The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสรเางและแผนการสอนวิทยาศาสตร์ ป.5 เทอม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by radarin.miw555, 2022-05-04 20:57:56

โครงสร้างและแผนการสอนวิทยาศาสตร์ ป.5 เทอม1

โครงสรเางและแผนการสอนวิทยาศาสตร์ ป.5 เทอม1

ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

รายงาน เรื่อง การเปลยี่ นแปลงทางเคมขี องผักและผลไม้

คาชี้แจง : นักเรยี นแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 4 คน โดยเลือกผักหรอื ผลไมม้ า 1 ชนิด จากนนั้ ชว่ ยกนั สังเกต และบันทึก
ผลการเปลี่ยนแปลงทางเคมีอยา่ งน้อย 1 สัปดาห์ แล้วนาข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการสังเกตมาจัดทาเป็น
รายงาน เรื่อง การเปล่ียนแปลงทางเคมีของผักและผลไม้

สปั ดาห์ที่ 7-8

โรงเรียนขจรเกยี รติพฒั นา

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7

ภาคเรยี นท่ี …2…/……….……... ช่อื ผสู้ อน ….…………………………………………………...
กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จานวน 8 คาบ
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 การเปลยี่ นแปลง เรือ่ ง การเปลย่ี นแปลงผนั กลับไดแ้ ละผนั กลับไมไ่ ด้
ของสาร

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั

ว 2.1 ป.5/4 วเิ คราะห์และระบกุ ารเปลีย่ นแปลงทผี่ นั กลับไดแ้ ละการเปลี่ยนแปลงทผี่ ันกลับไมไ่ ด้

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

เมือ่ สารเกิดการเปลี่ยนแปลงแลว้ สามารถเปล่ยี นกลบั เป็นสารเดิมได้ เรียกว่า การเปลีย่ นแปลงทีผ่ ันกลับได้
เช่น การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การแข็งตวั การละลาย เปน็ ตน้ ส่วนสารท่ีเกิดการเปลยี่ นแปลงแลว้ ไม่สามารถ
เปล่ยี นกลับเปน็ สารเดมิ ได้ เรียกวา่ การเปลย่ี นแปลงทีผ่ ันกลับไม่ได้ เช่น การเผาไหม้ การสุกของผลไม้ การเกิดสนมิ เปน็
ต้น

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. วิเคราะหแ์ ละระบกุ ารเปล่ียนแปลงทางเคมีทผี่ ันกลับได้ได้ (K)
2. วเิ คราะหแ์ ละระบกุ ารเปล่ยี นแปลงทางเคมที ี่ผนั กลับไมไ่ ด้
3. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเพือ่ ระบกุ ารเปลยี่ นแปลงทางเคมีที่ผนั กลับได้ได้อยา่ งถูกตอ้ ง (P)
4. มคี วามใฝเ่ รยี นร้แู ละใหค้ วามร่วมมอื ในการทากิจกรรมกลุ่ม (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่ิน

เมื่อสารเกิดการเปล่ียนแปลงแล้ว สารสามารถ พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

เปล่ียนกลับเป็นสารเดิมได้ เป็นการเปล่ียนแปลงที่ผัน

กลับได้ เช่น การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ

การละลาย แต่สารบางอย่างเกิดการเปล่ียนแปลงแล้ว

ไม่สามารถเปล่ียนกลับเป็นสารเดิมได้ เป็นการ

เปล่ียนแปลงท่ีผันกลับไมไ่ ด้ เชน่ การเผาไหม้ การเกิด

สนมิ

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขัน้ นา

ขนั้ ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)

1. ครูทกั ทายกบั นักเรยี น จากน้ันครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกบั เรอ่ื ง การเปลยี่ นแปลงทางเคมี
และการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ โดยครแู จกกระดาษสเี หลอื ง และสแี ดง ให้นกั เรียนคนละ 2 สี
จากนั้นครชู ีแ้ จงใหน้ กั เรียนปฏบิ ัติ ดงั น้ี
 กระดาษสีเหลือง แทนการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ
 กระดาษสีแดง แทนการเปลย่ี นแปลงทางเคมี

2. ครูยกตวั อย่างการเปล่ยี นแปลงของสารในชีวิตประจาวัน 10 ตัวอย่าง เช่น การเผากระดาษ
จากนั้นใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนวเิ คราะห์วา่ “ตวั อย่างดงั กลา่ วเป็นการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ
หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี”

3. นกั เรยี นยกกระดาษสี เพ่อื ตอบคาถาม หากนักเรียนตอบถกู จะได้คะแนนรวม 1 คะแนน
จากนน้ั ครูรวบรวมคะแนนสะสมของนกั เรยี นแตล่ ะคน โดยครกู ลา่ วชนื่ ชมนกั เรียนทีไ่ ดค้ ะแนน
สงู สดุ

4. นกั เรียนดภู าพในบทท่ี 3 การเปล่ยี นแปลงท่ีผนั กลับได้และผนั กลบั ไม่ได้ของสาร จากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากนนั้ ครูถามคาถามสาคญั ประจาบทว่า “การเปล่ียนแปลงที่ผันกลบั
ไมไ่ ด้คอื อะไร” โดยให้นกั เรยี นแต่ละคนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเหน็ โดยไมม่ กี ารเฉลยว่า
ถูกหรอื ผิด
(แนวตอบ : การเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับไม่ได้ คอื การทสี่ ารเกิดการเล่ยี นแปลงแลว้ ไม่สามารถ
เปลีย่ นกลบั เปน็ สารเดิมได้)

คาบที่ 2

ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) (ต่อ)

5. นักเรยี นเรยี นรู้คาศัพท์ที่เกี่ยวขอ้ งกับการเรยี นในบทท่ี 3 การเปล่ยี นแปลงทผ่ี ันกลบั ได้และผันกลับ
ไมไ่ ดข้ องสาร จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยครูขออาสาสมัครนักเรียน
จานวน 1 คน ใหเ้ ป็นผู้อา่ นนา และใหน้ กั เรยี นที่อย่ใู นช้นั เรยี นเปน็ ผู้อา่ นตามทลี ะคา ดงั น้ี

Irreversible Change (อริ ิ’ เวอซึบลึ เชนจ) การเปลีย่ นแปลงท่ีผนั กลับไมไ่ ด้
Reversible Change (ริ’ เวอซึบลึ เชนจ) การเปล่ยี นแปลงท่ีผันกลับได้
Melting (‘เมล็ ทงิ ) การหลอมเหลว
Dissolution (ดสิ โซ’ ลูชนั ) การละลาย

6. นักเรียนทากิจกรรมนาสกู่ ารเรียน โดยอ่านสถานการณ์ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
แลว้ ตอบคาถาม ลงในสมุดประจาตัวนกั เรียน หรือแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)

ข้นั สอน

ขัน้ ที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 4 คน ตามความสมัครใจ จากนนั้ ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ศึกษา
ค้นควา้ ข้อมูลเกย่ี วกบั เร่ือง การเปลีย่ นแปลงท่ีผนั กลบั ได้ และผันกลับไมไ่ ด้ของสาร จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2 หรือแหล่งการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เชน่ อนิ เทอร์เนต็
2. นกั เรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกันอภปิ รายเรื่องที่ได้ศกึ ษา จากน้นั ใหน้ กั เรยี นแต่ละคนเขยี นสรปุ ความรู้
ทีไ่ ด้จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ลงในสมุดประจาตัวนกั เรยี น เพ่ือนาสง่ ครูทา้ ยชว่ั โมง
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )
3. ครูต้ังประเด็นคาถามกระตุ้นความสนใจนักเรยี นว่า “การหลอมเหลวของนา้ แข็งข้ัวโลก เป็นการ
เปลย่ี นแปลงที่ผนั กลับได้หรือไม่ เพราะเหตุใด” โดยใหแ้ ต่ละกลมุ่ ร่วมกนั อภปิ รายเพอ่ื หาคาตอบ
(แนวตอบ : การหลอมเหลวของน้าแข็งขว้ั โลก เปน็ การเปล่ียนแปลงทีผ่ นั กลบั ได้ เพราะในปัจจุบัน
ข้วั โลกมีอุณหภมู ิสงู ขึน้ จงึ ทาใหน้ ้าแขง็ เกิดการละลาย แตถ่ า้ ขว้ั โลกมอี ณุ หภูมิท่ีลดลงจนถงึ ระดบั
หน่ึง จะทาใหน้ า้ แขง็ ทเี่ คยละลายเกดิ การแขง็ ตวั เช่นเดมิ )

คาบท่ี 3

ขนั้ สอน

ขนั้ ที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore) (ตอ่ )

4. ครจู ดั เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณท์ ีใ่ ช้ในกิจกรรมท่ี 1 ดอกอญั ชนั เปลีย่ นสี จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์

ป.5 เล่ม 2 มาวางไว้หนา้ ชัน้ เรยี น ดงั น้ี

- ดอกอัญชนั สด 5 ดอก - แท่งแกว้ คนสาร 2 อนั

- น้าเปล่า 250 มิลลิลิตร - น้ามะนาว 250 มลิ ลิลติ ร

- บกี เกอร์ขนาด 500 มิลลิลิตร - ไม้ขีดไฟ 1 กลัก

- หลอดหยด 3 อัน - น้าสบู่ 250 มิลลลิ ติ ร

- หลอดทดลอง 1 หลอด - ชุดตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 ชุด

5. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม (กลุ่มเดมิ ) จากชว่ั โมงท่ผี ่านมา จากน้นั ให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ จดั เตรยี มอปุ กรณ์

ท่ีใช้ในกจิ กรรมท่ี 1 ดอกอัญชันเปล่ียนสี จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

6. ครูแจง้ จดุ ประสงคข์ องกิจกรรมที่ 1 ดอกอญั ชันเปล่ียนสี ใหน้ ักเรยี นทราบ เพ่ือเป็นแนวทางการ

ปฏิบัติกจิ กรรมทถี่ ูกตอ้ ง

7. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ปฏบิ ัติกิจกรรมท่ี 1 ดอกอัญชนั เปล่ียนสี โดยปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้

1) ศึกษาขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมจากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 อยา่ งละเอยี ด
หากมีข้อสงสัยใหส้ อบถามครู

2) รว่ มกนั กาหนดปญั หาและต้งั สมมตฐิ านในการปฏิบัติกจิ กรรม แล้วบันทึกผลลงในสมดุ ประจาตวั
นักเรยี น หรือแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

3) ร่วมกันปฏบิ ัติกจิ กรรมตามขน้ั ตอนให้ครบถว้ นและถกู ต้องทุกข้นั ตอน จากน้นั บนั ทึกผลลงใน
สมุดประจาตัวนกั เรียน หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
8. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันวเิ คราะห์ผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม แลว้ อภิปรายผลและสรุปผลการทดลอง

คาบที่ 4

ข้นั สอน

ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
9. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหนา้ ช้ันเรียน เพื่อแลกเปล่ียนความคดิ
จนครบทุกกล่มุ ในระหว่างท่นี กั เรยี นนาเสนอครูคอยใหข้ อ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ เพ่ือให้นกั เรยี น
มคี วามเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ ง
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมินการนาเสนอผลงาน)
10. นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรู้ทไ่ี ด้จากการปฏิบัตกิ จิ กรรมที่ 1 ดอกอญั ชนั เปล่ียนสี
ซ่ึงไดข้ อ้ สรุปรว่ มกันว่า “เมื่อนาดอกอญั ชันไปตม้ ในนา้ เดอื ด จะไดน้ ้าอญั ชนั ทีม่ ีน้าเงนิ เมือ่ นานา้
มะนาวหยดลงในน้าอัญชนั ทีม่ ีสนี า้ เงินจะเกิดการเปลีย่ นสีของน้าอัญชันเปน็ สีม่วง และเมื่อนานา้
สบู่หยดลงในนา้ อัญชันทมี่ สี มี ว่ ง จะเกิดการเปล่ยี นสขี องน้าอัญชันเป็นสนี ้าเงนิ ซงึ่ จากการทดลอง
ดังกล่าวสรปุ ไดว้ า่ การเปลีย่ นสีของนา้ อญั ชันเป็นการเปลย่ี นแปลงทางเคมีที่ผนั กลับได้”
11. ครอู ธิบายเพม่ิ เตมิ ให้นักเรียนเขา้ ใจวา่ “การเปลยี่ นแปลงทางเคมี มดี ว้ ยกัน 2 ประเภท คอื
การเปล่ียนแปลงทางเคมีที่ผนั กลับได้ ยกตวั อย่างเช่น การเปล่ียนสขี องน้าอญั ชนั และ
การเปลย่ี นแปลงทางเคมที ี่ผันกลบั ไม่ได้ เช่น การเผาไหม้ของกระดาษ เป็นต้น”
12. ครตู ัง้ ประเด็นคาถามกระต้นุ ความคิดนกั เรยี นว่า “นอกจากการเผาไหม้ของกระดาษ นกั เรียนคดิ ว่า
เราสามารถพบเหน็ ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงทางเคมที ่ีผนั กลับไมไ่ ด้ ท่ีเกดิ ข้นึ ในชีวติ ประจาวัน
อะไรอกี บา้ ง” โดยใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ร่วมกันอภิปรายเพื่อหาคาตอบ
(แนวตอบ : การเกิดสนิมของเหลก็ การสุกของผลไม้ เป็นตน้ )
13. นักเรยี นแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนตู อบได้ จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยตอบ
คาถามลงในสมุดประจาตวั นกั เรียน หรือแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

