The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสรเางและแผนการสอนวิทยาศาสตร์ ป.5 เทอม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by radarin.miw555, 2022-05-04 20:57:56

โครงสร้างและแผนการสอนวิทยาศาสตร์ ป.5 เทอม1

โครงสรเางและแผนการสอนวิทยาศาสตร์ ป.5 เทอม1

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5

แผนกประถมศึกษา
โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา

โครงสรา้ งการสอน วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา ……… เวลา 80 ช่ัวโมง

หน่วยที่ ช่ือเร่ือง มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั
ตวั ช้ีวัด (ชั่วโมง) คะแนน
5 การเปล่ียนสถานะ
การ มาตรฐาน ว 2.1 สสารท่ีอยู่รอบตัวเรามี 10
เปลี่ยนแ
ปลง เข้าใจสมบัติของสสาร หลายชนิด สสารแต่ละชนิดที่ ส.1-3

อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ส ส า ร พบในชีวิตประจาวันอาจมี

ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ สถานะเป็นของแข็ง ของเหลว

ของสสารกับ โครงสร้างและ หรือแก๊ส ซ่ึงสสารอาจเปล่ียน

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค จากสถานะ

หลักและธรรมชาติของการ

เปล่ียนแปลง สถาน ะของ

สสาร การเกิดสารละลาย

และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

ป.5/1 อธิบายการเปล่ียน
สถานะของสสาร เม่ือทาให้
สสารร้อนข้ึนหรือเย็นลง โดย
ใชห้ ลกั ฐาน

โครงสร้างการสอน วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา …….. เวลา 80 ชว่ั โมง

หนว่ ยที่ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
เรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
5
การ การละลาย มาตรฐาน ว 2.1 การละลายเปน็ การเปลีย่ น 8
เปลย่ี น
แปลง เข้าใจสมบัติของสสาร แปลงทางกายภาพของสารที่ ส.3-5

อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ส ส า ร เกิดขึ้นจากการนาสารใส่ลง

ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ในน้า แล้วสารนั้นผสมรวม

ของสสารกับ โครงสร้างและ กับนา้ อยา่ งกลมกลืนจนมอง

แรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค เห็นเป็นเน้ือเดียวกันทุกส่วน

หลักและธรรมชาติของการ โดยสารท่ไี ด้ยังคงเป็นสาร

เปลี่ยนแปลง สถาน ะของ เดิม เรียกว่า สารละลาย

สสาร การเกิดสารละลาย โดยสารต่างๆ อาจอยู่ใน

และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี สถานะของแข็ง ของเหลว

หรือแก๊ส ซึ่งสารบางชนิด

ป.5/2 อธบิ ายการละลาย ละลายน้าได้ ส่วนสารบาง

ของสารในน้าโดยใช้หลักฐาน ชนิดไม่สามารถละลายน้าได้

เชงิ ประจกั ษ์ แตส่ ามารถละลายในสาร

ละลายอืน่ ไดแ้ ทน

โครงสร้างการสอน วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา ……. เวลา 80 ชั่วโมง

หนว่ ยที่ ชือ่ เร่ือง มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก
ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
6
แหล่งนา้ มาตรฐาน ว 3.2 โลกขอ งเรามีน้ าป ก 8
และลม
แหล่งนา้ บนโลก เข้าใจองค์ประกอบ และ คลุมเป็นสว่ นใหญ่ของพน้ื ผวิ ส.9-10
ฟ้า
อากาศ ความสัมพั น ธ์ของระบบ โลก โลกทั้งหมด โดยมีท้ังแหล่ง

กระบวนการเปล่ียนแปลงภายใน นา้ เคม็ และแหล่งนา้ จืด ซ่งึ มี

โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย ความสาคัญตอ่ การดารงชวี ิต

กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า ของส่ิงมีชีวิต เราจึงต้องใช้

อากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ัง นา้ อย่างประหยดั และคุ้มคา่

ผลต่อสงิ่ มชี ีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม

ป.5/1 เปรียบเทยี บปรมิ าณน้า 10
ในแตล่ ะแหลง่ และระบปุ ริมาณ
น้าทีม่ นุษยส์ ามารถนามาใช้
ประโยชนไ์ ด้จากข้อมูลท่รี วบรวม
ได้

ป.5/2 ตระหนักถึงคุณคา่ ของ
นา้ โดยนาเสนอแนวทางการใชน้ ้า
อยา่ งประหยัดและการอนุรกั ษ์นา้

ประเมนิ ผลกลางภาค ภาคเรียนท่ี 2

โครงสรา้ งการสอน วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา ……. เวลา 80 ช่ัวโมง

หน่วยที่ ชอ่ื เร่ือง มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
ตวั ช้วี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน
6 การเกดิ เมฆและ
แหล่งนา้ หมอก มาตรฐาน ว 3.2 เมฆ เกิดจากไอน้าในอากาศ 6
และลม
เข้าใจองค์ป ระก อ บ และ จะควบแน่นเป็นละอองน้า ส.11-12
ฟ้า
อากาศ ความสัมพั น ธ์ของระบบ โลก เลก็ ๆ โดยมีละอองลอย
กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน เช่น เกลอื ฝนุ่ ละออง
การเกดิ นา้ ค้างและ
น้าคา้ งแขง็ โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย ละอองเรณูของดอกไม้ เป็น

กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้า อนภุ าคแกนกลาง เมอื่

อากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้ัง ละอองนา้ จานวนมากเกาะ

ผลต่อสงิ่ มีชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม กลุ่มรวมกันลอยอยสู่ งู จาก
พน้ื ดนิ มาก แตล่ ะอองนา้ ท่ี

ป.5/4 เปรยี บเทียบกระบวนการ เกาะกลุ่มรวมกันลอยอยใู่ กล้

เกิดเมฆ หมอก นา้ คา้ ง และ พ้นื ดนิ เรียกวา่ หมอก

นา้ คา้ งแขง็ จากแบบจาลอง

มาตรฐาน ว 3.2 ไอนา้ ทค่ี วบแนน่ เปน็ ละออง 5

เข้าใจองคป์ ระกอบ และ นา้ เกาะอยู่บนพ้นื ผวิ วัตถุ ส.12-13

ความสมั พนั ธข์ องระบบโลก ใกลพ้ ื้นดิน เรยี กว่า นา้ คา้ ง

กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายใน ถา้ อุณหภมู ใิ กลพ้ ืน้ ดิน

โลก และบนผวิ โลก ธรณีพบิ ตั ภิ ยั ตา่ กว่าจุดเยอื กแขง็ น้าค้างก็

กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ จะกลายเปน็ น้าค้างแข็ง

อากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมท้งั

ผลตอ่ สง่ิ มชี วี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม

ป.5/4 เปรียบเทียบกระบวนการ
เกิดเมฆ หมอก นา้ ค้าง และ
น้าค้างแข็ง จากแบบจาลอง

โครงสรา้ งการสอน วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา …….. เวลา 80 ชัว่ โมง

หน่วยท่ี ชื่อเร่ืง มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก
ตวั ช้ีวดั (ชัว่ โมง) คะแนน
6 การเกิดหยาดนา้ ฟา้
แหลง่ น้า มาตรฐาน ว 3.2 ฝนเกดิ ไอน้าในอากาศ 6
และลม
เข้าใจองคป์ ระกอบ และ ควบแนน่ เป็นละอองน้า ส.13-15
ฟ้า
อากาศ ความสมั พนั ธข์ องระบบโลก เล็ก ๆ เม่ือละอองนา้

กระบวนการเปลยี่ นแปลงภายใน จานวนมากในเมฆรวม

โลก และบนผวิ โลก ธรณีพิบตั ิภยั ตัวกนั จนอากาศไม่

กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ สามารถพยุงไวไ้ ด้จงึ ตก

อากาศและภูมิอากาศโลก รวมทง้ั ลงมาเปน็ ฝน หิมะเกดิ

ผลตอ่ ส่ิงมชี ีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม จากไอน้าในอากาศ

ระเหิดกลบั เป็นผลึก

ป.5/5 เปรียบเทยี บกระบวน นา้ แขง็ รวมตวั กันจนมี
การเกดิ ฝน หมิ ะ และลกู เหบ็ นา้ หนักมากขึ้นจนเกนิ
จากขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้ กว่าอากาศจะพยงุ ไว้จึง
ตกลงมา ลกู เห็บเกิดจาก

หยดน้าทีเ่ ปลยี่ นสถานะ

เป็นน้าแขง็ แล้วถกู พายุ

พดั วนซ้าไปซ้ามาในเมฆ

ฝนฟ้าคะนองท่มี ีขนาด

ใหญ่และอย่ใู นระดับสงู

จนเปน็ กอ้ นนา้ แข็งขนาด

ใหญข่ นึ้ แล้วตกลงมา

โครงสร้างการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา ……… เวลา 80 ชัว่ โมง

หน่วยที่ ชอื่ เรื่อง มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
ตวั ชีว้ ดั (ช่ัวโมง) คะแนน
6 วัฏจักรนา้
แหล่งน้า มาตรฐาน ว 3.2 ฝนเกิดไอน้าในอากาศ 6
และลม
ฟ้า เข้าใจองคป์ ระกอบ และ ควบแน่นเป็นละอองน้า ส.15-16
อากาศ
ความสมั พนั ธข์ องระบบโลก เลก็ ๆ เม่ือละอองนา้

กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายใน จานวนมากในเมฆรวม

โลก และบนผิวโลก ธรณพี บิ ัติภัย ตวั กันจนอากาศไม่

กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ สามารถพยุงไวไ้ ด้จึงตกลง

อากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมท้งั มาเป็นฝน หมิ ะเกิดจากไอ

ผลต่อสิง่ มชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม นา้ ในอากาศระเหดิ กลบั

เป็นผลกึ น้าแข็ง รวมตวั กนั

ป.5/3 สร้างแบบจาลองที่ จนมีนา้ หนกั มากขึ้นจนเกิน

อธบิ ายการหมนุ เวียนของน้า กว่าอากาศจะพยงุ ไวจ้ งึ ตก

ในวฏั จกั รของน้า ลงมา ลูกเห็บเกดิ จากหยด

นา้ ท่ีเปล่ยี นสถานะเป็น

นา้ แข็ง แลว้ ถกู พายพุ ัดวน

ซ้าไปซา้ มาในเมฆฝนฟ้า

คะนองทีม่ ขี นาดใหญ่และ

อยใู่ นระดับสงู จนเป็นก้อน

นา้ แขง็ ขนาดใหญ่ข้ึนแล้ว

ตกลงมา

โครงสร้างการสอน วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา …….. เวลา 80 ช่วั โมง

หน่วยที่ ชอื่ เร่ือง มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก
ตัวช้วี ดั (ชัว่ โมง) คะแนน
7 ดาวฤกษ์และดาว
ดาว เคราะห์ มาตรฐาน ว 3.1 ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้า 6
เคราะห์
บน เข้าใจองค์ประกอบ อยู่ในอวกาศซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่ ส.16-17
ทอ้ งฟา้
ลักษณะ กระบวนการเกิด นอกบรรยากาศของโลก มีทั้ง

และวิวัฒนาการของเอกภพ ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ดาว

กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบ ฤกษ์เป็นแหล่งกาเนิดแสงจึง

สุริยะ รวมทั้งป ฏิสัมพั น ธ์ สามารถมองเห็นได้ ส่วนดาว

ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อ เคราะห์ไมใ่ ช่แหลง่ กาเนดิ แสง

สิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้

เทคโนโลยอี วกาศ

ดาวฤกษบ์ น ป.5/1 เปรียบเทียบความ 4
ท้องฟา้ แตกต่างของดาวเคราะห์และ ส.18
ดาวฤกษ์จากแบบจาลอง

ดาวฤกษ์ เป็นดาวทม่ี แี สง
ป.5/2 ใช้แผนที่ดาว สวา่ งในตวั เอง จดั เปน็ แหล่ง
ระบุตาแหน่งและเส้นทางการ กาเนิดแสงจึงสามารถมองเหน็
ขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ เปน็ จดุ สวา่ งและมแี สงระยบิ
บนท้องฟ้า และอธิบายแบบ ระยบั บนทอ้ งฟ้าในเวลากลาง
รปู เส้นทางการขึ้นและตกของ วันจะมองเห็นท้องฟา้ เป็นสีฟ้า
กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าใน ส่วนในเวลากลางคืนจะมองเหน็
รอบปี กลุ่มดาวฤกษ์ตา่ ง ๆ ที่อย่บู น

ท้องฟา้ มีรูปร่างแตกต่างกนั
ออกไป

โครงสรา้ งการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา ………. เวลา 80 ชั่วโมง

หนว่ ยท่ี ชอ่ื เร่ือง มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
ตวั ชีว้ ดั (ช่ัวโมง) คะแนน
7 ดาวฤกษ์และดาว
ดาว เคราะห์ มาตรฐาน ว 3.1 เม่ือสังเกตกลุ่มดาวฤกษ์ 4 20
เคราะห์
บน เข้าใจองค์ประกอบ ใน ช่วงเว ลาต่ าง ๆ ใน คื น ส.19
ท้องฟ้า
ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ เดียวกัน จะพบว่ากลุ่มดาว
การบอกตาแหน่ง
ของกลุม่ ดาวฤกษ์ และววิ ัฒนาการของเอกภพ ฤกษ์มีการเปล่ียนตาแหน่ง

กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และ โดยเคล่ือนจากทิศตะวันออก

ระบบสุรยิ ะ ปฏิสัมพนั ธ์ ไปทางทิศตะวันตก ทาให้

ภายในระบบสุรยิ ะทีส่ ่งผล มองเห็นดาวฤกษ์ขึ้นจากขอบ

ต่อส่งิ มชี ีวิต และการ ฟ้าทางทิศตะวันออก และตก

ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี ลบั ขอบฟ้าไปทางทิศตะวันตก

อวกาศ ซึ่งดาวฤกษ์และกลุ่มดาวฤกษ์

มีเส้นทางการขึ้นและตกตาม

ป.5/2 ใชแ้ ผนที่ดาวระบุ เส้นทางเดิมทุกคืน และจะ

ตาแหน่งและเสน้ ทางการขึ้น ปรากฏตาแหนง่ เดมิ เสมอ

และตกของกลมุ่ ดาวฤกษบ์ น

ท้องฟ้า และอธบิ ายแบบรูป

เสน้ ทางการข้ึนและตกของ

กลมุ่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้าใน

รอบปี

ป.5/2 ใช้แผนท่ีดาวระบุ การสงั เกตตาแหนง่ กลุ่ม 4

ตาแหน่งและเส้นทางการขึ้น ดาวฤกษ์ สามารถทาไดโ้ ดยใช้ ส.20

และตกของกลุ่มดาวฤกษ์บน การระบมุ มุ ทศิ และมุมเงยท่ี

ทอ้ งฟา้ และอธิบายแบบรูป กลมุ่ ดาวน้ันปรากฏ ผู้สงั เกต

เส้นทางการขึ้นและตกของ สามารถใช้มือในการประมาณ

กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าใน ค่าของมุมเงยเมอ่ื สังเกตดาว

รอบปี ในทอ้ งฟา้

ประเมินผลปลายภาค ภาคเรียนท่ี 2

สัปดาห์ท่ี 1-2

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1

ภาคเรียนท่ี …2…/……….……... ชอ่ื ผ้สู อน ….…………………………………………………...
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 จานวน 6 คาบ
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 การเปลีย่ นแปลง เร่อื ง การเปลย่ี นสถานะ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั
-ว 2.1 ป.5/1 อธิบายการเปล่ียนสถานะของสสาร เม่ือทาให้สสารรอ้ นขน้ึ หรือเยน็ ลง โดยใชห้ ลกั ฐาน

เชิงประจักษ์

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

สสารทอ่ี ยู่รอบตัวเรามหี ลายชนิด สสารแต่ละชนิดที่พบในชีวิตประจาวันอาจมีสถานะเป็นของแขง็ ของเหลว หรอื แก๊ส ซึ่ง
สสารอาจเปล่ียนจากสถานะหน่ึงไปเป็นอีกสถานะหนงึ่ ได้ โดยอาศัยการเพิ่มหรือลดความรอ้ นใหแ้ ก่ สสารไปจนถงึ ระดับหนึ่ง
เรียกว่า การเปล่ยี นสถานะ

การหลอมเหลว เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว โดยเม่ือเพ่ิมความร้อนให้กับสสารที่อยู่ใน
สถานะของแขง็ จนถงึ ระดบั หนึ่งจะทาใหส้ สารนน้ั เปลีย่ นสถานะจากของแขง็ เป็นของเหลว

การกลายเป็นไอ เป็นการเปล่ียนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส โดยเมื่อเพิ่มความร้อนให้กับสสารที่อยู่ในสถานะ
ของเหลวจนถึงระดบั หนง่ึ จะทาให้สสารนั้นเปล่ียนสถานะจากของเหลวเป็นสถานะแก๊ส เรียกว่าการกลายเป็นไอ ซึ่งแบง่ ได้ 2
กระบวนการ ไดแ้ ก่ การระเหย เปน็ การเปล่ยี นสถานะจากของเหลวทอ่ี ยบู่ ริเวณผิวหนา้ ไปเป็นแก๊ส และการเดือด เป็นการ
เปลย่ี นสถานะจากของเหลวโดยเพม่ิ ความร้อนจนถึงจดุ เดือดจนเปน็ แก๊ส

การควบแน่น เป็นการเปล่ียนสถานะจากแก๊สเปน็ ของเหลว โดยเมอ่ื ลดความรอ้ นให้กับสสารที่อยูใ่ นสถานะ
แกส๊ จนถงึ ระดับหน่งึ จะทาใหส้ สารน้นั เปลยี่ นสถานะจากแกส๊ เป็นของเหลว

การแขง็ ตัว เป็นการเปลยี่ นสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง โดยเมอ่ื ลดความร้อนให้กบั สสารทอ่ี ยูใ่ นสถานะ
ของเหลวจนถึงระดบั หน่ึงจะทาใหส้ สารน้นั เปลย่ี นสถานะจากของเหลวเป็นของแขง็

การระเหิด เปน็ การเปล่ยี นสถานะจากของแข็งเปน็ แกส๊ โดยเม่ือเพม่ิ ความรอ้ นให้กบั สสารท่ีอยใู่ นสถานะ
ของแข็งบางชนิดจนถึงระดบั หน่ึงจะทาให้สสารนั้นเปลย่ี นสถานะจากของแขง็ เป็นแกส๊ โดยไมผ่ า่ นการเป็นของเหลว

การระเหิดกลับ เปน็ การเปล่ียนสถานะจากของแกส๊ เป็นของแข็ง โดยเมื่อลดความรอ้ นใหก้ ับสสารทอ่ี ยูใ่ นสถานะ
แกส๊ บางชนดิ จนถึงระดับหนงึ่ จะทาใหส้ สารน้นั เปลีย่ นสถานะจากของแก๊สเป็นของแขง็ โดยไมผ่ ่านการเป็นของเหลว

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1) อธบิ ายการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสารเมื่อเพิม่ หรอื ลดความรอ้ นให้สสารได้ (K)
2) ปฏิบตั กิ จิ กรรมการเปล่ียนสถานะของสสารไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเปน็ ลาดบั ข้นั ตอน (P)
3) ตั้งใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ รับผิดชอบตอ่ หนา้ ทีท่ ี่ไดร้ บั มอบหมาย (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ

-ก าร เป ล่ี ย น ส ถ า น ะ ข อ ง ส ส า ร เป็ น ก า ร พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

เปล่ียนแปลงทางกายภาพ เมื่อเพ่ิมความร้อนให้กับ

สสารถึงระดับหนึ่งจะทาให้สสารท่ีเป็นของแข็ง

เป ลี่ย น สถ าน ะ เป็ น ขอ งเห ล ว เรีย ก ว่ า ก าร

หลอมเหลว และเมอื่ เพิม่ ความร้อนลงต่อไปจนถึงอีก

ระดับหนึ่งของเหลวจะเปลี่ยนเป็นแกส๊ เรยี กว่า การ

กลายเป็นไอ แต่เมื่อลดความร้อนถึงระดับหน่ึงแก๊ส

จะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การ

ควบแน่น และถ้าลดความร้อนต่อไปอีกจนถึงระดับ

หน่ึงของเหลวจะเปลยี่ นสถานะเป็นของแข็ง เรยี กว่า

การแข็งตัว สสารบางชนิดสามารถ เปล่ียนสถานะ

จากของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว

เรียกว่า การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนิดสามารถ

เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง โดยไม่ผ่านการเป็น

ของเหลว เรียกว่า การระเหดิ กลับ

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขน้ั นา

ขน้ั ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)

1. นกั เรียนทาแบบประเมนิ กอ่ นเรยี น
2. ครูทกั ทายกบั นกั เรียน แล้วแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ให้นักเรยี นทราบ จากนนั้ นักเรียนทา

แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปลย่ี นแปลง เพ่อื วัดความรู้เดมิ ของนักเรยี น
กอ่ นเข้าสกู่ ิจกรรม
3. นกั เรยี นอ่านสาระสาคัญและดูภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเปลย่ี นแปลง จากหนังสอื เรยี น
วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 จากนัน้ ครตู ง้ั ประเด็นคาถามวา่ “การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ
ของสสาร และการเปล่ียนแปลงทางเคมีของสาร เหมือนหรอื ต่างกนั อย่างไร” แล้วใหน้ ักเรียน
แต่ละคนรว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นอย่างอิสระโดยไม่มีการเฉลยว่าถูกหรือผิด
(แนวตอบ : ตา่ งกัน โดยการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของสสาร จะไมท่ าให้เกดิ สารใหม่ และทาให้
สารนัน้ กลับคนื สสู่ ภาพเดิมได้ ส่วนการเปลี่ยนแปลงทางเคมขี องสาร จะทาใหเ้ กดิ สารใหม่ และ
ทาให้กบั มาเป็นสารเดมิ ได้ยากหรอื ไมไ่ ด้)

คาบที่ 2

ขน้ั ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) (ตอ่ )

3. นกั เรยี นดภู าพในบทที่ 1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 จากนัน้ ครูถาม
คาถามสาคัญประจาบทวา่ “การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสสารทพี่ บเห็นได้
ในชีวติ ประจาวนั มีอะไรบา้ ง” โดยให้นักเรยี นแต่ละคนร่วมกันอภปิ รายเพือ่ หาคาตอบ
(แนวตอบ : น้าเดอื ดจนกลายเปน็ ไอ การควบแน่นของไอนา้ จนกลายเปน็ หยดน้า เป็นตน้ )

4. นักเรยี นเรียนรคู้ าศพั ท์ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การเรียนในบทที่ 1 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ
จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยครูขออาสาสมัครนักเรยี น จานวน 1 คน
ให้เป็นผู้อ่านนา และให้นกั เรียนทีอ่ ยใู่ นชัน้ เรยี นเปน็ ผูอ้ า่ นตามทลี ะคา ดังน้ี

Physical Change (‘ฟซิ ิคลั เชนจ) การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ
Vaporisation (‘เวเพอไรเซชนั ) การกลายเปน็ ไอ
Condensation (คอนเด็น ‘เซชนั ) การควบแน่น

5. นักเรียนทากิจกรรมนาสู่การเรยี นโดยอ่านสถานการณ์จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป5 เล่ม 2 แลว้ ตอบคาถาม
ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน หรือแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

ข้ันสอน

ขั้นท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูเปิดวีดทิ ัศนเ์ กีย่ วกบั การเกิดฝน ให้นักเรยี นดู โดยให้นกั เรยี นแตล่ ะคนสงั เกตกระบวน
การเกิดฝนจากวดี ิทัศน์ จากนนั้ ครตู ัง้ ประเดน็ คาถามกระตุน้ ความคิดนกั เรียนว่า “จากวดี ทิ ศั น์
นกั เรยี นสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของน้า ในลกั ษณะใดบา้ ง” โดยใหน้ ักเรยี นแต่ละคนรว่ มกนั
อภปิ รายแสดงความคิดเห็นอยา่ งอิสระโดยไมม่ ีการเฉลยวา่ ถกู หรอื ผิด
(แนวตอบ : ข้ึนอยูก่ บั สิ่งทนี่ กั เรียนสังเกตเหน็ เชน่ นา้ จากทะเล/มหาสมทุ รระเหยเป็นไอน้า,
ไอนา้ ในอากาศรวมตวั กันเป็นเมฆและควบแน่นเปน็ ฝน)
2. นกั เรียนเล่นเกมจับกล่มุ เพ่ือแบ่งกลมุ่ นกั เรยี นออกเปน็ กลุ่ม ๆ ละ 4 คน โดยเตรยี มบัตรคามาตรา
ตัวสะกด มาให้นักเรยี น ในบัตรคามาตราตัวสะกด จะประกอบไปดว้ ย ตัวสะกด จานวน 10 ตัว
ได้แก่ ก ข ง ล ว ส ห แ ็ ๊
3. จากน้ันใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนสมุ่ หยบิ บตั รคาคนละ 1 ใบ แล้วจับกลุ่มกัน กลุ่มละ 4 คน โดยจะต้อง
รวมตัวสะกดตามบตั รคาทีห่ ยิบได้ให้เปน็ คา ดังน้ี
- แขง็ (บตั รคา 4 ตวั สะกด คือ แ ข ็ ง)
- เหลว (บัตรคา 4 ตัวสะกด คือ เ ห ล ว)
- แกส๊ (บัตรคา 4 ตัวสะกด คอื แ ก ๊ ส)

4. เม่ือนักเรยี นแบ่งกลุ่มเรยี บรอ้ ย นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศึกษาค้นคว้าขอ้ มูลเก่ียวกับ
เรื่อง การเปล่ยี นสถานะของสสาร จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรือแหล่งการเรยี นรู้
ตา่ ง ๆ เช่น อนิ เทอรเ์ นต็

5. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั อภิปรายเรื่องท่ไี ด้ศกึ ษา จากนัน้ ให้นกั เรยี นแต่ละคนเขยี นสรปุ ความรู้
ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาคน้ คว้าลงในสมุดประจาตัวนักเรียน เพื่อนาส่งครทู า้ ยชวั่ โมง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )

6. ครูต้ังประเด็นคาถามกระตนุ้ ความสนใจนกั เรียนวา่ “ถ้าเราต้งั น้าแข็งก้อนท้งิ ไว้ในอุณหภูมหิ อ้ ง
น้าแข็งก้อนจะเกดิ การเปลย่ี นแปลงสถานะหรอื ไม่ อยา่ งไร” โดยให้แตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั อภิปราย
เพือ่ หาคาตอบ
(แนวตอบ : น้าแขง็ ก้อนเกิดการเปลีย่ นแปลงสถานะ โดยเปลี่ยนสถานะจากของแขง็ เปน็ ของเหลว)

คาบท่ี 3

ขัน้ สอน

ขนั้ ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) (ต่อ)

1. ครจู ัดเตรียมวัสดุ-อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในกิจกรรมที่ 1 การเปล่ยี นสถานะของสสาร จากหนังสือเรยี น

วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 มาวางไวห้ นา้ ชนั้ เรียน ดงั นี้

- ชาม 1 ใบ - น้าแข็งก้อน 5-6 ก้อน

- หลอดทดลอง 1 หลอด - ตะแกรงวางหลอดทดลอง 1 อนั

- บกี เกอร์ขนาด 250 มิลลิลติ ร 1 ใบ - เกลอื 1 ถงุ

- กระจกนาฬกิ า 1 อัน - น้าแข็งป่น 3/4 ของชาม

- ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 ชุด

2. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 5 คน ตามความสมัครใจ จากนนั้ ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มจดั เตรยี ม

อุปกรณท์ ีใ่ ช้ในกิจกรรมท่ี 1 การเปล่ยี นสถานะของสสาร จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

3. ครแู จ้งจุดประสงคข์ องกิจกรรมท่ี 1 การเปล่ียนสถานะของสสาร ให้นักเรียนทราบ เพ่ือเป็นแนว

ทางการปฏิบตั กิ จิ กรรมทีถ่ ูกตอ้ ง

4. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมท่ี 1 การเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยปฏิบัตกิ ิจกรรม

ดงั นี้

1) ศกึ ษาข้ันตอนการปฏบิ ตั ิกิจกรรมจากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 อยา่ งละเอียด

หากมขี ้อสงสัยใหส้ อบถามครู

2) ร่วมกนั กาหนดปัญหาและต้ังสมมตฐิ านในการปฏิบตั ิกจิ กรรม แล้วบนั ทกึ ผลลงในสมดุ ประจาตัว

นักเรยี น หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

3) รว่ มกันปฏิบตั ิกจิ กรรมตามขนั้ ตอนใหค้ รบถว้ นและถกู ตอ้ งทุกขัน้ ตอน จากนน้ั บันทกึ ผลลงใน

สมุดประจาตวั นกั เรยี น หรอื แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

5. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั วิเคราะหผ์ ลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม แลว้ อภิปรายผลและสรุปผลการทดลอง

คาบที่ 4

ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าช้ันเรียน เพือ่ แลกเปลี่ยนความคิด
จนครบทุกกลุม่ ในระหว่างทีน่ กั เรยี นนาเสนอครูคอยให้ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ เพือ่ ใหน้ กั เรยี น
มคี วามเข้าใจที่ถูกต้อง
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบประเมินการนาเสนอผลงาน)
7. นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ ความรทู้ ่ีไดจ้ ากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมที่ 1 การเปลย่ี นสถานะของสสาร
ซงึ่ ได้ข้อสรปุ รว่ มกนั ว่า “เมอื่ ตง้ั นา้ แขง็ ก้อนทิง้ ไวใ้ นบีกเกอรป์ ระมาณ 10 นาที พบวา่ น้าแขง็ กอ้ น
จะละลายและเปลยี่ นสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เรียกการเปลยี่ นแปลงของสถานะสสารน้ี
ว่า การหลอมเหลว เมอ่ื นานา้ ทีไ่ ดใ้ นบีกเกอร์ มาต้มด้วยไฟออ่ น ๆ ประมาณ 5 นาที พบว่านา้ จะ
ระเหยและเปลย่ี นสถานะจากของเหลวเป็นไอนา้ เรียกการเปล่ยี นแปลงของสถานะสสารนว้ี า่
การกลายเป็นไอ ซึง่ เมื่อดบั ไฟที่ตม้ บีกเกอร์ จากนน้ั นากระจกนาฬิกาท่มี นี ้าแข็งก้อนวางอยดู่ ้านบน
แล้วนามาวางบนปากบกี เกอร์ จะพบว่าไอน้าในบีกเกอร์ควบแนน่ บรเิ วณใตก้ ระจกนาฬกิ า
และเปลยี่ นสถานะจากไอนา้ เป็นของเหลว (หยดน้า) เรียกการเปลี่ยนแปลงของสถานะสสารนีว้ ่า
การควบแน่น และเมอ่ื นานา้ ในบีกเกอรเ์ ทใส่หลอดทดลองปริมาตร 1/4 ของหลอด จากนั้นนาไป
แช่ในชามนา้ แขง็ ปน่ ทีผ่ สมเกลือ แล้วต้งั ทง้ิ ไวป้ ระมาณ 20 นาที พบว่าน้าในหลอดทดลองจบั ตัว
เป็นก้อนและเปล่ียนสถานะจากของเหลวเปน็ ของแข็ง เรียกการเปล่ียนแปลงของสถานะสสารน้วี า่
การแข็งตวั ”
8. นกั เรยี นแต่ละคนทากจิ กรรมหนตู อบได้ จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยตอบ
คาถามลงในสมดุ ประจาตัวนกั เรยี น หรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

คาบท่ี 5

ขัน้ สอน

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
9. นกั เรียนแบง่ กลุม่ (กลุ่มเดมิ ) จากช่ัวโมงทผี่ ่านมา จากน้นั ให้แต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศึกษาคน้ คว้าขอ้ มูล
เกยี่ วกบั เรอื่ ง การเปล่ียนสถานะของสสาร จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรอื
แหล่งการเรยี นรูต้ า่ ง ๆ เช่น อนิ เทอรเ์ นต็
10. ครูสุม่ นักเรยี น จานวน 4 คน ใหย้ กตัวอยา่ งการเปลยี่ นสถานะของสสารในชวี ติ ประจาวนั
คนละ 1 ตัวอย่าง ดังนี้
 คนที่ 1 ใหย้ กตวั อย่างการเปลีย่ นสถานะของสสารโดยการหลอมเหลว
 คนท่ี 2 ใหย้ กตวั อยา่ งการเปลยี่ นสถานะของสสารโดยการกลายเป็นไอ
 คนท่ี 3 ใหย้ กตัวอย่างการเปลีย่ นสถานะของสสารโดยการควบแนน่
 คนท่ี 4 ใหย้ กตวั อยา่ งการเปลย่ี นสถานะของสสารโดยการแขง็ ตัว

11. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจเกี่ยวกับการเปลยี่ นสถานะของสสารว่า “การเปล่ียนสถานะของ
สสารเป็นการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ โดยอาศยั ความร้อนเป็นปจั จัยสาคัญ ซึง่ เมือ่ มกี ารเพม่ิ
หรือลดความรอ้ นใหก้ บั สสารในระดบั หนง่ึ จะทาใหส้ สารเกิดการเปล่ียนแปลงสถานะ แต่สสารนน้ั
สามารถกลับคนื สู่สถานะเดิมไดอ้ กี ครง้ั เม่ือมีการลดหรอื เพม่ิ ความร้อน”

12. ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรียนซกั ถามเนือ้ หาเกีย่ วกับ เร่อื ง การเปลีย่ นสถานะของสสาร และให้ความรู้
เพม่ิ เตมิ จากคาถามของนักเรียน โดยครใู ช้ PowerPoint เรอ่ื ง การเปลย่ี นสถานะของสสาร
ในการอธิบายเพมิ่ เตมิ

13. นกั เรยี นตอบคาถามท้าทายการคิดข้นั สงู จากหนังสือเรยี น วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 ลงในสมดุ
ประจาตัวนักเรยี น หรอื แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

14. นักเรยี นจับค่กู บั เพ่อื นในชั้นเรยี น ตามความสมคั รใจ จากน้นั ใหน้ ักเรียนทาใบงานท่ี 5.1.1
เร่ือง การเปล่ียนสถานะของสสาร

15. ครสู ุ่มนกั เรยี น 2-3 คู่ ออกมานาเสนอคาตอบของตนเอง โดยครูใหน้ กั เรียนรว่ มกนั พิจารณา
ว่าคาตอบใดถกู ตอ้ ง จากนน้ั ครเู ฉลยคาตอบที่ถกู ต้องให้นกั เรยี น

คาบท่ี 6

ข้นั สรุป

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 การเปลย่ี นแปลง
เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจกอ่ นเรยี นของนกั เรียน
2. ครูประเมนิ ผล โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทางานกล่มุ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าช้นั เรียน
3. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมนาสู่การเรยี น ในสมุดประจาตัวนักเรียน หรอื แบบฝึกหดั
วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
4. ครตู รวจสอบผลการปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 1 การเปล่ยี นสถานะของสสาร ในสมดุ ประจาตวั นกั เรยี น
หรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
5. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมหนตู อบได้ ในสมุดประจาตัวนักเรียน หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2

6. ครูตรวจ คาถามท้าทายการคดิ ข้ันสูง ในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น หรือแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2

7. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานที่ 5.1.1 เร่ือง การเปลี่ยนสถานะของสสาร
8. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ เก่ยี วกบั การเปล่ยี นสถานะของสสาร ซึ่งได้ขอ้ สรุปร่วมกนั วา่ “สถานะ

ของสสารมีด้วยกนั 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว แกส๊ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสถานะทาง
กายภาพของสสาร จะตอ้ งอาศยั ความร้อนเป็นปัจจยั สาคัญ โดยกระบวนการเปลย่ี นแปลงสถานะ

ของสสารมดี ้วยกัน หลายกระบวนการ ได้แก่ การหลอมเหลว การกลายเปน็ ไอ การควบแน่น
และการแข็งตัว”

6. การวดั และประเมินผล

การวัดและประเมินผล วธิ กี ารวดั ผล เครอื่ งมอื วัด เกณฑก์ าร
จดุ ประสงค์ ประเมนิ ผล
1. สงั เกตจากการซกั ถาม ตอบ 1.แบบทดสอบกอ่ น
ความรู้ความเขา้ ใจ (K) คาถาม เรียนหน่วยการเรียนรู้ 70% ขนึ้ ไป ถอื ว่า
2. อธบิ ายการเปล่ียนแปลงสถานะ ท่ี 5 การเปลี่ยนแปลง ผา่ นเกณฑก์ าร
ของสสารเมือเพม่ิ หรอื ลดความ 2. คาถามกระตนุ้ ประเมิน
ร้อนใหส้ สารได้ ความคิด

ทกั ษะ/ 1. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการเปลยี่ น 1. แบบการนาเสนอ 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่
กระบวนการ (P) สถานะของสสารได้อย่างถกู ตอ้ ง
และเป็นลาดับขัน้ ตอน ผลงาน/ผลการทา ผ่านเกณฑก์ าร
คุณลกั ษณะนสิ ัย (A)
1. สังเกตจากการเรยี นมีความใฝ่ กจิ กรรม ประเมิน
เรยี นรแู้ ละให้ความรว่ มมือในการ
ทากจิ กรรมกลุ่ม 2. กิจกรรมพฒั นา

ทกั ษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ที่ 1 การ

เปล่ียนสถานะของ

สสาร

1. แบบสังเกต 70% ขึ้นไป ถือว่า

พฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑก์ าร

ประเมนิ

7. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้

7.1 สือ่ การเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 การเปล่ียนแปลง
2) แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 การเปลี่ยนแปลง
3) ใบงานที่ 5.1.1 เรื่อง การเปลีย่ นสถานะของสสาร
4) วสั ดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ในกจิ กรรมท่ี 1 การเปลย่ี นสถานะของสสาร
5) PowerPoint เรื่อง การเปลีย่ นสถานะของสสาร

6) บตั รคามาตราตัวสะกด
7) วีดทิ ศั น์เก่ยี วกบั การเกดิ ฝน จาก https://www.youtube.com/watch?v=g5Et-Ec-BSE
8) สมดุ ประจาตัวนกั เรียน
7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรียน
2) อนิ เทอร์เน็ต

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................ครผู ู้สอน ลงชอื่ ...................................................ฝ่ายวิชาการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

ใบงานที่ 5.1.1

เรอื่ ง การเปลี่ยนสถานะของสสาร

คาชแ้ี จง : ให้นักเรยี นใช้คาในส่ีเหลีย่ มด้านลา่ งน้ี เตมิ ลงในช่องวา่ งทกี่ าหนด

ของแข็ง การหลอมเหลว การแข็งตวั
ของเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด
การควบแน่น การระเหดิ กลับ
แกส๊

สถานะของสสาร

…………………… …………………… ……………………
……….. ……….. ………..

…………………… ของเหลว …………………… แกส๊
……เพ…ิม่ .ค. วามร้อน
ของแขง็ ……เ…พ่ิม..ความรอ้ น
ลดความร้อน
ลดความร้อน
……………………
…………………… ………..
………..

