังจากได้มีการจัดตั้งอำเภอพนั ชะนะ ทางราชสำนักได้ส่งข้าหลวงมาตรวจราชการ โดยผู้ตรวจการและ
บริวารได้ขี่ช้าง ๓ เชือก ในขบวนมีผู้ร่วมเดินทางประมาณ ๕0 คน ประกอบด้วยครอบครัวของข้าหลวง
ทหาร ข้าทาสบริวารได้มกี ารพกั อยู่ ณ ทท่ี ำการอำเภอในสมยั น้ันคือวัดพนั ชนะ การมาตรวจราชการครั้ง
นี้ ใช้เวลาประมาณ - เดือน คณะตรวจการจึงเดินทางกลับ โดยก่อนกลับได้มอบหนังสือชือ่ ว่า "ตราสาม
ดวง" (คชสีห์ ราชสีห์ บัวแก้ว) และต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๒ ได้มีการจัดตั้งโรงเรียนที่วัดพันชนะชื่อว่า
"โรงเรยี นพิทยานกุ ุล" โดยใช้หนังสอื ตราสามดวงเปน็ ต้นแบบของการสอนหนังสือให้กับชาวอำเภอพนั ชะ
นะ”

ต่อมาอำเภอพันชะนะได้ย้ายที่ตั้งและได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น "อำเภอด่านขุนทด" เมื่อวันที่ ๒๐
กรกฎาคม ๒๔๕๗ โดยสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงเธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย
ในสมัยนั้นรับพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม (อ้างจากหนังสือราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๗
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔.๕๗ เลม่ ที่ ๓๑ หนา้ ๑๒๘)

๘๔

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงโปรดกล้ำให้ราษฎรตั้งนมสกุล ผู้นำหมู่บ้านหรือกลุ่มผู้ปกครอง
จะใช้นามสกลุ วา่ "พันชนะ " และต่อมามกี ารปรับเปล่ียนนามสกุลไปบ้าง เช่น รตั นพัน พนั มณี เปน็ ตน้
ส่วนกลมุ่ ชาวบ้านจะนิยมใช้คำขนึ้ ดนั ของนามสกุลใช้พยญั ชนะ “ช” แล้วนำมาประสมกบั สระในภาษไทย
และเพ่อื ความเปน็ เอกลักษณ์ของชาวอำมอดา่ นขุนทด จึงนำคำวา่ "ขนุ ทด" มาตอ่ ท้ายช่อื สกุลของตน เชน่

- สระอะอา เชน่ ชะขุนทด ขัดขนุ ทด ขันขนุ ทด ชบั ขนุ ทด ชาขนุ ทด ชามขุนทด ชาวขุนทด
ขาญขุนทด ชายขนุ ทด ชา่ งขนุ ทด
- สระอิ.อี เช่น ชิขุนทด ชิดขนุ ทด ชิวขนุ ทด ชนิ ขนุ ทด
- สระอ.ี อี เชน่ ชขี นุ ทด
- สระอ.ุ ดู เช่น ชดุ ขุนทด ชบุ ขนุ ทด ชขู นุ ทด
- สระโอะ,โอ เช่น โชตขิ นุ ทด โชมขนุ ทด
- สระเอะ,เอ เช่น เขขนุ ทด
- สระเอาะ,ออ เชน่ ชอ่ ขุนทด ซอมขนุ ทด ชอบขุนทด ซอนขุนทด ชอ้ ยขุนทด
- สระอวั ะ,อัว เช่น ชวนขนุ ทด ชว่ ยขุนทด
- สระเอยี ะ,เอยี เช่น เชียวขุนทด
- สระเฮอื ะ,เออื เช่น เชอื้ ขนุ ทด
- สระเอา เช่น เขาวข์ นุ ทด
- สระแอะ,แอ เชน่ แชงขนุ ทด แช่มขนุ ทด

