The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwannnn2542, 2022-05-28 00:32:34

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

โครงการ เล่าขานประวัติศาสตร์นครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

๙๘

ผอ.นิคม คมพิทยากลุ
คือ ผู้ให้ข้อมลู นามสกุลลงท้ายด้วยขุนทดและพนั ชนะ

ภาพสมุดข่อยทอ่ี า้ งถึงการต้ังอำเภอด่านขุนทด

๙๙

ผอ.นิคม คมพิทยากลุ
คือ ผู้ให้ข้อมลู นามสกุลลงท้ายด้วยขุนทดและพนั ชนะ

ภาพสมุดข่อยทอ่ี า้ งถึงการต้ังอำเภอด่านขุนทด

๑๐๐

ภาพการออกสัมภาษณ์แหลง่ ข้อมูล

นางสาวแฉลม้ วรรณารักษ์, นางมธุรนิ แผลงจันทึก สัมภาษณ์ สืบขน้ ขอ้ มูล

๑๐๑

เล่าขานประวตั ศิ าสตร์
นครราชสมี าผา่ นนามสกุลคนโคราช

“ประวตั ิอำเภอบวั ใหญ่”

๑๐๒

แบบสำรวจข้อมลู

คำถามในการสมั ภาษณ์ : โครงการเล่าขานประวตั ิศาสตร์นครราชสีมาผ่านนามสกุลคนโคราช

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลของผู้ที่ท่านไปสัมภาษณ์และคําถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ระบุข้อมูลของผู้ที่ท่านไป
สมั ภาษณ์ : ช่อื – สกุล นายเขต สอนนอก ตาํ แหน่ง ท้องถิ่นอาํ เภอบวั ใหญ่ อาชีพ รับราชการ
วัน เดอื น ปี ทส่ี ัมภาษณ์ ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ผ้ใู หส้ มั ภาษณ์

๑. หลักการต้ังนามสกลุ ของคนหมู่บา้ น (ชื่อหมูบ่ า้ น)
คําวา่ "นอก" ในอดตี มฐี านะเป็นด่าน ชือ่ วา่ "ดา่ นนอก" เช่น นามสกลุ จนั ทร์นอก,กลนอก,

สอนนอก,พรมมานอก,ศรีนอก,ศรีศักดิ์นอก เป็นต้น ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ได้รับการยกฐานะเป็นอําเภอ
ชอ่ื วา่ อาํ เภอด่านนอก พ.ศ. ๒๔๕๕ ไดย้ า้ ยทวี่ า่ การอาํ เภอดา่ นนอก มาตัง้ อยทู่ ่ีบา้ นบัวใหญ่ และได้เปล่ียน
ชอ่ื จาก อาํ เภอด่านนอกมาเปน็ อําเภอบวั ใหญ่

๒. นามสกลุ น้มี มี าแต่ด้ังเดิมหรอื ไม่
ใช่ นามสกุล “สอนนอก” มีมาตั้งแต่ดั้งเดิม โดยเท่าที่จําความได้ ได้สืบทอดนามสกุล

“สอนนอก” มาจากรุ่นคุณปู่

๓. นามสกุลนตี้ ้งั ขึน้ ใหมห่ รือไม่
ไมใ่ ช่นามสกลุ ท่ตี งั้ ข้นึ มาใหม่ นามสกุล “สอนนอก” มีตัง้ แต่ด้งั เดมิ แล้ว

๔. นามสกลุ ของทา่ นมีที่มาหรอื ประวัติความเป็นมาอย่างไร
นามสกุล “สอนนอก” อา้ งองิ มาจากคาํ ว่า เมืองดา่ นนอก ซึง่ คาํ วา่ เมอื งดา่ นนอกปรากฏอยู่

ในคํา ขัวญ อาํ เภอบวั ใหญ่ “นามเดิมดา่ นนอก เมืองดอกบัวไหม ชุมทางรถไฟ บงึ ใหญ่งดงาม ลือนามโต๊ะ
จนี ถนิ่ หลาน ยา่ โม”