ใบงานที่ 5.1.1 เฉลย

เรอ่ื ง การเปลยี่ นสถานะของสสาร

คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนใช้คาในสเี่ หลยี่ มดา้ นล่างนี้ เตมิ ลงในชอ่ งว่างที่กาหนด

ของแขง็ การหลอมเหลว การแข็งตัว
ของเหลว การกลายเป็นไอ การระเหดิ
การควบแน่น การระเหดิ กลบั
แก๊ส

สถานะของสสาร

ของเหลว ของแข็ง แก๊ส

..

การหลอมเหลว ของเหลว การกลายเป็นไอ แกส๊

ของแข็ง . เพิ่มความร้อน . เพ่ิมความรอ้ น

ลดความรอ้ น ลดความร้อน

การแขง็ ตัว การควบแนน่

. .

บัตรคามาตราตัวสะกด ข 

ก ส
ง แ
ว ๊



สัปดาห์ท่ี 2-3

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ัฒนา

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2

ภาคเรียนที่ …2…/……….……... ชื่อผสู้ อน ….…………………………………………………...
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 จานวน 4 คาบ
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 การเปล่ยี นสถานะ เร่ือง การระเหิด

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด

ว 2.1 ป.5/1 อธบิ ายการเปลยี่ นสถานะของสสาร เมื่อทาให้สสารร้อนขนึ้ หรือเย็นลง โดยใชห้ ลกั ฐาน
เชงิ ประจกั ษ์

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การระเหดิ เปน็ การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส โดยเมือ่ เพม่ิ ความร้อนให้กับสสารทีอ่ ยใู่ นสถานะ
ของแข็งบางชนิดจนถึงระดบั หนึ่งจะทาใหส้ สารน้ันเปลย่ี นสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส โดยไมผ่ ่านการเป็นของเหลว

การระเหดิ กลบั เป็นการเปลยี่ นสถานะจากของแก๊สเปน็ ของแขง็ โดยเม่ือลดความร้อนให้กับสสารท่อี ยู่ใน
สถานะแก๊สบางชนิดจนถึงระดับหนง่ึ จะทาใหส้ สารน้ันเปล่ยี นสถานะจากของแกส๊ เปน็ ของแข็ง โดยไม่ผ่านการเปน็ ของเหลว

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายการระเหดิ ของสสารได้ (K)
2. อธบิ ายการเปลยี่ นสถานะของสสาร เม่ือเพิม่ หรือลดความรอ้ นได้ (P)
3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมการระเหิดและการระเหิดกลับได้อย่างถูกต้องและเปน็ ลาดบั ขน้ั ตอน (P)

4. มีความใฝ่เรยี นรแู้ ละให้ความร่วมมือในการทากจิ กรรมกลมุ่ (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน

สสารบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะจาก พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

ของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว เรียกว่า

การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนิดสามารถเปลี่ยนแปลง

สถานะเป็นของแข็งโดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว

เรยี กวา่ การระเหิดกลับ

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขัน้ นา

ขนั้ ที่ 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage)

1. ครูทักทายนกั เรยี น จากนัน้ ครทู บทวนความรเู้ ดิมเก่ียวกับ เรอ่ื ง การเปล่ียนสถานะของสสาร
โดยครแู จกกระดาษสี Post it ประกอบดว้ ย สชี มพู สเี หลือง สีเขียว และสีส้ม ให้นกั เรยี น
คนละ 4 แผ่น คละสีกัน จากนนั้ ครชู แ้ี จงให้นักเรียนปฏบิ ัติ ดงั นี้
 กระดาษสีชมพูให้นกั เรยี นเขียนตัวอย่างของสสารทีม่ ีการเปลย่ี นแปลงโดยการหลอมเหลว
 กระดาษสีเหลอื งให้นักเรียนเขยี นตวั อย่างของสสารท่มี กี ารเปล่ยี นแปลงโดยการแข็งตวั
 กระดาษสเี ขียวใหน้ กั เรยี นเขยี นตวั อย่างของสสารทม่ี ีการเปล่ยี นแปลงโดยการกลายเป็นไอ
 กระดาษสีสม้ ใหน้ ักเรียนเขียนตวั อย่างของสสารที่มีการเปล่ยี นแปลงโดยการควบแน่น

2. ครูแบ่งพ้นื ทบ่ี นกระดานดาออกเป็น 4 สว่ น จากนนั้ ครเู ขียนคาวา่ “การหลอมเหลว การกลาย
เปน็ ไอ การควบแนน่ การแขง็ ตวั ” ลงบนกระดานดา

3. นกั เรยี นแตล่ ะคนเขยี นตวั อยา่ งของสสารที่มกี ารเปลีย่ นแปลงสถานะ ลงในกระดาษสี Post it
ที่ตนเองไดร้ ับ เม่อื เขยี นเสรจ็ ครสู ่มุ นกั เรยี น จานวน 5 คน ใหม้ าแปะคาตอบท่ีเขียนลงในกระดาษ
สี Post it หน้าชั้นเรยี น โดยครูใหน้ ักเรียนร่วมกนั พจิ ารณาวา่ คาตอบใดถูกต้อง จากน้นั ครเู ฉลย
คาตอบท่ถี ูกตอ้ งให้นักเรียน

คาบที่ 2

ขัน้ สอน

ขน้ั ที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครเู ปิดวีดิทศั นเ์ กยี่ วกับการระเหดิ ของนา้ แขง็ แหง้ ให้นักเรียนดู จากน้ันครตู ั้งประเด็นคาถาม
กระต้นุ ความคิดนักเรียนวา่ “น้าแข็งแหง้ มีกระบวนการเปล่ยี นแปลงของสสารอย่างไร เหมือนหรือ
ต่างจากการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้าแข็งกอ้ นหรือไม่” โดยใหน้ ักเรียนแต่ละคนร่วมกันอภิปราย
แสดงความคิดเห็นอย่างอสิ ระโดยไม่มกี ารเฉลยวา่ ถูกหรือผดิ
(แนวตอบ : น้าแขง็ แหง้ มีกระบวนการเปลย่ี นแปลงสถานะจากของแขง็ เป็นแก๊ส ซง่ึ ต่างจาก
นา้ แข็งกอ้ นท่ีเปล่ยี นสถานะจากของแขง็ เปน็ ของเหลว)
2. ครูอธบิ ายเพ่มิ เติมว่า “การเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร นอกจากกระบวนการหลอมเหลว
การกลายเป็นไอ การแข็งตวั และการควบแนน่ แลว้ ยังมีกระบวนการอนื่ อีก ไดแ้ ก่ การระเหดิ
และการระเหิดกลับ”
3. ครูจดั เตรียมวัสดุ-อปุ กรณท์ ี่ใช้ในกจิ กรรมท่ี 2 การระเหดิ และการระเหิดกลบั จากหนงั สอื เรียน
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 มาวางไวห้ น้าชน้ั เรยี น ดงั น้ี

- ชอ้ นตวง 2 อัน - เกลอื แกง 2 ชอ้ น

- นาฬกิ าจับเวลา 1 เรือน - ทจี่ ับหลอดทดลอง 1 อนั

- ชดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด - ตะแกรงวางหลอดทดลอง 1 อัน

- หลอดทดลองขนาดใหญ่ 2 หลอด - ขาตงั้ และท่ีจบั หลอดทดลอง 1 ชุด

- จกุ ยาง 2 อนั - ไม้ขดี ไฟ 1 กลัก

- เกลด็ ไอโอดีน 2 ช้อน - นา้ อณุ หภมู ิหอ้ ง 150 มิลลิลติ ร 1 ใบ

- บกี เกอร์ใส่นา้ ผสมนา้ แข็ง 1 ใบ - บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลติ ร 1 ใบ

- กระบอกตวงขนาด 150 มลิ ลิลติ ร 1 ใบ

4. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม ๆ ละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากน้นั ครูใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ จดั เตรียม

อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในกิจกรรมที่ 2 การระเหิดและการระเหดิ กลบั จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์

ป.5 เลม่ 2

5. ครแู จ้งจุดประสงค์ของกิจกรรมที่ 2 การระเหดิ และการระเหดิ กลบั ให้นักเรยี นทราบ เพ่อื เป็นแนว

ทางการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทถี่ กู ต้อง

6. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมท่ี 2 การระเหดิ และการระเหิดกลับ โดยปฏบิ ัตกิ ิจกรรม

ดงั น้ี

1) ศึกษาขน้ั ตอนการปฏิบตั กิ ิจกรรมจากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 อยา่ งละเอียด

หากมขี ้อสงสัยให้สอบถามครู

2) ร่วมกันกาหนดปญั หาและต้งั สมมติฐานในการปฏบิ ัติกิจกรรม แลว้ บนั ทึกผลลงในสมุดประจาตวั

นักเรียน หรือแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

3) รว่ มกนั ปฏิบัติกจิ กรรมตามขนั้ ตอนใหค้ รบถว้ นและถกู ต้องทุกขั้นตอน จากน้นั บันทกึ ผลลงใน

สมุดประจาตัวนกั เรียน หรอื แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

7. นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั วเิ คราะหผ์ ลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม แลว้ อภปิ รายผลและสรุปผลการทดลอง

คาบท่ี 3

ขัน้ สอน

ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
8. นักเรียนแต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหนา้ ช้นั เรยี น เพ่ือแลกเปลีย่ นความคิด
จนครบทกุ กล่มุ ในระหว่างทน่ี กั เรียนนาเสนอครคู อยให้ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ เพอื่ ให้นักเรียน
มีความเขา้ ใจท่ีถกู ต้อง
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน)
9. นักเรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมที่ 2 การระเหดิ และการระเหดิ กลับ
ซง่ึ ได้ข้อสรปุ ร่วมกันว่า “เมือ่ นาหลอดทดลองท่ีมเี กลด็ ไอโอดนี หรอื เกลอื แกงไปจมุ่ ลงในนา้ เดอื ด
ประมาณ 2 นาที พบวา่ เกล็ดไอโอดีนหรือเกลือแกงท่ีเป็นของแข็งจะเปลยี่ นสถานะเปน็ แก๊ส
เรยี กการเปลี่ยนแปลงของสถานะสสารน้วี ่า การระเหิด และเมื่อนาหลอดทดลองท่ีมแี ก๊สของเกลด็

ไอโอดีนหรอื เกลือแกงมาต้ังทิ้งไวท้ อี่ ุณหภมู ิหอ้ งประมาณ 1 นาที แลว้ ไปจ่มุ ลงในบกี เกอร์ทีม่ ีนา้
เย็นจดั ประมาณ 3 – 5 นาที พบว่าแกส๊ ในหลอดทดลองจะเปลี่ยนสถานะเปน็ ของแขง็
เรยี กการเปลีย่ นแปลงของสถานะสสารนี้ว่า การระเหดิ กลับ”
10. นกั เรียนแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนตู อบได้ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยตอบ
คาถามลงในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น หรือแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

คาบท่ี 4

ขัน้ ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
11. นักเรียนแบง่ กล่มุ (กลุม่ เดิม) จากชวั่ โมงทผี่ ่านมา จากน้ันใหแ้ ต่ละกลุ่มร่วมกันศกึ ษาค้นควา้ ข้อมูล
เกี่ยวกับ เร่ือง การระเหดิ และผลทเี่ กิดจากการเปลยี่ นสถานะของสสาร จากหนังสอื เรียน
วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หรือแหล่งการเรยี นรูต้ ่าง ๆ เชน่ อินเทอร์เน็ต
12. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั อภิปรายเรอื่ งท่ีไดศ้ กึ ษา จากน้นั ให้นกั เรยี นแตล่ ะคนเขียนสรุปความรู้
ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาค้นคว้าลงในสมุดประจาตวั นักเรยี น
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )
13. ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ ให้นกั เรยี นเข้าใจเกย่ี วกับการระเหดิ และการระเหิดกลับว่า “การระเหดิ เป็นการ
เปล่ยี นสถานะของสสารจากของแขง็ เปน็ แกส๊ โดยการเพมิ่ ความร้อนใหก้ บั สสารจนถงึ ระดบั หนง่ึ
สสารนนั้ จะเปลยี่ นสถานะจากของแขง็ เปน็ แก๊ส ส่วนการระเหิดกลบั เปน็ การเปลยี่ นสถานะของ
สสารจากแกส๊ เป็นของแข็ง โดยการลดความรอ้ นใหก้ บั สสารจนถงึ ระดับหนึง่ สสารนนั้ จะเปล่ียน
สถานะจากแกส๊ เปน็ ของแข็ง”
14. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามเน้อื หาเกยี่ วกบั เรอ่ื ง การระเหิด และให้ความรู้เพ่มิ เตมิ จากคาถาม
ของนกั เรียน โดยครูใช้ PowerPoint เรื่อง การระเหดิ ในการอธบิ ายเพ่ิมเติม
15. นกั เรียนตอบคาถามท้าทายการคดิ ขั้นสงู จากหนงั สอื เรยี น วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 ลงในสมดุ
ประจาตวั นกั เรียน หรือแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
16. นักเรยี นจับคู่กบั เพื่อนในชั้นเรยี น ตามความสมัครใจ จากน้ันครูใหน้ ักเรยี นทา ใบงานที่ 5.2.1
เรอ่ื ง การระเหดิ และการระเหิดกลับ
17. ครูสุ่มนักเรียน 2-3 คู่ ออกมานาเสนอคาตอบของตนเอง โดยครูให้นกั เรยี นร่วมกันพจิ ารณา
ว่าคาตอบใดถูกตอ้ ง จากนน้ั ครูเฉลยคาตอบที่ถกู ต้องให้นกั เรียน

