The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sabbatical Chiangrai, 2022-05-30 01:52:21

หนังสือฐานราก

หนังสือฐานราก

กิิโลกรััม เป็็นเงิิน 2,002,000 บาทต่่อปีี และกล้้วยที่�่ไม่่ผ่่านการคััดคุุณภาพ
จำนวน 100 กิโิ ลกรััม กิโิ ลกรััมละ 90 บาท 100 บาท และ 120 บาท เป็น็ จำนวน
เงินิ เท่า่ กัับ 2,011,000 บาท 2,012,000 บาท และ 2,014,000 บาท ตามลำดัับ
ทำให้ม้ ีีกำไร (ขาดทุนุ ) สุทุ ธิติ ่่อปีี ในปีีที่�่ 1-3 เป็็นจำนวนเงิินเท่่ากัับ 1,902,846
บาท 1,901,156 บาท และ 1,893,916 บาท
จากการศึกึ ษา ออกแบบและทดสอบ จะเห็น็ ว่า่ ตู้อ�้ บพลัังงานแสงอาทิติ ย์์
แบบ Greenhouse effect โดยใช้ว้ ััสดุทุ ี่ห�่ าได้ใ้ นตลาดพื้้น� ที่น�่ ั้น้� ๆ สามารถสร้า้ ง
และผลิิตความร้้อนได้้ในปริิมาณที่�่เหมาะสม ต่่อการผลิิตกล้้วยอบพลัังงานแสง
อาทิิตย์์ โดยสามารถลดระยะเวลาการตากลงเหลืือ 3 วััน และทำให้ผ้ ลิิตภััณฑ์์
นั้น้� ยัังคงคุณุ ภาพใกล้เ้ คีียงกัับกระบวนการผลิติ แบบดั้ง�้ เดิมิ ที่ไ่� ม่ม่ ีีตู้อ�้ บ เกษตรกร
ผู้ผ�้ ลิติ กล้ว้ ยอบพลัังงานแสงอาทิติ ย์์ วิสิ าหกิจิ ชุมุ ชน ตำบลอ่า่ งหินิ ได้ป้ รัับเปลี่ย�่ น
กระบวนการผลิติ แบบดั้ง้� เดิมิ มาใช้ต้ ู้อ้� บพลัังงานแสงอาทิติ ย์์ ประกอบด้ว้ ย ระยะ
เวลาในการอบ กระบวนการเก็็บรัักษา ปริิมาณการผลิิตแต่่ละครั้้�งสููงสุุด 300
กิิโลกรััม/ครั้้�ง รููปแบบบรรจุุภััณฑ์์ยัังคงขอรัักษาบรรจุุภััณฑ์์แบบดั้�้งเดิิมไว้้เพื่่�อ
ควบคุมุ ต้้นทุนุ การผลิิตให้้เหมาะสม

ข้้อเสนอแนะจากงานวิจิ ััย:

ด้า้ นราคาวััตถุดุ ิบิ ควรมีีการกำหนดราคาที่ม�่ ีีมาตรฐานเป็น็ ธรรมทั้ง้� ทาง
ด้า้ นกลุ่�มวิิสาหกิิจและเกษตรกรบางรายที่น�่ ำมาขาย โดยทางรััฐบาลควรเข้้ามา
เป็น็ ตััวกลางในการควบคุุมราคาวััตถุุดิิบ
ด้า้ นการจำหน่า่ ยกล้ว้ ยตาก เนื่่อ� งจากกล้ว้ ยที่ม�่ ีีราคาสููงขึ้น� ทำให้ต้ ้น้ ทุนุ
สููงตามไปด้้วย ทำให้้จำหน่่ายได้้ยากและช้้า รััฐบาลควรทำการสนัับสนุุนและ
ช่ว่ ยเหลือื ในด้้านการรัับซื้้อ� และผลัักดัันให้เ้ กิิดการส่ง่ ออกต่่างประเทศ

87

88

ศึึกษาความเปนไปไดใ นการเพาะปลููกสตรอเบอรรี่่�
ดว ยแนวคิดิ เกษตรอัจั ฉริยิ ะในพื้้�นที่น� ครปฐม

Feasibility Study on the Strawberry Cultivation with Using
Smart Farm Concept in Nakhon Pathom Area

คณะผู้้�วิจิ ััย:

ดร.ติิณณภพ แพงผม
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร
นายจิริ ะศัักดิ์� พุุกดําํ
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร
ดร.ไชยณรงค กิติ ติญิ าณปญญา
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร
ดร.ณััฐวุุฒิิ ธาราวดีี
มหาวิทิ ยาลััยศิลิ ปากร วิทิ ยาเขตพระราชวัังสนามจัันทร
นายวิิทยา แกว สุุริยิ วงค
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร
ดร.คมกฤช บุุญยิ่�ง
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร
นางสาวณััฐพััชร อภิริ ุงุ เรือื งสกุุล
สถาบันั การจััดการปญญาภิิวััฒน
นายจรััส ชีีชา ง
สํํานัักงานเกษตรอําํ เภอเมืืองนครปฐม
ร่่วมกัับ วิิสาหกิิจชุุมชนกลุุมเกษตร 2005 ตำบลหนองงู เหลืือม
อำเภอเมืืองนครปฐม จัังหวััดนครปฐม

89

วััตถุปุ ระสงค์์ของการวิจิ ัยั :

1. เพื่่�อศึึกษาความเปนไปไดในการเพาะปลููกสตรอเบอรรี่่�ในโรงเรืือน
ดวยแนวคิิดเกษตรอััจฉริยิ ะในพื้้น� ที่�่จัังหวััดนครปฐม
2. เพื่่�อเพิ่่�มผลผลิิตในการเพาะปลููกสตรอเบอรรี่�่ดวยเครื่�องควบ
แนนใชอากาศหลอเย็็น
3. เพื่่อ� สรางแหลงเรีียนรูตน แบบแกเ กษตรกรในการนาไปประยุกุ ตใ ชใ น
การเพาะปลููกพืชื ในโรงเรือื น
4. เพื่่�อเปนการนาผลงานวิิจััยและองคความรูที่�่ไดจากการเพาะปลููก
สตรอเบอรรี่่�เผยแพรสููเกษตรกร และผููสนใจทางการเกษตร

วิธิ ีีดำเนินิ การวิจิ ััย:

1. ประชุุมวางแผนการเพาะปลููกรวมกัับชุุมชน
2. ศึึกษาการผลิิตตนไหลจากแหลงผลิิต
3. สรางระบบเซนเซอรตรวจวััดและแอปพลิเิ คชัันบนมืือถืือ
4. สรางโรงเรืือนตนแบบของวิสิ าหกิจิ ชุมุ ชุุน
5. สรางระบบทํําความเย็น็
6. วิิเคราะหดินิ ที่่�จะนามาเพาะปลููกสตรอเบอรรี่�่
7. ดําํ เนินิ การถายทอดเทคโนโลยีีเกษตรอััจฉริยิ ะเพื่่อ� สงเสริมิ การเกษตร
ในพื้้น� ที่่จ� ัังหวััดนครปฐม

ผลการวิิจัยั :

จากการดํําเนิินโครงการวิิจััยสามารถตอบวััตถุุประสงคของงานวิิจััย
ไดทุุกขอ คืือ สามารเพาะปลููกสตรอเบอรรี่�่ในพื้้�นที่�่จัังหวััดนครปฐมไดจริิงใน
ชวงเดืือนกรกฎาคม 2562 ถึึง กุุมภาพัันธ 2563 โดยไดทํําการทดสอบใน
โรงเรืือนปด ไดทํําการทดสอบเปรีียบเทีียบระหวางการปลููกแบบดั้�้งเดิิมคืือ
ไมใชระบบเกษตรอััจฉริิยะรวมกัับระบบปรัับอากาศซึ่�งทั้�้ง 2 กรณีีสามารถ

90

ผลิิตสตรอเบอรรี่�่ได แตผลผลิิตเฉลี่่�ยตางกัันประมาณ 2 เทา ซึ่�งจากโครงการ
วิิจััยนี้้�ทํําใหชุุมชนมีีแหลงเรีียนรูตนแบบ เปนแบบอยางในการเพาะปลููกพืืช
แกชุมุ ชนอื่น� ๆ สามารถประชาสััมพัันธชุมุ ชนใหมีีชื่่อ� เสีียง อยา งไรก็ต็ าม อุปุ สรรค
ในงานชุดุ โครงการวิจิ ััยที่ย�่ ัังไมสามารถบรรลุผุ ลได้้ คือื การจััดถายทอดเทคโนโลยีี
และถายทอดองคความรููอัันเนื่่�องมาจากปญหา COVID-19 ที่�่ทํําใหเลื่�อน
การจััดการอบรมออกไป

91

การพัฒั นารููปแบบการป้้องกัันการหกล้้มของผู้ส�้ ููงอายุุ
แบบมีีส่ว่ นร่ว่ มของชุมุ ชน

The Development of Fall Prevention Pattern
for the Elderly through Community Participation

(ภายใต้ช้ ุดุ โครงการ เรื่อ� ง นวััตกรรมการป้อ้ งกัันการหกล้ม้ ของผู้�้สูงอายุใุ นชุมุ ชน
(The Fall Prevention Innovation for the Elderly in Community))

คณะผู้้�วิิจััย:

ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ พัันเอกหญิิง ดร. นงพิิมล นิมิ ิติ รอานัันท์์
มหาวิทิ ยาลััยคริสิ เตีียน
อาจารย์์วิิชุุดา กลิ่�นหอม
มหาวิิทยาลััยคริิสเตีียน
อาจารย์์ ดร. เจืือจัันทน์์
วััฒกีีเจริิญ มหาวิทิ ยาลััยกรุงุ เทพธนบุุรีี
อาจารย์์ ดร.กภ. ชลทิิพย์์ ทิพิ ย์์แก้้ว
มหาวิิทยาลััยคริสิ เตีียน
ร่ว่ มกัับ เทศบาลตำบลโพธิ์์�หััก อำเภอบางแพ จัังหวััดราชบุุรีี

วัตั ถุุประสงค์ข์ องการวิจิ ัยั :

1. เพื่่�อศึึกษาสถานการณ์์ความเสี่�่ยงการหกล้้ม และพฤติิกรรมการ
ป้้องกัันการหกล้ม้ ของกลุ่�มตััวอย่า่ ง
2. เพื่่�อพััฒนารููปแบบการป้้องกัันการหกล้้มของผู้�้ สููงอายุุโดยการมีี
ส่่วนร่่วมของชุุมชน

92

วิิธีีดำเนินิ การวิิจัยั :

1. เก็็บรวบรวมข้้อมููลเชิิงคุุณภาพจากการสัังเกต และสััมภาษณ์์บุคุ คล
สำคััญของชุุมชน
2. เก็็บรวบรวมข้้อมููลเชิิงปริิมาณจากการใช้้แบบประเมิินและ
แบบสััมภาษณ์์
3. พััฒนารููปแบบการป้อ้ งกัันการหกล้ม้ ของผู้้�สูงอายุโุ ดยการมีีส่ว่ นร่ว่ ม
ของชุุมชน

ผลการวิจิ ััย:

ภาวะหกล้้มเป็็นหนึ่่�งในกลุ่�มอาการพบบ่่อยในผู้�้สู งอายุุอัันเป็็นสาเหตุุ
สำคััญของการเจ็บ็ ป่ว่ ย และความพิกิ าร งานวิจิ ััยนี้้ใ� ช้ร้ ููปแบบการวิจิ ััยเชิงิ ปฏิบิ ััติิ
การแบบมีีส่่วนร่่วม (PAR) โดยบููรณาการแนวคิิดการสร้้างพลัังชุุมชนและ
การพััฒนาชุมุ ชนแบบมีีส่ว่ นร่ว่ ม แนวคิดิ การสื่่อ� สารความเสี่ย่� งทางสุขุ ภาพ และ
แนวคิิดการรัับรู้�้ สมรรถนะแห่่งตน ในพื้้�นที่�่ชุุมชนจัังหวััดราชบุุรีีใช้้วิิธีีการ
เก็บ็ ข้อ้ มููลแบบผสมผสาน ระยะเวลาการศึกึ ษา 8 เดือื น ตั้ง�้ แต่เ่ ดือื นพฤษภาคม-
ธัันวาคม 2562 วิเิ คราะห์ข์ ้อ้ มููลเชิงิ คุณุ ภาพด้ว้ ยเทคนิคิ Content analysis และ
วิเิ คราะห์์ข้้อมููลเชิงิ ปริิมาณด้ว้ ยสถิิติเิ ชิิงพรรณนาและสถิิติิ t-test กระบวนการ
มีีส่่วนร่่วมใช้้เวทีีประชาคม และการถ่่ายทอดข้้อมููลผ่่าน อสม. เป็็นช่่องทาง
สื่อ� สารความเสี่ย่� งที่ส�่ ำคััญ เน้น้ การสื่่อ� สารแบบสองทาง ภายใต้บ้ รรยากาศที่เ�่ ป็น็
มิิตรและนัับถืือกััน ประกอบด้้วย 1) การวิิเคราะห์์ สถานการณ์์ความเสี่�่ยง
2) การสร้า้ งวิสิ ััยทััศน์์ ภาพฝันั 3) การจััดโครงการรณรงค์ใ์ นพื้้น� ที่ส�่ าธารณะด้ว้ ย
รููปแบบนิิทรรศการ การเรีียนรู้�้แบบกลุ่�ม การสาธิิตและการฝึึกออกกำลัังกาย
แบบตาราง 9 ช่อ่ ง 4) การดููแลผู้�้สูงอายุกุ ลุ่�มเสี่่�ยงที่่�บ้า้ น 5) การติิดตามประเมินิ
กระบวนการและรณรงค์อ์ ย่า่ งต่อ่ เนื่่อ� ง และ 6) การสรุปุ ผล ทำให้ไ้ ด้ร้ ููปแบบการ
ทำงานแบบร่ว่ มมืือกัันของ 5 ภาคส่่วนในชุมุ ชน ได้้แก่่ “เทศบาล-ผู้น้� ำชุมุ ชน-

93

อสม.-เจ้้าหน้้าที่�่ รพสต.-ผู้้�สูงอายุุและครอบครััว” ผลลััพธ์์ คืือ กลุ่�มเป้้าหมาย
และสภาพชุุมชนมีีความปลอดภััยจากการหกล้ม้ มากขึ้�น

