The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sabbatical Chiangrai, 2022-05-30 01:52:21

หนังสือฐานราก

หนังสือฐานราก

ที่�่ ป น เ ปื้�้ อ น ม า กัับ แ ห ล่่ ง น้้ ำ ธ รร ม ช า ติิ ไ ด้้ ใ ห้้ อ ยู่ � ใ น เ ก ณ ฑ์์ ที่�่ เ ห ม า ะ ส ม ส ำ หรัับ
การเกษตรและเพาะเลี้ย� งสััตว์์น้้ำ และลููกกุ้�งมีีขนาดใหญ่่กว่่าการอนุุบาลที่�ไ่ ม่่ใส่่
วััสดุพุ ื้้น� ถิ่น� ร้อ้ ยละ 26 สำหรัับการปรัับปรุงุ เลนตะกอนยัังคงต้อ้ งมีีการศึกึ ษาต่อ่
และใช้้ระยะเวลาในการดููดซัับให้้นานขึ้�น การใช้้วััสดุุพื้้�นถิ่�นเพื่่�อการสร้้าง
นวััตกรรมในพื้้น� ที่ช�่ ุมุ ชนด้ว้ ยการผลิติ ภาขนะเพาะปลููก พบว่า่ วััสดุพุ ื้้น� ถิ่น� ที่ค่� วร
นำมาใช้้ ได้แ้ ก่่ ดินิ เลนตะกอนแห้ง้ : ถ่า่ นไม้โ้ กงกาง: ขุยุ มะพร้า้ ว เท่า่ กัับ 30: 30:
40 (โดยน้้ำหนััก) โดยใช้แ้ ป้ง้ มัันเป็น็ ตััวประสาน สามารถทำให้ภ้ าชนะคงรููปได้้
ดีี มีีความคงทนและอุ้�มน้้ำได้้ สามารถนำไปเพาะต้น้ กล้้าเพื่่อ� ลงดินิ ได้้ เป็น็ วััสดุุ
ที่เ่� ป็น็ มิติ รต่อ่ สิ่ง� แวดล้อ้ ม และวััสดุเุ พาะปลููกในพื้้น� ที่่� ควรใช้ส้ ััดส่ว่ นผสม ถ่า่ นไม้้
โกงกาง: เปลืือกไม้โ้ กงกาง: เลนตะกอนเปีียก: ดินิ เท่่ากัับ 2: 2: 1: 2 (ปริิมาตร:
ปริิมาตร) เพื่่�อเพาะปลููกพืืชสวนครััว ผลการศึึกษาทางการเงิิน ประเมิินได้้ว่่า
การใช้ว้ ััสดุุพื้้�นถิ่�นอนุบุ าลกุ้้�งทะเลมีีค่า่ ใช้้จ่า่ ยเท่่ากัับ 61 บาท/ตารางเมตร และ
การทำภาชนะเพาะปลููกมีีค่า่ ใช้จ้ ่่ายเท่่ากัับ 1.74 บาท/กระถาง

“เปลือื กหอยแมลงภู่� คู่�ถ่่านไม้โ้ กงกาง วางในบ่่ออนุบุ าลกุ้้�ง
มุ่�งสู่่เ� ศรษฐกิจิ สีีเขีียว ช่่วยลดมลสารและเพิ่่�มขนาดกุ้�ง”

37

“กระถางเพาะชำใยมะพร้า้ ว ขึ้น� รููปด้้วยเลนตะกอนบ่่อเพาะเลี้ย� ง
เพิ่่�มธาตุุอาหารด้ว้ ยถ่า่ นไม้้ สร้า้ งเศรษฐกิิจหมุนุ เวีียนในชุุมชน”

38

การวิิจัยั และถ่่ายทอดเทคโนโลยีรี ะบบผลิติ ไฟฟ้า้ จากเซลล์ส์ ุุริยิ ะ
แบบไฮบริดิ จ์์ เพื่อ่� ดููดน้้ำลึึกใต้้ดินิ สำหรัับกระบวนการผลิติ ผักั ปลอดภััย:

กรณีีศึึกษา กลุ่�มวิิสาหกิิจชุมุ ชนปลููกผักั ปลอดภััยบ้้านห้้วยพระ
ตำบลห้้วยพระ อำเภอดอนตููม จัังหวัดั นครปฐม

Research and Propagation of Hybrid PV Cells Power
Generation Technology to Deep Underground Water Suction

for Non-Toxic Vegetable Production: The Case Study of
Huai Phra Organic Vegetable Community Enterprises

Huai Phra, Don Tum, Nakhon Pathom Province

คณะผู้ว้� ิิจััย:

อาจารย์บ์ ัญั ชา หิริ ััญสิงิ ห์์
มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครปฐม
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์ช์ เนษฎ์์ ม้้าลำพอง
มหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์ วิทิ ยาเขตกำแพงแสน
อาจารย์์ ดร. บุุญธง วสุรุ ิิย์์
มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครปฐม
อาจารย์์อานนท์์ อิิศรมงคลรัักษ์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏนครปฐม
อาจารย์์ ดร. วทััญญูู มีีศรีีสุขุ
มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครปฐม

วัตั ถุปุ ระสงค์ข์ องการวิจิ ััย:

1. เพื่่อ� ออกแบบและสร้า้ งระบบผลิติ ไฟฟ้า้ จากเซลล์ส์ ุรุ ิยิ ะแบบไฮบริดิ จ์์
เพื่่�อดููดน้้ำลึึกใต้ด้ ิินสำหรัับกระบวนการผลิติ ผัักปลอดสารพิิษ

39

2. เพื่่อ� ประยุกุ ต์ใ์ ช้ร้ ะบบผลิติ ไฟฟ้า้ จากเซลล์ส์ ุรุ ิยิ ะแบบไฮบริดิ จ์ร์ ะหว่า่ ง
การไฟฟ้า้ ส่ว่ นภููมิภิ าค (กฟภ.) กัับระบบไฟฟ้า้ จากเซลล์ส์ ุรุ ยะ เพื่่อ� ดููดน้้ำลึกึ ใต้ด้ ินิ
สำหรัับกระบวนการผลิิตผัักปลอดภััยกัับกลุ่ �มวิิสาหกิิจชุุมชนปลููกผัักปลอดภััย
บ้า้ นห้ว้ ยพระ ตำบลห้ว้ ยพระ อำเภอดอนตููม จัังหวััดนครปฐม
3. เพื่่อ� ถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีระบบผลิติ ไฟฟ้า้ จากเซลล์ส์ ุรุ ิยิ ะแบบไฮบริดิ จ์์
ระหว่่างการไฟฟ้้าส่่วนภููมิิภาค (กฟภ.) กัับระบบไฟฟ้้าจากเซลล์์สุุรยะ เพื่่�อดููด
น้้ำลึกึ ใต้ด้ ินิ สำหรัับกระบวนการผลิติ ผัักปลอดสารพิษิ ให้ก้ ัับกลุ่�มวิสิ าหกิจิ ชุมุ ชน
ปลููกผัักปลอดภััยบ้า้ นห้ว้ ยพระ ตำบลห้ว้ ยพระ อำเภอดอนตููม จัังหวััดนครปฐม

วิธิ ีีดำเนินิ การวิิจััย:

1. สำรวจและเก็บ็ ข้อ้ มููลการสููบน้้ำใต้ด้ ินิ สำหรัับใช้ใ้ นกระบวน การผลิติ
ผัักปลอดภััยของกลุ่�มวิิสาหกิิจชุุมชนปลููกผัักปลอดภััยบ้้านห้้วยพระ ตำบล
ห้้วยพระ อำเภอดอนตููม จัังหวััดนครปฐม
2. สำรวจและเก็็บข้้อมููลด้้านการใช้้พลัังงานไฟฟ้้าในการสููบน้้ำใต้้ดิิน
สำหรัับใช้้ในกระบวนการผลิติ ผัักปลอดภััยต้้นแบบ
3. ตรวจวััดพลัังงานไฟฟ้า้ ของอุุปกรณ์์ต่่าง ๆ ที่�เ่ กี่�่ยวข้อ้ งกัับการสููบน้้ำ
ใต้ด้ ินิ
4. ออกแบบระบบผลิติ ไฟฟ้า้ จากเซลล์ส์ ุรุ ิยิ ะแบบไฮบริดิ จ์เ์ พื่่อ� ดููดน้้ำลึกึ
ใต้้ดินิ
5. พััฒนาและสร้า้ งต้น้ แบบระบบผลิติ ไฟฟ้า้ จากเซลล์ส์ ุรุ ิยิ ะแบบไฮบริดิ จ์์
เพื่่�อดููดน้้ำลึึกใต้้ดินิ
6. จำลองระบบการทางานของระบบผลิิตไฟฟ้้าจากเซลล์์สุุริิยะแบบ
ไฮบริิดจ์์เพื่่อ� ดููดน้้ำลึึกใต้ด้ ิินในห้้องปฏิิบััติิการ
7. ติิดตั้�้งระบบผลิิตไฟฟ้้าจากเซลล์์สุุริิยะแบบไฮบริิดจ์์เพื่่�อดููดน้้ำลึึก
ใต้้ดิินที่�่พื้้�นที่่�ทดลอง

40

8. ทดลองประสิิทธิิภาพของระบบผลิิตไฟฟ้้าจากเซลล์์สุุริิยะแบบ
ไฮบริดิ จ์เ์ พื่่อ� ดููดน้้ำลึึกใต้ด้ ิินในภาคสนามจริิง

ผลการวิจิ ัยั :

ผู้้�วิิจััยได้้ออกแบบและสร้้างระบบผลิิตไฟฟ้้าจากเซลล์์สุุริิยะแบบ
ไฮบริิดจ์์เพื่่�อดููดน้้ำลึึกใต้้ดิินสำหรัับกระบวนการผลิิตผัักปลอดสารพิิษในห้้อง
ปฏิิบััติิการแบบจำลองพื้้�นที่�่จริิง โดยส่่วนประกอบของระบบ ประกอบด้้วย
2 ส่่วน คืือ โครงสร้้างระบบผลิิตไฟฟ้้าจากเซลล์์สุุริิยะแบบไฮบริิดจ์์ มีีส่่วน
ประกอบหลััก ได้้แก่่ แบตเตอรี่่� Deep Cycle ขนาด 200 Ah ระบบไฟฟ้้า
เซลล์์สุุริิยะ ปั๊๊ม� น้้ำบาดาลซััมเมอร์์ส ขนาด 1.5 hp ดููดน้้ำลึกึ 184 เมตร และ
ตู้้�ควบคุุมการจ่่ายไฟฟ้้าแบบไฮบริิดจ์์ (Hybrid) ส่่วนมีีประกอบหลััก ได้้แก่่
ชุดุ Inverter pure sine wave ชุุด Charger MPPT และชุุด Drive pump
1.5 hp + Soft start ที่จ�่ ะดำเนินิ การในระยะที่�่ คือื การทดสอบปริมิ าณการใช้้
พลัังงานไฟฟ้้าของโหลดมอเตอร์์ปั๊๊�มน้้ำแบบซัับเมอร์์สปั๊๊�มน้้ำบาดาลก่่อนติิดตั้�้ง
ระบบผลิิตไฟฟ้้าจากเซลล์์สุุริิยะแบบไฮบริิดจ์์และเปรีียบเทีียบการใช้้พลัังงาน
ไฟฟ้า้ ของระบบที่พ�่ ััฒนาขึ้น� กัับโหลดมอเตอร์ป์ ั๊๊ม� น้้ำแบบซัับเมอร์ส์ ปั๊๊ม� น้้ำบาดาล
ในการติิดตั้้�งจริิง สามารถสรุุปปริิมาณการใช้้พลัังงานไฟฟ้้าของโหลดจากการ
ไฟฟ้า้ ของระบบที่พ่� ััฒนาขึ้น� เฉลี่ย่� ต่อ่ วัันได้ว้ ่า่ ก่อ่ นการติดิ ตั้ง้� ระบบผลิติ ไฟฟ้า้ จาก
เซลล์์สุุริิยะแบบไฮบริิดจ์์โหลดมอเตอร์์ปั๊๊�มน้้ำแบบซัับเมอร์์สกิินพลัังงานไฟฟ้้า
เฉลี่�่ยต่่อวัันอยู่�ที่่� 2.69-2.89 กิโิ ลวััตต์์-ชั่�วโมง (หน่่วย) และหลัังการติิดตั้้�งระบบ
ผลิิตไฟฟ้้าจากเซลล์์สุุริิยะแบบไฮบริิดจ์์โหลดมอเตอร์์ปั๊๊�มน้้ำแบบซัับเมอร์์สกิิน
พลัังงานไฟฟ้้าเฉลี่ย่� ต่อ่ วัันอยู่�ที่�่ 2.00-2.71 กิิโลวััตต์-์ ชั่�วโมง ทำให้้สามารถสรุปุ
ได้ว้ ่า่ โหลดมอเตอร์ป์ ั๊๊ม� น้้ำแบบซัับเมอร์ส์ ปั๊๊ม� น้้ำบาดาลขนาด 1.5 แรงม้า้ สำหรัับ
ดููดน้้ำบาดาลลึกึ 184 เมตร ดููดน้้ำขึ้�นถัังพัักน้้ำขนาดความจุุ 3,000 ลิิตร หอพััก
น้้ำสููง 5 เมตร ที่�่ใช้แ้ หล่ง่ จ่่ายพลัังงานไฟฟ้า้ จากระบบผลิิตไฟฟ้า้ จากเซลล์ส์ ุรุ ิิยะ
แบบไฮบริิดจ์์ที่่�สร้้างขึ้�นจากงานวิิจััย สามารถประหยััดพลัังงานไฟฟ้้าจากการ

41

ไฟฟ้า้ ส่ว่ นภููมิภิ าคได้จ้ ริงิ และผลการประเมินิ ความพึงึ พอใจของผู้�้เข้า้ ร่ว่ มอบรม
ระบบผลิติ ไฟฟ้า้ จากเซลล์ส์ ุรุ ิยิ ะแบบไฮบริดิ จ์์ เพื่่อ� ดููดน้้ำลึกึ ใต้ด้ ินิ สำหรัับทำความ
สะอาดผัักปลอดภััย พบว่่า ผู้�้เข้้าร่่วมอบรมมีีความพึึงพอใจการจััดกิิจกรรม
โครงการในภาพรวมทั้�้งหมดในระดัับดีีมาก คิิดเป็็นค่่าเฉลี่่�ยรวม 4.70 หรืือ
ร้อ้ ยละ 89.3

42

การลดของเสียี ทางการเกษตรด้้วยวิธิ ีีการหมัักปุ๋ย� และการเพิ่่�มมููลค่า่
ผลผลิิตด้้วยการเพาะเห็ด็ ตามปรัชั ญาเศรษฐกิิจพอเพียี ง

Agricultural Waste Reduction with Composting Technique
and Value Adding by Mushroom Cultivation According to

Sufifciency Economy Philosophy

คณะผู้ว�้ ิจิ ััย:

รองศาสตราจารย์์ ดร.นััทธีีรา สรรมณีี
มหาวิทิ ยาลััยศิลิ ปากร
ดร.ปรารถนา เผืือกวิิไล
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร
นางสาวกาญจนา สุรุ าภา
มหาวิิทยาลััยราชภััฏหมู่่�บ้้านจอมบึงึ
นางสาวสิิริปิ ระภััสสร์์ ระย้า้ ย้อ้ ย
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏหมู่่�บ้า้ นจอมบึงึ
นางสาวศศิิธร สายแก้ว้
มหาวิิทยาลััยราชภััฏหมู่่�บ้้านจอมบึึง
นายศุุภโชค กำภููพงศ์์
เครืือข่่ายเกษตรอิินทรีีย์์ชีีวภาพก้า้ วหน้้า จัังหวััดนครปฐม
ร่ว่ มกัับ กลุ่�มเกษตรผสมผสานดอนพุทุ รา ตำบลดอนพุทุ รา อำเภอดอนตููม
จัังหวััดนครปฐม