ขนั้ สรปุ

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครปู ระเมินผล โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ชนั้ เรยี น
2. ครตู รวจสอบผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมที่ 2 การระเหิดและการระเหดิ กลบั ในสมดุ ประจาตวั นกั เรียน
หรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

3. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบได้ ในสมุดประจาตวั นกั เรยี น หรือแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2

4. ครูตรวจ คาถามท้าทายการคดิ ขน้ั สงู ในสมดุ ประจาตัวนกั เรียน หรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2

5. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานที่ 5.2.1 เรือ่ ง การระเหิดและการระเหิดกลับ
6. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรปุ เก่ียวกบั การระเหิด ซงึ่ ไดข้ ้อสรปุ ร่วมกนั ว่า “กระบวนการเปลี่ยน

สถานะของสสารจากของแขง็ เป็นแก๊ส โดยอาศัยปจั จัยหลักคอื การเพม่ิ ความรอ้ น เรยี กวา่
การระเหิด และกระบวนการเปลย่ี นสถานะของสสารจากแก๊สเปน็ ของแขง็ โดยอาศยั ปัจจยั หลัก
คอื การลดความรอ้ น เรยี กว่า การระเหดิ กลบั ”

6.การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการวดั ผล เครอื่ งมือวดั เกณฑ์การ
ประเมนิ ผล
การวดั และประเมินผล 70% ขน้ึ ไป ถือว่า
จดุ ประสงค์ ผ่านเกณฑก์ าร
ประเมิน
ความรคู้ วาม 1. สงั เกตจากการซกั ถาม ตอบ 1.คาถามกระต้นุ
เขา้ ใจ (K) คาถาม ความคดิ 70% ขึ้นไป ถอื ว่า
2. อธิบายการระเหดิ ของสสารได้ 2. ใบงานท่ี 5.2.1 ผ่านเกณฑ์การ
ประเมิน
ทักษะ/ 1. อธบิ ายการเปลี่ยนสถานะของ 1. ประเมินการ
กระบวนการ (P) สสาร เมอ่ื เพมิ่ หรอื ลดความร้อนได้ นาเสนอ ผลปฏบิ ัติ

กิจกรรม

คณุ ลักษณะนิสัย (A) 1. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการระเหดิ และ 1. แบบสงั เกต 70% ข้นึ ไป ถอื ว่า
ผ่านเกณฑ์การ
การระเหิดกลับไดอ้ ย่างถกู ต้องและ พฤติกรรม ประเมิน

เป็นลาดับขั้นตอน 2. แบบประเมนิ

2. สงั เกตความมีวนิ ยั รบั ผิดชอบ ใฝ่ คณุ ลกั ษณะ

เรียนรูแ้ ละมงุ่ มนั่ ในการทางาน อันพึงประสงค์

7. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
7.1 สอ่ื การเรยี นรู้

1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปล่ยี นแปลง
2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 การเปลย่ี นแปลง
3) ใบงานท่ี 5.2.1 เร่ือง การระเหดิ และการระเหดิ กลับ
4) วัสดุ-อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในกจิ กรรมที่ 2 การระเหิดและการระเหิดกลบั
5) PowerPoint เร่อื ง การระเหดิ
6) กระดาษสี Post it ประกอบดว้ ย สีชมพู สีเหลือง สเี ขยี ว และสีส้ม
7) วดี ิทศั น์เกี่ยวกับการระเหดิ ของน้าแข็งแหง้

จาก https://www.youtube.com/watch?v=A96L1z8L2nU
8) สมดุ ประจาตวั นักเรยี น

7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรยี น
2) อนิ เทอร์เน็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครผู ู้สอน ลงช่อื ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่อื ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

ใบงานที่ 5.2.1

เรอื่ ง การระเหดิ และการระเหิดกลบั

คาช้แี จง : ใหน้ ักเรยี นใชค้ าในส่เี หลี่ยมด้านล่างนี้ เตมิ ลงในช่องว่างทก่ี าหนด

การหลอมเหลว การกลายเปน็ ไอ การระเหดิ
การแข็งตวั การควบแน่น การระเหดิ กลบั

ของแขง็

........................... ของเหลว
..

...........................
..

แกส๊

ปรากฏการณท์ ีอ่ ณุ หภูมิเฉลี่ยของโลกสูงข้ึน ซง่ึ เรียกว่า ภาวะโลกร้อน (Global Warming) นน้ั
นกั เรียนคดิ ว่าสง่ ผลทาใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงของสสารอย่างไร

............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................
............................................................................................................................. .........................
......................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 5.2.1 เฉลย

เรือ่ ง การระเหิดและการระเหิดกลบั

คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นใชค้ าในสี่เหลย่ี มด้านลา่ งนี้ เตมิ ลงในช่องวา่ งท่ีกาหนด

การหลอมเหลว การกลายเปน็ ไอ การระเหิด
การแข็งตวั การควบแนน่ การระเหดิ กลับ

ของแขง็

การระเหิดกลบั ของเหลว
การระเหดิ

แก๊ส

ปรากฏการณท์ ี่อุณหภมู เิ ฉลย่ี ของโลกสงู ขึน้ ซ่งึ เรยี กวา่ ภาวะโลกร้อน (Global Warming) น้ัน
นักเรียนคดิ วา่ ส่งผลทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของสสารอยา่ งไร

ปรากฏการณ์ภาวะโลกรอ้ น ทาใหน้ า้ แขง็ บริเวณขั้วโลกเกดิ กระบวนการหลอมเหลว
ซ่งึ ส่งผลตอ่ การเพิม่ ปริมาณน้าในมหาสมุทรบรเิ วณขว้ั โลก และอาจทาใหน้ ้าทว่ มได้

สัปดาห์ที่ 3-5

โรงเรียนขจรเกียรติพัฒนา

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3

ภาคเรียนที่ …2…/……….……... ช่อื ผสู้ อน ….…………………………………………………...
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 จานวน 8 คาบ
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปลี่ยนแปลง เรื่อง การละลายของสารในน้า

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด

ว 2.1 ป.5/2 อธิบายการละลายของสารในน้าโดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การละลายเปน็ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสารทเ่ี กิดขึน้ จากการนาสารใสล่ งในน้า แล้วสารนั้นผสมรวม
กับน้าอย่างกลมกลืนจนมองเห็นเป็นเนอ้ื เดยี วกันทกุ สว่ น โดยสารทไ่ี ดย้ งั คงเปน็ สารเดิม เรยี กว่า สารละลาย โดยสาร
ตา่ งๆ อาจอยู่ในสถานะของแขง็ ของเหลว หรือแกส๊ ซง่ึ สารบางชนิดละลายนา้ ได้ สว่ นสารบางชนดิ ไม่สามารถละลายน้า
ได้ แตส่ ามารถละลายในสารละลายอนื่ ได้แทน

การละลายของสารในนา้ ทาใหเ้ กิดสารสะลาย ซง่ึ เป็นสารเน้อื เดยี ว โดยในสารละลายจะมีองค์ประกอบ 2 สว่ น คือ
ตวั ทาละลายและตวั ละลาย โดยสารที่มีปรมิ าณมากกวา่ และมีสถานะเดียวกบั สารละลาย เรยี กวา่ ตัวทาละลาย และสาร
ท่ีมีปรมิ าณนอ้ ยกวา่ เรียกวา่ ตัวละลาย

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายการการละลายของสารที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊สในน้าได้ (K)
2. ปฏิบตั ิกิจกรรมการละลายของสารในนา้ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเปน็ ลาดบั ขั้นตอน (P)
3. มีความใฝ่เรียนรู้และใหค้ วามรว่ มมือในการทากิจกรรมกล่มุ (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน

เมือ่ ใส่สารลงในน้าแล้วสารนั้นรวมเป็นเน้อื เดียวกับ พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

น้าท่ัวทุกส่วน แสดงว่าสารเกิดการละลาย เรียกสาร

ผสมท่ไี ดว้ า่ สารละลาย

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขั้นนา

ข้ันที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engage)

1. ครูทักทายกบั นักเรยี น จากนนั้ ครนู านา้ ตาลทรายแดง และนา้ เปลา่ ทบี่ รรจใุ นแกว้ ใส
มาใหน้ กั เรียนสังเกตสถานะของสสารทง้ั 2 อยา่ งทคี่ รูเตรียมมา ครูนาน้าตาลทรายแดง ใส่ลงใน
นา้ เปลา่ และคนสสารท้งั 2 ชนิดอย่างช้า ๆ ประมาณ 5 นาที แล้วตงั้ ทิง้ ไว้ และใหน้ กั เรยี นสังเกต
การเปล่ียนแปลงสถานะของสสารทงั้ 2 ชนดิ

2. ครูตงั้ ประเด็นคาถามกระตุน้ ความคิดนักเรียนว่า “นา้ ตาลทรายแดง และน้าเปล่า มีสถานของสสาร
เปน็ อย่างไร และเมื่อทาการคนสสารทง้ั 2 ชนดิ แลว้ ตัง้ ทง้ิ ไว้ จะได้ผลเปน็ อย่างไร”
โดยใหแ้ ต่ละคนรว่ มกันอภิปรายแสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระโดยไม่มกี ารเฉลยวา่ ถูกหรอื ผดิ
(แนวตอบ : น้าตาลทรายแดง มีสถานะเป็นของแข็ง สว่ นนา้ เปล่าในแกว้ มีสถานะเป็นของเหลว
ซง่ึ เมื่อคนสสารท้งั 2 ชนิดประมาณ 5 นาที แลว้ ต้ังทิ้งไว้ พบว่าน้าตาลทรายแดงจะละลายเป็น
เนื้อเดยี วกบั น้าเปล่า ได้เป็นของเหลวเหมือนน้า และมีสีนา้ ตาลเหมอื นนา้ ตาลทรายแดง)

คาบท่ี 2

ขน้ั สอน

ขน้ั ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
1. นักเรียนเลน่ เกมจบั กลมุ่ เพื่อแบ่งกลมุ่ นักเรยี นออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5 คน โดยเตรียมบัตรคามาตรา
ตัวสะกด มาใหน้ กั เรยี น ในบัตรคามาตราตัวสะกด จะประกอบไปดว้ ย ตวั สะกด จานวน 4 ตวั
ได้แก่ ล ย ะ า
2. จากนั้นใหน้ กั เรยี นแต่ละคนสมุ่ หยบิ บตั รคาคนละ 1 ใบ แลว้ จับกลุ่มกัน กลุ่มละ 5 คน โดยจะตอ้ ง
รวมตัวสะกดตามบตั รคาที่หยิบได้ใหเ้ ป็นคาวา่ “ล ะ ล า ย”
3. เมื่อนักเรียนแบ่งกลุม่ เรียบรอ้ ย ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศึกษาค้นคว้าขอ้ มูลเก่ยี วกบั
เร่ือง การละลายของสาร จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรือแหล่งการเรยี นรู้ต่าง ๆ
เชน่ อนิ เทอรเ์ น็ต
4. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายเรอื่ งทไ่ี ดศ้ ึกษา จากน้นั ใหน้ ักเรียนแต่ละคนเขยี นสรปุ ความรู้
ท่ไี ดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน เพ่อื นาส่งครทู า้ ยช่ัวโมง
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ )
5. ครูตง้ั ประเด็นคาถามกระตุ้นความสนใจนักเรยี นวา่ “สารละลายคอื อะไร และเกิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร”
โดยใหแ้ ต่ละกลุ่มร่วมกนั อภปิ รายเพอ่ื หาคาตอบ

(แนวตอบ : สารละลาย คือ สารท่ผี สมรวมตวั กับนา้ อยา่ งกลมกลนื และมองเหน็ เป็นเน้อื เดยี วกนั
โดยทีส่ ารน้นั ยังคงคุณสมบตั ขิ องสารเป็นสารเดิม ซึ่งสารละลายเกิดจากการทีส่ ารสามารถละลาย
รวมตัวกับน้าได้)

คาบที่ 3

ขน้ั สอน

ข้นั ที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore) (ตอ่ )

6. ครูจัดเตรยี มวัสดุ-อปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นกิจกรรมที่ 3 การละลายของสารในนา้ จากหนงั สือเรียน

วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 มาวางไว้หน้าช้ันเรียน ดงั น้ี

- ดนิ รว่ น 1 ถงุ - แป้งมัน 1 ถงุ

- เกลอื ป่น 1 ถงุ - นา้ มันพชื 1 ขวด

- ชอ้ นตกั สาร 6 อัน - แทง่ แก้วคนสาร 6 อนั

- ร้าส้มสายชู 1 ขวด - น้าปรมิ าตร 600 มิลลิลิตร

- สีผสมอาหารชนดิ นา้ 1 ขวด - ตะแกรงวางหลอดทดลอง 1 อนั

- หลอดทดลองขนาดใหญ่ 6 หลอด

7. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คน ตามความสมัครใจ จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มจดั เตรียมอุปกรณ์

ท่ีใช้ในกจิ กรรมท่ี 3 การละลายของสารในนา้ จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