จากข้อความที่กล่าวมาข้างตันจึงมีข้อสันนิฐานอยู่สองประการ ประการแรกนามสกุลของชาว
บ้านพันชนะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร์โดยใช้คำว่า "พัน" และ "ชนะ" มาเป็น
ส่วนประกอบของนามสกุล เช่น พันมณี รัตนพัน พันชนะ ชนะภัย เป็นต้น ประการที่สองนามสกุลของ
ชาวบ้านพันชนะ จะขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ "ช" ประกอบกับเสียงสระในภาษาไทย และต่อด้วยคำว่า "ขุน
ทด" ตามภูมลิ ำเนา ของชาวอำเภอดา่ นขุนด เชน่ ชะขุนทด ชขิ ุนทด ชดิ ขุนทด ชวิ ขุนทด ช่วยขนุ ทด ชอบ
ขุนทด เชขนุ ทด ชขี นุ ทด เป็นตน้

นอกจากการตง้ั นามสกุลดังกล่าวแลว้ ยงั มีนามสกลุ ทแ่ี ตกต่างออกไป โดยมที ่มี าตา่ งกันอีกดว้ ย ด่ัง
เช่น

๘๕

นามสกุล "กลุ กลางดอน"

"กุลกลางดอน" เป็นนามสกุลที่มีมาแต่ตั้งเดิมของ คุณพ่อจันทร์ กุลกลางดอน ซึ่งเป็นชาวบ้าน

หนองบัวละคร อำเภอด่านขุนทด จงั หวัดนครราชสีมา คณุ พ่อจันทร์ เป็นบตุ รของ คณุ ป่พู รม - คุณย่าทัย

กุลกลางดอน คุณปู่พรม ท่านมีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่บ้านหนองกลางดอน ตำบลบ้านวัง อำเภอโนนไทย

จังหวัดนครราชสีมา เล่ากันว่า ประชากรชาวบ้านวัง ในอดีตได้อพยพมาจากพระนครศรีอยุธยาเตินทาง

โดยมชี า้ งเปน็ พาหนะไดม้ าต้ัง "วงั " ชัว่ คราวอยูท่ ี่บา้ นวงั และมีดา่ นไว้ดูแลปอ้ งกัน "วัง" อย่ทู ่ีดา่ นจาก ด่าน

ใน ด่านนอก

ดา่ นขุนทด ต่อมาประชาชนจากบ้านหนองกลางดอน ตำบลบ้านวังกไ็ ดอ้ พยพเคลอื่ นยา้ ยไปประกอบอาชีพ

อยู่ ตามดา่ นตา่ งๆ และมีคำวา่ "กลางดอน" ต่อทา้ ยคำที่ใช้เป็นนามสกุล ซงึ่ ไดแ้ ก่ กลุ กลางดอน เกณฑ์

กลางดอน กรีมกลางดอน กึ่งกลางดอน เกลื่อนกลางดอน นวนกลางดอน เป็นต้น ส่วนภาษาพูดของ

ชาวบา้ นวังนนั้ จะมเี อกลกั ษณค์ อื สำเนยี งเสียงวรรณยกุ ต์จะคล้ายๆสำเนยี งภาคกลาง ในบางคำ เชน่ คำว่า

ข้าว เส้ือผ้า (โคราชออกเสียงวรรณยกุ ต์ เอก บ้านวงั ออกเสียงวรรณยกุ ต์ โท ) ผูท้ ี่ใชน้ ามสกุลท่ีลงท้ายว่า

"กลางดอน" ในปจั จุบนั จะอาศยั อยทู่ บี่ ้านหนองบัวละคร หนองขยุ หนองบวั ตะเกยี ด สว่ นใหญม่ อี าชีพเป็น

เกษตรกรและรบั ราชการ คุณพ่อจันทร์ กลุ กลางดอน ไดส้ มรส กับคุณแม่สัมฤทธ์ิ กจิ จารกั ษ์ และพำนักอยู่

ที่บา้ นหัวบึง ตำบลดา่ นขนุ ทด อำเภอด่านขนุ ทด จงั หวดั นครราชสมี า มีบตุ รธดิ า ๙ คน คือ

