วััตถุุประสงค์์ของการวิิจัยั :
1. เพื่่�อศึึกษาบริิบทของทรััพยากรพื้้�นถิ่�น และศัักยภาพของธุุรกิิจ
การท่่องเที่ย�่ วเชิิงสุุขภาพในพื้้น� ที่�อ่ ำเภอสามร้อ้ ยยอด จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์
2. เพื่่�อแสวงหาแนวทางในการพััฒนาศัักยภาพภููมิิปััญญาพื้้�นถิ่�น
ของอำเภอสามร้อ้ ยยอด จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์ท์ ี่่� ส่ง่ เสริมิ ให้เ้ กิดิ การท่อ่ งเที่ย�่ ว
เชิิงสุุขภาพ
3. เพื่่�อเชื่�อมโยงการท่่องเที่�่ยวในมิิติิต่่าง ๆ อย่่างบููรณาการให้้เกิิด
การพััฒนารููปแบบการท่่องเที่ย�่ วที่่ส� ามารถดึงึ ดููดใจนัักท่อ่ งเที่ย�่ วได้้อย่่างยั่�งยืืน
วิิธีดี ำเนิินการวิิจัยั :
1. ศึึกษาบริิบทของทรััพยากรพื้้�นถิ่�น และศัักยภาพของธุุรกิิจ
การท่่องเที่ย�่ วเชิงิ สุุขภาพในพื้้น� ที่่�อำเภอสามร้อ้ ยยอด จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์
2. ศึึกษาแนวทางในการพััฒนาศัักยภาพภููมิิปััญญาพื้้�นถิ่�นของ
อำเภอสามร้้อยยอด จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์ ที่่�ส่่งเสริิมให้้เกิิดการท่่องเที่�่ยว
เชิิงสุขุ ภาพ
3. ศึกึ ษาแนวทางเชื่อ� มโยงการท่อ่ งเที่�ย่ วในมิติ ิิต่า่ ง ๆ อย่า่ งบููรณาการ
ให้้เกิิดการพััฒนารููปแบบการท่่องเที่่�ยวที่่�สามารถดึึงดููดใจนัักท่่องเที่่�ยวได้้อย่่าง
ยั่ง� ยืืน
ผลการวิิจัยั :
งานวิจิ ััยนี้้เ� ป็น็ การวิจิ ััยเชิงิ คุณุ ภาพ ใช้ก้ ารวิจิ ััยเอกสาร การสำรวจบริบิ ท
ของพื้้�นที่่� และการจััดกิิจกรรมการสนทนากลุ่�มกัับผู้้�ให้้ข้้อมููลสำคััญ นำผลมา
วิเิ คราะห์์ และนำเสนอเป็น็ แนวทางการบููรณาการภููมิปิ ัญั ญาพื้้น� ถิ่น� เพื่่อ� ส่ง่ เสริมิ
ศัักยภาพการท่อ่ งเที่ย่� วเชิงิ สุขุ ภาพ อำเภอสามร้อ้ ยยอด จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์
ผลการวิจิ ััย พบว่่า
137
1. บริบิ ทชุมุ ชน ทรััพยากรพื้้น� ถิ่น� ทรััพยากรธรรมชาติทิ รััพยากรบุคุ คล
กลุ่�มวิิสาหกิิจชุุมชน โบราณสถาน และศาสนสถานที่่�สร้้างจากแรงศรััทธาของ
คนในชุุมชน ความหลากหลายของภููมิิปััญญาพื้้�นถิ่�นอัันแสดงถึึงอััตลัักษณ์์ของ
ชุมุ ชน และสภาพปัจั จุบุ ันั ของธุรุ กิจิ ท่อ่ งเที่ย่� วเชิงิ สุขุ ภาพของอำเภอสามร้อ้ ยยอด
มีีศัักยภาพและความพร้้อมในการเป็น็ แหล่่งท่อ่ งเที่ย�่ วเชิิงสุุขภาพ
2. การเชื่�อมโยงและการบููรณาการการท่่องเที่่ย� วเพื่่�อให้้เกิิดการพััฒนา
การท่่องเที่่�ยวที่�่สามารถดึึงดููดใจนัักท่่องเที่�่ยวได้้อย่่างยั่�งยืืน สามารถทำได้้ใน
3 มิติ ิิ ได้้แก่่ การเชื่�อมโยงการท่่องเที่่�ยวเชิงิ วััฒนธรรม การท่่องเที่�ย่ วเชิงิ เกษตร
และการท่่องเที่ย่� วแบบธรรมชาติิ กัับการท่อ่ งเที่ย�่ วเชิงิ สุุขภาพ
3. แนวทางในการพััฒนาศัักยภาพภููมิิปััญญาพื้้�นถิ่�นที่่�ส่่งเสริิมให้้เกิิด
การท่่องเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพ ควรดำเนิินการควบคู่่�กัันไปทั้้�ง 3 แนวทาง ได้้แก่่
การพััฒนาและการอนุุรัักษ์์ทรััพยากรการท่่องเที่่�ยวและภููมิิปััญญาพื้้�นถิ่ �น
การพััฒนาโครงสร้า้ งพื้้น� ฐานและสิ่ง� อำนวยความสะดวกด้า้ นการท่อ่ งเที่ย�่ ว และ
การพััฒนาศัักยภาพของบุคุ ลากรด้้านการท่่องเที่ย�่ ว
“การส่่งเสริมิ การท่่องเที่ย�่ วช่ว่ ยเพิ่่ม� ศัักยภาพเศรษฐกิิจฐานราก
และความเข้ม้ แข็็งของชุุมชน นำไปสู่่�การพััฒนาธุุรกิิจเครืือข่า่ ยที่ม�่ ีีผลกระทบ
ในภาพรวมของประเทศ”
“การพััฒนาการท่่องเที่ย�่ วชุมุ ชนจำเป็็นต้อ้ งได้้รัับความร่ว่ มมือื จากชุุมชน
การสนัับสนุนุ จากหน่ว่ ยงานภาครััฐ และการร่่วมลงทุนุ จากภาคเอกชน
เพื่่อ� ให้เ้ กิดิ ผลสััมฤทธิ์์อ� ย่่างเป็น็ รููปธรรม”
138
139
นวััตกรรมการจัดั การการท่่องเที่ย� วเชิิงสุุขภาพด้้วยเกษตรอิินทรียี ์แ์ ละ
เกษตรปลอดภััย เพื่อ่� รองรับั การท่่องเที่�ยวตามแนววิถิ ีใี หม่่
คณะผู้ว้� ิิจัยั :
ดร. บรรจบพร อิินดีี
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏกาญจนบุรุ ีี
ดร. ปิยิ ะพร พิิทัักษ์ต์ ัันสกุลุ
มหาวิิทยาลััยราชภััฏกาญจนบุุรีี
นางสาวรัันฐิยิ า ไชยลา
มหาวิิทยาลััยราชภััฏกาญจนบุุรีี
นายสมชาย แซ่ต่ ััน
นัักวิจิ ััยชุมุ ชน
พื้้น� ที่ด่� ําํ เนินิ การ: เครือื ข่า่ ยชุมุ ชนเกษตรกรผู้้�ปลููกพืชื ผััก และผลไม้แ้ บบ
เกษตรอินิ ทรีีย์แ์ ละเกษตรปลอดภััย ในอํําเภอไทรโยค จัังหวััดกาญจนบุรุ ีี
วััตถุปุ ระสงค์์ของการวิจิ ััย:
1. เพื่่�อศึึกษารููปแบบนวััตกรรมการจััดการการท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพ
ด้ว้ ยเกษตรอินิ ทรีีย์แ์ ละเกษตรปลอดภััยที่เ�่ หมาะสมสําํ หรัับรองรัับการท่อ่ งเที่ย�่ ว
ตามแนววิิถีีใหม่่
2. เพื่่�อพััฒนาชุุมชนต้้นแบบเกษตรอิินทรีีย์์และเกษตรปลอดภััย
เพื่่อ� การท่่องเที่่�ยวเชิงิ สุุขภาพ ตามแนววิถิ ีีใหม่่
วิธิ ีีดำเนิินการวิิจััย:
1. ศึึกษารููปแบบนวััตกรรมการจััดการการท่่องเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพด้้วย
เกษตรอินิ ทรีีย์แ์ ละเกษตรปลอดภััยที่เ่� หมาะสมสําํ หรัับรองรัับการท่อ่ งเที่ย�่ วตาม
แนววิถิ ีีใหม่่
140
2. พััฒนาชุุมชนต้้นแบบเกษตรอิินทรีีย์์และเกษตรปลอดภััยเพื่่�อ
การท่อ่ งเที่่�ยวเชิงิ สุุขภาพตามแนววิิถีีใหม่่
ผลการวิจิ ััย:
การวิิจััยนี้้�ดํําเนิินการด้้วยรููปแบบวิิจััยเชิิงคุุณภาพและการวิิจััย
เชิิงปริิมาณ โดยใช้เ้ ครื่�องมือื ได้แ้ ก่่ การสนทนากลุ่�ม การสััมภาษณ์เ์ ชิิงลึึก และ
การตอบแบบสอบถาม ประชากรเป้้าหมาย คืือ เครืือข่่ายชุุมชนเกษตรกรผู้้�
ปลููกพืืชผัักและผลไม้้แบบเกษตรอิินทรีีย์์และเกษตรปลอดภััย ในตํําบลท่่าเสา
อําํ เภอไทรโยค จัังหวััดกาญจนบุรุ ีีโดยเน้น้ ในกลุ่�มผู้ผ้� ลิติ ไม้ผ้ ล อาทิิกล้ว้ ย ส้ม้ โอ
ทุเุ รีียน เงาะ มัังคุดุ เป็น็ ต้น้
ผลการศึึกษาจากการสนทนากลุ่�ม (Focus group) ได้้ข้้อมููลเกี่่�ยวกัับ
ความคิิดเห็็นเกี่�่ยวกัับรููปแบบนวััตกรรมการจััดการการท่่องเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพ
ร่่างรููปแบบนวััตกรรมการจััดการการท่่องเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพด้้วยเกษตรอิินทรีีย์์
และเกษตรปลอดภััย บริบิ ทชุมุ ชนด้า้ นการเกษตรและแหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย่� วเชิงิ เกษตร