ข้้อเสนอแนะจากงานวิิจััย:

ชุมุ ชนควรได้ร้ ัับการสนัับสนุนุ ให้ด้ ำเนินิ การต่อ่ ไปเพื่่อ� การเป็น็ “หมู่่�บ้า้ น
ต้้นแบบ” และความยั่�งยืืนในการสร้้างเสริิมสุุขภาพด้้านการป้้องกัันการหกล้้ม
สำหรัับผู้�้สูงอายุใุ นชุุมชน

94

ผลของการยืืดกล้้ามเนื้อ� น่่องด้้วยสิ่�งประดิษิ ฐ์์จากเศษวััสดุเุ หลืือใช้้
ทางการเกษตรต่่อการทรงตััวเพื่�อ่ ลดความเสี่�ยงในการหกล้้มในผู้ส�้ ููงอายุุ
The Effect of Calf Stretching with Agricultural Residues
Invention on Balancing for Fall Risk Reduction in Elderly

(ภายใต้ช้ ุดุ โครงการ เรื่�อง นวััตกรรมการป้้องกัันการหกล้้มของผู้�้สูงอายุใุ นชุุมชน
(The Fall Prevention Innovation for the Elderly in Community))

คณะผู้ว�้ ิิจัยั :

อาจารย์์ ดร.กภ. ชลทิพิ ย์์ ทิิพย์แ์ ก้้ว
มหาวิทิ ยาลััยคริสิ เตีียน
กภ. อััญมณีี กิจิ ประสงค์์
โรงพยาบาลสมเด็็จพระพุทุ ธเลิิศหล้้า
ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ พัันเอกหญิิง ดร. นงพิิมล นิมิ ิติ รอานัันท์์
มหาวิิทยาลััยคริิสเตีียน
ร่่วมกัับ โรงพยาบาลสมเด็จ็ พระพุทุ ธเลิศิ หล้้า

วัตั ถุุประสงค์ข์ องการวิจิ ััย:

1. ศึกึ ษาผลของการยืดื กล้า้ มเนื้้อ� น่อ่ งด้ว้ ยสิ่ง� ประดิษิ ฐ์จ์ ากเศษวััสดุเุ หลือื
ใช้ท้ างการเกษตรต่อ่ ความยืดื หยุ่่�น และการทรงท่า่ การรัักษาสมดุลุ ของกล้า้ มเนื้้อ�
ในผู้้�สูงอายุุ เปรีียบเทีียบก่อ่ นและหลัังการฝึกึ เพื่่อ� ลดความเสี่่�ยงในการหกล้ม้ ใน
ผู้้�สู งอายุุ
2. เปรีียบเทีียบผลการยืืดกล้้ามเนื้้�อระหว่่างกลุ่�มที่่�ได้้รัับการยืืดกล้้าม
เนื้้�อน่่องด้้วยสิ่ �งประดิิษฐ์์จากเศษวััสดุุเหลืือใช้้ทางการเกษตรและการยืืดแบบ
คงค้้างต่่อความยืืดหยุ่่�นต่่อความยืืดหยุ่่�น และการทรงท่่าการรัักษาสมดุุลของ
กล้า้ มเนื้้�อในผู้�้สูงอายุุ เพื่่�อลดความเสี่ย�่ งในการหกล้ม้ ในผู้้�สูงอายุุ

95

วิธิ ีีดำเนินิ การวิิจััย:

1. ติิดต่่อประสานงานกัับกลุ่�มผู้�้ นํําชุุมชนแห่่งหนึ่่�งในในจัังหวััด
สมุทุ รสงคราม นครปฐม ราชบุรุีี และพื้้น� ที่ใ่� กล้เ้ คีียงในการสอบถามความต้อ้ งการ
และความสมััครใจในการเข้้าร่่วมงานวิจิ ััย และรัับสมััครผู้เ�้ ข้า้ ร่่วมวิจิ ััย
2. ผู้้�วิิจััยชี้�แจงวััตถุุประสงค์์ อธิิบายข้้อมููลเกี่�่ยวกัับการทดลองแก่่
ผู้�้เข้้าร่่วมการทดลอง เพื่่�อสร้้างความเข้้าใจในหลัักการการทํํางานและวิิธีีการ
ทดลอง
3. ผู้�้ที่�่เข้้าร่่วมการทดลองจะได้้รัับการประเมิินตามเกณฑ์์คััดเข้้า
ผู้้ท� ี่่ไ� ด้้รัับการคััดเลืือกจะต้อ้ งเซ็น็ แบบยิินยอมการเข้า้ ร่่วมงานวิจิ ััย
4. การจััดกลุ่�มตััวอย่่างเป็็น 3 กลุ่�ม ดัังนี้้�
กลุ่�มที่่� 1: กลุ่�มควบคุุม (Control group) คืือ กลุ่�มที่่�ให้้ความรู้้�
เกี่�่ยวกัับการป้้องกัันการล้้มใน ผู้�้สู งอายุุ ประโยชน์์ของการยืืดกล้้ามเนื้้�อ และ
ท่า่ ทางในการยืืดกล้า้ มเนื้้อ� ขา
กลุ่�มที่�่ 2: การกลุ่�มที่�่สอนยืืดกล้้ามเนื้้�อขาด้้วยตนเอง โดยไม่่ใช้้
เครื่อ� งมืือใด ๆ (Self-stretching group)
กลุ่�มที่�่ 3: กลุ่�มที่�่ใช้้สิ่�งประดิิษฐ์์จากเศษวััสดุุเหลืือใช้้ทางการเกษตร
(Agricultural residues invention group)
5. ผู้้�วิิจััยจััดทํําสิ่�งประดิิษฐ์์จากเศษวััสดุุเหลืือใช้้ทางการเกษตรหา
ค่่าความเที่่�ยงตรงและความเชื่�อมั่่�นของเครื่อ� งมืือ เพื่่อ� ใช้้ในการทดลองครั้้ง� นี้้�
6. ดำเนินิ การเก็็บรวบรวมข้อ้ มููล และวิิเคราะห์์ข้อ้ มููล

ผลการวิิจัยั :

งานวิิจััยนี้้�จััดทํําขึ้�นเพื่่�อเปรีียบเทีียบสิ่่�งประดิิษฐ์์จากเศษวััสดุุเหลืือใช้้
ทางการเกษตร ต่่อการทรงตััวเพื่่�อลดความเสี่่�ยงในการหกล้้มในผู้้�สู งอายุุที่�่มีี
ความตึึงตััวของกล้้ามเนื้้�อขาด้้านหลััง อาสาสมััครผู้้�สู งอายุุสุุขภาพดีี 45 คน
อายุรุ ะหว่า่ ง 65 ปีี – 85 ปีี แบ่่งเป็น็ 3 กลุ่�ม คืือ กลุ่�มควบคุุม 15 คน และ

96

กลุ่�มทดลอง ประกอบด้้วยกลุ่�มยืดื ด้ว้ ยตััวเอง 15คน และกลุ่�มสิ่�งประดิิษฐ์์จาก
เศษวััสดุเุ หลือื ใช้ท้ างการเกษตร 15 คน โดยกลุ่�มทดลองจะยืดื กล้า้ มเนื้้อ� น่อ่ งค้า้ ง
ไว้้ 30 วิินาทีี 10 ครั้�้ง หลัังจากนั้�้นผู้�้ วิิจััย วััดความตึึงตััวของกล้้ามเนื้้�อโดยใช้้
numeric rating scale (NRS) วััดองศาข้้อเท้้าด้้วย Goniometer และ
การทรงตััว Berg balance scale นํําข้้อมููลมาวิิเคราะห์์เปรีียบเทีียบผลของ
การยืดื
ผลการวิจิ ััย พบว่า่ สิ่ง� ประดิษิ ฐ์จ์ ากเศษวััสดุเุ หลือื ใช้ท้ างการเกษตรเพิ่่ม�
พิิสััยการเคลื่ �อนไหวของมุุมกระดกข้้อเท้้าขึ้ �นอย่่างนััยสํําคััญทางสถิิติิเมื่่�อเทีียบ
กัับกลุ่�มควบคุุมหลัังการยืืดทัันทีี (p-value< 0.05) ในสััปดาห์ท์ ี่่� 1 (p-value<
0.001) และ 2 (p-value< 0.001) และกลุ่�มยืืดด้้วยตััวเอง ในสััปดาห์์ที่่� 1
(p-value< 0.001) และ2(p-value< 0.001) และทั้้�ง AROM และ PROM
สามารถลดความตึึงตััวของกล้้ามเนื้้�อน่่องได้้ดีีกว่่าเมื่่�อเทีียบกัับกลุ่ �มยืืดด้้วย
ตััวเองและกลุ่�มควบคุุม อย่่างนััยสํําคััญทางสถิิติิหลัังการยืืดทัันทีีสััปดาห์์ที่่� 1
(p-value< 0.001) และ 2 (p-value< 0.001) และมีีความสามารถในการทรงตััว
ดีีกว่่าเมื่ �อเทีียบกัับกลุ่�มยืืดด้้วยตััวเองและกลุ่�มควบคุุม อย่่างนััยสํําคััญทางสถิิติิ
หลัังการยืดื ทัันทีีสััปดาห์์ที่่� 1 (p-value< 0.001) และ 2 (p-value< 0.001)

ข้้อเสนอแนะจากงานวิจิ ััย:

1. ต่่อยอดงานวิิจััยโดยการทํําการทดลองโดยใช้้เครื่�องมืือสิ่�งประดิิษฐ์์
จากเศษวััสดุเุ หลือื ใช้ท้ างการเกษตรในการเปรีียบเทีียบผลการยืดื ด้ว้ ยเครื่อ� งมือื
อื่น� ๆ
2. ศึึกษาผลการนํําสิ่�งประดิิษฐ์์จากเศษวััสดุุเหลืือใช้้ทางการเกษตรมา
ใช้้ในการป้้องกัันการล้้มในผู้�้ สููงอายุุ หรืือ ในผู้�้ ป่่วยหลอดเลืือดสมองที่่�มีี
ความตึงึ ตััวของการเนื้้�อน่่อง
3. ทดลองประยุุกต์์สิ่�งประดิิษฐ์์จากเศษวััสดุุเหลืือใช้้ทางการเกษตรให้้
สามารถยืืดกล้า้ มเนื้้อ� มััดอื่น� ๆ เป็็นต้น้

97

หมายเหตุ:ุ สิ่ง� ประดิษิ ฐ์จ์ ากงานวิจิ ััยนี้้ก� ําํ ลัังอยู่�ในระหว่า่ งการขอจดอนุสุ ิทิ ธิบิ ัตั ร

98

การถ่่ายทอดเทคโนโลยีีระบบควบคุุมห้้องอบกล้้วย
พลังั งานแสงอาทิิตย์อ์ ัจั ฉริยิ ะ

Technology Transfer of an Intelligent Temperature
Control System for Solar Drying of Banana Sheet

คณะผู้�้วิิจัยั :

ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์ป์ ััญญา สาราญหัันต์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏบ้า้ นสมเด็จ็ เจ้า้ พระยา
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์ส์ มจิินต์์ อัักษรธรรม
มหาวิิทยาลััยธนบุุรีี
นายณภพ ซ้้ายสุวุ รรณ
มหาวิิทยาลััยราชภััฏบ้้านสมเด็จ็ เจ้้าพระยา
นางสาวธิิดาธิปิ หารชุุมพล
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏบ้า้ นสมเด็็จเจ้า้ พระยา
นางสาวสุภุ ััสศรณ์์ พงษ์พ์ านิิช
วิสิ าหกิจิ ชุมุ ชนโสมจัันทร์์
ร่่วมกัับ วิิสาหกิิจชุุมชนโสมจัันทร์์ ตํําบลสระยายโสม อํําเภออู่่�ทอง
จัังหวััดสุุพรรณบุุรีี

วััตถุุประสงค์ข์ องการวิิจััย:

1. เพื่่�อถ่่ายทอดเทคโนโลยีีการควบคุุมอุุณหภููมิิห้้องอบพลัังงานแสง
อาทิิตย์์อััตโนมััติติ ามความต้้องการของกลุ่�มวิิสาหกิิจชุมุ ชนโสมจัันทร์์
2. เพื่่อ� ศึกึ ษาและกําํ หนดปัจั จััยที่เ่� หมาะสมในการอบกล้ว้ ยอบม้ว้ นจาก
ห้้องอบพลัังงานแสงอาทิติ ย์์
3. เพื่่�อทํําการปรัับปรุุงระบบควบคุุมอุุณหภููมิิห้้องอบพลัังงานแสง
อาทิติ ย์์

99

4. เพื่่�อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการใช้้ห้อ้ งอบพลัังงานแสงอาทิติ ย์์
5. เพื่่�อเป็็นการบููรณาการสร้้างความร่่วมมืือการทํําวิิจััยของสถาบััน
การศึกึ ษาในเครืือข่่ายร่่วมกัับนัักวิิจััยจากชุุมชน
6. เพื่่�อถ่่ายทอดองค์์ความรู้�้ ด้้านเทคโนโลยีีจากการทํําวิิจััยอย่่างเป็็น
ระบบให้ก้ ัับชุมุ ชน

วิิธีีดำเนิินการวิิจััย:

1. ศึึกษาสภาพปััจจุุบัันการอบกล้้วยด้้วยห้้องอบพลัังงานแสงอาทิิตย์์
วิิสาหกิจิ ชุมุ ชนโสมจัันทร์์
2. ศึึกษาระดัับความแตกต่่างของปััจจััยที่�่มีีผลต่่อการอบกล้้วยด้้วย
พลัังงานแสงอาทิติ ย์์
3. ออกแบบระบบควบคุุมปััจจััยที่�่มีีผลต่่อการอบกล้้วยด้้วยพลัังงาน
แสงอาทิิตย์์
4. พััฒนาระบบควบคุุมปััจจััยที่่�มีีผลต่่อการอบกล้้วยด้้วยพลัังงาน
แสงอาทิติ ย์์
5. ทวนสอบผลกระทบต่อ่ ระดัับความแตกต่า่ งของปัจั จััยภายในห้อ้ งอบ
พลัังงานแสงอาทิิตย์์
6. ถ่่ายทอดเทคโนโลยีีและองค์์ความรู้�้สู่่�ชุมชนเป้้าหมาย

ผลการวิิจััย:

โครงการวิิจััยนี้้�ได้้แบ่่งออกเป็็น 2 โครงการย่่อยที่่�ต่่อเนื่่�องกััน คืือ
โครงการพััฒนาเทคโนโลยีีระบบควบคุุมแบบอััตโนมััติิสํําหรัับห้้องอบพลัังงาน
แสงอาทิิตย์์ ที่่�มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการใช้้ห้้องอบพลัังงาน
แสงอาทิิตย์์ และเพื่่�อถ่่ายทอดองค์์ความรู้้�ด้้านเทคโนโลยีีการควบคุุม
อััตโนมััติิสํําหรัับควบคุุมห้้องอบพลัังงานแสงอาทิิตย์์ให้้กัับชุุมชนและผู้้�ที่่�สนใจ
ทั่่�วไป ผลของงานวิิจััย พบว่่า ประสิิทธิิภาพการใช้้งานห้้องอบพลัังงาน

100

แสงอาทิติ ย์เ์ พิ่่ม� ขึ้น� ร้อ้ ยละ 50 และสามารถเปลี่ย�่ นรููปแบบกระบวนการอบกล้ว้ ย
ของวิิสาหกิิจชุุมชนโสมจัันทร์์ จากเดิิมใช้้ตู้�้อบพลัังงานความร้้อนจากแก๊๊ส
ร่่วมกัับห้้องอบพลัังงานแสงอาทิิตย์์มาเป็็นการใช้้ห้้องอบพลัังงานแสงอาทิิตย์์
ในการอบเท่่านั้�้น ทํําให้้สามารถลดต้้นทุุนการใช้้พลัังงานลงได้้มากกว่่า
60,000 บาทต่่อปีี

101

การพัฒั นารููปแบบการทำนาข้้าวอิินทรีีย์์ในจังั หวัดั เพชรบุรุ ีี
Development of Organic Rice Paddy Field Model

in Phetchaburi Province
คณะผู้้�วิิจััย:

ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์ส์ ุภุ าดา ขุุนณรงค์์
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. สุดุ ารััตน์์ ไชยเฉลิิม
มหาวิิทยาลััยราชภััฏเพชรบุุรีี
อาจารย์์สุรุ ีีรััตน์์ เทมวรรธน์์
มหาวิิทยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
อาจารย์์ ดร. ศิิริิพรรณ ศรััทธาผล
มหาวิิทยาลััยราชภััฏเพชรบุรุ ีี
อาจารย์์ ดร. กฤษณะ เรือื งฤทธิ์์�
มหาวิิทยาลััยศิลิ ปากร วิทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุุรีี
อาจารย์ด์ วงรััตน์์ เสือื ขำ
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏนครปฐม
นางสาวมนวณีี ชููภู่่�
โรงพยาบาลพระจอมเกล้า้ จัังหวััดเพชรบุุรีี
นางสาวชนิิดา ศรีีสาคร
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุุรีี
ร่ว่ มกัับ ชุมุ ชนหนองขนาน อำเภอเมือื ง และชุมุ ชนไร่โ่ คก อำเภอบ้า้ นลาด
จัังหวััดเพชรบุุรีี

102

วัตั ถุปุ ระสงค์์ของการวิิจััย:

1. เพื่่�อศึึกษาสถานการณ์์ด้้านการผลิิตข้้าวทั่่�วไป รวมทั้�้งข้้าวอิินทรีีย์์
และข้า้ วตามการปฏิิบััติิเกษตรดีีที่�เ่ หมาะสม (GAP) ในจัังหวััดเพชรบุุรีี
2. เพื่่�อศึกึ ษาศัักยภาพของการผลิิตข้้าวตามระบบมาตรฐาน GAP ใน
จัังหวััดเพชรบุรุ ีี
3. เพื่่อ� พััฒนาการทำนาข้า้ วอินิ ทรีีย์โ์ ดยการมีีส่ว่ นร่ว่ มของเกษตรกรใน
ชุุมชน
4. เพื่่�อพััฒนากระบวนการเรีียนรู้แ�้ บบมีีส่ว่ นร่่วมของชุมุ ชนในการผลิิต
ข้้าวอิินทรีีย์์
5. เพื่่�อศึึกษากระบวนการเรีียนรู้�้และปััญหาจากการลดการใช้้สารเคมีี
ในการผลิติ ข้้าวอินิ ทรีีย์์
6. เพื่่อ� ศึกึ ษาปริมิ าณผลผลิติ ข้า้ วอินิ ทรีีย์แ์ ละวิเิ คราะห์ห์ าสารเคมีีตกค้า้ ง
ในข้า้ วและสิ่�งแวดล้อ้ ม
7. เพื่่อ� ถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีและองค์ค์ วามรู้ใ้� นการผลิติ ข้า้ วอินิ ทรีีย์ใ์ ห้แ้ ก่่
เกษตรกร

วิธิ ีดี ำเนินิ การวิิจัยั :

1. ศึึกษาสถานการณ์์ด้้านการผลิิตข้้าวทั่่�วไป รวมทั้้�งข้้าวอิินทรีีย์์และ
ข้้าวตามการปฏิบิ ััติิเกษตรดีีที่เ่� หมาะสม (GAP) ในจัังหวััดเพชรบุุรีี
2. ศึึกษาศัักยภาพของการผลิิตข้้าวตามระบบมาตรฐาน GAP ใน
จัังหวััดเพชรบุุรีี
3. พััฒนาการทำนาข้้าวอิินทรีีย์์โดยการมีีส่่วนร่่วมของเกษตรกรใน
ชุมุ ชน
4. พััฒนากระบวนการเรีียนรู้�้แบบมีีส่่วนร่่วมของชุุมชนในการผลิิต
ข้า้ วอิินทรีีย์์

103

5. ศึึกษากระบวนการเรีียนรู้�้และปััญหาจากการลดการใช้้สารเคมีีใน
การผลิิตข้้าวอิินทรีีย์์
6. ศึกึ ษาปริมิ าณผลผลิติ ข้า้ วอินิ ทรีีย์แ์ ละวิเิ คราะห์ห์ าสารเคมีีตกค้า้ งใน
ข้้าวและสิ่ง� แวดล้้อม
7. ถ่่ายทอดเทคโนโลยีีและองค์์ความรู้�้ในการผลิิตข้้าวอิินทรีีย์์ให้้แก่่
เกษตรกร

ผลการวิิจััย:

การพััฒนารููปแบบการทำนาข้้าวอิินทรีีย์์ในจัังหวััดเพชรบุุรีี ประกอบ
ด้ว้ ย 2 โครงการวิจิ ััยย่่อย โดยมีีวััตถุปุ ระสงค์์เพื่่�อการส่ง่ เสริมิ ให้้มีีการปลููกข้า้ ว
อินิ ทรีีย์ภ์ ายในจัังหวััดให้ม้ ากขึ้น� กลุ่�มตััวอย่า่ งได้แ้ ก่่ เกษตรกรในจัังหวััดเพชรบุรุ ีี
ผลการวิจิ ััย มีีดัังนี้้�
โครงการวิจิ ััยย่่อยที่่� 1 พบว่า่ ลัักษณะพื้้�นฐานส่่วนบุุคคลของเกษตรกร
ส่่วนใหญ่่เป็น็ เพศหญิงิ ร้้อยละ 56.0 ในช่่วงอายุุ 51 – 60 ปีี จบการศึกึ ษาระดัับ
ประถมศึึกษา มีีจำนวนสมาชิิกครััวเรืือนเฉลี่�่ย 4-6 คน มีีการจ้้างแรงงาน
ส่่วนใหญ่จ่ ำนวน 1-3 คน มีีพื้้น� ที่่ท� ำนาทั้�้งหมดเฉลี่ย�่ 23.16 ไร่่ มีีประสบการณ์์
ในการทำนาเฉลี่่�ย 27.08 ปีี เกษตรกรมีีรายได้้จากการทำนาทั้้�งหมด
เฉลี่่�ย 118,721.55 บาทต่่อปีี ผลผลิิตข้้าวเปลืือกต่่อรอบการผลิิตเฉลี่�่ยเท่่ากัับ
16.74 ต้้น/ปีี มีีต้้นทุุนการผลิิตต่่อ 1 ฤดููกาล เฉลี่่�ยเท่่ากัับ 69,055.4 บาท
เกษตรกรเคยได้้รัับการอบรมระบบการปฏิิบััติิทางการเกษตรดีีที่่�เหมาะสม
(GAP) อย่า่ งน้อ้ ย 1 ครั้ง้� คิิดเป็็นร้อ้ ยละ 81
ศัักยภาพของเกษตรกรในการผลิิตข้้าวตามระบบมาตรฐาน GAP
พิจิ ารณาจากปัจั จััยทางด้า้ นความรู้�้ ของเกษตรกรในกระบวนการผลิติ ของระบบ
การปฏิิบััติิเกษตรดีีที่�่เหมาะสม (GAP) พบว่่า อยู่�ในระดัับมาก มีีคะแนนเฉลี่่�ย
เท่า่ กัับ 7.81 ปััจจััยด้้านการปฏิบิ ััติิของเกษตรกรตามระบบการจััดการคุุณภาพ
เกษตรดีีที่เ�่ หมาะสม (GAP) ภาพรวมอยู่�ในระดัับมาก มีีคะแนนเฉลี่ย่� เท่า่ กัับ 3.22

104

ปัจั จััยทััศนคติติ ่อ่ การปฏิบิ ััติิทางการเกษตรดีีที่่�เหมาะสม (GAP) ภาพรวมอยู่�ใน
ระดัับมาก มีีคะแนนเฉลี่�ย่ เท่่ากัับ 3.76 นอกจากนี้้� ยัังพบว่า่ แหล่ง่ น้้ำไม่่เพีียงพอ
ในการทำนาเป็็นปััญหาที่่�สำคััญมากที่่�สุุด มีีคะแนนเฉลี่่�ยเท่่ากัับ 3.05 การ
วิเิ คราะห์ป์ ัจั จััยทางด้า้ นข้อ้ มููลลัักษณะส่ว่ นบุคุ คล ได้แ้ ก่่ ช่ว่ งอายุุ และระดัับการ
ศึึกษาของเกษตรกรทั่่�วไปที่่�ปลููกข้้าวในจัังหวััดเพชรบุุรีีมีีผลต่่อความรู้�้ ของ
เกษตรกร และปัจั จััยทางด้า้ นความรู้้� มีีความสััมพัันธ์ใ์ นทิศิ ทางบวกกัับปัจั จััยการ
ปฏิิบััติิและปััจจััยทััศนคติิของเกษตรกรต่่อการปฏิิบััติิเกษตรดีีที่�่เหมาะสม
(GAP) อย่า่ งมีีนััยสำคััญทางสถิติ ิทิ ี่ร่� ะดัับ 0.05 (p<0.05) ดัังนั้น้� เมื่่อ� พิจิ ารณาทั้ง้�
3 ปััจจััย พบว่า่ เกษตรกรที่ป่� ลููกข้า้ วทั่่ว� ไปในจัังหวััดเพชรบุุรีีมีีศัักยภาพในระดัับ
มากต่่อการผลิิตข้้าวเพื่่�อให้้ได้้ตามมาตรฐาน GAP ซึ่�งข้้อค้้นพบจากการวิิจััย
สามารถใช้้เป็็นข้้อมููลพื้้�นฐานในการประเมิินศัักยภาพในพื้้�นที่�่ หาแนวทาง
ปรัับปรุงุ แก้ไ้ ขและหาข้อ้ เสนอแนะเพื่่อ� นำไปส่ง่ เสริมิ ให้เ้ กษตรกรมีีการผลิติ ข้า้ ว
ให้้ได้้มาตรฐาน GAP มากยิ่�งขึ้�น
โครงการวิจิ ััยย่อ่ ยที่่� 2 เป็น็ การทดลองปฏิบิ ััติจิ ริงิ ในแปลงทดลองพบว่า่
เกษตรกรมีีความรู้้�เกี่�่ยวกัับเกษตรอิินทรีีย์์ในระดัับดีีมาก (ร้้อยละ 83.3-90.0)
มีีความคิิดเห็็นเกี่�่ยวกัับนาข้้าวอิินทรีีย์์ด้้านต่่าง ๆ ในภาพรวมอยู่�ที่�่ระดัับมาก
(X = 3.57, S.D.=0.94) และมีีความคิิดเห็็นเกี่่�ยวกัับการทำนาข้้าวอิินทรีีย์์ว่่า
เป็น็ การทำเพื่่อ� ความปลอดภััยของชีีวิติ และสุขุ ภาพมากที่ส�่ ุุด และแนวทางการ
พััฒนาการเรีียนรู้แ้� บบมีีส่ว่ นร่ว่ มในการพััฒนาการทำนาข้า้ วอินิ ทรีีย์์ มีี 4 ข้อ้ คือื
1) พัันธุ์์�ข้้าวและการจััดการ 2) ความรู้�้ 3) การเริ่�มต้้นทำเกษตรอิินทรีีย์์ และ
4) ผลิิตภััณฑ์์และการตลาด ส่่วนการใช้้ฮอร์์โมนปลาและฮอร์์โมนผลไม้้ซึ่�งเป็็น
ภููมิปิ ัญั ญาของเกษตรกรเองมาฉีีดพ่น่ ทดแทนการใช้ปุ้๋๋ย� เคมีีร่ว่ มกัับการใช้ปุ้๋๋ย� หมััก
มููลไส้้เดืือนดิิน พบว่า่ ในพื้้�นที่�่ไร่่โคก ลัักษณะของต้้นข้้าวไม่่แตกต่า่ งจากข้้าวที่�่
ปลููกโดยใช้้สารเคมีี ส่่วนในพื้้�นที่่�ตำบลหนองขนาน ข้้าวมีีลำต้้นเตี้�ย ใบข้้าวมีี
สีีเหลืือง ซึ่�งมีีลัักษณะที่่�แตกต่่างจากลัักษณะของข้้าวที่�่ใส่่ปุ๋๋�ยเคมีีอย่่างเห็็นได้้
ชััดเจน ผลผลิติ ข้า้ วเปลือื กตำบลไร่โ่ คกและตำบลหนองขนานเท่่ากัับ 415 และ