คาบท่ี 5

ข้นั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
14. นกั เรียนแต่ละคนใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถอื สแกน QR Code เร่อื ง การเปลย่ี นแปลงท่ผี ันกลบั ได้
จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากน้นั ครตู ั้งประเด็นคาถามกระตุ้นความคิดนกั เรยี นว่า
“การละลายของสารในนา้ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผนั กลับได้หรอื ผนั กลับไมไ่ ด้”
(แนวตอบ : การละลายของสารในน้าเปน็ การเปลี่ยนแปลงที่ผนั กลับได้ โดยเมือ่ เพิ่มความรอ้ นให้
อุณหภมู ิสูงในระดับหนงึ่ สารเดมิ จะเปล่ยี นสถานะเปน็ สถานะเดิมก่อนทาการละลายกบั นา้ )
15. นกั เรียนแตล่ ะคนศึกษาค้นควา้ ข้อมูลเพมิ่ เตมิ เก่ยี วกับ เรื่อง การเปลีย่ นแปลงที่ผันกลับไดข้ องสาร
และการเปล่ียนแปลงทผี่ นั กลับไมไ่ ดข้ องสาร จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หรอื แหล่ง
การเรียนร้ตู า่ ง ๆ เช่น อนิ เทอรเ์ นต็ จากน้นั เขยี นสรปุ ความรทู้ ไี่ ด้จากการศึกษาคน้ คว้าลงใน
สมดุ ประจาตวั นักเรยี น
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
16. ครอู ธิบายเพิม่ เติมให้นกั เรยี นเขา้ ใจเก่ยี วกบั การเปลย่ี นแปลงท่ีผนั กลบั ได้และผันกลบั ไม่ไดข้ องสาร
วา่ “การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ เป็นการเปลยี่ นแปลงที่ผนั กลับได้ ส่วนการเปล่ยี นแปลงทาง
เคมี สว่ นใหญ่เปน็ การเปล่ียนแปลงที่ผนั กลับไมไ่ ด้ ยกเวน้ สารบางชนิดท่เี มื่อเกิดปฏิกริ ยิ าทางเคมี
แลว้ สามารถผนั กลบั ได้ เช่น สขี องดอกอญั ชัน เป็นต้น”

คาบที่ 6

ข้นั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) (ต่อ)
17. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรยี นซักถามเนื้อหา เรือ่ ง การเปลยี่ นแปลงที่ผนั กลับไดแ้ ละผนั กลับไมไ่ ด้
ของสาร และให้ความรู้เพ่ิมเติมจากคาถามของนักเรียน โดยครใู ช้ PowerPoint
เรือ่ ง การเปล่ยี นแปลงทผ่ี นั กลับไดแ้ ละผันกลบั ไมไ่ ด้ของสาร ในการอธิบายเพ่มิ เตมิ
18. นกั เรียนตอบคาถามท้าทายการคดิ ขน้ั สงู จากหนังสอื เรยี น วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 ลงในสมดุ
ประจาตวั นักเรยี น หรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 จากนนั้ นกั เรยี นแต่ละคนทา
ใบงานท่ี 5.5.1 เร่อื ง การเปล่ียนแปลงท่ีผนั กลบั ได้และผันกลบั ไม่ได้ของสาร เป็นการบ้านส่งใน
ช่ัวโมงถดั ไป
19. นกั เรียนแตล่ ะคนเขียนสรุปสาระสาคญั ประจา บทท่ี 3 การเปลีย่ นแปลงที่ผันกลบั ไดแ้ ละผันกลับ
ไมไ่ ดข้ องสาร โดยเขียนเปน็ แผนผงั มโนทัศน์ ลงในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น
20. นักเรยี นแตล่ ะคนทากจิ กรรมฝกึ ทักษะ บทที่ 3 การเปล่ียนแปลงท่ผี นั กลบั ไดแ้ ละผนั กลับไมไ่ ด้
ของสาร จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 ลงในสมุดประจาตัวนกั เรยี น หรอื แบบฝกึ หดั
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

คาบที่ 7

ขน้ั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ต่อ)

21. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียนของหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปลีย่ นแปลง เพื่อเปน็ การวดั
ความร้หู ลังเรียนของนักเรยี น

22. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 3 คน ตามความสมัครใจ จากนน้ั ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศกึ ษากิจกรรม
สร้างสรรคผ์ ลงาน จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 แล้วช่วยกนั สารวจเกี่ยวกับ
เรอ่ื ง การเปล่ียนแปลงท่ีผนั กลับได้ของสาร หรอื การเปลย่ี นแปลงที่ผนั กลบั ไม่ได้ของสารทเ่ี กิดข้นึ
ในชวี ติ ประจาวนั จากน้นั รวบรวมข้อมลู และจัดทาเปน็ ใบความรู้ พรอ้ มตกแตง่ ให้สวยงาม

คาบที่ 8

ขน้ั สรปุ

ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรียนแต่ละคนดตู ารางตรวจสอบตนเอง จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
จากน้ันครูถามนักเรยี นเปน็ รายบุคคลตามรายการข้อ 1-5 เพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้
ความเข้าใจของนกั เรียนหลังจากการเรียนจบบทท่ี 3 การเปลย่ี นแปลงท่ีผนั กลับไดแ้ ละผนั กลับ
ไม่ไดข้ องสาร
2. ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 5 การเปลี่ยนแปลง
เพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจหลังเรยี นของนกั เรียน
3. ครปู ระเมินผล โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าช้นั เรียน
4. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมนาส่กู ารเรียน ในสมุดประจาตวั นกั เรียน หรือแบบฝกึ หดั
วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
5. ครูตรวจสอบผลการปฏิบัติกจิ กรรมท่ี 1 ดอกอัญชนั เปล่ยี นสี ในสมุดประจาตัวนกั เรยี น
หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
6. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมหนูตอบได้ ในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น หรือแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2
7. ครูตรวจ คาถามทา้ ทายการคิดขนั้ สงู ในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น หรือแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2
8. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานท่ี 5.5.1 เร่ือง การเปล่ยี นแปลงที่ผันกลบั ได้และผนั กลับไมไ่ ด้ของสาร
9. ครูตรวจผลการทากิจกรรมสรุปสาระสาคัญประจา บทที่ 3 การเปลีย่ นแปลงที่ผันกลับไดแ้ ละ
ผันกลบั ไมไ่ ด้ของสาร ในสมุดประจาตัวนักเรียน

10. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมฝกึ ทกั ษะ บทท่ี 3 การเปลีย่ นแปลงที่ผนั กลบั ไดแ้ ละผันกลับไมไ่ ด้
ของสาร ในสมุดประจาตัวนักเรียน หรอื แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

11. ครูตรวจช้นิ งาน/ผลงาน ใบความรู้ เร่ือง การเปลี่ยนแปลงท่ีผนั กลับไดแ้ ละผันกลับไมไ่ ด้ของสาร
ในชีวติ ประจาวนั ของนกั เรียนแตล่ ะกลุม่

12. นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรปุ เกีย่ วกบั การเปลย่ี นแปลงที่ผันกลับไดแ้ ละผันกลับไมไ่ ดข้ องสาร
ซง่ึ ได้ข้อสรุปรว่ มกนั ว่า “การเปลีย่ นแปลงท่ผี ันกลับไดข้ องสาร คอื การท่สี ารเกดิ การเปลี่ยนแปลง
แล้ว สามารถเปลีย่ นกลบั เปน็ สารเดมิ ได้ เช่น การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การเปล่ยี นสขี อง
ดอกอญั ชัน สว่ นการเปลีย่ นแปลงท่ีผนั กลับไมไ่ ด้ การที่สารเกดิ การเปลี่ยนแปลงแลว้ ไม่สามารถ
กลบั เปน็ สารเดมิ ได้ เชน่ การเผาไหม้ การเกิดสนมิ ”

6.การวดั และประเมินผล วิธกี ารวดั ผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ
ประเมินผล
การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์ 70% ขึ้นไป ถอื วา่
ผา่ นเกณฑ์การ
ความรคู้ วาม 1. สังเกตจากการซกั ถาม ตอบ 1.คาถามกระตนุ้ ประเมิน
เขา้ ใจ (K) คาถาม ความคดิ
2. ใบงานที่ 5.5.1
2. วเิ คราะห์และระบกุ าร
เปลี่ยนแปลงทางเคมีที่ผนั กลับได้
ได้
3. วเิ คราะห์และระบุการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีท่ีผนั กลับ
ไม่ได้

ทักษะ/ 1. ปฏบิ ัติกจิ กรรมเพ่อื ระบุการ 1.ประเมนิ การนาเสนอ 70% ขึ้นไป ถอื ว่า
กระบวนการ (P) เปลี่ยนแปลงทางเคมีที่ผนั กลับได้
ได้อย่างถกู ต้อง ผลงาน/ผลการปฏิบตั ิ ผ่านเกณฑก์ าร

กิจกรรม ประเมนิ

คุณลกั ษณะนิสัย (A) 1. มคี วามใฝเ่ รยี นรแู้ ละใหค้ วาม 1. แบบสงั เกต 70% ขน้ึ ไป ถือวา่
รว่ มมอื ในการทากจิ กรรมกลุ่ม พฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑก์ าร
ประเมนิ

7. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
7.1 ส่ือการเรียนรู้

1) หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 การเปลี่ยนแปลง
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 การเปลย่ี นแปลง
3) ใบงานท่ี 5.5.1 เรื่อง การเปลย่ี นแปลงท่ีผนั กลับไดแ้ ละผนั กลบั ไมไ่ ด้ของสาร
4) วัสดุ-อปุ กรณท์ ่ีใช้ในกิจกรรมที่ 1 ดอกอัญชันเปลย่ี นสี
5) PowerPoint เรอื่ ง การเปล่ียนแปลงทีผ่ นั กลบั ไดแ้ ละผันกลับไม่ไดข้ องสาร
6) กระดาษสีเหลือง และสแี ดง

7) QR Code เรื่อง การเปล่ยี นแปลงที่ผนั กลบั ได้
8) สมุดประจาตัวนกั เรยี น

7.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องเรยี น
2) อนิ เทอรเ์ นต็

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครูผูส้ อน ลงชือ่ ...................................................ฝา่ ยวิชาการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชอื่ ................................................... ผบู้ รหิ าร
(...........................................................)

ใบงานที่ 5.5.1

เรื่อง การเปลี่ยนแปลงท่ผี ันกลบั ไดแ้ ละผันกลับไม่ไดข้ องสาร

การเปลยี่ นแปลงทผี่ ันกลับได้ คอื อะไร
............................................................................................................................. ......................
............................................................................................................................. ......................
............................................................................................................................. ......................

การเปล่ยี นแปลงท่ผี นั กลับไม่ได้ คอื อะไร
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
................................................................................................................................... ................

ให้นักเรยี นทาเคร่อื ง √ หนา้ ขอ้ ความที่กลา่ วถูกตอ้ งและทาเครือ่ งหมาย X หนา้ ข้อความทีผ่ ิด
................. 1) การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของนา้ เป็นการเปลย่ี นแปลงทผ่ี นั กลับได้
................. 2) การเปล่ียนแปลงทางเคมีของสารทกุ ชนิด เปน็ การเปลยี่ นแปลงท่ีผันกลบั ไมไ่ ด้
................. 3) การเผาไหม้ เปน็ การเปล่ยี นแปลงท่ีผันกลับไม่ได้
................. 4) การเปลี่ยนสขี องดอกอญั ชนั เป็นการเปล่ยี นแปลงท่ผี ันกลบั ไม่ได้
................. 5) การเกดิ สนมิ เหลก็ เปน็ การเปล่ียนแปลงท่ีผนั กลับได้
................. 6) การเกดิ สนมิ เหลก็ เปน็ การเปล่ยี นแปลงท่ีผันกลับได้เช่นเดยี วกบั การเผาไหม้
................. 7) การเปลยี่ นสขี องดอกอญั ชัน เปน็ การเปลย่ี นแปลงทผ่ี นั กลบั ได้เชน่ เดียวกบั

การเช่นเดียวกบั การหลอมเหลวของสสาร

ใบงานท่ี 5.5.1 เฉลย

เรื่อง การเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับไดแ้ ละผนั กลบั ไมไ่ ด้ของสาร

การเปล่ยี นแปลงทผ่ี ันกลบั ได้ คืออะไร
การเปลย่ี นแปลงทผ่ี นั กลับได้ คอื การท่ีสารเมอ่ื เกิดการเปลีย่ นแปลงแลว้ สามารถเปล่ียนกลบั
เป็นสารเดิมได้ เชน่ การหลอมเหลว การกลายเปน็ ไอ

การเปลย่ี นแปลงที่ผันกลับไมไ่ ด้ คอื อะไร
การเปลี่ยนแปลงทผี่ ันกลบั ไม่ได้ คือ การท่ีสารเมื่อเกดิ การเปลย่ี นแปลงแลว้ ไม่สามารถกลับ
เปน็ สารเดมิ ได้ เช่น การเผาไหม้ การเกิดสนิม

ใหน้ กั เรยี นทาเคร่อื ง √ หนา้ ขอ้ ความทก่ี ล่าวถูกต้องและทาเคร่อื งหมาย X หนา้ ข้อความทผี่ ิด
........√..... 1) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของนา้ เปน็ การเปลย่ี นแปลงท่ีผนั กลบั ได้
........X..... 2) การเปลยี่ นแปลงทางเคมขี องสารทุกชนิด เป็นการเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลบั ไม่ได้
........√..... 3) การเผาไหม้ เปน็ การเปล่ียนแปลงทผ่ี นั กลับไมไ่ ด้
........X..... 4) การเปลยี่ นสีของดอกอญั ชนั เป็นการเปล่ยี นแปลงท่ผี ันกลบั ไม่ได้
........X..... 5) การเกดิ สนิมเหลก็ เปน็ การเปลยี่ นแปลงทผ่ี ันกลบั ได้
........X..... 6) การเกิดสนิมเหลก็ เปน็ การเปลย่ี นแปลงท่ีผนั กลับไดเ้ ช่นเดยี วกบั การเผาไหม้
........√..... 7) การเปล่ียนสีของดอกอญั ชัน เปน็ การเปล่ยี นแปลงทีผ่ นั กลับได้

เช่นเดียวกับการเชน่ เดยี วกบั การหลอมเหลวของสสาร

ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

ใบความรู้ เรือ่ ง การเปลย่ี นแปลงทผ่ี นั กลับได้และผนั กลบั ไมไ่ ดข้ องสารในชวี ิตประจาวัน

คาช้แี จง : นกั เรียนแบง่ กลุ่ม ๆ ละ 3 คน ช่วยกันสารวจเกย่ี วกบั เรือ่ ง การเปลย่ี นแปลงท่ีผนั กลับได้ของสาร
หรือการเปล่ียนแปลงท่ีผนั กลบั ไมไ่ ดข้ องสารทเี่ กดิ ขน้ึ ในชีวติ ประจาวนั จากนนั้ รวบรวมข้อมูลและ
จัดทาเป็นใบความรู้ พรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม

สัปดาหท์ ่ี 9-10

โรงเรียนขจรเกยี รติพฒั นา

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8

ภาคเรียนที่ …2…/……….……... ชื่อผสู้ อน ….…………………………………………………...

