3) ร่วมกนั ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามขนั้ ตอนให้ครบถว้ นและถกู ตอ้ งทุกขั้นตอน จากนัน้ บนั ทึกผลลงใน
สมุดประจาตวั นกั เรียน หรือแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)
7. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันวิเคราะห์ผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม แล้วอภิปรายผลและสรุปผลการทดลอง
คาบที่ 3
ขั้นสอน
ข้นั ที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore)
8. นักเรยี นแบง่ กล่มุ (กลมุ่ เดิม) จากช่วั โมงทผ่ี ่านมา จากน้ันให้นักเรียนแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั ศกึ ษาคน้ คว้า
ข้อมูลเกย่ี วกับ เรื่อง กระบวนการเกดิ ฝน หิมะ และลกู เหบ็ จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2 หรือแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ เช่น อินเทอรเ์ นต็ ห้องสมดุ
9. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั อภิปรายเรื่องทไี่ ดศ้ กึ ษา จากน้ันใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาขอ้ มูลที่ได้มา
เขียนเปน็ แผนผังมโนทศั น์ หรือแผนภาพ เพื่อเปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ
ลงในกระดาษแขง็ แผ่นใหญ่ พรอ้ มตกแตง่ ให้สวยงาม
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )
คาบที่ 3
ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
10. นกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมหน้าชั้นเรยี น เพ่อื แลกเปลยี่ นความคิด
จนครบทกุ กลมุ่ ในระหว่างทนี่ ักเรยี นนาเสนอครูคอยให้ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ เพื่อใหน้ กั เรยี น
มคี วามเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ ง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน)
11. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปความรูท้ ไ่ี ด้จากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมท่ี 3 การเกดิ หยาดน้าฟา้
12. นักเรียนแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนูตอบได้ จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น หรอื แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
คาบที่ 4
ขนั้ ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
13. นกั เรยี นจับคกู่ ับเพื่อนในชนั้ เรยี น ตามความสมคั รใจ ศึกษาเรอื่ ง กระบวนการเกิดฝน จากหนังสอื เรยี น
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
14. จากนนั้ ครตู ัง้ ประเด็นคาถามกระต้นุ ความคดิ นักเรยี น โดยให้นักเรยี นแต่ละคนร่วมกนั อภปิ ราย
แสดงความคิดเหน็ เพ่อื หาคาตอบ ดังน้ี
- ฝนเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ : ฝนเกิดจากเมื่อไอน้าในอากาศควบแน่นเป็นละอองน้าเลก็ ๆ เม่อื ละอองน้าจานวน
มากในเมฆรวมตัวกันจนอากาศไมส่ ามารถพยงุ ไวไ้ ด้จึงตกลงมาเป็นฝน)
- ฝนมีประโยชนต์ ่อสิ่งมีชวี ิตอยา่ งไร
(แนวตอบ : ทาให้พชื เจริญเติบโต มนี ้าหมนุ เวยี น เป็นต้น)
- การเกดิ ฝนมีกขี่ น้ั ตอน อะไรบ้าง
(แนวตอบ : การเกิดฝนมี 3 ขั้นตอน โดยขน้ั ที่ 1 นา้ ในแหล่งนา้ ต่าง ๆ เมอื่ ได้รับความรอ้ นจะ
ระเหยกลายเป็นไอน้าแล้วลอยขึ้นไปในอากาศ ขัน้ ที่ 2 ไอน้าในอากาศเม่ือเจออากาศเย็นจะ
ควบแน่นเป็นละอองนา้ รวมตวั กันเป็นกอ้ นเมฆ และขนั้ ที่ 3 เมื่อเมฆรวมตวั กันจานวนมากจน
อากาศพยงุ นา้ หนกั ของละอองน้าไม่ไหว จงึ ตกลงมาเปน็ ฝน)
- หมิ ะเกดิ ขึน้ ได้อย่างไร
(แนวตอบ : หิมะเกิดจากไอน้าในอากาศระเหิดกลับผลึกนา้ แขง็ แลว้ รวมตัวกันจนมนี า้ หนกั มาก
จนอากาศจะพยุงไว้ไมไ่ หว จึงตกลงมา)
- การเกดิ หมิ ะ มีกข่ี ้นั ตอน อะไรบ้าง
(แนวตอบ : การเกดิ หมิ ะ มี 3 ขั้นตอน โดยข้นั ที่ 1 นา้ ในแหล่งน้าตา่ ง ๆ เม่อื ได้รบั ความรอ้ นจะ
ระเหยกลายเป็นไอนา้ แลว้ ลอยข้ึนไปในอากาศ ขั้นท่ี 2 ไอนา้ ในอากาศระเหดิ กลับเป็นผลกึ
น้าแขง็ รวมตัวกนั จนมนี า้ หนกั มากขึน้ จงึ ตกลงสพู่ น้ื โลก และขัน้ ที่ 3 เมื่อผลึกนา้ แข็งตกลงมาบน
โลกจะไมล่ ะลายจงึ กลายเปน็ หิมะ)
- ลูกเห็บเกดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ : ลกู เหบ็ เกดิ จากหยดน้าที่เปลย่ี นสถานะเปน็ นา้ แข็ง แล้วถกู พายพุ ัดวนซา้ ไปซา้ มาจน
หยดน้ากลายเปน็ ก้อนนา้ แขง็ )
คาบท่ี 5
ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
15. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนซกั ถามเนอ้ื หาเกี่ยวกบั เรอื่ ง การเกดิ หยาดนา้ ฟ้า และให้ความรู้เพ่ิมเติม
จากคาถามของนักเรยี น โดยครใู ช้ PowerPoint เร่ือง การเกิดหยาดน้าฟา้ ในการอธิบายเพิม่ เติม
16. นักเรียนแตล่ ะคนตอบคาถามท้าทายการคิดขั้นสูง จากหนงั สอื เรยี น วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 ลงใน
สมดุ ประจาตัวนักเรยี น หรือแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 จากนน้ั นกั เรยี นแตล่ ะคนทา
ใบงานที่ 6.5.1 เรอ่ื ง หยาดนา้ ฟ้า
17. ครูสุม่ นกั เรยี น 2 คน ออกมานาเสนอคาตอบของตนเอง โดยครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกนั พจิ ารณาว่า
คาตอบใดถกู ตอ้ ง จากนน้ั ครเู ฉลยคาตอบที่ถูกต้องใหน้ กั เรยี น
คาบท่ี 6
ขั้นสรุป
ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทางานกลุม่ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าชน้ั เรียน
2. ครูตรวจสอบผลการปฏิบัติกจิ กรรมท่ี 3 การเกิดหยาดน้าฟา้ ในสมดุ ประจาตวั นกั เรยี น
หรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
3. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมหนูตอบได้ ในสมุดประจาตวั นกั เรียน หรือแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
4. ครูตรวจ คาถามทา้ ทายการคดิ ขั้นสูง ในสมดุ ประจาตัวนกั เรยี น หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
5. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานที่ 6.5.1 เร่อื ง หยาดน้าฟา้
6. นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรปุ เกย่ี วกบั การเกดิ หยาดน้าฟ้า ซึ่งไดข้ อ้ สรุปรว่ มกนั วา่ “ฝน หิมะ ลกู เห็บ
เป็นหยาดน้าฟา้ ซง่ึ เป็นน้าทมี่ ีสถานะต่าง ๆ ท่ีตกจากฟ้าถึงพนื้ ดิน ฝนเกิดจากละอองนา้ ในเมฆที่
รวมตวั กนั จนอากาศไมส่ ามารถพยุงไวไ้ ด้จงึ ตกลงมา หิมะเกิดจากไอน้าในอากาศระเหิดกลบั เป็น
ผลึกน้าแขง็ รวมตัวกนั จนมนี า้ หนักมากขน้ึ จนเกินกว่าอากาศจะพยงุ ไว้จงึ ตกลงมา ลกู เหบ็ เกดิ จาก
หยดน้าท่เี ปล่ียนสถานะเปน็ น้าแขง็ แลว้ ถูกพายุพดั วนซา้ ไปซ้ามาในเมฆฝนฟา้ คะนองที่มีขนาดใหญ่
และอย่ใู นระดับสงู จนเป็นก้อนน้าแข็งขนาดใหญข่ น้ึ แล้วตกลงมา”
6.การวดั และประเมนิ ผล
การวดั และประเมินผล วิธกี ารวัดผล เคร่อื งมือวัด เกณฑ์การ
จุดประสงค์ ประเมินผล
ความรคู้ วาม 1. สงั เกตจากการซักถาม ตอบ 1.คาถามกระตุ้น 70% ขน้ึ ไป ถอื วา่
เขา้ ใจ (K) คาถาม ความคิด ผ่านเกณฑก์ าร
2.อธิบายการการเกิดหยาดน้าฟ้า 2. ใบงานท่ี 6.5.1 เรอ่ื ง ประเมิน
ได้ หยาดนา้ ฟา้
ทักษะ/ 1. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกิด 1. กิจกรรมที่ 3 การ 70% ขนึ้ ไป ถอื ว่า
กระบวนการ (P) ฝน หิมะและลกู เห็บได้ เกิดหยาดนา้ ฟา้ ผ่านเกณฑ์การ
2. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเกิดหยาดนา้ ประเมิน
ฟ้าได้อยา่ งถกู ตอ้ งและเปน็ ลาดับ
ขน้ั ตอน
คณุ ลกั ษณะนสิ ยั (A) 1. สงั เกตจากการเรียนมคี วาม 1. แบบสงั เกต 70% ขึ้นไป ถือว่า
รบั ผดิ ชอบต่องานที่ส่งั ส่งงานตรง พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การ
เวลา ประเมิน
2. ให้ความรว่ มมือในการทา
กจิ กรรมกลุ่มและมีความ
รับผดิ ชอบในการส่งงานตรงเวลา
7. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้
1.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 6 แหลง่ นา้ และลมฟา้ อากาศ
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 6 แหลง่ นา้ และลมฟ้าอากาศ
3) ใบงานท่ี 6.5.1 เร่อื ง หยาดน้าฟ้า
4) วสั ดุ-อปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นกจิ กรรมท่ี 3 การเกิดหยาดน้าฟา้
5) PowerPoint เรอ่ื ง การเกดิ หยาดนา้ ฟ้า
6) บัตรภาพฝนตก ลกู เหบ็ ตก และหมิ ะตก
7) สมดุ ประจาตวั นกั เรียน
1.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งสมดุ
2) ห้องเรียน
3) อนิ เทอร์เนต็
8. กิจกรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงชื่อ................................................... ผ้บู ริหาร
(...........................................................)
สัปดาห์ที่ 15-16
โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 13
ภาคเรยี นที่ …2…/……….……... ชือ่ ผสู้ อน ….…………………………………………………...