ในพื้้�นที่ต�่ ํําบลท่่าเสา อําํ เภอไทรโยค จัังหวััดกาญจนบุรุ ีีและเครืือข่า่ ยเกษตรกร
กลุ่�มสมาชิกิ วิสิ าหกิจิ ชุมุ ชนและกลุ่�มสมาชิกิ ที่ส่� นใจในการพััฒนาแหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย�่ ว
เชิิงเกษตร ซึ่�งพบว่่าได้้มีีสมาชิิกสนใจ 7 ราย ซึ่�งเป็็นสมาชิิกของกลุ่�มวิิสาหกิิจ
ชุุมชนไม้้ผลและการท่่องเที่�่ยวบ้้านพุุตะเคีียน ดํําเนิินการจััดทํํา SWOT พื้้�นที่่�
แหล่่งวิิสาหกิิจชุุมชน พบว่่า ข้้อได้้เปรีียบพื้้�นที่่�อํําเภอไทรโยค มีีชื่่�อเสีียงด้้าน
การท่่องเที่ย่� วของจัังหวััดกาญจนบุุรีี ด้้านความอุดุ มสมบููรณ์ท์ างธรรมชาติแิ ละ
ความสวยงาม มีีความได้้เปรีียบด้้านแหล่่งท่่องเที่�่ยวทางธรรมชาติิ วััฒนธรรม
ชาติิพัันธุ์� และอาหารท้้องถิ่�น และมีีค่่าใช้้จ่่ายเพื่่�อการท่่องเที่�่ยวไม่่สููงเมื่�อ
เปรีียบเทีียบกัับประสบการณ์์ที่�่นัักท่่องเที่�่ยวได้้รัับ ข้้อเสีียเปรีียบ ขาดการ
เชื่ �อมโยงของแหล่่งท่่องเที่�่ยวที่่�สร้้างประสบการณ์์การท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพ
แหล่่งท่่องเที่่�ยวขาดการทํําการตลาดและประชาสััมพัันธ์์ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ
ขาดบุคุ ลากรที่ม�่ ีีความรู้เ้� ฉพาะด้า้ นเพื่่อ� ตอบสนองความต้อ้ งการของนัักท่อ่ งเที่ย่� ว
141
เฉพาะกลุ่�ม และขาดความเชื่�อมโยงความร่่วมมืือระหว่่างผู้�้ ประกอบการ ชุุมชน
และภาครััฐ โอกาสที่�่จะดําํ เนินิ การได้้ ได้แ้ ก่่ นโยบายต่่าง ๆ ของรััฐบาลที่อ�่ อก
มาเพื่่�อช่่วยกระตุ้�นเศรษฐกิิจ การเปิิดพื้้�นที่�่เพื่่�อให้้สามารถเดิินทางท่่องเที่�่ยวได้้
ในสถานการณ์์การแพร่่ระบาด และการประกาศวัันหยุุดเพิ่่�มเติิมเพื่่�อกระตุ้�น
การท่่องเที่่�ยวภายในประเทศ การท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพจากการบริิโภคสิินค้้า
เกษตรปลอดภััย โดยสามารถเป็็นผู้�้เลืือกเก็็บผลผลิิตด้้วยตนเอง จึึงเป็็นกลุ่�ม
นัักท่่องเที่่�ยวที่�่เป็็นตลาดใหม่่ในปััจจุุบััน และการให้้ความสํําคััญกัับการใช้้
มาตรการป้อ้ งกัันการแพร่ร่ ะบาดของโรคติดิ เชื้อ� ไวรััสโคโรน่า่ ช่ว่ ยให้น้ ัักท่อ่ งเที่ย่� ว
เกิิดความมั่ �นใจในการเดิินทางเพิ่่�มขึ้�น ปััจจััยที่่�คุุกคามการดํําเนิินงาน ได้้แก่่
ความไม่ม่ั่่�นใจในสภาวะเศรษฐกิจิ เป็็นปััจจััยลบที่ส�่ ําํ คััญที่ส�่ ่ง่ ผลต่่อการตััดสินิ ใจ
เดิินทางท่่องเที่�่ยว และค่่าใช้้จ่่ายของนัักท่่องเที่่�ยวไทย ผลกระทบจากการ
เปลี่ย่� นแปลงสภาพภููมิอิ ากาศ ที่ม่� ีีผลมาจากฤดููกาลที่ม�่ ีีความเปลี่ย่� นแปลงไป และ
นัักท่อ่ งเที่ย�่ วมีีรููปแบบการท่อ่ งเที่ย�่ วตามสมััยนิยิ ม ทําํ ให้ข้ าดนัักท่อ่ งเที่ย�่ วที่เ�่ ป็น็
นัักท่่องเที่่�ยวคุณุ ภาพ ซึ่�งใส่ใ่ จต่อ่ สิ่�งแวดล้้อมและกํําลัังซื้�อสููง
ผลการศึกึ ษานวััตกรรมการจััดการการท่อ่ งเที่ย�่ วเชิงิ สุขุ ภาพด้ว้ ยเกษตร
อินิ ทรีีย์์และเกษตรปลอดภััยเพื่่�อรองรัับการท่อ่ งเที่่ย� วตามแนววิิถีีใหม่่ พบว่า่
พฤติกิ รรมการเดินิ ทางท่อ่ งเที่ย่� วในพื้้น� ที่อ�่ ําํ เภอไทรโยค จัังหวััดกาญจนบุรุีี
พบว่า่ ส่ว่ นใหญ่ม่ ีีลัักษณะการเดินิ ทางท่อ่ งเที่ย�่ วแบบไม่พ่ ัักค้า้ งคืนื มีีวััตถุปุ ระสงค์์
หลัักในการเดิินทางท่่องเที่่�ยวเพื่่�อการพัักผ่่อนหย่่อนใจ มีีค่่าใช้้จ่่ายในการ
เดินิ ทางท่่องเที่ย่� ว จํํานวน 1,000-1,500 บาท ส่ว่ นใหญ่ไ่ ม่ม่ ีีการจััดสรรวงเงินิ
สำหรัับการเดิินทางท่่องเที่�่ยว ใช้้รถยนต์์ส่่วนตััวเป็็นพาหนะในการเดิินทางมา
ท่่องเที่่�ยว ส่่วนใหญ่่เดิินทางลัักษณะครอบครััว มีีสมาชิิกที่�่ร่่วมเดิินทางมา
ท่อ่ งเที่�ย่ ว 2-3 คน ช่ว่ งเวลาในการเลือื กเดิินทางมาท่อ่ งเที่ย�่ ววัันหยุดุ สุุดสััปดาห์์
ความคิิดเห็็นเกี่�่ยวกัับรููปแบบนวััตกรรมการจััดการการท่่องเที่�่ยว
เชิงิ สุขุ ภาพด้ว้ ยเกษตรอินิ ทรีีย์แ์ ละเกษตรปลอดภััย พบว่า่ โดยรวมและรายด้า้ น
อยู่�ในระดัับมากที่�ส่ ุุด โดยพบว่า่
142
ด้า้ นผลิติ ภััณฑ์ไ์ ด้แ้ ก่่ ผลิติ ภััณฑ์ก์ ารท่อ่ งเที่ย�่ วมีีคุณุ ภาพสููงความมีีคุณุ ค่า่
และมุ่�งเน้้นการอนุุรัักษ์์สิ่�งแวดล้้อม มีีการประยุุกต์์ใช้้ภููมิิปััญญาเพื่่�อการดููแล
สุุขภาพและการบํําบััดในพื้้�นที่่�เกษตรที่่�เป็็นแหล่่งท่่องเที่�่ยว และสถานที่่�มีี
ศัักยภาพพร้้อมที่�่จะต้้อนรัับนัักท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพโดยมีีการดํําเนิินการตาม
มาตรการของการท่่องเที่�่ยววิิถีีใหม่่
ด้า้ นกระบวนการ ได้แ้ ก่่ มีีการปรัับลดขั้น�้ ตอนการให้บ้ ริกิ ารเชิงิ สุขุ ภาพ
เพื่่�อให้้สอดคล้้องกัับระยะเวลาในการท่่องเที่่�ยว ความมีีคุุณค่่าด้้านความรู้�้และ
ประสบการณ์์ที่�่ได้้รัับจากการท่่องเที่่�ยวในพื้้�นที่่�เกษตร และการมีีความสะดวก
สบายการเข้า้ ถึงึ พื้้�นที่�เ่ กษตรที่่�เป็น็ แหล่ง่ ท่่องเที่ย�่ ว
ด้า้ นการบริกิ าร ได้แ้ ก่่ มีีกิจิ กรรมในการท่อ่ งเที่ย่� วที่น�่ ่า่ สนใจที่ด�่ ําํ เนินิ การ
ตามมาตรการของการท่อ่ งเที่ย่� ววิถิ ีีใหม่่ การบริกิ ารในพื้้น� ที่ม่� ีีความปลอดภััยเป็น็
ไปตามมาตรการของการท่่องเที่�่ยววิิถีีใหม่่ และมีีบุุคลากรในการต้้อนรัับและ
ให้ข้ ้้อมููลเกี่�่ยวกัับการให้้บริกิ าร
ด้้านโครงสร้้างขององค์์กร ได้้แก่่ มีีมีีผู้�้ รัับผิิดชอบในแต่่ละกิิจกรรมใน
การให้้บริิการการท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพอย่่างพีียงพอ มีีบุุคลากรอย่่างเพีียงพอ
เพื่่�อรองรัับการให้้บริิการการท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพ และมีีช่่องทางการสื่่�อสารที่่�
หลากหลายเพื่่�อให้น้ ัักท่่องเที่่ย� วหรือื ผู้้�เกี่ย�่ วข้้องเข้า้ ถึึงได้้ง่า่ ย
ด้้านการตลาด ได้้แก่่ มีีการใช้้สื่�อโซเชีียลในการสื่่�อสารการตลาดเพื่่�อ
ส่่งเสริิมการท่่องเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพ ความคุ้�มค่่าของราคาค่่าใช้้จ่่ายที่่�เกิิดขึ้�นใน
การเดิินทางท่่องเที่�่ยว มีีช่่องทางการแนะนํําหรืือให้้ข้้อมููลของพื้้�นที่่�เกษตรที่�่
เป็น็ แหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย่� วที่น่� ่า่ สนใจเข้า้ ถึงึ ได้ง้ ่า่ ย และมีีความปลอดภััยในการเดินิ ทาง
ท่่องเที่่�ยวที่่�เป็็นไปตามมาตรการของการท่อ่ งเที่�ย่ ววิถิ ีีใหม่่