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 จานวน 5 คาบ

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 6 แหล่งนา้ และลมฟ้าอากาศ เรอ่ื ง แหลง่ นา้ บนโลก

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั

ว 3.2 ป.5/1 เปรยี บเทยี บปริมาณน้าในแตล่ ะแหลง่ และระบปุ รมิ าณนา้ ทมี่ นุษยส์ ามารถนามาใช้
ประโยชน์ไดจ้ ากขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

โลกของเรามีน้าปกคลุมเป็น ส่วน ใหญ่ ของพ้ืน ผิวโลกทั้งหมด โดยมีทั้งแหล่งน้าเค็มและแหล่งน้าจืด
ซ่งึ มีความสาคญั ตอ่ การดารงชวี ิตของส่งิ มชี วี ิต เราจึงต้องใชน้ า้ อย่างประหยดั และคุ้มค่า

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เปรียบเทยี บปริมาณน้าในแตล่ ะแหล่งได้ (K)
2. เปรียบเทยี บปรมิ าณนา้ จืดและนา้ เคม็ บนโลกได้ (K)
3. ปฏบิ ัติกิจกรรมเพอ่ื ระบสุ ัดสว่ นของน้าทปี่ กคลุมผวิ โลกได้อย่างถูกตอ้ งและเป็นลาดับขนั้ ตอน (P)
4. มคี วามใฝเ่ รียนรแู้ ละใหค้ วามรว่ มมอื ในการทากิจกรรมกลุ่ม (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิ่น

โลกมที ั้งนา้ จืดและนา้ เคม็ ซ่ึงอยู่ในแหล่งน้าต่าง ๆ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

ทม่ี ีทั้งแหล่งน้าผิวดิน เชน่ ทะเล มหาสมทุ ร บึง แม่น้า

และแหล่งน้าใต้ดิน เช่น น้าในดิน และน้าบาดาล

น้าท้ังหมดของโลก แบ่งเป็นน้าเค็ม ประมาณร้อยละ

97.5 ซึ่งอยู่ในมหาสมุทรและแหล่งน้าอ่ืน ๆ และ

ท่ีเหลือ อีกประมาณร้อยละ 2.5 เป็นน้าจืด ถ้า

เรี ย ง ล า ดั บ ป ริ ม า ณ น้ า จื ด จ า ก ม า ก ไ ป น้ อ ย จ ะ อ ยู่ ท่ี

ธารน้าแข็ง และพืชน้าแข็ง น้าใต้ดิน ชั้นดินเยือกแข็ง

คงตัวและน้าแข็งใต้ดิน ทะเลสาบ ความชื้นในดิน

ความชื้นในบรรยากาศ บึง แมน่ า้ และนา้ ในสิ่งมีชีวิต

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขั้นนา

ขัน้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. นักเรยี นทาแบบประเมนิ ผลกอ่ นเรียน
2. ครูทกั ทายกับนกั เรียน แลว้ แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรใู้ หน้ กั เรยี นทราบ จากนนั้ นกั เรยี นทา
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 แหล่งนา้ และลมฟ้าอากาศ เพอื่ วดั ความรเู้ ดิมของ
นักเรียนกอ่ นเขา้ สู่กิจกรรม
3. นักเรียนอา่ นสาระสาคัญและดูภาพ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 6 แหลง่ น้าและฟา้ อากาศ จากหนังสอื เรยี น
วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 จากนั้นครูกระตุ้นความสนใจโดยใช้คาถามวา่ “ภาพนม้ี แี หล่งนา้
หรือไม่ ถ้ามีแหลง่ น้านักเรยี นคดิ วา่ เปน็ แหลง่ นา้ จืดหรอื แหล่งนา้ เค็ม เพราะอะไร” โดยให้นักเรียน
ชว่ ยกนั ตอบคาถามอย่างอสิ ระโดยไม่มีการเฉลยวา่ ถกู หรอื ผิด
(แนวตอบ : มแี หล่งน้า เปน็ แหลง่ น้าจืด เพราะมีตน้ ไมข้ น้ึ ทงั้ สองฝ่งั ของแมน่ า้ )
4. นักเรยี นดภู าพในบทที่ 1 แหล่งน้าเพอื่ ชวี ติ จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากนัน้ ครู
ถามคาถามสาคญั ประจาบทวา่ “นกั เรยี นคิดว่าน้ามีความสาคัญกบั มนษุ ยห์ รือไม่อย่างไร”
แลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนรว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นเพื่อหาคาตอบ
(แนวตอบ : แหลง่ น้ามคี วามสาคญั กบั มนุษย์ เชน่ แหลง่ น้าจืดเปน็ นา้ ทีน่ ามาบริโภคและอปุ โภค
การคมนาคมขนส่ง เปน็ ทอี่ ยูข่ องสัตว์น้า ซ่งึ มนษุ ย์นามาเป็นอาหาร เป็นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว เป็นตน้ )
5. นกั เรยี นเรียนร้คู าศัพทท์ ่ีเกย่ี วข้องกับการเรียนในบทที่ 1 แหล่งน้าเพอ่ื ชีวิต จากหนังสอื เรียน
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยครขู ออาสาสมัครนักเรียน จานวน 1 คน ให้เป็นผอู้ ่านนา
และให้นักเรียนท่ีอยู่ในชน้ั เรียนเปน็ ผูอ้ ่านตามทีละคา ดงั น้ี

Sea (ซี) ทะเล
Freshwater (‘เฟรชวอเทอ) แหล่งนา้ จดื
Marine (มะ'รีน) แหลง่ น้าเค็ม

6. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะคนทากิจกรรมนาส่กู ารเรียน โดยศกึ ษาภาพ แล้วตอบคาถาม
ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น หรือแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)

คาบท่ี 2

ขั้นสอน

ข้นั ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)

1. นักเรยี นจบั คู่กบั เพอื่ นในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากน้นั ครนู าลูกโลกจาลอง มาใหน้ ักเรยี นดู

แลว้ ใหน้ กั เรียนแตล่ ะคชู่ ่วยกนั เปรยี บเทียบสว่ นที่เปน็ พน้ื นา้ พนื้ ดิน และระบแุ หล่งน้าทตี่ นเองรจู้ ัก

มาให้มากที่สุด แล้วชว่ ยกันจาแนกประเภทของแหล่งนา้ เหลา่ นัน้ โดยอาจตงั้ เกณฑใ์ นการจาแนก

เชน่ นา้ จืดและน้าเคม็ น้าผิวดนิ และน้าใตด้ ิน แหล่งน้าธรรมชาติ แหล่งนา้ ทม่ี นุษย์สร้างขนึ้ เปน็ ตน้

(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

2. ครูขออาสาสมัครนกั เรยี น จานวน 2 คู่ ออกมานาเสนอผลการจาแนกประเภทของแหลง่ น้าโดยใช้

เกณฑท์ ต่ี นเองกาหนดขน้ึ หน้าชั้นเรียน คู่ละ 1 เกณฑ์ แล้วเพอื่ นในห้องชว่ ยกนั ตรวจสอบวา่

สามารถจาแนกประเภทของแหลง่ นา้ ตามเกณฑน์ ั้น ๆ ไดห้ รือไม่

3. เม่ือนักเรียนนาเสนอเสร็จ ครแู บ่งกลมุ่ นักเรยี นโดยใหน้ ักเรียนหยิบลูกอมสตี ่าง ๆ คนละ 1 เมด็

แล้วให้นักเรยี นทมี่ ีเปลอื กลกู อมสีเดียวกันอยกู่ ลมุ่ เดียวกนั ซ่งึ แต่ละกลมุ่ จะมีสมาชกิ ในกลมุ่ 5 คน

4. เมือ่ นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ เรียบรอ้ ยแล้ว ครูใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันศกึ ษาข้อมูลเก่ียวกับ

เรือ่ ง แหล่งน้าและการอนุรักษน์ ้า จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรอื แหลง่ การเรียนรู้

ต่าง ๆ เชน่ อนิ เทอร์เนต็

5. ครจู ดั เตรียมวัสด-ุ อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นกจิ กรรมที่ 1 แหล่งนา้ บนโลก จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์

ป.5 เล่ม 2 มาวางไวห้ นา้ ชนั้ เรียน ดงั นี้

- สีไม้ 1 กลอ่ ง - ไม้บรรทัด 1 อนั

- ดนิ สอ 1 แทง่ - กระดาษแขง็ แผ่นใหญ่ 1 แผ่น

- แผนทโี่ ลกขนาด 10*15 เซนติเมตร

6. นักเรียนแบง่ กลมุ่ (กลุ่มเดิม) จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มจัดเตรยี มอุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นกิจกรรมที่ 1

แหล่งน้าบนโลก จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

7. ครูแจ้งจดุ ประสงค์ของกิจกรรมท่ี 1 แหลง่ น้าบนโลก ให้นักเรยี นทราบ เพ่ือเป็นแนวทางการปฏบิ ตั ิ

กจิ กรรมทีถ่ ูกต้อง

8. นักเรียนแต่ละกลุม่ รว่ มกันปฏบิ ตั ิกจิ กรรมที่ 1 แหล่งนา้ บนโลก ตอนที่ 1 โดยปฏิบตั กิ จิ กรรม ดงั นี้

1) ศึกษาข้ันตอนการปฏบิ ัติกิจกรรมจากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 อย่างละเอียด

หากมีข้อสงสยั ให้สอบถามครู

2) ร่วมกันกาหนดปญั หาและตั้งสมมตฐิ านในการปฏิบตั ิกิจกรรม แล้วบันทึกผลลงในสมุดประจาตวั

นักเรยี น หรอื แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

3) ร่วมกันปฏบิ ัติกจิ กรรมตามข้ันตอนให้ครบถ้วนและถูกต้องทกุ ขั้นตอน จากน้นั บันทึกผลลงใน

สมุดประจาตวั นักเรยี น หรอื แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)

9. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันวเิ คราะห์ผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม แล้วอภิปรายผลและสรปุ ผลการทดลอง

คาบที่ 3

ขนั้ สอน

ขั้นที่ 2 สารวจค้นหา (Explore) (ตอ่ )
10. นักเรียนแบง่ กลุ่ม (กลมุ่ เดมิ ) จากชัว่ โมงท่ีผ่านมา จากน้นั ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันศึกษา
ค้นควา้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั เรอ่ื ง ปรมิ าณนา้ จืด นา้ เคม็ และปรมิ าณนา้ ท่มี นษุ ย์สามารถนามาใช้
ประโยชน์ได้ จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรือแหลง่ การเรียนร้ตู า่ ง ๆ เช่น
อนิ เทอร์เนต็ หอ้ งสมดุ
11. นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันระดมความคดิ เพอ่ื เปรียบเทียบปริมาณน้าจืดและนา้ เค็ม จากนั้น
วาดภาพ หรือตดิ ภาพ พรอ้ มระบปุ รมิ าณน้าท่มี นุษยส์ ามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ลงในกระดาษ
แขง็ แผน่ ใหญ่ พร้อมตกแตง่ ให้สวยงาม
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
12. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าช้ันเรยี น เพ่อื แลกเปลย่ี นความคิด
จนครบทกุ กลุ่ม ในระหวา่ งทน่ี กั เรยี นนาเสนอครูคอยใหข้ ้อเสนอแนะเพ่มิ เติม เพือ่ ใหน้ กั เรยี น
มคี วามเข้าใจที่ถกู ต้อง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน)
13. นักเรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ความรู้ทไี่ ดจ้ ากการปฏิบตั ิกจิ กรรมที่ 1 แหล่งนา้ บนโลก
14. นักเรยี นแตล่ ะคนทากิจกรรมหนูตอบได้ จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมดุ ประจาตวั นกั เรียน หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

คาบท่ี 4

ขั้นท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
15. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม (กลุ่มเดิม) จากน้ันให้แตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ศึกษาค้นควา้ ข้อมูลเกี่ยวกบั
เรอื่ ง แหล่งนา้ บนโลก จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรอื แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
เช่น อนิ เทอรเ์ นต็ ห้องสมุด
16. ครูต้ังประเด็นคาถามกระต้นุ ความคิดนักเรียน โดยให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันอภปิ รายแสดง
ความคิดเหน็ เพ่ือหาคาตอบ ดงั นี้
- แหล่งนา้ บนโลกมปี ริมาณนา้ จดื มากกว่าปริมาณนา้ เค็มหรอื ไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ : มีปรมิ าณนา้ เคม็ มากกวา่ ปรมิ าณนา้ จืด ส่วนใหญ่นา้ บนผิวโลกเป็น ทะเล มหาสมุทร)
- น้ามคี วามจาเป็นตอ่ การดารงชีวิตของสิง่ มชี ีวิตในดา้ นใดบ้าง
(แนวตอบ : ดา้ นอุปโภคและบริโภค)
- นา้ บนโลกปกคลมุ พื้นทีเ่ ทา่ ไรของพนื้ ทีผ่ วิ โลกทงั้ หมด
(แนวตอบ : พน้ื ที่ 3 ใน 4 สว่ นของพืน้ ทผี่ ิวโลกทั้งหมด)