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 จานวน 6 คาบ
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 แหล่งน้าและลมฟ้าอากาศ เร่ือง วัฏจกั รน้า
1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั
ว 3.2 ป.5/3 สรา้ งแบบจาลองที่อธิบายการหมุนเวียนของนา้ ในวัฏจกั รของน้า
2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
ฝนเกดิ ไอน้าในอากาศควบแนน่ เป็นละอองนา้ เลก็ ๆ เมอ่ื ละอองน้าจานวนมากในเมฆรวมตัวกันจนอากาศไม่
สามารถพยุงไว้ไดจ้ ึงตกลงมาเป็นฝน หิมะเกดิ จากไอน้าในอากาศระเหดิ กลับเป็นผลกึ น้าแข็ง รวมตัวกนั จนมนี ้าหนกั มากขึ้น
จนเกินกวา่ อากาศจะพยุงไวจ้ ึงตกลงมา ลกู เห็บเกิดจากหยดน้าทเ่ี ปลยี่ นสถานะเป็นน้าแข็ง แลว้ ถูกพายุพัดวนซา้ ไปซา้ มาใน
เมฆฝนฟ้าคะนองท่มี ขี นาดใหญแ่ ละอยใู่ นระดับสงู จนเป็นกอ้ นนา้ แข็งขนาดใหญ่ข้นึ แล้วตกลงมา
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายการหมุนเวยี นของนา้ ในวฏั จักรน้าได้ (K)
2. ปฏิบัตกิ จิ กรรมเพื่อสรา้ งแบบจาลองและใช้แบบจาลองอธิบายการเกดิ วัฏจักรนา้ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
และเปน็ ลาดบั ขัน้ ตอน (P)
3. ใหค้ วามร่วมมอื ในการทากิจกรรมกลมุ่ และมคี วามรับผดิ ชอบในการส่งงานตรงเวลา (A)
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน
วัฏจักรน้า เป็นการหมุนเวียนของน้าท่ีมี พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
แบ บ รูป ซ้าเดิม และ ต่อเนื่องระห ว่างน้าใน
บรรยากาศน้าผิวดิน และน้าใต้ดิน โดยพฤติกรรม
การดารงชีวติ ของพืชและสัตวส์ ่งผลต่อวฏั จักรน้า
5. กิจกรรมการเรยี นรู้
คาบท่ี 1
ข้นั นา
ขั้นที่ 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1. ครทู กั ทายกบั นักเรียน จากนั้นครูทบทวนความรูเ้ ดมิ ของนกั เรยี นเกี่ยวกบั เร่ือง การเกดิ เมฆ หมอก
นา้ คา้ ง น้าคา้ งแข็ง และหยาดนา้ ฟา้
2. ครนู าบัตรภาพแหล่งน้า ฝนตก และดวงอาทติ ย์ มาให้นกั เรยี นดู โดยครูติดไวบ้ นกระดาน ดังนี้
3. จากนัน้ ครูตงั้ ประเดน็ คาถามกระตนุ้ ความสนใจนกั เรียนจากบัตรภาพ โดยให้นกั เรยี นแต่ละคนรว่ มกันอภิปราย
แสดงความคิดเห็นอยา่ งอิสระโดยไมม่ ีการเฉลยวา่ ถกู หรือผดิ ดังน้ี
- จากบัตรภาพทง้ั 3 ภาพ นกั เรยี นคดิ วา่ เกีย่ วขอ้ งกันหรอื ไม่
(แนวตอบ : นกั เรยี นอาจตอบวา่ เก่ียวข้องกนั )
- บัตรภาพท้ัง 3 ภาพ เก่ียวข้องกนั อยา่ งไรบา้ ง
(แนวตอบ : นกั เรียนอาจตอบวา่ การเกิดฝนซึ่งมี 3 ขั้นตอน โดยขนั้ ท่ี 1 นา้ ในแหลง่ น้าตา่ ง ๆ
เมื่อได้รบั ความรอ้ นจะระเหยกลายเปน็ ไอน้าแลว้ ลอยขึน้ ไปในอากาศ ขั้นที่ 2 ไอน้าในอากาศเม่อื
เจออากาศเยน็ จะควบแน่นเป็นละอองนา้ รวมตวั กันเป็นก้อนเมฆ และขั้นที่ 3 เมือ่ เมฆรวมตัวกนั
จานวนมากจนอากาศพยุงน้าหนกั ของละอองนา้ ไม่ไหว จึงตกลงมาเปน็ ฝนไหลรวมกนั ลงใน
แหลง่ นา้ )
4. ครใู ห้นกั เรียนดูภาพแหลง่ น้าตามธรรมชาติ จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากนนั้
ครถู ามคาถามเพอ่ื กระตนุ้ นกั เรียนก่อนเข้าสู่เนือ้ หาว่า “แหล่งน้าตา่ ง ๆ มีความสาคัญตอ่ การเกดิ วัฏจกั รนา้
หรือไม่ อย่างไร” โดยใหน้ ักเรยี นแต่ละคนร่วมกนั อภิปรายแสดงความคิดเหน็ เพ่ือหา
คาตอบ
(แนวตอบ : แหล่งน้าต่าง ๆ มีความสาคัญตอ่ การเกดิ วฏั จักรน้า ถ้าไมม่ ีแหล่งนา้ จะไมม่ ีน้าระเหย
กลายเปน็ ไอนา้ ข้นึ ไปในบรรยากาศ ทาใหไ้ ม่มีการหมนุ เวยี นนา้ )
คาบที่ 2
ขน้ั สอน
ขน้ั ท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูจัดเตรียมวสั ดุ-อุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นกจิ กรรมที่ 4 วฏั จกั รนา้ จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2 มาวางไว้หน้าชั้นเรยี น ดงั นี้
- หนงั ยาง 1 ถุง - ถงุ พลาสติกใส 1 ใบ
- กล่องพลาสตกิ ใสใบเลก็ 1 ใบ - กลอ่ งพลาสติกใสใบใหญ่ 1 ใบ
- กระดาษแขง็ แผ่นใหญ่ 1 แผน่ - นา้ 2 ขวด
- นา้ แขง็ 1 ถุง - สีไม้ 1 กล่อง
- ดนิ ทราย 1 ถุง - ดินเหนียว 1 ถงุ
2. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ โดยครูเตรยี มสลากแหลง่ นา้ ตา่ ง ๆ เชน่ ทะเล มหาสมุทร แม่น้า และบึง
จากนนั้ ให้นกั เรียนแตล่ ะคนออกมาหยบิ สลาก ซึ่งนกั เรยี นที่ได้ชือ่ เดียวกันจะอย่กู ลุม่ เดียวกัน
ซง่ึ แตล่ ะกลมุ่ จะมีสมาชิกภายในกลุ่ม 4 คน
3. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมท่ี 4 วัฏจกั รนา้ จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2 จากนั้นครูแจ้งจดุ ประสงคข์ องกจิ กรรมท่ี 4 วัฏจักรนา้ ให้นกั เรียนทราบ เพอื่ เปน็ แนว
ทางการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทถี่ กู ตอ้ ง
4. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมท่ี 4 วัฏจกั รนา้ ตอนที่ 1-2 โดยปฏิบัติกจิ กรรม ดงั น้ี
1) ศกึ ษาขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิกิจกรรมจากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 อยา่ งละเอียด
หากมขี ้อสงสัยใหส้ อบถามครู
2) รว่ มกันกาหนดปญั หาและต้ังสมมติฐานในการปฏบิ ัติกจิ กรรม แลว้ บันทึกผลลงในสมดุ ประจาตัว
นักเรยี น หรือแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
3) รว่ มกนั ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามขน้ั ตอนใหค้ รบถว้ นและถูกตอ้ งทกุ ขน้ั ตอน จากน้ันบันทกึ ผลลงใน
สมุดประจาตัวนกั เรียน หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
5. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั วเิ คราะหผ์ ลการปฏิบัตกิ จิ กรรม แล้วอภปิ รายผลและสรุปผลการทดลอง
คาบที่ 3
ขน้ั สอน
ขนั้ ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
6. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ (กลุ่มเดมิ ) จากชวั่ โมงท่ีผ่านมา จากนัน้ ให้นักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกันศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลเกยี่ วกบั เร่ือง การเกดิ และปจั จัยที่มีผลต่อการเกดิ วฏั จักรน้า จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2 หรอื แหล่งการเรยี นรตู้ ่าง ๆ เช่น อนิ เทอร์เนต็ ห้องสมุด
7. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันอภิปรายเรอื่ งท่ีได้ศกึ ษา จากน้ันใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาขอ้ มลู ท่ไี ด้มา
เขยี นแผนภาพแสดงวัฏจักรนา้ ลงในกระดาษแขง็ แผน่ ใหญ่ พรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ )
คาบที่ 4
ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
8. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนา้ ชนั้ เรยี น เพ่ือแลกเปลย่ี นความคดิ จนครบทกุ กล่มุ
ในระหว่างทีน่ ักเรียนนาเสนอครูคอยให้ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม เพือ่ ให้นักเรยี นมคี วามเขา้ ใจที่ถูกต้อง
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมนิ การนาเสนอผลงาน)
9. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้ทไ่ี ด้จากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมท่ี 4 วัฏจกั รนา้
10. นกั เรียนแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนตู อบได้ จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมดุ ประจาตวั นกั เรยี น หรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
11. ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ ให้นักเรียนเขา้ ใจเกี่ยวกบั เรอ่ื ง วฏั จกั รนา้ วา่ “วฏั จกั รนา้ คือ การหมุนเวยี นของ
น้าอยา่ งไมม่ ที ส่ี นิ้ สุด และเปน็ การเปล่ียนสถานะของน้า โดยอาศยั ปจั จยั ต่าง ๆ เชน่ ความร้อน ลม
ป่าไม้ เปน็ ตน้ ”
คาบที่ 5
ขั้นท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
12. ครตู ัง้ ประเด็นคาถามกระตุ้นความคดิ นกั เรียน โดยใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนร่วมกันอภปิ รายแสดง
ความคิดเห็นเพ่ือหาคาตอบ ดังน้ี
- นา้ จากฟ้าที่ตกลงมาส่พู ้นื ผวิ โลก จะถูกกกั เกบ็ ในแหลง่ น้าใดบา้ ง
(แนวตอบ : แหลง่ น้าผวิ ดิน เชน่ ทะเล แมน่ า้ ลาธาร เปน็ ต้น และแหล่งน้าใตด้ นิ )
- การหมนุ เวยี นของนา้ เรยี กว่าอะไร
(แนวตอบ : วัฏจกั รของน้า)
- วัฏจกั รน้า คอื อะไร
(แนวตอบ : วฏั จกั รน้า คอื การหมนุ เวยี นของนา้ อย่างไม่มีทีส่ น้ิ สุด)
- การเกดิ วัฏจักรของน้ามกี ีข่ น้ั ตอน อะไรบา้ ง
(แนวตอบ : การเกิดวฏั จักรของนา้ มี 4 ข้ันตอน ได้แก่
1) น้าในแหล่งน้าได้รับความร้อนแลว้ ระเหยเป็นไอนา้ ลอยขน้ึ ไปในอากาศ
2) ไอน้าควบแนน่ เปน็ ละอองน้า และรวมตัวเปน็ เมฆ
3) เมฆมจี านวนมากจนอากาศไม่สามารถรับน้าหนกั ไวไ้ ด้จงึ ตกลงมาเปน็ ฝน
4) น้าฝนไหลกลับสู่แหลง่ น้าต่าง ๆ หรอื ซึมลงใต้ดิน)
- ปัจจัยใดบ้างทม่ี ีผลตอ่ การเกิดวัฏจกั รน้า
(แนวตอบ : ความร้อน ลม ป่าไม้ เป็นตน้ )
13. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรยี นซักถามเน้ือหาเกี่ยวกับ เร่อื ง วัฏจกั รน้า และใหค้ วามรเู้ พ่มิ เตมิ จากคาถาม
ของนกั เรยี น โดยครูใช้ PowerPoint เร่อื ง วฏั จกั รน้า ในการอธบิ ายเพม่ิ เตมิ
14. นกั เรียนแต่ละคนเขยี นสรปุ สาระสาคญั ประจา บทท่ี 2 ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ โดยเขยี นเป็น
แผนผังมโนทัศน์ ลงในสมดุ ประจาตัวนกั เรียน
15. นักเรยี นแต่ละคนทากจิ กรรมฝึกทกั ษะ บทที่ 2 ปรากฏการณล์ มฟา้ อากาศ จากหนังสอื เรยี น
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 ลงในสมดุ ประจาตัวนกั เรียน หรอื แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
16. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนของหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 6 แหล่งน้าและลมฟ้าอากาศ เพอื่ เป็นการ
วัดความรู้หลังเรียนของนักเรยี น
17. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม ๆ ละ 4 คน ตามความสมัครใจ จากนน้ั ให้แต่ละกลุ่มนาความรู้เกี่ยวกบั
เร่ือง การเกดิ วัฏจกั รนา้ มาออกแบบและประดิษฐ์จกิ ซอวก์ ารเกิดวฏั จกั รนา้
คาบที่ 6
ข้นั สรปุ
ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรียนแต่ละคนดตู ารางตรวจสอบตนเอง จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
จากนน้ั ครูถามนักเรียนเป็นรายบคุ คลตามรายการขอ้ 1-5 เพือ่ เป็นการตรวจสอบความรู้
ความเข้าใจของนักเรยี นหลังจากการเรยี นจบบทท่ี 2 ปรากฏการณ์ลมฟา้ อากาศ
2. ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 แหลง่ น้าและลมฟา้ อากาศ
เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจหลังเรียนของนักเรยี น
3. ครปู ระเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบคุ คล
พฤติกรรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าช้นั เรยี น
4. ครตู รวจสอบผลการปฏิบัติกจิ กรรมที่ 4 วฏั จกั รนา้ ในสมดุ ประจาตวั นกั เรยี น หรือแบบฝกึ หดั
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
5. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนูตอบได้ ในสมดุ ประจาตวั นักเรียน หรือแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
6. ครูตรวจผลการทากิจกรรมสรุปสาระสาคัญประจา บทท่ี 2 ปรากฏการณ์ลมฟา้ อากาศ
ในสมุดประจาตวั นักเรียน
7. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมฝึกทกั ษะ บทท่ี 2 ปรากฏการณ์ลมฟา้ อากาศ ในสมดุ ประจาตัว
นกั เรยี น หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
8. ครตู รวจช้ินงาน/ผลงาน จกิ ซอว์การเกิดวัฏจกั รน้า ของนกั เรยี นแตล่ ะกลุ่ม
9. นักเรยี นและครูร่วมกนั สรุปเกย่ี วกบั วัฏจกั รน้า ซึง่ ไดข้ ้อสรปุ ร่วมกนั วา่ “วัฏจกั รน้า เป็นการ
หมุนเวยี นของน้าทม่ี ีแบบรูป ซา้ เดมิ และตอ่ เนอ่ื งระหว่างนา้ ในบรรยากาศน้าผวิ ดิน และนา้ ใตด้ ิน
โดยพฤติกรรมการดารงชีวิตของพืช และสัตว์ส่งผลต่อวัฏจักรนา้
6.การวดั และประเมินผล
การวดั และประเมนิ ผล วิธีการวัดผล เครื่องมอื วัด เกณฑ์การ
จุดประสงค์ ประเมินผล
ความร้คู วาม 1. สงั เกตจากการซกั ถาม ตอบ 1.คาถามกระตนุ้ 70% ขึน้ ไป ถอื วา่
เขา้ ใจ (K) คาถาม ความคิด ผ่านเกณฑ์การ
2.อธิบายการหมุนเวียนของน้า 2. ใบงานที่ 6.5.1 เรือ่ ง ประเมิน
ในวัฏจักรน้าได้ หยาดน้าฟ้า
ทักษะ/ 1. ปฏิบัติกจิ กรรมเพ่ือสร้าง 1. กจิ กรรมที่ 4 วฏั 70% ขน้ึ ไป ถือว่า
กระบวนการ (P) แบบจาลองและใชแ้ บบจาลอง จกั รนา้ ผา่ นเกณฑก์ าร
อธิบายการเกดิ วฏั จักรนา้ ไดอ้ ย่าง ประเมนิ
ถกู ต้องและเป็นลาดับขัน้ ตอน
คณุ ลักษณะนิสยั (A) 1. ใหค้ วามร่วมมือในการทา 1. แบบสงั เกต 70% ขึ้นไป ถอื ว่า
กิจกรรมกลุ่มและมีความ พฤตกิ รรม ผ่านเกณฑก์ าร
รับผดิ ชอบในการสง่ งานตรงเวลา ประเมนิ
7. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้
1.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 แหลง่ น้าและลมฟ้าอากาศ
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 แหลง่ นา้ และลมฟ้าอากาศ
3) วัสดุ-อุปกรณ์ทใี่ ช้ในกิจกรรมท่ี 4 วัฏจักรนา้
4) PowerPoint เรื่อง วัฏจกั รน้า
5) บัตรภาพแหลง่ น้า ฝนตก และดวงอาทิตย์
6) สลากแหลง่ น้าตา่ ง ๆ
7) สมุดประจาตวั นกั เรยี น
1.2 แหลง่ การเรียนรู้
4) ห้องสมุด
5) หอ้ งเรยี น
6) อนิ เทอรเ์ น็ต
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
ลงช่อื ............................................ครผู สู้ อน ลงชอ่ื ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงช่อื ................................................... ผูบ้ ริหาร
(...........................................................)
สลากแหลง่ น้าต่าง ๆ
ทะเล บงึ
เเมน่ ้า มหาสมุทร
บตั รภาพแหลง่ นา้ ฝนตก และดวงอาทติ ย์
ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
จกิ ซอว์การเกดิ วัฏจักรนา้
คาชี้แจง : นกั เรียนแบง่ กลุ่ม ๆ 4 คน จากนนั้ ใหแ้ ต่ละกล่มุ นาความรเู้ ก่ียวกบั เรื่อง การเกดิ วฏั จกั รนา้
มาออกแบบและประดิษฐ์จกิ ซอว์การเกิดวัฏจักรน้า
สปั ดาห์ที่ 16-17
โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14
ภาคเรียนท่ี …2…/……….……... ช่อื ผสู้ อน ….…………………………………………………...
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 จานวน 6 คาบ
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 คาวเคราะหบ์ นท้องฟ้า เรอ่ื ง ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั
ว 3.1 ป.5/1 เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจาลอง
2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
ดาวท่ีมองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่นอกบรรยากาศของโลก มีทั้งดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ดาว
ฤกษเ์ ปน็ แหลง่ กาเนดิ แสงจึงสามารถมองเหน็ ได้ สว่ นดาวเคราะห์ไมใ่ ชแ่ หล่งกาเนดิ แสง
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายลกั ษณะของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ได้ (K)
2. สรา้ งแบบจาลองเพื่ออธิบายการมองเหน็ ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะหไ์ ด้ (P)
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมเพ่ือเปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่างดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ได้ (P)
4. มคี วามใฝ่เรียนรแู้ ละให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมกลมุ่ (A)
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถน่ิ
ดาวท่ีมองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซ่ึง พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
เป็นบริเวณที่อยู่นอกบรรยากาศของโลก มีท้ังดาว
ฤกษ์และดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์เป็นแหล่งกาเนิดแสง
จึงสามารถมองเห็นได้ ส่วนดาวเคราะห์ไม่ใช่
แหล่งกาเนิดแสง แต่สามารถมองเห็นได้เนื่องจาก
แสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบดาวเคราะห์แล้ว
สะท้อนเขา้ สู่ตา
5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบท่ี 1
ขั้นนา
ขัน้ ท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทักทายกบั นกั เรยี น แลว้ แจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียนรใู้ หน้ กั เรยี นทราบ จากนน้ั นักเรยี นทาแบบประเมินผล
ก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 ดาวบนทอ้ งฟา้ เพ่อื วดั ความรเู้ ดมิ ของนักเรียนก่อนเขา้ สู่กจิ กรรม
2. นกั เรียนอ่านสาระสาคัญและดภู าพ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 7 ดาวบนท้องฟ้า จากหนงั สอื เรยี น
วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากนัน้ ครูกระตุน้ ความสนใจโดยใช้คาถามวา่ “ดาวฤกษ์ หมายถึงอะไร
และดาวเคราะห์ หมายถึงอะไร” โดยใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบคาถามอย่างอสิ ระโดยไม่มกี ารเฉลยว่า
ถูกหรอื ผดิ
(แนวตอบ : ดาวฤกษ์ หมายถึง ดาวท่ีมแี สงสว่างในตัวเอง และดาวเคราะห์ หมายถึงดาวทไ่ี ม่มแี สง
สวา่ งในตวั เอง)
คาบที่ 2
ขั้นท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
3. นักเรียนดภู าพในบทที่ 1 ทอ้ งฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
จากน้ันครถู ามคาถามสาคญั ประจาบทวา่ “เราสามารถมองเห็นดาวเคราะหไ์ ด้หรอื ไม่ อยา่ งไร”
แลว้ ให้นักเรยี นแต่ละคนรว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคิดเห็นเพือ่ หาคาตอบ
(แนวตอบ : สามารถมองเห็นดาวเคราะหไ์ ด้ เนอ่ื งจากแสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบดาวเคราะห์
แลว้ สะทอ้ นเขา้ สู่ตา)
4. นักเรยี นเรยี นรู้คาศพั ทท์ ่เี กีย่ วข้องกับการเรียนในบทที่ 1 ท้องฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ จากหนังสอื
เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยครูขออาสาสมัครนกั เรียน จานวน 1 คน ใหเ้ ป็นผู้อา่ นนา
และใหน้ กั เรียนท่ีอย่ใู นชัน้ เรียนเปน็ ผอู้ า่ นตามทีละคา ดงั นี้
Planet ('แพลน็ นิท) ดาวเคราะห์
Direction (ดิ 'เร็คชัน) ทศิ
Constellation (คอ็ นสเต็ล 'เลชนั ) กล่มุ ดาว
5. นักเรยี นแต่ละคนทากจิ กรรมนาสกู่ ารเรียน โดยศึกษาข้อมูล แล้วตอบคาถาม ลงในสมุดประจาตัว
นกั เรียน หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
คาบที่ 3
ขน้ั ที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครจู ดั เตรียมวัสดุ-อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นกจิ กรรมท่ี 1 ความแตกตา่ งของดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 มาวางไว้หน้าช้ันเรียน ดังน้ี
- สไี ม้ 1 กลอ่ ง - กรรไกร
- ตวั เรืองแสง - กาว
- กระดาษสดี า - ลกู ปดั พลาสตกิ
- กล่องลงั เจาะรดู ้านข้าง - ไฟฉาย
- กระดาษแข็งแผน่ ใหญ่ 1 แผ่น
2. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ โดยครเู ตรียมบัตรภาพดาวเคราะห์ เช่น โลก ดาวอังคาร ดาวศุกร์ และ
ดาวเสาร์ จากน้ันใหน้ ักเรยี นแต่ละคนออกมาหยิบบัตรภาพ ซึง่ นกั เรียนท่ีไดบ้ ัตรภาพเดยี วกนั จะอยู่
กล่มุ เดียวกัน ซึ่งแตล่ ะกลมุ่ จะมสี มาชิกภายในกล่มุ 4 คน
3. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ จัดเตรียมอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นกิจกรรมที่ 1 ความแตกตา่ งของดาวฤกษแ์ ละ
ดาวเคราะห์ จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากนัน้ ครแู จง้ จุดประสงคข์ องกิจกรรมที่ 1
ความแตกตา่ งของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ให้นักเรียนทราบ เพื่อเปน็ แนวทางการปฏิบัตกิ จิ กรรม
ที่ถูกตอ้ ง
4. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ศกึ ษาข้อมูลเกยี่ วกับการมองเหน็ ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ จากหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรือแหล่งการเรยี นรตู้ ่าง ๆ เช่น อินเทอร์เนต็
5. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั วางแผนสรา้ งแบบจาลองการมองเหน็ ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
จากน้นั ช่วยกันสร้างแบบจาลองท่ีออกแบบไว้ แลว้ นาข้อมูลมาเขียนแผนภาพแสดงแบบจาลอง
ลงในกระดาษแข็งแผน่ ใหญ่
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )
คาบที่ 4
ขัน้ สอน
ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
6. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอแบบจาลองการมองเหน็ ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์หน้าช้ันเรียน
ในระหว่างท่ีนักเรยี นนาเสนอครูคอยให้ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ เพ่ือให้นกั เรียนมีความเขา้ ใจทถ่ี ูกตอ้ ง
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน)
7. นกั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมท่ี 1 ความแตกต่างของดาวฤกษ์
และดาวเคราะห์ว่า “จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม ให้ไฟฉาย แทนดาวฤกษ์ เพราะมีแสงสว่างในตวั เอง
แสงเขา้ สู่ตาทาใหเ้ รามองเหน็ ดาวฤกษไ์ ด้ ให้วัตถอุ ื่นท่ไี มม่ ีแสงสวา่ งในตวั เอง แทนดาวเคราะห์
เพราะไมม่ ีแสงสว่างในตวั เอง จะตอ้ งอาศัยแสงจากดาวฤกษ์ต้องตกกระทบแล้วสะทอ้ นเขา้ สู่ตา”
8. นักเรียนแตล่ ะคนทากิจกรรมหนตู อบได้ จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมุดประจาตวั นักเรยี น หรอื แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
คาบที่ 5
ขน้ั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
9. นกั เรยี นจบั คูก่ บั เพอ่ื นในชนั้ เรยี น ศกึ ษา เร่อื ง ความแตกต่างระหว่างดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
10. นักเรียนแต่ละคนศึกษาค้นคว้าขอ้ มูลเกยี่ วกับ เรื่อง ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ จากหนงั สอื เรียน
วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หรือแหลง่ การเรียนรตู้ ่าง ๆ เช่น อินเทอรเ์ นต็ หอ้ งสมุด แล้วเขียนสรุป
ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าลงในสมุดประจาตวั นักเรยี น
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)
11. ครสู มุ่ เลขท่นี กั เรยี น จานวน 2 คน ใหย้ กตัวอยา่ งดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ดังน้ี
คนที่ 1 ยกตัวอย่างดาวฤกษ์ มา 3 ตัวอย่าง
คนที่ 2 ยกตัวอยา่ งดาวเคราะห์ มา 3 ตัวอย่าง
12. ครตู งั้ ประเด็นคาถามกระตุ้นความคิดนักเรยี น โดยใหน้ ักเรียนแต่ละคนรว่ มกันอภิปราย
เพื่อหาคาตอบ ดังน้ี
- ดาวฤกษ์มลี กั ษณะอย่างไร
(แนวตอบ : ดาวฤกษ์มองเห็นแสงระยบั ระยิบ)
- ดาวเคราะหม์ ลี กั ษณะอยา่ งไร
(แนวตอบ : ดาวเคราะหม์ องเหน็ แสงนวลน่งิ )
13. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซกั ถามเน้ือหาเกีย่ วกับ เร่อื ง ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์ และให้ความรู้
เพิม่ เติมจากคาถามของนกั เรยี น โดยครูใช้ PowerPoint เรื่อง ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
ในการอธิบายเพม่ิ เติม
14. นักเรยี นแต่ละคนตอบคาถามทา้ ทายการคดิ ขั้นสงู จากหนังสือเรียน วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียน หรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 จากน้นั นักเรยี นแต่ละคนทา
ใบงานท่ี 7.1.1 เรอ่ื ง ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
15. ครสู ่มุ นกั เรียน 2 คน ออกมานาเสนอคาตอบของตนเอง โดยครูใหน้ ักเรียนรว่ มกันพิจารณาวา่
คาตอบใดถูกต้อง จากน้นั ครเู ฉลยคาตอบที่ถกู ต้องใหน้ กั เรียน
คาบที่ 6
ข้นั สรุป
ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นของหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 7 ดาวบนทอ้ งฟ้า
เพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจก่อนเรียนของนกั เรียน
2. ครปู ระเมนิ ผลนักเรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล
พฤติกรรมการทางานกล่มุ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าช้ันเรียน
3. ครูตรวจสอบผลการปฏิบัติกจิ กรรมที่ 1 ความแตกต่างของดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
ในสมุดประจาตัวนกั เรียน หรอื แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
4. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมหนูตอบได้ ในสมุดประจาตวั นักเรยี น หรือแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
5. ครูตรวจคาถามท้าทายการคิดขน้ั สูง ในสมุดประจาตวั นักเรียน หรอื แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์
ป.5 เลม่ 2
6. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานที่ 7.1.1 เร่อื ง ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
7. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุปเกยี่ วกบั ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ซ่ึงได้ขอ้ สรุปร่วมกันว่า “ดาวฤกษ์
เปน็ แหลง่ กาเนดิ แสงจงึ สามารถมองเห็นได้ ส่วนดาวเคราะหไ์ ม่ใชแ่ หล่งกาเนดิ แสง แตส่ ามารถ
มองเหน็ ไดเ้ น่ืองจากแสงจากดวงอาทติ ยต์ กกระทบดาวเคราะห์แล้วสะท้อนเข้าสตู่ า”
6.การวัดและประเมนิ ผล
การวัดและประเมินผล วิธีการวดั ผล เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ าร
จุดประสงค์ ประเมนิ ผล
ความรคู้ วาม 1. สังเกตจากการซกั ถาม ตอบ 1.คาถามกระตุน้ 70% ขน้ึ ไป ถอื ว่า
เขา้ ใจ (K) คาถาม ความคิด ผ่านเกณฑก์ าร
2. อธิบายลกั ษณะของดาวเคราะห์ 2. ใบงานท่ี 7.1.1 เรอื่ ง ประเมิน
และดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษ์และดาว
เคราะห์
ทกั ษะ/ 1. สร้างแบบจาลองเพอ่ื อธบิ ายการ 1. กจิ กรรมท่ี 1 ความ 70% ขน้ึ ไป ถอื ว่า
กระบวนการ (P) มองเหน็ ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ แตกตา่ งของดาวฤกษ์ ผ่านเกณฑก์ าร
ได้ และดาวเคราะห์ ประเมนิ
2. ปฏบิ ัติกจิ กรรมเพือ่ เปรียบเทียบ
ความแตกต่างระหวา่ งดาวฤกษ์
และดาวเคราะหไ์ ด้
คุณลกั ษณะนสิ ัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ 1. แบบสงั เกต 70% ขึ้นไป ถือว่า
รบั ผดิ ชอบต่องานท่สี ัง่ ส่งงานตรง พฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑก์ าร
เวลา ประเมนิ
2. มคี วามใฝ่เรียนรแู้ ละใหค้ วาม
รว่ มมอื ในการทากิจกรรมกลมุ่
7. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 7 ดาวบนทอ้ งฟา้
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 7 ดาวบนท้องฟ้า
3) ใบงานท่ี 7.1.1 เร่ือง ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
4) วัสดุ-อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นกิจกรรมท่ี 1 ความแตกตา่ งของดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
5) PowerPoint เรอ่ื ง ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
6) บัตรภาพดาวเคราะห์
7) สมดุ ประจาตัวนักเรยี น
7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งสมุด
2) ห้องเรียน
3) อินเทอร์เน็ต
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
ลงช่อื ............................................ครผู ู้สอน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวิชาการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงช่อื ................................................... ผบู้ รหิ าร
(...........................................................)
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7
คาช้แี จง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว
1. ดวงดาวใดมปี ระโยชนใ์ นการหาทิศ 6. เคร่ืองมอื ที่ชว่ ยในการสังเกตตาแหน่งดวงดาวบนท้องฟา้
1. ดาวไถ คืออะไร
2. ดาวเต่า ก. แผนทโ่ี ลก
3. ดาวเหนอื ข. แผนที่ดาว
4. ดาวลูกไก่ ค. แผนทีจ่ กั รวาล
ง. แผนทด่ี วงจนั ทร์
2. ถ้าสงั เกตกลุ่มดาวตอนใกลร้ งุ่ สางจะเห็นกลมุ่
ดาวเคล่ือนทไี่ ปทางทิศใด 7. เราสามารถบอกตาแหนง่ ของวัตถุหรอื ดวงดาวได้ดว้ ยคา่
1. ทิศใต้ มุมอะไร
2. ทิศเหนอื
3. ทิศตะวนั ตก 1. มมุ ปิด
4. ทิศตะวนั ออก 2. มุมเปิด
3. มุมเงย
3. ปรากฏการณ์ข้ึน-ตกของดวงดาวเกยี่ วขอ้ งกบั 4. มมุ ควา่
ขอ้ ใด 8. ส่งิ ใดท่ีใชใ้ นการกาหนดทศิ
1. การหมุนรอบตัวเองของโลก
1. โลกหมุนรอบตัวเอง 2. การทีโ่ ลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
2. ดวงจนั ทรโ์ คจรรอบโลก 3. การที่โลกเป็นบริวารของดวงอาทติ ย์
3. โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 4. ตาแหน่งการมองเห็นการขน้ึ และตกของดวงอาทิตย์
4. ดวงจนั ทร์หมุนรอบตัวเอง 9. แผนท่ีดาวมีประโยชน์อย่างไร
4. โลกหมนุ รอบตวั เองใชเ้ วลานานเท่าไร 1. บอกตาแหนง่ ของกลุม่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
1. 1 วัน 2. บอกสีของดวงดาวและระยะทางของดวงดาว
2. 1 สัปดาห์ 3. ให้รายละเอยี ดเก่ยี วกบั ลักษณะต่าง ๆ ของดวงดาว
3. 1 เดอื น 4. ให้รายละเอียดเกี่ยวกับประวตั ิและตานานของ
4. 1 ปี ดวงดาว
5. การดูดาวเปน็ การฝกึ ทกั ษะดา้ นใด 10. ถา้ ตอ้ งการมองเหน็ ดวงดาวบนท้องฟ้าชัดเจนควรเลอื กดู
1. การมีวนิ ยั ดาว
2. การสังเกต ในคืนใด
2. การแกป้ ัญหา 1. คืนเดือนมืด
4. ความรับผดิ ชอบ 2. คืนทม่ี ฝี นตก
3. คืนท่มี ีเมฆมาก
4. คืนท่มี พี ระจนั ทร์เต็มดวง
เฉลย 1. 3 2. 3 3. 1 4. 1 5. 2 6. 2 7. 3 8. 4 9. 1 10.
1
สปั ดาห์ที่ 18
โรงเรียนขจรเกียรตพิ ัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 15
ภาคเรียนท่ี …2…/……….……... ช่ือผ้สู อน ….…………………………………………………...