105

558 กิิโลกรััมต่่อไร่่ ตามลำดัับ ซึ่�งไม่่แตกต่่างจากค่่าเฉลี่�่ยของผลผลิิตข้้าว
ทั่่�วประเทศ (420 กิิโลกรััมต่่อไร่่) ตรวจไม่่พบสารเคมีีตกค้้างในกลุ่�ม
ออร์ก์ าโนฟอสเฟตในตััวอย่า่ งข้า้ วเปลือื กและตััวอย่า่ งดินิ คุณุ ภาพน้้ำอยู่�ในเกณฑ์์
ปกติิ ส่่วนคุณุ ภาพดินิ ทั้�ง้ สองพื้้�นที่่�มีีปริิมาณธาตุอุ าหารน้อ้ ย

ข้้อเสนอแนะจากงานวิจิ ััย:

เกษตรกรควรได้ร้ ัับการสนัับสนุนุ ระบบการให้ค้ ำแนะนำจากสำนัักงาน
เกษตรเพื่่�อให้้เกษตรกรสามารถปฏิิบััติิตามเงื่ �อนไขและยื่ �นขอรัับการรัับรอง
มาตรฐานการปฏิบิ ััติเิ กษตรดีีที่เ�่ หมาะสม

“ควรให้ม้ ีีตลาดรองรัับโดยเฉพาะข้้าวที่ท�่ ำแบบข้้าวอิินทรีีย์แ์ ละราคาสููง
เพราะถือื ว่า่ ต้้นทุนุ การผลิติ สููงและบริิหารจััดการยาก”
(เกษตรกรตำบลหนองขนาน-ผู้�้ ร่่วมโครงการวิิจััย)

106

การพััฒนานวััตกรรมแปรรููปอาหารจากกล้้วยของวิสิ าหกิิจชุุมชน
กลุ่�มแม่บ่ ้้านเกษตรกร ตำบลจอมประทัดั อำเภอวัดั เพลง จังั หวัดั ราชบุรุ ีี
Development of Food Processing Innovation from banana

for Farm Women Group Community, Chom Prathat
Sub-District, Wat Phleng District, Ratchaburi Province
คณะผู้ว�้ ิจิ ัยั :

อ. ดร. ชลธิริ า สารวงษ์์
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลกรุงุ เทพ
อ. ดร. กฤติกิ า นรจิติ ร
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลกรุงุ เทพ
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์ว์ ิิภาวััน จุลุ ยา
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลกรุุงเทพ
อาจารย์์ปาริิฉััตร ปิิดิิสุุทธิิ
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลกรุงุ เทพ
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. ธััญญาภรณ์์ ศิริ ิิเลิิศ
มหาวิิทยาลััยสยาม
อ. ดร. ณััฐิกิ า ศิิลาลาย
มหาวิิทยาลััยสยาม
นางสาวกััษมาพร ปัญั ต๊๊ะบุุตร
มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์
นางสาวเบ็ญ็ จมาศ เจีียงแจ่่มจิติ
วิสิ ากิิจชุมุ ชนกลุ่�มแม่่บ้า้ นเกษตรกร ตำบลจอมประทััด

107

วััตถุุประสงค์์ของการวิจิ ััย:

1. เพื่่�อศึึกษาสููตรการผลิิตน้้ำพริิกเพื่่�อสุุขภาพและผลิิตภััณฑ์์คุุกกี้�
ปราศจากกลููเตนที่เ่� ป็น็ ที่�ย่ อมรัับของผู้�้ บริิโภค
2. เพื่่�อศึึกษาระดัับความแก่่-สุุกของกล้้วยและอััตราส่่วนที่�่เหมาะสม
ของน้้ำพริกิ เพื่่อ� สุขุ ภาพจากกล้ว้ ยต่อ่ คุณุ ลัักษณะทางกายภาพเคมีี และประเมินิ
คุณุ ภาพทางประสาทสััมผััส และเพื่่อ� ศึกึ ษาชนิดิ และปริมิ าณสารไฮโดรคอลลอยด์์
ที่�่เหมาะสมต่่อคุุณภาพของคุุกกี้ �ปราศจากกลููเตนจากแป้้งกล้้วยและศึึกษาผล
ของการทดแทนแป้ง้ ข้้าวเจ้้าด้ว้ ยแป้ง้ กล้้วย และปริมิ าณน้้ำในสููตรที่เ�่ หมาะสม
3. เพื่่อ� ศึกึ ษาอายุกุ ารเก็บ็ รัักษาของน้้ำพริกิ เพื่่อ� สุขุ ภาพจากกล้ว้ ยน้้ำว้า้
พร้้อมเปลือื ก
4. เพื่่อ� ถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีการผลิติ น้้ำพริกิ เพื่่อ� สุขุ ภาพจากกล้ว้ ยน้้ำว้า้
พร้อ้ มเปลืือก และผลิิตภััณฑ์์คุกุ กี้ป� ราศจากกลููเตนจากแป้้งกล้้วยแก่ก่ ลุ่�มชุุมชน

วิิธีดี ำเนิินการวิิจััย:

1. ศึกึ ษาสููตรการผลิติ น้้ำพริกิ สููตรพื้้น� ฐานที่่�เป็น็ ที่�ย่ อมรัับของผู้้�บริโิ ภค
2. ศึกึ ษาระดัับความแก่-่ สุกุ ของกล้ว้ ยและอััตราส่ว่ นที่เ�่ หมาะสมของน้้ำ
พริกิ เพื่่อ� สุขุ ภาพจากกล้ว้ ยต่อ่ คุณุ ภาพทางกายภาพเคมีี และการประเมินิ คุณุ ภาพ
ทางประสาทสััมผััส
3. ศึกึ ษาอายุกุ ารเก็บ็ รัักษาของน้้ำพริกิ เพื่่อ� สุขุ ภาพจากกล้ว้ ยน้้ำว้า้ พร้อ้ ม
เปลืือก
4. ถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีการผลิติ น้้ำพริกิ เพื่่อ� สุขุ ภาพจากกล้ว้ ยน้้ำว้า้ พร้อ้ ม
เปลือื กแก่ก่ ลุ่�มชุมุ ช
5. พััฒนาสููตรของผลิติ ภััณฑ์์คุุกกี้�ต้้นแบบที่่�ผู้�้ บริโิ ภคยอมรัับ
6. ศึึกษาชนิดิ และปริมิ าณสารไฮโดรคอลลอยด์ท์ ี่�่เหมาะสมต่อ่ คุณุ ภาพ
ของคุกุ กี้ป� ราศจากกลููเตนจากแป้ง้ ข้้าวเจ้้า

108

7. ศึกึ ษาผลของการทดแทนแป้ง้ ข้า้ วเจ้า้ ด้ว้ ยแป้ง้ กล้ว้ ย และปริมิ าณน้้ำ
ในสููตรที่�เ่ หมาะสม
8. ถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีการผลิติ คุกุ กี้ป� ราศจากกลููเตนจากแป้ง้ กล้ว้ ยแก่่
กลุ่�มชุมุ ชนเป้้าหมาย

ผลการวิิจัยั :

ชุุดโครงการวิจิ ััยนี้้� ประกอบด้้วย 2 โครงการย่อ่ ย ได้แ้ ก่่ โครงการย่อ่ ย
ที่�่ 1 การพััฒนาผลิิตภััณฑ์์น้้ำพริิกเพื่่�อสุุขภาพจากกล้้วยพร้้อมเปลืือกของ
วิิสาหกิิจชุุมชนกลุ่�มแม่่บ้้านเกษตรกร ตำบลจอมประทััด อำเภอวััดเพลง
จัังหวััดราชบุุรีี ผลการศึึกษา พบว่่า จากการผลิิตน้้ำพริิกแต่่ละชนิิด ได้้แก่่
1) น้้ำพริิกเผา ชนิิดผััด 2) น้้ำพริิกตาแดง และ 3) น้้ำพริิกป่่นแห้้ง สำหรัับ
น้้ำพริิกเผา (ชนิิดผััด) สููตรพื้้�นฐานที่่�ผู้�้ บริิโภคให้้การยอมรัับ ประกอบด้้วย
พริกิ แห้้งเม็ด็ ใหญ่่ 50 กรััม หอมแดง 150 กรััม กระเทีียม 150 กรััม กุ้�งแห้ง้
120 กรััม กะปิิ 8 กรััม น้้ำปลา 60 กรััม น้้ำตาลปี๊๊�บ 200 กรััม และ
น้้ำมะขามเปีียก 100 กรััม สำหรัับน้้ำพริิกตาแดงสููตรพื้้�นฐานที่�่ผู้้�บริิโภคให้้
การยอมรัับ ประกอบด้้วย พริิกแห้้งเม็็ดใหญ่่ 40 กรััม หอมแดง 80 กรััม
กระเทีียม 100 กรััม กุ้�งแห้้ง 100 กรััม กะปิิ 14 กรััม น้้ำปลา 60 กรััม
น้้ำตาลปี๊๊บ� 70 กรััม และมะขามเปีียกแกะเม็็ด 25 กรััม สำหรัับน้้ำพริิกป่น่ แห้้ง
สููตรพื้้�นฐานที่�่ผู้้�บริิโภคให้้การยอมรัับ ประกอบด้้วย พริิกขี้�หนููแห้้ง 200 กรััม
พริกิ แห้ง้ เม็ด็ ใหญ่่ 60 กรััม หอมแดง 100 กรััม กระเทีียม 100 กรััม กุ้�งแห้ง้
200 กรััม เกลืือ 8 กรััม และน้้ำตาลทราย 60 กรััม จากนั้้น� นำกล้้วยน้้ำว้า้ ที่�ม่ ีี
ระดัับความแก่-่ สุกุ ต่่างกััน 3 ระดัับ ได้้แก่่ กล้ว้ ยน้้ำว้า้ ดิิบ กล้้วยน้้ำว้้าห่า่ ม และ
กล้้วยน้้ำว้้าสุุกที่�่ผ่่านการทอดแล้้วนำไปทดแทนกุ้ �งแห้้งในสููตรในปริิมาณคงที่�่
ร้้อยละ 30 (โดยน้้ำหนัักของส่่วนผสมกุ้�งแห้้ง) จากการตรวจสอบคุุณภาพ
พบว่่า ค่่า aw และค่่าสีีของน้้ำพริิกทั้้�ง 3 ชนิิดที่่�ใช้้กล้้วยน้้ำว้้าที่่�มีีระดัับ
ความแก่-่ สุกุ ต่า่ งกัันมีีความแตกต่า่ งกัันอย่า่ งมีีนััยสำคััญทางสถิติ ิิ (p≤0.05) และ

109

ผลการประเมิินคุุณภาพทางประสาทสััมผััส พบว่่า ผู้�้ ทดสอบให้้การยอมรัับ
คุุณภาพทางประสาทสััมผััสของน้้ำพริิกเผา ชนิิดผััดและน้้ำพริิกตาแดงที่�่ใช้้
กล้้วยน้้ำว้้าที่่�มีีระดัับความแก่่-สุุกต่่างกััน ไม่่แตกต่่างกัันในทุุกคุุณลัักษณะ
สำหรัับน้้ำพริกิ ป่น่ แห้ง้ ผู้้�ทดสอบให้ก้ ารยอมรัับสููตรที่ใ�่ ช้ก้ ล้ว้ ยน้้ำว้า้ สุกุ มาทดแทน
กุ้�งแห้ง้ ในสููตรมากที่ส�่ ุดุ จากนั้น�้ ทำการศึกึ ษาอััตราส่ว่ นที่เ่� หมาะสมของกล้ว้ ยไป
แทนที่่ก�ุ้�งแห้ง้ ในอััตราส่่วนร้้อยละ 0, 25, 50, 75 และ 100 จากการตรวจสอบ
คุุณภาพ พบว่่า ปริิมาณความชื้�น ค่่า aw และค่่าสีีของน้้ำพริกิ ทั้�ง้ 3 ชนิิดที่่ใ� ช้้
กล้้วยไปแทนที่�่กุ้�งแห้้ง มีีความแตกต่่างกัันอย่่างมีีนััยสำคััญทางสถิิติิ (p≤0.05)
ทั้�้งนี้้�เพื่่�อเพิ่่�มมููลค่่าและคุุณค่่าทางโภชนาการของน้้ำพริิกโดยใช้้กล้้วยน้้ำว้้าเป็็น
วััตถุุดิิบ ซึ่�งช่่วยแก้้ปััญหาวััตถุุดิิบที่�่ล้้นตลาดและเป็็นการใช้้ประโยชน์์ของ
กล้้วยน้้ำว้้าพร้อ้ มเปลือื ก ทำให้้ได้ผ้ ลิติ ภััณฑ์์ใหม่ท่ ี่ต่� อบสนองความต้้องการของ
ผู้้�บริิโภค
โครงการย่อ่ ยที่่� 2 การเพิ่่ม� มููลค่า่ กล้ว้ ยน้้ำว้า้ ดิบิ โดยการแปรรููปเป็น็ แป้ง้
ทำผลิิตภััณฑ์์ขนมอบปลอดกลููเตนของวิิสาหกิิจชุุมชน กลุ่�มแม่่บ้้านเกษตรกร
ตำบลจอมประทััด อำเภอวััดเพลง จัังหวััดราชบุุรีี จากผลการทดลองพบว่่า
สููตรของผลิิตภััณฑ์์คุุกกี้�ต้้นแบบที่�่ผู้้�บริิโภคยอมรัับ ประกอบด้้วย แป้้งข้้าวเจ้้า
ตราช้้างสามเศีียร 40 กรััม น้้ำตาลทราย 24 กรััม หางนมผง1.2 กรััม เกลืือ
0.18 กรััม ผงฟูู 0.4 กรััม เนยสด 18.6 กรััม ไข่่ไก่่ 5.5 กรััม น้้ำเปล่า่ 9.5 กรััม
และวานิิลา 0.62 กรััม จากนั้้�นทำการผลิิตคุุกกี้�โดยใช้้แป้้งข้้าวเจ้้ามาทดแทน
แป้้งสาลีีในสููตรทั้้�งหมด (ร้้อยละ 100) และทำการศึึกษาชนิิดของสาร
ไฮโดรคอลลอยด์์จำนวน 2 ชนิิด คืือ กััวกััม และแซนแทนกััม ที่�่ความเข้้มข้้น
3 ระดัับ ได้้แก่่ ร้้อยละ 3, 5 และ 7 ของน้้ำหนัักแป้้ง โดยใช้้คุุกกี้�ที่่�ผลิิตจาก
แป้้งข้้าวเจ้้าเพีียงอย่่างเดีียวที่�่ไม่่ได้้ใส่่สารไฮโดรคอลลอยด์์เป็็นสููตรควบคุุม
จากการทดลองพบว่่า คุุกกี้�ที่่�เติิมกััวกััมร้้อยละ 7 ผู้้�ทดสอบชิิมให้้การยอมรัับ
สููงสุดุ ในทุกุ คุณุ ลัักษณะที่ท�่ ดสอบ จากนั้น้� ศึกึ ษาผลของการทดแทนแป้ง้ ข้า้ วเจ้า้
ด้ว้ ยแป้้งกล้ว้ ย และปริมิ าณน้้ำในสููตรที่่�เหมาะสมมีีผลต่่อคุณุ ภาพของคุกุ กี้�ที่ไ�่ ด้้

110

มีีความแตกต่า่ งกัันอย่่างมีีนััยสำคััญทางสถิติ ิิ (p≤0.05) ทั้้ง� นี้้�เพื่่อ� เพิ่่ม� มููลค่่าและ
คุณุ ค่า่ ทางโภชนาการของคุกุ กี้ป� ราศจากกลููเตนจากแป้ง้ กล้ว้ ย ซึ่ง� ช่ว่ ยแก้ป้ ัญั หา
วััตถุุดิิบที่�่ล้้นตลาดและเป็็นการใช้้ประโยชน์์ของกล้้วยน้้ำว้้าดิิบ ทำให้้ได้้
ผลิิตภััณฑ์์ใหม่่ที่�่ตอบสนองความต้้องการของผู้้�บริิโภค และเป็็นทางเลืือกหนึ่่�ง
สำหรัับผู้�้ที่แ่� พ้ก้ ลููเตน หรืือใส่ใ่ จในสุขุ ภาพต่่อไป

111

โครงการวิิจััยและนวัตั กรรมเพื่�่อถ่่ายทอดเทคโนโลยีี
สู่ช�่ ุุมชนฐานราก ประจำปีีงบประมาณ 2563

สำนักั งานปลัดั กระทรวงการอุดุ มศึกึ ษา วิิทยาศาสตร์์
วิิจััยและนวัตั กรรม (สป.อว.)

