39 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 เป้าหมาย ตัวชี้วัด ๑. การจัดการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน ๒. ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จำเป็น ของโลกศตวรรษที่ 21 ๑. ร้อยละเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการ สมรรถนะ และ คุณลักษณะที่ดีที่สมวัยทุกด้าน ๒. ระดับคุณภาพคะแนนการประเมินความสามารถในการ อ่าน (RT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 ๓. ร้อยละของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มี คะแนนเฉลี่ยการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) วิชา คณิตศาสตร์และวิชาภาษาไทย ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 ๔. ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่าน เกณฑ์คะแนนร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป กลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ส่งเสริมสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้มาตรฐานตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ 2. พัฒนาหลักสูตรการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย 3. พัฒนาหลักสูตรการออกแบบเรียนรู้ 4. พัฒนาการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในทุกระดับทุกประเภท 5. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างพหุปัญญาในรูปแบบที่หลากหลาย 6. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การเข้าถึงบริการทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าหมาย ตัวชี้วัด ๑. ทุกคนสามารถเข้าถึงบริการทางการศึกษา ๒. นักเรียน นักศึกษา และประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ ประโยชน์ในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองผ่านเทคโนโลยี สมัยใหม่ได้ ๑. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับปฐมวัยของประชากรอายุ 3-5 ปี ๒. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับประถมศึกษาของ ประชากรอายุ 6-11 ปี ๓. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของ ประชากรอายุ 12-14 ปี ๔. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ เทียบเท่าของประชากรอายุ 15-17 ปี 5. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 6. ร้อยละของผู้เรียนทั่วไปและผู้เรียนที่มีความต้องการ จำเป็นพิเศษที่ได้รับการช่วยเหลือให้กลับเข้าสู่ระบบ การศึกษา 7. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ที่ได้รับการศึกษาในสถานศึกษาทุกสังกัด กลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑. ส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ ๒. พัฒนาครูให้มีศักยภาพในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลายโดยใช้เทคโนโลยี เครื่องมือที่ทันสมัย ๓. จัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ
40 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การเข้าถึงบริการทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ต่อ) กลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์(ต่อ) ๔. พัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอนอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐาน อาชีพ ๕. พัฒนาทักษะวิชาชีพที่สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของพื้นที่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยเน้นการมีส่วนร่วม เป้าหมาย ตัวชี้วัด ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ๑. ร้อยละของสถานศึกษาที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ด้านการจัดการศึกษาระหว่างหน่วยงาน องค์กรภาคี เครือข่าย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒. ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการติดตามประเมินผล ระบบบริหารและการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพการศึกษาในระดับจังหวัด กลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. สร้างและพัฒนาความร่วมมือด้านการจัดการศึกษาระหว่างหน่วยงาน องค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัดโดยผ่านกลไก ของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) 3. พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐาน เชื่อมโยงและเข้าถึงได้ ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดรายประเด็นยุทธศาสตร์และค่าเป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดรายประเด็นยุทธศาสตร์ ค่า เป้าหมาย (ร้อยละ) 1. การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง และเป็นพลเมืองดี มีจิตอาสาน้อมนำศาสตร์ พระราชา 1. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอน หรือกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองหรือจิตอาสา หรือการมีจิตสำนึกในการอยู่ร่วมกันในสังคม 100 2. ร้อยละของสถานศึกษาที่ส่งเสริมและบูรณาการการ จัดการเรียนการสอน และการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความรู้ความ เข้าใจในวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น 100 3. ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 100 2. การพัฒนากำลังคน เพื่อรองรับการเป็นเมือง อัจฉริยะ 1. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ พัฒนาให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ 100 2. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการ พัฒนาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล 100 3. ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ก่อนจบการศึกษา 100 4. จำนวนผู้เรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเพิ่มขึ้น 10 5. สัดส่วนของผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อผู้เรียนสามัญศึกษา 2
41 ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดรายประเด็นยุทธศาสตร์ ค่า เป้าหมาย (ร้อยละ) 3. การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 1. ร้อยละเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการ สมรรถนะ และ คุณลักษณะที่ดีที่สมวัยทุกด้าน 86 2. ระดับคุณภาพคะแนนการประเมินความสามารถใน การอ่าน (RT) ระดับชั้นประถม ศึกษาปีที่ 1 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ขึ้นไป เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 3 3. ร้อยละของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนเฉลี่ยการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) วิชา คณิตศาสตร์และวิชาภาษาไทย ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อย ละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 3 4. ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้น ฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ ๕๐ ขึ้น ไป 33 4. การเข้าถึงบริการทางการศึกษาและส่งเสริมการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 1. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับปฐมวัยของประชากร อายุ 3-5 ปี 77 2. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับประถมศึกษาของประชากร อายุ6-11 ปี 100 3. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของ ประชากรอายุ 12-14 ปี 100 4. อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าของประชากรอายุ 15-17 ปี 85 5. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 100 6. ร้อยละของผู้เรียนทั่วไปและผู้เรียนที่มีความต้องการ จำเป็นพิเศษที่ได้รับการช่วยเหลือให้กลับเข้าสู่ระบบ การศึกษา 100 7. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษที่ได้รับ การ ศึกษาในสถานศึกษาทุกสังกัด 90 5. การพัฒนาประสิทธิ ภาพการบริหารและการ จัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยเน้นการมีส่วน ร่วม 1. ร้อยละของสถานศึกษาที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ด้านการจัดการศึกษาระหว่างหน่วยงาน องค์กรภาคี เครือข่าย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 80 2. ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการติดตามประเมินผล ระบบบริหารและการจัดการ ศึกษาให้มีคุณภาพและประ สิทธิ ภาพการศึกษาในระดับจังหวัด(ผ่านการประเมิน ร้อยละ 100 ตามรอบการประเมิน) 100
เป้าประสงค์รวม ประเด็น ยุทธศาสตร์ 2. การพัฒนากำลังคน เพื่อรองรับการเป็นเมือง อัจฉริยะ 1. ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ น้อมนำศาสตร์พระราชา 1. ส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ปลูกฝัง วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ค่านิยม ที่ดีงาม ความภูมิใจในชาติ 2. การสร้างและส่งเสริมความเป็นพลเมืองดี ตาม รอยพระยุคลบาทด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ รวมทั้ง โครง การอันเนื่อง มาจากพระราชดำริที่เกี่ยวกับ การศึกษา 3. ส่งเสริมการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามบริบทความ หลากหลายทางวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. ปลูกฝังผู้เรียนให้มีค่านิยมที่ถูกต้อง มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง มีวินัย สุจริต โดยใช้กระบวนการลูกเสือและยุว กาชาดหรือกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลาย 5. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแล และป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจาก ธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติ ใหม่ภัยจากไซเบอร์ เป็นต้น 6. การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมกับต่างประเทศเพื่อยกระดับคุณภาพและ โอกาสทางการศึกษา 1. ส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ 2. พัฒนาครูให้มีศักยภาพในการออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ได้อย่างหลากหลายโดยใช้เทคโนโลยี เครื่องมือที่ ทันสมัย 3. จัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และการฝึก อาชีพในสถานประกอบการ 4. พัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอน อาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และมาตรฐานอาชีพ 5. พัฒนาทักษะวิชาชีพที่สอดคล้องกับบริบทและความ ต้องการของพื้นที่ 1. ส่งเสริมสถาน มาตรฐานสถานพ 2. พัฒนาหลักสูต เด็กปฐมวัย 3. พัฒนาหลักสูต 4. พัฒนาการออ สำคัญ ในทุกระด 5. ส่งเสริมการจั รูปแบบที่หลากห 6. ส่งเสริมการจั พันธกิจ 2. ส่งเสริม สนับสนุน หน่วยงานการศึกษาในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการ พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 3. ส่งเสริม สนับ ผู้เรียนให้มีคุณธ สิ่งแวดล้อม และ เศรษฐกิจพอเพี 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิและ โอกาสเสมอภาคทางการศึกษา โดยได้รับการจัดการ เรียนรู้ตลอดชีวิตที่หลากหลายอย่างทั่วถึงและมี คุณภาพ กลยุทธ์ ภายใต้ประเด็น ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ องค์กรหลักในการประสาน ส่งเสริม และบูรณาการจัดการศึกษาตามหลักธ แผนผังความเชื่อมโยงสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการป 2. ประชาชนทุกคนได้รับสิทธิและโอกาสทางการศึกษา แ เรียนรู้ตลอดชีวิตที่หลากหลายอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ 1. การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและ เป็นพลเมืองดี มีจิตอาสา น้อมนำศาสตร์พระราชา 3. การยกระดับ ผู้เรียนมีทักษะใ
3. ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 รวมถึงทักษะ วิชาชีพเพื่อการมีงานทำ นพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้มาตรฐานตาม พัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ตรการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของ ตรการออกแบบเรียนรู้ อกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น ดับทุกประเภท ัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างพหุปัญญาใน หลาย ัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย บสนุน การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ธรรม มีคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ ะดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ ยง ธรรมาภิบาล ยกระดับคุณภาพการศึกษา พัฒนาพลเมืองนครปฐม สู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 4. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ละ 4. ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 1. ส่งเสริมระบบการแนะแนวในสถานศึกษา เพื่อการ ตัดสินใจศึกษาตามความถนัดและสนใจ 2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ผ่าน เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ที่มีคุณภาพมาตรฐาน เช่น ผลิตเป็น สื่อออนไลน์ เชื่อมโยงกับสถาบัน อุดมศึกษา/แหล่งเรียนรู้/ พิพิธภัณฑ์/ผลิตผลทางเกษตร/อุตสาหกรรม ฯลฯ 3. มีระบบเทียบโอนผลการเรียนและทักษะประสบการณ์ เพื่อขอรับวุฒิการศึกษาหรือใบรับรอง 4. เพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของ ผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ 1. สร้างและพัฒนาความร่วมมือด้านการจัดการศึกษา ระหว่างหน่วยงาน องค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมการขับ เคลื่อนการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและประสิทธิ ภาพการศึกษาจังหวัดโดยผ่าน กลไกของคณะ กรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) 3. พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐาน เชื่อมโยงและเข้าถึงได้ บคุณภาพมาตรฐานการเรียนรู้ให้ ในศตวรรษที่ 21 4. การเข้าถึงบริการทางการศึกษาและส่งเสริมการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 5. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการ จัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยเน้นการมีส่วน ร่วม 5. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาพลเมืองให้เป็น พลเมืองอัจฉริยะ (Smart Citizen) รองรับการเป็น เมืองอัจฉริยะ (Smart City) 42