17. ครสู ่มุ นกั เรียน จานวน 4 คน ให้ยกตัวอย่างแหลง่ น้าบนโลก ดังนี้
 คนท่ี 1 ใหย้ กตวั อย่างแหล่งน้าผิวดิน 2 ตัวอย่าง
 คนท่ี 2 ใหย้ กตัวอย่างแหลง่ น้าใตด้ ิน 2 ตวั อยา่ ง
 คนท่ี 3 ให้ยกตัวอยา่ งแหล่งน้าจืด 2 ตัวอย่าง
 คนท่ี 4 ให้ยกตวั อย่างแหล่งน้าเคม็ 2 ตวั อยา่ ง

18. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรยี นซักถามเนอื้ หาเกี่ยวกบั เร่อื ง แหล่งนา้ บนโลก และให้ความร้เู พม่ิ เตมิ
จากคาถามของนกั เรยี น โดยครใู ช้ PowerPoint เรอ่ื ง แหล่งนา้ บนโลก ในการอธิบายเพมิ่ เตมิ

คาบท่ี 5

ข้นั สรปุ

ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นของหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 แหล่งนา้ และลมฟ้าอากาศ
เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจกอ่ นเรยี นของนกั เรียน
2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล
พฤติกรรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชัน้ เรยี น
3. ครตู รวจสอบผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมที่ 1 แหลง่ นา้ บนโลก ในสมดุ ประจาตวั นกั เรยี น หรือแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
4. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบได้ ในสมุดประจาตัวนกั เรียน หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2
5. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปเกี่ยวกบั แหลง่ นา้ บนโลก ซึ่งไดข้ อ้ สรุปรว่ มกนั วา่ “โลกของเรามีนา้
ปกคลุมเป็นสว่ นใหญข่ องพื้นผวิ โลกทงั้ หมด โดยมีท้ังแหลง่ น้าเคม็ และแหลง่ นา้ จืด ซง่ึ มคี วามสาคญั
ต่อการดารงชวี ติ ของส่ิงมชี วี ติ ”

6.การวัดและประเมินผล วธิ กี ารวัดผล เคร่ืองมอื วัด เกณฑ์การ
ประเมินผล
การวัดและประเมนิ ผล 70% ขน้ึ ไป ถือวา่
จุดประสงค์ ผา่ นเกณฑก์ าร
ประเมิน
ความร้คู วาม 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ 1.คาถามกระตุ้น
เขา้ ใจ (K) คาถาม ความคดิ 70% ข้นึ ไป ถือว่า
2. เปรยี บเทียบปริมาณนา้ ในแต่ละ ผ่านเกณฑ์การ
แหลง่ ได้ ประเมิน
3. เปรียบเทียบปรมิ าณนา้ จดื และ
น้าเค็มบนโลกได้

ทักษะ/ 1. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเพอื่ ระบุสัดส่วน 1. ผลการปฏิบัติ
กระบวนการ (P) ของน้าท่ีปกคลมุ ผิวโลกไดอ้ ย่าง กจิ กรรม
ถกู ตอ้ งและเป็นลาดับขัน้ ตอน

คุณลกั ษณะนสิ ยั (A) 1. สงั เกตจากการเรยี นมคี วาม 1. แบบสังเกต 70% ขน้ึ ไป ถอื ว่า
รบั ผดิ ชอบต่องานทีส่ ่ัง พฤตกิ รรม ผ่านเกณฑก์ าร
2. ตระหนกั ในคุณค่าของ ประเมนิ
สง่ิ แวดลอ้ มที่มตี ่อการดานงชวี ิต
ของส่งิ แวดล้อม

7. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้
7.1ส่อื การเรยี นรู้

1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 6 แหล่งนา้ และลมฟา้ อากาศ
3. แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 แหลง่ นา้ และลมฟ้าอากาศ
4. วสั ดุ-อุปกรณ์ที่ใชใ้ นกจิ กรรมท่ี 1 แหล่งน้าบนโลก
5. PowerPoint เร่ือง แหลง่ นา้ บนโลก
6. ลูกอมสตี า่ งๆ
7. ลกู โลกจาลอง
8. สมุดประจาตวั นกั เรยี น

7.2 แหล่งการเรียนรู้

1) ห้องเรียน
2) อนิ เทอร์เนต็

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................ครูผสู้ อน ลงช่ือ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6

คาชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ปา่ ไมม้ ีสว่ นทาใหเ้ กิดการ หมนุ เวยี นของนา้ 6. เม่ือไอน้ากระทบความเย็นจะเกดิ การเปล่ียนแปลง
อย่างไร อยา่ งไร
ก. ชว่ ยดดู ซับนา้ ก. ลอยข้ึนสงู ไปในอากาศ
ข. เป็นแหล่งต้นนา้ ข. คงเปน็ ไอนา้ เหมือนเดิม
ค. ช่วยรักษาหนา้ ดิน ค. รวมตวั กลายเป็นนา้ แขง็
ง. ทาใหเ้ กิดความชุ่มช้นื ง. ควบแนน่ กลายเป็นหยดนา้

2. ลกั ษณะอากาศในข้อใดทาให้แหลง่ นา้ ตาม 7. ลมมผี ลตอ่ การเกิดวฏั จกั รนา้ อย่างไร
ธรรมชาติระเหยไดเ้ ร็วทีส่ ดุ ก. ชว่ ยใหน้ า้ ไหลกลับสแู่ หล่งน้า
ก. ฝนตก ข. ช่วยใหไ้ อน้ากลายเปน็ หยดน้าเรว็ ขน้ึ
ข. หนาวจัด ค. ชว่ ยให้ไอน้าควบแน่นกลายเปน็ หยดน้า
ค. ร้อนจดั ง. ช่วยพัดพาไอนา้ ในอากาศไป ทาให้น้าระเหยไดเ้ รว็ ข้นึ
ง. มีหมอก
8. การทไ่ี อน้ากลายเป็นหยดน้าเรียกวา่ อะไร
3. เมฆแตกตา่ งจากหมอกอย่างไร ก. การระเหย
ก. เมฆเปน็ ไอน้า หมอกเปน็ หยดนา้ ข. การหลอมเหลว
ข. เมฆเป็นละอองนา้ หมอกเป็นไอนา้ ค. การควบแน่น
ค. เมฆเกิดตอนเย็น หมอกเกดิ ตอนเชา้ ง. การหลอมละลาย
ง. เมฆเกดิ ในระดับสูง หมอกเกดิ ในระดบั ต่า
ใกลพ้ ้นื ดนิ 9. สภาพอากาศลักษณะใดท่มี ีการระเหยของนา้ ได้มาก
ก. อากาศชน้ื
4. ปรากฏการณล์ มฟา้ อากาศแบบใดที่มีประโยชน์ ข. อากาศแห้ง
และโทษต่อมนษุ ย์ ค. อากาศเปียก
ก. ฝน ง. อากาศอิ่มตวั
ข. เมฆ
ค. หมอก 10. เมอ่ื น้าไดร้ บั ความรอ้ นน้าจะเปลยี่ นแปลงเปน็ ส่งิ ใด
ง. ลกู เห็บ ก. เมฆ
ข. ลูกเหบ็
5. ปรากฏการณ์ใดทม่ี ีสถานะเป็นของแขง็ ค. หมอก
ก. เมฆ ง. นา้ คา้ ง
ข. ลูกเห็บ
ค. หมอก
ง. น้าคา้ ง

เฉลย 1. ง 2. ค 3. ง 4. ก 5. ข 6. ง 7. ง 8. ข 9. ก 10.


สัปดาห์ที่ 10

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9

ภาคเรยี นท่ี …2…/……….……... ช่ือผ้สู อน ….…………………………………………………...
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 จานวน 3 คาบ
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 แหล่งนา้ และลมฟา้ อากาศ เร่อื ง การใช้น้าอยา่ งประหยดั และอนุรกั ษน์ ้า

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด

ว 3.2 ป.5/2 ตระหนักถงึ คุณค่าของนา้ โดยนาเสนอแนวทางการใช้น้าอย่างประหยัดและการอนรุ ักษ์น้า

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

โลกของเรามีน้าปกคลุมเป็นส่วนใหญ่ของพื้นผิวโลกทั้งหมด โดยมีท้ังแหล่งน้าเค็มและแหล่งน้าจืด
ซึง่ มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต นา้ จืดที่มนุษย์นามาใชไ้ ด้มีปริมาณน้อยมาก เราจึงต้องใช้น้าอย่างประหยัด
และร่วมกนั อนุรกั ษ์นา้

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. ระบุปรมิ าณนา้ ที่มนษุ ย์สามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ (K)
2. สืบค้นข้อมูลและเสนอแนะแนวทางการใช้นา้ อยา่ งประหยดั และการอนุรักษ์นา้ ได้ (P)
3. ให้ความรว่ มมอื ในการทากิจกรรมกลุ่มและมีความรบั ผิดชอบในการสง่ งานตรงเวลา (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ

น้าจดื ที่มนุษย์นามาใช้ได้มีปริมาณน้อยมากจึงควร พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

ใช้น้าอยา่ งประหยดั และรว่ มกนั อนรุ กั ษ์น้า

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ 1

ขน้ั นา

ขนั้ ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)

1. ครทู กั ทายกับนักเรยี น จากนน้ั ครทู บทวนความรเู้ ดิมของนกั เรียนเกี่ยวกับแหล่งน้าบนโลก
2. ครนู าแปรงฟัน และแกว้ นา้ มาใหน้ กั เรียนดู จากนน้ั ครตู ง้ั ประเด็นคาถามกระตนุ้ ความสนใจนกั เรียน โดยให้

นกั เรียนแต่ละคนรว่ มกันอภปิ รายแสดงความคิดเห็นโดยไมม่ กี ารเฉลยวา่ ถกู หรอื ผดิ
ดังน้ี

- ขณะที่นักเรยี นแปรงฟนั นกั เรยี นใช้นา้ ในการแปรงฟนั ประหยัดหรือไม่
(แนวตอบ : นกั เรยี นอาจตอบวา่ ใชน้ ้าอย่างประหยดั )

- นักเรียนมวี ธิ ีการประหยดั นา้ ในการแปรงฟนั ได้อย่างไรบา้ ง
(แนวตอบ : นกั เรยี นอาจตอบวา่ ใช้แก้วรองนา้ นามาแปรงฟัน ปิดก๊อกน้าเมอื่ ยงั ไม่ใช้น้า)

3. ครนู าลกู บอลมาจานวน 1 ลูก จากนน้ั ครสู ่งลูกบอลใหน้ ักเรยี นแล้วให้นักเรียนส่งต่อไปเร่อื ย ๆ
ถา้ ได้ยนิ เสยี งนกหวีดใหห้ ยุดสง่ ลูกบอลทันที ลกู บอลอย่ทู ใ่ี ครคนนั้นต้องยืนขึน้ แลว้ บอกวิธีการใช้
นา้ อยา่ งประ หยัดในชวี ติ ประจาวันมา 1 วธิ ี ให้กับเพื่อนในห้องฟังซงึ่ เพ่ือนทฟ่ี ังจะต้องจดคาตอบ
ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียน

ขั้นสอน

ข้ันท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครจู ดั เตรียมวัสดุ-อุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นกิจกรรมที่ 2 คุณคา่ ของนา้ จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2 มาวางไว้หน้าชนั้ เรยี น ดงั น้ี
- กระดาษแข็งแผน่ ใหญ่ 1 แผ่น
- กระดาษ A4 10-20 แผน่
- สไี ม้ 1 กลอ่ ง
2. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 5 คน ตามความสมัครใจ จากนนั้ ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ จัดเตรยี มอุปกรณ์
ทใ่ี ช้ในกิจกรรมที่ 2 คุณค่าของน้า จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
3. ครูแจ้งจุดประสงคข์ องกจิ กรรมท่ี 2 คุณค่าของน้า ให้นักเรียนทราบ เพือ่ เปน็ แนวทางการปฏิบัติ
กิจกรรมทีถ่ ูกตอ้ ง
4. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันปฏิบัตกิ ิจกรรมที่ 2 คณุ ค่าของนา้ ตอนที่ 1 โดยใหแ้ ต่ละกลุ่มชว่ ยกนั
สบื คน้ ข้อมูลเกยี่ วกบั วธิ ีการใชน้ า้ อยา่ งประหยดั แลว้ บนั ทึกลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียน หรอื
แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
5. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ เพือ่ เลือกวิธีการใชน้ า้ อยา่ งประหยัดมา 2 วิธี
จากนนั้ นามาจดั ทาเป็นแผน่ พบั ความรู้ เรอ่ื ง วธิ ีการใชน้ ้าอยา่ งประหยดั
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ )

คาบที่ 2

ขนั้ สอน

ขน้ั ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)
6. นักเรียนแบง่ กลุ่ม (กลุม่ เดมิ ) จากชวั่ โมงท่ีผ่านมา จากน้ันใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั ปฏิบตั ิ
กจิ กรรมท่ี 2 คณุ คา่ ของนา้ ตอนที่ 2 โดยใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ชว่ ยกนั สบื ค้นขอ้ มูลเกีย่ วกบั วธิ ีการ
อนรุ กั ษน์ า้ แล้วบนั ทกึ ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น

7. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันระดมความคิด แลว้ เลือกวิธีการอนรุ ักษน์ ้ามา 1 วธิ ี จากน้นั วาดภาพ
หรือตดิ ภาพประกอบลงในกระดาษแขง็ พร้อมตกแตง่ ใหส้ วยงาม
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )

ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
8. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมหนา้ ช้ันเรยี น ในระหวา่ งที่นกั เรยี น
นาเสนอครูคอยให้ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม เพ่อื ให้นกั เรยี นมีความเข้าใจทถ่ี กู ต้อง
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมนิ การนาเสนอผลงาน)
9. นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรปุ ความร้ทู ่ีได้จากการปฏิบัติกิจกรรมที่ 2 คุณค่าของนา้
10. นกั เรยี นแต่ละคนทากจิ กรรมหนูตอบได้ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น หรอื แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