วัตั ถุปุ ระสงค์์ของการวิิจัยั :

1. เพื่่�อลดของเหลืือใช้้และของเสีียทางการเกษตรแล้้วนำมาจััดทำให้้
เกิิดประโยชน์์ในรููปปุ๋๋ย� หมััก

43

2. เพื่่�อศึึกษาการใช้้ปุ๋๋�ยหมัักในการเป็็นอาหารเสริิมในการเพิ่่�มผลผลิิต
ให้ก้ ัับเห็็ด เช่่น เห็ด็ ฟาง เห็็ดนางฟ้้า หรือื เห็ด็ อื่�น ๆ ที่่�เกษตรกรสนใจจะพััฒนา
ผลผลิติ
3. เพื่่�อการถ่่ายทอดเทคโนโลยีีทั้้�งด้้านการหมัักปุ๋๋�ย และการนำองค์์
ความรู้ใ�้ หม่จ่ ากการนำปุ๋๋ย� หมัักมููลวััวไปเพาะเห็ด็ ให้แ้ ก่เ่ กษตรกรเพื่่อ� สร้า้ งรายได้้

วิิธีดี ำเนิินการวิจิ ัยั :

1. จััดทำปุ๋๋�ยหมััก ถ่่ายทอดเทคโนโลยีี และวิิเคราะห์์คุุณภาพปุ๋๋�ยใน
ห้้องปฏิบิ ััติกิ าร
2. สาธิิตการเพาะเห็ด็ แก่ช่ ุุมชน และปลููกทดสอบในห้อ้ งปฏิบิ ััติิการ

ผลการวิจิ ัยั :

การลดของเสีียทางการเกษตรด้้วยวิิธีีการหมัักปุ๋๋�ยเป็็นวิิธีีหนึ่่�งในการ
ลดปััญหาของเสีียทางการเกษตร ยิ่ง� ไปกว่า่ นั้้น� ปุ๋๋�ยหมัักสามารถถููกเพิ่่ม� มููลค่า่ ได้้
ด้ว้ ยการนำไปเป็น็ อาหารเสริมิ ในการเพาะเห็ด็ จากความต้อ้ งการของเกษตรกร
จากตำบลดอนพุทุ รา อำเภอดอนตููม จัังหวััดนครปฐม ทำให้ค้ วามร่ว่ มมือื ระหว่า่ ง
มหาวิทิ ยาลััยศิลิ ปากรและมหาวิทิ ยาลััยราชภััฎหมู่่�บ้า้ นจอมบึงึ กัับกลุ่�มเกษตรกร
จึึงเกิิดขึ้�น ไม่่เพีียงแต่่กลุ่�มเกษตรกรจะต้้องการเรีียนรู้้�วิิธีีการทำปุ๋๋�ยหมัักแต่่ยััง
ต้้องการนำไปประยุุกต์ใ์ นรููปอาหารเสริิมสำหรัับเห็ด็ ฟางอีีกด้้วย
การอบรมแก่ก่ ลุ่�มเกษตรกรจััดทำขึ้น� ณ วัันที่�่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
และเมื่่อ� ปุ๋๋ย� หมัักเจริญิ เต็ม็ ที่�่ แล้ว้ ได้น้ ำไปใช้ใ้ นการเพาะเห็ด็ ฟางทั้ง�้ ในห้อ้ งปฏิบิ ััติิ
การและในการเพาะแปลงเกษตร จากการตรวจสอบเอกสาร และในงานวิจิ ััยนี้้�
พบว่่า ปุ๋๋ย� หมัักมููลวััวที่�่หมัักเป็็นเวลา 63 วัันเป็น็ อาหารเสริิมดีีที่ส�่ ุดุ และการใช้้
ขี้ �เลื่ �อยจากก้้อนเห็็ดเก่่าให้้น้้ำหนัักเห็็ดฟางต่่อตะกร้้ามากกว่่าการใช้้ฟางข้้าว
ดัังนั้�้น วััสดุุทั้�้งสองจึึงถููกใช้้ในการอบรมการเพาะเห็็ดฟางในวัันที่�่ 6 กัันยายน
พ.ศ. 2561

44

การประเมินิ จากแบบสอบถามแสดงให้เ้ ห็น็ ถึงึ ความพึงึ พอใจโดยรวมที่่�
ระดัับคะแนน 4.4 จากคะแนนเต็็ม 5 ซึ่�งหมายถึงึ เกษตรกรพึึงพอใจเป็น็ อย่่าง
มากจากการเรีียนรู้�้และเข้้าใจวิิธีีการดัังกล่่าว ดัังนั้้�น โครงการนี้้�ประสบความ
สำเร็็จตามวััตถุุประสงค์์ที่่�ได้้สอนกลุ่�มเกษตรกรให้้จััดทำปุ๋๋�ยหมัักได้้ จากนั้้�น
สามารถนำปุ๋๋ย� หมัักไปใช้ใ้ นการเพาะเห็ด็ ฟางต่อ่ ได้น้ ั่่�นเอง

ข้้อเสนอแนะจากงานวิิจััย:

1. การเพาะเห็็ดฟางจากวััสดุเุ หลืือใช้ท้ างการเกษตร จำเป็น็ ต้้องรอให้้
เกิิดวััสดุเุ หลือื ใช้ท้ างการเกษตร ซึ่ง� ได้แ้ ก่่ก้อ้ นเห็ด็ เก่า่ จำนวนหนึ่่ง� ก่อ่ นจึงึ จะเริ่�ม
ดำเนิินการได้้ และการเพาะแต่่ละรอบกิินเวลาประมาณ 10-15 วััน ดัังนั้้�น
รายได้ท้ ี่เ�่ กิดิ ขึ้น� จากการนำวััสดุเุ หลือื ใช้ม้ าใช้ป้ ระโยชน์จ์ ึงึ ขึ้น� กัับจำนวนของวััสดุุ
ที่่�เพาะ
2. ฤดููกาลก็็มีีอิิทธิิพลสำคััญต่่อการเจริิญเติิบโตของเห็็ดฟางที่่�หาก
อากาศร้้อนหรืือชื้�นเกิินไปเห็็ดฟางจะเจริิญไม่่ดีี และอาจทำให้้ผลผลิิตลดต่่ำลง
ได้้ ควรพิจิ ารณาการควบคุมุ สภาพแวดล้อ้ ม เช่น่ การกางกระโจม หรือื การระบาย
อากาศเพื่่อ� ให้เ้ ห็็ดฟางเจริิญเติิบโตได้้ดีีอย่่างต่อ่ เนื่่อ� ง
3. ชุมุ ชนไม่ไ่ ด้เ้ ก็บ็ ข้อ้ มููล เช่น่ ปริมิ าณของเห็ด็ ที่เ่� พาะได้้ ทำให้ไ้ ม่ส่ ามารถ
คำนวณรายได้ท้ ี่�เ่ กิิดขึ้น� อย่า่ งแท้จ้ ริิงได้้ ทั้�้งนี้้เ� นื่่�องมาจากตะกร้า้ ในการเพาะเห็็ด
ในการทดลองปลููกนี้้ย� ัังมีีปริมิ าณน้้อย แค่่ 2-3 ตะกร้้าต่่อคน ผลผลิิตที่�่ได้้ในครั้้�ง
แรกนี้้�แม้้มีีปริิมาณ 2-4 กิิโลกรััม/ตะกร้้า ก็็นำมารัับประทานและแจกจ่่ายแก่่
เพื่่�อนบ้้านในเชิิงเชิิญชวนให้้เห็็นประโยชน์์ของการนำของเสีียมาใช้้ประโยชน์์
มากกว่่าการมุ่่�งเชิิงการค้้า ซึ่�งถ้้าหากกลุ่�มเกษตรกรอยากพััฒนาเป็็นอาชีีพ
จะต้อ้ งมีีการคำนวณผลผลิติ และความคุ้�มทุุนที่่ไ� ด้้ในอนาคตต่่อไป
4. ในอนาคตควรมีีการถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีที่ใ่� ห้ช้ ุมุ ชนสามารถทำรายได้้
ในการเพาะเห็ด็ ฟางได้อ้ ย่า่ งครบวงจร เช่น่ การเขี่ย่� เชื้อ� เห็ด็ และการแปรรููปเห็ด็
เป็็นต้้น

45

5. ควรมีีการศึึกษาปััจจััยอื่�น ๆ ที่่�อาจเกี่่�ยวข้้องในการขยายผลการ
ถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีนี้้ไ� ปยัังท้อ้ งที่อ่�ื่น� ๆ เช่น่ วััสดุเุ หลือื ใช้ท้ างการเกษตรอื่่น� ที่ต�่ ่า่ ง
ชนิิดกัันไป กัับการตอบสนองต่่อการเติิมปุ๋๋�ยหมัักมููลวััวในลัักษณะอาหารเสริิม
ของการเพาะเห็็ด

“ลดของเสีียด้ว้ ยการทำปุ๋๋ย� หมััก และเพิ่่�มมููลค่่าโดยทำเป็็นอาหารเสริิม
เพาะเห็็ดฟาง ตามปรััชญาเศรษฐกิจิ พอเพีียง”

46

การใช้้ประโยชน์์กรดอิินโดลแอซีตี ิกิ ที่ผ� ลิติ โดยแบคทีเี รีียเพื่่�อการปลููกข้้าว
Utilization of indole acetic acid (IAA) produced
by bacteria for rice planting

คณะผู้ว�้ ิิจัยั :

รองศาสตราจารย์์ ดร. พรรณธิิภา ณ เชีียงใหม่่
มหาวิิทยาลััยศิิลปากร
อาจารย์์ ดร. เสาวภา เขีียนงาม
มหาวิทิ ยาลััยศิลิ ปากร
นางสาวพิิมพ์์ใจ มีตุ้�ม
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร
อาจารย์์ ดร.ศิิรพรรณ สุุคนธสิิงห์์
มหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์
นางสมพร สืบื สมบััติิ
สำนัักงานเกษตรอำเภอหััวหินิ
นางสาวชนาพร ตระกููลแจะ
มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์
ร่่วมกัับ เกษตรกรกลุ่�มผู้้�ปลููกข้้าวอำเภอหััวหิิน จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์

วััตถุุประสงค์ข์ องการวิจิ ัยั :

1. ประเมิินผลการใช้้กรดอิินโดลแอซีีติิกจากแบคทีีเรีียที่�่ผลิิตได้้ใน
ห้้องปฏิิบััติิการในสภาพปลอดเชื้�อ (การผลิิตในระดัับห้้องปฏิิบััติิการมีี
กระบวนการผลิิตที่่�ปราศจากเชื้�อที่่�ทำได้้ยากโดยชุุมชนหรืือเกษตรกร ซึ่�งข้้อมููล
ปริิมาณการใช้้ต่่อการงอกและการเจริิญของต้้นอ่่อนของข้้าว มีีข้้อมููลจากการ
ศึึกษาก่่อนหน้้านี้้�บ้้างแล้้วจากการทดสอบในห้้องปฏิิบััติิการ) ต่่อการงอกและ
เจริญิ ในระยะต้น้ อ่อ่ นของข้า้ วในระดัับแปลงของเกษตรกรผู้�้ ปลููกข้า้ วอำเภอหััวหินิ
(โครงการที่่� 1)

47

2. ศึึกษาผลของการใช้้กรดอิินโดลแอซีีติิกจากแบคทีีเรีียที่�่ผลิิตได้้ใน
ห้อ้ งปฏิบิ ััติกิ ารในสภาพปลอดเชื้อ� ต่อ่ ระดัับการขาดน้้ำในระยะต้น้ อ่อ่ นของข้า้ ว
ในสภาพโรงเรือื น (โครงการที่�่ 1)
3. ศึึกษารููปแบบการผลิิตที่�่เหมาะสมกัับการผลิิตระดัับแปลงของ
กรดอิินโดลแอซีีติิกจากแบคทีีเรีียสำหรัับเกษตรกร (การผลิิตระดัับแปลง
หมายถึงึ มีีการผลิติ ที่เ่� น้น้ การสามารถดำเนินิ การได้เ้ องโดยเกษตรกรหรือื ชุมุ ชน
ที่�่อาจมีีโอกาสในการปนเปื้้�อนเชื้ �อจุุลิินทรีีย์์ได้้สููงกว่่าในห้้องปฏิิบััติิการด้้วย
เช่น่ เดีียวกััน) (โครงการที่่� 2)
4. ถ่่ายทอดเทคโนโลยีีสู่่�กลุ่�มเกษตรกรทั้้ง� ผลการใช้้กรดอิินโดลแอซีีติกิ
จากแบคทีีเรีียที่่�ผลิิตได้้ในห้้องปฏิิบััติิการในสภาพปลอดเชื้�อ ต่่อการงอกและ
การเจริิญของต้้นอ่่อนข้้าว และความเป็็นไปได้้ในการผลิิตกรดอิินโดลแอซีีติิก
จากแบคทีีเรีียชนิดิ นี้้ใ� นระดัับแปลงของเกษตรกร (แผนวิิจััย)

วิธิ ีีดำเนิินการวิิจัยั :

1. นำกรดอิินโดลแอซีีติิกจากแบคทีีเรีียที่่�ผลิิตได้้ระดัับห้้องปฏิิบััติิการ
มาทำการศึึกษาผลต่่อการเจริิญเติิบโตในระยะต้้นอ่่อนข้้าวในสภาพของ
การขาดน้้ำที่ร่� ะดัับแตกต่า่ งกััน โดยดำเนินิ การในห้อ้ งปฏิบิ ััติกิ าร (โครงการที่�่ 1)
ดำเนิินการศึึกษาทั้�้งในสภาวะความเครีียดจากการขาดน้้ำทั้้�งในห้้องปฏิิบััติิการ
ทั้ง�้ การเพาะเลี้ย� งในอาหารเพาะเลี้ย� ง
2. ทำการผลิิตกรดอิินโดลแอซีีติิกจากแบคทีีเรีียที่่�ผลิิตได้้ในระดัับ
ห้้องปฏิิบััติิการ เพื่่�อนำไปใช้้ในระดัับแปลงของเกษตรกรในระยะเพาะกล้้า
และระยะต้้นอ่่อนของข้้าว จากนั้�้นทำการประเมิินผลร่่วมกัับเกษตรกร
โดยดำเนิินการในแปลงของเกษตรกรผู้�้ ปลููกข้้าวอำเภอหััวหินิ (โครงการที่่� 1)
3. ค้น้ หารููปแบบการผลิติ กรดอิินโดลแอซิิติกิ จากแบคทีีเรีียเพื่่อ� การนำ
ไปใช้้ประโยชน์์ได้้ในระดัับแปลงนาและผลของการทดสอบในระดัับแปลงต่่อ
การงอกและบางลัักษณะในระยะต้น้ อ่อ่ นของข้า้ ว (โครงการที่�่ 2)

48

4. ทำการถ่่ายทอดเทคโนโลยีีให้้เกษตรกรกลุ่�มผู้�้ ปลููกข้้าวหััวหิิน
(แผนวิิจััย)

ผลการวิิจััย:

การประเมิินการใช้้ประโยชน์์ของกรดอิินโดลแอซีีติกิ (IAA) ที่่ผ� ลิติ จาก
แบคทีีเรีีย Enterobacter concerogenus (RD4-1-1) ต่่อการงอกและการ
เจริญิ เติบิ โตในระยะต้น้ อ่อ่ นของข้า้ วนาสวน ผลการศึกึ ษา พบว่า่ การตอบสนอง
ต่่อ IAA ของข้้าวขึ้�นกัับระดัับการจััดสภาพความเครีียดเนื่่�องจากการขาดน้้ำ
สภาพการเพาะปลููก และพัันธุ์� ข้้าวนาสวนทั้้�งสองพัันธุ์�ที่�่ทดสอบ (ข้้าวพัันธุ์�
กข 31 และ พัันธุ์� กข 41) ตอบสนองต่อ่ IAA โดยสามารถส่ง่ เสริมิ การงอกและ
การเจริิญเติิบโตของต้้นอ่่อนข้้าวได้้ตั้�้งแต่่การเพาะเลี้ �ยงในสภาวะที่่�ไม่่ขาดน้้ำ
แต่่อย่่างไรก็็ตาม สามารถนำ IAA ไปใช้้ได้้ในระดัับหนึ่่�งของการขาดน้้ำเท่่านั้้�น
(โพลีีเอทิลิ ีีนไกลคอล 10 เปอร์์เซ็น็ ต์์; PEG) การปลููกข้้าวในดิินจะมีีสััดส่ว่ นการ
ใช้้ได้้ของ IAA น้้อยกว่่าการปลููกในสารละลาย PEG สำหรัับข้้าวพัันธุ์� กข 31
(2.5 µM-25 µM และ 25 µM-50 µM ตามลำดัับ) อย่่างไรก็ต็ าม พบผลที่่�คงที่่�
ในข้้าวพัันธุ์� กข 41 (2.5 µM) สำหรัับการพ่่น IAA ในระดัับแปลง และพบว่่า
การพ่่นที่่�ระยะแตกกอมีีแนวโน้้มในการตอบสนองของข้้าว โดยมีีความสููง
และผลผลิิตที่่�เพิ่่�มขึ้�นของข้้าวพัันธุ์์�ต่่าง ๆ ได้้ดีีกว่่าการพ่่นที่�่ระยะเติิมเต็็มเมล็็ด
จึึงมีีความเป็็นไปได้้สำหรัับรููปแบบการผลิิต IAA อย่่างง่่ายจากแบคทีีเรีีย
E. cancerogenus RD4-1-1 ในสภาพไม่ป่ ลอดเชื้อ� เพื่่อ� เป็น็ แนวทางให้เ้ กษตรกร
สามารถนำไปผลิติ ใช้ไ้ ด้เ้ อง แต่อ่ ย่า่ งไรก็ต็ าม ปัญั หาที่ส่� ำคััญสำหรัับกระบวนการ
ผลิิตดัังกล่า่ ว คือื เรื่อ� งของอากาศ และการปนเปื้�อ้ น ทั้้�งนี้้� ผลิติ ภััณฑ์์ IAA ที่น�่ ำ
ไปใช้้โดยการแช่่เมล็็ดในแปลงนาก็็แสดงผลที่�่ดีีโดยสามารถเพิ่่�มการงอกโผล่่พ้้น
ดินิ ได้ท้ ั้ง้� นี้้ผ� ลการศึกึ ษาในชุดุ โครงการนี้้ไ� ด้ม้ ีีการถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีสู่เ�่ กษตรกร
ผู้้�ปลููกข้า้ วในพื้้�นที่่�อำเภอหััวหิิน จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์

49

ข้้อเสนอแนะจากงานวิจิ ัยั :

1. การศึกึ ษาในห้อ้ งปฏิบิ ััติกิ ารต้อ้ งพยายามจำลองสภาณการณ์ใ์ นระดัับ
แปลงนาให้้มากกว่่านั้�้น ทั้้�งชนิิดของดิินปลููก และการใช้้พัันธุ์์�ทีีสม่่ำเสมอในทุุก
การทดลองและสอดคล้อ้ งกัับการปลููกจริิงของเกษตรกร
2. เนื่่อ� งจากการเตรีียมหััวเชื้อ� ในรููปแบบของเหลวมีีอายุใุ นการเก็บ็ รัักษา
เพีียง 2 สััปดาห์์ ดัังนั้้น� หากเตรีียมในรููปแบบอื่่น� เช่่น การทำให้แ้ ห้ง้ อาจทำให้้
การใช้้งาน และอายุกุ ารเก็็บรัักษาเชื้อ� นานขึ้�น
3. อากาศเป็็นปััจจััยหนึ่่�งที่�่สำคััญสำหรัับการเจริิญของแบคทีีเรีีย
หากสามารถปรัับความแรงของอากาศให้้พอดีีกัับภาชนะที่�่ใช้้ในการเลี้ �ยง
ในความเป็น็ ไปได้้ ปริมิ าณ IAA ก็็น่่าจะกลัับมาเพิ่่ม� สููงขึ้น�
4. ควรมีีการส่่งเสริิมให้้เกษตรกรผู้้�ปลููกข้้าวได้้ทดลองเลี้�ยงจุุลิินทรีีย์์
เพื่่อ� การผลิติ กรด IAA และมีีการนำใช้ป้ ระโยชน์ใ์ นระดัับแปลง

50

การจัดั การความรู้ก�้ ารใช้้ประโยชน์จ์ ากกากชานอ้้อยเพื่�่อเป็็นอาหารสัตั ว์์
อำเภอบ้้านโป่ง่ จังั หวััดราชบุุรีี

Knowledge Management of Utilization from Sugarcane
Bagasse as an Animal Feed, Banpong district,
Rachaburi Province

คณะผู้้ว� ิิจััย:

ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. ภััทราพร ภุมุ ริินทร์์
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร วิทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุุรีี
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. เชิิดพงษ์์ ขีีระจิิตต์์
มหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์ วิทิ ยาเขตกำแพงแสน
อาจารย์์กนกกาญจน์์ ศศิิวิมิ ลฤทธิ์์�
มหาวิิทยาลััยศิิลปากร วิิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรุ ีี
นางสาวปภััสราภรณ์์ เหรีียญทอง
กรรมการบริหิ ารวิสิ าหกิิจชุมุ ชนหนองกลางด่่านพััฒนา

วัตั ถุุประสงค์ข์ องการวิิจัยั :

1. เพื่่อ� ศึกึ ษาองค์ป์ ระกอบทางเคมีี และปรัับปรุงุ คุณุ ภาพกากชานอ้อ้ ย
เพื่่�อการประยุุกต์์ใช้ใ้ นอาหารสััตว์์
2. เพื่่�อพััฒนากระบวนการจััดการความรู้้�เพื่่�อการถ่่ายทอดองค์์ความรู้�้
ใ น ก า ร อ บร ม เชิิ ง ป ฏิิ บััติิ ก า ร ใ ห้้ กัับ เ ก ษ ต ร ก ร ใ น เรื่ � อ ง ก า ร ใช้้ ปร ะ โ ย ช น์์ จ า ก
กากชานอ้อ้ ยเพื่่�อเป็็นพืชื อาหารสััตว์์ ภายใต้้กระบวนการมีีส่่วนร่ว่ มของชุมุ ชน

วิิธีีดำเนินิ การวิิจัยั :

กิิจกรรมที่่� 1: ศึึกษาองค์์ประกอบทางเคมีี และปรัับปรุงุ กากชานอ้อ้ ย
เพื่่อ� พััฒนาการใช้้ประโยชน์์ในอาหารสััตว์์

51

กิิจกรรมที่่� 2: วิิเคราะห์์รููปแบบ และการถ่่ายทอดองค์์ความรู้้�ให้้กัับ
เกษตรกร เรื่�อง การใช้ป้ ระโยชน์จ์ ากการชานอ้อ้ ยเพื่่อ� เป็็นอาหารสััตว์์

ผลการวิิจััย:

ผลการวิจิ ััยสรุุปได้ว้ ่่า
1) องค์์ประกอบทางเคมีีของกากชานอ้้อยคั้�้นน้้ำพัันธุ์์�สุุพรรณบุุรีี 50
มีีความชื้�น 38.27% โปรตีีน 3.08% พลัังงานรวม 4,093.50 แคลลอรี่�่/กรััม
เมื่่อ� นำกากชานอ้อ้ ยดัังกล่า่ วมาปรัับปรุงุ คุณุ ภาพโดยการใช้โ้ ซเดีียมไฮดรอกไซด์์
(NaOH) 4% เป็็นเวลา 7 วััน และทดสอบใช้้ในโคนมระยะให้น้ ม จำนวน 6 ตััว
มีีน้้ำหนัักตััวเฉลี่่�ย 426.17±16.15 กิิโลกรััม วางแผนการทดลองแบบ Double
cross over design มีีกลุ่�มการทดลอง 3 กลุ่�มเป็็นอาหารหยาบ ได้้แก่่
1) ฟางข้้าว 2) กากชานอ้อ้ ย และ 3) กากชานอ้อ้ ย+NaOH 4% ทำการทดลอง
เป็น็ 2 รอบ แต่่ละรอบใช้โ้ คนม 3 ตััว ซึ่ง� ในแต่ล่ ะรอบ (รอบละ 21 วััน) โคนม
ทุุกตััวจะหมุุนเวีียนได้้รัับอาหารทดลองแต่่ละกลุ่�มจนครบ ผลการทดลอง
พบว่่ากากชานอ้้อยคั้้�นน้้ำพัันธุ์์�สุุพรรณบุุรีี 50 ทั้�้งสองกลุ่�มมีีค่่าโปรตีีนในช่่วง
2.87-3.08% เยื่�อใย ADF (64.02-68.68%) และ ADL (9.13-15.99%) เมื่่อ� นำ
อาหารหยาบทั้้�ง 3 กลุ่�มไปทดลองเลี้�ยงโคนม พบว่่า กากชานอ้้อย และ
กากชานอ้้อย+NaOH 4% มีีปริิมาณการกินิ ได้น้ ้้ำหนัักแห้ง้ การกิินได้้สิ่ง� แห้ง้ ต่อ่
เปอร์์เซ็็นต์น์ ้้ำหนัักตััว การกิินได้ข้ องโภชนะต่า่ ง ๆ รวมถึงึ พลัังงานที่�่โคนมได้ร้ ัับ
ต่่อวัันน้้อยกว่า่ (P<0.01) กลุ่�มฟางข้า้ ว แต่ผ่ ลผลิติ น้้ำนมต่่อเปอร์เ์ ซ็น็ ต์์น้้ำหนััก
ตััว ไม่่แตกต่่างกัันทางสถิิติิ (P>0.05) ราคาค่่าอาหารหยาบของฟางข้้าว
กากชานอ้้อย และกากชานอ้้อย+NaOH 4% เท่่ากัับ 2.24, 1.31 และ
3.07 บาท/กิโิ ลกรััม น้้ำหนัักแห้้ง
2) ผลการฝึึกอบรมเชิิงปฏิิบััติิการให้้กัับเกษตรกรผู้�้เลี้�ยงวััวนม ภายใต้้
การแลกเปลี่�่ยนเรีียนรู้�้ พบว่่า เกษตรกรทุุกกลุ่�มสามารถปฏิิบััติิตามได้้อย่่างถููก
ต้้องตามหลัักการ ในส่่วนของการนำความรู้�้ไปใช้้ประโยชน์์ พบว่่า เกษตรกร

52

ส่่วนใหญ่่เห็็นว่่าการร่่วมกิิจกรรมในครั้้�งนี้้�มีีประโยชน์์ สามารถนำไปใช้้ในการ
ประกอบอาชีีพได้้ และยิินดีีที่�่จะนำความรู้�้ที่่�ได้้รัับไปเผยแพร่่ต่่อผู้้�อื่�นในชุุมชน
ในส่่วนของความพึึงพอใจของเกษตรกรที่�่มีีต่่อการฝึึกอบรมเชิิงปฏิิบััติิการ
พบว่่า เกษตรกรมีีความพึึงพอใจต่่อการฝึึกอบรมอยู่�ในระดัับมากที่�่สุุด ทั้้�งใน
เรื่อ� งของเนื้้อ� หาที่ใ่� ช้ฝ้ ึกึ อบรม ความเหมาะสมของวิทิ ยากร รููปแบบการฝึกึ อบรม
รวมไปถึึงการนำความรู้้�ที่ไ�่ ด้้ไปใช้้ให้้เกิดิ ประโยชน์ใ์ นการประกอบอาชีีพ
สรุุปจากการศึึกษาครั้�้งนี้้� โคนมมีีการกิินได้้ของโภชนะในกลุ่�มที่�่ใช้้
กากชานอ้อ้ ยปรััปปรุงุ ด้ว้ ย NaOH 4% น้อ้ ยกว่่าฟางข้า้ ว ในระยะสั้น�้ สามารถใช้้
กากชานอ้้อยทดแทนฟางข้า้ วได้้บางส่ว่ น แต่่ในระยะยาวถ้้าจะใช้้กากชานอ้อ้ ย
เป็น็ อาหารหยาบควรต้อ้ งปรัับปรุงุ การแปรรููปเพื่่อ� กระตุ้�นการกินิ ได้ก้ ากชานอ้อ้ ย
ให้ม้ ากกว่่านี้้�

“เปลี่�ย่ นของเสีียให้้มีีคุุณค่่า สร้า้ งกระบวนการพััฒนาให้ช้ ุุมชน”

53

การวิจิ ัยั และการถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีเพื่อ�่ พัฒั นาประสิิทธิภิ าพการผสม
พัันธุ์�ด้วยเทคนิิคน้้ำเชื้อ� แช่แ่ ข็ง็ แบบง่่ายสู่�ก่ ารเพิ่่ม� ผลผลิติ วััวลานเพชรบุรุ ีี

The Research and Development for Production
and Used of Frozen-Thawed Semen and Technology

Transfer for Improving Insemination Efcif iency
in Native Cattle of Phetchaburi

คณะผู้้ว� ิจิ ัยั :

อาจารย์์ ดร. พิิรวิิทย์์ เชื้อ� วงษ์บ์ ุญุ
มหาวิิทยาลััยศิิลปากร วิทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุุรีี
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. วรางคณา กิิจพิพิ ิิธ
มหาวิทิ ยาลััยศิิลปากร วิทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุุรีี
ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์ม์ นััสนัันท์์ นพรััตน์์ไมตรีี
มหาวิทิ ยาลััยศิิลปากร วิทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุุรีี
นายประชุมุ เกตุุพยััศฆ์์
สำนัักงานปศุุสััตว์์จัังหวััดเพชรบุรุ ีี
อาจารย์์ ดร. พุุทธพร พุ่�มโรจน์์
มหาวิิทยาลััยราชภััฎหมู่่�บ้า้ นจอมบึึง
ร่่วมกัับ กลุ่�มผู้�้เลี้�ยงโคลาน อำเภอบ้า้ นลาด จัังหวััดเพชรบุุรีี

วััตถุปุ ระสงค์์ของการวิิจััย:

1. ศึึกษาเปรีียบเทีียบประสิิทธิภิ าพของสารต้า้ นอนุมุ ููลอิิสระที่เ่� สริิมลง
ในสารละลายน้้ำเชื้อ� แช่่แข็็งต่่อคุณุ ภาพของน้้ำเชื้อ� วััวลานเพชรบุรุ ีี
2. ศึึกษาเปรีียบเทีียบประสิิทธิิภาพของสารต้้านอนุุมููลอิิสระใน
สารละลายน้้ำเชื้อ� แช่่แข็ง็ ต่่ออััตราการปฏิสิ นธิิภายนอกร่า่ งกาย

54

3. ถ่่ายทอดองค์์ความรู้�้ ด้้านเทคนิิคน้้ำเชื้�อแบบแช่่แข็็งร่่วมกัับการ
ผสมเทีียมจากผลการทดลอง สู่�่แก้้ไขปััญหาให้้กัับกลุ่�มเกษตรกรผู้�้เลี้�ยงวััวลาน
เพชรบุุรีีให้้สามารถเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการผสมเทีียม และเพิ่่�มผลผลิิตต่่อ
แม่ว่ ััวลานเพชรบุุรีีให้ส้ ููงขึ้�น

วิธิ ีดี ำเนิินการวิจิ ััย:

1. พััฒนาผลิติ ภััณฑ์์น้้ำเชื้�อวััวลานแช่แ่ ข็็งอย่า่ งง่า่ ย
2. ทดสอบผลิิตภััณฑ์์น้้ำเชื้�อแช่่แข็็งจากอััตราปฏิสิ นธินิ อกร่่างกาย
3. ถ่า่ ยทอดองค์ค์ วามรู้�้ ด้้านน้้ำเชื้อ� วััวลานแช่แ่ ข็ง็ และการผสมเทีียม

ผลการวิิจััย:

จากโจทย์์หรืือความต้้องการของพื้้�นที่�่ชุุมชน คืือ ต้้องการแสวงหา
แนวทางเพื่่�อแก้้ไขปััญหาร่่วมถึึงการรัักษาพัันธุุกรรมของวััวลานเพชรบุุรีีเพศผู้�้
คณะผู้�้ วิิจััยร่่วมกัับเกษตรผู้้�เลี้�ยงวััวลานเพชรบุุรีีจึึงมีีแนวคิิดร่่วมกัันใน
การประยุุกต์์ใช้้เทคโนโลยีีชีีวภาพด้้านการสืืบพัันธุ์� เพื่่�อการเก็็บรัักษาน้้ำเชื้�อใน
แบบแช่่แข็็งเพื่่�อใช้้ในการกระจายพัันธุ์์�ด้้วยวิิธีีการผสมเทีียม โดยงานวิิจััยมีี
ปรัับปรุงุ น้้ำเชื้อ� แช่แ่ ข็ง็ โดยเสริมิ สาร sericin ร่ว่ มกัับ Trehalose ลงในสารละลาย
เจืือจาง egg yolk tris โดยการทดลองมีี 5 ทรีีทเมนท์์ คือื ทรีีทเมนท์์ที่่� 1 กลุ่�ม
ควบคุุม (Sericin 0% และ Trehalose 0 %) ทรีีทเมนท์์ที่่� 2 (Sericin 0.1 %
และ Trehalose 0.5 %) ทรีีทเมนท์ท์ ี่�่ 3 (Sericin 0.1 และ Trehalose 1 %)
ทรีีทเมนท์์ที่�่ 4 (Sericin 0.5 และ Trehalose 0.5 %) และทรีีทเมนท์์ที่่� 5
(Sericin 0.5% และTrehalose 1 %) และทำการแช่่แข็็งและละลายน้้ำเชื้�อ
ทำการประเมิินคุุณภาพในด้้านคุุณลัักษณะการเคลื่�อนที่�่ อััตราการรอดชีีวิิต
ความสมบููรณ์์ของเยื่�อหุ้�มเซลล์์ และทดสอบอััตราการปฏิิสนธิิกัับโอโอไซต์์ใน
ห้้องปฏิิบััติิการ (in vitro fertilization) และอััตราการพััฒนาของตััวอ่่อนนอก
ร่า่ งกาย ผลการศึกึ ษา พบว่า่ ทรีีทเม้น้ ท์์ที่่� 2 ที่่เ� สริิมสาร Sericin 0.1 % และ

55

Trehalose 0.5% เป็็นระดัับที่่�มีีเปอร์์เซ็็นต์์การเคลื่�อนที่่�โดยรวม เปอร์์เซ็็นต์์
การเคลื่ �อนที่่�ตรงไปข้้างหน้้าอััตราการมีีชีีวิิตรอดของอสุุจิิสููงกว่่ากลุ่ �มควบคุุม
และทรีีทเม้้นท์ท์ ี่่� 3, 5 และ 5 ตามลำดัับ ส่ว่ น อััตราการปฏิิสนธินิ อกร่า่ งกาย
และอััตราการพััฒนาของตััวอ่่อนนอกร่่างกายไม่่แตกต่่างกััน นอกจากนี้้�
ได้น้ ำผลงานวิจิ ััยไปถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีให้ก้ ัับกลุ่�มผู้เ้� ลี้ย� งโคลานบ้า้ นลาดในวัันที่่�
20 มกราคม 2562 ซึ่�งเกษตรกรให้ค้ วามสนใจที่่จ� ะจััดทำสถานที่่เ� ก็บ็ รัักษาพัันธุ์�
โคลานเพชรบุรุ ีีทั้ง�้ ในกลุ่�มผู้้�เลี้�ยงโคลานและในมหาวิทิ ยาลััย

“การเก็็บรัักษาพัันธุกุ รรมโคลานงานสู่่�ชุมชน”

56

โรงเรืือนอััจฉริิยะตน แบบสํําหรัับการเพาะปลููกหน่่อไมฝรั่่�ง
The Prototype of Smart Indoor Farm
for Asparagus Cultivation

คณะผู้�ว้ ิจิ ัยั :

ดร.ติิณณภพ แพงผม
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร
นายวิทิ ยา แกวสุรุ ิยิ วงค
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร
นายบุญุ เลี้ย� ง ขายมาน
สําํ นัักงานเกษตรจัังหวััดนครปฐม
ดร.ณััฐวุฒุ ิิ ธาราวดีี
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.พงศกร เกิดิ ชา ง
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร
ร่่วมกัับ วิิสาหกิิจชุุมชนกลุุมเกษตร 2005 ตำบลหนองงู เหลืือม
อำเภอเมือื งนครปฐม จัังหวััดนครปฐม

วัตั ถุุประสงค์ข์ องการวิจิ ัยั :

1. เพื่่�อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการเพาะปลููกหนอไมฝรั่่�งจากการติิดตั้�้ง
ระบบอััตโนมััติอิ ััจฉริิยะ
2. เพื่่�อเพิ่่�มปริิมาณหนอไมฝรั่่�งระดัับเกรด “เขีียว A+” ใหมากกวา
การเพาะปลููกแบบดั้�ง้ เดิิมของเกษตรกรและไดมาตรฐาน GAP
3. เพื่่�อสรางแหลงเรีียนรูตนแบบแกเกษตรกรในการนํําไปประยุุกตใช
ในการเพาะปลููกพืืช

57

4. เพื่่�อเปนการนํําผลงานวิิจััยและองคความรูที่่�ไดจากการเพาะปลููก
หนอไมฝรั่่ง� ดว ยระบบอััตโนมััติิเผยแพรสููเกษตรกร และผููสนใจทางการเกษตร

วิธิ ีีดำเนิินการวิจิ ััย:

1. ประชุมุ วางแผนการเพาะปลููกรวมกัับชุุมชน
2. ศึกึ ษาผลผลิติ หนอไมฝรั่่ง� ของชุุมชน
3. ติิดตั้�้งระบบตรวจสอบสภาวะภููมิิอากาศ
4. ติดิ ตั้ง�้ ระบบพลัังงานแสงอาทิติ ยแ ละระบบปรัับอากาศ
5. ดําํ เนินิ การศึกึ ษาการเพิ่่ม� ประสิทิ ธิภิ าพการเพาะปลููกหนอ ไมฝรั่่ง� ดว ย
ระบบอััตโนมััติิ
6. ดําํ เนินิ การถายทอดเทคโนโลยีีเกษตรอััจฉริยิ ะเพื่่อ� สงเสริมิ การเกษตร
ในพื้้�นที่่จ� ัังหวััดนครปฐม

ผลการวิจิ ััย:

ปจจุบุ ันั เกษตรกรผููเพาะปลููกหนอ ไมฝรั่่ง� ไดประสบปญหาและอุปุ สรรค
ในการผลิติ หลายดา น ทั้ง�้ ต้น้ ทุนุ การผลิติ ที่ส่� ููงขึ้น� เนื่่อ� งจากการใชแ รงงานจำนวน
มากในการดููแล มีีการระบาดของโรคและแมลง การใชเทคโนโลยีีบางประการ
ไมเหมาะสม โครงการวิิจััยนี้้�มุุงหวัังที่�่จะเปนโครงการตนแบบที่�่ชวยเหลืือ
เกษตรกรในการเพาะปลููกพืืชโดยใชแนวคิิดเกษตรอััจฉริิยะที่�่ราคาประหยััด
เกษตรกรสามารถลงทุนุ และสามารถคืนื ทุนุ ไดเ ร็ว็ สถานที่ส่� ําํ หรัับดําํ เนินิ การวิจิ ััย
ไดเลืือก “วิิสาหกิิจชุุมชนกลุุมเกษตร 2005” ซึ่�งเปนชุุมชนเล็็ก ๆ ที่�่ทํําการ
เพาะปลููกหนอไมฝรั่่�งสงออกไปยัังประเทศไตหวััน มีีเกษตรกรลงทะเบีียนเปน
สมาชิกิ ทั้้�งสิ้น� 39 คน มีีพื้้น� ที่เ่� พาะปลููกหนอ ไมฝรั่่ง� 150 ไร วิสิ าหกิิจชุมุ ชนกลุุม
เกษตร 2005 ตั้้�งอยูที่�่ 86/1 หมูู 2 ตำบลหนองงูเหลือื ม อำเภอเมือื งนครปฐม
จัังหวััดนครปฐม

58

การดํําเนิินโครงการในชวงที่�่ผานมามีีดัังนี้้� 1) ลงพื้้�นที่�่วิิสาหกิิจชุุมชน
กลุ่�มเกษตร 2005 พบผููนํําหมููบาน คือื นายพิเิ ชษฐ ไทยวััฒนานนท ผูใหญบาน
หมูู 2 ตํําบลหนองงู เหลืือมและประชุุมปรึึกษาหารืือเพื่่�อจะออกแบบการ
เพาะปลููก โดยในการประชุุมไดคััดเลืือกโรงเรืือนหนอไมฝรั่่�งของนายสุุวิิตท
สิิริิคงสุุข เปนโรงเรืือนที่�่จะทํําการทดสอบการเพาะปลููกแบบอััตโนมััติิ
2) ศึกึ ษาผลผลิติ ของหนอ ไมฝรั่่ง� ในชุมุ ชน โดยการศึกึ ษาจะทําํ การจดบันั ทึกึ เกรด
หนอ ไมฝรั่่ง� ที่ส่� มาชิกิ วิสิ าหกิจิ ชุมุ ชนกลุมุ เกษตร 2005 ตััดมาขายที่ศ�่ ููนยใ นแตละ
วัันวามีีเกรดอะไรบาง ปริิมาณตอไรเทาไร และเกรดไหนมีีมากที่�่สุุดคิิดเปนกี่่�
เปอรเซ็น็ ต 3) ติดิ ตั้ง้� ระบบตรวจสอบสภาวะภููมิอิ ากาศบริเิ วณโรงเรือื น โดยคณะ
วิิจััยทํําการติดิ ตั้้�งระบบในการวััดความสวา งภายนอกโรงเรืือน ความชื้น� อากาศ
ภายนอกโรงเรือื น อุณุ หภููมิภิ ายนอกโรงเรือื น ความสมบููรณของธาตุอุ าหาร NPK
ในดิินที่่�เพาะปลููก คา PH ของดิิน ความชื้�นในดิิน ความสวางภายในโรงเรืือน
ความชื้�นอากาศภายในโรงเรืือน และอุุณหภููมิิภายในโรงเรืือน เพื่่�อศึึกษาความ
ผัันแปรของตััวแปรเหลานี้้�ที่�่มีีผลตอการเจริิญเติิบโตของหนอไมฝรั่่�ง 4) ติิดตั้�้ง
ระบบพลัังงานสะอาดจากแสงอาทิิตยและระบบปรัับอากาศ 5) ติิดตั้้�งระบบ
ทดสอบจริิงโดยระบบขัับเคลื่ �อนดวยพลัังงานไฟฟาจากพลัังงานแสงอาทิิตย
บอรดอาดุยุ โนยูโนใชเปนบอรดไมโครคอนโทรเลอร มีีการเชื่อ� มตออิินเทอรเน็ต็
ระหวา งผูใชง านกัับระบบดว ยแอปพลิเิ คชั่น� Blynk และ 6) มีีการอบรมถายทอด
เทคโนโลยีีสููเกษตรกรและผููสนใจทางดานการเกษตร และมีีการรวมมืือกัับ
วิิสาหกิิจในการรวมออกนิิทรรศการประชาสััมพัันธที่่�รวมกัันทํํามาตลอดทั้�้ง
โครงการ โดยโครงการวิจิ ััยสามารถตอบวััตถุุประสงคของงานวิจิ ััยไดทุุกขอ คืือ
งานวิิจััยสามารถเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการเพาะปลููกหนอไมฝรั่่�งจากการติิดตั้้�ง
ระบบอััตโนมััติิอััจฉริิยะโดยสามารถลดจํํานวนคนที่่�ตองใชประมาณ 3 คน
เหลืือเพีียง 1 คนเทานั้�้นในการทํํางาน สามารถทํํางานไดสะดวกสบาย
แมอยูภายนอกโรงเรืือน งานวิิจััยสามารถเพิ่่�มปริิมาณหนอไมฝรั่่�งระดัับเกรด
“เขีียว A+” ใหมากกวา การเพาะปลููกแบบดั้ง้� เดิมิ ของเกษตรกรและไดม าตรฐาน

59

GAP จากการทดสอบในชวงเดืือนมีีนาคม 2562 ถึึงเมษายน 2562 พบวา
หน่่อไมฝรั่่ง� มีีปริิมาณผลผลิติ เกรด “เขีียว A+” เพิ่่ม� ขึ้น� สููงสุดุ มากกวา 2 เทา
ด้้วยกััน นอกจากนี้้� งานวิิจััยสามารถสรางแหลงเรีียนรูตนแบบแกเกษตรกรใน
การนํําไปประยุุกตใชในการเพาะปลููกพืืชไดเพื่่�องจากในงานรวมจััดนิิทรรศนา
มีีผููสนใจมากกวา 300 คนเขามาเยี่ย�่ มชมบููทการเพาะปลููกหนอไมฝรั่่�งและตอ ง
การจะนํําไปตอ ยอดในงานของตนเอง สุุดทายงานวิิจััยนี้้ส� ามารถนําํ ผลงานวิิจััย
และองคความรูที่ไ่� ดจ ากการเพาะปลููกหนอ ไมฝรั่่�งดวยระบบอััตโนมััติิเผยแพรสูู
เกษตรกร และผููสนใจทางการเกษตร และยัังสรางเครืือขายรวมกัับหนวยงาน
รััฐบาล หนว ยงานเอกชน มหาวิทิ ยาลััย และตลอดจนถึงึ วิสิ าหกิจิ ชุมุ ชนมากมาย

ข้้อเสนอแนะจากงานวิิจัยั :

1. เพิ่่ม� เซนเซอรที่ส่� ามารถวััดความเขมรัังสีีดวงอาทิติ ยใ นชว งความยาว
คลื่น� ที่พ�่ ืชื ใชสังเคราะหแสงหรือื PAR (Photosynthetically Active Radiation)
เพื่่อ� วิเิ คราะหชว งความยาวคลื่น� แสง RGB ที่ท�่ ําํ ใหหนอ ไมฝรั่่ง� เจริญิ เติบิ โตดีีที่ส�่ ุดุ
2. ศึกึ ษาแสงเทีียมจาก LED โดยนําํ ผลการศึึกษา PAR มาตอยอด
3. ศึกึ ษาความเปนไปไดใ นการเพาะปลููกหนอไมฝรั่่ง� แบบแอโรโพนิิกส
4. ศึกึ ษาการเพาะเลี้ย� งเนื้้อ� เยื่อ� หนอ ไมฝรั่่ง�

60

การใช้้ปุ๋๋ย� อินิ ทรียี ์ค์ ุุณภาพสููงอััดเม็็ดเพื่�อ่ เพิ่่ม� ผลิิตภาพและลดผลกระทบ
ทางด้้านสิ่ง� แวดล้้อมของระบบการผลิิตข้้าว

A Use of High-Quality Organic Fertilizers to Increase
Productivity and Decrease Environmental Impacts
of Rice Production Systems

คณะผู้ว้� ิจิ ัยั :