๑. นางเล็ก สมรสกบั นายสนนั่ สุวรรณชาติ

๒. นางบุญลอ้ ม สมรสกับ ผศ.อาคม สุทธิพันธ์

๓. นายเฉลมิ สมรสกับ นางสาวประกอบ ชอบสว่าง

๔. นางแฉลม้ สมรสกบั นายช่วง งามสวสั ดิ์

๕. นางสำรวย สมรสกบั นายฮนู คำแก่น

๖. นายฉลอง กลุ กลางดอน

๗. นายกลุ ชาติ สมรสกับ นางสาวนลนิ ี โรจนค์ ลุ เี สถียร

๘. นางสาวนงเยาว์ สมรสกบั นายเอก จนั ทรว์ ิรชั

๙. นายประพนั ธ์ สมรสกับ นางสาวเปลยี่ น

๘๖

นามสกลุ "กิจจารักษ"์

"กิจจารักษ์" เป็นนามสกุลพระราชทานโดยรัชกาลที่ 6 พระราชทานให้แก่ "ขุนแก้วกิจจารักษ์"

(แกว้ ลายขนุ ทด) เมอื่ วันท่ี ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๕ ซึ่งปรากฏอยู่ในราชกิจจานุเบกษา หนา้ ๔๓๓ ตอนที่

๑๔ เลม่ ๕๙ ฉบบั ๑ มีนาคม ๒๔๘๕

ขนุ แก้วกจิ จารกั ษ์ ทา่ นเปน็ ชาวบางกอกนอ้ ย ไดม้ าทำมาหากินอยูก่ บั ญาติในเมืองโคราช ไดส้ มรส

กบั คณุ ยายแจ้ และไดอ้ พยพมาอย่ทู ี่บ้านหาญ และบ้านหวั บึง ตามลำดับท่านมีบุตรธิดารวม ๑๑ คน คอื

๑. นายอยู่ กจิ จารกั ษ์ สมรสกบั นางเอ้ย

๒. นายน้อย กจิ จารักษ์ สมรสกบั นางมาก

๓. นายโม กจิ จารกั ษ์ สมรสกบั นางเทยี ม ภูมโิ คกรกั ษ์

๔. นางสาวกลม กจิ จารกั ษ์ สมรสกบั นายเกิด แคง่ ขนุ ทด

๕. นายสุนทร กจิ จารกั ษ์ สมรสกบั นางเปลอ้ื ง

๖. นางสาวตมู กจิ จารกั ษ์ สมรสกับ นายสร้อย คมขนุ ทด

๗. นางสาวสัมฤทธ์ิ กจิ จารกั ษ์ สมรสกบั นายจนั ทร์ กลุ กลางดอน

๘. นางสาวสำเรยี ง กจิ จารักษ์ สมรสกับ นายพรอ้ ม สวุ รรณแสน

๙. นางสาวถนอม กิจจารกั ษ์ สมรสกับ นายสน ชูจันทึก

๑๐.นายเนอื่ ง กจิ จารักษ์ สมรสกับ นางสาวสงา่ จิรวงค์

๑๑.นายลว้ น กจิ จารักษ์ สมรสกับ ม.ร.ว.ศรสี อางค์ ขยางกรู

ทายาทขนุ แกว้ ส่วนมากรับราชการอยู่ในจังหวดั ต่าง ๆ และทด่ี ่านขนุ ทด มรี าว ๕0 คน