8. ครูแจ้งจดุ ประสงคข์ องกจิ กรรมท่ี 3 การละลายของสารในน้า ให้นักเรยี นทราบ เพื่อเป็นแนว

ทางการปฏบิ ัติกิจกรรมทีถ่ กู ตอ้ ง

9. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 3 การละลายของสารในน้า โดยปฏิบัตกิ จิ กรรม ดังนี้

1) ศึกษาข้นั ตอนการปฏิบัติกิจกรรมจากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 อยา่ งละเอียด

หากมีข้อสงสัยใหส้ อบถามครู

2) ร่วมกันกาหนดปัญหาและตง้ั สมมตฐิ านในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม แลว้ บันทกึ ผลลงในสมุดประจาตัว

นักเรยี น หรอื แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

3) ร่วมกนั ปฏบิ ัติกิจกรรมตามขน้ั ตอนให้ครบถ้วนและถูกต้องทกุ ขั้นตอน จากนน้ั บันทกึ ผลลงใน

สมุดประจาตัวนกั เรียน หรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ )

10. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันวิเคราะหผ์ ลการปฏิบตั กิ ิจกรรม แลว้ อภปิ รายผลและสรุปผลการทดลอง

คาบที่ 4

ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
11. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าชัน้ เรยี น เพ่อื แลกเปลยี่ นความคดิ
จนครบทุกกลุ่ม ในระหว่างที่นกั เรียนนาเสนอครคู อยให้ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ เพ่ือให้นกั เรยี น
มีความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ ง

(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน)
12. นักเรียนและครูรว่ มกันสรปุ ความรูท้ ีไ่ ด้จากการปฏิบัตกิ จิ กรรมท่ี 3 การละลายของสารในนา้

ซ่ึงไดข้ อ้ สรปุ ร่วมกันว่า “เมื่อนาเกลือปน่ ใส่ลงในหลอดทดลองประมาณ 1/4 ของหลอดทดลอง
จากนัน้ เทน้าลงในหลอดทดลองประมาณ 3/4 ของหลอดทดลอง จากน้ันคนสารในหลอดทดลอง
พบว่า เกลือป่นละลายเปน็ เนอื้ เดยี วกบั น้า ซ่ึงเมอื่ ทดลองเปล่ยี นเกลอื ป่นเป็นน้าส้มสายชหู รอื
สผี สมอาหารชนิดน้า พบว่า จะได้ผลการทดลองเช่นเดยี วกนั คือนา้ สม้ สายชูหรือสีผสมอาหารชนิด
น้าจะละลายเปน็ เนื้อเดยี วกับน้า แตเ่ ม่อื ทดลองโดยเปล่ยี นเปน็ ดนิ ร่วมหรือแป้งมันหรอื น้ามนั พชื
พบว่า สารดังกล่าวไม่ละลายเป็นเนื้อเดียวกับน้า แสดงว่าเกลอื ป่น น้าส้มสายชู และสีผสมอาหาร
สามารถละลายนา้ ได้ สว่ นดินรว่ น แปง้ มัน และน้ามันพืชไมส่ ามารถละลายนา้ ได้”

คาบที่ 4

ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
13. ครูตั้งประเดน็ คาถามจากการทดลองว่า “เมื่อนาเกลอื ป่นละลายกบั นา้ แล้วไดส้ ารละลายที่เป็น
เน้ือเดยี วกัน นักเรยี นคดิ ว่า ระหว่างเกลือป่นกับนา้ สารใดเปน็ ตัวทาละลาย และสารใดเปน็
ตัวละลาย เพราะเหตุใด”
(แนวตอบ : นา้ เป็นตัวทาละลาย เนื่องจากการทดลองดงั กล่าว นา้ มีปริมาณมากกว่า คอื
มีปริมาณ 3/4 ของหลอดทดลอง และน้า มสี ถานะเดยี วกบั สารละลายที่ได้ ส่วนเกลอื ป่นเปน็
ตวั ละลาย เนอ่ื งจากมีปริมาณนอ้ ยกวา่ คือมีปริมาณ 1/4 ของหลอดทดลอง)
14. นักเรยี นแต่ละคนทากิจกรรมหนตู อบได้ จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยตอบ
คาถามลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียน หรอื แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

คาบที่ 5

ขน้ั สอน

ขั้นท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
15. นกั เรยี นจบั คู่กบั เพ่ือนในช้ันเรียน ตามความสมคั รใจ โดยใช้โทรศพั ท์มือถอื สแกน QR Code
เร่อื ง การละลายในน้าของสาร จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 จากน้ันครตู ง้ั ประเด็น
คาถามกระตนุ้ ความคิดนกั เรียนว่า “มสี ารชนดิ ใดบ้างทีท่ าหนา้ ทเ่ี ปน็ ตวั ทาละลายไดเ้ ชน่ เดียวกบั
น้า และสามารถละลายสารชนดิ ใดได้”
(แนวตอบ : แอลกอฮอล์ โดยสามารถละลายลูกเหมน็ หรือเชลแล็ก (Shellac) ได)้
16. นักเรียนแบง่ กลุ่ม (กลุ่มเดมิ ) จากชวั่ โมงท่ผี ่านมา จากน้ันใหแ้ ต่ละกลุ่มร่วมกันศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมูล
เกี่ยวกบั เร่อื ง การละลายในนา้ ของสารท่อี ยู่ในสถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ จากหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรอื แหล่งการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ เชน่ อินเทอร์เนต็
17. ครูสุ่มนกั เรียน จานวน 3 คน ให้ยกตวั อยา่ งการละลายในนา้ ของสารทอ่ี ยู่ในสถานะตา่ ง ๆ
คนละ 1 ตัวอยา่ ง ดงั นี้

 คนท่ี 1 ให้ยกตวั อยา่ งการละลายในน้าของสารที่อยู่ในสถานะของแข็ง
 คนท่ี 2 ใหย้ กตวั อย่างการละลายในน้าของสารทอ่ี ยใู่ นสถานะของเหลว
 คนท่ี 3 ใหย้ กตัวอยา่ งการละลายในนา้ ของสารทอ่ี ยู่ในสถานะแก๊ส
18. ครอู ธิบายเพิม่ เติมให้นักเรียนเขา้ ใจเก่ียวกบั การละลายของสารในน้าวา่ “การละลายของสารในนา้
คือ การนาสารชนดิ หนง่ึ ซึง่ มีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส มาผสมกับน้า แลว้ สารชนดิ
นน้ั สามารถผสมรวมเป็นสารเนือ้ เดยี วกันกบั นา้ ได้ทุกสว่ น โดยเราเรยี กสารผสมท่เี กิดข้นึ วา่
สารละลาย โดยมนี ้าเปน็ ตวั ทาละลาย และสารท่ีนามาผสมกบั น้าเปน็ ตัวละลาย”
19. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามเนอื้ หาเกยี่ วกับ เรือ่ ง การละลายของสารในนา้ และให้ความรู้
เพม่ิ เติมจากคาถามของนกั เรยี น โดยครูใช้ PowerPoint เรอื่ ง การละลายของสารในน้า
ในการอธิบายเพ่มิ เตมิ
20. นักเรียนตอบคาถามท้าทายการคดิ ขัน้ สงู จากหนงั สือเรยี น วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 ลงในสมุด
ประจาตัวนกั เรยี น หรอื แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

คาบท่ี 6

ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ต่อ)
21. นกั เรยี นจบั คู่กับเพื่อนในชน้ั เรียน ตามความสมคั รใจ จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นทาใบงานที่ 5.3.1
เร่ือง การละลายของสารในน้า
22. ครสู มุ่ นกั เรยี น 2-3 คู่ ออกมานาเสนอคาตอบของตนเอง โดยครูให้นกั เรียนร่วมกันพิจารณา
ว่าคาตอบใดถูกต้อง จากน้นั ครเู ฉลยคาตอบที่ถูกต้องให้นกั เรียน
23. นกั เรียนแต่ละคนเขียนสรุปสาระสาคัญประจา บทท่ี 1 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ โดยเขียน
เปน็ แผนผงั มโนทัศน์ ลงในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น
24. นกั เรยี นแตล่ ะคนทากจิ กรรมฝึกทกั ษะ บทท่ี 1 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ จากหนงั สอื เรียน
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 ลงในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น หรอื แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

คาบที่ 7

ข้ันที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) (ตอ่ )
25. นักเรียนแบง่ กลุม่ (กลมุ่ เดิม) จากน้ันให้แตล่ ะค่ศู กึ ษากิจกรรมสรา้ งสรรค์ผลงาน จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยให้แต่ละกลมุ่ ทาช้ินงานเกีย่ วกบั เรือ่ ง เคร่ืองดมื่ แสนอรอ่ ย ทสี่ ่วนผสม
สามารถละลายนา้ ได้
26. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอชิ้นงานหนา้ ช้ันเรียน โดยระบสุ ารท่นี ามาผสมกับน้า พร้อมบอกว่าส่ิงใด
เปน็ ตัวทาละลายและตวั ละลาย จากนนั้ ให้เพือ่ นกล่มุ อ่นื ๆ ชิมเครื่องดมื่ ของกลุ่มตนเอง โดยครใู ห้
คาแนะนาและเสนอแนะส่วนท่ีบกพรอ่ ง

คาบที่ 8

ข้นั สรปุ

ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรยี นแต่ละคนดตู ารางตรวจสอบตนเอง จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
จากน้ันครูถามนักเรียนเปน็ รายบคุ คลตามรายการขอ้ 1-5 เพอ่ื เป็นการตรวจสอบความรู้
ความเข้าใจของนกั เรยี นหลังจากการเรยี นจบบทท่ี 1 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤติกรรมการทางานกล่มุ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชนั้ เรียน
3. ครูตรวจสอบผลการปฏิบัติกจิ กรรมที่ 3 การละลายของสารในน้า ในสมุดประจาตัวนกั เรียน
หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
4. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมหนตู อบได้ ในสมดุ ประจาตวั นกั เรียน หรือแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2
5. ครูตรวจ คาถามท้าทายการคดิ ขัน้ สูง ในสมุดประจาตวั นักเรยี น หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2
6. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานที่ 5.3.1 เรือ่ ง การละลายของสารในน้า
7. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมฝึกทักษะ บทที่ 1 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ในสมดุ ประจาตัว
นักเรียน หรอื แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
8. ครตู รวจช้นิ งาน/ผลงาน เครื่องดม่ื แสนอร่อย ของนักเรียนแตล่ ะกลมุ่
9. นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุปเกยี่ วกับการละลายของสารในนา้ ซ่ึงได้ขอ้ สรุปรว่ มกันวา่ “การละลาย
ของสารในน้า คอื การท่ีสารชนิดหนงึ่ สามารถผสมรวมตวั กับนา้ อยา่ งกลมกลืนเปน็ เนอ้ื เดยี วกัน
เรียกวา่ สารละลาย โดยสารละลายทีไ่ ดย้ งั คงมีคุณสมบัติเชน่ เดยี วกบั สารเดมิ ”

6.การวดั และประเมินผล

การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการวัดผล เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ าร
จุดประสงค์

ประเมินผล

ความรคู้ วาม 1. สังเกตจากการซกั ถาม ตอบ 1.คาถามกระตนุ้ 70% ขึน้ ไป ถอื วา่
เข้าใจ (K) คาถาม
ความคดิ ผ่านเกณฑก์ าร

2. ตรวจใบงานท่ี 5.3.1 ประเมนิ

ทักษะ/ 2. อธบิ ายการการละลายของสาร 1. ประเมินการ 70% ขน้ึ ไป ถือวา่
กระบวนการ (P) ทเี่ ป็นของแขง็ ของเหลว และแก๊ส นาเสนอ ผลงาน/ผล ผ่านเกณฑก์ าร
ในนา้ ได้ การปฏบิ ัติกิจกรรม ประเมนิ

1. ปฏิบตั ิกิจกรรมการละลายของ
สารในน้าไดอ้ ย่างถูกต้องและเปน็
ลาดับข้ันตอน

คณุ ลักษณะนสิ ัย (A) 1. มีความใฝ่เรยี นรู้และให้ความ 1. แบบสงั เกต 70% ข้ึนไป ถือวา่
ร่วมมือในการทากิจกรรมกลุ่ม พฤติกรรม ผา่ นเกณฑก์ าร
ประเมิน

7. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
7.1 สือ่ การเรียนรู้

1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 การเปลี่ยนแปลง
2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 การเปลยี่ นแปลง
3) ใบงานท่ี 5.3.1 เร่ือง การละลายของสารในน้า
4) วัสดุ-อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นกิจกรรมท่ี 3 การละลายของสารในนา้
5) PowerPoint เรอื่ ง การละลายของสารในน้า
6) บัตรคามาตราตัวสะกด
7) น้าตาลทรายแดง และนา้ เปลา่ ทีบ่ รรจใุ นแก้วใส
8) QR Code เร่อื ง การละลายในน้าของสาร
9) สมดุ ประจาตัวนักเรยี น

7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) หอ้ งเรียน
2) อินเทอรเ์ น็ต

8. กิจกรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ครูผสู้ อน ลงช่ือ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

ใบงานที่ 5.3.1

เรือ่ ง การละลายของสารในนา้

คาชีแ้ จง : เตมิ ข้อความท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการละลายของสารในนา้ ลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง

การละลายของสารในนา้ หมายถงึ อะไร
............................................................................................................................. ......................................
............................................................................................................................. ......................................
............................................................................................................................. ......................................
...................................................................................................................................................................