๑๐๓

๕. นามสกุลน้ีมาจากบรรพบรุ ุษท่านใดในตระกูล
๕.๑ บรรพบรุ ุษทา่ นน้นั มภี มู ลิ ําเนาเดมิ มาจากไหน
บรรพบรุ ุษของข้าพเจา้ ไดอ้ าศยั อยู่ในพื้นท่โี คราชตั้งแตด่ งั้ เดมิ จนถงึ ปัจจุบัน
๕.๒ บรรพบุรุษทา่ นนน้ั ท่านประกอบอาชีพใดหรือรับราชการใด
หากท่านประกอบอาชีพ คือ อาชีพรับราชการ หากท่านรับราชการ ท่านรับราชการ

ประเภท ขา้ ราชการพลเรือน

๖. นามสกลุ ของทา่ นบง่ บอกชาติพนั ธ์ุใด
ไทย ลาว จีน เขมร กยุ และอน่ื ๆ นามสกลุ “ด่านนอก” บ่งบอกชาติพนั ธ์ุ ไทย

๗. นามสกุลของทา่ นมีความหมายอย่างไร
นามสกุล “สอนนอก” มีที่มา และความหมายมาจากประวัติเมืองด่านนอก คําว่า "บัว
ใหญ่" นม้ี า จากชือ่ ของหมบู่ า้ น คอื หมู่บ้านบัวใหญ่ สันนิษฐานว่าเปน็ ชอื่ ของหนองนํ้าแห่งหน่ึงในหมู่บ้าน
ซ่ึงมลี กั ษณะเป็น หนองน้าํ ขนาดใหญ่ มผี ู้เลา่ ว่ามบี ัวพันธ์ใุ หญ่เกดิ ขน้ึ ในหนองนํา้ เต็มไปหมด จนมีผ้ตู ัง้ ช่ือวา่
บงึ บวั ใหญ่ และเป็นช่อื ของหมูบ่ า้ นน้ีดว้ ย จงึ ไดช้ ่อื วา่ "บัวใหญ่" มาจนถงึ บัดนี้กอ่ นทจี่ ะไดร้ ับการยกฐานะ
เป็นอําเภอบัวใหญ่ เดิมมีฐานะ เป็นด่านชื่อว่า "ด่านนอก" มีหัวหน้าด่านเก็บส่วยภาษีอากร จัดส่งทาง
ราชการเป็นประจําทุกปี เดิมตั้งที่ทําการ ด่าน อยู่ที่บ้านทองหลางใหญ่ ตําบลกุดจอก (ปัจจุบันขึ้นกับ
ตําบลโนประดู่ อําเภอสีดา) ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นอําเภอชือ่ ว่า "อําเภอนอก" และได้ย้ายที่ว่าการ
อาํ เภอไปตงั้ อย่ทู ี่บา้ น ทองหลางน้อย ตาํ บลดอนตะหนินต่อมาในปี พ.ศ. 2455 ได้ย้ายที่ว่าการอําเภอด่าน
นอก มาตั้งอยู่ที่บ้านบัวใหญ่ และในปี พ.ศ. 2455 ได้เปลี่ยนชื่อจาก อําเภอด่านนอกมาเป็น "อําเภอบัว
ใหญ่" ตามชือ่ ของหมูบ่ ้าน สาเหตทุ ี่ ยา้ ยทว่ี า่ การอําเภอมาตง้ั อยูแ่ หง่ ใหม่ เพ่อื ความสะดวกในการปกครอง
และการปฏิบัติราชการ หลังจากที่ได้เปลี่ยนชื่อจากอําเภอด่านนอกมาเป็น "อาํ เภอบัวใหญ่" ชาวบ้านใน
พ้ืนท่ีกไ็ ดน้ ยิ มตงั้ ชื่อ หรอื นามสกลุ ให้สอดคลอ้ ง กบั คาํ ว่าเมอื งด๋านนอก เชน่ นามสกุลของข้าพเจ้าบรรพ
บุรษุ กเ็ คยเล่าใหฟ้ ังว่า ทต่ี ง้ั นามสกุลมาจากคาํ ว่า ดา่ นนอก