รองศาสตราจารย์์อุไุ รวรรณ ไอยสุวุ รรณ์์
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร วิทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุรุ ีี
ดร.จีีระศัักดิ์� ชอบแต่่ง
สำนัักพััฒนาอาหารสััตว์์ กรมปศุสุ ััตว์์
อาจารย์์ ดร.ธนวดีี พรหมจัันทร์์
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร วิิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรุ ีี
อาจารย์์ ดร.ศิริ ิวิ รรณ แดงฉ่่ำ
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
อาจารย์์ ดร.ธีีระยุทุ ธ คล้้ำชื่น�
มหาวิทิ ยาเทคโนโลยีีราชมงคลธััญบุรุ ีี
ร่่วมกัับ วิิสาหกิิจชุุมชนศููนย์์ข้้าวชุุมชนตำบลไร่ม่ ะขาม

วััตถุปุ ระสงค์์ของการวิิจัยั :

1. เพื่่�อศึกึ ษาผลของการจััดการปุ๋๋ย� รููปแบบต่่าง ๆ ต่อ่ การเจริญิ เติบิ โต
องค์ป์ ระกอบผลผลิติ และคุณุ ภาพของข้า้ ว
2. เพื่่�อศึกึ ษาผลของการจััดการปุ๋๋ย� รููปแบบต่่าง ๆ ที่�่มีีต่อ่ ประสิทิ ธิิภาพ
ในการดููดใช้้ธาตุุอาหารจากปุ๋๋ย� ของข้้าว
3. เพื่่�อศึึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิิจของการผลิิตข้้าวเมื่่�อมีีการ
จััดการปุ๋๋ย� ในรููปแบบต่า่ ง ๆ

61

4. เพื่่�อเปรีียบเทีียบผลกระทบทางด้้านสิ่�งแวดล้้อมระหว่่างการใช้้
ปุ๋๋�ยอิินทรีีย์ค์ ุุณภาพสููงอััดเม็ด็ และการใช้้ปุ๋๋ย� เคมีี
5. เพื่่�อให้้ได้ข้ ้้อมููลประกอบเชิงิ นโยบายวางแผนการจััดการปุ๋๋ย� สำหรัับ
การผลิิตข้้าวที่ล�่ ดผลกระทบต่่อสิ่ง� แวดล้้อม
6. เพื่่�อลดต้น้ ทุุนในการผลิิตและลดการนำเข้า้ ปุ๋๋ย� เคมีี
7. เพื่่อ� ส่ง่ เสริิมการใช้้ปุ๋๋�ยอินิ ทรีีย์์แทนปุ๋๋ย� เคมีี
8. เพื่่อ� การผลิติ ข้้าวให้เ้ ป็น็ มิติ รต่อ่ สิ่ง� แวดล้อ้ มและมีีความยั่�งยืนื

วิิธีดี ำเนินิ การวิิจััย:

1. ศึกึ ษาสมบััติขิ องวััสดุสุ ำหรัับการทำปุ๋๋ย� อินิ ทรีีย์์คุณุ ภาพสููง
2. ผลิิตปุ๋๋�ยอิินทรีีย์์คุณุ ภาพสููงปั้้น� เม็็ด
3. ศึึกษาผลของปุ๋๋�ยอิินทรีีย์์คุุณภาพสููงอััดเม็็ดต่่อการผลิิตข้้าวและ
ประสิทิ ธิภิ าพการใช้้ประโยชน์จ์ ากปุ๋๋�ย
4. ประเมินิ ผลกระทบทางด้า้ นสิ่ง� แวดล้้อม
5. จััดทำบััญชีีมลพิษิ (Life cycle inventory analysis)
6. ถ่่ายทอดองค์์ความรู้้� เรื่�อง การใช้้ปุ๋๋�ยอิินทรีีย์์คุุณภาพสููงอััดเม็็ด
เพื่่อ� เพิ่่ม� ผลิติ ภาพและลดผลกระทบทางด้า้ นสิ่ง� แวดล้อ้ มของระบบการผลิติ ข้า้ ว
และประเมิินตััวชี้�วััดผลสำเร็็จจากการดำเนินิ งาน

ผลการวิิจััย:

ประเทศไทยมีีกำลัังการผลิิตข้้าวเป็็นอัันดัับต้้นของโลก แต่่มีีศัักยภาพ
ในการแข่่งขัันลดลงตลอดช่ว่ งสิิบปีที ี่่�ผ่่านมา ปัญั หาหลััก ๆ เกิดิ จากต้น้ ทุนุ การ
ผลิิตที่�่สููงขึ้�นและมีีแนวโน้้มเพิ่่�มมากขึ้�นเรื่�อย ๆ โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งต้้นทุุนค่่า
ปุ๋๋�ยเคมีี ดัังนั้้�น ศึึกษาการใช้้ปุ๋๋�ยอิินทรีีย์์คุุณภาพสููงอััดเม็็ดเพื่่�อเพิ่่�มผลิิตภาพ
และลดผลกระทบทางด้้านสิ่ง� แวดล้อ้ มของระบบการผลิติ ข้า้ ว เพื่่�อทดแทนการ
ใช้ป้ ุ๋๋ย� เคมีี ผลการศึกึ ษา พบว่า่ การใส่ป่ ุ๋๋ย� เคมีีตามค่า่ วิเิ คราะห์ด์ ินิ จึงึ เป็น็ กรรมวิธิ ีี

62

ที่เ�่ หมาะสมสำหรัับการใส่ป่ ุ๋๋ย� ที่ผ่� ลผลิติ ข้า้ วทั่่ว� ๆ ไป แต่ก่ รณีีการผลิติ ข้า้ วอินิ ทรีีย์์
นั้น้� การใส่ป่ ุ๋๋ย� อินิ ทรีีย์ป์ ั้้น� เม็ด็ โดยคำนวณปริมิ าณธาตุไุ นโตรเจนในปุ๋๋ย� อินิ ทรีีย์ใ์ ห้้
เท่า่ กัับปริมิ าณธาตุไุ นโตรเจนจากปุ๋๋ย� เคมีีที่ใ�่ ช้ต้ ามค่า่ วิเิ คราะห์ด์ ินิ เป็น็ การจััดการ
ปุ๋๋�ยรููปแบบที่่�แนะนำ อีีกทั้�้งยัังพบว่่า การใส่่ปุ๋๋�ยอิินทรีีย์์คุุณภาพสููงช่่วยลดค่่า
ศัักยภาพในการเกิิดฝนกรด (acidification potential, AP) ศัักยภาพ
การปนเปื้�้อนของสารประกอบฟอสฟอรััสในแหล่่งน้้ำจืืด (freshwater
eutrophication potential, FEP) และศัักยภาพการปนเปื้อ้� นของสารประกอบ
ไนโตรเจนในมหาสมุุทร (marine eutrophication potential, MEP)
นอกจากนี้้�จากการจััดอบรมให้้แก่่เกษตรกรที่่�ทำนา และบุุคคลทั่่�วไป ในวัันที่�่
17 เมษายน 2562 ณ ศููนย์เ์ รีียนรู้้ก� ารเพิ่่�มประสิทิ ธิภิ าพการผลิติ สิินค้า้ เกษตร
(ศพก.) อำเภอบ้้านลาด จัังหวััดเพชรบุุรีี มีีเกษตรกรเข้้าร่่วมอบรมในโครงการ
จำนวน 61 คน พบว่า่ เกษตรกรนำความรู้ไ้� ปปรัับใช้้ประโยชน์์ 83 เปอร์์เซ็็นต์์

63

การพััฒนาผลิิตภัณั ฑ์ต์ ้้านเชื้อ� แบคทีีเรีียที่�เป็็นมิติ รต่อ่ สิ่ง� แวดล้้อม
จากสารสกััดเปลืือกส้้มโอและการบููรณาการการใช้้ประโยชน์อ์ ย่่างมีี
ส่ว่ นร่่วมของชุุมชน ตำบลบางเตย อำเภอสามพราน จังั หวััดนครปฐม

Product Development of Eco-friendly Antibacterial
Activities from Pomelo Peel Extract and Community
Involvement and the Integration in Bang Toi Sub District,

Sampran District, Nakhon Pathom Province

คณะผู้้ว� ิิจัยั :

อาจารย์์ ดร.วชิริ าภรณ์์ ชููพัันธ์์
มหาวิิทยาลััยคริสิ เตีียน
อาจารย์์ทวิิวรรณ สารีีบท
มหาวิิทยาลััยคริสิ เตีียน
อาจารย์์เยาวลัักษณ์์ วงศ์พ์ รหม
มหาวิทิ ยาลััยคริิสเตีียน
อาจารย์์ ดร.อําํ พล ใจรัักษ์์
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลธััญบุุรีี
อาจารย์์ ดร.นิภิ าวรรณ เจริญิ ลัักษณ์์
มหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.วััชระ เลี้ย� วเรีียน
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีพระจอมเกล้า้ ธนบุรุ ีี
ร่ว่ มกัับ ตำบลบางเตย อำเภอสามพราน จัังหวััดนครปฐม

วัตั ถุุประสงค์ข์ องการวิจิ ััย:

1. เพื่่�อพััฒนาผลิิตภััณฑ์์ต้น้ แบบจากสารสกััดเปลืือกส้้มโอในท้อ้ งถิ่น� ที่�่
มีีฤทธิ์์�ต้้านเชื้ �อแบคทีีเรีียที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่ �งแวดล้้อมและนํําไปสู่�่การบููรณาการ

64

การใช้้ประโยชน์์ในชุุมชนเป็็นสิินค้้าเอกลัักษณ์์ที่่�ผลิิตในชุุมชน ตำบลบางเตย
อำเภอสามพราน จัังหวััดนครปฐม
2. เพื่่�อศึึกษาปริิมาณที่่�เหมาะสม คุุณภาพผลิิตภััณฑ์์ทางกายภาพ
ทางเคมีีทางจุุลิินทรีีย์์และการยอมรัับของผู้้�บริิโภคในการแปรรููปผลิิตภััณฑ์์
ต้น้ แบบจากสารสกััดเปลือื กส้้มโอ
3. เพื่่�อทดสอบประสิิทธิิภาพในการยัับยั้้�งแบคทีีเรีียของผลิิตภััณฑ์์
ต้น้ แบบต้า้ นเชื้�อแบคทีีเรีีย Staphylococcus aureus และ Escherichia coli
จากสารสกััดเปลือื กของส้้มโอ
4. เพื่่�อถ่่ายทอดองค์์ความรู้้�ด้้านการผลิิตผลิิตภััณฑ์์ต้้นแบบต้้าน
เชื้ �อแบคทีีเรีียที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่ �งแวดล้้อมจากสารสกััดจากเปลืือกส้้มโอให้้กัับ
กลุ่ �มเกษตรกรและสมาชิิกในชุุมชนเพื่่�อเพิ่่�มมููลค่่าและสามารถแข่่งขัันในตลาด
ภายในประเทศได้้

วิธิ ีดี ำเนิินการวิจิ ััย:

1. สกััดสารจากเปลืือกส้้มโอ 2 สายพัันธุ์�ได้้แก่่ ทองดีีและ ขาวน้้ำผึ้�ง
2. เตรีียมแบคทีีเรีียในการทดสอบ
3. ศึกึ ษาประสิทิ ธิภิ าพสารสกััดจากเปลือื กส้ม้ โอในการยัับยั้ง�้ แบคทีีเรีีย
4. ศึึกษาการต้า้ นออกซิิเดชัันของน้้ำมัันหอมระเหยส้ม้ โอ
5. พััฒนาสููตรสบู่่�เหลวผสมสารสกััดจากเปลืือกส้้มโอ
6. ทดสอบการยอมรัับของผู้้�บริิโภคแบบ Home Use Test
7. ศึึกษากิิจกรรมการยัับยั้้�งการเจริิญเติิบโตของเชื้�อจุุลิินทรีีย์์
(Antimicrobial activity) ของสบู่่�เหลวผสมสารสกััดจากเปลือื กส้ม้ โอ
8. ถ่่ายทอดองค์์ความรู้้�ด้้านการผลิิตสบู่่�เหลวต้้านเชื้�อแบคทีีเรีียผสม
สารสกััดจากเปลืือกส้้มโอให้ก้ ัับกลุ่�มเกษตรกรและสมาชิกิ ในชุมุ ชน

65

ผลการวิิจััย:

จากการวิิจััยสามารถสกััดน้้ำมัันหอมระเหยจากเปลืือกส้้มโอสายพัันธุ์�
ทองดีีและขาวน้้ำผึ้�ง ด้้วยวิิธีีการกลั่�นด้้วยน้้ำ (Hydro-distillation)
ได้้ค่่าเปอร์์เซ็็นต์์น้้ำมัันเท่่ากัับ 1.10 และ 1.05 W/W ตามลํําดัับ จากผลการ
วิิเคราะห์์ค่่าของกรด (Acid Value) มิิลลิิกรััม โพแทสเซีียมไฮดรอกไซด์์ต่่อ
น้้ำมััน 1 กรััม ของสารสกััดจากเปลืือกส้้มโอพัันธุ์์�ทองดีีมีีค่่าเฉลี่่ย� 0.56 ± 0.00
และพัันธุ์์�ขาวน้้ำผึ้�ง มีีค่่าเฉลี่่�ย 0.90 ± 0.007 หลัังจากนั้�้นได้้ทํําการทดสอบ
ประสิิทธิิภาพของสารสกััดเปลืือกส้้มโอในการยัับยั้�้งการเจริิญของเชื้ �อจุุลิินทรีีย์์
พบว่่าความเข้้มข้้นของสารสกััดเปลืือกส้้มโอพัันธุ์์�ทองดีีและพัันธุ์์�ขาวน้้ำผึ้ �ง
ที่่�สามารถยัับยั้�้งการเจริิญเติิบโตของเชื้�อ Escherichia coli และ
Staphylococcus aureus ให้เ้ ส้้นผ่่านศููนย์์กลางโซนยัับยั้ง�้ (Inhibition zone)
ขนาด 9 มิลิ ลิิเมตรขึ้้น� ไป หรือื อยู่�ในระดัับ Inhibition ซึ่ง� มีีความเข้้มข้้น เท่่ากัับ
40 mg/ml (4% W/V) ผู้้�วิิจััยจึึงเลืือกใช้้ความเข้้มข้้นนี้้�มาพััฒนาผลิิตภััณฑ์์
(สบู่่�เหลว) จากสารสกััดเปลืือกส้้มโอ อีีกทั้้�งที่�่ความเข้้มข้้นนี้้�สารสกััดเปลืือก
ส้ม้ โอพัันธุ์์�ทองดีีและพัันธุ์์�ขาวน้้ำผึ้ ง� มีีประสิทิ ธิภิ าพในการยัับยั้ง้� การเจริญิ เติบิ โต
ของเชื้�อจุลุ ิินทรีีย์ไ์ ม่่แตกต่า่ งกััน ผู้�้ วิิจััยจึึงเลือื กใช้ส้ ารสกััดจากเปลืือกส้ม้ โอพัันธุ์�
ขาวน้้ำผึ้ง� มาพััฒนาเป็น็ ผลิิตภััณฑ์ต์ ้้นแบบ (สบู่่�เหลว) จากสารสกััดเปลือื กส้้มโอ
ในท้้องถิ่�นที่่�มีีฤทธิ์์�ต้้านเชื้�อแบคทีีเรีีย เนื่่�องจากมีีปริิมาณเปลืือกสดในท้้องถิ่�น
เหลืือทิ้้�งเป็็นจํํานวนมากเมื่�อเปรีียบเทีียบกัับพัันธุ์์�ทองดีี เมื่่�อนํําสารสกััด
จากเปลือื กส้ม้ โอพัันธุ์์�ขาวน้้ำผึ้�งที่ม่� ีีความเข้ม้ ข้น้ เท่า่ กัับ 40 mg/ml (4% W/V)
มาพััฒนาเป็็นผลิิตภััณฑ์์ (สบู่่�เหลว) จึึงทํําการการศึึกษาประสิิทธิิภาพใน
การยัับยั้�้งการเจริิญเติิบโตของแบคทีีเรีีย (Antimicrobial activity) ในตััว
ผลิติ ภััณฑ์ด์ ้ว้ ยวิธิ ีีAgar disk diffusion พบว่า่ สารละลายไตรโคลซาน ความเข้ม้
ข้น้ 0.3% มีีประสิทิ ธิภิ าพในการยัับยั้ง้� การเจริิญเติิบโตของ Escherichia coli
และ Staphylococcus aureus ได้้ดีีกว่่าสบู่่�เหลวที่�่ผสมสารสกััดจากเปลืือก
ส้ม้ โอและสบู่่�เหลวที่ไ�่ ม่ผ่ สมสารสกััดเปลือื กส้ม้ โอ ตามลําํ ดัับ มีีความแตกต่า่ งกััน