นามสกลุ พงษศ์ ิริ
“พงษศ์ ิร”ิ มาจากคุณพ่อบุญยัง นามสกลุ เดมิ เถยี นสงู เนิน ท่านเป็นมหา ตอนหลังท่านมาเปลี่ยน
ชื่อเป็นวินิตย์ มาแต่งงานกับคุณแม่ นามสกุล ภูมิโคกรักษ์ มาอยู่ที่บ้านหาญ ท่านเป็นผู้มีความรู้ ท่านจึง
เปลี่ยนนามสกุล เป็นพงษ์ศิริ เพราะคิดว่า นามสกุล เถียนสูงเนิน หรือลงท้ายด้วยสูงเนิน มีคนใช้
หลากหลายคำว่า พงษ์ศิริ พงษ์คือความหมายของตระกูล ศิริ คือ ดีงาม ซึ่งลูกหลานที่สืบทอดมีความ
ภาคภูมิใจในนามสกุล ตอนหลังทา่ นได้เข้าสูต่ ำแหนง่ เป็น ธรรมการอำเภอ พอใกล้เกษียณ ท่านจึงขอ
ลงไปดำรงตำแหนง่ ครูใหญ่ ทีโ่ รงเรยี นบ้านแปรง และท่านได้เปิดโรงเรียนพงษ์ศิริวทิ ยา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐
ชอ่ื พงษ์ศิริ ใชอ้ กั ษรย่อ พศว. พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๐
บางกรณีที่ไม่ใด้ใช้นามสกุล ลงท้ายด้วยขุนทด, ภูมิโคกรักษ์, พันชนะ ก็จะมีกรณี ดังนี้ ลูกศิษย์
ของโรงเรยี นพงษศ์ ิรวิ ิทยา เล่าว่า นามสกุล“เฝ้าหนองด่“ู เกดิ จากไมใ่ ดต้ ้งั นามสกุล ขณะทีเ่ ขาตงั้ แต่มาขอ

๘๗

ตั้งนามสกุล ทีหลัง เจ้าหน้าที่ถามว่ามัวไปทำอะไรอยู่ ก็ตอบว่า เฝ้าหนองคู่ เจ้าหน้าที่จึงบอกว่า เอา
นามสกุลนแ้ี หละ จึงเปน็ ทมี่ าของนามสกุล “เฝ้าหนองดู่”

นามสกลุ ภูมิโคกรักษ์
คุณตาดาบขาว เป็นทหาร เป็นต้นตระกูลนามสกุล ภูมิโคกรักษ์ ประวัติโดยสังเขป
เจ้านครเมืองราชสีมา ชื่อ ปิ่น ณ ราชสีมา เป็นตระกูลสาย ณ ราชสีมา ของเจ้าเมืองนครราชสีมา
เรียกว่า เจ้าพระยานครราชสีมา ซึ่งมีหลายท่านที่เป็นเจ้าเมือง คุณตาดาบขาวสืบนามสกุลมาจาก
เจา้ พยา นครราชสมี า (ป่นั ณ ราชสมี า) คุณพอ่ ดาบขาวมีน้องชื่อ นายผ่อง ลกู ของนายผ่อง คือ นายคำรณ
ภมู โิ คกรักษ์ อดตี ผู้อำนวยการโรงเรยี นประดงู่ ามวิทยา คณุ ตาดาบขาว กบั คณุ ตาผอ่ ง มาอาศัยอยู่ท่ีบ้าน
โคกรักษ์ จงึ มาตัง้ นามสกลุ ภมู โิ คกรักษ์ แตท่ า่ นมสี ิทธ์ิ ที่จะใช้นามสกลุ ณ ราชสมี า ได้ นามสกลุ สายภูมิ
โคกรักษ์ มี คณุ ตาดาบขาว คุณยายโก๊ะ คณุ ยายเมอื ง คณุ ตาผ่อง ในราชกิจจานเุ บกษา จะลงไดเ้ ฉพาะ
ผชู้ าย ผู้หญิงจะไมล่ ง ยายโกะ๊ เปน็ แม่ของ นายธีรพล พรหมรังสิต เดมิ ใชน้ ามสกุลแม่ คณู ขนุ ทด นามสกุล
พรหมรงั สิต
ตน้ เหตมุ ีคนในตระกูลภมู ิโคกรกั ษ์ ได้เปล่ียนนามสกุล โดยเปลย่ี น นามสกลุ เป็นประเวศบุรีรมณ์
ในทันทีโดยไม่ได้ทำพิธีอะไรเลย พอวันที่หนังสือลงมาว่าอนุญาตให้ใช้นามสกุล ผู้เปลี่ยนก็เสียชีวิตด้วย
อุบัตเิ หตุการเปลี่ยนนามสกุล พรหมรังสิต เปลีย่ นไดเ้ พราะไดท้ ำพิธีกรรมจนสมบูรณ์
ตำนาน ด่านขุนทด ด่านขนุ ทดเปน็ ด่านเก็บภาษสี ่งสว่ ย เปน็ ดา่ นที่ไม่มกี ำลังทหาร ซงึ่ มีดา่ นขนุ ทด
ด่านนอก ด่านใน จะมีหลกั ร้อยทใ่ี นเมอื งนครราชสีมา ท่ดี า่ นขุนทดจะมีที่สระจระเข้ เปน็ ระยะทาง อำเภอ
ศรีเทพ จะมีสิ่งก่อสร้างของขอมอยู่ท่ีด่านขุนทดก็จะมีการก่อสร้างปราสาท ปัจจุบันเรยี กว่าบา้ นปราสาท
เปน็ ที่พกั ระหว่างทางเพ่ือตอ่ ไปพมิ าย ต่อไปบุรีรัมย์ แตด่ า่ นน้ีใครมาอย่กู ็เรยี กว่า “ขนุ ทด” ตำแหน่ง นาย
ดา่ น พน้ื ทีต่ รงนแี้ ต่กอ่ นเป็นป่าดงดิบ ต้งั แต่บ้านหนองพลวงเปน็ ตน้ ไปเป็นป่าดงดิบ ทีเ่ รยี กวา่ ป่าดงดิบ คือ
จะเห็นแสงเฉพาะตอนกลางวันที่บ้านดงกระสังก็นเป็นปา่ ดงดบิ เมื่อมีสัมปทานปา่ ไม้ ทำให้ป่าไม้ไม่เหลือ
เลย คุณพ่อวัฒนา พงษ์ศิริ เป็นครูสอนนักเรียนอยู่ ยังทันได้เห็นรถขนต้นไม้ใหญ่ส่งโรงเลื่อย บางครั้ง
นักเรียนท่มี าเรยี นกน็ ัง่ บนไมม้ ากับรถขนไม้