ส่วนที่ 4 โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อดำเนินการตามภารกิจของสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 3,679,500 บาท จำแนกตามกลุ่มงบประมาณ ดังนี้ 1) แผนงานบุคลากร ภาครัฐ จำนวน 695,200 บาท 2) แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ จำนวน 207,600 บาท 3) แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ จำนวน 2,756,700 บาท 4) แผนงานบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามและบำบัดรักษา ผู้ติดยาเสพติด จำนวน 20,000 บาท โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ ดังนี้ 4.1 งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม แผนงาน /ผลผลิต / โครงการ งบประมาณ งบดำเนินงาน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น รวม รวมงบประมาณทั้งสิ้น 3,301,900 10,000 367,600 3,679,500 1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ 1.1 รายการค่าเช่าบ้าน 2. แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 2.1 ผลผลิตหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับบริการเทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึกษา กิจกรรมการสร้างและพัฒนาเครือข่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.1.1 ค่าใช้บริการอินเทอร์เน็ต 2.2 ผลผลิตผู้ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและ กิจการนักเรียน 2.2.1 โครงการส่งเสริมการจัดงานวันคล้าย วันสถาปนายุวกาชาดไทย ประจำปี 2566 2.2.2 โครงการนิเทศการจัดกิจกรรมยุว กาชาดในสถานศึกษา ประจำปี 2566 2.2.3 โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ประจำปี พ.ศ. 2566 2.3 ผลผลิตนักเรียนโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการ อุดหนุน กิจกรรมพัฒนาบุคลากร/ผู้เรียนและ โรงเรียนเอกชน 2.3.1 โครงการบริหารงานและตรวจ ติดตามโรงเรียนเอกชนในสังกัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.3.2 โครงการประชุมเครือข่ายพัฒนา การศึกษาเอกชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.4 ผลผลิตนโยบายและแผนด้านการศึกษา กิจกรรมดำเนินงานนโยบายและยุทธศาสตร์ 695,200 64,200 - - - 52,400 - - - - 10,000 - - - - - 40,000 - 16,500 - 15,000 695,200 64,200 40,000 10,000 16,500 52,400 15,000
44 แผนงาน /ผลผลิต / โครงการ งบประมาณ งบดำเนินงาน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น รวม 2.4.1 โครงการการส่งเสริม สนับสนุนการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารีกระทรวงศึกษาธิการในระดับจังหวัด 3.แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.1 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษา ที่ยั่งยืน กิจกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ในส่วนภูมิภาค 3.1.1 ค่าใช้สอย วัสดุ 3.1.2 ค่าสาธารณูปโภค 3.1.3 ค่าเช่ารถยนต์ 3.1.4 ค่าตอบแทนพนักงานปฏิบัติงานให้ ราชการ 3.1.5 โครงการการบริหารและจัด การศึกษาแบบบูรณาการโดยผ่านการมีส่วนร่วมของ กศจ. 3.1.6 โครงการนครปฐมร่วมใจ สร้างความ ปลอดภัยในสถานศึกษา 3.1.7 โครงการทุนการศึกษาพระราชทาน ม.ท.ศ. ประจำปี 2566 3.1.8 โครงการการพัฒนาและจัดการ เว็บไซต์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 3.1.9 โครงการประเมินและพัฒนา ความสามารถด้านการอ่านออกเขียนได้ และด้านการ คิดคำนวณ 3.1.10 โครงการจัดทำแผนพัฒนา การศึกษาจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3.1.11 โครงการการประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษา และประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาจังหวัด นครปฐมโดยผ่านกลไกของ กศจ. 3.1.12 โครงการเสริมสร้างศักยภาพ บุคลากรของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3.1.13 โครงการตรวจติดตามประเมินผล และนิเทศการดำเนินงานตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์ 3.2 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษา ที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาระบบประกัน คุณภาพการศึกษา 3.2.1 โครงการพัฒนาครูโรงเรียนเอกชน - 1,106,600 344,700 297,000 180,000 434,400 29,000 16,650 6,750 75,000 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 9,500 - - - - - - - - - 30,400 90,900 40,000 65,300 40,000 9,500 1,106,600 344,700 297,000 180,000 434,400 29,000 16,650 6,750 75,000 30,400 90,900 40,000 65,300 40,000
45 แผนงาน /ผลผลิต / โครงการ งบประมาณ งบดำเนินงาน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น รวม 4. แผนงานบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามและ บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด 4.1 โครงการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติด กิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด ในสถานศึกษา 4.1.1 โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและ ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษาของจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - - 20,000 20,000 4.2 โครงการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2566 จำนวน 4 แผนงาน งบประมาณทั้งสิ้น 3,679,500 บาท จำแนกตามรายแผนงาน/โครงการ รวมทั้งสิ้น 17 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 991,800 บาท โดยจัดสรรให้กลุ่มต่าง ๆ ดังนี้ ที่ รายการ งปม.