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 จานวน 4 คาบ
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 7 คาวเคราะห์บนทอ้ งฟ้า เรอ่ื ง ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟา้
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด
ว 3.1 ป.5/2 ใช้แผนท่ีดาวระบุตาแหนง่ และเสน้ ทางการขึน้ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
และอธบิ ายแบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของกลมุ่ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟ้าในรอบปี
2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
ดาวฤกษ์ เปน็ ดาวทมี่ ีแสงสว่างในตวั เอง จัดเปน็ แหล่งกาเนดิ แสงจงึ สามารถมองเห็นเปน็ จุดสว่างและมแี สงระยบิ ระยับ
บนทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวนั จะมองเห็นท้องฟา้ เป็นสีฟา้ ส่วนในเวลากลางคนื จะมองเหน็ กลุ่มดาวฤกษต์ ่าง ๆ ทอ่ี ยบู่ นทอ้ งฟ้า
มรี ูปรา่ งแตกตา่ งกันออกไป
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายรูปร่างของกล่มุ ดาวฤกษ์บนท้องฟา้ ได้ (K)
2. สืบค้นข้อมูลและสังเกตรูปร่างของกลมุ่ ดาวฤกษบ์ นท้องฟ้าได้ (P)
3. มีความใฝเ่ รยี นรู้และให้ความรว่ มมอื ในการทากิจกรรมกลุม่ (A)
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถิน่
การมองเหน็ กลุม่ ดาวฤกษ์มรี ูปร่างตา่ ง ๆ เกดิ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
จากจินตนาการของผสู้ งั เกต กลมุ่ ดาวฤกษ์ตา่ ง ๆ ท่ี
ปรากฏในท้องฟา้ แตล่ ะกลมุ่ มดี าวฤกษ์แตล่ ะดวง
เรียงกันท่ีตาแหน่งคงที่ และมีเส้นทางการขนึ้ และตก
ตามเสน้ ทางเดมิ ทกุ คนื ซ่งึ จะปรากฏตาแหน่งเดมิ
การสังเกตตาแหน่งและการขนึ้ และตกของดาวฤกษ์
และกลุ่มดาวฤกษ์ สามารถทาได้โดยใชแ้ ผนทด่ี าว
ซ่งึ ระบมุ มุ ทิศและมมุ เงยท่กี ลมุ่ ดาวนั้นปรากฏ ผู้
สังเกตสามารถใช้มอื ในการประมาณค่าของมุมเงย
เมื่อสังเกตดาวในทอ้ งฟา้
5. กิจกรรมการเรยี นรู้
คาบที่ 1
ขน้ั นา
ขัน้ ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทักทายกบั นกั เรยี น จากน้ันครทู บทวนความรเู้ ดมิ ของนักเรียนเก่ยี วกบั ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห์
2. นกั เรยี นดภู าพกลมุ่ ดาวบนทอ้ งฟ้า จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากน้นั ครูตัง้ ประเดน็
คาถามกระตุ้นความสนใจนักเรียนว่า “นักเรียนสงั เกตและจนิ ตนาการกลมุ่ ดาวบนท้องฟา้ เป็นรูปรา่ ง
อะไรบา้ ง” โดยใหน้ กั เรยี นแต่ละคนร่วมกันอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ อยา่ ง
อสิ ระโดยไม่มีการเฉลยวา่ ถกู หรือผิด
(แนวตอบ : กลมุ่ ดาวบนทอ้ งฟ้าทีส่ ังเกตและจนิ ตนาการ เชน่ กลมุ่ ดาวลูกไก่ ดาวคนั ไถ เปน็ ตน้ )
ขัน้ สอน
ขน้ั ท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. นกั เรียนแตล่ ะคนศกึ ษาคน้ คว้าขอ้ มลู เกย่ี วกับ เร่ือง กล่มุ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟา้ จากหนังสอื เรียน
วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรือแหล่งการเรยี นรูต้ ่าง ๆ เชน่ อินเทอร์เนต็ แล้วเขยี นสรุปความรูท้ ่ีได้
จากการศึกษาคน้ คว้าลงในสมุดประจาตัวนักเรยี น
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)
2. ครตู งั้ ประเด็นคาถามกระตนุ้ ความคดิ นักเรยี น โดยให้นักเรยี นแต่ละคนร่วมกันอภิปรายแสดงความ
คิดเห็นเพอื่ หาคาตอบ ดงั นี้
- ในเวลากลางวนั เรามองเหน็ ทอ้ งฟ้าเปน็ อย่างไร
(แนวตอบ : ท้องฟ้าเป็นสีฟา้ )
- ในเวลากลางคืนเรามองเหน็ กลุ่มดาวฤกษ์มรี ปู ร่างเป็นอย่างไร
(แนวตอบ : รปู ร่างแตกตา่ งกนั ออกไป)
- กลมุ่ ดาวฤกษม์ ีเสน้ ทางการขน้ึ และตกเปน็ อย่างไร
(แนวตอบ : กลมุ่ ดาวฤกษ์มเี ส้นทางการขน้ึ และตกในทศิ เดมิ เสมอ)
- เราสามารถใชอ้ ะไรในการสงั เกตตาแหนง่ การข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษไ์ ด้
(แนวตอบ : ใช้แผนทีด่ าว และใช้มือในการประมาณค่ามุมเงย)
คาบที่ 2
ขน้ั ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)
3. ครจู ัดเตรยี มวัสด-ุ อุปกรณท์ ี่ใชใ้ นกิจกรรมท่ี 2 สังเกตรูปรา่ งของกลุ่มดาวฤกษ์ จากหนงั สือเรยี น
วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 มาวางไวห้ นา้ ชั้นเรียน ดงั นี้
- กระดาษแข็งแผน่ ใหญ่ 1 แผน่
- บตั รภาพกลุ่มดาวฤกษ์
4. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 3-4 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ จัดเตรยี มอปุ กรณ์
ที่ใชใ้ นกิจกรรมท่ี 2 สังเกตรูปรา่ งของกลมุ่ ดาวฤกษ์ จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
5. ครูแจง้ จุดประสงค์ของกจิ กรรมท่ี 2 สงั เกตรปู รา่ งของกลุ่มดาวฤกษ์ ให้นักเรียนทราบ เพื่อเปน็ แนว
ทางการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทถี่ ูกตอ้ ง จากนั้นสมาชกิ ภายในกล่มุ สังเกตบตั รภาพกลมุ่ ดาวฤกษ์ แล้วร่วมกนั
แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั รูปร่างของกลมุ่ ดาวฤกษ์ที่สังเกตเห็น
6. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ เกย่ี วกบั รูปร่างของกลมุ่ ดาวฤกษต์ า่ ง ๆ บนทอ้ งฟ้า
แลว้ บันทึกผลการศกึ ษาข้อมูลลงในสมุดประจาตัวนกั เรียน หรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
7. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกันอภปิ รายแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ขอ้ มลู ทแ่ี ต่ละคนไดจ้ ากการสงั เกต
บัตรภาพกลุ่มดาวฤกษ์ และจากการบนั ทกึ ผลการศึกษาขอ้ มูล จากนน้ั เขียนสรุปความรโู้ ดย
วาดภาพกลุ่มดาวฤกษ์ลงในกระดาษแขง็ แผน่ ใหญ่
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
คาบท่ี 3
ขน้ั สอน
ข้ันท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
8. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอภาพกล่มุ ดาวฤกษ์หนา้ ช้นั เรียน พรอ้ มบอกช่อื รปู รา่ งของกล่มุ
ดาวฤกษ์ ในระหว่างท่ีนักเรียนนาเสนอครคู อยใหข้ ้อเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อใหน้ ักเรยี นมคี วามเขา้ ใจที่ถกู ต้อง
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมินการนาเสนอผลงาน)
9. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันอภปิ รายจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมที่ 2 สงั เกตรูปรา่ งของกลุ่มดาวฤกษ์
10. นกั เรียนแตล่ ะคนทากิจกรรมหนูตอบได้ จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน หรือแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
ขนั้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
11. นักเรยี นจับคู่กับเพ่ือนในชั้นเรยี น ตามความสมัครใจ จากนนั้ รว่ มกนั ศกึ ษาค้นคว้าข้อมูลเกยี่ วกับ
เรอื่ ง รปู รา่ งของกลุ่มดาวฤกษ์ กล่มุ ดาวนายพราน และกล่มุ ดาวหมีใหญ่ จากหนังสอื เรยี น
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรอื แหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต แลว้ เขียนสรปุ ความรู้ที่ได้
จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ลงในสมดุ ประจาตวั นกั เรียน
12. ครูตงั้ ประเด็นคาถามกระตุ้นความคิดนักเรียน โดยให้นักเรยี นแต่ละคนรว่ มกนั อภิปราย
เพือ่ หาคาตอบ ดังนี้
- ในคืนเดอื นมืดเราสามารถมองเห็นดวงดาวได้ชัดเจนเพราะอะไร
(แนวตอบ : เพราะไม่มแี สงสวา่ งของดวงจันทรม์ าบดบงั แสงของดาว)
- กลมุ่ ดาวฤกษ์แต่ละกล่มุ มกี ารเรียงตัวของดาวฤกษ์เปน็ อย่างไร
(แนวตอบ : กลมุ่ ดาวฤกษแ์ ต่ละกลุม่ มีการเรียงตวั กนั อยา่ งคงท่ี)
- ถ้าเราอาศัยอยู่ทางซกี โลกเหนือ เราสามารถมองเห็นกลุ่มดาวนายพรานได้ชว่ งใดบ้าง
(แนวตอบ : ในเดือนตุลาคมถงึ เดือนมกราคม ในชว่ งเยน็ และปลายเดือนกรกฎาคมถงึ เดอื น
พฤศจิกายน ในชว่ งเชา้ มดื )
- ถ้าเราอาศัยอยทู่ างซีกโลกเหนือ เราสามารถมองเห็นกลุม่ ดาวหมใี หญไ่ ด้ชว่ งใดบ้าง
(แนวตอบ : สามารถมองเหน็ ได้ตลอดท้ังปี)
13. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเน้ือหาเก่ียวกับ เร่อื ง กลมุ่ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟ้า และให้ความรู้
เพมิ่ เติมจากคาถามของนกั เรียน โดยครูใช้ PowerPoint เร่อื ง กลมุ่ ดาวฤกษ์บนท้องฟา้
ในการอธบิ ายเพมิ่ เติม
คาบท่ี 4
ข้นั สรุป
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครปู ระเมนิ ผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล
พฤติกรรมการทางานกล่มุ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชนั้ เรียน
2. ครตู รวจสอบผลการปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 2 สงั เกตรปู รา่ งของกล่มุ ดาวฤกษ์ ในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น
หรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
3. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมหนตู อบได้ ในสมุดประจาตวั นกั เรียน หรือแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
4. นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุปเกยี่ วกับกลุม่ ดาวฤกษต์ า่ ง ๆ ทีป่ รากฏบนท้องฟ้า ซ่ึงไดข้ ้อสรปุ ร่วมกนั
ว่า “ดาวฤกษใ์ นแตล่ ะกลุ่มมรี ูปร่างแตกตา่ งกัน และเราสามารถมองเหน็ กลุม่ ดาวฤกษไ์ ดใ้ นเวลาท่ี
แตกต่างกัน กลมุ่ ดาวฤกษต์ ่าง ๆ ที่ปรากฏอยบู่ นท้องฟ้าแต่ละกลุ่มจะมีการเรยี งตวั ของดาวฤกษ์
อย่างคงท่ี จงึ ทาใหม้ รี ปู รา่ งเหมือนเดิมทกุ คนื และในรอบ 1 ปี เราจะสามารถมองเห็นกลมุ่ ดาวฤกษ์
ได้ในเวลาแตกตา่ งกนั ”
6.การวดั และประเมินผล
การวัดและประเมินผล วธิ กี ารวัดผล เครือ่ งมอื วดั เกณฑก์ าร
จุดประสงค์ ประเมนิ ผล
1.คาถามกระตุน้ 70% ข้นึ ไป ถือว่า
ความรคู้ วาม 1. สังเกตจากการซกั ถาม ตอบ ความคิด ผา่ นเกณฑก์ าร
เข้าใจ (K) คาถาม ประเมิน
2. อธิบายรูปรา่ งของกลมุ่ ดาวฤกษ์ 1. กิจกรรมที่ 2 สงั เกต
ทกั ษะ/ บนทอ้ งฟา้ ได้ รปู รา่ งของกลุ่มดาว 70% ข้ึนไป ถอื ว่า
กระบวนการ (P) ฤกษ์ ผา่ นเกณฑ์การ
1. สืบค้นข้อมูลและสงั เกตรูปร่าง ประเมนิ
ของกลมุ่ ดาวฤกษ์บนทอ้ งฟา้ ได้
คณุ ลักษณะนสิ ัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ 1. แบบสังเกต 70% ขน้ึ ไป ถือว่า
รับผิดชอบต่องานที่สัง่ ส่งงานตรง พฤติกรรม ผ่านเกณฑก์ าร
เวลา ประเมิน
2. มคี วามใฝเ่ รียนรูแ้ ละให้ความ
รว่ มมือในการทากจิ กรรมกลมุ่
7. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้
7.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 ดาวบนท้องฟ้า
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 ดาวบนท้องฟ้า
3) วัสด-ุ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในกจิ กรรมที่ 2 สังเกตรปู ร่างของกลุ่มดาวฤกษ์
4) PowerPoint เร่ือง กลุม่ ดาวฤกษ์บนท้องฟา้
5) สมดุ ประจาตวั นักเรยี น
7.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งสมุด
2) ห้องเรยี น
3) อนิ เทอรเ์ นต็
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ............................................ครูผสู้ อน ลงช่ือ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงชอื่ ................................................... ผู้บรหิ าร
(...........................................................)