สารตัวอยา่ งดา้ นล่างนี้ สามารถละลายในนา้ ไดห้ รือไม่

 เกลอื .......................................................................................

 เกลด็ ด่างทบั ทมิ .......................................................................................

 นา้ ตาลทรายแดง .......................................................................................

 แอลกอฮอล์ .......................................................................................

 แกส๊ ออกซิเจน .......................................................................................

 ลกู เหม็น .......................................................................................

 ผงตะไบเหล็ก .......................................................................................

 แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ .......................................................................................

 สีผสมอาหาร .......................................................................................

 ทราย .......................................................................................

ใบงานที่ 5.3.1 เฉลย

เรอ่ื ง การละลายของสารในนา้

คาช้แี จง : เตมิ ข้อความทีเ่ ก่ียวข้องกบั การละลายของสารในน้าลงในชอ่ งวา่ งให้ถกู ต้อง

การละลายของสารในน้า หมายถงึ อะไร
การละลายของสารในนา้ หมายถงึ กระบวนการทสี่ ารชนดิ หน่งึ ผสมรวมตัวกับน้าอย่างกลมกลนื
มองเห็นเป็นเนอื้ เดียวกนั ทกุ ส่วน แต่ยังคงมคี ณุ สมบัติเดิมของสารน้นั

สารตัวอยา่ งด้านลา่ งน้ี สามารถละลายในนา้ ได้หรอื ไม่

 เกลือ สามารถละลายน้าได้

 เกลด็ ด่างทับทมิ สามารถละลายนา้ ได้

 นา้ ตาลทรายแดง สามารถละลายนา้ ได้

 แอลกอฮอล์ สามารถละลายนา้ ได้

 แกส๊ ออกซิเจน สามารถละลายน้าได้

 ลูกเหมน็ ไม่สามารถละลายนา้ ได้

 ผงตะไบเหล็ก ไม่สามารถละลายน้าได้

 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถละลายนา้ ได้

 สผี สมอาหาร สามารถละลายน้าได้

 ทราย ไมส่ ามารถละลายนา้ ได้

ภาคเรียนที่ …2…/……….……... ชอื่ ผสู้ อน
….…………………………………………………...

บัตรคามาตราตวั สะกด ย 




ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

เร่ือง เคร่อื งด่ืมแสนอรอ่ ย

คาช้แี จง : นกั เรยี นแบ่งกล่มุ ๆ ละ 5 คน ทาชน้ิ งานเกยี่ วกับ เร่ือง เคร่ืองด่ืมแสนอร่อย ทส่ี ่วนผสมสามารถ
ละลายน้าได้ โดยระบุสารทน่ี ามาผสมกบั นา้ พร้อมบอกวา่ สงิ่ ใดเป็นตัวทาละลายและตัวละลาย

สัปดาห์ท่ี 5-6

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ฒั นา

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4

ภาคเรียนท่ี …2…/……….……... ชอื่ ผ้สู อน ….…………………………………………………...
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 จานวน 6 คาบ
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 การเปล่ยี นแปลง เร่ือง การเปล่ยี นแปลงทางเคมี

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด

ว 2.1 ป.5/3 วเิ คราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเม่ือเกิดการเปลย่ี นแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐาน
เชงิ ประจักษ์

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การเปลย่ี นแปลงทางเคมี คอื การเปลย่ี นแปลงของสารชนดิ เดียว หรอื การทาปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งสาร 2 ชนดิ ข้นึ ไป
แลว้ เกดิ สารใหม่ขน้ึ ซง่ึ มีสมบตั ิต่างไปจากสารเดิม และเม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงแลว้ จะทาให้กลับมาเปน็ สารเดิมยาก โดย
การเปลย่ี นแปลงทางเคมีหรอื การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีท่ีทาใหเ้ กดิ สารใหม่ สามารถสังเกตไดจ้ ากการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของ
สาร เชน่ การมีสที ่ีต่างจากเดิม การมีกล่นิ ที่ต่างจากเดมิ การมฟี องแกส๊ เกดิ ขึน้ การมอี ุณหภมู ิเพิม่ ขึ้นหรอื ลดลง การมี
ตะกอนเกิดขนึ้ เปน็ ต้น

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. วิเคราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงของสารเม่อื เกิดการเปลยี่ นแปลงทางเคมีได้ (K)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมการเปล่ียนแปลงทางเคมไี ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเป็นลาดบั ขนั้ ตอน (P)
3. มีความใฝเ่ รยี นรู้และใหค้ วามร่วมมอื ในการทากิจกรรมกลมุ่ (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิ่น

เม่ือผสมสาร 2 ชนิด ขึ้นไปแล้วมีสารใหม่ พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

เกิดข้ึน ซึ่งมีสมบัติต่างจากสารเดิมหรือเมื่อสารชนิด

เดียวเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วมีสารใหม่เกิดข้ึน การ

เปล่ียนแปลงน้ีเรียกว่า การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

ซ่ึงสังเกตได้จากมีสีหรือกลิ่นต่างจากสารเดิม หรือ

มีฟองแก๊ส หรือมีตะกอนเกิดข้ึน หรือมีการเพิ่มข้ึน

หรอื ลดลงของอณุ หภมู ิ

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขน้ั นา

ขั้นที่ 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage)

1. ครทู กั ทายกับนักเรียน จากนน้ั แจง้ จดุ ประสงค์การเรียนร้ใู หน้ ักเรยี นทราบ
2. ครพู ดู คุยสนทนากับนักเรียน จากนน้ั ครูถามนักเรยี นว่า “ตอนเชา้ /ตอนเทยี่ ง นักเรียนรบั ประทาน

อะไรบา้ ง” โดยให้นักเรยี นร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นอยา่ งอิสระไม่มกี ารเฉลยว่าถูก
หรือผิด
(แนวตอบ : ขึ้นอย่กู ับส่งิ ทน่ี ักเรยี นรับประทาน เช่น ไสก้ รอกทอด ไขด่ าว ไข่เจยี ว ไขต่ ม้ หมูทอด
ไกท่ อด เปน็ ตน้ )
3. ครูยกตัวอยา่ งอาหารทีน่ ักเรยี นรบั ประทาน เช่น ไขต่ ม้ แล้วครตู ้งั ประเด็นคาถามกระตนุ้ ความคิด
นักเรยี นวา่ “นักเรียนคดิ ว่าไข่ตม้ เปน็ การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของไข่ หรอื ไม่ อย่างไร”
(แนวตอบ : ไม่ใชก่ ารเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เนอื่ งจากไข่เมื่อเพิ่มความรอ้ นจนสุก จะเปล่ยี น
สถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง แต่เม่อื ไขต่ ้มที่สุกแล้ว ลดความรอ้ นลง จะไมส่ ามารถเปลย่ี น
สถานะกลบั เป็นของเหลวดงั เดมิ ได้)
4. นักเรยี นดภู าพในบทที่ 2 การเปลย่ี นแปลงทางเคมี จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
จากนนั้ ครูถามคาถามสาคญั ประจาบทว่า “จากภาพเกิดการเปลย่ี นแปลงทางเคมหี รอื ไม่
เพราะเหตใุ ด” โดยให้นกั เรยี นแตล่ ะคนรว่ มกันอภปิ รายเพอ่ื หาคาตอบ
(แนวตอบ : เป็นการเปลีย่ นแปลงทางเคมี เน่ืองจากเหลก็ เม่อื โดนน้าและอากาศทาใหเ้ กิดสนมิ
เหลก็ ทาให้สีของเหล็กเปล่ียนไปจากเดิม และเกดิ สนมิ เหล็กซง่ึ เปน็ สารใหม่)
5. นักเรยี นเรยี นรู้คาศัพทท์ ีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การเรยี นในบทที่ 2 การเปล่ียนแปลงทางเคมี
จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยครูขออาสาสมคั รนักเรียน จานวน 1 คน
ให้เป็นผอู้ ่านนา และใหน้ กั เรยี นทีอ่ ย่ใู นชน้ั เรียนเป็นผู้อ่านตามทลี ะคา ดังนี้

Chemical Change (‘เคม็ มคิ ลั เชนจ) การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
Changes of Color (ชนจ ออฟว ‘คลั เลอ) สีเปล่ยี น
Rust (รสั ท) สนิม

6. นกั เรียนทากิจกรรมนาสกู่ ารเรียน โดยอ่านสถานการณ์ จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
แล้วตอบคาถาม ลงในสมุดประจาตวั นกั เรยี น หรือแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)

คาบที่ 2

ขน้ั สอน

ขน้ั ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
1. ครนู าลกู อม 4 รสชาติ ได้แก่ ลกู อมรสโคล่า ลูกอมรสสตอว์เบอรร์ ่ี ลูกอมรสม้นิ ต์ และลกู อม
รสมะนาว มาวางไวห้ น้าชนั้ เรยี น โดยใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนเลือกลกู อมคนละ 1 เมด็ รสชาตใิ ดก็ได้
จากนน้ั ครแู จง้ ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ กลุ่มละ 4 คน โดยแต่ละกลมุ่ จะตอ้ งประกอบไปด้วย
นกั เรียนทีม่ ลี กู อมครบทง้ั 4 รสชาติ ไดแ้ ก่ ลูกอมรสโคล่า ลูกอมรสสตอว์เบอรร์ ี่ ลกู อมรสมิ้นต์
และลูกอมรสมะนาว
2. เมอื่ นกั เรียนแบ่งกลุม่ เรียบรอ้ ย ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันศึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู เก่ยี วกบั
เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงทางเคมขี องสาร จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรอื แหลง่ การ
เรียนร้ตู ่าง ๆ เช่น อนิ เทอร์เนต็
3. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั อภปิ รายเรอื่ งที่ได้ศกึ ษา จากนั้นให้นักเรยี นแต่ละคนเขยี นสรปุ ความรู้
ทไ่ี ด้จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ลงในสมุดประจาตัวนกั เรียน เพื่อนาสง่ ครูทา้ ยช่ัวโมง
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ )
4. ครตู ัง้ ประเดน็ คาถามกระตุ้นความสนใจนกั เรียนวา่ “การเปล่ียนแปลงใดบ้าง ทเ่ี ป็น
การเปล่ียนแปลงทางเคมี” โดยใหแ้ ต่ละกลมุ่ รว่ มกันอภปิ รายเพ่อื หาคาตอบ
(แนวตอบ : การเผาไหม้ การเกดิ สนิม การทาขนมครก ไข่ตม้ การสุกของสตอวเ์ บอรร์ ี่)

คาบที่ 3

ข้ันที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore) (ต่อ)

5. ครจู ัดเตรียมวัสดุ-อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในกจิ กรรมท่ี 1 การเปลย่ี นแปลงทางเคมขี องสาร

จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 มาวางไวห้ น้าช้นั เรียน ดังนี้

- ช้อนโลหะ 1 คนั - กระดาษ 1 แผ่น

- ไมข้ ดี ไฟ 1 กลกั - ผงชรู สแท้ 1ซอง

- กระกอ๋ งโลหะ 1 ใบ - ขวดแกว้ ปากแคบ 1 ใบ

- ชุดตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 ชุด - ผงฟู 1 ซอง

- ลูกโปง่ 1 ใบ - น้าส้มสายชู 1 ขวด

- กรวยกรอกนา้ 1 อนั - หลอดดูดนา้ 1 หลอด

- หลอดทดลองขนาดเลก็ 1 หลอด - น้าปูนใส 1/2 ของหลอดทดลองขนาดเล็ก

6. นกั เรียนแบง่ กลุม่ (กลุ่มเดิม) จากชวั่ โมงทผ่ี ่านมา จากนนั้ ให้นกั เรยี นแต่ละกลุม่ จัดเตรียมอุปกรณ์

ท่ีใช้ในกิจกรรมท่ี 1 การเปลีย่ นแปลงทางเคมีของสาร จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

7. ครูแจง้ จดุ ประสงคข์ องกจิ กรรมท่ี 1 การเปล่ียนแปลงทางเคมีของสาร ให้นกั เรียนทราบ เพ่ือเปน็
แนวทางการปฏบิ ตั ิกิจกรรมทีถ่ กู ต้อง

8. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมท่ี 1 การเปลย่ี นแปลงทางเคมีของสาร โดยปฏิบัติ
กจิ กรรม ดงั นี้
1) ศกึ ษาขน้ั ตอนการปฏบิ ัติกจิ กรรมจากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 อยา่ งละเอียด
หากมีข้อสงสัยให้สอบถามครู
2) รว่ มกันกาหนดปัญหาและตง้ั สมมติฐานในการปฏบิ ัติกจิ กรรม แล้วบันทึกผลลงในสมดุ ประจาตัว
นักเรยี น หรือแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
3) รว่ มกนั ปฏบิ ัติกิจกรรมตามขน้ั ตอนใหค้ รบถว้ นและถูกต้องทุกขัน้ ตอน จากนั้นบนั ทึกผลลงใน
สมดุ ประจาตวั นักเรียน หรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)

9. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกันวิเคราะห์ผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม แลว้ อภปิ รายผลและสรปุ ผลการทดลอง