ที่ได้รับ ผู้รับผิดชอบ 991,800 ศธจ.นครปฐม 2) แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1 โครงการส่งเสริมการจัดงานวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย ประจำปี 2566 40,000 กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน 2 โครงการนิเทศการจัดกิจกรรมยุวกาชาดในสถานศึกษา ประจำปี 2566 10,000 กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน 3 โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ประจำปี พ.ศ. 2566 16,500 กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน 4 โครงการบริหารงานและตรวจติดตามโรงเรียนเอกชนในสังกัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 52,400 กลุ่มส่งเสริมการศึกษา เอกชน 5 โครงการประชุมเครือข่ายพัฒนาการศึกษาเอกชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 15,000 กลุ่มส่งเสริมการศึกษา เอกชน 6 โครงการการส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กระทรวงศึกษาธิการในระดับจังหวัด 9,500 กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล 3) แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 7 โครงการการบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยผ่านการมีส่วน ร่วมของ กศจ. 434,400 กลุ่มนโยบายและแผน 8 โครงการนครปฐมร่วมใจ สร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา 29,000 กลุ่มนิเทศฯ 9 โครงการทุนการศึกษาพระราชทาน ม.ท.ศ. ประจำปี 2566 16,650 กลุ่มพัฒนาการศึกษา 10 โครงการการพัฒนาและจัดการเว็บไซต์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม 6,750 กลุ่มนโยบายและแผน 11 โครงการประเมินและพัฒนาความสามารถด้านการอ่านออกเขียนได้ และ ด้านการคิดคำนวณ 75,000 กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล 12 โครงการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 30,400 กลุ่มนโยบายและแผน
46 ที่ รายการ งปม.ที่ได้รับ ผู้รับผิดชอบ 991,800 ศธจ.นครปฐม 13 โครงการการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาจังหวัดนครปฐมโดย ผ่านกลไกของ กศจ. 90,900 กลุ่มนโยบายและแผน 14 โครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 40,000 กลุ่มบริหารงานบุคคล 15 โครงการตรวจติดตามประเมินผลและนิเทศการดำเนินงานตามนโยบาย และยุทธศาสตร์ 65,300 กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล 16 โครงการพัฒนาครูโรงเรียนเอกชน 40,000 กลุ่มส่งเสริมการศึกษา เอกชน 4) แผนงานบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามและบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด 17 โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษาของ จังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 20,000 กลุ่มพัฒนาการศึกษา
47 ตารางที่ 15 โครงการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จำแน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา 1. โครงการส่งเสริมการจัด งานวันคล้ายวันสถาปนายุว กาชาดไทย ประจำปี 2566 1. เพื่อระลึกถึงบุคคล สำคัญผู้ก่อตั้งกิจการ ยุวกาชาดขึ้นใน ประเทศไทย 2. เพื่อให้ผู้บังคับ บัญชายุวกาชาดและ สมาชิกยุวกาชาด ตระหนักในคุณค่า และความสำคัญของ การเป็นสมาชิกยุว กาชาด มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทาง สร้างสรรค์ รู้จัก บำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์แก่ส่วนรวม 3. เพื่อส่งเสริมให้มี การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนยุว กาชาดต่อเนื่องเพิ่ม มากขึ้น ผลผลิต 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ร่วมทำกิจกรรมเพื่อ ระลึกถึงบุคคลสำคัญผู้ ก่อตั้งกิจการยุวกาชาด ขึ้นในประเทศไทย ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 100 2. ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 ตระหนัก ในคุณค่าและความ สำคัญของการเป็น สมาชิกยุวกาชาด มี ระเบียบวินัย มี คุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทาง สร้างสรรค์ รู้จัก บำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์แก่ส่วนรวม ผลลัพธ์ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้ร่วมทำกิจกรรมเพื่อ ระลึกถึงบุคคลสำคัญผู้ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วม โครงการ ร่วมทำ กิจกรรมเพื่อระลึกถึง บุคคลสำคัญผู้ก่อตั้ง กิจการยุวกาชาดขึ้น ในประเทศไทย 2. ร้อยละ 80 ของ ผู้เข้าร่วมโครงการ ตระหนักในคุณค่า และความสำคัญของ การเป็นสมาชิก ยุวกาชาด มีระเบียบ วินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทาง สร้างสรรค์ รู้จัก บำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์แก่ ส่วนรวม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ เจ้าหน้าที่ ผู้บังคับ บัญชาและสมาชิกยุว 40,