ด้้านการพััฒนาทรััพยากรมนุุษย์์ได้้แก่่ ผู้้�ให้้บริิการมีีประสบการณ์์ใน
การจััดการแหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย่� วสอดคล้อ้ งกัับการท่อ่ งเที่ย่� วแนววิถิ ีีใหม่่ ผู้ใ้� ห้บ้ ริกิ ารมีี
ความรู้�้ ทัักษะและความสามารถในการจััดการแหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย่� ว และนัักท่อ่ งเที่ย�่ ว
และผู้้�ให้้บริกิ ารมีีบทบาทร่่วมกัันในการกํําหนดแนวทางการให้บ้ ริิการ
143
144
การศึกึ ษาข้้อมููลเส้้นทางการท่อ่ งเที่ย� วเพื่่อ� นํําไปสู่่�การบููรณาการ
แผนการจััดการท่่องเที่�ยวบริิการเชิิงสุขุ ภาพในพื้้�นที่�กรุุงเทพมหานคร
ฝั่่�งธนบุุรีี
คณะผู้�้วิิจััย:
ศาสตราจารย์์ ดร. พนอเนื่่�อง สุุทััศน์์ ณ อยุุธยา
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏบ้า้ นสมเด็็จเจ้า้ พระยา
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. สิิงห์์ สิงิ ห์์ขจร
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏบ้้านสมเด็จ็ เจ้า้ พระยา
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. เอกชััย พุุหิริ ััญ
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏบ้้านสมเด็จ็ เจ้า้ พระยา
ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. เกีียรติิขร โสภณาภรณ์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏบ้้านสมเด็็จเจ้า้ พระยา
ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตรจารย์จ์ ุุฬาลัักษณ์์ จารุุจุุฑารััตน์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏบ้า้ นสมเด็จ็ เจ้้าพระยา
ผู้�้ ช่่วยศาสตรจารย์ว์ ชิริ ศัักดิ์� เขีียนวงศ์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏบ้า้ นสมเด็จ็ เจ้้าพระยา
นายสมิิทธ์์ เฮงชััยโย
มหาวิิทยาลััยราชภััฏบ้า้ นสมเด็็จเจ้า้ พระยา
อาจารย์์ณััฐพล พุุฒยางกููร
มหาวิทิ ยาลััยสยาม
อาจารย์์ขวััญชััย กัังเจริญิ
มหาวิิทยาลััยสยาม
อาจารย์ภ์ าณุพุ งศ์์ ทองประสิทิ ธิ์์�
มหาวิิทยาลััยสยาม
145
วัตั ถุุประสงค์ข์ องการวิจิ ัยั :
1. เพื่่�อศึึกษาประเด็็นปััญหาศัักยภาพและโจทย์์ด้้านการจััดการ
ท่่องเที่ย่� วบริกิ ารเชิงิ สุุขภาพในพื้้�นที่่�กรุงุ เทพมหานครฝั่่�งธนบุรุ ีี
2. เพื่่อ� วิเิ คราะห์ข์ ้อ้ มููลและสารสนเทศของการจััดการท่อ่ งเที่ย�่ วบริกิ าร
เชิงิ สุุขภาพในพื้้�นที่�่กรุงุ เทพมหานครฝั่่�งธนบุรุ ีี
3. เพื่่�อวิเิ คราะห์์แนวทางการพััฒนา ประเด็น็ การพััฒนาและแผนการ
พััฒนาการจััดการท่อ่ งเที่ย่� วบริกิ ารเชิงิ สุขุ ภาพในพื้้น� ที่ก่� รุงุ เทพมหานครฝั่่ง� ธนบุรุ ีี
ตามประเด็็นปััญหา ศัักยภาพ และโจทย์จ์ ากพื้้�นที่�่
4. เพื่่�อเชื่�อมโยงข้้อมููลที่�่ได้้จากการวิิจััย กัับฐานข้้อมููลของชุุมชนใน
รููปแบบ Digitizing Data
5. เพื่่�อสร้้างบุุคลากรวิิจััยใหม่่ในสถาบัันอุุดมศึึกษา ที่่�สามารถทํํางาน
วิจิ ััยกัับชุมุ ชน
วิิธีดี ำเนินิ การวิจิ ัยั :
1. เข้า้ สําํ รวจ ศึกึ ษาสภาพปัญั หา และทําํ การเก็บ็ ข้อ้ มููล Baseline data
ข้อ้ มููลชุุมชน
2. ทําํ การวิิเคราะห์ข์ ้้อมููล Baseline data ข้อ้ มููลชุมุ ชนในแต่่ละด้า้ น
ทุุนเดิมิ ชุุมชนเพื่่อ� หาแนวทางในการแก้ป้ ััญหา
3. สรุุปแนวทางที่ช่� ััดเจนในการแก้ไ้ ขปััญหาร่่วมกัับกลุ่�มเป้้าหมาย
4. จััดทํําและวางแผนในการดํําเนิินการร่่วมกัับกลุ่�มเป้้าหมายในการ
วางแผนทําํ งานวิจิ ััยเรื่�องการท่่องเที่ย�่ วเชิงิ สุุขภาพ
5. สรุุปผลการดํําเนิินการการจััดการวางแผนการท่่องเที่�่ยวเชิงิ สุขุ ภาพ
ในพื้้�นที่ก�่ รุุงเทพมหานครฝั่่ง� ธนบุุรีีและแนวทางในการทําํ วิิจััยต่่อยอด
146
ผลการวิิจััย:
ผลการวิิจััยแสดงให้้เห็็นศัักยภาพและโจทย์์ด้้านการจััดการท่่องเที่�่ยว
บริกิ ารเชิงิ สุุขภาพในพื้้น� ที่ก�่ รุุงเทพมหานครฝั่่ง� ธนบุรุ ีีทั้ง้� ธนบุุรีีเหนือื และใต้้ และ
นําํ มาสู่ก�่ ารพััฒนาร่า่ งข้อ้ เสนอการวิจิ ััยจําํ นวน 2 ร่า่ งข้อ้ เสนอ โดยมีีวััตถุปุ ระสงค์์
เพื่่อ� ยกระดัับการท่่องเที่่ย� วบริกิ ารเชิิงสุขุ ภาพในพื้้�นที่่�กรุงุ เทพมหานครฝั่่ง� ธนบุรุ ีี
เหนืือและใต้้
ผลการศึกึ ษา ได้ค้ ้น้ พบ 1) ประเด็น็ ปัญั หา ศัักยภาพและโจทย์ท์ ี่ท�่ ้า้ ทาย
จากพื้้�นที่่� (Demand side) ในระดัับพื้้�นที่ต�่ ํําบลขึ้้น� ไป 2) ข้้อมููลและสารสนเทศ
ของบริิบททั่่�วไปของพื้้�นที่่�และบริิบทเฉพาะของประเด็็นปััญหา ศัักยภาพ
และโจทย์ท์ ี่่ท� ้า้ ทายจากพื้้�นที่่� (Demand side) 3) แนวทางการพััฒนา ประเด็็น
การพััฒนาและแผนการพััฒนา ตามประเด็น็ ปัญั หา ศัักยภาพและโจทย์ท์ ี่ท�่ ้า้ ทาย
จากพื้้�นที่�่ (Demand side) 4) กรอบแนวคิิดการพััฒนา กระบวนการ และ
ชุดุ ความรู้้� เทคโนโลยีีและนวััตกรรม (Supply side) ที่จ�่ ะดําํ เนินิ การตามแนวทาง
การพััฒนา ประเด็็นการพััฒนา และแผนการพััฒนาที่่�สอดคล้้องกัับประเด็็น
ปััญหา ศัักยภาพและโจทย์์ที่่�ท้้าทายจากพื้้�นที่่� (Demand side) 5) ข้้อตกลง
ความร่่วมมืือหรืือหลัักฐานแสดงความร่่วมมืือที่�่จะร่่วมดํําเนิินโครงการของ
หน่ว่ ยงาน/องค์ก์ รที่่�รัับผิดิ ชอบและผู้เ้� กี่ย่� วข้้องในพื้้น� ที่�่ และ6) เชื่�อมโยงข้อ้ มููลที่�่
ได้้จากการวิิจััยเบื้้อ� งต้น้ (Preliminary Research) กัับฐานข้อ้ มููลของชุุมชนใน
รููปแบบ Digitizing Data
147
148
การพััฒนาขอเสนอเชิงิ นโยบายสําํ หรัับการขับั เคลื่อ�่ นอุุตสาหกรรม
การทองเที่�ยวโดยชุมุ ชนเพื่่อ� ยกระดับั คุณุ ภาพชีวี ิิตและเศรษฐกิจิ ฐานราก
เชิิงสรางสรรคของจัังหวััดราชบุุรีี
คณะผู้้ว� ิจิ ัยั :
ผููชวยศาสตราจารย ดร.พนััชกร สิิมะขจรบุญุ
มหาวิทิ ยาลััยศิิลปากร
ผููชวยศาสตราจารย ดร. วุฒุ ิิชััย อารัักษโพชฌงค
มหาวิทิ ยาลััยศิิลปากร
ผููชวยศาสตราจารย ดร.ระชานนท ทวีีผล
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร
พื้้น� ที่ด�่ ําํ เนินิ การ: หนว ยงานราชการ วิสิ าหกิจิ ชุมุ ชน และผููประกอบการ
ที่่�เกี่ย�่ วของกัับการทองเที่่�ยวในจัังหวััดราชบุรุ ีี
วััตถุุประสงค์์ของการวิิจัยั :
1. เพื่่�อศึึกษาความตองการของผููมีีสวนไดเสีียในการขัับเคลื่�อนแผน
การพััฒนาขอเสนอเชิงิ นโยบายสําํ หรัับการขัับเคลื่อ� นอุตุ สาหกรรมการทองเที่ย�่ ว