การสร้้างแพลตฟอร์์มปั่�่น ชิิม ชิลิ เพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ การท่อ่ งเที่ย� วเชิิงนิิเวศ
ในพื้้น� ที่�บางกะเจ้้า จัังหวัดั สมุุทรปราการ ด้้วยเทคโนโลยีีเหมืืองข้้อมููล
A Platform Development Ride Eat Relax for Promoting

Ecosystem Tourism in the Area of Artiifcial Island of
Samut Prakan Province by Data Mining Technology

คณะผู้ว�้ ิิจััย:

ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร.ไกรฤกษ์์ เชยชื่�น
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
อาจารย์์ณััฐปภััสร์์ เทีียนจัันทร์์
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.วีีรพล จิิรจริิต
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีพระจอมเกล้า้ ธนบุุรีี
นางสาวจัันทิิมา แย้้มเผื่�อน
ร่่วมกัับ พื้้น� ที่�บ่ างกะเจ้้า อำเภอพระประแดง จัังหวััดสมุทุ รปราการ

วััตถุุประสงค์์ของการวิิจััย:

1. เพื่่�อสำรวจข้้อมููลเชิิงภููมิิศาสตร์์ของกลุ่�มผู้้�ประกอบการร้้านเช่่า
จัักรยาน กลุ่�มผู้�้ ประกอบการร้้านอาหารและเครื่�องดื่�ม และสถานที่�่ท่่องเที่่�ยว
พื้้น� ที่บ่� างกะเจ้า้
2. เพื่่�อเป็็นแหล่่งรวมรวมข้้อมููลพื้้�นที่�่ในเรื่�องการอนุุรัักษ์์พื้้�นที่�่สีีเขีียว
คุุณค่่าเชิิงนิิเวศและข้้อมููลเชิิงประวััติิศาสตร์์ที่่�ผู้้�ใช้้สามารถเข้้าถึึงได้้ใน
แพลตฟอร์ม์
3. เพื่่�อสร้า้ งแพลตฟอร์ม์ ที่�่สามารถใช้ว้ ิิเคราะห์จ์ ุดุ check in ยอดนิยิ ม
เส้น้ ทางปั่่�นจัักรยานยอดนิิยม

113

4. เพื่่�อสร้า้ งระบบ review และ chat ที่่�สามารถเป็็นแนวทางแนะนำ
ให้น้ ัักท่อ่ งเที่ย่� วและแนวทางการปรัับปรุงุ ของผู้�้ ประกอบการและองค์ก์ ารบริหิ าร
ส่ว่ นตำบลบางกะเจ้้า
5. เพื่่�อถ่่ายทอดการใช้้แพลตฟอร์์มสู่�่ อบต.บางกะเจ้้า ที่�่ดููแลเรื่�อง IT
เพื่่�อสามารถดููแลระบบต่่อได้้และสร้้างความยั่�งยื่�นให้้กัับแพลตฟอร์์ม โดยมีี
คณะวิจิ ััยคอยให้ค้ ำปรึกึ ษาแนะนำ

วิิธีีดำเนิินการวิจิ ััย:

1. วางแผนออกแบบระบบและการเก็็บข้้อมููลที่�่เกี่่�ยวข้้องในพื้้�นที่่�
บางกะเจ้า้ จัังหวััดสมุุทรปราการ
2. สร้า้ งแพลตฟอร์์มปั่่น� ชิมิ ชิิล ณ บางกะเจ้้า
3. สำรวจและเก็็บข้้อมููลสิินค้้าและบริิการและข้้อมููลเชิิงภููมิิศาสตร์์ใน
พื้้�นที่�บ่ างกะเจ้า้ จัังหวััดสมุุทรปราการ และบันั ทึกึ ข้้อมููลลงระบบ
4. ทดสอบระบบและแก้ไ้ ขปััญหา
5. ถ่่ายทอดองค์์ความรู้�้ในการจััดการแพลตฟอร์์มให้้กัับเจ้้าหน้้าที่�่
ที่่เ� กี่่�ยวข้้องกัับระบบ IT เพื่่อ� ดููแลรัักษาต่่อไปในปีที ี่�่ 2 เป็็นต้้นไป

ผลการวิจิ ัยั :

พื้้�นที่�่บางกะเจ้้าและใกล้้เคีียงมีีอีีกชื่�อหนึ่่�งว่่ากระเพาะหมูู อยู่�
อำเภอพระประแดง จัังหวััดสมุุทรปราการ พื้้�นที่�่นี้้�มีีชื่่�อเสีียงในเรื่�องการปั่่�น
จัักรยานชมธรรมชาติิ ตลาดน้้ำบางน้้ำผึ้�ง และสถานที่่�พัักผ่่อนย่่อนใจอีีกหลาย
แห่่งเช่น่ บ้า้ นธููป พิิพิิธภััณฑ์์ปลากััด สวนสาธารณะ และสวนพฤกษชาติิศรีีนคร
เขื่อ� นขัันธ์์ เป็น็ ต้น้
อย่่างไรก็็ดีี การท่่องเที่�่ยวพื้้�นที่่�บางกะเจ้้าสามารถพััฒนาให้้ดีีขึ้้�นได้้ถ้้า
สามารถแก้้ปััญหาเรื่ �องประสิิทธิิภาพของการประชาสััมพัันธ์์ที่่�ทัันสมััยและการ
ค้น้ หาข้อ้ มููลแบบบููรณาการของแหล่ง่ ร้า้ นเช่า่ จัักรยาน ร้า้ นอาหารและเครื่อ� งดื่ม�

114

และจุุดท่่องเที่�่ยว และเพิ่่�มความสะดวกให้้กัับนัักท่่องเที่่�ยวในการเดิินทาง หา
ที่พ�่ ัักได้้ ฯลฯ
ในโครงการวิจิ ััยนี้้น� ำเสนอการออกแบบและพััฒนาแอปพลิเิ คชัันบนมือื
ถืือ โดยแอปพลิิเคชัันสามารถแนะนำเส้้นทางท่่องเที่่�ยวในหนึ่่�งทริิปทั้้�งจุุดเช่่า
จัักรยาน ร้า้ นอาหาร ที่่เ� ที่�ย่ ว เพื่่�อช่่วยอำนวยความสะดวกให้้นัักท่อ่ งเที่�ย่ ว โดย
การสร้า้ งระบบดัังกล่า่ วสามารถเข้า้ ถึงึ ได้จ้ ากโทรศััพท์ม์ ือื ถือื และเว็บ็ ไซต์์ เจ้า้ ของ
ร้้านสามารถเข้้าถึึงระบบเพื่่�อเพิ่่�มข้้อมููลร้้านอาหาร ร้้านเช่่าจัักรยานหรืือร้้าน
สถานที่�่เที่�่ยวของตนเองได้้เป็็นการมีีส่่วนร่่วมในการพััฒนาแอปพลิิเคชัันของ
ชุุมชนด้้วย นอกจากนี้้� แอปพลิิเคชัันยัังสามารถใช้้เป็็นสื่�อกลางในการติิดต่่อ
ระหว่่างผู้้�ใช้้และผู้�้ดูแลพื้้น� ที่่�เพื่่อ� การเสนอแนะในการพััฒนาพื้้น� ที่่ใ� ห้เ้ ป็็นที่พ�่ อใจ
ของผู้�ใ้ ช้้ได้ด้ ้้วย จากการทดลองใช้แ้ อปพลิิเคชััน พบว่า่ ฟังั ก์ช์ ัันการทำงานต่า่ ง
ๆ สามารถทำงานได้อ้ ย่า่ งถููกต้อ้ งตรงตามวััตถุปุ ระสงค์ข์ องโครงการวิจิ ััย แต่่ได้้
รัับคำแนะนำผู้ใ�้ ช้บ้ างรายว่า่ ควรปรัับปรุงุ รููปแบบการเลือื กเส้น้ ทางที่ห�่ ลากหลาย
มากกว่่านี้้� และแต่ล่ ะเส้น้ ทางควรมีีข้้อมููลด้้านสุขุ ภาพ เช่่น ถ้า้ ปั่่�นจัักรยานเส้้น
ทางนี้้จ� ะสามารถเผาผลาญพลัังงานได้ก้ ี่แ่� คลลอรีี เป็น็ ต้น้ คะแนนความพีีงพอใจ
ของผู้้ใ� ช้ง้ านโดยรวมอยู่�ที่�่ 78%

“app ปั่่�น ชิมิ ชิิล แนะนำเส้น้ ทางปั่่�นจัักรยาน, ท่อ่ งเที่�ย่ วและดื่ม� กินิ
ยอดนิิยม พื้้น� ที่�บ่ างกะเจ้้า app ยัังเป็็นตััวกลางในการสื่่�อสาร
กัับผู้�้ดูแลพื้้น� ที่�่เพื่่�อการปรัับปรุุงพื้้�นที่�ฯ่ ”

115

การพััฒนาแปลงปลููกพริกิ หวานแบบขั้้�นบัันไดด้้วยแนวคิิดระบบอััตโนมัตั ิิ
ในพื้้น� ที่� อำเภอนครชัยั ศรีี

The Development of the Sweet Pepper Terrace Plantation
with Automation System Concept in Nakhonchaisi District
คณะผู้้�วิิจััย:

นายกิติ ติิพงษ์์ พุ่�มโภชนา
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
นายวิิทยา แก้ว้ สุุริิยวงค์์
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
ดร. ไชยณรงค์์ กิิตติิญาณปัญั ญา
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์
นางศรีีสุดุ า ลีีลาสุวุ ััฒน์์
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
นางจัันทร์์เพ็็ญ แสงประกาย
มหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์
ดร.ชานนท์์ บุุญมีีพิพิ ิธิ
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์
ดร. กฤษติิยา โตม่ว่ ง
วิิทยาลััยเทคโนโลยีีสยาม
นายอดุลุ ย์์ ธััญญเจริญิ
สําํ นัักงานเกษตรอํําเภอนครชััยศรีี
ร่ว่ มกัับ กลุ่�มเกษตรกรผู้้�ปลููกผัักและผลไม้้ หมู่่� 2 ตำบลโคกพระเจดีีย์์

116

วัตั ถุุประสงค์์ของการวิจิ ัยั :

1. เพื่่อ� พััฒนาแปลงปลููกพริิกหวานแบบขั้�้นบันั ไดในโรงเรืือน
2. พััฒนาฟัังชั่�นการทํํางานระบบควบคุุมโรงเรืือนด้้วยแนวคิิดเกษตร
อััจฉริยิ ะ
3. เพื่่�อวิิเคราะห์์ และสรุุปผลงานวิิจััยและองค์์ความรู้้�ที่�่ได้้จากการ
เพาะปลููกพริกิ หวาน เผยแพร่่สู่่�เกษตรกรและผู้้�สนใจ

วิิธีดี ำเนินิ การวิิจัยั :

1. ศึึกษาข้อ้ มููลสภาพแวดล้้อมของพื้้�นที่่�ที่่จ� ะทําํ การเพาะปลููก
2. ศึึกษาข้้อมููลการเพาะปลููกพริิกหวานและวางแผนการเพาะปลููก
ร่่วมกัับเกษตรกรในพื้้�นที่�่
3. ทํําการปรัับพื้้�นที่่�และดํําเนิินการสร้้างโรงเรืือน และจััดซื้�อวััสดุุ
อุุปกรณ์เ์ พื่่อ� ติิดตั้้ง� ระบบอััตโนมััติิภายในโรงเรือื น
4. เตรีียมแปลงเพาะปลููกและติดิ ตั้ง�้ ระบบควบคุมุ อััตโนมััติขิ องโรงเรือื น
5. ทํําการเพาะปลููกพริิกหวานในโรงเรืือน และทดสอบระบบภายใน
โรงเรือื น
6. ติิดตาม และตรวจสอบระบบการทํํางานของระบบควบคุุม
การเพาะปลููก
7. เก็็บข้้อมููลการทํํางานของระบบทํําความเย็็นและระบบควบคุุม
อััตโนมััติิ
8. ทดสอบการทําํ งานระบบควบคุมุ ระยะไกล
9. สาธิติ การทําํ งานและถ่า่ ยทอดให้ค้ วามรู้ใ้� นการใช้ง้ านระบบโรงเรือื น

ผลการวิจิ ัยั :