66

อย่่างมีีนััยสํําคััญทางสถิิติิp < 0.05 สํําหรัับการจััดกิิจกรรมการถ่่ายทอดองค์์
ความรู้�้ ด้้านการผลิิตสบู่่�เหลวต้้านเชื้�อแบคทีีเรีียผสมสารสกััดจากเปลืือกส้้มโอ
จำนวน 2 ครั้้�ง ให้้แก่่สมาชิิกในชุุมชนทั้้�งชาวบ้้าน ครููและนัักเรีียน ในการนำ
ผลิติ ภััณฑ์เ์ หลือื ทิ้้ง� ทางการเกษตรมาทําํ ให้เ้ กิดิ ประโยชน์แ์ ละมีีมููลค่า่ โดยการนำ
เปลือื กส้ม้ โอไปสกััดด้ว้ ยไอน้้ำจนได้น้ ้้ำมัันเพื่่อ� นําํ ไปพััฒนาเป็น็ ผลิติ ภััณฑ์ส์ บู่่�เหลว
ต้า้ นเชื้�อแบคทีีเรีีย โดยสมาชิกิ ในชุุมชนได้เ้ รีียนรู้้�ขั้น� ตอนและวิธิ ีีการทํําสบู่่�เหลว
จากสารสกััดเปลืือกส้้มโอ และได้้นํําสบู่่�เหลวจากสารสกััดเปลืือกส้้มโอไปใช้้ใน
ครััวเรืือน โดยผู้้�วิิจััยได้้ติิดตามและประเมิินผลความพึึงพอใจการนำผลิิตภััณฑ์์
ต้น้ แบบไปใช้ใ้ นชุมุ ชน พบว่า่ กลุ่�มเกษตรกรและสมาชิกิ ในชุมุ ชนมีีความพึงึ พอใจ
ซึ่�งมีีค่่าระดัับคะแนนอยู่�ในระดัับดีี ซึ่�งในอนาคตจะสามารถเป็็นแนวทางให้้
สมาชิิกในชุุมชนต่่อยอดเพื่่�อพััฒนาเป็็นผลิิตภััณฑ์์ชุุมชนในระยะกลางน้้ำ
และปลายน้้ำเมื่อ� ชุมุ ชนมีีความพร้อ้ มและมีีงบประมาณในการดําํ เนินิ การจััดซื้อ�
หรืือสร้้างเครื่ �องสกััดน้้ำมัันจากเปลืือกส้้มโอด้้วยไอน้้ำขนาดใหญ่่ไว้้ใช้้ในชุุมชน
การเปลี่ย�่ นแปลงที่เ�่ กิดิ ขึ้น� ในชุมุ ชนในระยะต้น้ ยัังไม่ส่ ามารถวััดการเปลี่ย�่ นแปลง
ออกมาเป็น็ ตััวเงินิ ได้้ เนื่่อ� งจากเป็็นการถ่า่ ยทอดองค์ค์ วามรู้แ�้ ละการทดลองนำ
ผลิิตภััณฑ์์ไปใช้้ประโยชน์์ในครััวเรืือน ซึ่�งคาดว่่าเมื่่�อชุุมชนมีีเครื่�องสกััดน้้ำมััน
จากเปลืือกส้้มโอขนาดใหญ่่ที่่�สามารถผลิิตสบู่่�เหลวเป็็นผลิิตภััณฑ์์ชุุมชนและ
สามารถจำหน่่ายเชิิงพาณิิชย์์ได้้ในระยะกลางน้้ำและปลายน้้ำ จะทํําให้้สมาชิิก
ในชุุมชนมีีอาชีีพเสริิมและมีีรายได้้ที่เ่� พิ่่�มขึ้�น และจะทําํ ให้ข้ ยะจากวััสดุเุ หลืือทิ้้�ง
ทางการเกษตร (เปลืือกส้้มโอ) มีีปริิมาณลดลง

“เปลี่ย�่ นเปลือื กส้้มโอที่ไ�่ ร้ค้ ่่าเป็น็ ผลิิตภััณฑ์ท์ ี่ม�่ ีีราคากลัับสู่่�ชุมชน”

67

68

การถ่่ายทอดองค์ค์ วามรู้�้การผลิติ น้้ำยาซีเี อ็ม็ ทีี และการตรวจน้้ำนม
ด้้วยน้้ำยาซีเี อ็็มทีีเพื่�่อลดปััญหาโรคเต้้านมอัักเสบของโคนม

The Knowledge Transfer Production of CMT Reagent
and Milking Test with CMT Reagent to Reduce
Dairy Cow Mastitis Problem

(ภายใต้ช้ ุุดโครงการ เรื่อ� ง โครงการเพิ่่�มประสิทิ ธิภิ าพ
การผลิติ น้้ำนมโคในจัังหวััดเพชรบุุรีีเพื่่�อความยั่�งยืืน: กรณีีการถ่า่ ยทอดองค์์
ความรู้ก�้ ารผลิิตน้้ำยาซีีเอ็ม็ ทีีที่่�ผลิิตเอง และการตรวจน้้ำนมด้้วยน้้ำยาซีีเอ็็มทีี

เพื่่�อลดปััญหาโรคเต้้านมอัักเสบของโคนม)

คณะผู้ว�้ ิจิ ัยั :

อาจารย์์ น.สพ. ศิริ ิิชััย เอีียดมุสุ ิิก
มหาวิิทยาลััยศิิลปากร
อาจารย์์ ดร. อรรถพล เทีียนทอง
รองศาสตราจารย์์ น.สพ.ดร.พิพิ ััฒน์์ อรุณุ วิิภาส
ร่่วมกัับ สหกรณ์์โคนมชะอำ-ห้้วยทราย จำกััด สหกรณ์์โคนมไทย-
เดนมาร์์ค ห้้วยสััตว์์ใหญ่่ จำกััด และกลุ่�มผู้้เ� ลี้�ยงโคนมชะอำ

วัตั ถุปุ ระสงค์ข์ องการวิจิ ััย:

1. เพื่่อ� เปรีียบเทีียบสีีของน้้ำยาซีีเอ็ม็ ทีีในช่่วงเวลาที่�เ่ ปลี่่�ยนไป
2. เพื่่�อเปรีียบเทีียบค่่าความเป็็นกรดด่่าง (pH) ของน้้ำยาซีีเอ็็มทีีใน
ช่่วงเวลาที่่เ� ปลี่�ย่ นไป
3. เพื่่�อเปรีียบเทีียบความเข้้มข้้นของโซเดีียมไฮดรอกไซด์์ในน้้ำยา
ซีีเอ็็มทีีในช่่วงเวลาที่่�เปลี่�ย่ นไป
4. เพื่่อ� ศึกึ ษาค่า่ ความไว และความจำเพาะของน้้ำยาซีีเอ็ม็ ทีีที่่ผ� ลิติ เอง

69

5. เพื่่อ� เปรีียบเทีียบต้้นทุุนการผลิิตของน้้ำยาซีีเอ็ม็ ทีีที่่�ผลิิตขึ้น� เอง และ
น้้ำยาซีีเอ็็มทีีที่�่มีีจำหน่า่ ยตามท้้องตลาด
6. เพื่่�อถ่า่ ยทอดความรู้้�ทางวิชิ าการ เทคโนโลยีีการผลิติ น้้ำยาซีีเอ็็มทีีที่่�
มีีประสิทิ ธิภิ าพ ตลอดจนวิธิ ีีการตรวจโรคเต้า้ นมอัักเสบด้ว้ ยการตรวจน้้ำนมด้ว้ ย
น้้ำยาซีีเอ็็มทีีที่่�ถููกต้อ้ ง

วิธิ ีดี ำเนินิ การวิิจััย:

1. ทดสอบความคงตััวทางกายภาพ
2. ทดสอบความคงตััวทางเคมีี
3. วิิเคราะห์ข์ ้อ้ มููล

ผลการวิิจััย:

เนื่่อ� งจากการตรวจน้้ำนมด้ว้ ยน้้ำยาซีีเอ็ม็ ทีีเป็น็ วิธิ ีีการที่ส่� ำคััญในการใช้้
วิินิิจฉััยโรคเต้้านมอัักเสบในโค แต่่น้้ำยาซีีเอ็็มทีีมีีอายุุการเก็็บรัักษาจำกััด
หากเก็็บไว้้นานประสิิทธิิภาพของน้้ำยาซีีเอ็็มทีีเสื่�อมสภาพลง ทำให้้วิินิิจฉััยโรค
เต้้านมอัักเสบผิิดพลาดได้้ง่่าย และน้้ำยาซีีเอ็็มทีีที่�่เกษตรกรใช้้กัันในท้้องตลาด
ไม่่มีีการรายงานถึึงวัันหมดอายุุ วัันผลิิต หรืือส่่วนประกอบ ผู้้�วิิจััยจึึงได้้ทำการ
ศึึกษาทดสอบความคงตััวของน้้ำยาซีีเอ็็มทีี โดยมีีน้้ำยาซีีเอ็็มทีี 2 สููตร ได้้แก่่
น้้ำยาซีีเอ็็มทีีที่�่ผลิิตเอง (CMT A) และน้้ำยาซีีเอ็็มทีีที่่�มีีขายตามท้้องตลาด
(CMT B) เพื่่�อนำมาเปรีียบเทีียบ โดยมีีการตรวจสอบความคงตััวของน้้ำยา
ซีีเอ็็มทีีทั้้�งทางกายภาพและทางเคมีีที่�่ระยะเวลา 12 สััปดาห์์ ซึ่�งการสัังเกต
ความคงตััวทางกายภาพ ได้้แก่่ การสัังเกตสีีของน้้ำยาซีีเอ็็มทีีด้้วยเครื่�อง
Spectrophotometer โดยการวััดค่า่ การดููดกลืืนแสง (OD) และค่่าความเป็็น
กรดด่่าง (pH) ด้้วยเครื่�อง pH meter และการทดสอบความคงตััวทางเคมีี
โดยสามารถวิเิ คราะห์ห์ าปริมิ าณ NaOH ที่ค�่ งเหลือื อยู่�ในน้้ำยาซีีเอ็ม็ ทีีด้ว้ ยวิธิ ีีการ
ไตเตรท ผลการศึกึ ษา พบว่า่ CMT A มีีความคงตััว 1 ลัักษณะ ได้แ้ ก่่ ปริิมาณ

70

NaOH ที่�่คงเหลืืออยู่� ภายในระยะเวลา 12 สััปดาห์์ แต่่ไม่่มีีความคงตััวของสีี
(OD) และความคงตััวของความเป็น็ กรดด่า่ ง เนื่่อ� งจากมีีการเปลี่ย่� นแปลงภายใน
ระยะเวลา 12 สััปดาห์์ เมื่่อ� เปรีียบเทีียบกัับสััปดาห์แ์ รก จากการใช้ส้ ถิติ ิวิ ิเิ คราะห์์
แนวโน้ม้ (Regression Analysis) เพื่่อ� หาความสััมพัันธ์ร์ ะหว่า่ งลัักษณะที่ส่� ัังเกต
กัับระยะเวลาที่�่เปลี่่�ยนไปอย่่างมีีนััยสำคััญทางสถิิติิ (P<0.05) ผลการศึึกษา
พบว่่า ความไว (Sensitivity) และความจำเพาะ (Specificity) ของ CMT A
มีีค่า่ เท่่ากัับ 99.13 เปอร์์เซ็น็ ต์์ และ 63.64 เปอร์เ์ ซ็น็ ต์์ ตามลำดัับ สรุุปความ
พึงึ พอใจของในภาพรวมต่อ่ การจััดอบรม ในระดัับมากที่ส่� ุดุ คิดิ เป็น็ ร้อ้ ยละ 82.68

ข้้อเสนอแนะจากงานวิิจัยั :

1. ควรเพิ่่�มปััจจััยอื่�น ๆ เข้้ามาทดสอบ เช่่น ระยะเวลาที่่�นานมากขึ้�น
อุุณหภููมิิต่่าง ๆ ที่�่ ใช้้เก็็บน้้ำยาซีีเอ็็มทีีว่่ามีีผลทำให้้ความคงตััวเปลี่�่ยนแปลง
หรือื ไม่่
2. ควรเพิ่่�มยี่่�ห้อ้ ของน้้ำยาซีีเอ็ม็ ทีีที่น�่ ำมาทดสอบเพื่่อ� เป็น็ ประโยชน์ต์ ่อ่
เกษตรกรในภายภาคหน้้า แต่่อย่่างไรก็็ตาม ควรเลืือกยี่่�ห้้อซีีเอ็็มทีีที่�่ระบุุ
ส่ว่ นประกอบ วัันที่่ผ� ลิิต และวัันหมดอายุุที่�่แน่่นอน เพื่่�อทราบความเข้้มข้น้ ของ
NaOH และทราบว่่าใช้้งานได้ถ้ ึึงเมื่�อไร
3. การแปรผลคะแนนซีีเอ็็มทีีผู้�้ตรวจนั้�้นมีีความสำคััญมาก เนื่่�องจาก
การประเมินิ ผลโดยการใช้ส้ ายตา ผู้ต�้ รวจอาจมีีทัักษะและทััศนคติใิ นการอ่า่ นค่า่
คะแนนซีีเอ็ม็ ทีีที่ต�่ ่า่ งกััน ซึ่ง� ส่ง่ ผลต่อ่ ค่า่ คะแนนซีีเอ็ม็ ทีี ดัังนั้น�้ ผู้ต้� รวจควรที่ไ�่ ด้ร้ ัับ
การฝึกึ ฝนจากผู้�้เชี่�่ยวชาญ

“ยืนื ยัันด้ว้ ยซีีเอ็็มทีี ถึงึ ไม่ม่ ีีโรคเต้า้ นมอัักเสบ”
“ลดรายจ่่ายในการซื้้�อน้้ำยาฯ อย่่าช้้า!! ต้อ้ งมาผลิติ เอง”
“ซีีเอ็ม็ ทีีช่่วยลดต้น้ ทุนุ การผลิิตน้้ำนมของเกษตรกรได้จ้ ริิง”

71

72

การตรวจสอบประสิทิ ธิิภาพของน้้ำยาตรวจสอบโรคเต้้านมอักั เสบที่่ผ� ลิิต
ขึ้�นเองสำหรัับฟาร์์มโคนมรายย่่อยในเขตพื้้�นที่�จัังหวััดเพชรบุรุ ีี

An Examination of the Effci iency of the Non-Commercial
Mastitis Analyzer in Smallholder Dairy Farm
at Phetchaburi Province

(ภายใต้ช้ ุดุ โครงการ เรื่อ� ง โครงการเพิ่่�มประสิทิ ธิภิ าพการผลิิตน้้ำนมโค
ในจัังหวััดเพชรบุุรีีเพื่่�อความยั่�งยืนื : กรณีีการถ่า่ ยทอดองค์์ความรู้ก้� ารผลิติ