โดยชุุมชนเพื่่�อยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตและเศรษฐกิิจฐานรากเชิิงสรางสรรค
ของจัังหวััดราชบุุรีีและเพื่่�อยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตและเศรษฐกิิจฐานราก
เชิงิ สรางสรรคของราชบุุรีี
2. เพื่่�อศึึกษาศัักยภาพและความพรอมของผููมีีสวนไดเสีียในการ
ขัับเคลื่ �อนแผนการพััฒนาข้้อเสนอเชิิงนโยบายสํําหรัับการขัับเคลื่ �อนอุุตสาหกร
รมการทองเที่�่ยวโดยชุุมชนเพื่่�อยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตและเศรษฐกิิจฐานราก
เชิงิ สรางสรรคของจัังหวััดราชบุรุ ีี
149
3. เพื่่�อพััฒนาขอเสนอเชิิงนโยบายในการขัับเคลื่�อนแผนการพััฒนา
ขอเสนอเชิงิ นโยบายสําํ หรัับการขัับเคลื่อ� นอุตุ สาหกรรมการทองเที่ย�่ วโดยชุมุ ชน
เพื่่อ� ยกระดัับคุณุ ภาพชีีวิติ และเศรษฐกิจิ ฐานรากเชิงิ สร้า้ งสรรคของจัังหวััดราชบุรุีี
วิธิ ีีดำเนินิ การวิิจััย:
1. ศึึกษาความตองการของผููมีีสวนไดเสีียในการขัับเคลื่ �อนแผนการ
พััฒนาขอเสนอเชิิงนโยบายสํําหรัับการขัับเคลื่ �อนอุุตสาหกรรมการทองเที่�่ยว
โดยชุุมชนเพื่่�อยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตและเศรษฐกิิจฐานรากเชิิงสรางสรรค
ของจัังหวััดราชบุุรีีและเพื่่�อยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตและเศรษฐกิิจฐานราก
เชิงิ สรางสรรคของราชบุรุ ีี
2. ศึึกษาศัักยภาพและความพรอมของผููมีีสวนไดเสีียในการขัับเคลื่�อน
แผนการพััฒนาขอเสนอเชิิงนโยบายสํําหรัับการขัับเคลื่ �อนอุุตสาหกรรม
การทองเที่�่ยวโดยชุุมชนเพื่่�อยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตและเศรษฐกิิจฐานราก
เชิงิ สรางสรรคของจัังหวััดราชบุรุ ีี
3. พััฒนาขอเสนอเชิงิ นโยบายในการขัับเคลื่อ� นแผนการพััฒนาขอเสนอ
เชิิงนโยบายสํําหรัับการ
4. ขัับเคลื่อ� นอุตุ สาหกรรมการทองเที่ย่� วโดยชุมุ ชนเพื่่อ� ยกระดัับคุณุ ภาพ
ชีีวิิตและเศรษฐกิจิ ฐานรากเชิิงสรางสรรคของจัังหวััดราชบุุรีี
ผลการวิจิ ััย:
สำหรัับความตองการ ความพรอมและศัักยภาพของผููประกอบการ
นัักทองเที่ย�่ ว และวิสิ าหกิจิ ชุุมชน สามารถอธิบิ ายได้เ้ ปน 5 มิติ ิิ ดัังนี้้�
1) มิิติิการพััฒนาคุุณภาพอุุตสาหกรรมการทองเที่่�ยว ประกอบดวย
1.1) ดา นแนวทางการพััฒนาคุณุ ภาพของผููประกอบการดา นการทองเที่ย่� วและ
การใหบริิการของพนัักงานพบวา สภาพการดํําเนิินงานของผููประกอบการ
ดา นการทองเที่่�ยวสวนใหญประสบปญหาจากการแพรระบาดของโรคโควิดิ 19
150
ทํําใหไมสามารถรองรัับลููกคา จําํ นวนมากไดอีกตอ ไป จึงึ เสนอแนวทางการปรัับ
แผนการดํําเนิินธุุรกิิจไปในทิิศทางความปกติิใหม (new normal) เพื่่�อเขาถึึง
คุุณภาพการบริิการโดยพิิจารณาในแงของการทองเที่�่ยวอยางยั่ �งยืืนในประเด็็น
ของการจััดระเบีียบนัักทองเที่่�ยวเพื่่�อความยั่�งยืืนของธุุรกิิจ โดยเสนอวาจััดให้้
เป็็นมาตรการที่�่เปนมาตรฐานทั้�้งจัังหวััดเกี่่�ยวกัับโรคระบาดเพื่่�อนํํามาใชกัับ
นัักทองเที่่�ยว 1.2) ดานความพรอมและศัักยภาพของผููประกอบการนั้้�น
พบวา ผููประกอบการมีีการปรัับตััวเพื่่อ� เตรีียมความพรอมในการรองรัับการทอง
เที่�่ยวแบบปกติิใหม แตนโยบายดานการทองเที่�่ยวของภาครััฐยัังขาดการเชื่�อม
โยงกัับภาคเอกชน ทํําใหผููประกอบการเกิิดความสัับสนในการดํําเนิินงานตาม
นโยบายของภาครััฐที่่�ใหขอมููลไม่่เป็็นไปในทิิศทางเดีียวกััน จึึงเสนอใหภาครััฐ
ควรมีีจุุดประสานงานและสื่ �อสารกัับผููประกอบการเพีียงจุุดเดีียวเพื่่�อความเปน
เอกภาพในการปฏิบิ ััติติ ามนโยบายของรััฐ สวนจําํ นวนรานคา เพื่่อ� การทองเที่ย่� ว
ของแตละอําํ เภอยัังมีีจําํ นวนไมเ พีียงพอตอ ความตอ งการของนัักทองเที่ย่� ว และ
นัักทองเที่�่ยวตามหาไดลํําบาก ส่่วนวิิสาหกิิจชุุมชนนั้�้นมีีความเห็็นวาลัักษณะ
กิิจการของวิิสาหกิิจชุุมชนไมคอยจะเกี่�่ยวของกัับการทองเที่่�ยวมากนััก หาก
พััฒนาผลิิตภััณฑชุุมชนใหเปนสิินคาทางการทองเที่�่ยวไดก็็นาจะชวยสรางยอด
ขายใหเพิ่่ม� ขึ้น� ได แตวิสิ าหกิจิ ชุมุ ชนมองตลาดที่ก�่ วา งกวา การทองเที่ย�่ วโดยอยาก
พััฒนาผลิิตภััณฑใหออกสู ตลาดภายนอกชุุมชนมากกวาและหากไปไกลถึึงตาง
ประเทศไดยิ่ง� ดีี
2) มิิติิการพััฒนาขีีดความสามารถของแหลงทองเที่�่ยวจัังหวััด
ราชบุุรีีใหเปนเมือื งทองเที่ย่� ว ผููประกอบการดานการทองเที่ย่� ว วิิสาหกิจิ ชุมุ ชน
และนัักทองเที่�่ยวเสนอวาราชบุุรีีควรเปนเมืืองทองเที่�่ยวเชิิงศิิลปะที่�่เปน
ลัักษณะเฉพาะของราชบุุรีีการทองเที่�่ยวชมปาเขาที่�่ปลอดภััยและดีีตอสุุขภาพ
การทองเที่�่ยวเชิิงการเกษตรปลอดภััย โดยชููประเด็็นการรัักษสุุขภาพที่่�เปน
แนวโนม ของผูคนแทรกเขาไปในแหล่ง่ ท่อ่ งเที่ย่� ว ซึ่ง� ราชบุรุ ีีมีีนิเิ วศที่ห่� ลากหลาย
ประกอบกัับหลายชาติิพัันธุุที่่�โดดเดนที่่�สามารถพััฒนาเปนแหล่่งท่่องเที่่�ยว
151
เชิิงชาติิพัันธ�ุวรรณาพรอมกัับการรัักษสุุขภาพไดเชน การมีีอาหารสุุขภาพ
ปลอดสารพิษิ อีีกทั้ง�้ ราชบุรุ ีีมีีทําํ เลไมไ กลจากกรุงุ เทพฯ คาดวา จะมีีนัักทองเที่ย�่ ว
มาใชบริิการจําํ นวนมากในวัันหยุุดสุดุ สััปดาห
3) มิิติิการพััฒนารููปแบบการทองเที่�่ยวอยางมีีเอกลัักษณบนฐานทาง
วััฒนธรรม พบวา ราชบุรุ ีียัังขาดอััตลัักษณหรือื จุดุ ขายที่โ�่ ดดเดน และแตกตา งไป
จากจัังหวััดอื่�น เพื่่�อสรางเอกลัักษณที่�่ชััดเจนและแตกต่่างจากทองถิ่�นอื่�นจึึง
ควรเรงศึึกษาและนํําผลที่่�ไดมาใชประโยชน โดยผููประกอบการมีีความเห็็นวา
การแบงกลุุมเปาหมายในระดัับกลางถึึงบน จะเปนแนวทางในการพััฒนา
จุุดเดนของแหลงทองเที่่�ยวรููปแบบตา ง ๆ สรางกลุมุ เปาหมายใหมที่ม�่ ีีไลฟลไตล
จําํ นวนไมมากแตมีีกําํ ลัังทรััพยใ นการใชจา ย
4) มิิติิการบููรณาการความรวมมืือและการสรางเครืือขายดานการ
ทองเที่่�ยวโดยชุุมชน เพื่่�อชุุมชนจะไดมีีรายไดและเห็็นดวย (ไมตอตาน)
กัับการทองเที่ย่� วในชุมุ ชน ซึ่ง� ภาครััฐควรเปนกลไกสําํ คััญในการผลัักดัันแนวทาง
การสรางการมีีสวนรวมของชุมุ ชนในการพััฒนาการทองเที่ย่� วทั้ง�้ ตน น้้ำ กลางน้้ำ
และปลายน้้ำ โดยเห็น็ วา การสรางอาชีีพและรายไดใ หแกชุมุ ชนจากการทองเที่ย่� ว
เปนเครื่�องมือื ที่�่สามารถจููงใจและสรางการมีีมีีสวนรวมของชุุมชนไดดีที่ส�่ ุดุ
5) มิติ ิกิ ารตลาดเพื่่อ� สงเสริมิ การทองเที่ย่� ว ผููประกอบการเห็น็ วา ควรจััด
ใหมีีการสื่่�อสารทางการตลาดทองเที่�่ยวรููปแบบใหมไปยัังแพลตฟอรมดิิจิิทััล