๑๐๔

๘. ทา่ นภาคภูมิใจในนามสกลุ น้อี ย่างไร มีความภูมใิ จอย่างทีส่ ดุ
อย่างแรกเลยคือ นามสกุล “สอนนอก” ไดม้ คี ําว่านอก ซ่งึ เป็นส่วนหน่งึ ใน คาํ ขวัญประจํา

อาํ เภอบวั ใหญ่ โคราชบา้ นเรา เวลาเราไปไหนมาไหน ก็บง่ บอกถงึ ความเป็นมาของเรา โดยสว่ น ใหญ่
เขาก็จะรู้ว่านามสกุลนี้ ต้องใช่คนบัวใหญ่ คนโคราชแน่ๆ คําว่า “สอนนอก” ยังมีความหมายแฝงไว้
คําว่า สอน ซ่ึงแปลความหมายได้ว่า บอกวชิ าความรูใ้ ห้, แสดงให้เขา้ ใจโดยวธิ บี อกหรือทําให้เห็นเป็น
ตัวอย่างเพื่อให้รู้ดี ชั่ว เป็นต้น คุณปู่จะบอกและสอนตลอดว่า นามสกุลนี้ เป็นการสร้างความ
ภาคภูมิใจในเกียรติประวัติของ ครอบครัว อันเป็นรากฐานของความรักชาติบ้านเมืองในพื้นที่แห่งน้ี
และเหล่าสมาชิกในครอบครัวสอนนอก กไ็ ด้ สบื ทอดนามสกุลนีร้ ุ่นสูร่ ุน่ เป็นแบบอย่างที่ดีและดํารงไว้
ซง่ึ เกยี รตแิ ละศกั ดิศ์ รขี องสกุลสืบไป

๙. คนทใี่ ชน้ ามสกุลนส้ี ่วนมากประกอบอาชีพใด
รบั ราชการ เกษตรกร ทาํ ไรท่ าํ สวน ทํานา

๑๐. คนที่ใช้นามสกุลนีม้ ีจำนวนประมาณเท่าใดในหมูบ่ ้านของท่าน นามสกุล “สอนนอก”
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 ของพื้นท่ี สว่ นท่ี ๒ สัมภาษณเ์ กย่ี วกบั เอกลกั ษณ์โดดเดน่ ทางวฒั นธรรม (พื้นที่ที่ไป
สัมภาษณ์) พร้อมภาพถ่าย

๑.ประวัติความเป็นมา
คําว่า “บัวใหญ่” นี้มาจากชื่อของหมู่บ้านคือหมู่บ้านบัวใหญ่ สันนิษฐานว่าเป็นช่ือ

หนองนำ้ ขนาดใหญแ่ หง่ หน่ึงในหมู่บ้าน มีผเู้ ลา่ ว่าบัวพนั ธุ์ใหญ่เกิดข้นึ ในหนองนำ้ เต็มไปหมด จนมีผู้ต้ังชื่อ
ว่าบึงบวั ใหญ่ และเปน็ ชอ่ื ของหม่บู ้านน้ดี ว้ ย กอ่ นท่ีจะไดร้ บั การยกฐานะเป็นอําเภอบัวใหญ่เดมิ มีฐานะเป็น
ดา่ นช่อื วา่ “ดา่ น นอก” มีหัวหนา้ ด่านเกบ็ สว่ ยภาษอี ากรจัดส่งทางราชการเป็นประจําทุกปี ท่ีทําการด่าน
อยู่ที่บ้านทองหลางใหญ่ ตําบลกุดจอก ต่อมาเมื่อ ปี พ.ศ. 2429 จึงได้รับการยกฐานะเป็นอําเภอชื่อว่า
“อาํ เภอดา่ นนอก” และได้ยา้ ย ที่วา่ การอําเภอไปต้งั อยู่ที่บ้านทองหลางนอ้ ย ตําบลดอนตะหนิน ต่อมาใน
ปี พ.ศ. 2455 ได้ย้ายที่ว่าการอําเภอ ด่านนอกมาตั้งอยู่ที่บ้านบัวใหญ่ และในปีเดียวกันนั้นไดเ้ ปลี่ยนช่ือ
จาก อําเภอด่านนอก มาเป็น “อําเภอบัวใหญ่” ตามชื่อของหมู่บ้าน ในปี พ.ศ. 2470 ทางราชการได้
ก่อสร้างเส้นทางรถไฟสาย นครราชสีมา – ขอนแก่น และ ได้ตั้งชุมทางสถานีบวั ใหญ่ขึ้น ทําให้อําเภอบัว
ใหญ่ได้กลายเป็นย่านสถานีรถไฟ ย่านตลาดการค้า ชุมชนจึง หนาแน่นขึ้นพร้อมกับความเจริญก้าวหนา้
ตามลําดับใน ปี พ.ศ. 2480 ได้เปิดใช้ทางหลวงแผ่นดินสาย บัวใหญ่ – ชัยภูมิ ความเจริญได้เกดิ ข้นึ อย่าง