คาบที่ 3

ข้ันท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
11. นกั เรยี นจับคกู่ บั เพ่อื นในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ โดยใชโ้ ทรศพั ท์มือถือสแกน QR Code
เรอ่ื ง การใชน้ ้าอยา่ งประหยดั
12. ครขู ออาสาสมัครนกั เรียน จานวน 6 คน ให้ยกตัวอยา่ งการใช้น้าอยา่ งประหยัดและคุ้มค่า รวมถงึ
การอนุรกั ษ์น้า ดังนี้
 คนท่ี 1-3 ให้ยกตัวอยา่ งการใชน้ า้ อยา่ งประหยัดและคมุ้ ค่า คนละ 1 ตัวอยา่ ง
 คนที่ 4-6 ใหย้ กตัวอยา่ งการอนุรกั ษ์น้า คนละ 1 ตัวอย่าง
13. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรยี นซกั ถามเน้อื หาเก่ียวกบั เร่อื ง การใช้น้าอยา่ งประหยัดและการอนรุ กั ษ์น้า
และให้ความรู้เพิม่ เติมจากคาถามของนกั เรียน โดยครูใช้ PowerPoint เร่ือง การใช้น้าอยา่ ง
ประหยดั และการอนุรักษน์ า้ ในการอธบิ ายเพมิ่ เติม
14. นักเรยี นแตล่ ะคนเขยี นสรปุ สาระสาคญั ประจา บทที่ 1 แหล่งน้าเพอื่ ชวี ิต โดยเขียนเปน็ แผนผัง
มโนทศั น์ ลงในสมุดประจาตวั นักเรยี น
15. นกั เรยี นแต่ละคนทากจิ กรรมฝึกทักษะ บทท่ี 1 แหล่งน้าเพอ่ื ชีวติ จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2 ลงในสมุดประจาตวั นักเรียน หรือแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
16. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม ๆ ละ 3-4 คน ตามความสมคั รใจ จากน้นั ให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ช่วยกันออกแบบ
และประดษิ ฐ์เครือ่ งกรองนา้ เสยี เพอ่ื นานา้ เสียกลับมาใช้ใหมไ่ ด้

ขัน้ สรปุ

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรียนแต่ละคนดตู ารางตรวจสอบตนเอง จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
จากนัน้ ครูถามนักเรียนเปน็ รายบคุ คลตามรายการข้อ 1-5 เพอื่ เป็นการตรวจสอบความรู้

ความเข้าใจของนักเรยี นหลังจากการเรียนจบบทที่ 1 แหล่งน้าเพอื่ ชีวิต
2. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล

พฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าช้ันเรียน
3. ครูตรวจสอบผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมท่ี 2 คุณค่าของนา้ ในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น หรือแบบฝึกหัด

วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
4. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมหนตู อบได้ ในสมุดประจาตัวนกั เรียน หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์

ป.5 เลม่ 2
5. ครตู รวจผลการทากิจกรรมสรปุ สาระสาคญั ประจา บทท่ี 1 แหลง่ น้าเพอ่ื ชวี ติ ในสมุดประจาตัว

นักเรียน
6. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมฝึกทกั ษะ บทท่ี 1 แหล่งนา้ เพ่อื ชวี ติ ในสมดุ ประจาตัวนกั เรียน

หรอื แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
7. ครูตรวจชิ้นงาน/ผลงาน จิกซอว์การเกิดวฏั จักรนา้ ของนกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่
8. นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ เกี่ยวกับการใชน้ า้ อยา่ งประหยดั และการอนุรักษ์น้า ซ่ึงได้ขอ้ สรุป

ร่วมกันว่า “การใชน้ ้าอย่างประหยดั และการอนุรักษน์ า้ เชน่ ควรตรวจสอบรอยรวั่ ของทอ่ นา้ ใน
บา้ น ใชอ้ ปุ กรณ์ประหยัดน้า เพื่อลดปริมาณการใช้น้า เชน่ ชกั โครกประหยัดน้า ฝักบัวประหยัดน้า
ก๊อกประหยัดน้า หัวฉดี ประหยัดนา้ เปน็ ต้น

6.การวัดและประเมนิ ผล

การวัดและประเมินผล วิธีการวดั ผล เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ าร
จุดประสงค์ ประเมนิ ผล

ความรู้ความ 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ 1.คาถามกระต้นุ 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่

เข้าใจ (K) คาถาม ความคิด ผ่านเกณฑก์ าร

ประเมนิ

2. ระบุปริมาณนา้ ท่ีมนุษยส์ ามารถ

นามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้

ทักษะ/ 1. สืบค้นข้อมูลและเสนอแนะแนว 1. ชิน้ งานรวบยอดการ 70% ขึน้ ไป ถือว่า

กระบวนการ (P) ทางการใช้น้าอย่างประหยัดและ ประดษิ ฐเ์ ครือ่ งกรอง ผา่ นเกณฑก์ าร

การอนรุ กั ษน์ ้าได้ น้าเสีย ประเมิน

คุณลกั ษณะนสิ ัย (A) 1. ให้ความร่วมมอื ในการทา 1. แบบสังเกต 70% ขึ้นไป ถอื วา่
กจิ กรรมกล่มุ และมคี วาม พฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์การ
รับผดิ ชอบในการสง่ งานตรงเวลา ประเมนิ
และกระตอื รอื รน้ ในการเรียนรู้

7. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
1.1 สือ่ การเรยี นรู้

1) หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 6 แหล่งน้าและลมฟา้ อากาศ
2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 แหลง่ น้าและลมฟา้ อากาศ
3) วสั ดุ-อุปกรณท์ ใี่ ช้ในกจิ กรรมท่ี 2 คุณค่าของน้า
4) PowerPoint เร่อื ง การใช้น้าอย่างประหยดั และการอนรุ กั ษน์ ้า
5) แปรงฟัน และแกว้ นา้
6) ลกู บอล
7) สมุดประจาตัวนักเรียน

1.2 แหลง่ การเรยี นรู้

1) หอ้ งเรยี น
2) ห้องสมุด
3) อนิ เทอรเ์ นต็

8. กิจกรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ............................................ครผู ูส้ อน ลงชือ่ ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชื่อ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

การประดษิ ฐเ์ คร่อื งกรองน้าเสีย

คาช้ีแจง : นักเรียนแบง่ กลุ่ม ๆ 3-4 คน จากนนั้ ให้แต่ละกล่มุ ชว่ ยกันออกแบบและประดษิ ฐเ์ ครื่องกรองน้าเสยี
เพือ่ นาน้าเสียกลับมาใชใ้ หมไ่ ด้

สปั ดาห์ท่ี 11-12

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 10

ภาคเรียนที่ …2…/……….……... ช่ือผสู้ อน ….…………………………………………………...

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 จานวน 6 คาบ

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 แหลง่ นา้ และลมฟ้าอากาศ เร่อื ง การเกิดเมฆและหมอก

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด

ว 3.2 ป.5/4 เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดเมฆ หมอก นา้ คา้ ง และน้าค้างแข็ง จากแบบจาลอง

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

เมฆ เกิดจากไอน้าในอากาศจะควบแน่นเป็นละอองนา้ เลก็ ๆ โดยมีละอองลอย เชน่ เกลอื ฝุ่นละออง ละอองเรณู
ของดอกไม้ เปน็ อนภุ าคแกนกลาง เม่อื ละอองนา้ จานวนมากเกาะกลมุ่ รวมกันลอยอยสู่ ูงจากพ้ืนดินมาก แต่ละอองน้าที่
เกาะกลุม่ รวมกนั ลอยอย่ใู กล้พืน้ ดนิ เรยี กวา่ หมอก

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการเกิดเมฆและหมอกได้ (K)
2. เปรยี บเทยี บการเกดิ เมฆและหมอกได้ (K)
3. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเกิดเมฆและหมอกได้อย่างถกู ตอ้ งและเปน็ ลาดบั ขัน้ ตอน (P)
4. ใหค้ วามรว่ มมือในการทากิจกรรมกลุ่มและมีความรับผิดชอบในการส่งงานตรงเวลา (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ

- ไอน้าในอากาศจะควบแน่นเป็นละอองน้าเล็ก ๆ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

โดยมีละอองลอย เช่น เกลือ ฝุ่นละออง ละอองเรณู

ของดอกไม้ เป็นอนุภาคแกนกลาง เม่ือละอองน้า

จานวนมากเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่สูงจากพ้ืนดิน

มาก เรียกว่า เมฆ แต่ละอองน้าที่เกาะกลุ่มรวมกัน

อยู่ใกล้พ้ืนดิน เรียกว่า หมอก ส่วนไอน้าที่ควบแน่น

เป็นละอองน้าเกาะอยู่บนพื้นผิววัตถุใกล้พื้นดิน

เรียกว่า น้าค้าง ถ้าอุณหภูมิใกล้พื้นดินต่ากว่าจุด

เยือกแขง็ น้าคา้ งกจ็ ะกลายเปน็ น้าค้างแขง็

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขน้ั นา

ขั้นท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)

1. ครูทกั ทายกบั นักเรยี น แลว้ แจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ทจ่ี ะเรยี นให้นักเรยี นทราบ
2. ครสู นทนากับนักเรียนเก่ียวกบั เรอ่ื ง เมฆและหมอก จากนัน้ ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนสังเกตเมฆบน

ท้องฟ้า แลว้ ตั้งประเดน็ คาถามกระต้นุ ความสนใจนักเรยี น โดยให้นกั เรียนแตล่ ะคนรว่ มกนั อภิปราย
แสดงความคิดเห็นอยา่ งอสิ ระโดยไมม่ กี ารเฉลยว่าถกู หรือผดิ ดงั นี้
- เมฆเกิดข้ึนได้อย่างไร

(แนวตอบ : นกั เรยี นอาจตอบวา่ ไอนา้ ในอากาศจะควบแนน่ เปน็ ละอองน้าเลก็ ๆ โดยมีละออง
ลอย เช่น เกลือ ฝนุ่ ละออง ละอองเรณูของดอกไม้ เป็นอนภุ าคแกนกลาง เม่อื ละอองน้าจานวน
มากเกาะกลมุ่ รวมกันลอยอย่สู ูงจากพนื้ ดนิ มาก)
- เมฆท่นี กั เรียนเหน็ มีรปู ร่างเหมอื นกันหรอื แตกตา่ งกันอย่างไร
(แนวตอบ : นักเรยี นอาจตอบว่า เมฆมีรปู ร่างแตกต่างกนั ขึน้ อยกู่ ับจนิ ตนาการของแต่ละคน)
- นอกจากเมฆแล้ว ในชว่ งเวลาเช้ามักจะเกดิ อะไรขึน้
(แนวตอบ : นักเรียนอาจตอบวา่ หมอก น้าค้าง)
- หมอกเกิดขึ้นไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ : นกั เรียนอาจตอบวา่ ไอนา้ ท่ีควบแน่นเป็นละอองนา้ เกาะอยู่บนพนื้ ผวิ วัตถใุ กล้พืน้ ดนิ
เรียกวา่ น้าค้างถา้ อุณหภูมิใกลพ้ ้ืนดินตา่ กวา่ จุดเยือกแข็งน้าค้างก็จะกลายเป็นน้าค้างแขง็ )
3. นกั เรยี นดภู าพในบทท่ี 2 ปรากฏการณ์ลมฟา้ อากาศ จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากนนั้ ครูถาม
คาถามสาคัญประจาบทว่า “เมฆและหมอกแตกตา่ งกนั อยา่ งไร” โดยใหน้ กั เรียน
แตล่ ะคนรว่ มกันอภปิ รายเพอ่ื หาคาตอบ
(แนวตอบ : เมฆและหมอกมีลกั ษณะแตกตา่ งกัน คือ เมฆจะลอยอยู่สงู จากพนื้ ดนิ มาก และ
มลี ักษณะเปน็ กล่มุ ก้อนสีขาว ส่วนหมอกจะลอยอยู่ใกลพ้ น้ื ดนิ และมลี ักษณะคลา้ ยควนั สีขาว
ทาให้เกิดทวิ ทัศนท์ สี่ วยงาม)
4. นกั เรยี นเรยี นรคู้ าศัพท์ท่เี ก่ยี วข้องกบั การเรยี นในบทท่ี 2 ปรากฏการณล์ มฟา้ อากาศ จากหนงั สอื
เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยครูขออาสาสมัครนกั เรียน จานวน 1 คน ใหเ้ ป็นผอู้ ่านนา
และใหน้ ักเรยี นที่อยใู่ นชน้ั เรยี นเป็นผู้อ่านตามทีละคา ดังนี้

Cloud (เคลาด) เมฆ

Fog (ฟอ็ ก) หมอก

River ('รีฟเวอ) แมน่ ้า

5. นกั เรียนทากิจกรรมนาสู่การเรียน จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 แลว้ ตอบคาถาม

ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน หรอื แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)

คาบที่ 2

ข้ันสอน

ข้นั ที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore)

1. นักเรียนจับคูก่ บั เพือ่ นในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากน้ันใหน้ กั เรียนแตล่ ะคู่รว่ มกันศึกษา

คน้ คว้าข้อมูลเกี่ยวกบั เรอื่ ง เมฆและหมอก จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

หรอื แหลง่ การเรียนรูต้ ่าง ๆ เชน่ อินเทอรเ์ นต็

2. นกั เรยี นแต่ละครู่ ่วมกนั อภปิ รายเร่ืองทไี่ ดศ้ ึกษา จากน้ันใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนเขียนสรุปความรู้

ทไี่ ด้จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ลงในสมุดประจาตวั นกั เรียน เพอ่ื นาส่งครทู า้ ยชัว่ โมง

(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )

3. ครูตั้งประเดน็ คาถามกระตุน้ ความสนใจนักเรยี น โดยใหแ้ ต่ละคู่ร่วมกนั อภปิ รายเพ่ือหาคาตอบ ดังนี้

- ลมฟา้ อากาศ หมายถงึ อะไร

(แนวตอบ : ลมฟา้ อากาศ หมายถงึ สภาพอากาศรอบ ๆ ตวั เราทีเ่ ปล่ยี นไปในแตล่ ะช่วงเวลา)

- ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศทเี่ กดิ มาจากการเปลี่ยนแปลงสถานะของนา้ มีอะไรบา้ ง