บัตรภาพดาวฤกษ์ต่าง ๆ
ภาพท้องฟา้ ในคืนเดอื นมืด
ภาพท้องฟา้ ในคืนดวงจนั ทร์เต็มดวง
ภาพท้องฟ้าในเวลากลางวัน
สปั ดาห์ที่ 19
โรงเรียนขจรเกยี รติพฒั นา
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16
ภาคเรยี นท่ี …2…/……….……... ชอื่ ผสู้ อน ….…………………………………………………...
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 จานวน 4 คาบ
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 7 คาวเคราะหบ์ นทอ้ งฟา้ เรอื่ ง การข้ึนตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์
1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั
ว 3.1 ป.5/2 ใช้แผนท่ีดาวระบุตาแหน่งและเสน้ ทางการขึ้นและตกของกลุม่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้าและอธบิ าย
แบบรูปเสน้ ทางการขึ้นและตกของกลมุ่ ดาวฤกษบ์ นท้องฟา้ ในรอบปี
2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
เม่ือสังเกตกลุ่มดาวฤกษ์ในช่วงเวลาตา่ ง ๆ ในคนื เดยี วกัน จะพบว่ากลุ่มดาวฤกษม์ กี ารเปล่ียนตาแหน่ง โดยเคลอื่ น
จากทศิ ตะวนั ออกไปทางทิศตะวนั ตก ทาใหม้ องเห็นดาวฤกษข์ ้นึ จากขอบฟ้าทางทศิ ตะวันออก และตกลับขอบฟา้ ไปทาง
ทิศตะวันตก ซง่ึ ดาวฤกษแ์ ละกลุ่มดาวฤกษ์มีเส้นทางการข้นึ และตกตามเสน้ ทางเดิมทุกคนื และจะปรากฏตาแหนง่ เดมิ เสมอ
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์บนทอ้ งฟา้ ได้ (K)
2. ใชแ้ ผนท่ีดาวระบุตาแหน่งและเสน้ ทางการข้ึนและตกของกล่มุ ดาวฤกษไ์ ด้ (P)
3. มคี วามใฝเ่ รยี นรู้และใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรมกลมุ่ (A)
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่
การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ เกิด พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา
จากจินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ ที่
ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมีดาวฤกษ์แต่ละดวง
เรยี งกันท่ีตาแหนง่ คงท่ี และมเี ส้นทางการขนึ้ และตก
ตามเส้นทางเดิมทุกคืน ซึ่งจะปรากฏตาแหน่งเดิม
การสังเกตตาแหน่งและการขึ้นและตกของดาวฤกษ์
และกลุ่มดาวฤกษ์ สามารถทาได้โดยใช้แผนที่ดาว
ซึ่งระบุมุมทิศและมุมเงยท่ีกลุ่มดาวน้ันปรากฏ ผู้
สังเกตสามารถใช้มือในการประมาณค่าของมุมเงย
เม่อื สังเกตดาวในทอ้ งฟ้า
5. กิจกรรมการเรยี นรู้
คาบที่ 1
ข้ันนา
ขัน้ ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทกั ทายกบั นักเรยี น จากนนั้ ครูทบทวนความร้เู ดมิ ของนักเรียนเกี่ยวกบั กลุม่ ดาวฤกษ์บนทอ้ งฟา้
2. ครนู าบัตรภาพดาวฤกษต์ า่ ง ๆ เชน่ ท้องฟ้าในคนื เดอื นมดื ทอ้ งฟ้าในคนื ดวงจันทร์เต็มดวง
และทอ้ งฟ้าในเวลากลางวนั มาใหน้ ักเรียนดู จากนั้นครตู ัง้ ประเดน็ คาถามกระตุ้นความสนใจ
นกั เรียนวา่ “จากบัตรภาพมดี าวใดบ้างท่ีเป็นดาวฤกษ์ และดาวฤกษ์ทนี่ ักเรยี นรู้จักมกี ารขนึ้ และตก
อยา่ งไร” โดยให้นกั เรยี นแต่ละคนร่วมกนั อภิปรายแสดงความคิดเหน็ อย่างอสิ ระโดยไม่มีการเฉลย
วา่ ถูกหรือผดิ
(แนวตอบ : นกั เรียนอาจตอบวา่ กลมุ่ ดาว และดวงอาทิตย์ กลุม่ ดาวฤกษข์ ึน้ จากขอบฟ้าทางทิศ
ตะวันออกและตกลับขอบฟ้าไปทางทศิ ตะวนั ตก)
ขนั้ สอน
ขนั้ ท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครจู ดั เตรยี มวัสด-ุ อปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นกิจกรรมท่ี 3 การข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ จากหนังสือเรยี น
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 มาวางไวห้ นา้ ช้ันเรยี น ดังน้ี
- แผน่ ทด่ี าว 1 ชุด
2. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 3-4 คน ตามความสมัครใจ จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ จัดเตรียมอปุ กรณ์
ท่ใี ช้ในกจิ กรรมท่ี 3 การข้นึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
3. ครแู จง้ จุดประสงค์ของกิจกรรมท่ี 3 การข้นึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ ให้นกั เรยี นทราบ
เพ่ือเปน็ แนวทางการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมท่ถี ูกตอ้ ง
4. ครสู าธติ วธิ กี ารใช้แผนทด่ี าว โดยใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มสงั เกต ดังน้ี
ถือแผนที่ดาวและหนั หน้าขณะสงั เกต
หมุนวันที่ เดอื น และเวลา ให้ตรงกบั ช่วงเวลาทส่ี ังเกต
5. สมาชิกภายในกลุ่มร่วมกนั วางแผนการสังเกตตาแหนง่ และเสน้ ทางการข้นึ และตกของกลมุ่
ดาวฤกษ์ โดยปฏิบัติกจิ กรรมจากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
6. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกันอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ จากนน้ั นาขอ้ มลู ท่ีไดม้ าวาดแผนภาพแสดง
การขึน้ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียน หรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)
คาบท่ี 2
ขน้ั สอน
ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
7. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมหนา้ ชน้ั เรยี น ในระหวา่ งที่นักเรียนนาเสนอ
ครูคอยใหข้ ้อเสนอแนะเพม่ิ เติม เพ่อื ใหน้ กั เรยี นมคี วามเข้าใจท่ีถกู ต้อง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ การนาเสนอผลงาน)
8. นักเรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกนั อภิปรายจากการปฏิบัติกจิ กรรมท่ี 3 การข้นึ และตกของกลุม่ ดาวฤกษ์
9. นกั เรียนแตล่ ะคนทากจิ กรรมหนตู อบได้ จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมุดประจาตัวนกั เรียน หรอื แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
คาบท่ี 3
ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
10. นกั เรียนแต่ละคนศึกษาค้นคว้าข้อมลู เกย่ี วกับ เร่ือง การขึ้นและตกของกล่มุ ดาวฤกษ์ จากหนงั สอื
เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หรือแหล่งการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เชน่ อนิ เทอรเ์ น็ต แล้วเขยี นสรุปความรู้
ทไี่ ดจ้ ากการศึกษาค้นควา้ ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น
11. ครูตัง้ ประเด็นคาถามกระตุน้ ความคดิ นักเรยี น โดยใหน้ ักเรยี นแต่ละคนรว่ มกันอภิปราย
เพอ่ื หาคาตอบ ดังน้ี
- โลกหมนุ รอบตัวเองอย่างไร
(แนวตอบ : หมนุ ทวนเขม็ นาฬกิ า จากทศิ ตะวันตกไปยงั ทิศตะวนั ออก)
- เมอ่ื เราสังเกตกลมุ่ ดาวฤกษใ์ นช่วงเวลาตา่ ง ๆ ในคนื เดียวกนั จะเป็นอยา่ งไร
(แนวตอบ : กล่มุ ดาวฤกษ์มกี ารเปลี่ยนตาแหนง่ โดยเคล่อื นจากทิศตะวันออกไปทางทศิ
ตะวันตก)
- กล่มุ ดาวฤกษข์ นึ้ และตกทางทิศใด
(แนวตอบ : กลมุ่ ดาวฤกษข์ น้ึ จากขอบฟ้าทางทิศตะวนั ออก และตกลบั ขอบฟ้าไปทางทศิ
ตะวนั ตก)
- เราจะสามารถมองเหน็ กลุ่มดาวฤกษ์ได้เมอ่ื ไร
(แนวตอบ : เราจะเห็นกล่มุ ดาวฤกษ์ต่าง ๆ ขน้ึ ทางขอบฟ้าเมอ่ื แสงจากดวงอาทติ ย์ลดน้อยลง
จนกระทั่งดวงอาทติ ย์ลบั ขอบฟ้าไป)
12. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถามเน้อื หาเกีย่ วกบั เรื่อง การข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์
และใหค้ วามรู้เพ่ิมเตมิ จากคาถามของนักเรยี น โดยครูใช้ PowerPoint เรื่อง การขึ้นและตกของ
กลุม่ ดาวฤกษ์ ในการอธบิ ายเพมิ่ เติม
คาบที่ 4
ข้ันสรปุ
ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครปู ระเมนิ ผลนกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชั้นเรยี น
2. ครูตรวจสอบผลการปฏิบัติกจิ กรรมที่ 3 การขึ้นและตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ ในสมดุ ประจาตัวนกั เรียน
หรือแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
3. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนูตอบได้ ในสมดุ ประจาตวั นักเรียน หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
4. นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรุปเกย่ี วกับการขึน้ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ ซึ่งได้ขอ้ สรุปร่วมกันว่า
“กลมุ่ ดาวฤกษ์ข้ึนจากขอบฟ้าทางทิศตะวนั ออก และตกลบั ขอบฟา้ ไปทางทิศตะวันตก การที่โลก
หมนุ รอบตัวเอง จะทาใหเ้ กิดกลางวันกลางคืนแลว้ ยงั ทาให้เกดิ การข้นึ และตกของดวงดาวดว้ ย
ปรากฏการณข์ ้นึ และตกของดวงดาว โลกหมุนรอบตวั เองจากทศิ ตะวันตกไปทศิ ตะวนั ออก
หรือหมนุ ทวนเขม็ นาฬิกา นอกจากทาใหด้ วงอาทิตยเ์ คล่อื นท่จี ากทิศตะวันออกไปทิศตะวนั ตกแลว้
ยังทาใหบ้ ริเวณซีกโลกเหนือเหน็ ดาวขนึ้ ทางทศิ ตะวนั ออกและตกทางทศิ ตะวันตก สว่ นซกี โลกใต้
เห็นดาวข้นึ ทางทิศตะวันตกและตกทางทศิ ตะวันออก”
6.การวัดและประเมนิ ผล
การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี ารวัดผล เครอื่ งมอื วัด เกณฑก์ าร
จุดประสงค์ ประเมนิ ผล
1.คาถามกระตนุ้ 70% ขึ้นไป ถือวา่
ความรคู้ วาม 1. สังเกตจากการซกั ถาม ตอบ ความคดิ ผ่านเกณฑ์การ
เขา้ ใจ (K) คาถาม ประเมนิ
2. อธิบายแบบรูปเส้นทางการข้นึ
ทักษะ/ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์บน 1. กิจกรรมที่ 3 การขึ้น 70% ขน้ึ ไป ถอื ว่า
กระบวนการ (P) ทอ้ งฟ้าได้ และตกของกลุม่ ดาว ผ่านเกณฑก์ าร
1. ใช้แผนทีด่ าวระบุตาแหนง่ และ ฤกษ์ ประเมิน
เสน้ ทางการขน้ึ และตกของกลุ่ม
ดาวฤกษ์ได้
คณุ ลกั ษณะนิสยั (A) 1. มีความใฝ่เรียนรู้และใหค้ วาม 1. แบบสงั เกต 70% ขนึ้ ไป ถือว่า
รว่ มมอื ในการทากิจกรรมกลุ่ม พฤตกิ รรม ผ่านเกณฑก์ าร
ประเมิน
7. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 7 ดาวบนทอ้ งฟา้
2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 7 ดาวบนท้องฟ้า
3) วัสด-ุ อุปกรณท์ ่ีใช้ในกจิ กรรมที่ 3 การขน้ึ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์
4) PowerPoint เรอ่ื ง การขนึ้ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์
5) บัตรภาพดาวฤกษ์ตา่ ง ๆ
6) สมุดประจาตวั นักเรียน
7.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องสมุด
2) หอ้ งเรยี น
3) อนิ เทอร์เน็ต
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ............................................ครูผสู้ อน ลงชอื่ ...................................................ฝ่ายวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงชอื่ ................................................... ผูบ้ ริหาร
(...........................................................)