น้้ำยาซีีเอ็็มทีีที่�่ผลิิตเอง และการตรวจน้้ำนมด้้วยน้้ำยาซีีเอ็ม็ ทีี
เพื่่อ� ลดปัญั หาโรคเต้า้ นมอัักเสบของโคนม)

คณะผู้ว้� ิิจัยั :

อาจารย์์ ดร. อรรถพล เทีียนทอง
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร
อาจารย์์ น.สพ. ศิริ ิชิ ััย เอีียดมุุสิิก
รองศาสตราจารย์์ น.สพ. ดร. พิิพััฒน์์ อรุุณวิภิ าส
ร่่วมกัับ สหกรณ์์โคนมชะอำ-ห้ว้ ยทราย จำกััด

วััตถุปุ ระสงค์์ของการวิิจัยั :

1. เพื่่�อประเมิินประสิิทธิิภาพของน้้ำยาซีีเอ็็มทีีที่่�ผลิิตขึ้�นเองสำหรัับ
ฟาร์์มโคนมรายย่่อยที่่�เข้้าร่่วมโครงการในจัังหวััดเพชรบุุรีีและจัังหวััดใกล้้เคีียง
ต่่อการบ่ง่ ชี้ส� ภาวะการอัักเสบของต่อ่ มน้้ำนมในโคนมได้้
2. เพื่่�อช่่วยให้้เกษตรกรผู้�้เลี้�ยงโคนมรายย่่อยที่�่เข้้าร่่วมโครงการใน
เขตพื้้�นที่่�จัังหวััดเพชรบุุรีีหรืือจัังหวััดใกล้้เคีียง สามารถลดต้้นทุุนการผลิิตและ
การจััดการฟาร์์มโคนมได้้

73

3. เพื่่อ� ให้เ้ กษตรกรผู้้เ� ลี้�ยงโคนมรายย่อ่ ยที่่�เข้้าร่ว่ มโครงการในเขตพื้้น� ที่่�
จัังหวััดเพชรบุุรีีหรืือจัังหวััดใกล้้เคีียงตระหนัักถึึงความสำคััญของปััญหาโรค
เต้้านมอัักเสบ และสามารถหาแนวทางพััฒนาการป้้องกัันร่่วมกัันระหว่่าง
เกษตรกรกัับทีีมผู้้�วิจิ ััย

วิธิ ีดี ำเนิินการวิิจัยั :

1. เตรีียมน้้ำยาซีีเอ็ม็ ทีี (CMT)
2. ตรวจสอบคุุณภาพน้้ำนมดิิบด้้วยวิธิ ีี CMT
3. สุ่�มเก็็บตััวอย่า่ งและการวิิเคราะห์์
4. เตรีียมตััวอย่า่ ง
5. วิเิ คราะห์์โปรตีีนรวมน้้ำนม ด้ว้ ยวิิธีี Bio-Rad protein assay
6. ทำ SDS-PAGE
7. ทำ Gelatin zymography
8. วิเิ คราะห์์ทางสถิิติิ

ผลการวิิจัยั :

ผลการวิิจััยพบว่่าระดัับของโปรตีีนรวมในน้้ำนมไม่่แตกต่่างกัันตามค่่า
คะแนนที่�ต่ รวจสอบด้ว้ ยน้้ำยา CMT 0, T, +1, +2, +3 ) คือื 5.05, 6.33, 6.19,
6.01, 5.75 มิิลลิิกรััมต่่อมิิลลิิลิิตร ตามลำดัับ จากการศึึกษาชนิิดของโปรตีีน
ป้้องกัันในน้้ำนม ตามระดัับคะแนนของการตรวจสอบด้้วยน้้ำยา CMT พบว่่า
ปริิมาณโปรตีีนชนิิดโกลบููลิิน และโปรตีีนชนิิดแลคโตเฟอริิน มีีการเพิ่่�มระดัับ
มากที่ส�่ ุุดของค่า่ คะแนน +3 และค่า่ คะแนน T เป็น็ ต้้น ไม่พ่ บการเปลี่่ย� นแปลง
ของโปรตีีนชนิิดอััลบููมิินในทุุกระดัับคะแนน การตรวจสอบระดัับของเอนไซม์์
เมทริิกเมทััลโลโปติเิ อส-9 (MMP-9) พบว่า่ มีีการแสดงออกสููงสุดุ ในค่า่ คะแนน
ของ CMT ที่่� +3 เท่่านั้้น� โดยแตกต่่างอย่่างมีีนััยสำคััญทางสถิิติิที่่� P<0.05 จาก
ผลการทดลอง สามารถสรุุปได้้ว่่า สููตรน้้ำยา CMT ที่�ผ่ ลิิตขึ้น� เองสำหรัับฟาร์์ม

74

เกษตรกรรายย่่อยเพื่่�อการวิินิิจฉััยการอัักเสบของเต้้านมของโคนมที่�่มีีราคาถููก
ว่า่ น้้ำยา CMT ที่ว�่ างขายตามท้อ้ งตลาด สามารถบ่ง่ บอกสภาวการณ์อ์ ัักเสบของ
เต้้านมได้้เบื้้�องต้้น เพื่่�อให้้เกษตรกรสามารถคััดกรองโคนมที่่�มีีปััญหาเต้้านม
อัักเสบและสามารถลดปััญหาจำนวนเซลล์์โซมาติิกในถัังรวมนมได้้อย่่างมีี
ประสิิทธิภิ าพ

ข้้อเสนอแนะจากงานวิิจััย:

1. ควรเพิ่่ม� ระยะเวลาในการศึกึ ษามากขึ้น� และควรเพิ่่ม� การศึกึ ษาปัจั จััย
ที่่�ส่่งผลต่่อการให้้คะแนนของน้้ำยา CMT ที่�่อาจมีีความคลาดเคลื่�อนของผู้�้ให้้
คะแนน
2. การให้้คะแนนของน้้ำยา CMT เป็็นการประเมิินโดยสายตาของ
ผู้ต�้ รวจซึ่ง� อาจจะมีีความคลาดเคลื่อ� น ผู้ต�้ รวจอาจจะต้อ้ งได้ร้ ัับการฝึกึ ฝนมากขึ้น�
กว่า่ นี้้�
3. ควรมีีการตรวจสอบเซลล์โ์ ซมาติกิ ในน้้ำนมร่ว่ มเพื่่อ� ที่จ�่ ะได้ส้ นัับสนุนุ
ผลการศึึกษามากยิ่ง� ขึ้�น

75

โครงการพััฒนาการท่อ่ งเที่ย� วเชิิงดิิจิิตอลของชุมุ ชนคลองมหาสวััสดิ์์�
Digital Tourism Development for Mahasawat Community
คณะผู้ว้� ิิจััย:

รองศาสตราจารย์์ ดร. สุุดสงวน งามสุรุ ิิยโรจน์์
มหาวิทิ ยาลััยมหิิดล
ดร. วรลัักษณ์์ วงษ์เ์ อก
มหาวิทิ ยาลััยมหิิดล
อาจารย์โ์ อภาส วงษ์์ทวีีทรััพย์์
มหาวิิทยาลััยศิิลปากร
นางสาวถนอมศรีี เปลี่ย�่ นสมััย
มหาวิิทยาลััยมหิดิ ล
นางสาวจงดีี เศรษฐอำนวย
ประธานกลุ่�มสินิ ค้้าแปรรููปทางการเกษตรตำบลศาลายา
ร่่วมกัับ ชุมุ ชนคลองมหาสวััสดิ์์� ศาลายา จัังหวััดนครปฐม

วัตั ถุุประสงค์ข์ องการวิจิ ััย:

1. เพื่่�อเก็็บข้้อมููลพื้้�นฐานเชิิงดิิจิิตอลของการท่่องเที่่�ยวของชุุมชน
คลองมหาสวััสดิ์์� ทั้้�งข้อ้ มููลด้้านประวััติิศาสตร์์ของชุุมชนคลองมหาสวััสดิ์์� ข้อ้ มููล
จุุดแวะชมท่่องเที่่�ยวที่�่ให้้บริิการอยู่�แล้้ว ข้้อมููลกิิจกรรมของชุุมชน ข้้อมููลการ
ติิดต่่อเรืือท่่องเที่�่ยว ข้้อมููลแผนการเดิินทาง และข้้อมููลผลิิตภััณฑ์์แปรรููปทาง
เกษตรที่�ซ่ื้�อเป็น็ ของฝากได้้
2. เพื่่อ� เพิ่่ม� ช่อ่ งทางประชาสััมพัันธ์ก์ ารท่อ่ งเที่ย่� วของชุมุ ชนคลองมหาสวััสดิ์์�
ที่่�มีีให้้บริิการอยู่�แล้้วในชุุมชน โดยการพััฒนาเว็็บไซต์์และเพจเครืือข่่ายสัังคม
เฟซบุ๊๊ก� เพื่่อ� ให้ส้ ถานที่ท�่ ่อ่ งเที่ย่� วของชุมุ ชนเป็น็ ที่ร่�ู้้�จักมากขึ้น� ในกลุ่�มนัักท่อ่ งเที่ย�่ ว

76

พร้้อมกัับมีีระบบ Chatbot สำหรัับตอบคำถามที่�่ง่่าย ๆ แก่่นัักท่่องเที่่�ยว
ได้้อย่่างสะดวกและรวดเร็็วอย่่างอััตโนมััติิ และรวบรวมข้้อคิิดเห็็น ข้้อแนะนำ
ความคาดหวัังหรืือคำถามจากนัักท่่องเที่�่ยว เพื่่�อนำมาใช้ใ้ นการวิิเคราะห์ข์ ้้อมููล
ทางสถิติ ิขิ องพฤติิกรรมและคุณุ ลัักษณะของนัักท่อ่ งเที่�่ยว เช่่น สถิติ ิิของนัักท่่อง
เที่�่ยวในแต่่ละเดืือนและช่่วงเวลาที่�่ได้้รัับความนิิยม ความคาดหวัังของนัักท่่อง
เที่ย�่ วต่อ่ การบริกิ ารของชุมุ ชน เพื่่อ� สร้า้ งองค์ค์ วามรู้ใ้� ห้ช้ ุมุ ชนนำกลัับไปปรัับปรุงุ
และพััฒนาการบริกิ ารการท่อ่ งเที่ย�่ วของชุมุ ชนคลองมหาสวััสดิ์์อ� ย่า่ งยั่ง� ยืนื ต่อ่ ไป
3. เป็็นต้้นแบบของการเก็็บและรวบรวมข้้อมููลการท่่องเที่�่ยวที่�่มีีการ
จััดการโดยชุมุ ชนและเพื่่�อชุุมชน

วิธิ ีดี ำเนิินการวิจิ ััย:

1. เก็็บข้้อมููลการท่่องเที่�่ยวชุุมชนจากการประชุุมกัับผู้้�นำชุุมชนและ
สััมภาษณ์์สมาชิิกของชุมุ ชนเพิ่่ม� เติมิ
2. รวบรวมคำถามและเก็็บคำตอบรัับจากกลุ่�มตััวอย่่างนัักท่่องเที่ย่� ว
3. วิิเคราะห์์ข้อ้ มููลและคำถามที่ก�่ ลุ่�มนัักท่่องเที่่�ยว เพื่่อ� กำหนดปััจจััยที่�่
มีีอิิทธิพิ ลต่่อการตััดสินิ ใจในการเดินิ ทางท่อ่ งเที่ย่� ว
4. ออกแบบโครงสร้้างข้้อมููลการท่่องเที่่�ยวชุุมชนที่่�จะแสดงในเว็็บไซต์์
และแชทบอทบนเพจเครือื ข่่ายสัังคมเฟซบุ๊๊ก�
5. สร้า้ งและทดสอบเว็บ็ ไซต์แ์ ละแชทบอทบนเพจเครือื ข่า่ ยสัังคมเฟซบุ๊๊ก�
เพื่่�อการพััฒนาปรัับปรุุง ให้พ้ ร้้อมสำหรัับการใช้ง้ านจริงิ
6. อบรมการใช้ง้ านเว็บ็ ไซต์แ์ ละแชทบอทบนเพจเครือื ข่า่ ยสัังคมเฟซบุ๊๊ก�
7. สำรวจเพื่่อ� ประเมิินความพึงึ พอใจในการใช้ง้ าน
8. รวบรวมข้้อคิดิ เห็็น ข้อ้ แนะนำ ความคาดหวััง หรืือคำถามจากผู้ใ�้ ช้้

77

ผลการวิจิ ัยั :

การท่่องเที่่�ยวของชุุมชนคลองมหาสวััสดิ์์�เป็็นการท่่องเที่�่ยวเชิิงเกษตร
ท้้องถิ่�น ที่่�ช่่วยรัักษาความพร้้อมและความเข็็มแข็็งของคนในชุุมชนได้้อย่่าง
เหนีียวแน่น่ โดยมีีการกำหนดเส้น้ ทางท่อ่ งเที่ย�่ ว จากการนั่่ง� เรือื ที่ว่� ััดสุวุ รรณาราม
ไปชมนาบัวั ชมสาธิติ การทำข้า้ วตัังที่ท่� ่า่ ศาลาดินิ ชมสวนกล้ว้ ยไม้้ ชมนาข้า้ วและ
สวนผลไม้้ ได้้นั่่�งรถอีีแต๋๋น ทานผลไม้้ ซึ่�งแต่่ละจุุดที่่�ได้้แวะชม มีีคนในชุุมชน
อธิิบายความเป็น็ มาและกิิจกรรมที่เ�่ กี่ย่� วข้้องให้้ฟััง และแต่ล่ ะจุดุ ยัังมีีผลิติ ภััณฑ์์
แปรรููปทางการเกษตรให้น้ ัักท่่องเที่�่ยวซื้�อเป็น็ ของฝากได้้
โครงการพััฒนาการท่่องเที่่�ยวเชิิงดิิจิิตอลของชุุมชนคลองมหาสวััสดิ์์�
ได้้พััฒนาเว็็บไซต์์เพื่่�อเป็็นจุุดรวบรวมข้้อมููลการท่่องเที่�่ยวของชุุมชนคลอง
มหาสวััสดิ์์�ทั้�้ง 5 สถานที่�่ 5 กิิจกรรม และ 5 ผลิิตภััณฑ์์ และมีีการพััฒนา
เครือื ข่า่ ยสัังคมเฟซบุ๊๊�ก เพื่่�อเป็็นอีีกหนึ่่ง� ช่อ่ งทางการให้ข้ ้้อมููลการท่่องเที่่�ยวของ
ชุุมชนคลองมหาสวััสดิ์์�กัับนัักท่่องเที่�่ยวและผู้้�สนใจ โดยได้้มีีการพััฒนาระบบ
Chatbot ให้้ทำหน้้าที่่�โต้้ตอบและตอบคำถามเกี่่�ยวกัับการเดิินทาง หรืือ
สถานที่่�ท่่องเที่่�ยวภายในชุุมชน ตามข้้อมููลการท่่องเที่�่ยวของชุุมชน ทั้�้งข้้อมููล
เอกลัักษณ์ห์ รือื คุณุ ลัักษณะเฉพาะของชุมุ ชนที่ไ�่ ด้ม้ ีีการรวบรวมไว้ท้ ั้ง�้ ประวััติคิ ลอง
มหาสวััสดิ์์จ� ากเอกสาร ข้อ้ ความและองค์ค์ วามรู้ท�้ ี่ไ�่ ด้จ้ ากการสััมภาษณ์ผ์ ู้น�้ ำชุมุ ชน
และรููปภาพต่า่ ง ๆ ที่ไ�่ ด้ม้ ีีการถ่า่ ยไว้ใ้ นการเดินิ ทางไปเยี่ย�่ มชุมุ ชนในหลาย ๆ ครั้ง�้

ข้้อเสนอแนะจากงานวิิจัยั :