(แนวตอบ : เมฆ หมอก น้าคา้ ง น้าคา้ งแข็ง เปน็ ต้น)

- ในการพยากรณ์อากาศและการวางแผนในการใชช้ วี ติ ประจาวัน เราควรสงั เกตจากอะไร

(แนวตอบ : เมฆ)

4. ครจู ัดเตรยี มวัสดุ-อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นกิจกรรมที่ 1 กระบวนการเกิดเมฆและหมอก จากหนังสอื เรียน

วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 มาวางไวห้ น้าชั้นเรียน ดังนี้

- นา้ แขง็ 1 แก้ว - น้าร้อน 200 มลิ ลิลติ ร

- ธปู 2 ดอก - ไมข้ ีดไฟ 1 กลัก

- บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลติ ร 2 ใบ - กระบอกตวงขนาด 100 มลิ ลิลติ ร 1 ใบ

- จานกระเบอื้ งหรือกระจกนาฬกิ า (ขนาดปดิ ปากบกี เกอรไ์ ด)้ 2 ใบ

5. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 5 คน ตามความสมัครใจ จากน้นั ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มจดั เตรยี มอปุ กรณ์

ทใ่ี ช้ในกจิ กรรมที่ 1 กระบวนการเกดิ เมฆและหมอก จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

6. ครแู จ้งจุดประสงคข์ องกจิ กรรมท่ี 1 กระบวนการเกดิ เมฆและหมอก ให้นกั เรยี นทราบ เพื่อเปน็ แนว

ทางการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมทถี่ ูกต้อง

7. นักเรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกนั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมที่ 1 กระบวนการเกดิ เมฆและหมอก โดยปฏบิ ตั ิกิจกรรม

ดังน้ี

1) ศกึ ษาขัน้ ตอนการปฏิบตั ิกิจกรรมจากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 อย่างละเอยี ด

หากมีข้อสงสยั ให้สอบถามครู

2) ร่วมกันกาหนดปญั หาและตั้งสมมตฐิ านในการปฏบิ ัติกิจกรรม แล้วบันทึกผลลงในสมุดประจาตัว

นักเรยี น หรอื แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

3) ร่วมกนั ปฏิบัติกจิ กรรมตามขั้นตอนให้ครบถว้ นและถกู ตอ้ งทกุ ข้นั ตอน จากนั้นบนั ทึกผลลงใน
สมุดประจาตวั นักเรยี น หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)
8. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั วเิ คราะห์ผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม แล้วอภิปรายผลและสรปุ ผลการทดลอง

คาบที่ 3

ขัน้ สอน

ข้ันที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
9. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าช้ันเรยี น เพอื่ แลกเปลีย่ นความคิด
จนครบทกุ กลุ่ม ในระหว่างที่นักเรยี นนาเสนอครคู อยให้ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม เพอื่ ให้นักเรียน
มคี วามเข้าใจที่ถูกต้อง
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน)
10. นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรปุ ความรทู้ ่ไี ด้จากการปฏบิ ัติกจิ กรรมที่ 1 กระบวนการเกดิ เมฆและหมอก
11. นกั เรยี นแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนตู อบได้ จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมุดประจาตัวนกั เรียน หรือแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

คาบท่ี 4

ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
12. ครูนาบตั รขอ้ ความเกย่ี วกบั เมฆและหมอก ใสไ่ วใ้ นกลอ่ ง แลว้ นามาวางไวห้ นา้ ชั้นเรยี น จากนน้ั ครู
แบง่ นกั เรยี นออกเปน็ สองฝ่าย โดยให้แต่ละฝ่ายสง่ ตัวแทนออกมากลมุ่ ละ 1 คน แลว้ เลือกว่าฝ่ายใด
จะได้ทายก่อน
13. ตัวแทนฝา่ ยทไ่ี ด้เลน่ ก่อน หยิบบัตรข้อความในกล่อง อา่ นขอ้ ความให้เพ่ือนฟงั แลว้ ใหเ้ พ่ือนทาย
ถ้าทายถูกจะได้ข้อละ 2 คะแนน ถ้าทายผดิ จะไมไ่ ดค้ ะแนน สลบั กนั เล่นจนหมดบตั รขอ้ ความทีค่ รู
เตรียมไว้ ซง่ึ ตวั อยา่ งบัตรข้อความ มีดังนี้
- เมฆเกิดขึ้นไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ : เมฆเกดิ จากไอน้าในอากาศควบแน่นเป็นละอองน้าขนาดเลก็ จานวนมาก
เมือ่ ละอองน้าจานวนมากเกาะกลุ่มรวมกนั ลอยอยสู่ งู จากพื้นดินมาก)
- เมฆ แบง่ ออกเปน็ กร่ี ะดับ ใช้เกณฑ์อะไรบา้ งในการแบง่ เมฆ
(แนวตอบ : เมฆ แบ่งออกเปน็ 3 ระดบั โดยพจิ ารณาจากความสงู )
- เมฆคิวมลู สั มีลกั ษณะอยา่ งไร
(แนวตอบ : มีลกั ษณะเปน็ ก้อนขนาดคลา้ ยภูเขาหรือดอกกะหลา่ มีสขี าว)
- ถ้าพบเมฆคิวมลู ัส แสดงว่าสภาวะอากาศเป็นอย่างไร
(แนวตอบ : สภาวะอากาศดี ทอ้ งฟา้ มสี นี า้ เงนิ เข้ม พบในฤดูร้อน)

- หมอกเกิดขน้ึ ได้อย่างไร
(แนวตอบ : หมอกเกดิ จากไอนา้ ในอากาศควบแน่นเปน็ ละอองน้าขนาดเลก็ จานวนมาก
เมื่อละอองน้าจานวนมากเกาะกลุ่มรวมกนั ลอยอยใู่ กลพ้ น้ื ดนิ )

- หมอกทาให้เกิดอนั ตรายหรือไมอ่ ย่างไร
(แนวตอบ : หากมีละอองนา้ มาก หมอกจะย่งิ หนามาก ทาใหก้ ารมองเหน็ ของเราลดลง
อาจเป็นสาเหตหุ น่งึ ของการเกดิ อุบัติเหตุในการเดินทาง)

14. ครูสุ่มเลขที่นกั เรยี น จานวน 3 คน ใหย้ กตวั อยา่ งเมฆในแตล่ ะชั้น ดังนี้
 คนที่ 1 ให้ยกตัวอย่างเมฆชั้นสูง
 คนที่ 2 ใหย้ กตัวอยา่ งเมฆชั้นกลาง
 คนท่ี 3 ใหย้ กตัวอยา่ งเมฆช้นั ต่า

คาบที่ 5

ขนั้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)

15. ครูเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นซกั ถามเน้อื หาเก่ียวกับ เรื่อง การเกิดเมฆและหมอก และให้ความรู้
เพิ่มเตมิ จากคาถามของนกั เรียน โดยครูใช้ PowerPoint เร่ือง การเกิดเมฆและหมอก
ในการอธิบายเพ่มิ เตมิ

16. นกั เรียนแตล่ ะคนทาใบงานท่ี 6.3.1 เร่ือง เมฆและหมอก จากนน้ั ครูสมุ่ นักเรียน 4 คน
ออกมานาเสนอคาตอบของตนเอง โดยครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั พิจารณาวา่ คาตอบใดถกู ตอ้ ง
จากนัน้ ครูเฉลยคาตอบที่ถกู ตอ้ งใหน้ กั เรียน

คาบท่ี 6

ขั้นสรุป

ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤติกรรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชั้นเรยี น
2. ครูตรวจสอบผลการปฏิบัติกจิ กรรมท่ี 1 กระบวนการเกิดเมฆและหมอก ในสมดุ ประจาตวั นกั เรียน
หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
3. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบได้ ในสมดุ ประจาตัวนกั เรียน หรอื แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2
4. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานท่ี 6.3.1 เรือ่ ง เมฆและหมอก
5. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ เกีย่ วกบั การเกดิ เมฆและหมอก ซ่งึ ได้ข้อสรปุ ร่วมกนั วา่ “ไอน้าในอากาศ

จะควบแนน่ เปน็ ละอองนา้ เล็ก ๆ โดยมลี ะอองลอย เช่น เกลอื ฝุ่นละออง ละอองเรณขู องดอกไม้
เปน็ อนภุ าคแกนกลาง เมอื่ ละอองน้าจานวนมากเกาะกลุ่มรวมกนั ลอยอยู่สูงจากพนื้ ดินมาก
เรยี กวา่ เมฆ แตล่ ะอองน้าทีเ่ กาะกลุม่ รวมกนั อยใู่ กล้พ้นื ดนิ เรียกว่า หมอก”

6.การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมินผล วธิ กี ารวดั ผล เครอ่ื งมือวดั เกณฑก์ าร
จดุ ประสงค์ ประเมนิ ผล
70% ขึ้นไป ถอื วา่
ความร้คู วาม 1. สงั เกตจากการซกั ถาม ตอบ 1.คาถามกระตุ้น ผ่านเกณฑก์ าร
เขา้ ใจ (K) คาถาม ความคิด ประเมนิ

2. อธิบายลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่ี 70% ขน้ึ ไป ถือว่า
ผา่ นเกณฑ์การ
มกี ารถ่ายทอดจากพอ่ แมส่ ่ลู ูกของ ประเมนิ

มนษุ ย์ได้ 70% ข้ึนไป ถือว่า
ผ่านเกณฑก์ าร
ทกั ษะ/ 1. สารวจและเปรียบเทยี บเก่ียวกับ 1. กิจกรรมพัฒนาการ ประเมนิ
กระบวนการ (P)
การถ่ายทอดลักษณะทาง เรยี นรทู้ ี่ 2
คณุ ลักษณะนิสยั (A)
พันธุกรรมของตนเองกบั คนใน

ครอบครวั ได้

1. สังเกตจากการเรยี นมคี วาม 1. แบบสงั เกต

รบั ผดิ ชอบตอ่ งานทสี่ ่งั ส่งงานตรง พฤติกรรม

เวลา

2. ให้ความร่วมมอื ในการเรียนรู้

7. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้
1.1 ส่อื การเรยี นรู้

1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 6 แหล่งนา้ และลมฟ้าอากาศ
2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 6 แหลง่ น้าและลมฟา้ อากาศ
3) ใบงานท่ี 6.3.1 เร่ือง เมฆและหมอก
4) วสั ดุ-อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นกิจกรรมที่ 1 กระบวนการเกดิ เมฆและหมอก
5) PowerPoint เรอ่ื ง การเกิดเมฆและหมอก
6) บตั รขอ้ ความเกย่ี วกับเมฆและหมอก
7) สมุดประจาตัวนกั เรียน

1.2 แหล่งการเรียนรู้

1) ห้องเรยี น
2) ห้องสมดุ
3) อนิ เทอรเ์ นต็

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................ครูผูส้ อน ลงชื่อ...................................................ฝา่ ยวิชาการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงชือ่ ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)

ใบงานที่ 6.3.1

เรอื่ ง เมฆและหมอก

คาชี้แจง : ให้นกั เรียนพจิ ารณาขอ้ ความที่กาหนดให้แล้วทาเครอ่ื งหมาย  หนา้ ขอ้ ความทีถ่ กู ตอ้ ง
ทาเครือ่ งหมายผิด  หน้าขอ้ ความทีไ่ มถ่ กู ตอ้ ง

1. ไอน้าในอากาศจะควบแนน่ เปน็ ละอองนา้ เล็ก ๆ โดยมลี ะอองลอย เช่น เกลอื ฝนุ่ ละออง ละอองเรณู
ของดอกไม้ เป็นอนุภาคแกนกลาง

2. เม่อื ละอองน้าจานวนมากเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยูส่ ูงจากพ้ืนดินมาก เรียกวา่ หมอก

3. ละอองน้าท่เี กาะกลุ่มรวมกนั อยู่ใกล้พ้นื ดิน เรียกวา่ เมฆ
4. เมฆแบ่งออกเป็น 3 ระดับ โดยพิจารณาจากความสูงของฐานเมฆ

5. เมฆอัลโตคิวมลู ัส เป็นเมฆช้นั ตา่
6. เมฆทที่ าใหฝ้ นตกพรา่ คือ เมฆนมิ โบสเตรตสั

7. เมฆที่ทาใหเ้ กิดฝนฟา้ คะนอง คือ เมฆคิวมูโลนมิ บสั

8. เมฆที่มลี ักษณะแผน่ คลา้ ยผ้าหม่ คือ เมฆสเตรตัส
9. ในวนั อากาศดีมองเห็นทอ้ งฟา้ สีน้าเงนิ เข้ม มองเห็นเมฆเป็นร้ิวคล้ายขนนก คือ เมฆซีร์รสั

10. หากมลี ะอองนา้ มาก หมอกจะยง่ิ หนามาก ทาให้การมองเห็นของเราลดลง อาจเป็นสาเหตุหนง่ึ ของการ
เกิดอบุ ัตเิ หตใุ นการเดนิ ทาง

ใบงานที่ 6.3.1 เฉลย

เรอ่ื ง เมฆและหมอก

คาช้แี จง : ให้นักเรียนพจิ ารณาข้อความท่กี าหนดให้แล้วทาเครื่องหมาย  หนา้ ข้อความทถี่ กู ต้อง
ทาเครือ่ งหมายผดิ  หน้าข้อความทไ่ี มถ่ กู ต้อง

 1. ไอนา้ ในอากาศจะควบแนน่ เปน็ ละอองน้าเล็ก ๆ โดยมีละอองลอย เช่น เกลอื ฝนุ่ ละออง ละอองเรณู

ของดอกไม้ เปน็ อนภุ าคแกนกลาง
เมฆ

 2. เม่ือละอองน้าจานวนมากเกาะกล่มุ รวมกนั ลอยอยู่สูงจากพน้ื ดินมาก เรียกวา่ หมอก
 3. ละอองน้าท่ีเกาะกลมุ่ รวมกันอยู่ใกล้พื้นดิน เรียกว่า เมฆ หมอก
 4. เมฆแบ่งออกเปน็ 3 ระดับ โดยพิจารณาจากความสงู ของฐานเมฆ
 5. เมฆอัลโตควิ มลู ัส เปน็ เมฆชั้นต่า เมฆชนั้ กลาง
 6. เมฆทท่ี าใหฝ้ นตกพร่า คือ เมฆนมิ โบสเตรตสั
 7. เมฆท่ที าให้เกดิ ฝนฟา้ คะนอง คอื เมฆคิวมโู ลนมิ บสั
 8. เมฆทม่ี ีลักษณะแผน่ คล้ายผา้ หม่ คอื เมฆสเตรตัส
 9. ในวนั อากาศดีมองเหน็ ทอ้ งฟา้ สีนา้ เงินเขม้ มองเห็นเมฆเป็นริว้ คลา้ ยขนนก คอื เมฆซรี ร์ สั
 10. หากมลี ะอองน้ามาก หมอกจะยง่ิ หนามาก ทาให้การมองเห็นของเราลดลง อาจเปน็ สาเหตุหน่ึง

ของการเกดิ อบุ ัตเิ หตุในการเดนิ ทาง

บตั รขอ้ ความ 

เมฆเกดิ ข้นึ ได้อย่างไร
เมฆแบ่งออกเปน็ ก่ีระดบั ใช้เกณฑ์

อะไรบา้ งในการแบ่งเมฆ
เมฆคิวมูลัส มีลกั ษณะอยา่ งไร
ถ้าพบเมฆคิวมลู ัส แสดงว่าสภาวะ

อากาศเป็นอย่างไร
หมอกเกิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร

หมอกทาใหเ้ กิดอนั ตรายหรือไม่
อย่างไร

สปั ดาห์ท่ี 12-13

โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 11

ภาคเรยี นท่ี …2…/……….……... ชอื่ ผสู้ อน ….…………………………………………………...