ชุุมชนที่�่ร่่วมชุุดโครงการวิิจััยเป็็น “กลุ่�มเกษตรกรผู้�้ ปลููกผัักและผลไม้้
หมู่่� 2 ตำบลโคกพระเจดีีย์์” ซึ่�งเป็็นชุุมชนที่่ท� ําํ การเพาะปลููกจํําพวก ผัักคะน้า้

117

กวางตุ้�ง กุยุ ช่่าย กะเพรา โหระพา ฝรั่่ง� ชมพู่� มะม่่วง เป็น็ ต้้น ทั้�้งนี้้� สิินค้้าทาง
การเกษรตที่่�ผลิิตออกมาไม่่ค่่อยได้้ผลผลิิตตามที่่�เกษตรกรต้้องการ เนื่่�องจาก
สภาพอากาศในพื้้�นที่่�อํําเภอนครชััยศรีี จัังหวััดนครปฐมซึ่�งเป็็นเขตพื้้�นที่�่ที่่�มีี
อากาศค่อ่ นข้า้ งร้อ้ นตลอดทั้ง�้ ปีโี ดยวิสิ าหกิจิ ชุมุ ชนต้อ้ งการพืชื ทางเลือื กเป็น็ การ
เพาะปลููกพืืชแปลกใหม่่ไม่่มีีการปลููกในชุุมชน และต้้องมีีระบบที่�่ช่่วยในการ
เพราะปลููกพืืชชนิิดดัังกล่่าวได้้เพื่่�อเป็็นทางเลืือก เพื่่�อเพิ่่�มรายได้้ให้้กัับกลุ่�ม
เกษตรกรความก้า้ วหน้า้ ของโครงการในช่ว่ ง 5 เดือื นที่ผ่� ่า่ นมาสําํ หรัับชุดุ โครงการ
มีีดัังนี้้�
1) มีีการประชุมุ วางแผนการเพาะปลููกร่ว่ มกัับชุมุ ชน ได้ท้ ําํ การพบและ
พููดคุุยกัับตััวแทนกลุ่�มวิสิ าหกิจิ ชุมุ ชน หมู่่� 2 ตําํ บลโคกพระเจดีีย์์ และได้ท้ ําํ การ
ประชุุมปรึึกษาหารืือพููดถึึงปััญหาและแนวทางแก้้ไขปััญหาที่่�พบเจอระหว่่างทํํา
การวิิจััยร่ว่ มกัันกัับชุุมชน
2) สร้า้ งระบบเซนเซอร์ต์ รวจวััดสภาพอาการและออกแบบแอปพลิเิ คชััน
บนมืือถืือโดยระบบเซนเซอร์์ที่�่จะนํํามาใช้้ตรวจสอบค่่าในโรงเรืือนและ
สถาพอากาศนอกโรงเรืือน ประกอบไปด้้วย เซนเซอร์์วััดความชื้�นในอากาศ
เซนเซอร์ว์ ััดอุุณหภููมิิในอากาศ เซนเซอร์์วััดความเข้ม้ แสง เซนเซอร์ว์ ััด PH และ
เซนเชอร์์วััดความชื้�นในดิิน เกษตรกรสามารถใช้้สมาร์์ทโฟนของเกษตรกร
อ่่านค่่าต่่าง ๆ และควบคุุมอุุปกรณ์์ต่่าง ๆ ได้้โดยการใช้้แอปพลิิเคชััน Blynk
ที่่�ทางทีีมงานผู้�้ วิิจััยออกแบบรููปแบบตามที่่�เกษตรต้้องการ และตััวโรงเรืือนยััง
สามารถทํํางานอััตโนมััติโิ ดยมีี PLC เป็็นตััวควบคุุมอีีกด้ว้ ย
3) ขั้น�้ ตอนนี้้ท� างทีีมวิจิ ััยได้ม้ ีีการออกแบบและดําํ เนินิ การสร้า้ งโรงเรือื น
ต้้นแบบ มีีขนาด 6x12 เมตร โดยวััสดุุที่�่มุุงโรงเรืือนทํําจากแผ่่นพลาสติิกใส
และมุ้�งตะข่่าย โดยจะมีีการติิดตั้้�งเซลล์์แสงอาทิิตย์์ไว้้บนหลัังคา เพื่่�อเป็็น
แหล่่งพลัังงานทั้้�งหมดของโรงเรืือน เกษตรกรผู้�้ รัับผิิดชอบโรงเรืือนกํําลััง
ดํําเนิินการสร้้างโรงเรือื นและทํําการติดิ ตั่�งระบบโซล่่าเซลล์์

118

4) ดํําเนิินการวิิเคราะห์์ดิินที่�่จะนํํามาเพาะปลููกพริิกหวาน ดิินที่่�ใช้้ใน
การปลููกเป็น็ ดินิ ในพื้้น� ที่ห�่ มู่่� 2 ตำบลโคกพระเจดีีย์แ์ ละเกษตรกรกำลัังเพาะพัันธุ์�
พริกิ หวานอยู่�ในขณะนี้้� ณ ปัจั จุบุ ันั ยัังไม่ม่ ีีปัญั หาและอุปุ สรรคที่จ่� ะทําํ ให้โ้ ครงการ
ไม่บ่ รรลุวุ ััตถุปุ ระสงค์์

119

การปรับั ปรุุงพัฒั นาเรืือหางยาวเพื่่�อช่ว่ ยเพิ่่�มรายได้้ให้้ชุมุ ชน
และลดปััญหาสิ่ง� แวดล้้อม

mprove and Develop a Long-Tail Boat
to Increase Revenue Gives the Community and

Environmental Problems-Reducing

คณะผู้ว้� ิจิ ััย:

อาจารย์์ ดร. ชานนท์์ บุญุ มีีพิิพิิธ
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ดร. กมลรรณ อููปเงินิ
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีพระจอมเกล้้าธนบุุรีี
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. ภููภููมิิ พ่ว่ งเจริิญชััย
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลพระนคร
ร่ว่ มกัับ วิสิ าหกิิจชุมุ ชนท่อ่ งเที่ย่� วเชิงิ เกษตรคลองมหาสวััสดิ์์�

วัตั ถุุประสงค์์ของการวิิจััย:

1. ปรัับปรุงุ พััฒนาเรือื หางยาวให้ใ้ ช้ไ้ ฟฟ้า้ ทดแทนน้้ำมัันเชื้อ� เพลิงิ สำหรัับ
การนำเที่ย่� วเชิิงเกษตร
2. พััฒนาองค์์ความรู้�้สู่่�ชุมชนผู้้�ใช้้งานและดููแลรัักษาได้้ด้้วยตนเองจน
เกิดิ ความยั่�งยืนื
3. สร้้างความตระหนัักและรัับผิิดชอบต่่ออััตลัักษณ์์ชุุมชนให้้เข้้มแข็็ง
เพื่่�อเป็็นการเพิ่่ม� รายได้้ และเป็น็ ผู้้น� ำสำนึกึ รัับผิดิ ชอบต่อ่ ท้้องถิ่�น

วิิธีีดำเนินิ การวิจิ ััย:

1. ปรัับปรุงุ พััฒนาเรือื หางยาวให้ใ้ ช้ไ้ ฟฟ้า้ ทดแทนน้้ำมัันเชื้อ� เพลิงิ สำหรัับ
การนำเที่�ย่ วเชิงิ เกษตร

120

2. พััฒนาองค์์ความรู้้�สู่่�ชุมชนผู้�้ใช้้งานและดููแลรัักษาได้้ด้้วยตนเองจน
เกิิดความยั่ �งยืนื
3. สร้้างความตระหนัักและรัับผิิดชอบต่่ออััตลัักษณ์์ชุุมชนให้้เข้้มแข็็ง
เพื่่�อเป็็นการเพิ่่ม� รายได้แ้ ละเป็น็ ผู้น้� ำสำนึกึ รัับผิิดชอบต่อ่ ท้้องถิ่�น

ผลการวิจิ ััย:

การท่อ่ งเที่ย่� วเชิงิ เกษตรวิถิ ีีชีีวิติ ชุมุ ชนริมิ คลองมหาสวััสดิ์์� ในพื้้น� ที่บ�่ ริเิ วณ
กลุ่�มลุ่�มน้้ำนครชััยศรีี จัังหวััดนครปฐม ได้้อาศััยสายน้้ำคลองมหาสวััสดิ์์�เป็็น
เส้้นทางคมนาคมสำหรัับการนำนัักท่่องเที่่�ยวได้้ศึึกษาเรีียนรู้�้ วิิถีีชีีวิิตชุุมชนที่�่ยััง
รัักษาความเป็็นธรรมชาติิตามวิิถีีชีีวิิตดัังเดิิมซึ่ �งได้้ก่่อตั้�้งเป็็นวิิสาหกิิจชุุมชน
เรือื นำเที่�ย่ วคลองมหาสวััสดิ์์ข�ึ้�นเป็็นระยะเวลานานกว่า่ 20 ปีี กระทั่่ง� ในปััจจุุบันั
เรืือนำเที่�่ยวยัังถููกกำหนดขนาดเรืือตามมาตราส่่วนของไทยสมััยครั้�้งก่่อน คืือ
เรือื ขนาด 3 วา 2 ศอก หมายถึึง เรือื ขนาดความยาว 7.5 เมตร และขนาด 4 วา
คืือ 8 เมตร และทุุกลำติิดตั้�้งเครื่�องยนต์์สัันดาปขนาดกำลััง 6.5 แรงม้้า ถึึง
13 แรงม้้า (4,849-9,658 วััตต์์) จากการศึึกษา พบว่่า ปััจจุุบัันเครื่�องยนต์์ใช้้
น้้ำมัันเป็็นเชื้ �อเพลิิงตลอดจนมีีการใช้้งานมาเป็็นระยะเวลายาวนานส่่งผลต่่อ
อุปุ กรณ์ต์ ่า่ ง ๆ เกิิดการชำรุุดเสีียหาย เช่น่ ท่อ่ ไอเสีียส่ง่ เสีียงดัังและคราบน้้ำมััน
รั่ว� ไหลลงแหล่ง่ น้้ำจากเพลาส่ง่ กำลัังที่ส่� ึกึ หรอ จากผลการพััฒนาใช้ม้ อเตอร์ไ์ ฟฟ้า้
เป็็นแหล่่งต้้อนกำลัังร่่วมกัับเครื่�องยนต์์ การใช้้งานมอเตอร์์ไฟฟ้้าจะไม่่ส่่งผล
กระทบต่่อสภาพแวดล้้อมเนื่่�องด้้วยไม่่มีีเสีียงดัังเกิินกฎหมายแรงงานกำหนด
และปริิมาณเชื้ �อเพลิิงจากฟอสซิิลลดลงจากการใช้้เครื่ �องยนต์์ที่่�ผสมผสานการ
ใช้ง้ านร่ว่ มกัับมอเตอร์ไ์ ฟฟ้า้ จะลดลง การปรัับเปลี่ย่� นใช้ว้ ััสดุทุ ี่เ่� หมาะสมกัับเพลา
ส่่งกำลัังทำให้้ไม่เ่ กิิดการรั่่ว� ไหลของสารหล่่อลื่น� ต่า่ ง ๆ ลงแหล่ง่ น้้ำ การสำรวจ
ความต้้องการของนัักท่่องเที่่�ยวแสดงผลไปในทิิศทางที่�่ดีีถึึงความเหมาะสมและ
ความน่า่ สนใจต่อ่ การปรัับเปลี่�ย่ นการใช้้งานเครื่อ� งยนต์์เป็น็ มอเตอร์์ไฟฟ้้า

121

122

การพัฒั นาแหล่ง่ เรีียนรู้้เ� กษตรอินิ ทรีีย์์ด้้วยแนวคิิดเกษตรอััจฉริยิ ะ
เพื่อ�่ ส่่งเสริิมการท่่องเที่�ยวเชิงิ เกษตรและถ่า่ ยทอดองค์ค์ วามรู้้�
สู่่ช� ุุมชนฐานราก
Developing the Organic Agriculture Training Center
with Smart Farm Concepts to Promote Agritourism

and Transfer Knowledge to the Foundation Communities

คณะผู้้�วิิจััย:

ดร. ปรางค์ท์ ิพิ ย์์ แก้ว้ เพ็็งกรอ
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
ดร. ติิณณภพ แพงผม
มหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล
นายจิริ ะศัักดิ์� พุกุ ดำ
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์
นายบุุญเลี้�ยง ข่่ายม่า่ น
สำนัักงานเกษตรจัังหวััดนครปฐม
ดร. ทศพล ทิิพย์์โพธิ์์�
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์
นายสถิิตเทพ สัังข์์ทอง
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. พรภวิิษย์์ บุญุ ศรีีเมือื ง
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏสวนสุนุ ัันทา
ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. เบญจวรรณ บวรกุุลภา
มหาวิิทยาลััยสยาม
ดร. วรรณรััตน์์ วััฒนานิมิ ิติ กููล

123

มหาวิิทยาลััยสยาม
ดร. พระมหาประกาศิติ ฐิิติปิ สิิทธิิกร
มหาวิทิ ยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย
ดร. พระปลััดประพจน์์ อยู่่�สำราญ
มหาวิทิ ยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิทิ ยาลััย
ร่ว่ มกัับ วิสิ าหกิจิ ชุมุ ชนเกษตรเมือื งนครปฐม (ไผ่ต่ อง สถานที่ท�่ ่อ่ งเที่ย่� ว)
หมู่่� 7 ตำบลหนองงูเหลือื ม อำเภอเมืือง จัังหวััดนครปฐม

วััตถุปุ ระสงค์ข์ องการวิจิ ััย:

1. เพื่่�อออกแบบและสร้า้ งระบบสููบน้้ำอััจฉริยิ ะ
2. เพื่่�อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการเพาะปลููกพืืชอิินทรีีย์์ด้้วยการเกษตร
แม่่นยำสููง
3. เพื่่อ� สร้า้ งแหล่ง่ เรีียนรู้�้ ต้น้ แบบชุมุ ชนท่อ่ งเที่ย่� วเกษตรอินิ ทรีีย์ย์ ุคุ ดิจิ ิทิ ััล
4. เพื่่�อหาความต้้องการของชุุมชนในการจััดกิิจกรรมท่่องเที่่�ยวใน
การส่ง่ เสริิมการท่อ่ งเที่�ย่ วตามแนวคิิดเกษตรอััจฉริยิ ะของวิิสาหกิจิ ชุุมชน
5. เพื่่�อจััดฝึึกอบรมความรู้�้การส่่งเสริิมการท่่องเที่�่ยวเชิิงเกษตรและ
ถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีีการเพาะปลููกพืชื อินิ ทรีีย์ด์ ้ว้ ยแนวคิดิ เกษตรอััจฉริยิ ะในพื้้น� ที่่�
จัังหวััดนครปฐม