1. ควรส่่งเสริิมคนรุ่�นใหม่่หรืือเยาวชนในชุุมชนให้้มีีส่่วนร่่วมในการ
พััฒนาเว็็บไซต์์และแชทบอท หรืือทำหน้้าที่่�ประสานงานเพื่่�อปรัับปรุุงข้้อมููล
การท่อ่ งเที่่�ยว โดยอาจหาแหล่่งทุนุ เพื่่อ� ใช้้เป็็นค่า่ ตอบแทนให้ก้ ัับเยาวชนกลุ่�มนี้้�
2. ติิดต่่อขอความร่ว่ มมืือกัับหน่ว่ ยงานราชการ เช่่น อบต. หรือื อำเภอ
ให้้เป็็นหนึ่่�งของแกนนำหลัักในการส่่งเสริิมชุุมชนให้้ใช้้และพััฒนาเว็็บไซต์์และ
แชทบอทเพื่่อ� การท่่องเที่่ย� วอย่่างยั่ง� ยืนื

78

3. ชัักชวนหน่่วยงานต่่าง ๆ ในมหาวิทิ ยาลััยมหิิดลและชุมุ ชน ให้้ร่่วม
มือื กัันวางแผนเพื่่อ� สนัับสนุนุ การถ่า่ ยทอดความรู้้�แก่่ชุุมชน เช่่น ด้า้ นเทคโนโลยีี
ด้้านประชาสััมพัันธ์์ ด้้านการตลาด เพื่่�อพััฒนาการท่่องเที่่�ยวชุุมชนอย่่างยั่�งยืืน
ผ่า่ นโครงการ CSR ต่า่ ง ๆ ของมหาวิทิ ยาลััย

79

การพัฒั นาผลิติ ภัณั ฑ์์อาหารจากมะนาวและบรรจุุภัณั ฑ์์ของกลุ่�มอาชีีพ
บ้้านหนองมะกอก ตำบลวังั จัันทร์์ อำเภอแก่่งกระจาน จังั หวัดั เพชรบุรุ ีี

Packaging for Nong Makok Occupation Group,
Wang Chan Sub-District, Kaeng Krachan District,

Phetchaburi Province

คณะผู้ว�้ ิจิ ััย:

ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. พููนศิริ ิิ ทิพิ ย์์เนตร
มหาวิิทยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
ดร. สุุคนธา สุคุ นธ์์ธารา
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. รุ่�งทิิวา ชิดิ ทอง
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏนครปฐม
ดร. กุลุ วดีี แก้ว้ ก่่า
มหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์ วิทิ ยาเขตเฉลิมิ พระเกีียรติิ สกลนคร
ดร. อััจฉริยิ ะกููล พวงเพชร์์
มหาวิิทยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
อาจารย์์วััชริินทร์์ สุุขสนาน
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
นายณััฏฐนัันท์์ ศููนย์จ์ ัันดา
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุุรีี
นางพิิทยาภรณ์์ ชมยิ่�ง
ชุุมชนบ้า้ นหนองมะกอก ตำบลวัังจัันทร์์
ร่่วมกัับ ชุุมชนบ้้านหนองมะกอก ตำบลวัังจัันทร์์ อำเภอแก่่งกระจาน
จัังหวััดเพชรบุรุ ีี

80

วัตั ถุุประสงค์์ของการวิิจัยั :

1. เพื่่อ� ศึกึ ษาวิธิ ีีการผลิติ ผลิติ ภััณฑ์จ์ ากมะนาวที่เ�่ หมาะสมกัับบริบิ ทของ
กลุ่�มอาชีีพบ้้านหนองมะกอก อำเภอแก่ง่ กระจาน จัังหวััดเพชรบุรุ ีี
2. เพื่่�อพััฒนาผลิิตภััณฑ์์อาหารจากมะนาวที่่�เหมาะสมกัับบริิบทของ
กลุ่�มอาชีีพบ้้านหนองมะกอก อำเภอแก่ง่ กระจาน จัังหวััดเพชรบุรุ ีี
3. เพื่่อ� ถ่า่ ยทอดองค์ค์ วามรู้ใ�้ นการผลิติ ผลิติ ภััณฑ์จ์ ากมะนาวให้ก้ ัับกลุ่�ม
อาชีีพบ้า้ นหนองมะกอก อำเภอแก่่งกระจาน จัังหวััดเพชรบุรุ ีี และประชาชนที่�่
สนใจทั่่ว� ไป

วิิธีีดำเนินิ การวิิจััย:

1. สำรวจข้อ้ มููลพื้้�นฐานเพื่่�อใช้้ในการพััฒนาผลิติ ภััณฑ์์ต้้นแบบ
2. พััฒนาผลิิตภััณฑ์์จากมะนาว โดยทำการพััฒนาสููตรพื้้�นฐานและ
อััตราส่่วนที่�่เหมาะสมในการผลิิตผลิิตภััณฑ์์จากมะนาว ศึึกษาการยอมรัับของ
ผู้้�บริโิ ภค และวิเิ คราะห์์ผลทางสถิิติิ
3. ถ่่ายทอดเทคโนโลยีีหรืือผลการวิิจััยสู่ก่� ลุ่�มเป้้าหมาย
4. พััฒนารููปแบบฉลากและบรรจุุภุุณฑ์์
5. ทดลองจำหน่า่ ยสินิ ค้า้ และประชาสััมพัันธ์ท์ างการตลาด

ผลการวิจิ ััย:

งานวิจิ ััยนี้้เ� ป็น็ งานวิจิ ััยต่อ่ ยอดผลงานวิจิ ััยเชิงิ ค้น้ คว้า้ ทดลองการแปรรููป
ผลิิตภััณฑ์์ที่่�ล้้นตลาดของชุุมชน เพื่่�อการพััฒนาถ่่ายทอดเทคโนโลยีีสู่่�ชุมชน
ใช้้วิิธีีวิิทยาวิิจััยเชิิงปฏิิบััติิการแบบมีีส่่วนร่่วมของชุุมชนและใช้้วััตถุุดิิบภายใน
ท้้องถิ่�น กลุ่�มตััวอย่่างที่่�ใช้้ในการวิิจััยครั้้�งนี้้� คืือ ชาวบ้้านสมาชิิกกลุ่�มอาชีีพ
บ้้านหนองมะกอก ตำบลวัังจัันทร์์ อำเภอแก่่งกระจาน จัังหวััดเพชรบุรุ ีี จำนวน
32 คน เครื่�องมืือการวิิจััย ประกอบด้้วย วััสดุุอุุปกรณ์์ในการทำผลิิตภััณฑ์์
จากมะนาว จำนวน 3 ชนิิด ได้้แก่่ ม็อ็ กเทลมะนาวอััญชััน เปลือื กมะนาวเชื่�อม

81

ปรุุงรสพริิกเกลืือ และกััมมี่่�เยลลี่�่มะนาวกระเจี๊�ยบ การจััดการอบรมเชิิงปฏิิบััติิ
การ การเปิิดเวทีีชุุมชนเพื่่อ� ระดมความคิดิ เห็น็ การหาแนวทางพััฒนาผลิิตภััณฑ์์
การออกแบบและพััฒนาบรรจุุภััณฑ์์ การออกร้้านจำหน่่ายผลิิตภััณฑ์์ และ
การเพิ่่�มโอกาสทางการตลาด จากการศึกึ ษาวิิจััย พบว่า่ ผลิิตภััณฑ์์จากมะนาว
ทั้ง�้ 3 ชนิดิ มีีส่ว่ นผสมที่เ่� หมาะสมดัังนี้้� คือื 1) ม็อ็ กเทลมะนาวอััญชััน มีีส่ว่ นผสม
ที่เ่� หมาะสม คือื น้้ำว่า่ นหางจรเข้ผ้ สมน้้ำองุ่�นขาว 209 กรััม น้้ำมะนาว 12 กรััม
น้้ำเปล่า่ 23 กรััม อััญชัันผง 0.5 กรััม และน้้ำตาลทราย 6 กรััม 2) เปลือื กมะนาว
เชื่อ� มปรุงุ รสพริกิ -เกลือื มีีส่ว่ นผสมที่เ�่ หมาะสม คือื เปลือื กมะนาว 80 กรััม น้้ำตาล
สำหรัับเชื่อ� ม 70 กรััม น้้ำเปล่่าสำหรัับเชื่�อม 50 กรััม น้้ำตาลำหรัับคลุุก 40 กรััม
เกลืือ 10 กรััม กรดซิิติิก 5 กรััม และพริิกป่่น 5 กรััม 3) กััมมี่่�เยลลี่�่มะนาว
น้้ำสมุุนไพรกระเจี๊�ยบ 200 กรััม น้้ำตาลทราย 130 กรััม แบะแซ 130 กรััม
น้้ำมะนาว 40 กรััม ผงเจลาตินิ 40 กรััม และเกลือื 5 กรััม จากนั้น้� นำไปถ่า่ ยทอด
เทคโนโลยีีการผลิิต กรรมวิิธีีการผลิิต ผลิิตภััณฑ์์ทั้�้งหมด ให้้กัับกลุ่�มอาชีีพ
บ้า้ นหนองมะกอก ตำบลวัังจัันทร์์ อำเภอแก่ง่ กระจาน โดยการจััดฝึกึ อบรมและ
ปฏิิบััติิการ และการออกแบบและพััฒนาบรรจุุภััณฑ์์ เมื่่�อสิ้�นสุุดโครงการ
กลุ่ �มอาชีีพบ้้านหนองมะกอกมีีการผลิิตและจำหน่่ายในการออกร้้านตาม
งานต่า่ ง ๆ เพื่่อ� เป็น็ การเพิ่่�มรายได้้ให้ก้ ัับกลุ่�มอาชีีพบ้า้ นหนองมะกอกทางหนึ่่�ง

82

83

โครงการวิิจััยและนวัตั กรรมเพื่�่อถ่่ายทอดเทคโนโลยีี
สู่ช�่ ุุมชนฐานราก ประจำปีีงบประมาณ 2562

สำนักั งานปลัดั กระทรวงการอุดุ มศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์
วิิจััยและนวัตั กรรม (สป.อว.)

การพััฒนาและส่่งเสริิมผลิติ ภัณั ฑ์์กล้้วยอบพลัังงานแสงอาทิติ ย์์
วิสิ าหกิจิ ชุุมชน ตำบลอ่่างหินิ

Development and Promotion Solar Banana Drying of
Social Enterprise and Community Tambon Ang-Hin

คณะผู้้�วิจิ ัยั :

ดร.ชานนท์์ บุญุ มีีพิิพิิธ
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
ดร.ชฎาณััฎฐ์์ ปิยิ ะวิบิ ููลย์์
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
ดร.กมลรรณ อููปเงินิ
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีพระจอมเกล้า้ ธนบุรุ ีี
ผศ.ดร. ว่า่ ที่ร่� ้อ้ ยตรีี วสัันต์์ นาคเสนีีย์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฎหมู่่�บ้า้ นจอมบึงึ
ร่ว่ มกัับ กลุ่�มวิสิ าหกิจิ ชุมุ ชน ผลิติ กล้ว้ ยตาก ตำบลอ่า่ งหินิ อำเภอปากท่อ่
จัังหวััดราชบุรุ ีี

วััตถุุประสงค์ข์ องการวิิจััย:

1. พััฒนาผลิติ ภััณฑ์จ์ ากวิสิ าหกิจิ ชุมุ ชน กลุ่�มผลิติ กล้ว้ ยอบพลัังงานแสง
อาทิติ ย์์
2. ส่ง่ เสริิมการทำบัญั ชีีวิิสาหกิจิ ชุุมชน
3. ส่ง่ เสริมิ การขยายตลาด

วิธิ ีดี ำเนินิ การวิิจัยั :

1. พััฒนาผลิติ ภััณฑ์ช์ ุมุ ชน กล้ว้ ยตากพลัังงานแสงอาทิติ ย์์
2. ให้ค้ วามรู้�ก้ ารทำบัญั ชีี

85

3. จััดทำแนวทางการประชาสััมพัันธ์์ผ่า่ นสื่อ� ออนไลน์ต์ ่่าง ๆ

ผลการวิจิ ััย:

จากการศึึกษาต้้นทุุนและผลตอบแทนการผลิิตกล้้วยตากพลัังงานแสง
อาทิติ ย์ด์ ้ว้ ยกระบวนอบแห้ง้ แบบธรรมชาติแิ ละโดมอบแห้ง้ พลัังงานแสงอาทิติ ย์์
ในตำบลอ่่างหิิน อำเภอปากท่่อ จัังหวััดราชบุุรีี สามารถสรุุปโดยแบ่่งกลุ่�มตาม
วิิธีีการทำกล้้วยตาก จำนวน 2 แบบ ได้แ้ ก่่ กล้้วยตากแบบวิิธีีธรรมชาติิ (ดั้�ง้ เดิมิ )
และแบบใช้้โดมอบพลัังงานแสงอาทิติ ย์์ ดัังนี้้�
การทำกล้้วยแบบวิิธีีธรรมชาติิ (ดั้�ง้ เดิมิ ) กลุ่�มวิิสาหกิจิ ชุมุ ชนมีีงบลงทุุน
ทั้�ง้ สิ้น� เฉลี่�ย่ คนละ 14,056 บาท เป็น็ จำนวนเงินิ ทั้�ง้ หมด 281,120 บาท และมีี
รายจ่า่ ยปีที ี่�่ 1-3 เป็น็ จำนวนเงินิ เท่า่ กัับ 67,154 บาท 69,844 บาท และ 77,084
บาท กำลัังการผลิติ ปีลี ะ 800 กิโิ ลกรััม จากการจำหน่า่ ยกล้ว้ ยตากพัันธุ์�มะลิขิ าว
กิิโลกรััมละ 100 บาท จำนวน 600 กิิโลกรััม เป็น็ เงินิ 60,000 บาทต่อ่ ปีี และ
กล้้วยที่ไ�่ ม่่ผ่า่ นการคััดคุุณภาพจำนวน 200 กิโิ ลกรััม กิโิ ลกรััมละ 90 บาท 100
บาท และ 120 บาท เป็็นจำนวนเงิิน เท่า่ กัับ 78,000 บาท 80,000 บาท และ
84,000 บาท ตามลำดัับ ทำให้ม้ ีีกำไร (ขาดทุนุ ) สุทุ ธิติ ่อ่ ปีี ในปีที ี่่� 1-3 เป็น็ จำนวน
เงิินเท่า่ กัับ 10,846 บาท 10,156 บาท และ 6,916 บาท
จากการวิิเคราะห์์ผลตอบแทนจากการลงทุุน จะมีีระยะเวลาคืืนทุุน
เท่่ากัับ 3 ปีี 3 เดือื น สำหรัับมููลค่่าปััจจุุบัันสุุทธิิ เท่่ากัับ 187,496.89 บาท และ
198,076.57 บาท ตามลำดัับ และมีีอััตราผลตอบแทนที่�่แท้จ้ ริิง เท่า่ กัับ ร้้อยละ
3.50
การทำกล้้วยแบบใช้้โดมอบแห้้งพลัังงานแสงอาทิิตย์์ กลุ่�มวิิสาหกิิจ
ชุมุ ชนมีีงบลงทุนุ ทั้ง�้ สิ้น� ลงทุนุ เฉลี่ย่� รายละ 17,056 บาท เป็น็ จำนวนเงินิ ทั้ง้� หมด
341,120 บาท และมีีรายจ่่ายปีีที่่� 1-3 เป็็นจำนวนเงินิ เท่า่ กัับ 108,154 บาท
110,844 บาท และ 120,084 บาท กำลัังการผลิิตปีีละ 14,400 กิโิ ลกรััม จาก
การจำหน่่ายกล้้วยตากพัันธุ์�มะลิิขาว กิิโลกรััมละ 140 บาท จำนวน 14,300

86


Click to View FlipBook Version