(Digital transformation) เพื่่�อเขาถึึงกลุุมลููกค้้าเปาหมายที่่�ชััดเจนและ
เฉพาะกลุุม เชน แอปพลิิเคชั่�นการทองเที่�่ยวจัังหวััด จััดกิิจกรรมสงเสริิม
การตลาดที่�เ่ ขาถึงึ ไลฟสไตลของนัักทองเที่่�ยว เชน การจััดอีีเวนทตาง ๆ และนํํา
อาหารพื้้�นถิ่�นเขาไปทุุกประสบการณของการทองเที่�่ยว (Total experience)
เชน การวิ่่�งมาราธอน เทศกาลดนตรีีสวนผึ้ �ง กิิจกรรมทํําเตาหููผัักโฮมเมด
นัักทองเที่�่ยวและวิิสาหกิิจชุุมชน มีีความเห็็นวาควรมีีจุุดศููนยรวมขายสิินคา
ชุมุ ชนที่ต่� ััวเมือื งราชบุรุ ีีเพื่่อ� สรางความสะดวกแกนัักทองเที่ย�่ วในการซื้้อ� หา และ
ควรมีีการทํําการขายในรููปแบบออนไลนดว ย
152
153
การพัฒั นาชุุมชนต้้นแบบเพื่่อ� รองรับั การท่่องเที่ย� วเชิิงส่่งเสริมิ สุุขภาพ
สำหรับั นักั ท่่องเที่ย� วผู้ส้� ููงอายุุ อำเภอเมืือง จัังหวััดเพชรบุรุ ีี
คณะผู้้ว� ิจิ ััย:
มลทิชิ า แจ่่มจัันทร์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
พิิมพ์ร์ ะวีี โรจน์ร์ุ่�งสััตย์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุุรีี
มธุรุ ส ปราบไพรีี
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุุรีี
อััจราวรรณ เพ็ญ็ วัันศุกุ ร์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
นงลัักษณ์์ กลิ่�นพุดุ ตาล
มหาวิิทยาลััยราชภััฏเพชรบุุรีี
วรรณวณััช นงนุุช
มหาวิิทยาลััยราชภััฏเพชรบุุรีี
พื้้�นที่่�ดําํ เนิินการ: ชุมุ ชนริมิ น้้ำ ชุุมชนคลองกระแชง และชุมุ ชนวััดเกาะ
จัังหวััดเพชรบุุรีี
วัตั ถุปุ ระสงค์ข์ องการวิจิ ัยั :
1. เพื่่�อศึึกษาการศัักยภาพการท่่องเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพของชุุมชนย่่าน
เมืืองเก่า่ อำเภอเมืืองจัังหวััดเพชรบุุรีี
2. เพื่่�อพััฒนารููปแบบกิิจกรรมเพื่่�อส่่งเสริิมการท่่องเที่�่ยวเชิิงส่่งเสริิม
สุุขภาพอย่่างสร้้างสรรค์์ของผู้้�สููงอายุุกลุ่�มคุุณภาพ ชุุมชนย่่านเมืืองเก่่า
ริิมแม่่น้้ำเพชรบุรุ ีี อำเภอเมืือง จัังหวััดเพชรบุุรีี
154
3. เพื่่�อพััฒนาระบบการบริิหารจััดการชุุมชนต้้นแบบเพื่่�อรองรัับการ
ท่่องเที่�่ยวเชิิงส่่งเสริิมสุุขภาพสำหรัับนัักท่่องเที่่�ยวผู้้�สููงอายุุ อำเภอเมืือง
จัังหวััดเพชรบุรุ ีี
4. ประเมิินและเสนอแนะแนวทางในการบริิหารจััดการชุุมชนต้้นแบบ
เพื่่�อรองรัับการท่่องเที่�่ยวเชิิงส่่งเสริิมสุุขภาพสำหรัับนัักท่่องเที่่�ยวผู้้�สููงอายุุ
อ.เมืือง จ.เพชรบุรุ ีีประเมินิ โดย ภาครััฐ ภาคเอกชน และภาคธุุรกิิจ นำ ภาครััฐ
ภาคเอกชน และภาคธุุรกิจิ
วิิธีดี ำเนิินการวิิจััย:
1. ศึึกษาเอกสารการเก็็บรวบรวมข้้อมููล ข้้อมููลจากเอกสาร ทบทวน
วรรณกรรมและงานวิจิ ััยที่เ่� กี่ย่� วข้อ้ งกัับการท่อ่ งเที่ย่� วเชิงิ สุขุ ภาพ และนัักท่อ่ งเที่ย่� ว
ผู้้�สู งอายุุ
2. ลงพื้้�นที่�่ทั้้�ง 3 ชุุมชนเพื่่�อศึึกษาศัักยภาพในการเป็็นแหล่่งท่่องเที่่�ยว
เชิิงสุขุ ภาพสำหรัับนัักท่่องเที่่�ยวผู้้�สูงอายุุ
3. สััมภาษณ์์ความคิิดเห็็นของผู้�้ที่่�มีีส่่วนเกี่�่ยวข้้องทั้้�งคนในชุุมชน
ภาครััฐ และภาคเอกชน
4. วิิเคราะห์์ข้้อมููลจากการสััมภาษณ์์
5. ประชุมุ กลุ่�มย่อ่ ยเพื่่อ� ออกแบบกิจิ กรรมและพััฒนาระบบการบริหิ าร
จััดการชุมุ ชนต้น้ แบบเพื่่�อรองรัับการท่อ่ งเที่ย�่ ว
6. ประเมิินและเสนอแนะแนวทางในการบริิหารจััดการชุุมชนต้้นแบบ
เพื่่อ� รองรัับการท่อ่ งเที่ย�่ วโดยผู้ท้� ี่่�มีีส่่วนเกี่่�ยวข้อ้ ง
7. แก้ไ้ ขปรัับปรุงุ ให้ส้ มบููรณ์เ์ พื่่อ� เสนอแนวทางในการเป็น็ ชุมุ ชนต้น้ แบบ
เพื่่�อรองรัับนัักท่่องเที่�ย่ วเชิิงสุุขภาพสำหรัับนัักท่่องเที่�ย่ วผู้้�สูงอายุุ
155
ผลการวิจิ ััย:
1. ศัักยภาพการท่่องเที่่�ยวเชิิงส่่งเสริิมสุุขภาพของชุุมชนย่่านเมืืองเก่่า
ริิมแม่่น้้ำเพชรบุุรีี มีีความโดดเด่่นด้้านวิิถีีชีีวิิต ศิิลปวััฒนธรรมเป็็นชุุมชนที่่�
จััดตั้้�งขึ้ �นเพื่่�อส่่งเสริิมการท่่องเที่�่ยวภายในชุุมชนด้้วยรููปแบบการท่่องเที่�่ยว
เชิงิ วััฒนธรรมและการท่อ่ งเที่่�ยวสร้า้ งสรรค์์
2. รููปแบบกิิจกรรมเพื่่�อส่่งเสริิมการท่่องเที่่�ยวเชิิงส่่งเสริิมสุุขภาพอย่่าง
สร้้างสรรค์ข์ องผู้้�สูงอายุุกลุ่�มคุุณภาพตามหลัักกิิจกรรม 5 อ. ได้แ้ ก่่ อ. อนามััย
อ. อาหาร อ. อดิเิ รก อ. อารมณ์์ และ อ.ออกกำลัังกาย
3. พััฒนาระบบการบริหิ ารจััดการชุมุ ชนต้น้ แบบสามารถสร้า้ งต้น้ แบบ
แคนวาส เพื่่�อเป็็นแนวทางในการบริิหารจััดการงานด้้านการท่่องเที่่�ยวให้้แก่่
ชุมุ ชนที่ต่� ้อ้ งการพััฒนาชุมุ ชนเพื่่อ� การท่อ่ งเที่ย่� ว โดยนำภาพแคนวาสนี้้ไ� ปพััฒนา
ต่อ่ ให้เ้ หมาะสมกัับบริบิ ทชุมุ ชนของตนได้้ และจะนำสู่ค่� วามชััดเจนในการปฏิบิ ััติิ
งานได้ด้ ีีโดยเริ่�มจากการเข้้าใจเป้า้ หมายหลัักก่่อนเป็็นสำคััญ
4. ประเมิินและเสนอแนะแนวทางในการบริิหารจััดการชุุมชนต้้นแบบ
พบว่่า ข้้อมููลส่ว่ นบุุคคลกลุ่�มตััวอย่า่ งส่่วนใหญ่เ่ ป็น็ เพศหญิงิ มีีอายุุ 50 ปีีขึ้�นไป
ระดัับการศึึกษาต่่ำกว่่ามััธยมศึึกษาปลาย ภููมิิลำเนาภาคกลาง มีีอาชีีพธุุรกิิจ
ส่่วนตััว/ค้้าขายรายได้เ้ ฉลี่่ย� ต่่ำกว่่า 10,000 บาท/เดืือน เคยเดิินทางมามากกว่่า
3 ครั้้�งเพื่่�อพัักผ่่อนหย่่อนใจ และสนใจกิิจกรรมสร้้างสรรค์์เรีียนรู้�้สิ่�งใหม่่ ๆ
นอกจากนี้้� รัับรู้้�ข้้อมููลมาจากเพื่่�อน/ครอบครััวและญาติิ ส่่วนการประเมิิน
กิิจกรรม 5 อ. อยู่�ที่ร่� ะดัับมากที่�ส่ ุดุ ในแต่ล่ ะด้้าน พบว่า่ ด้้านอาหาร กินิ ผัักเป็็น
ประจำ กิินอาหารทอดน้อ้ ยครั้�้ง ด้้านอนามััย มีีการปฏิบิ ััติิตามมาตรการป้อ้ งกััน
โรคโควิิด 19 อย่่างเคร่่งครััดเมื่�อออกจากบ้้านเป็็นประจำ ด้้านออกกำลัังกาย
สััปดาห์ล์ ะ 5 วััน ครั้ง้� ละ 30 นาทีี ชอบทำงานอดิเิ รกในยามว่า่ ง และด้า้ นอารมณ์์
พบว่า่ ในระยะ 2-4 สััปดาห์ม์ ีีพฤติิกรรมความเครีียดน้อ้ ยครั้้�งหรืือแทบไม่ม่ ีีเลย
ส่่วนคุุณประโยชน์์ของการทำกิิจกรรมการท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพด้้านการเรีียนรู้�้
พบว่่า ระหว่่างการเดิินทางท่่องเที่�่ยวทำให้้ได้้ความรู้้�ใหม่่ ด้้านการหลีีกหนีี
156
ความวุ่�นวาย พบว่า่ การทำกิจิ กรรมเป็น็ วิธิ ีีการปรนนิบิ ััติแิ ละให้ร้ างวััลแก่ร่ ่า่ งกาย
ทำให้้มีีสมาธิิ และมีีจิิตใจสงบ ด้้านความต้้องการทางสัังคม พบว่่า กิิจกรรม