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5 จานวน 5 คาบ

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 แหลง่ นา้ และลมฟ้าอากาศ เรื่อง การเกดิ น้าคา้ งและน้าคา้ งแข็ง

1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั

ว 3.2 ป.5/4 เปรยี บเทียบกระบวนการเกดิ เมฆ หมอก น้าคา้ ง และนา้ คา้ งแขง็ จากแบบจาลอง

2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

ไอนา้ ที่ควบแน่นเป็นละอองนา้ เกาะอยบู่ นพืน้ ผิววตั ถใุ กล้พนื้ ดิน เรยี กว่า น้าค้าง ถา้ อุณหภมู ิใกลพ้ น้ื ดนิ
ตา่ กว่าจุดเยือกแขง็ น้าค้างกจ็ ะกลายเป็นนา้ ค้างแขง็

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายการเกดิ นา้ ค้างและนา้ คา้ งแขง็ ได้ (K)
2. เปรียบเทยี บเกดิ นา้ คา้ งและน้าค้างแข็งได้ (K)
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเกดิ น้าคา้ งและนา้ คา้ งแข็งไดอ้ ย่างถูกต้องและเป็นลาดับขัน้ ตอน (P)
4. ใหค้ วามรว่ มมือในการทากิจกรรมกลมุ่ และมคี วามรบั ผิดชอบในการสง่ งานตรงเวลา (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่ิน

- ไอน้าในอากาศจะควบแน่นเปน็ ละอองนา้ เล็ก ๆ โดย พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

มลี ะอองลอย เช่น เกลือ ฝุ่นละออง ละอองเรณูของ

ดอกไม้ เป็นอนุภาคแกนกลาง เม่อื ละอองน้าจานวน

มากเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่สูงจากพื้นดินมาก

เรียกว่า เมฆ แต่ละอองน้าท่ีเกาะกลุ่มรวมกนั อยู่ใกล้

พ้ืนดิน เรียกว่า หมอก ส่วนไอน้าที่ควบแน่นเป็น

ละอองน้าเกาะอยู่บนพื้นผิววัตถุใกล้พ้ืนดิน เรียกว่า

น้าค้าง ถ้าอุณหภูมิใกล้พ้ืนดินต่ากว่าจุดเยือกแข็ง

น้าค้างกจ็ ะกลายเปน็ นา้ คา้ งแข็ง

5. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ข้ันนา
ขน้ั ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)

1. ครทู ักทายกับนักเรยี น แล้วแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ทจี่ ะเรยี นใหน้ กั เรยี นทราบ
2. ครูนาบัตรภาพนา้ คา้ ง และน้าค้างแข็ง มาให้นักเรยี นดู โดยครูติดไวบ้ นกระดาน ดงั น้ี

3. จากนนั้ ครูตง้ั ประเดน็ คาถามกระตุน้ ความสนใจนกั เรียนจากบตั รภาพ โดยให้นักเรยี นแต่ละคนร่วมกนั อภิปราย
แสดงความคิดเห็นอยา่ งอสิ ระโดยไมม่ กี ารเฉลยว่าถกู หรือผดิ ดังนี้
- น้าค้างเกดิ ข้นึ ได้อยา่ งไร
(แนวตอบ : นา้ คา้ ง เกิดจากไอนา้ ทค่ี วบแน่นเปน็ ละอองนา้ เกาะอยู่บนพนื้ ผิววัตถใุ กล้พ้นื ดิน)
- น้าค้างแขง็ เกิดขน้ึ อย่างไร
(แนวตอบ : นา้ คา้ งแขง็ เกิดจากนา้ ค้างอุณหภูมิใกล้พน้ื ดนิ ต่ากวา่ จุดเยือกแขง็ นา้ คา้ งกจ็ ะ
กลายเป็นนา้ ค้างแข็ง)
- นา้ คา้ งและน้าคา้ งแขง็ เหมือนกนั หรือแตกตา่ งกนั อย่างไร
(แนวตอบ : แตกต่างกันนา้ ค้างมสี ถานะเปน็ ของเหลว แตน่ า้ ค้างแข็งมสี ถานะเป็นของแขง็ )

คาบท่ี 2

ขั้นสอน

ขั้นท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)

1. ครจู ัดเตรยี มวสั ดุ-อุปกรณ์ท่ีใช้ในกิจกรรมที่ 2 กระบวนการเกิดน้าคา้ งและน้าคา้ งแข็ง

จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 มาวางไวห้ น้าชนั้ เรยี น ดังน้ี

- เกลือ 1 ถุง - ช้อนโตะ๊ 1 คนั

- แกว้ สแตนเลส 2 ใบ - น้าแขง็ 1 แกว้

- บตั รภาพนา้ คา้ งและน้าคา้ งแข็ง 1 ชดุ

2. นักเรียนแบง่ กลุม่ โดยครเู ตรียมสลากหมายเลขกลุ่ม 1-5 จากนน้ั ใหน้ กั เรียนแต่ละคนออกมาหยิบ
สลาก ซึ่งนกั เรียนท่ไี ดห้ มายเลขเดียวกนั จะอยกู่ ล่มุ เดยี วกัน ซงึ่ แต่ละกลุ่มจะมีสมาชกิ ภายใน
กลมุ่ 5 คน

3. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ จดั เตรียมอปุ กรณ์ท่ใี ช้ในกิจกรรมท่ี 2 กระบวนการเกิดน้าคา้ งและน้าคา้ งแข็ง
จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

4. ครูแจ้งจุดประสงคข์ องกจิ กรรมที่ 2 กระบวนการเกิดน้าคา้ งและน้าคา้ งแขง็ ใหน้ ักเรยี นทราบ
เพอื่ เป็นแนวทางการปฏิบตั ิกจิ กรรมทถี่ กู ต้อง

5. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมที่ 2 กระบวนการเกิดน้าคา้ งและนา้ คา้ งแขง็ โดยปฏบิ ตั ิ
กิจกรรม ดงั นี้
1) ศกึ ษาขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมจากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 อยา่ งละเอยี ด
หากมีขอ้ สงสัยใหส้ อบถามครู
2) ร่วมกนั กาหนดปัญหาและตง้ั สมมตฐิ านในการปฏบิ ัติกิจกรรม แลว้ บนั ทกึ ผลลงในสมุดประจาตวั
นักเรียน หรือแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
3) ร่วมกันปฏบิ ัติกจิ กรรมตามข้นั ตอนใหค้ รบถ้วนและถกู ตอ้ งทกุ ขน้ั ตอน จากนน้ั บนั ทกึ ผลลงใน
สมุดประจาตัวนกั เรยี น หรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )

6. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั วเิ คราะห์ผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม แลว้ อภิปรายผลและสรุปผลการทดลอง

คาบท่ี 3

ขนั้ สอน

ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
7. นกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหน้าชั้นเรยี น เพอ่ื แลกเปลย่ี นความคดิ
จนครบทุกกลมุ่ ในระหวา่ งท่ีนักเรยี นนาเสนอครูคอยให้ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม เพอื่ ใหน้ ักเรียน
มีความเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ ง
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบประเมินการนาเสนอผลงาน)
8. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปความรทู้ ไ่ี ด้จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมท่ี 2 กระบวนการเกิดนา้ คา้ ง
และน้าคา้ งแขง็
9. นกั เรียนแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนูตอบได้ จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมุดประจาตัวนกั เรยี น หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
10. นักเรยี นแต่ละกล่มุ ศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลเพมิ่ เติมเกี่ยวกบั เรอื่ ง นา้ คา้ งและน้าคา้ งแข็ง จากหนงั สือ
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรือแหลง่ การเรียนร้ตู ่าง ๆ เชน่ อนิ เทอร์เน็ต ห้องสมุด
แล้วนาความร้ทู ี่ไดม้ ารว่ มกนั อภปิ รายและบันทึกข้อมลู ลงในสมดุ ประจาตวั นกั เรียน
11. ครูส่มุ เลขท่นี กั เรยี น จานวน 2-3 คน ให้อา่ นผลการค้นคว้าของตนเองใหเ้ พอ่ื น ๆ ฟัง

คาบท่ี 4

ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
12. ครตู ัง้ ประเดน็ คาถามกระตุน้ ความคิดนักเรียน โดยให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกนั อภปิ ราย
แสดงความคิดเหน็ เพ่อื คาตอบ ดงั น้ี
- เราจะพบนา้ คา้ งไดท้ ี่ใดบา้ ง
(แนวตอบ : จะพบน้าคา้ งได้ตอนเชา้ ตรู่ ซง่ึ จะเกาะอยู่บนใบหญ้า บนใยแมงมุมทข่ี ึงอยูต่ ามต้นไม้)
- นา้ ค้างท่ีพบบนใยแมงมมุ มลี ักษณะอยา่ งไร
(แนวตอบ : มีลกั ษณะเหมือนเพชรเมด็ เล็ก ๆ รอ้ ยกันเปน็ พวง)
- การเกิดนา้ คา้ งแข็งส่งผลอย่างไรบา้ ง
(แนวตอบ : อาจสง่ ผลทาให้ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย และหากเกดิ เปน็ จานวนมาก
ตดิ ต่อกนั หลายวันอาจเป็นสาเหตหุ น่ึงของอุบตั เิ หตุบนถนนได้)
- น้าค้างแข็งทเ่ี กิดขึ้นทางภาคเหนือเรียกวา่ อะไร
(แนวตอบ : เหมยขาบ หรือแม่คะน้ิง)
13. ครูอธบิ ายให้นักเรียนเข้าใจเกีย่ วกับ เรื่อง น้าค้างแข็งว่า “น้าค้างแข็งจะเกดิ ในชว่ งฤดหู นาว
ทางภาคเหนือของประเทศไทย หรอื ท่เี รยี กวา่ เหมยขาบ หรอื แม่คะน้ิง อย่บู นดอยสูง ๆ ทาใหม้ ี
นักทอ่ งเทยี่ วเดินทางไปชมเป็นจานวนมาก”
14. ครูเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นซักถามเนื้อหาเกย่ี วกบั เรื่อง การเกิดนา้ คา้ งและน้าค้างแขง็ และใหค้ วามรู้
เพิม่ เตมิ จากคาถามของนักเรยี น โดยครใู ช้ PowerPoint เรือ่ ง การเกดิ น้าค้างและน้าค้างแข็ง
ในการอธิบายเพม่ิ เติม
15. นักเรยี นแตล่ ะคนทาใบงานท่ี 6.4.1 เรือ่ ง น้าคา้ งและน้าค้างแข็ง จากนน้ั ครสู ุ่มนกั เรียน 2 คน
ออกมานาเสนอคาตอบของตนเอง โดยครูให้นักเรียนร่วมกนั พจิ ารณาว่าคาตอบใดถกู ต้อง
จากนั้นครเู ฉลยคาตอบที่ถูกต้องใหน้ ักเรียน

คาบท่ี 5

ขนั้ สรปุ

ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบคุ คล
พฤติกรรมการทางานกล่มุ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ชั้นเรียน
2. ครูตรวจสอบผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมท่ี 2 กระบวนการเกิดนา้ คา้ งและนา้ คา้ งแข็ง ในสมดุ ประจาตัว
นักเรียน หรอื แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
3. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมหนูตอบได้ ในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น หรือแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
4. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานท่ี 6.4.1 เร่ือง น้าค้างและน้าค้างแขง็

5. นักเรียนและครรู ่วมกันสรปุ เกย่ี วกับการเกิดนา้ ค้างและนา้ ค้างแขง็ ซ่ึงได้ขอ้ สรปุ ร่วมกันวา่
“นา้ ค้างเกดิ จากการกลน่ั ตวั เมือ่ ไอนา้ ในอากาศกระทบกับบรเิ วณผิววัตถุทเี่ ยน็ กวา่ และน้าค้างแขง็
เกดิ จากอากาศที่เยน็ จัด ซง่ึ อณุ หภมู ิลดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ งจนถงึ จุดตา่ กวา่ จุดเยือกแขง็ น้าค้างก็จะ
เกดิ การแขง็ ตวั กลายเป็นน้าค้างแข็ง”

6.การวดั และประเมินผล วิธกี ารวดั ผล เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ าร