บตั รภาพดาวฤกษ์ตา่ ง ๆ
สัปดาหท์ ่ี 20
โรงเรียนขจรเกียรติพัฒนา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 17
ภาคเรยี นที่ …2…/……….……... ชอ่ื ผสู้ อน ….…………………………………………………...
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 จานวน 4 คาบ
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 คาวเคราะหบ์ นท้องฟ้า เร่ือง การบอกตาแหนง่ ของกลุ่มดาวฤกษ์
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั
ว 3.1 ป.5/2 ใชแ้ ผนทดี่ าวระบุตาแหน่งและเส้นทางการขนึ้ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟา้
และอธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการขึ้นและตกของกล่มุ ดาวฤกษ์บนทอ้ งฟ้าในรอบปี
2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การสังเกตตาแหน่งกล่มุ ดาวฤกษ์ สามารถทาไดโ้ ดยใชก้ ารระบุมมุ ทศิ และมมุ เงยทกี่ ล่มุ ดาวนั้นปรากฏ ผสู้ งั เกต
สามารถใช้มือในการประมาณค่าของมมุ เงยเมื่อสงั เกตดาวในท้องฟ้า
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายลักษณะของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ได้ (K)
2. สร้างแบบจาลองเพือ่ อธิบายการมองเห็นดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ได้ (P)
3. ปฏิบตั ิกจิ กรรมเพ่ือเปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งดาวฤกษ์และดาวเคราะหไ์ ด้ (P)
4. มคี วามใฝเ่ รยี นร้แู ละใหค้ วามร่วมมอื ในการทากิจกรรมกลุ่ม (A)
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถนิ่
การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ เกิด พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
จากจินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ ท่ี
ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่มมีดาวฤกษ์แต่ละดวง
เรยี งกนั ท่ีตาแหน่งคงท่ี และมีเส้นทางการข้นึ และตก
ตามเส้นทางเดิมทุกคืน ซ่ึงจะปรากฏตาแหน่งเดิม
การสังเกตตาแหน่งและการขึ้นและตกของดาวฤกษ์
และกลุ่มดาวฤกษ์ สามารถทาได้โดยใช้แผนท่ีดาว
ซึ่งระบุมุมทิศและมุมเงยที่กลุ่มดาวน้ันปรากฏ ผู้
สังเกตสามารถใช้มือในการประมาณค่าของมุมเงย
เมอ่ื สงั เกตดาวในท้องฟ้า
5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
คาบท่ี 1
ข้ันนา
ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครทู กั ทายนกั เรียน จากน้นั ครูทบทวนความรู้เดิมของนกั เรียนเกีย่ วกบั การข้ึนและตกของกลุม่ ดาวฤกษ์
2. ครูสนทนากบั นกั เรยี นเกยี่ วกบั การดูดาวบนท้องฟ้าวา่ “การดูดาวเป็นการฝึกทกั ษะในการสังเกต
และยังกอ่ ให้เกดิ ความสนใจในเชิงวิทยาศาสตร์ ซ่งึ การดดู าวตอ้ งรู้จักตาแหนง่ ของดวงดาวและ
ความสงู ของดวงดาวเมื่อเทยี บกับขอบฟ้า”
3. จากน้นั ครูถามนกั เรียนว่า “นักเรียนชอบดดู วงดาวหรือไม่ และนักเรียนร้สู กึ อยา่ งไรเมอื่ ได้มองดูดาว”
โดยให้นกั เรียนแต่ละคนร่วมกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระโดยไม่มีการเฉลยวา่ ถกู หรอื ผดิ
4. ครตู ้งั ประเดน็ คาถามกระตุ้นความคิดนักเรยี น โดยใหน้ กั เรียนแต่ละคนรว่ มกันอภปิ รายแสดงความ
คดิ เหน็ เพื่อหาคาตอบ ดังนี้
- นอกจากการใช้แผนที่ดาว นักเรยี นจะสามารถหากล่มุ ดาวฤกษบ์ นท้องฟา้ ไดด้ ว้ ยวธิ กี ารใดอกี บา้ ง
(แนวตอบ : การหาค่ามมุ ทิศ และมมุ เงย)
- การกาหนดค่ามุมทศิ และการประมาณค่าของมมุ เงยเป็นอยา่ งไร
(แนวตอบ : มมุ ทิศทวี่ ัดตามแนวระนาบกบั พืน้ ดินมีค่าอยรู่ ะหวา่ ง 0-360 องศา สว่ นการบอก
ตาแหนง่ ของดาวดว้ ยมมุ เงย คอื มมุ ท่ีวดั จากเส้นขอบฟ้าข้นึ ไปหาดาวที่สงั เกตในแนวดง่ิ มีคา่ อยู่
ระหว่าง 0-90 องศา)
คาบท่ี 2
ขั้นสอน
ขั้นท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูจัดเตรียมวัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมท่ี 4 การหาคา่ มุมทิศและมุมเงย จากหนงั สอื เรยี น
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 มาวางไว้หน้าชน้ั เรียน ดงั น้ี
- เข็มทิศ 1 อนั
2. นักเรยี นแบ่งกล่มุ โดยครเู ตรียมสลากหมายเลขกล่มุ 1-4 จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนออกมาหยบิ
สลาก ซ่งึ นกั เรยี นทีไ่ ด้หมายเลขเดยี วกนั จะอยูก่ ลมุ่ เดยี วกนั ซึง่ แต่ละกลุม่ จะมีสมาชกิ ภายใน
กลุ่ม 4 คน
3. นกั เรียนแต่ละกล่มุ จดั เตรยี มอปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นกจิ กรรมที่ 4 การหาค่ามมุ ทิศและมุมเงย จากหนังสอื
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 จากน้นั ครแู จ้งจุดประสงค์ของกจิ กรรมที่ 4 การหาค่ามมุ ทศิ และ
มมุ เงย ให้นักเรยี นทราบ เพ่อื เป็นแนวทางการปฏบิ ัติกิจกรรมทถ่ี ูกต้อง
4. นกั เรียนแต่ละกล่มุ ปฏิบตั ิกจิ กรรมที่ 4 การหาค่ามมุ ทศิ และมุมเงย ตอนท่ี 1 โดยให้สมาชิกใน
กลมุ่ 1 คน ยนื กลางสนามหนา้ เสาธง แล้วถอื เข็มทิศไว้ในมอื โดยหันดา้ นตวั อักษร N ไปด้านหนา้ ให้
ขนานกบั พน้ื จากนัน้ หมุนตวั จนหวั ลูกศรบนเข็มทิศทบั บนตวั อกั ษร N พอดี
5. สมาชกิ ภายในกลมุ่ รว่ มกันวาดภาพ และบนั ทึกขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการสังเกตจากมมุ ทิศท่ี 0, 45, 90,
135, 180, 225, 270 และ 315 องศา ตามลาดบั ลงในสมุดประจาตัวนกั เรยี น หรอื แบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ )
คาบที่ 3
ขั้นสอน
ขน้ั ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore) (ตอ่ )
6. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม (กลุม่ เดิม) จากชว่ั โมงท่ีผ่านมา จากนั้นใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมท่ี 4
การหาค่ามมุ ทศิ และมุมเงย ตอนที่ 2 โดยศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมูลเก่ียวกับการใชน้ ิ้วหรือมอื ประมาณ
คา่ มุมเงยของวตั ถุบนท้องฟ้า จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรอื แหลง่ การเรียนรตู้ ่าง ๆ
เชน่ อนิ เทอรเ์ น็ต หอ้ งสมุด แลว้ บนั ทึกลงในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น หรอื แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
7. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ประมาณค่ามุมเงยของวัตถุบรเิ วณโรงเรียนมา 3 ชนดิ เชน่ หน้าตา่ งหอ้ งเรยี น
ตน้ ไม้ ยอดเสาธง เปน็ ต้น จากนั้นร่วมกนั อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั ค่ามมุ เงย แล้วบนั ทกึ
ลงในสมุดประจาตวั นกั เรียน หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
ขน้ั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)
8. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหน้าช้ันเรยี นเก่ยี วกับการประมาณคา่
มุมเงย ในระหวา่ งที่นักเรียนนาเสนอครคู อยให้ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ เพ่ือให้นักเรียนมีความเข้าใจ
ที่ถูกตอ้ ง
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมินการนาเสนอผลงาน)
9. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั อภิปรายจากการปฏิบัติกจิ กรรมที่ 4 การหาคา่ มุมทิศและมมุ เงย
10. ครูตัง้ ประเดน็ คาถามจากการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยใหแ้ ต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น
เพอ่ื หาคาตอบวา่ “มมุ ทิศและมมุ เงย เหมอื นกันหรือแตกต่างกนั อย่างไร”
(แนวตอบ : แตกตา่ งกนั คือ มุมทิศทีว่ ดั ตามแนวระนาบกบั พืน้ ดินมีคา่ อยู่ระหว่าง 0-360 องศา
สว่ นการบอกตาแหนง่ ของดาวดว้ ยมมุ เงย คอื มมุ ทว่ี ัดจากเสน้ ขอบฟา้ ข้ึนไปหาดาวทส่ี ังเกต
ในแนวดิง่ มีคา่ อย่รู ะหวา่ ง 0-90 องศา)
11. นกั เรยี นแต่ละคนทากิจกรรมหนตู อบได้ จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยตอบคาถาม
ลงในสมุดประจาตวั นักเรียน หรอื แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
คาบท่ี 4
ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
12. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ศึกษาคน้ คว้าข้อมูลเกยี่ วกบั เรอื่ ง การกาหนดคา่ มมุ ทิศและการประมาณคา่ ของ
มมุ เงย จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรอื แหล่งการเรียนร้ตู า่ ง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
หอ้ งสมดุ แลว้ เขยี นสรปุ ความรู้ที่ไดจ้ ากการศึกษาค้นควา้ ลงในสมดุ ประจาตวั นกั เรยี น