ช่่วยเสริิมสร้้างความสััมพัันธ์์ และมิิตรภาพระหว่่างคนในครอบครััว เพื่่�อน/
ญาติมิ ิติ ร/บุคุ คลใกล้ช้ ิดิ และด้า้ นความต้อ้ งการมีีสุขุ ภาพที่ด่� ีี พบว่า่ ทำให้ส้ ุขุ ภาพ
ร่่างกายสมบููรณ์์แข็็งแรงนอกจากนี้้� เส้้นทางและกิิจกรรม ด้้านสิ่�งอำนวย
ความสะดวก (อนามััย) พบว่า่ อุปุ กรณ์ก์ ารทำกิจิ กรรมมีีมาตรฐานปลอดภััยและ
เป็น็ ไปตามมาตรการโควิิด 2019 ด้า้ นความคุ้�มค่า่ เชิงิ สุุขภาพ (อาหาร) พบว่่า
อาหารสะท้้อนถึึงวััฒนธรรมชุุมชนได้้ดีี ด้้านออกกำลัังกาย พบว่่า กิิจกรรม
การเชิิดหนัังใหญ่่ทำให้้ร่่างกายได้้ยืืดเหยีียดและทรงตััวได้้ดีี และด้้านอารมณ์์
พบว่่า ความมีีเสน่่ห์์และน่่าหลงใหลของชุุมชนสร้้างแรงบัันดาลใจในการทำ
กิิจกรรมทำให้้ได้้เรีียนรู้�้วั ฒนธรรมท้้องถิ่�นและภููมิิทััศน์์ที่่�สวยงามเหมาะกัับ
การทำกิจิ กรรม ด้้านชุมุ ชนท้อ้ งถิ่น� พบว่า่ คนที่ป�่ ฏิิบััติิงานมีีจำนวนเพีียงพอต่่อ
การปฏิบิ ััติงิ านอย่า่ งมีีประสิทิ ธิภิ าพ โดยผลการประเมินิ การพััฒนาชุมุ ชนต้น้ แบบ
เพื่่�อการท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพ พบว่่า ชุุมชนเมืืองเก่่าแห่่งนี้้�เหมาะที่่�จะเป็็นต้้น
แบบแหล่่งท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพเพื่่�อผู้้�สู งอายุุ และเป็็นสถานที่�่แรกที่�่จะนึึกถึึง
เมื่่�อต้้องการทำกิิจกรรมการท่่องเที่่�ยวเพื่่�อสุุขภาพเพื่่�อผู้้�สู งอายุุ เป็็นชุุมชนที่�่ใช้้
งบประมาณไม่่มากคุ้�มค่่ากัับประสบการณ์์ที่�่ได้้รัับ และมีีต้้นแบบการบริิหาร
จััดการท่่องเที่�่ยวเชิงิ ส่ง่ เสริมิ สุุขภาพเพื่่�อผู้้�สูงอายุุที่�ด่ ีีในเขตพื้้�นที่�อ่ื่น� ๆ ต่อ่ ไป
157
158
การศึกึ ษาศักั ยภาพและแนวทางการพััฒนาแหล่ง่ ท่่องเที่�ยว
เชิิงพหุุวััฒนธรรมแบบมีสี ่่วนร่่วมของชุุมชน เพื่�อ่ ยกระดับั อุุตสาหกรรม
การท่่องเที่ย� วในจังั หวัดั สมุทุ รสาครสู่่�ความยั่�งยืืน
คณะผู้้�วิจิ ัยั :
รองศาสตราจารย์์ ดร. สำราญ ผลดีี
มหาวิิทยาลััยธนบุุรีี
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารน์์วารุุณีี มิลิ ินิ ทปัญั ญา
ดร. ฉััตรชััย เหล่า่ เขตการณ์์
นายอััรฮาวีี เจ๊๊ะสะแม
นายบุญุ สม รััศมีีโชติิ
นางสาวนุจุ รีีย์์ แก่่นลออ
นางสาวหััทยา แย้ม้ ชุตุ ิิ
นายชััยณรงค์์ จัันทร์์ตููม
วัตั ถุุประสงค์ข์ องการวิิจัยั :
1. ศึกึ ษาองค์ค์ วามรู้เ�้ กี่ย�่ วกัับความหลากหลายของผู้้ค� น และความเป็น็
“สัังคมพหุุวััฒนธรรม” ของผู้้�คนในพื้้�นที่จ�่ ัังหวััดสมุทุ รสาคร
2. วิิเคราะห์์ศัักยภาพและแนวทางการพััฒนาแหล่่งท่่องเที่่�ยว
เชิิงพหุุวััฒนธรรมในพื้้�นที่่�จัังหวััดสมุุทรสาคร เพื่่�อยกระดัับอุุตสาหกรรม
การท่่องเที่�่ยวในพื้้�นที่แ่� บบมีีส่ว่ นร่่วมและพััฒนาสู่ค่� วามยั่ง� ยืนื
3. สัังเคราะห์์องค์์ความรู้�้เกี่่�ยวกัับการพััฒนาแหล่่งท่่องเที่�่ยว
เชิิงพหุุวััฒนธรรมจัังหวััดสมุุทรสาครในรููปของสื่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ (e-book)
“คู่่�มืือท่่องเที่่�ยวเชิิงพหุุวััฒนธรรมจัังหวััดสมุุทรสาคร” เพื่่�อมอบให้้กัับชุุมชน
เจ้้าของพื้้�นและหน่่วยงานที่�่เกี่�่ยวข้้องเพื่่�อใช้้ประโยชน์์ในการประชาสััมพัันธ์์
แหล่ง่ ท่่องเที่�ย่ วต่อ่ ไป
159
วิธิ ีดี ำเนินิ การวิจิ ัยั :
การวิิจััยครั้้�งนี้้�เป็็นการวิิจััยแบบผสมผสาน (Mixed research) ที่่�
ประกอบด้ว้ ย การวิจิ ััยเชิงิ คุณุ ภาพ (Qualitative Research) โดยวิธิ ีีการค้น้ คว้า้
และรวบรวมจากเอกสารที่�่เกี่�่ยวข้้อง (Documentary Research) ประกอบกัับ
การศึึกษาภาคสนาม (Field research) ซึ่�งประกอบด้้วย การลงพื้้�นที่�่สำรวจ
ข้้อมููลเกี่่�ยวกัับลัักษณะทางกายภาพ การสััมภาษณ์์บุุคคล ได้้แก่่ หน่่วยงาน
ภาครััฐ นัักวิิชาการ ผู้�้นำท้้องถิ่น� ปราชญ์์ชาวบ้้าน รวมถึงึ ภาคส่ว่ นที่่เ� กี่่�ยวข้อ้ ง
กัับอุุตสาหกรรมท่่องเที่่�ยวของจัังหวััดสมุุทรสาคร และการเสวนากลุ่�มร่่วม
ระหว่่างท้้องถิ่�น ผู้้�วิิจััย และภาคส่่วนที่�่เกี่่�ยวข้้อง และการวิิจััยเชิิงปริิมาณ
(Quantitative research) โดยการใช้้แบบสอบถามถึึงระดัับศัักยภาพของ
แหล่ง่ ท่อ่ งเที่�่ยวเชิิงวััฒนธรรมในพื้้น� ที่ท่� ี่�ท่ ำการศึึกษา
ผลการวิิจัยั :
การวิิจััยครั้้�งนี้้�เป็็นการวิิจััยแบบผสมผสานทั้้�งการวิิจััยเชิิงคุุณภาพ
จากการค้้นคว้้า รวบรวมเอกสาร และการศึึกษาภาคสนามทั้�้งการสัังเกต
การสััมภาษณ์์ รวมถึึงการวิิจััยเชิิงปริิมาณจากการใช้้แบบสอบถาม จากนั้้�นนำ
ข้้อมููลที่่�ได้้มาวิิเคราะห์์ สัังเคราะห์์ และนำเสนอผลการวิิจััยแบบพรรณนา
วิิเคราะห์์
ผลการวิจิ ััย พบว่า่ จัังหวััดสมุทุ รสาครมีีความเป็น็ “สัังคมพหุวุััฒนธรรม”
โดยมีีกลุ่�มชาติพิ ัันธุ์�ที่ส�่ ำคััญคือื ไทยพื้้น� ถิ่น� จีีน มอญ และลาวโซ่ง่ แต่ล่ ะกลุ่�มต่า่ ง
ก็็มีีอััตลัักษณ์์ทางวััฒนธรรมที่�่ชััดเจน นำมาซึ่ �งความหลากหลายของพื้้�นที่�่ทาง
วััฒนธรรมที่่�สามารถนำมาพััฒนาสู่�่การเป็็นแหล่่งท่่องเที่�่ยวเชิิงพหุุวััฒนธรรมได้้
เมื่่อ� พิิจารณาถึึงศัักยภาพของพื้้น� ที่่�ดัังกล่่าวในมิิติขิ องการท่อ่ งเที่�่ยว ทั้ง�้ ลัักษณะ
ทางภายภาพ คุุณค่่า การเข้้าถึึงพื้้�นที่่� สิ่�งอำนวยความสะดวก ชื่�อเสีียง และ
การมีีส่ว่ นร่ว่ มของท้้องถิ่�น ภาพรวมอยู่�ในระดัับ ปานกลาง-มาก โดยมีีพื้้�นที่ท่� าง
วััฒนธรรมหลายแห่่งที่�่ยัังไม่่ได้้รัับการพััฒนาหรืือยกระดัับศัักยภาพให้้เป็็น
160
แหล่่งท่่องเที่่�ยว ซึ่�งแนวทางสำคััญในการพััฒนาพื้้�นที่�่ทางวััฒนธรรมสู่่�การเป็็น
แหล่่งท่่องเที่�่ยว คืือ 1) พััฒนาศัักยภาพแหล่่งท่่องเที่�่ยวเชิิงพหุุวััฒนธรรม
อย่่างเป็็นระบบ 2) ควรมีีการจััดตั้�้งหน่่วยงานร่่วมเพื่่�อดำเนิินการพััฒนา
แหล่่งท่่องเที่�่ยวเชิิงพหุุวััฒนธรรมอย่่างเป็็นรููปธรรม 3) ควรบริิหารจััดการ
ท่่องเที่่�ยวในรููปของพื้้�นที่่�เครืือข่่าย และ 4) พััฒนาแหล่่งท่่องเที่่�ยว
เชิงิ พหุวุ ััฒนธรรมต้น้ แบบที่ช่� ััดเจนเพื่่อ� สร้า้ งชื่อ� เสีียง อย่า่ งไรก็ต็ ามด้ว้ ยศัักยภาพ
ความหลากหลายทางสัังคมและวััฒนธรรมในพื้้�นที่�่จัังหวััดสมุุทรสาครที่�่มีี
เอกลัักษณ์์ นัับเป็็นทุุนทางวััฒนธรรมที่�่สามารถพััฒนาสู่�่การท่่องเที่่�ยวสู่่�ความ
ยั่�งยืนื ของท้อ้ งถิ่�นได้้