การวดั และประเมนิ ผล
จุดประสงค์

ประเมนิ ผล

ความรคู้ วาม 1. สงั เกตจากการซักถาม ตอบ 1.คาถามกระตุน้ 70% ข้ึนไป ถือวา่
เขา้ ใจ (K) คาถาม
ความคดิ ผา่ นเกณฑ์การ

ประเมนิ

2. อธิบายการเกดิ น้าคา้ งและ 2. ใบงานท่ี 6.4.1 เรอื่ ง
น้าคา้ งแข็งได้
น้าค้างและนา้ คา้ งแข็ง
1. เปรยี บเทียบเกดิ น้าค้างและ
ทกั ษะ/ น้าคา้ งแขง็ ได้ 1. กิจกรรมที่ 2 70% ข้ึนไป ถือวา่
กระบวนการ (P)
กระบวนการเกดิ ผ่านเกณฑ์การ

นา้ ค้างและนา้ ค้างแขง็ ประเมิน

คณุ ลักษณะนิสัย (A) 1. ปฏิบตั กิ จิ กรรมการเกดิ น้าค้าง 1. แบบสังเกต 70% ขึ้นไป ถอื ว่า
และน้าคา้ งแข็งได้อยา่ งถูกต้องและ พฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑก์ าร
เป็นลาดบั ข้นั ตอน ประเมิน

7. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้
1.1 ส่ือการเรยี นรู้

1) หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 6 แหล่งน้าและลมฟา้ อากาศ
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 แหล่งนา้ และลมฟา้ อากาศ
3) ใบงานที่ 6.4.1 เรอื่ ง น้าค้างและนา้ ค้างแข็ง
4) วัสดุ-อปุ กรณ์ท่ีใช้ในกิจกรรมท่ี 2 กระบวนการเกดิ น้าค้างและนา้ ค้างแข็ง
5) PowerPoint เรือ่ ง การเกิดนา้ คา้ งและน้าคา้ งแข็ง
6) บตั รภาพน้าคา้ ง และนา้ ค้างแขง็
7) สลากหมายเลขกลุ่ม 1-5
8) สมุดประจาตัวนกั เรียน

1.2 แหล่งการเรยี นรู้

1) หอ้ งเรยี น
2) หอ้ งสมุด
3) อินเทอรเ์ นต็

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................ครผู ู้สอน ลงชอ่ื ...................................................ฝา่ ยวิชาการ

(...........................................................) (...........................................................)

ลงช่ือ................................................... ผูบ้ รหิ าร
(...........................................................)

ใบงานที่ 6.4.1

เรือ่ ง น้าคา้ งและนา้ ค้างแข็ง

คาช้แี จง : ให้นกั เรียนพิจารณาภาพที่กาหนดให้ แลว้ อธิบายใตภ้ าพมาพอสงั เขป
1.

............................................................................................................................. ............................
............................................................................................................................. ............................
...................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. ............................
2.

.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
............................................................................................................................. ............................
........................................................................................................................................................

ใบงานที่ 6.4.1 เฉลย

เรื่อง นา้ ค้างและน้าค้างแขง็

คาชี้แจง : ให้นักเรยี นพิจารณาภาพที่กาหนดให้ แลว้ อธิบายใตภ้ าพมาพอสงั เขป

1.

นา้ ค้างเกิดจากเม่อื อากาศท่ีอยูใ่ กล้พน้ื ดินในเวลากลางคืนเยน็ ลงเรว็ กวา่ อากาศบนทอ้ งฟา้
จึงทาให้ไอนา้ ควบแนน่ เปน็ ละอองน้าเกาะอยบู่ นใยแมงมุม มลี กั ษณะเหมอื นเพชรเมด็ เลก็ ๆ รอ้ ยกนั
เป็นพวง

2.

น้าค้างแขง็ เกิดจากเม่ืออุณหภมู ิใกลพ้ ้นื ดินต่ากว่าจดุ เยอื กแข็ง นา้ คา้ งจะแข็งตัวกลายเปน็
น้าคา้ งแข็งเกาะอยูบ่ นใบไม้

สลากหมายเลข 2 
4
1
3
5

บตั รภาพนา้ ค้าง และนา้ ค้างแข็ง



สัปดาห์ที่ 13-15

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12

ภาคเรียนที่ …2…/……….……... ชอื่ ผสู้ อน ….…………………………………………………...
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 จานวน 6 คาบ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 แหล่งนา้ และลมฟา้ อากาศ เรอ่ื ง การเกิดหยาดน้าฟา้

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั

ว 3.2 ป.5/5 เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดฝน หมิ ะ และลกู เห็บ จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้

2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

ฝนเกดิ ไอน้าในอากาศควบแน่นเป็นละอองน้าเลก็ ๆ เมอ่ื ละอองน้าจานวนมากในเมฆรวมตวั กันจนอากาศไม่
สามารถพยุงไว้ไดจ้ งึ ตกลงมาเป็นฝน หมิ ะเกดิ จากไอนา้ ในอากาศระเหิดกลบั เป็นผลกึ นา้ แข็ง รวมตัวกันจนมีน้าหนักมากข้ึน
จนเกนิ กวา่ อากาศจะพยงุ ไวจ้ ึงตกลงมา ลูกเหบ็ เกิดจากหยดน้าที่เปลยี่ นสถานะเป็นน้าแข็ง แล้วถูกพายุพัดวนซ้าไปซา้ มาใน
เมฆฝนฟา้ คะนองทม่ี ีขนาดใหญ่และอยูใ่ นระดบั สงู จนเป็นก้อนนา้ แข็งขนาดใหญ่ขน้ึ แล้วตกลงมา

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการการเกดิ หยาดน้าฟ้าได้ (K)
2. เปรยี บเทียบกระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะและลกู เห็บได้ (K)
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมการเกดิ หยาดนา้ ฟา้ ได้อยา่ งถกู ต้องและเป็นลาดบั ข้ันตอน (P)
4. ให้ความร่วมมอื ในการทากิจกรรมกลุม่ และมีความรบั ผิดชอบในการส่งงานตรงเวลา (A)

4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ

- ฝน หมิ ะ ลกู เหบ็ เป็นหยาดน้าฟา้ ซึง่ เป็นน้า พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

ที่มสี ถานะต่าง ๆ ทต่ี กจากฟา้ ถึงพนื้ ดนิ ฝนเกิดจาก

ละอองน้าในเมฆท่รี วมตวั กนั จนอากาศไมส่ ามารถ

พยงุ ไวไ้ ดจ้ งึ ตกลงมา หมิ ะเกิดจากไอน้าในอากาศ

ระเหิดกลับเปน็ ผลึกนา้ แขง็ รวมตัวกันจนมีน้าหนกั

มากขนึ้ จนเกินกวา่ อากาศจะพยุงไว้จึงตกลงมา

ลูกเห็บเกดิ จากหยดนา้ ทเ่ี ปล่ยี นสถานะเปน็ นา้ แข็ง

แลว้ ถูกพายพุ ัดวนซา้ ไปซา้ มาในเมฆฝนฟา้ คะนองท่มี ี

ขนาดใหญ่และอยใู่ นระดับสงู จนเปน็ กอ้ นนา้ แข็ง

ขนาดใหญข่ ้นึ แล้วตกลงมา

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบท่ี 1

ขัน้ นา
ขัน้ ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engage)

1. ครูทักทายกับนักเรยี น แล้วแจง้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ท่จี ะเรยี นใหน้ ักเรียนทราบ
2. ครนู าบตั รภาพฝนตก ลูกเห็บตก และหมิ ะตก มาให้นกั เรยี นดู โดยครตู ิดไวบ้ นกระดาน ดังน้ี

3. จากนัน้ ครตู ้ังประเด็นคาถามกระตุ้นความสนใจนกั เรยี นจากบัตรภาพ โดยให้นกั เรยี นแต่ละคนร่วมกันอภปิ ราย
แสดงความคิดเหน็ อย่างอสิ ระโดยไม่มกี ารเฉลยว่าถูกหรอื ผิด ดงั น้ี
- นกั เรยี นคดิ ว่าฝนตกไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ : ฝนตก เกิดจากไอนา้ ในอากาศ เมอื่ เย็นลงจะควบแน่นรวมตวั กนั เปน็ เมฆ ละอองนา้ ในเมฆจะรวมตัว

กันเปน็ หยดน้าทีม่ ีขนาดใหญข่ นึ้ )
- นักเรยี นคิดวา่ ลกู เหบ็ ตกไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ : ลกู เห็บเกดิ จากเม็ดฝนถกู ลมหรอื กระแสอากาศพัดขน้ึ ไปในชั้นบรรยากาศที่มี
อุณหภมู ติ า่ จึงเกดิ การแข็งตวั เป็นน้าแขง็ หากลกู เห็บถูกพัดขน้ึ ไปหลาย ๆ รอบจะมีขนาดใหญ่ขึ้น)
- นกั เรยี นคดิ วา่ หมิ ะตกได้อยา่ งไร
(แนวตอบ : หิมะเกิดจากไอนา้ ในอากาศระเหิดกลับเปน็ ของแข็งซึ่งจะเกดิ ในสภาวะทีห่ นาวเยน็ และความชื้น

เหมาะสม)

ขนั้ สอน

ขั้นท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. นกั เรียนแต่ละคนศกึ ษาค้นคว้าขอ้ มูลเก่ยี วกบั เร่ือง หยาดนา้ ฟ้า จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2 หรือแหล่งการเรียนรูต้ า่ ง ๆ เชน่ อินเทอรเ์ น็ต จากนั้นให้นกั เรยี นแต่ละคนเขียนสรุป
ความรทู้ ่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าลงในสมุดประจาตัวนกั เรียน เพ่ือนาส่งครทู า้ ยชั่วโมง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
2. ครตู ง้ั ประเด็นคาถามกระตนุ้ ความคดิ นักเรยี น โดยให้นักเรียนแต่ละคนร่วมกนั อภปิ ราย
แสดงความคิดเห็นเพื่อหาคาตอบ ดงั นี้
- สงิ่ ทต่ี กลงมาจากฟา้ ถงึ พนื้ เรยี กว่าอะไร

(แนวตอบ : หยาดนา้ ฟา้ )
- หยาดน้าฟ้า ได้แก่อะไรบา้ ง

(แนวตอบ : ฝน หิมะ และลูกเหบ็ )
- ฝน หิมะ และลกู เหบ็ มสี ถานะอยา่ งไรบา้ ง

(แนวตอบ : ฝน มสี ถานะเปน็ ของเหลว สว่ นหมิ ะและลกู เห็บมีสถานะเป็นของแขง็ )
- ทาไมเมฆ หมอก นา้ คา้ ง และน้าคา้ งแข็ง ไมเ่ ป็นหยาดนา้ ฟ้า

(แนวตอบ : เนื่องจากเมฆไมไ่ ดต้ กลงมาถึงพ้ืนดนิ สว่ นหมอก น้าคา้ ง และนา้ คา้ งแข็ง ไมไ่ ด้เกดิ
จากการตกลงมาจากฟา้ )
- ฝน หมิ ะ และลูกเห็บเกิดขึ้นได้อยา่ งไร
(แนวตอบ : ฝนตก เกดิ จากไอนา้ ในอากาศ เม่ือเยน็ ลงจะควบแนน่ รวมตัวกันเปน็ เมฆ ละอองนา้
ในเมฆจะรวมตัวกนั เปน็ หยดน้าท่ีมีขนาดใหญ่ขึน้ ลกู เห็บเกดิ จากเม็ดฝนถูกลมหรือกระแสอากาศ
พดั ขึน้ ไปในชนั้ บรรยากาศทมี่ อี ุณหภูมติ า่ จึงเกิดการแข็งตัวเป็นนา้ แข็ง หากลกู เหบ็ ถูกพดั ขนึ้ ไป
หลาย ๆ รอบจะมขี นาดใหญข่ ้นึ หมิ ะเกิดจากไอนา้ ในอากาศระเหดิ กลับเปน็ ของแขง็ ซึ่งจะเกิด
ในสภาวะท่ีหนาวเยน็ และความชื้นเหมาะสม)

คาบที่ 2

ข้นั ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)

3. ครจู ัดเตรยี มวัสดุ-อุปกรณท์ ่ใี ช้ในกจิ กรรมที่ 3 การเกิดหยาดนา้ ฟา้ จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์

ป.5 เล่ม 2 มาวางไว้หน้าช้ันเรียน ดังน้ี

- นา้ แขง็ 1 ถุง - คตั เตอร์ 1 อัน

- ขวดน้าพลาสติก 1 ใบ - กระดาษแข็งแผน่ ใหญ่ 3 แผน่

- นา้ อ่นุ 1 แก้ว - หลอดหยด 1 หลอด

- สีผสมอาหารแบบนา้ (สีแดง) 1 ขวด

4. นกั เรยี นแบง่ กล่มุ ออกเป็น 6 กลมุ่ กลุ่มละเทา่ ๆ กัน ตามความสมคั รใจ จากนัน้ ให้นกั เรียนแต่ละ

กลุม่ จดั เตรียมอุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการทากิจกรรมท่ี 3 การเกิดหยาดนา้ ฟ้า จากหนงั สือเรยี น

วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

5. ครแู จ้งจดุ ประสงคข์ องกิจกรรมท่ี 3 การเกิดหยาดนา้ ฟา้ ใหน้ กั เรยี นทราบ เพอ่ื เปน็ แนวทางการ

ปฏบิ ัติกิจกรรมท่ีถูกตอ้ ง

6. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันปฏิบัตกิ จิ กรรมที่ 3 การเกิดหยาดนา้ ฟา้ ตอนท่ี 1 โดยปฏิบัตกิ จิ กรรม

ดงั น้ี

1) ศกึ ษาข้ันตอนการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมจากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 อย่างละเอยี ด

หากมีข้อสงสยั ให้สอบถามครู

2) รว่ มกันกาหนดปญั หาและต้ังสมมติฐานในการปฏิบตั ิกจิ กรรม แลว้ บันทกึ ผลลงในสมดุ ประจาตวั

นกั เรียน หรอื แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2


Click to View FlipBook Version