๑๐๕

รวดเร็ว และใน ปี พ.ศ. 2494 ได้ย้ายที่ว่าการอําเภอจากบ้านบัวใหญ่ มาตั้งอยู่ ที่ว่าการอําเภอปัจจุบัน
ประวัติศาสตร์สําคัญเกี่ยวกบั อาํ เภอคือ เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จ พระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรและสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง เสดจ็ พระราชดําเนนิ เยยี่ มพสกนกิ รในจงั หวัดต่างๆ ทาง
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ได้ทรงเสด็จประทับ ณ พลบั พลา หน้าสถานรี ถไฟบัวใหญ่ ทรงให้พสกนิกรชาว
อําเภอบวั ใหญ่และอําเภอใกล้เคียง เข้าเฝ้ารบั เสดจ็ (ขอ้ มูลจากหนังสอื ประวตั ชิ าวอาํ เภอด่านนอก)

๒. คำขวัญของอำเภอ
“นามเดมิ ด่านนอก เมืองดอกบัวไหม ชุมทางรถไฟ บึงใหญ่งดงาม ลือนามโต๊ะจนี ถิ่นหลานย่าโม”

๑๐๖

สส. จำลอง ครฑุ ขุนทด

กล่าว จึงเกิดความคิดว่าถ้าเราเอาสิ่งที่เรามีเป็นประโยชน์ ได้มากที่สุด เราก็จะได้วัฒนธรรม
ไดค้ วามเจริญเติบโต ความสขุ ของพีน่ อ้ งประชาชนเนยี่ ะ ออกมาจากสังคมคนโคราชไดม้ ากข้ึน ผมคิดว่าคน
โคราชมากที่สุด ปีนี้ ๒ ล้านกว่าแต่ถ้านับรวมคนทีเ่ กิดคนที่ตาย ลูกหลานไปอยู่ทีอ่ ื่น แล้วมีนามสกุลของ
โคราช ถ้ารวมเฉพาะคนโคราชรวมทั้งประเทศไทย หรือต่างประเทศทีมี เอามารวมกันทำงานให้มี
บ้านเมือง เอามาสู่วัฒนธรรม เขาจะดีใจเมื่อรู้ว่าใครเป็นญาติใครฝรังเขาก็ทำกัน เรียกว่าต้นสาแหรก
นามสกุล บางทนี ามสกุลน้ี แตง่ กบั นามสกุลน้ี แล้วจะเป็นนามสกุลอ่นื ญาตจิ ะกวา้ ง พอรู้ความเป็นญาติ
มันจะเกิดความสามัคคี ความรัก ความเอื้ออาทรกนั จะมากขึ้นถ้าเรารักษาไว้ในอนาคตทำใหม้ ันเกดิ กลัว
จะไม่เห็นสงิ่ เหล่านี้ เรามาเร่มิ ตน้ กันภาษาก่อสร้างเรียกว่าฟาสแตรด ทำไปวจิ ยั ไป อะไรไปอย่างนี้ ฉะนั้น
จึงมคี วามคิดวา่ ในปี ๒๕๖๖ หลวงพ่อคูณ ปริสุทโฺ ธ ถา้ มีชีวติ ิจะมีอายุครบ ๑๐๐ ปี ปีที่แล้วต้ังใจว่าจะทำ