ข้้อเสนอแนะจากงานวิจิ ััย:
1. ผลการศึึกษา พบว่า่ พื้้น� ที่ส่� มุุทรสาคร มีีองค์์ประกอบของการเป็็น
“สัังคมพหุุวััฒนธรรม” ที่่�โดดเด่่น ชััดเจน สามารถใช้้พััฒนาสู่่�การเป็็น
แหล่่งท่่องเที่่�ยวเชิิงวััฒนธรรมได้้ ดัังนั้�้น หากภาคส่่วนที่�่เกี่่�ยวข้้องได้้นำไป
พิิจารณาหรืือบริิหารจััดการ ก็็จะสามารถนำมาซึ่�งการยกระดัับอุุตสาหกรรม
การท่่องเที่�ย่ วของจัังหวััดสมุุทรสาครไปสู่ค่� วามยั่ง� ยืืนได้้
2. ผลการศึึกษา พบว่่า ศัักยภาพของแหล่่งท่่องเที่่�ยวเชิิงวััฒนธรรม
บางพื้้�นที่�่อยู่�ในระดัับมาก ในขณะที่�่บางพื้้�นที่่�ยัังอยู่�ในระดัับปานกลาง หากแต่่
ภาพรวมมีีความโดดเด่่นเรื่�องคุุณค่่า ดัังนั้�้น ภาคส่่วนที่�่เกี่�่ยวข้้องสามารถ
นำมาใช้้เป็็นฐานข้้อมููลเพื่่�อการพััฒนาศัักยภาพของพื้้�นที่่�และประชาสััมพัันธ์์
การท่อ่ งเที่�ย่ วในพื้้�นที่่�ที่ม�่ ีีความพร้อ้ มเพื่่�อประโยชน์ใ์ นการท่่องเที่่ย� วต่อ่ ไป
3. การศึึกษาครั้�้งนี้้�เป็็นเพีียงการสำรวจข้้อมููลเกี่่�ยวกัับศัักยภาพของ
แหล่ง่ ท่่องเที่�ย่ วเชิงิ พหุุวััฒนธรรมในพื้้�นที่�จ่ ัังหวััดสมุุทรสาครในภาพรวม ซึ่ง� เมื่่อ�
ลงรายละเอีียดในแต่่ละพื้้�นที่�่จะพบว่่ามีีระดัับศัักยภาพที่�่มีีความแตกต่่างกััน
ดัังนั้�้น ผู้�้ที่�่สนใจจึึงควรทำการศึึกษาลงลึึกในรายละเอีียดถึึงศัักยภาพของ
แหล่่งท่่องเที่�่ยวเชิิงพหุุวััฒนธรรมแต่่ละแห่่ง เพื่่�อให้้ได้้มาซึ่�งข้้อมููลในเชิิงลึึกใน
การพััฒนาต่อ่ ไป
161
4. การศึึกษาครั้้�งนี้้�เป็็นการศึึกษาศัักยภาพของแหล่่งท่่องเที่�่ยว
เชิงิ พหุวุ ััฒนธรรมในภาพรวม ซึ่ง� ผลการศึกึ ษาเบื้้อ� งต้น้ พบว่า่ มีีความหลากหลาย
ทั้้ง� ประวััติิศาสตร์์ ศาสนา ความเชื่�อ ขนบธรรมเนีียมประเพณีี มรดกภููมิปิ ััญญา
ฯลฯ ดัังนั้น�้ ผู้ท้� ี่ส่� นใจจึงึ ควรทำการศึกึ ษาลงลึกึ ในประเด็น็ ดัังกล่า่ ว เพื่่อ� ประโยชน์์
ในการพััฒนาพื้้�นที่�ส่ ู่ก�่ ารเป็น็ แหล่่งท่่องเที่�่ยวในมิติ ิติ ่า่ ง ๆ ต่อ่ ไป
“สาครบุุรีี : เมืืองแห่่ง "พหุวุ ััฒนธรรม" และความหลากหลายของผู้ค�้ น
ทุุนสัังคมที่่ส� ำคััญสู่่�การพััฒนาอย่า่ งยั่ง� ยืืน”
162
การศึึกษาปริมิ าณคาร์บ์ อนไดออกไซด์ต์ ่อ่ ประชากร
และปััจจััยที่เ� กี่ย� วข้้องต่อ่ การพััฒนาเป็็นแหล่่งท่่องเที่�ยวเชิงิ นิเิ วศของ
อำเภอบางบ่อ่ จัังหวััดสมุทุ รปราการ
คณะผู้ว�้ ิิจััย:
อาจารย์์ ดร.สุุเทีียม เครืือวััลย์์
มหาวิิทยาลััยราชภััฏธนบุุรีี
นางสาวปัณั ฑมาศ ผดุุงชอบ
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏธนบุุรีี
นายธิติ ิพิ งศ์์ วุุฒิศิ าสตร์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏธนบุุรีี
นางสาวณััฐธิดิ า เขีียวบ้า้ นยาง
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏธนบุรุ ีี
พื้้�นที่�่ดำเนิินการ: ตำบลบางบ่อ่ อำเภอบางบ่่อ จัังหวััดสมุุทรปราการ
วััตถุุประสงค์ข์ องการวิิจััย:
1. เพื่่�อศึึกษาปริิมาณคาร์์บอนไดออกไซด์์ต่่อประชากรในพื้้�นที่่�เขต
อำเภอบางบ่อ่ จัังหวััดสมุุทรปราการ
2. เพื่่�อสร้้างตััวบ่่งชี้�ปริิมาณคาร์์บอนไดออกไซด์์ที่�่ส่่งผลต่่อปััจจััย
ที่่�เกี่�่ยวข้้องต่่อการพััฒนาเป็็นแหล่่งท่่องเที่�่ยวเชิิงนิิเวศของอำเภอบางบ่่อ
จัังหวััดสมุุทรปราการ
วิธิ ีีดำเนินิ การวิจิ ััย:
1. กำหนดขอบเขตขององค์์กรและการดำเนินิ งาน
2. วิิเคราะห์์แหล่ง่ ปล่่อยและแหล่ง่ ดููดกลัับก๊๊าซเรือื นกระจก
3. คััดเลืือกวิธิ ีีการคำนวณ
163
4. เก็บ็ ข้้อมููลกิิจกรรมต่า่ ง ๆ
5. คััดเลือื กค่า่ การปล่อ่ ยก๊๊าซ CO2
6. คำนวณปริมิ าณการปล่่อย CO2
7. รายงานปริมิ าณการปล่อ่ ยก๊๊าซ CO2 จากกิจิ กรรมของตำบลบางบ่อ่
อำเภอบางบ่อ่ จัังหวััดสมุุทรปราการ
8. ทวนสอบปริมิ าณก๊๊าซ CO2 และปรัับปรุงุ รายงาน
ผลการวิิจัยั :
โครงการวิิจััยนี้้�เป็็นโครงการที่่�การศึึกษาโมเดลเพื่่�อศึึกษาการปล่่อย
ปริิมาณคาร์์บอนไดออกไซด์์ที่�่มีีสามารถทำการวััดได้้ทั้้�งทางตรงและทางอ้้อม
ซึ่�งโมเดลทางเลือื ก คือื Quantifying direct and indirect carbon dioxide
emissions และ Emission Factor ใน Intergovernmental Panel on
Climate Change, IPCC 2006, Volume 2, Energy แล้้วนำโมเดล
ดัังกล่่าวมาสร้้างตััวบ่่งชี้ �ที่่�เหมาะสมและครอบคลุุมสำหรัับการปลดปล่่อย
ปริิมาณคาร์์บอนไดออกไซด์์ที่่�ส่่งผลต่่อปััจจััยที่่�เกี่�่ยวข้้องต่่อการพััฒนาเป็็น
แหล่่งท่อ่ งเที่�ย่ วเชิงิ นิิเวศของอำเภอบางบ่อ่ จัังหวััดสมุทุ รปราการ
อุปุ สรรคในการทำโครงการนี้้� คือื สถานการณ์ก์ ารระบาดของโรคระบาด
ทั้้�งทางตรงและทางอ้้อม ทางตรง คืือ เกี่�่ยวกัับการทำสััญญาเพื่่�อนำทุุนมา
สนัับสนุุนงานวิิจััย และทางอ้้อม คืือ การต้้องออกพื้้�นที่�่เพื่่�อประสานงานกัับ
เจ้้าหน้้าที่�่บริิหารส่่วนตำบลบางบ่่อ อำเภอบางบ่่อ จัังหวััดสมุุทรปราการ
ผนวกกัับเพิ่่�งมีีการเลืือกตั้้�ง อบต.ใหม่่ จึึงทำให้้การจััดการยัังไม่่ค่่อยเป็็น
รููปธรรมนััก แต่เ่ นื่่�องจากสถานการณ์ป์ ัจั จุบุ ัันได้้คลี่่ค� ลายลงแล้้วบางส่ว่ น ดัังนั้้น�
หากทางโครงการวิิจััยหากสามารถออกพื้้�นที่่�และเข้้าถึึงผู้�้ บริิหาร เจ้้าหน้้าที่่�
หรือื ผู้�้ ประสานงานก็จ็ ะสามารถทำให้โ้ ครงการนี้้�สามารถบรรลุวุ ััตถุุประสงค์์ได้้
164
165
การเพิ่่ม� มููลค่า่ และกระจายผลิิตภััณฑ์โ์ อทอป จากทรััพยากรพื้้�นถิ่�น
เพื่�อ่ การท่อ่ งเที่�ยวจังั หวัดั สุุพรรณบุุรีี
คณะผู้้ว� ิิจััย:
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. สายชล ชุดุ เจือื จีีน
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลกรุงุ เทพ
นางสาวประภาพร ร้อ้ ยพรมมา
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลกรุุงเทพ
นางสาวชนิิดา ป้้อมเสน
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลกรุุงเทพ
นายชััยศัักดิ์� คล้า้ ยแดง
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลกรุุงเทพ
พื้้�นที่่ด� ำเนิินการ: จัังหวััดสุุพรรณบุรุ ีี
วัตั ถุปุ ระสงค์ข์ องการวิิจัยั :
1. เพื่่�อออกแบบและสร้้าง นวััตกรรมเทคโนโลยีีดิิจิิตอลแพลตฟอร์์ม
ด้้านอุุปสงค์์และอุุปทานของสิินค้้า OTOP สู่่�การยกระดัับการส่่งเสริิมการ
ท่่องเที่ย�่ วพื้้น� ถิ่น� ในจัังหวััดสุพุ รรณบุุรีี