๘๘

คณุ พอ่ กุลชาติ กุลกลางดอน
คุณพอ่ วัฒนา พงษ์ศิริ
ผอ.นคิ ม คมพิทยากลุ
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นพนั ชนะ
ผู้เลา่ เรอ่ื งราว

นางสาวแฉล้ม วรรณารกั ษ์
นางมธุรนิ แผลงจนั ทึก
ผเู้ กบ็ ขอ้ มูล/สัมภาษณ์

นายกติ ตกิ ร คมพทิ ยากลุ
นางสาวเมวิกา เปลี่ยนขนุ ทด
ครโู รงเรียนบ้านพันขนะ
ผู้บนั ทกึ ข้อมูล

๘๙

๙๐

พระราชกจิ จานเุ บกษา

๙๑

พระราชกจิ จานเุ บกษา

๙๒

บ้านกิจจารกั ษ์

๙๓

บา้ นกิจจารกั ษ์

๙๔

คุณพ่อกลุ ชาติ กลุ กลางดอน
ใหข้ อ้ มลู นามสกลุ กลางดอน กบั กิจจารกั ษ์รกั ษ์

และภาพตระกลู กิจจารกั ษ์ กบั กลุ กลาง

๙๕

เอกสารอ้างอิงนามสกุลพงษศ์ ริ ิ
และสมดุ หมายเหตทุ ม่ี าของนามสกุล

๙๖

เอกสารอ้างอิงนามสกลุ พงษศ์ ิริ
และสมดุ หมายเหตุที่มาของนามสกลุ

๙๗

คุณพ่อวัฒนา พงษศ์ ิริ
ผ้ใู ห้ข้อมลู นามสกลุ พงษศ์ ริ ิ
และสมุดหมายเหตุท่ีมาของนามสกลุ


Click to View FlipBook Version