วิิธีดี ำเนินิ การวิจิ ัยั :

1. ประชุมุ วางแผนการเพาะปลููกร่่วมกัับชุุมชน
2. จััดทำแผนระบบติิดตั้้�งเครื่�องสููบน้้ำอััจฉริยิ ะ
3. จััดทำแผนระบบอากาศยานไร้้คนขัับ (UAV)
4. กำหนดกรอบแนวคิิดเพื่่�อหาความต้้องการในการจััดกิิจกรรม
ท่่องเที่่�ยวในการส่่งเสริิมการท่่องเที่่�ยวตามแนวคิิดเกษตรอััจฉริิยะของวิสิ าหกิิจ
ชุุมชน

124

ผลการวิจิ ัยั :

เมื่่�อดำเนิินการโครงการเสร็็จสิ้�น วิิสาหกิิจชุุมชนจะได้้รัับความคุ้�มค่่า
ทางเศรษฐกิจิ ในระดัับต้น้ น้้ำจากการลงทุนุ ในโครงการ 300,000 บาท ประโยชน์์
ที่่�คาดว่่าจะได้้รัับทางตรง คืือ การขายเชิิงพาณิิชย์์ของระบบการเพาะปลููก
พืืชอิินทรีีย์์ การขายผลผลิิตพืืชผัักอิินทรีีย์์ที่�่มีีคุุณภาพสููง การเพิ่่�มมููลค่่าของ
ชุุมชนด้้วยการเปิิด Package การท่่องเที่�่ยวเชิิงเกษตรร่่วมกัับไร่่ในเครืือข่่าย
และสถานที่�่สำคััญในเมืืองนครปฐม และมีีการอบรมถ่่ายทอดเทคโนโลยีีการ
เพาะปลููกพืืชอิินทรีีย์์แก่่ผู้�้ สนใจทางการเกษตร สำหรัับประโยชน์์ทางอ้้อมที่�่
คาดว่่าจะได้้ คืือ การเกิิดสมาร์์ทฟาร์์มเมอร์์ตามตััวชี้�วััดของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์์ การเกิดิ การร่ว่ มมือื ระหว่า่ งหน่ว่ ยงาน (MOU) ส่ง่ เสริมิ กลไกความ
ร่่วมมืือในระบบเครืือข่่ายการวิิจััย และเกิิดแหล่่งเรีียนรู้้�เกษตรอิินทรีีย์์วิิถีี
ท่อ่ งเที่ย่� วใหม่่
ความเป็น็ ไปได้ท้ างการตลาดในการนำผลการวิจิ ััยไปต่อ่ ยอด/ขยายผล
ในอนาคตทำได้้แน่่นอนเพราะชุมุ ชนที่ร่� ่่วมในโครงการวิจิ ััยนี้้ค� ือื วิสิ าหกิิจชุมุ ชน
เกษตรเมืืองนครปฐม (ไผ่่ตอง สถานที่�่ท่่องเที่�่ยว) เป็็นวิิสาหกิิจที่่�มีีศัักยภาพสููง
เกิดิ จากการรวมตััวของเกษตรกรที่ม่� ีีความรัักในสุขุ ภาพและการปลููกผัักเป็น็ ชีีวิติ
จิิตใจ วิิสาหกิิจชุุมชนนอกจากมีีพื้้�นที่่�ในไผ่่ตอง สถานที่่�ท่่องเที่่�ยว ยัังมีีอีีก
หลายส่่วนที่่�สามารถนำไปต่่อยอดได้้อีีก อาทิิเช่่น ไร่่มััชณิิมา ไร่่ที่่�บ้้าน ไร่่บ้้าน
สวนกิโิ ล 5 ไร่่อินิ ทผลััม ไร่บ่ ้า้ นสวนสานฝััน เป็น็ ต้น้ อีีกทั้ง�้ ยัังมีีความร่ว่ มมืือจาก
หลายหน่ว่ ยงานที่ส่� นัับสนุนุ วิสิ าหกิจิ ชุมุ ชนอยู่� เช่น่ กรมการท่อ่ งเที่ย�่ ว กระทรวง
การท่อ่ งเที่่�ยวและกีีฬา เกษตรจัังหวััดนครปฐม และหน่่วยงานที่ร�่ ่่วมดำเนินิ ชุดุ
โครงการวิิจััยนี้้� เชื่�อมั่่�นว่่าสามารถนำงานวิิจััยไปต่่อยอดขยายผลได้้ในอนาคต
จากการดำเนินิ ตลอดชุดุ โครงการวิจิ ััยสามารถตอบวััตถุปุ ระสงค์ข์ องงานวิจิ ััยได้้
เกือื บทุุกข้อ้ แม้้ว่า่ จะเกิิดปััญหาของการแพร่่ระบาดของไวรััส COVID-19
โครงการวิิจััยที่�่ 1 “บููรณาการระบบสููบน้้ำอััจฉริิยะและอากาศยาน
ไร้้คนขัับร่่วมกัับการเกษตรแม่่นยำสููงเพื่่�อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการเพาะปลููกพืืช

125

มาตรฐานอินิ ทรีีย์”์ สามารถออกแบบและสร้า้ งระบบสููบน้้ำอััจฉริยิ ะที่ข่� ัับเคลื่อ� น
ระบบด้้วยพลัังงานแสงอาทิิตย์์ สามารถเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการเพาะปลููก
พืชื อินิ ทรีีย์โ์ ดยการนำอากาศยานไร้ค้ นขัับมาผนวกกัับระบบสมาร์ท์ ฟาร์ม์ ที่ม่� ีีอยู่�
ในแปลงทดสอบ 1 ไร่่ 1 งาน และ สามารถสร้้างแหล่่งเรีียนรู้�้ ต้้นแบบในการใช้้
อากาศยานไร้ค้ นขัับและพลัังงานสะอาดจากแสงอาทิติ ย์ใ์ นการทำเกษตรอินิ ทรีีย์์
โครงการวิิจััยที่�่ 2 “ส่่งเสริิมการท่่องเที่่�ยวเชิิงเกษตรและถ่่ายทอด
เทคโนโลยีีการเพาะปลููกพืืชอิินทรีีย์์ด้้วยแนวคิิดเกษตรอััจฉริิยะในพื้้�นที่่�
จัังหวััดนครปฐม” สามารถเข้้าไปในชุุมชนและได้้ข้้อสรุุปในการจััดกิิจกรรม
ท่่องเที่่�ยวในการส่่งเสริิมการท่่องเที่�่ยว อย่่างไรก็็ตามวััตถุุประสงค์์ข้้อสุุดท้้าย
ปััจจุุบัันยัังไม่่สามาถรถจััดการฝึึกอบรมความรู้�้การส่่งเสริิมการท่่องเที่�่ยว
เชิิงเกษตรและถ่่ายทอดเทคโนโลยีีการเพาะปลููกพืืชอิินทรีีย์์ได้้เนื่่�องจากการ
แพร่ร่ ะบาดของไวรััส COVID-19 แต่่ในเดือื นหน้้าถ้า้ สถานการณ์์ยัังไม่่ดีีขึ้้น� และ
ไม่่อาจสามารถจััดแบบ face to face ได้้จะพิิจารณาปรัับเปลี่่�ยนเป็็นแบบ
online แทน

126

การจััดการปุ๋๋ย� แบบแม่น่ ยำร่่วมกับั การจััดการน้้ำแบบเปียี กสลับั แห้้ง
เพื่่�อเพิ่่�มสมรรถนะการผลิิต และลดผลกระทบทางด้้านสิ่�งแวดล้้อม

ของระบบการผลิิตข้้าว
A Combination of Precision Fertilizer Management Practices
and Alternate Wetting/Drying Water Management Practices

to Improved Productivity and Reduced Environmental
Impacts of Rice Production Systems

คณะผู้้�วิจิ ัยั :

รองศาสตราจารย์อ์ ุไุ รวรรณ ไอยสุุวรรณ์์
มหาวิทิ ยาลััยศิลิ ปากร วิทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุุรีี
ดร. จีีระศัักดิ์� ชอบแต่่ง
สำนัักพััฒนาอาหารสััตว์์ กรมปศุุสััตว์์
ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. วิไิ ลวรรณ สิริ ิิโรจนพุฒุ ิิ
มหาวิทิ ยาลััยศิิลปากร วิิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุุรีี
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร. ธนวดีี พรหมจัันทร์์
มหาวิทิ ยาลััยศิิลปากร วิทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุุรีี
อาจารย์์ ดร. ธีีระยุทุ ธ คล้้ำชื่น�
มหาวิิทยาเทคโนโลยีีราชมงคลธััญบุรุ ีี
อาจารย์์ ดร. ศิิริิวรรณ แดงฉ่่ำ
มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏเพชรบุุรีี
นายบรรพต มามาก
ศููนย์เ์ รีียนรู้ก�้ ารเพิ่่ม� ประสิทิ ธิภิ าพการผลิติ สินิ ค้า้ เกษตร อำเภอบ้า้ นลาด
จัังหวััดเพชรบุรุ ีี
ร่ว่ มกัับ กลุ่�มนาแปลงใหญ่่ จัังหวััดเพชรบุรุ ีี และวิสิ าหกิจิ ชุมุ ชนศููนย์ข์ ้า้ ว
ชุมุ ชนตำบลไร่่มะขาม จัังหวััดเพชรบุุรีี

127

วััตถุปุ ระสงค์ข์ องการวิิจััย:

1. เพื่่�อให้ท้ ราบถึงึ การเจริญิ เติบิ โต องค์ป์ ระกอบผลผลิิต และผลผลิิต
ข้้าว รวมทั้�้งปริิมาณน้้ำที่่�ใช้้ และการประหยััดน้้ำตลอดฤดููกาลปลููกเมื่�อมีี
การจััดการปุ๋๋�ยโดยใช้้แอพพลิิเคชััน all-rice1 ร่่วมกัับการจััดการน้้ำแบบเปีียก
สลัับแห้้ง ในชุดุ ดิินสำคััญของจัังหวััดเพชรบุรุ ีี
2. เพื่่�อเปรีียบเทีียบผลผลิิต ต้้นทุุนการผลิิต และผลกระทบทางด้้าน
สิ่�งแวดล้้อมระหว่่างระบบการปลููกข้้าวที่่�ใช้้แอพพลิิเคชััน all-rice1 ร่่วมกัับ
การจััดการน้้ำแบบเปีียกสลัับแห้ง้ และระบบของเกษตรกร
3. เพื่่�อให้้ได้้ข้้อมููลประกอบเชิิงนโยบายวางแผนการจััดการปุ๋๋�ยและน้้ำ
สำหรัับการผลิติ ข้้าวที่ล�่ ดผลกระทบต่อ่ สิ่�งแวดล้้อม

วิธิ ีดี ำเนินิ การวิิจััย:

1. ศึกึ ษาการเจริญิ เติิบโต องค์ป์ ระกอบผลผลิิต และผลผลิิตข้้าว เมื่่อ� มีี
การจััดการปุ๋๋�ยโดยใช้้แอพพลิิเคชััน all-rice1 ร่่วมกัับการจััดการน้้ำแบบเปีียก
สลัับแห้ง้ ในชุดุ ดิินสำคััญที่่ใ� ช้ป้ ลููกข้้าวของจัังหวััดเพชรบุรุ ีี
2. คำนวณปริิมาณน้้ำที่�่ใช้้ต่่อรอบการผลิิต เมื่�อมีีการจััดการน้้ำที่�่
แตกต่่างกัันในชุุดดิินต่่าง ๆ
3. นำข้อ้ มููลปรัับใช้เ้ ป็น็ แนวทางการจััดการดินิ และน้้ำที่เ�่ หมาะสมสำหรัับ
การผลิติ ข้้าวในกลุ่�มชุดุ ดิินต่่าง ๆ ที่่�ใช้้ปลููกข้้าวของจัังหวััดเพชรบุรุ ีี
4. นำองค์ค์ วามรู้ท้� ี่ไ�่ ด้เ้ ผยแพร่ส่ ู่่�ชุมชน และหน่ว่ ยงานต่า่ ง ๆ ที่เ่� กี่ย�่ วข้อ้ ง
5. เปรีียบเทีียบผลกระทบทางด้้านสิ่�งแวดล้้อมระหว่่างการใส่่ปุ๋๋�ยตาม
แอปพลิเิ คชััน all-rice1 ร่ว่ มกัับจััดการน้้ำแบบเปียี กสลัับแห้ง้ กัับวิธิ ีีของเกษตรกร
6. เปรีียบเทีียบการเจริิญเติิบโตองค์์ประกอบผลผลิิต ผลผลิิต และ
ลัักษณะทางเศรษฐศาสตร์์ระหว่่างการใส่่ปุ๋๋�ยตามแอปพลิิเคชััน all-rice1 ร่่วม
กัับจััดการน้้ำแบบเปีียกสลัับแห้้งกัับวิธิ ีีของเกษตรกร

128

ผลการวิจิ ัยั :