คาบท่ี 4

ขนั้ สอน

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
10. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมหน้าช้ันเรียน เพื่อแลกเปลย่ี นความคดิ
จนครบทกุ กล่มุ ในระหว่างทนี่ กั เรยี นนาเสนอครคู อยให้ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม เพือ่ ใหน้ กั เรยี น
มคี วามเข้าใจท่ีถกู ตอ้ ง
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบประเมนิ การนาเสนอผลงาน)
11. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการปฏิบัติกิจกรรมท่ี 1 การเปล่ียนแปลงทางเคมี
ของสาร ซึง่ ได้ขอ้ สรปุ รว่ มกนั ว่า “เมือ่ เผากระดาษหรือผงชูรสแท้ พบวา่ กระดาษหรือผงชูรสแท้
จะไหม้ กลายเป็นเถ้าถา่ นสีดา เม่ือเป่าลมใส่น้าปนู ใส พบวา่ นา้ ปูนใสจะขุ่น และมตี ะกอนเกิดขน้ึ
เมอ่ื เทผงฟูลงในนา้ สม้ สายชู พบวา่ มฟี องแก๊สเกิดขน้ึ ”
12. นักเรียนแต่ละคนทากจิ กรรมหนูตอบได้ จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยตอบ
คาถามลงในสมดุ ประจาตวั นกั เรียน หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

คาบท่ี 5

ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
13. นักเรียนแตล่ ะคนใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถอื สแกน QR Code เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมี จากหนงั สอื
เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากน้นั ครตู ้ังประเด็นคาถามกระตนุ้ ความคดิ นกั เรียนว่า
“เราสามารถสังเกตไดอ้ ย่างไรว่า สารใหม่ที่เกดิ ข้นึ การจากเปลีย่ นแปลง เปน็ การเปลย่ี นแปลงทางเคมี”

(แนวตอบ : สารทไี่ ด้มสี ีต่างจากสารเดิม สารท่ไี ด้มีกลิน่ ต่างจากสารเดมิ เกิดแสงหรอื เสียงข้ึน
เกดิ ฟองแกส๊ ข้ึน มกี ารเพิ่มข้นึ หรือลดลงของอณุ หภูมิ เกดิ ตะกอนขึน้ )
14. นักเรียนแบง่ กลมุ่ (กลุ่มเดมิ ) จากช่วั โมงทผ่ี ่านมา จากนน้ั ให้แต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศึกษาค้นคว้าข้อมูล
เพิม่ เตมิ เกย่ี วกับ เรื่อง การเปลย่ี นแปลงทางเคมี ผลดแี ละผลเสยี จากการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีของสาร
จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หรือแหลง่ การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ เช่น อินเทอรเ์ นต็
15. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมใหน้ ักเรยี นเข้าใจเกยี่ วกับการเปลีย่ นแปลงทางเคมขี องสารว่า “การเปลี่ยนแปลง
ทางเคมขี องสารต่างจาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสาร โดยการเปลีย่ นแปลงทางเคมขี อง
สารจะทาให้เกดิ สารใหม่ สมบัติของสารใหมท่ ่ไี ด้เปลยี่ นไปจากเดิม เป็นการเปลยี่ นแปลง
องคป์ ระกอบภายในของสาร และสารใหมท่ ่ไี ด้กลับคืนสู่สภาพเดมิ ไม่ได้หรอื ทาได้ยาก”
16. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามเนอื้ หาเกยี่ วกับ เรอื่ ง การเปลีย่ นแปลงทางเคมีของสาร
และใหค้ วามรูเ้ พิ่มเติมจากคาถามของนกั เรยี น โดยครูใช้ PowerPoint เร่อื ง การเปล่ียนแปลง
ทางเคมขี องสาร ในการอธิบายเพ่ิมเตมิ
17. นักเรยี นแต่ละคนทาใบงานท่ี 5.4.1 เรือ่ ง การเปล่ียนแปลงทางเคมขี องสาร เป็นการบ้านส่งใน
ชวั่ โมงถดั ไป
18. นกั เรยี นแต่ละคนเขียนสรปุ สาระสาคัญประจา บทท่ี 2 การเปลยี่ นแปลงทางเคมี โดยเขยี น
เป็นแผนผงั มโนทศั น์ ลงในสมุดประจาตวั นกั เรียน
19. นักเรยี นแตล่ ะคนทากิจกรรมฝกึ ทักษะ บทท่ี 2 การเปล่ยี นแปลงทางเคมี จากหนงั สือเรยี น
วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 ลงในสมดุ ประจาตวั นักเรียน หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
20. นักเรียนแบง่ กลุม่ ๆ ละ 4 คน จากน้นั ใหแ้ ต่ละกลุ่มรว่ มกนั ศกึ ษากจิ กรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงงาน
จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยใหเ้ ลือกผักหรอื ผลไมก้ ลุ่มละ 1 ชนดิ ช่วยกันสังเกต
และบนั ทึกผลการเปล่ยี นแปลงทางเคมอี ยา่ งนอ้ ย 1 สปั ดาห์ แล้วนาข้อมูลทีไ่ ด้จากการสงั เกตมา
จัดทาเป็นรายงาน เรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของผกั และผลไม้

คาบที่ 6

ข้นั สรปุ

ข้ันท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรยี นแต่ละคนดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
จากน้นั ครถู ามนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คลตามรายการขอ้ 1-5 เพอื่ เปน็ การตรวจสอบความรู้
ความเข้าใจของนักเรยี นหลงั จากการเรียนจบบทท่ี 2 การเปลีย่ นแปลงทางเคมี
2. ครูประเมนิ ผล โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤติกรรมการทางานกลุม่ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าช้ันเรยี น
3. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมนาสกู่ ารเรียน ในสมุดประจาตวั นักเรียน หรือแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

4. ครูตรวจสอบผลการปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 1 การเปลยี่ นแปลงทางเคมีของสาร ในสมุดประจาตวั
นกั เรยี น หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

5. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบได้ ในสมุดประจาตวั นักเรียน หรือแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2

6. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานที่ 5.4.1 เรือ่ ง การเปลย่ี นแปลงทางเคมขี องสาร
7. ครตู รวจผลการทากิจกรรมสรุปสาระสาคญั ประจา บทท่ี 2 การเปลีย่ นแปลงทางเคมี

ในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น
8. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมฝึกทกั ษะ บทที่ 2 การเปลย่ี นแปลงทางเคมี ในสมดุ ประจาตัว

นกั เรียน หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
9. ครตู รวจสอบรายงาน เร่อื ง การเปล่ยี นแปลงทางเคมขี องผกั และผลไม้ ของนกั เรียนแต่ละกลมุ่
10. นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ เก่ียวกับการเปลย่ี นแปลงทางเคมีของสาร ซึ่งได้ขอ้ สรปุ ร่วมกนั วา่

“การเปลีย่ นแปลงทางเคมีของสาร คือ การเปล่ยี นแปลงของสารชนดิ เดียว หรอื การทาปฏกิ ริ ิยา
ระหว่างสาร 2 ชนดิ ข้นึ ไปแลว้ เกดิ สารใหม่ ซ่งึ มีสมบัตติ า่ งไปตา่ งเดมิ และทาให้กลบั มาเป็นสารเดมิ
ได้ยาก โดยสามารถสงั เกตการเปลี่ยนแปลงท่เี กิดขึ้นจากสารใหมไ่ ดห้ ลายอยา่ ง เชน่ สีที่จากต่าง
เดมิ กลิ่นท่ีต่างจากเดิม อาจมเี สยี งหรอื แสงเกดิ ขึ้น มฟี องแก๊สเกดิ ข้นึ มีการเพ่ิมข้ึนหรือลดลงของ
อณุ หภูมิ หรอื มตี ะกอนเกดิ ขน้ึ ”

6.การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์ วธิ ีการวดั ผล เครือ่ งมือวดั เกณฑ์การ

ประเมินผล

ความรคู้ วาม 1. สงั เกตจากการซักถาม ตอบ 1.คาถามกระตุ้น 70% ข้นึ ไป ถอื วา่

เขา้ ใจ (K) คาถาม ความคดิ ผา่ นเกณฑ์การ

2. ใบงานท่ี 5.4.1 ประเมิน

2. วเิ คราะห์การเปล่ียนแปลงของ

สารเมื่อเกดิ การเปล่ยี นแปลงทาง

เคมีได้

ทกั ษะ/ 1. ปฏิบตั กิ จิ กรรมการเปลย่ี นแปลง 1. ประเมนิ การ 70% ขึ้นไป ถือวา่

กระบวนการ (P) ทางเคมไี ดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเปน็ ปฏิบัตกิ ารทดลอง ผ่านเกณฑ์การ

ลาดับขัน้ ตอน 2. ผลนาเสนอ ประเมนิ

ผลงาน/ผลการปฏิบัติ

กจิ กรรม

คุณลกั ษณะนิสยั (A) 1. ความใฝเ่ รยี นรแู้ ละให้ความ 1. แบบสงั เกต 70% ข้ึนไป ถือว่า
รว่ มมอื ในการทากจิ กรรมกลุ่ม พฤตกิ รรม ผ่านเกณฑก์ าร
ประเมิน

7. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรียนรู้

1) หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 การเปลยี่ นแปลง
2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 5 การเปลี่ยนแปลง
3) ใบงานท่ี 5.4.1 เรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
4) วัสดุ-อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นกจิ กรรมท่ี 1 การเปลีย่ นแปลงทางเคมีของสาร
5) PowerPoint เรอ่ื ง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
6) ลูกอม 4 รสชาติ
7) สมุดประจาตวั นกั เรยี น

7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรียน
2) อินเทอรเ์ น็ต

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................ครผู ูส้ อน ลงช่ือ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

ใบงานท่ี 5.4.1

เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร

เดก็ หญิง ก. ซื้อแกงกะทิจากตลาด ช่วงเช้า จากน้นั เด็กหญงิ ก. ตงั้ แกงกะททิ ิ้งไว้บนโต๊ะอาหาร
ในช่วงเยน็ เดก็ หญิง ก. นาแกงกะทมิ าเทใสจ่ านเพอ่ื รับประทาน พบว่า แกงกะทมิ กี ลิน่ เหมน็
จากข้อมูลดังกล่าว นักเรยี นคิดว่าการเปลย่ี นแปลงของแกงกะทิ เปน็ การเปลย่ี นแปลงทางเคมี
หรอื ไม่ สงั เกตได้อยา่ งไร

............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................

ให้นกั เรียนนาคาในสเี่ หลีย่ มดา้ นล่างน้ี เติมลงในชอ่ งวา่ งด้านล่าง

เกดิ สารใหม่ เปล่ียนแปลงรปู รา่ ง เปล่ยี นสถานะกลบั สู่ สมบัติของสาร
ภายนอก สภาพเดิมไมไ่ ด้ คงเดิม
เปลย่ี นสถานะกลับไป
กลับมาได้ สมบัติของสาร ไดส้ ารเดิม เปลีย่ นแปลงองค์ประกอบ
เปล่ียนแปลง ภายใน

การเปล่ียนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

ใบงานท่ี 5.4.1 เฉลย

เรอื่ ง การเปลย่ี นแปลงทางเคมขี องสาร

เดก็ หญิง ก. ซอ้ื แกงกะทิจากตลาด ช่วงเชา้ จากนน้ั เด็กหญิง ก. ต้งั แกงกะทิทิ้งไวบ้ นโต๊ะอาหาร
ในช่วงเย็น เด็กหญงิ ก. นาแกงกะทิมาเทใสจ่ านเพือ่ รับประทาน พบว่า แกงกะทิมีกลน่ิ เหมน็
จากขอ้ มูลดังกล่าว นักเรยี นคดิ วา่ การเปลย่ี นแปลงของแกงกะทิ เปน็ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
หรอื ไม่ สังเกตไดอ้ ย่างไร

การเปลี่ยนแปลงของแกงกะทิ เปน็ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เน่ืองจากแกงกะทิมีกลน่ิ เหม็น
ตา่ งจากตอนแรกทซ่ี ้อื มา แสดงว่าแกงกะทิเกดิ ปฏิกิรยิ าทางเคมีเกิดขน้ึ

ให้นักเรียนนาคาในสเี่ หล่ยี มดา้ นลา่ งนี้ เตมิ ลงในชอ่ งว่างดา้ นลา่ ง

เกิดสารใหม่ เปลีย่ นแปลงรปู ร่าง เปลีย่ นสถานะกลับสู่ สมบตั ขิ องสาร
ภายนอก สภาพเดมิ ไมไ่ ด้ คงเดิม
เปลย่ี นสถานะกลบั ไป
กลบั มาได้ สมบตั ขิ องสาร ได้สารเดมิ เปล่ียนแปลงองคป์ ระกอบ
เปลี่ยนแปลง ภายใน

การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

 เกิดสารใหม่  ได้สารเดมิ
 เปลย่ี นสถานะกลับสสู่ ภาพเดิมไมไ่ ด้  เปลี่ยนสถานะกลับไปกลบั มา
 สมบัติของสารเปลยี่ นแปลง  สมบัตขิ องสารคงเดิม
 เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายใน  เปลยี่ นแปลงรูปรา่ งภายนอก


Click to View FlipBook Version