13. ครตู ้งั ประเด็นคาถามกระตนุ้ ความคิดนักเรียน โดยใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันอภปิ ราย
เพื่อหาคาตอบ ดงั นี้
- มุมทิศวดั ไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ : มุมทศิ ที่วดั ตามแนวระนาบกบั พนื้ ดินมีคา่ อยรู่ ะหวา่ ง 0-360 องศา)
- มมุ เงยวดั ไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ : มมุ ท่วี ดั จากเส้นขอบฟ้าขนึ้ ไปหาดาวท่ีสังเกตในแนวดง่ิ มีค่าอยรู่ ะหว่าง 0-90 องศา)
- มมุ เงย 90 องศา จะมองเหน็ ดาวทต่ี าแหนง่ ใด
(แนวตอบ : มองเหน็ ดาวปรากฏอยู่ตรงเหนอื ศรีษะพอดี)
- วธิ กี ารแรกในการประมาณคา่ มมุ เงยของวัตถุบนทอ้ งฟา้ มีวิธกี ารอยา่ งไร
(แนวตอบ : เหยียดแขนออกไปจนสุดให้ตรงในระดบั สายตา)
14. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามเน้อื หาเกีย่ วกบั เรอื่ ง การบอกตาแหน่งของกล่มุ ดาวฤกษ์
และให้ความรู้เพิ่มเติมจากคาถามของนักเรียน โดยครใู ช้ PowerPoint เรอ่ื ง การบอกตาแหนง่
ของกล่มุ ดาวฤกษ์ ในการอธบิ ายเพ่ิมเตมิ
15. นกั เรยี นแตล่ ะคนทาใบงานท่ี 7.4.1 เรื่อง การใช้แผนทด่ี าว
16. ครูสุ่มนักเรยี น 2 คน ออกมานาเสนอคาตอบของตนเอง โดยครใู ห้นักเรียนร่วมกนั พิจารณาวา่
คาตอบใดถกู ตอ้ ง จากนน้ั ครูเฉลยคาตอบที่ถกู ต้องให้นกั เรยี น
17. นกั เรียนแตล่ ะคนเขยี นสรุปสาระสาคญั ประจา บทที่ 1 ท้องฟ้าและกลุม่ ดาวฤกษ์ โดยเขยี นเป็น
แผนผังมโนทัศน์ ลงในสมุดประจาตัวนกั เรียน
18. นักเรียนแตล่ ะคนทากจิ กรรมฝกึ ทักษะ บทท่ี 1 ทอ้ งฟ้าและกลุม่ ดาวฤกษ์ จากหนังสอื เรียน
วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 ลงในสมุดประจาตัวนกั เรยี น หรอื แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
19. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี นของหน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 ดาวบนท้องฟ้า เพอ่ื เป็นการวัดความรู้
หลงั เรียนของนักเรียน
20. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม ๆ ละ 3-4 คน ตามความสมคั รใจ แล้วช่วยกันศกึ ษาคน้ คว้าข้อมลู เกี่ยวกับ
กลุ่มดาวฤกษ์รูปร่างตา่ ง ๆ จากนัน้ นามาสรา้ งเปน็ แบบจาลองของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
ขนั้ สรปุ
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรียนแตล่ ะคนดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
จากนัน้ ครถู ามนกั เรียนเปน็ รายบุคคลตามรายการข้อ 1-5 เพ่ือเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ
ของนักเรียนหลงั จากการเรียนจบบทท่ี 1 ท้องฟา้ และกล่มุ ดาวฤกษ์
2. ครูตรวจสอบผลการทาแบบทดสอบหลงั เรียนของหน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 7 ดาวบนทอ้ งฟ้า
เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจหลงั เรียนของนักเรยี น
3. ครปู ระเมินผลนกั เรยี น โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชน้ั เรียน
4. ครตู รวจสอบผลการปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 4 การหาค่ามุมทิศและมุมเงย ในสมุดประจาตวั นักเรยี น
หรือแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
5. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมหนตู อบได้ ในสมดุ ประจาตวั นักเรียน หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
6. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานที่ 7.4.1 เรื่อง การใช้แผนที่ดาว
7. ครูตรวจผลการทากจิ กรรมสรปุ สาระสาคญั ประจา บทท่ี 1 ท้องฟา้ และกลุ่มดาวฤกษ์
ในสมุดประจาตัวนักเรยี น
8. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมฝึกทักษะ บทท่ี 1 ทอ้ งฟา้ และกล่มุ ดาวฤกษ์ ในสมุดประจาตัว
นกั เรียน หรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
9. ครูตรวจชิ้นงาน/ผลงาน แบบจาลองของกลุ่มดาวฤกษบ์ นท้องฟ้า ของนักเรียนแต่ละกล่มุ
10. นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรปุ เกยี่ วกบั การบอกตาแหน่งของกลมุ่ ดาวฤกษ์ ซ่ึงไดข้ ้อสรุปรว่ มกนั วา่
“การสงั เกตตาแหน่งกลุ่มดาวฤกษ์ สามารถทาไดโ้ ดยการใช้แผนที่ดาว และการระบมุ ุมทศิ และ
มมุ เงยทก่ี ลุม่ ดาวนน้ั ปรากฏ”
6.การวดั และประเมนิ ผล
การวดั และประเมินผล วธิ กี ารวดั ผล เครื่องมอื วดั เกณฑก์ าร
จุดประสงค์ ประเมินผล
ความรคู้ วาม 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ 1.คาถามกระตุ้น 70% ข้ึนไป ถอื ว่า
เข้าใจ (K) คาถาม ความคดิ ผ่านเกณฑ์การ
2. อธิบายลกั ษณะของดาวเคราะห์ ประเมิน
และดาวฤกษ์ได้
ทกั ษะ/ 1. สร้างแบบจาลองเพือ่ อธิบายการ 1. กจิ กรรมที่ 4 การหา 70% ขน้ึ ไป ถือว่า
กระบวนการ (P) มองเห็นดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ คา่ มมุ ทิศและมุมเงย ผ่านเกณฑก์ าร
ได้ ประเมนิ
คณุ ลักษณะนิสัย (A) 1. มีความใฝ่เรยี นรู้และใหค้ วาม 1. แบบสังเกต 70% ขน้ึ ไป ถือว่า
ร่วมมือในการทากจิ กรรมกลุม่ พฤติกรรม ผ่านเกณฑก์ าร
ประเมนิ
7. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
7.3 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 ดาวบนท้องฟ้า
2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ดาวบนท้องฟา้
3) ใบงานท่ี 7.4.1 เร่อื ง การใช้แผนท่ดี าว
4) วสั ดุ-อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นกจิ กรรมที่ 4 การหาคา่ มมุ ทิศและมุมเงย
5) PowerPoint เร่ือง การบอกตาแหนง่ ของกลุม่ ดาวฤกษ์
6) สลากหมายเลขกลุ่ม 1-4
7) สมดุ ประจาตวั นกั เรียน
7.4 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) หอ้ งเรียน
3) อนิ เทอร์เน็ต
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
ลงช่อื ............................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...................................................ฝา่ ยวชิ าการ
(...........................................................) (...........................................................)
ลงชือ่ ................................................... ผบู้ ริหาร
(...........................................................)
ใบงานท่ี 7.4.1
เร่ือง การใชแ้ ผนที่ดาว
คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนพิจารณาข้อความ ขอ้ 1-5 แล้วนาขอ้ ความข้อ 1-5 มาเรียงวธิ ีการใช้แผนทีด่ าว
ในการดูดาวใหถ้ ูกตอ้ ง
วิธกี ารใชแ้ ผนที่ดาวในการดูดาว
1. มองท้องฟา้ จริงแลว้ เปรยี บเทยี บกบั แผนทีด่ าว
2. หมุนแผนท่ีดาวให้วนั ทแี่ ละเดือนตรงกบั วนั และเวลาทตี่ ้องการดู
3. ยกแผนท่ีดาวข้นึ เหนือศรี ษะ
4. มองแผนท่ดี าวตามทิศและค่ามุมเงยทร่ี ะบไุ ว้ในแผนท่ี
5. เม่อื ต้องการดูดาวดา้ นทิศเหนือ ใหใ้ ชแ้ ผนท่ดี าวดา้ นทิศเหนอื แลว้ หนั หน้าไปทางทศิ เหนอื
วธิ ีการใช้แผนที่ดาวในการดดู าวทถ่ี ูกตอ้ ง
_______________________________________________________________________
_______________________________________________________________________
_______________________________________________________________________
_______________________________________________________________________
_______________________________________________________________________
ใบงานที่ 7.4.1 เฉลย
เรื่อง การใช้แผนทดี่ าว
คาช้แี จง : ให้นักเรียนพิจารณาขอ้ ความ ข้อ 1-5 แลว้ นาข้อความข้อ 1-5 มาเรียงวิธีการใช้แผนท่ีดาว
ในการดูดาวให้ถูกต้อง
วิธีการใช้แผนทด่ี าวในการดดู าว
1. มองทอ้ งฟา้ จริงแล้วเปรยี บเทยี บกบั แผนทด่ี าว
2. หมุนแผนทด่ี าวใหว้ ันทแี่ ละเดือนตรงกับวนั และเวลาที่ต้องการดู
3. ยกแผนท่ีดาวขึน้ เหนอื ศีรษะ
4. มองแผนทีด่ าวตามทิศและค่ามุมเงยทร่ี ะบุไวใ้ นแผนที่
5. เม่อื ต้องการดดู าวดา้ นทศิ เหนอื ใหใ้ ชแ้ ผนที่ดาวดา้ นทศิ เหนอื แล้วหนั หน้าไปทางทิศเหนอื
วิธกี ารใช้แผนท่ดี าวในการดูดาวทีถ่ กู ต้อง
1. หมุนแผนท่ดี าวให้วันท่ีและเดอื นตรงกับวนั และเวลาท่ตี อ้ งการดู
2. เมือ่ ต้องการดูดาวด้านทิศเหนือ ให้ใชแ้ ผนท่ดี าวดา้ นทศิ เหนือ แล้วหนั หน้าไปทางทิศเหนอื
3. ยกแผนท่ดี าวขึ้นเหนอื ศรี ษะ
4. มองแผนทด่ี าวตามทศิ และคา่ มุมเงยท่ีระบไุ ว้ในแผนที่
5. มองทอ้ งฟา้ จรงิ แล้วเปรยี บเทยี บกบั แผนที่ดาว
สลากหมายเลข 2
4
1
3