2. เพื่่อ� วิเิ คราะห์ค์ วามเชื่อ� มโยงระหว่า่ งการผลิติ และการตลาดของสินิ ค้า้
OTOP ในจัังหวััดสุุพรรณบุรุ ีี
3. เพื่่อ� พััฒนานวััตกรรมเทคโนโลยีีดิจิ ิติ อลแพลตฟอร์ม์ ด้า้ นอุปุ สงค์แ์ ละ
อุปุ ทานของ OTOP ปลาดุกุ และปลาสลิดิ ดอนกำยาน สู่ก่� ารยกระดัับการส่ง่ เสริมิ
การท่่องเที่่�ยวพื้้�นถิ่น� ในจัังหวััดสุุพรรณบุุรีี
วิิธีีดำเนินิ การวิิจััย:
1. สำรวจการพััฒนาสินิ ค้า้ ผลิติ ภััณฑ์์ OTOP ปลาดุกุ กุ้�งก้า้ มกรามและ
ปลาสลิิดดอนกำยาน เพื่่�อการท่อ่ งเที่่ย� วเดิิมที่�ม่ ีีอยู่�แล้ว้
166
2. วิิเคราะห์ข์ ้อ้ มููล การจััดการ ด้้านการตลาดสินิ ค้า้ ผลิติ ภััณฑ์์ OTOP
สุุพรรณบุรุ ีีเพื่่อ� การท่อ่ งเที่ย�่ ว
ผลการวิจิ ัยั :
งานวิิจััยนี้้�เสนอแนวทางการพััฒนานวััตกรรมเทคโนโลยีีดิิจิิตอล
แพลตฟอร์์มด้้านอุุปสงค์์และอุุปทานของสิินค้้า OTOP สู่�่การยกระดัับการ
ส่่งเสริิมการท่่องเที่�่ยวพื้้�นถิ่�นในจัังหวััดสุุพรรณบุุรีี เพื่่�อวิิเคราะห์์ความเชื่�อมโยง
ระหว่่างการผลิิตและการตลาดของสิินค้้า OTOP ในจัังหวััดสุุพรรณบุุรีี และ
พััฒนานวััตกรรมเทคโนโลยีีดิิจิิตอลแพลตฟอร์์มด้้านอุุปสงค์์และอุุปทานของ
OTOP ปลาดุุกและปลาสลิิดดอนกำยาน สู่่�การยกระดัับการส่่งเสริิมการ
ท่่องเที่�ย่ วพื้้�นถิ่�นในจัังหวััดสุุพรรณบุรุ ีี
167
การออกแบบโปรแกรมการท่อ่ งเที่ย� วและแนวทางการสร้้างแพลตฟอร์์ม
แอปพลิิเคชันั บนมืือถืือเพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ ตลาดการท่่องเที่ย� วเชิงิ สุุขภาพ
และสุุขภาวะที่�ดีตี ามกรอบแนวทางของอุปุ สงค์์ในพื้้น� ที่�
จัังหวััดสมุทุ รสงคราม
คณะผู้�ว้ ิจิ ัยั :
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์ณ์ ััฐ จัันท์์ครบ
มหาวิิทยาลััยเอเชีียอาคเนย์์
อาจารย์์ ดร. ภาณุวุ ััฒน์์ แตระกุุล
มหาวิทิ ยาลััยเอเชีียอาคเนย์์
ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. ณััฐฎ์์ โอธนาทรััพย์์
มหาวิิทยาลััยเอเชีียอาคเนย์์
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์พรนิิภา บริิบููรณ์์สุขุ ศรีี
มหาวิิทยาลััยเอเชีียอาคเนย์์
อาจารย์์สุุธาเมธ ฤทธิ์์ฉ� ่่ำ
มหาวิทิ ยาลััยเอเชีียอาคเนย์์
อาจารย์ณ์ ััฏฐรมััณยา จัันทราประภากุุล
มหาวิทิ ยาลััยเอเชีียอาคเนย์์
อาจารย์ส์ ุภุ ิญิ ญา จินิ ดามรกฎ
มหาวิิทยาลััยเอเชีียอาคเนย์์
อาจารย์์ ดร. อุดุ ม สมบููรณ์์ผล
มหาวิิทยาลััยเวสเทิริ ์น์ วิทิ ยาเขตวััชรพล
พื้้น� ที่ด�่ ำเนินิ การ: จัังหวััดสมุุทรสงคราม
168
วััตถุปุ ระสงค์์ของการวิิจัยั :
1. เพื่่�อสำรวจแหล่่งท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพที่�่เหมาะกัับการบำบััดอาการ
ทางสุุขภาพให้้กัับนัักท่่องเที่ย�่ วในเขตพื้้�นที่�่จัังหวััดสมุทุ รสงคราม
2. เพื่่�อออกแบบวิิธีีการบริิการบำบััดที่่�เหมาะสมกัับกลุ่�มอาการทาง
สุุขภาพให้้บริิการนัักท่่องเที่่�ยวเชิงิ สุุขภาพในเขตพื้้�นที่่�จัังหวััดสมุทุ รสงคราม
3. เพื่่�อออกแบบแพลตฟอร์์มแอปพลิิเคชัันบนมืือถืือสำหรัับส่่งเสริิม
ตลาดท่่องเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพและสิ่ �งดีีๆสำหรัับสุุขภาพตามกรอบแนวทางของ
นัักท่อ่ งเที่�ย่ ว
วิธิ ีีดำเนิินการวิิจััย:
1. สำรวจแหล่่งท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพที่�่เหมาะกัับการบำบััดอาการทาง
สุุขภาพให้้กัับนัักท่่องเที่�ย่ วในเขตพื้้น� ที่จ่� ัังหวััดสมุุทรสงคราม
2. ออกแบบวิธิ ีีการบริกิ ารบำบัดั ที่เ่� หมาะสมกัับกลุ่�มอาการทางสุขุ ภาพ
เพื่่�อการบริิการนัักท่่องเที่�ย่ วเชิงิ สุขุ ภาพในเขตพื้้�นที่�่จัังหวััดสมุทุ รสงคราม
3. ออกแบบแพลตฟอร์์มแอปพลิิเคชัันบนมืือถืือเพื่่อ� ส่่งเสริิมตลาดการ
ท่อ่ งเที่่ย� วเชิงิ สุุขภาพและสิ่�งดีี ๆ สำหรัับสุขุ ภาพตามกรอบแนวทางของอุปุ สงค์์
ผลการวิจิ ััย:
การท่่องเที่่�ยวเป็็นสิินค้้า/บริิการที่่�สำคััญของประเทศไทย เป็็นตััวจัักร
ขัับเคลื่อ� นเศรษฐกิจิ ที่ม่� ีีศัักยภาพสููงในพื้้น� ที่�่ ทรงอิทิ ธิพิ ล ส่ง่ ผลกระทบครอบคลุมุ
ต่อ่ เศรษฐกิจิ ได้ต้ ั้ง�้ แต่ร่ ะดัับจุลุ ภาคถึงึ มหภาค สามารถใช้ข้ ัับเคลื่อ� นเศรษฐกิจิ ได้้
ตั้�้งแต่่ระดัับเศรษฐกิิจฐานรากจนถึึงระดัับชาติิให้้เกิิดการพััฒนาได้้ในทุุกพื้้�นที่�่ที่�่
มีีศัักยภาพ แต่ส่ ถานการณ์ก์ ารระบาดของเชื้อ� ไวรััสโควิดิ -19 ทำให้ก้ ารท่อ่ งเที่ย่� ว
เกิิดภาวะซบเซา และสภาพเศรษฐกิจิ ถดถอยอย่า่ งรุนุ แรง การแสวงหาหนทาง
ฟื้้�นฟููการท่่องเที่�่ยวภายหลัังผ่่านพ้้นสภาวะการระบาดจึึงมีีความจำเป็็น
จัังหวััดสมุทุ รสงครามเป็น็ จัังหวััดชายแดนติดิ ทะเลที่ม�่ ีีสภาพพื้้น� ที่�่ สภาพอากาศ
169
และสภาพสิ่่�งแวดล้้อมทางสัังคม ศาสนา วััฒนธรรม ที่�่เอื้�อต่่อผู้้�คนที่่�ต้้องการ
ท่่องเที่�่ยวแนวดููแลสุุขภาวะที่�่ดีีให้้กัับตนเอง ทั้�้งทางด้้านร่่างกายและด้้านจิิตใจ
จัังหวััดสมุุทรสงครามจึึงเหมาะที่�่จะใช้้ศัักยภาพของพื้้�นที่�่มาดำเนิินการฟื้้�นฟูู
เศรษฐกิิจพื้้�นที่�่โดยใช้้ตััวจัักรด้้านการท่่องเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพและสุุขภาวะที่�่ดีีเป็็น
ตััวนำทาง ที่่�ผ่่านมาการรวบรวมข้้อมููลแหล่่งท่่องเที่�่ยวและกิิจกรรมการ
ท่่องเที่�่ยวจากข้้อมููลทุุติิยภููมิิ สื่�อให้้เห็็นประจัักษ์์ชััดถึึงความสอดคล้้องใน
หลัักการดัังกล่่าวข้้างต้้น ยัังคงเหลืือแต่่การนำทรััพยากรเหล่่านั้้�นมาร้้อยเรีียง
มาจััดการ และสร้า้ งระบบการเข้า้ ถึงึ ให้เ้ หมาะสม และสะดวกตามความต้อ้ งการ
ของนัักท่่องเที่�่ยวที่่�ประสงค์เ์ ข้า้ ถึงึ งานบริิการการท่่องเที่�่ยวเหล่่านั้�้น ในงานวิิจััย
นี้้ม� ีีวััตถุปุ ระสงค์ร์ ้อ้ ยเรีียง รููปแบบ การท่อ่ งเที่ย่� วเชิงิ สุขุ ภาพและสุขุ ภาวะที่ด�่ ีีจาก
ทรััพยากรการท่่องเที่�่ยวที่�่มีีในจัังหวััด ให้้เป็น็ ไปตามความต้อ้ งการนัักท่่องเที่ย�่ ว
ให้ไ้ ด้้ให้ม้ ากที่�่สุดุ โดยใช้ก้ ารออกแบบแพลตฟอร์์มแอปลิเิ คชัันบนมืือถืือสมาร์์ท
โฟนเป็็นตััวช่่วยให้้เกิิดความคล่อ่ งตััวในการดำเนิินงาน
170
องค์ความรจู้ ากงานวิจยั และนวตั กรรม
เพือ่ ถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ูช่ ุมชนฐานราก
ตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2560-2564
ISBN 978-974-641-809-6
http://www.thaiwest.su.ac.th/