ใหค้ นเหน็ ว่าจะจดั งานใหญ่ชาติกาลใหญ่จัดงานหลวงพอ่ คูณ ปรสิ ทุ โฺ ธ ๑๐๐ ปี ซึง่ ทา่ นผู้ว่าราชการจังหวัด
ได้คุยกันแลว้ รับรู้กันหลายฝ่ายแล้ว ถ้าเป็นที่สภาพัฒน์เขา้ เน้นวิธีงบประมาณ ไม่ได้เน้นเป้าหมายเท่าไร
เปา้ หมายกระตนุ้ เศรษฐกิจ และตวั จดี ีพี ให้ได้ ๓.๔ เขาเลยลืมเร่ืองพวกนี้ท้งั น้ี ประธานสภาวัฒนธรรม
ไดพ้ ยายามพดู ว่าปี ๒๕๖๖ น่าจะมงี บประมาณเพอื่ จัดงานใหญ่ ปี ๒๕๖๖ ฉะนัน้ ปี ๒๕๖๖ เปน็ ปีสำคัญ
ของคนโคราชจรงิ แล้ว ไม่ใช้ประโยชน์ของคนโคราช แต่เป็นประโยชน์ของบ้านเมืองเราเจ้าภาพจัดหา ถ้า
เราทำงานของเราวันนี้ เรื่องนามสกุลได้ วันข้างหน้า หรือในปี ๒๕๖๖ นี้ เราจะรวมพลคนโคราช ไปจัด
งานใหญ่ใหห้ ลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ของเรา ก็จะเป็นโอกาสที่ จะทำให้คนรู้จักเพราะคนจะมาทุกสารทิศ
พลงั ของคนโคราช แล้วตอ่ ไปจะรวมพลคนสนั เทียะ แล้วก็จะไปทำงานรวมพลคนกระโทก แตล่ ะท่เี ขาก็จะ
จัดแต่ละอำเภอในกลุ่มของญาติพี่น้อง ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดี่ยวกัน กลุ่มจังหวัด คือญาติจังหวัด เพราะฉะน้นั
เป้าหมายท่ที ำเพื่อให้เกิดความภูมิใจท่ไี ด้เกิดในยุคท่เี ราทำงานผมกอ็ ยากเหน็ ว่าใน ปี ๒๕๖๖ นี้เราจะรวม
พลได้ ผมทดลองดู ทดลองทำงานที่ด่านขุนทด รวบรวมสว่ นของนามสกลุ ขนุ ทด เฉพาะในอำเภอ เฉพาะ
ในอำเภอให้รู้ว่ามีกี่ชื่อต้นๆ เพราะด่านขุนทดใช้ตัวต้นๆ เป็นขื่อตำบล ต สมมุติ ตำบลด่านนอก ตำบล
ด่านขุนทด เป็น ด เด็ก ไปเลย ตำกุดพิมาน ก็จะเป็น ก ไก่ สระจระเข้ ก็จะเป็น ส เสือ ทั้งหมดเลย
เพราะฉะนัน้ นามสกุลคนด่านขุนทด คนนน้ั คอื ทอดผา้ ป่า เอาไปดแู ลสาธารณสุข สถานศึกษา อันนี้ก็
บอกให้ท่านทราบว่า เป้าหมายทีจ่ ะทำถ้าทำไปเป็นเลม่ ๆ แล้วออกมาเฉยๆ ยังไมต่ อบโจทย์ ผมอยากฟ้ืนฟู
ใครจะวา่ ผมโบราณ ผมอยากฟื้นฟวู ฒั นธรรมครอบครวั วฒั นธรรมชุมชนบ้านนำไปสู่การพฒั นา