การจััดการปุ๋๋�ยและน้้ำที่�่มีีประสิิทธิิภาพ เหมาะสมกัับสภาพดิินใน
การปลููกข้้าวถืือเป็็นปััจจััยสำคััญที่่�จะเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการผลิิตข้้าว ดัังนั้�้น
การจััดการปุ๋๋�ยแบบแม่่นยำร่่วมกัับการจััดการน้้ำแบบเปีียกสลัับแห้้งเพื่่�อเพิ่่�ม
สมรรถนะการผลิติ และลดผลกระทบทางด้า้ นสิ่ง� แวดล้อ้ มของระบบการผลิติ ข้า้ ว
จึึงประกอบด้ว้ ย 2 โครงการย่อ่ ย ดัังนี้้�
โครงการย่่อยที่�่ 1 มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อเปรีียบเทีียบการเจริิญเติิบโต
ผลผลิิตและองค์์ประกอบผลผลิิต รวมถึึงปริิมาณและประสิิทธิิภาพการใช้้น้้ำ
สำหรัับการผลิิตข้า้ วพัันธุ์์�ปทุุมธานีี 1 ที่่�ปลููกในดินิ ชุดุ ต่า่ ง ๆ จำนวน 3 ชุดุ ดินิ
หลัักของจัังหวััดเพชรบุรุ ีี ได้ร้ ัับการจััดการน้้ำที่แ�่ ตกต่า่ งกััน 2 รููปแบบ และได้ร้ ัับ
การจััดการปุ๋๋ย� ตามปริมิ าณที่ค่� ำนวณด้ว้ ยแอพพลิเิ คชั่น� All-rice1 เป็น็ การทดลอง
ในกระถาง โดยในแต่่ละชุุดดิินมีีวางแผนการทดลองแบบการเปรีียบเทีียบ
ประชากร 2 กลุ่�ม (group comparison t-test) สิ่ง� ทดลอง คือื รููปแบบการ
จััดการน้้ำที่่�แตกต่่างกััน 2 รููปแบบ ได้แ้ ก่่ 1) การจััดการน้้ำแบบเปีียกสลัับแห้้ง
และ2) การจััดการน้้ำแบบท่่วมขััง (รัักษาระดัับน้้ำให้้มีีการท่่วมขัังตลอดระยะ
เวลาการปลููก) ผลการทดลอง พบว่่า การตอบสนองของข้้าวด้้านลัักษณะการ
เจริญิ เติบิ โตแตกต่า่ งกัันไปตามชุดุ ดินิ ในชุดุ ดินิ เพชรบุรุ ีีการจััดการน้้ำที่แ�่ ตกต่า่ ง
กัันไม่่มีีผล (P>0.05) ต่่อความสููงเฉลี่�่ยที่่�ทุุกช่่วงอายุุของต้้นข้้าว แต่่ในชุุดดิิน
สมุุทรปราการและชุุดดิินรัังสิิต การจััดการน้้ำท่่วมทำให้้ข้้าวมีีลำต้้นสููงกว่่า
(P<0.05) การจััดการน้้ำแบบเปีียกสลัับแห้้ง โดยเฉพาะในช่่วงหลัังจากระยะ
เจริิญเติิบโตการตั้�้งท้้อง อย่่างไรก็็ตาม การจััดการน้้ำที่่�แตกต่่างกััน ไม่่มีีผลต่่อ
(P>0.05) จำนวนต้น้ ต่อ่ กอ จำนวนรวงต่อ่ กอ จำนวนเมล็ด็ ต่อ่ รวง น้้ำหนัักเมล็ด็
ดีี 100 เมล็็ด ร้้อยละของเมล็็ดดีี และน้้ำหนัักผลผลิิตข้้าวเปลืือกของข้้าว
การจััดการน้้ำแบบเปีียกสลัับแห้้งในชุุดดิินสมุุทรปราการ ชุุดดิินเพชรบุุรีี และ
ชุดุ ดิินรัังสิิต สามารถประหยััดน้้ำได้ถ้ ึงึ 20.44 19.79 และ 18.96 เปอร์์เซ็็นต์์
และมีีประสิิทธิิภาพการใช้้น้้ำเพิ่่�มขึ้�น 21.21 18.15 และ 20.48 เปอร์์เซ็็นต์์

129

ตามลำดัับ เมื่อ� เทีียบกัับการจััดการน้้ำแบบท่ว่ มขััง สรุปุ ได้ว้ ่า่ การจััดการน้้ำแบบ
เปีียกสลัับแห้้งช่่วยประหยััดน้้ำสำหรัับการทำนาโดยไม่่ส่่งผลกระทบต่่อการให้้
ผลผลิิตของข้้าวพัันธุ์์�ปทุุมธานีี 1 ที่่�ปลููกในชุุดดิินหลัักของจัังหวััดเพชรบุุรีีและ
ได้้รัับการจััดการปุ๋๋�ยตามค่่าวิิเคราะห์์ดิินที่่�แนะนำโดยแอพพลิิเคชั่�น All-rice1
ซึ่�งนัับเป็็นแนวทางหนึ่่ง� ที่ช�่ ่ว่ ยให้้การปลููกข้้าวมีีความยั่�งยืนื
โครงการย่่อยที่�่ 2 การเปรีียบเทีียบผลผลิิต ต้้นทุุนการผลิิตและ
ผลกระทบทางด้า้ นสิ่ง� แวดล้อ้ มระหว่า่ งระบบการปลููกข้า้ วที่ม่� ีีการจััดการปุ๋๋ย� แบบ
แม่น่ ยำโดยใช้แ้ อพพลิเิ คชััน all-rice1 ร่ว่ มกัับการจััดการน้้ำแบบเปียี กสลัับแห้ง้
(All-rice1 + AWD) และระบบการปลููกข้้าวของเกษตรกรในพื้้น� ที่�ช่ ลประทาน
(F) สรุุปได้้ว่่า จััดการปุ๋๋�ยแบบแม่่นยำโดยใช้้แอพพลิิเคชััน All-rice1 ร่่วมกัับ
การจััดการน้้ำแบบเปีียกสลัับแห้้ง ทำให้้ต้้นทุุนการผลิิตรวมทั้�้งหมดลดลงถึึง
563.96 บาทต่อ่ ไร่่ แต่ส่ ่่งผลให้้จำนวนรวงต่อ่ ตารางเมตรและผลผลิติ ต่่อไร่ข่ อง
ข้้าวเปลืือกเพิ่่�มขึ้�นร้้อยละ 15.75 และ 9.21 ตามลำดัับ เกษตรกรจึึงมีีรายได้้
และกำไรสุุทธิิ เพิ่่�มขึ้�น เป็็น 359.14 และ 923.08 บาทต่่อไร่่ ตามลำดัับ
เมื่่อ� เทีียบกัับการจััดการปุ๋๋ย� และน้้ำตามวิธิ ีีของเกษตรกร นอกจากนี้้ต� ััวชี้�วััดทาง
ด้า้ นสิ่ง� แวดล้อ้ มของข้า้ วที่ม�่ ีีการจััดการแบบ F มีีค่า่ สููงกว่า่ ของข้า้ วแบบ All-rice1
+ AWD ส่ว่ นใหญ่เ่ กิิดจากการใส่่ปุ๋๋�ยเคมีีในปริมิ าณมากแต่่ผลผลิิตข้า้ วเปลือื กไม่่
ได้้เพิ่่ม� ขึ้น� ตามปริิมาณการใส่่ปุ๋๋ย� ที่่เ� พิ่่�มขึ้น�

“เกษตรยุุคใหม่ใ่ ส่่ใจใช้้เทคโนโลยีี สร้้างเสถีียรภาพที่่�ดีี ต่่อชีีวิิตและ
สิ่ �งแวดล้้อม”

130

131

โครงการการศึึกษาศัักยภาพเพื่�่อยกระดัับการพััฒนา
เชิงิ พื้้น� ที่ข� องเครืือข่่าย (Preliminary Research)

โครงการพััฒนาเครืือขายสถาบัันอุดุ มศึกึ ษา
เพื่�อ่ การวิิจัยั และนวััตกรรมเพื่�่อถายทอดเทคโนโลยีี

สู่ช่� ุมุ ชนฐานราก ประจำปีงี บประมาณ 2564
สํํานักั งานปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษา วิทิ ยาศาสตร

วิิจัยั และนวัตั กรรม

การพัฒั นารููปแบบการจัดั ทองเที่ย� วเชิงิ สุขุ ภาพของชุุมชนกํําแพงแสน
จังั หวััดนครปฐม

คณะผู้ว�้ ิิจัยั :

รองศาสตราจารย ดร.ตอ ศัักดิ์� แกวจรััสวิไิ ล
มหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์ วิิทยาเขตกําํ แพงแสน
ผููชวยศาสตราจารย ดร.สุุกััญญา รััตนทัับทิมิ ทอง
มหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์ วิทิ ยาเขตกําํ แพงแสน
ผููชวยศาสตราจารยก ฤษณะ จัันทรโชติิ
มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์ วิิทยาเขตกําํ แพงแสน
ดร.กนิษิ ฐา เชาววัฒนะกุลุ
มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์ วิทิ ยาเขตกํําแพงแสน
พื้้น� ที่ด่� ําํ เนินิ การ: ตําํ บลกําํ แพงแสน อําํ เภอกําํ แพงแสน จัังหวััดนครปฐม

วััตถุปุ ระสงค์ข์ องการวิจิ ัยั :

1. เพื่่�อศึึกษาสภาพการจััดการทองเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพ ของชุุมชน
กําํ แพงแสน จัังหวััดนครปฐม
2. เพื่่�อพััฒนารููปแบบการจััดการทองเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพของชุุมชน
กํําแพงแสน จัังหวััดนครปฐม

วิธิ ีดี ำเนินิ การวิจิ ััย:

1. ศึึกษาขอมููลพื้้�นฐานสถานที่่�ทองเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพของชุุมชนกํําแพง
แสน จัังหวััดนครปฐม
2. พััฒนารููปแบบการจััดการทองเที่ย�่ วเชิงิ สุขุ ภาพของชุมุ ชุนุ กําํ แพงแสน
จัังหวััดนครปฐม

133

ผลการวิิจััย:

การวิิจััยครั้้�งนี้้�มีีวััตถุุประสงคเพื่่�อศึึกษาสภาพและพััฒนารููปแบบ
การจััดการทองเที่�่ยวเชิิงสุุขภาพของชุุมชนกํําแพงแสน จัังหวััดนครปฐม
กลุมุ ตััวอยา งที่ใ่� ชใ นการวิจิ ััย ไดแ ก ประชาชนอายุุ 18 ขึ้น� ไป ที่อ่� าศััยอยูในตําํ บล
กําํ แพงแสน อํําเภอกํําแพงแสน จัังหวััดนครปฐม จํํานวน 400 คน โดยวิิธีีการ
สุุมตััวอย่่างแบบบัังเอิิญ และผููบริิหาร สถานที่�่ทองเที่�่ยวในตํําบลกํําแพงแสน
อําํ เภอกําํ แพงแสน จัังหวััดนครปฐม จําํ นวน 28 คน โดยการคััดเลือื กแบบเจาะจง
เครื่อ� งมือื ที่ใ�่ ชใ นการวิจิ ััย ประกอบดว ย 1) แบบสอบถามความคิดิ เห็น็ ตอ การจััด
การทองเที่ย่� วเชิงิ สุขุ ภาพของชุมุ ชนกําํ แพงแสน จัังหวััดนครปฐม 2) รููปแบบการ
จััดการทองเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพของชุุมชนกํําแพงแสน จัังหวััดนครปฐม และ
3) แบบสอบถามความคิิดเห็็นต่่อรููปแบบการจััดการทองเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพของ
ชุุมชนกํําแพงแสน จัังหวััดนครปฐม ที่่�ผููวิิจััยสรางขึ้�นและหาคุุณภาพ
โดยผูเชี่่�ยวชาญตรวจสอบความเที่�่ยตรงเชิิงเนื้้�อหา สถิิติิที่�่ใชในการวิิจััย ไดแก
คารอยละ คา เฉลี่�่ย และสวนเบี่ย�่ งเบนมาตรฐาน
ผลการวิิจััย พบวา 1) สถานที่่�ทองเที่่�ยวเชิิงสุุขภาพของชุุมชน
กําํ แพงแสน จัังหวััดนครปฐม ประกอบด้ว้ ย 7 แหง ไดแก สวนนวััตกรรมการ
ออกกำลัังกายเพื่่�อสุุขภาพและการทองเที่�่ยวผจญภััยเชิิงนิิเวศ อุุทยานแมลง
เฉลิิมพระเกีียรติิพระบาทสมเด็็จพระเจาอยููหััว ศููนยวิิจััยและพััฒนาพืืชผััก
เขตรอน ศููนยวิิจััยและพััฒนาวิิทยาศาสตรการกีีฬา ศููนยศิิลปวััฒนธรรม
และนวััตกรรมทางการศึึกษามวยไทย เรืือนเกษตรภิิรมยถนนชมพููพัันธุุทิิพย
2) รููปแบบการจััดการทองเที่ย่� วเชิงิ สุขุ ภาพของชุมุ ชนกําํ แพงแสน จัังหวััดนครปฐม
ประกอบดวย 4 ดา น ไดแ ก ดา นการวางแผน ดานการจััดองคก าร ดา นการนํํา
ไปปฏิบิ ััติิ และด้า้ นการควบคุมุ ผููวิจิ ััยพััฒนาขึ้น� โดยผา นการรัับรองและปรัับปรุงุ
แกไ ข ทําํ ใหไดรููปแบบที่ม�่ ีีประสิทิ ธิภิ าพ สามารถนําํ ไปใชใ นการจััดการทองเที่ย�่ ว
เชิงิ สุขุ ภาพของชุมุ ชนกําํ แพงแสน จัังหวััดนครปฐมได

134

135

แนวทางการบููรณาการภููมิิปััญญาพื้้�นถิ่น� เพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ ศัักยภาพ
การท่อ่ งเที่ย� วเชิงิ สุขุ ภาพ อำเภอสามร้้อยยอด จัังหวัดั ประจวบคีรี ีีขันั ธ์์
คณะผู้ว้� ิิจัยั :

ดร. ธนภััทร สีีสดใส
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์ วิทิ ยาเขตวัังไกลกัังวล
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร.บำเพ็็ญ ไมตรีีโสภณ
มหาวิทิ ยาลััยนานาชาติิแสดมฟอร์์ด
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. กาญจนา พัันธุ์�เอี่่�ยม
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์ วิทิ ยาเขตวัังไกลกัังวล
นางสาวสุุภาพร เพชรััตน์ก์ ููล
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์ วิิทยาเขตวัังไกลกัังวล
นายสุุริิยา คีีรีีนิิล
สำนัักงานสาธารณสุขุ อำเภอสามร้อ้ ยยอด อำเภอสามร้อ้ ยยอด จัังหวััด
ประจวบคีีรีีขัันธ์์
นายนริินทร์์ สีีงาม
รพสต.ไร่เ่ ก่า่ ตำบลไร่เ่ ก่่า อำเภอสามร้้อยยอด จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์
นางสาวรัักษิณิ า สุกุ สีี
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์ วิิทยาเขตวัังไกลกัังวล
นางสาวนััฐพร โชติิมณีีพิทิ ัักษ์์
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์ วิิทยาเขตวัังไกลกัังวล
พื้้�นที่่�ดำเนิินการ: อุุตสาหกรรมการท่่องเที่่�ยว อำเภอสามร้้อยยอด
จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์

136


Click to View FlipBook Version