๑๐๗

การเสวนา ประวัตศิ าสตรน์ ครราชสีมา ผ่านนามสกุลคนโคราช

นายนคิ ม คมพทิ ยากลุ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพันชนะ
รัฐมนตรีได้มอบให้โรงเรียนบ้านพันชนะ ทำยุววิจัยขึ้นมา ๑ เล่ม บ่งบอกได้หลายอย่างเฉพาะ
ในอำเภอด่านขุนทด และพันชนะต้องขอขอบคุณท่าน ในส่วนของหัวข้อหลักฐานประวัติศาสตร์
นครราชสมี า ผา่ นนามสกุลคนโคราช ทจี่ ริงตอ้ งเริม่ ตน้ วา่ คนโคราชมาจากจุดไหน สายสมั พันธ์ นามสกุล
กำเนิดบางส่วนมาจากกลุ่มคนจีน บางส่วนมาจากทางโซนนอก หรือลาวนอก สมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช พระยาเดโชชัย มาจนถึงสมัยสมเด็จพระเจา้ ตากสิน และพระเจ้าลูกยาเธอ ช่วงสมัยสมเด็จพระ
เจา้ ตากสนิ กรมหม่ืนเทพพิพติ ร พระเจ้ากรงุ แขกมาต้ังชุมชนอย่ทู ีพ่ มิ าย และมขี ้าหลวงท่เี ราเสียกรุงอยุธยา
ครง้ั ที่ 2 ขึ้นมาอย่กู รมหมืน่ เทพพพิ ิตรเป็นโอรสของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ดังนั้น ตวั เมืองพิมายเป็นคน
อยุธยา ต่อจากนั้น คนในนครราชสีมาสมัยพระนารายณ์ อพยพครอบครัว ๑,๐๐๐ คน กระจายคน
ออกมานับว่าเป็นแสนแล้ว คนอยุธยา ส่วนหนึ่งอยุ่กระโทก อำเภอเมือง กระโทก ด่านขุนทด โนนไทย
สันเทียะ และพระทองคำ เทพรักษ์ ส่วนนี้จะเปน็ คนเชื้อสายจากอยุธยาดไู ม่ยาก ตัวดำๆ จมูกโด่งๆ นี่คอื
คนอยุธยา ดังนน้ั นามสกุลจรงิ ๆ มาที่หลังจากประวัตศิ าสตร์ จะเชื่อโยงประวตั ิศาสตร์ไดอ้ ยา่ งไร รชั กาล
ที่ ๖ มีการพระราชทานนามสกุล เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๔๕๕ โดยมีการพระราชทานนามสกุลให้แก่
บุคคลที่ได้รับนามสกุลพระราชทาน จากรัชกาลที่ ๖ จำนวน ๖,๔๓๒ นามสกุล ที่เหลือให้ตั้งนามสกุล
ตามเมอื ง ตามจงั หวดั ไป มเี อกลกั ษณ์เดยี ว ของนครราชสีมา ตามทที่ ่านจำลองพดู ถึงเป็นเอกลักษณ์เด่น
นครราชสีมาใช้นามสกุลบ่งบอกได้ อย่างนอกไปทางบัวใหญ่ กลางอยู่แถวโนนสูง กลางก็น่าสนใจ เดิมที่
เรียกว่ามณฑลลำกลาง มาตั้งอยู่ที่อำเภอ เปลี่ยนเป็นอำเภอโนนวัดตอ่ มาอำเภอกลาง เปลี่ยนเป็นอำเภอ
โนนสูง อย่างหนึ่งเป็นต้น กระโทกเป็นชื่อต้นไม้ชนิดหน่ึง เป็นต้นไม้ประจำถิ่น คนสมัยนั้นเลยใช้ชื่อวา่
กระโทก ต่อมาเปลี่ยนเปน็ โชคชัย โชคชัยก็มที ี่มาจันทึก เมืองสีคิ้ว มาว่าถึงด่านขุนทด ด่านขุนทดทำไหม
ตอ้ งมีดา่ นขนุ ทด ทุกคนตอ้ งเขา้ ใจประวติ ศิ าสตร์ ด่านขนุ ทดใหม่ ที่เราตั้งพ่อขุนทดไว้ ประวตั ศิ าสตร์ตรง
นี้เขยี นผดิ เพราะในสมยั สมเด็จพระเจ้าตากสนิ ปราบเมอื งพิมาย ใหพ้ ระราชบดี และมหามนตรีเข้าตีด่าน
ขนุ ทดไมไ่ ด้ตีพอ่ ขุนทด พอ่ ขุนทดไดร้ บั แตง่ ต้ังสมัยพระนารายณ์ เปน็ นายด่านคุ้มครองเมืองบนเมืองล่าง
เมื่อเขียนแบบนแ้ี ล้วทำใหพ้ อ่ ขนุ ทดเป็นกบฏกับพระเจา้ ตาก
……………………………………………………………………………………………………………

๑๐๘

หนังสือขอใช้สถานท่ี
และเชิญวิทยากร จัดเสวนา

๑๐๙

หนงั สอื ขอใชส้ ถานที่

๑๑๐

หนังสือเชิญวิทยากร
หนังสอื เชิญวทิ ยากร

๑๑๑

หนังสือเชิญคณะกรรมการ ร่วมฟงั การเสวนาโครงการ

๑๑๒

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟงั การเสวนาโครงการ

๑๑๓

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟงั การเสวนาโครงการ

๑๑๔

หนังสือเชิญคณะกรรมการ ร่วมฟงั การเสวนาโครงการ

๑๑๕

หนังสือเชิญคณะกรรมการ รว่ มฟงั การเสวนาโครงการ

๑๑๖

หนังสือเชิญคณะกรรมการ ร่วมฟงั การเสวนาโครงการ

๑๑๗

หนังสือเชิญคณะกรรมการ ร่วมฟงั การเสวนาโครงการ

๑๑๘

หนังสือเชิญคณะกรรมการ ร่วมฟงั การเสวนาโครงการ

๑๑๙

คณะกรรมการจดั ทำโครงการ

นายไชยนนั ท์ แสงทอง (วัฒนธรรมจังหวดั นครราชสีมา) ประธานท่ีปรึกษาโครงการฯ

นางเอมอร ศรกี งพาน (ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวัดนครราชสมี า) ท่ีปรกึ ษาโครงการฯ

รองศาสตราจารย์ ดร.จำเริญรัตน์ จติ ต์จริ จรรย์ (มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลิตกลุ ) ที่ปรึกษาโครงการฯ

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จิตนภา สมบูรณ์ศิลป(์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน) หวั หนา้ โครงการฯ

อาจารย์รุจาภา ประวงษ์ (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา) กรรมการ

อาจารย์ ดร.จารุพร อมรพงศ์ชัย (วิทยาลยั เทคโนโลยีพนมวนั ท์) กรรมการ

อาจารย์ ดร.อาภรณร์ ตั น์ เลิศไผ่รอด (วทิ ยาลัยเทคโนโลยพี นมวันท)์ กรรมการ

นางสาวแฉลม้ วรรณารกั ษ์ (ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอด่านขุนทด นครราชสีมา) กรรมการ

นายถวิล บาทขนุ ทด (ประธานวัฒนธรรมอำเภอจักราช นครราชสีมา) กรรมการ

นางอัมภา สุดยง่ิ (ประธานสภาวฒั นธรรมอำเภอโชคชยั นครราชสมี า) กรรมการ

นายสุรศักด์ิ ตันตสิ วสั ดิ์ (ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอโนนไทย นครราชสีมา) กรรมการ

นายชชั ชยั ต่างกลาง (ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอโนนสูง นครราชสมี า) กรรมการ

นายอนกุ ลู สชี มภตู ำแหนง่ (ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอพมิ าย นครราชสมี า) กรรมการ


Click to View FlipBook Version