กตามประเด็นยุทธศาสตร์ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม มั่นคงและเป็นพลเมืองดี มีจิตอาสา น้อมนำศาสตร์พระราชา ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,000 สป.ศธ. กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการ นักเรียน 3 10 12 2 3 3
48 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา ก่อตั้งกิจการยุวกาชาด ขึ้นในประเทศไทย 2. ผู้เข้าร่วมโครงการ ตระหนักในคุณค่าและ ความสำคัญของการ เป็นสมาชิกยุวกาชาด มีระเบียบ วินัย มี คุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทาง สร้างสรรค์ รู้จัก บำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์แก่ส่วนรวม 3. ผู้เข้าร่วมโครงการ ส่งเสริมให้มีการจัด กิจกรรมการเรียนการ สอนยุวกาชาดต่อเนื่อง และเพิ่มมากขึ้น กาชาด ได้เข้าร่วมใน กิจกรรมงานวันคล้าย วันสถาปนายุวกาชาด และร่วมระลึกถึงบุคคล สำคัญผู้ก่อตั้งกิจกา ร ยุวกาชาดขึ้นใน ประเทศไทย ตระหนัก ในคุณค่าแล ะความ สำคัญของการเป็น สมาชิกยุวกาชาด มีระเบียบวินัย มี คุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทาง สร้างสรรค์ รู้จัก บำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์แก่ส่วนรวม มีการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนยุว กาชาดต่อเนื่องและ เพิ่มมากขึ้น 2. โครงการนิเทศการจัด กิจรรมยุวกาชาดใน สถานศึกษา ประจำปี 2566 1. เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชายุวกาชาด ในสังกัด มีความรู้ความ เข้าใจ มีทักษะ ประสบ การณ์ที่จะนำไป ใช้ใน การจัดกิจกรรมยุว กาชาด รวมทั้งตระหนัก ถึงความสำคัญใน กระบวนการของ ผลผลิต ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุวกาชาด ที่เข้ารับกา รนิเทศ ร้อย ละ 80 มีความรู้ ความ เข้าใจ มีทักษะที่ถูกต้อง และสามารถจัดกิจกรรม การเรียนการสอนได้ ตัวชี้วัดผลผลิต ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุว กาชาด ในจังหวัด นครปฐมที่จัดการ เรียนการสอนกิจกรรม ยุวกาชาด จำนวน 22 โรงเรียน 10,
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,000 สป.ศธ. กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการ นักเรียน 3 10 1 2 2 3 3
49 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา กิจกรรมยุวกาชาดให้ เป็นไปตามอุดมการณ์ ของกาชาด 2. เพื่อให้ผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้บังคับ บัญชายุวกาชาด ได้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ติดตาม ช่วยเหลือ แนะนำ แก้ไขปัญหา ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นใน การบริหารจัดการเรียน การสอนยุวกาชาด 3. เพื่อสร้างขวัญ กำลังใจให้ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชายุวกาชาด และเกิดเครือข่ายความ ร่วมมือส่งเสริมพัฒนา กิจกรรมยุวกาชา ด อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถจัดกิจกรรม ยุวกาชาดและบริหารงาน ยุวกาชาดในหมู่ยุวกาชาด โรงเรียนของตนเองได้ ถูกต้อง ผลลัพธ์ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุว กาชาด ที่เข้ารับการ นิเทศ มีความรู้ ความ เข้าใจ มีทักษะที่ ถูกต้องและสามารถ จัดกิจกรรมการเรียน การสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถ จัดกิจกรรมยุวกาชาด และบริหารงานยุว กาชาดในหมู่ยุวกาชาด โรงเรียนของตนเองได้ ถูกต้อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุว กาชาด ที่เข้ารับการ นิเทศ มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ ที่ถูกต้องและ สามารถจัดกิจกรรม การเรียนการสอนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถจัดกิจกรรม ยุวกาชาดและ บริหารงานยุวกาชาด ในหมู่ยุวกาชาด โรงเรียนของตนเอง ได้ถูกต้อง 3. โครงการส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพความ ประพฤตินักเรียนและ นักศึกษา ประจำปี พ.ศ. 2566 1. เพื่อกำหนดนโยบาย มาตรการ แนวทางและ แผนในการส่งเสริมความ ประพฤตินักเรียนและ นักศึกษา 2. เพื่อให้ศูนย์เสมารักษ์ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐมสามารถ ผลผลิต 1. ลงพื้นที่ติดตามการ เฝ้าระวัง สถานการณ์ และปัญหาความ ประพฤตินักเรียนและ นักศึกษา เพื่อแก้ไข ปัญหาความประพฤติ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. คณะกรรมการ ส่งเสริมความ ประพฤตินักเรียน และนักศึกษาจังหวัด เจ้าหน้าที่ศูนย์เสมา รักษ์สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด 16,
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,500 สป.ศธ. กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการ นักเรียน 3 10 12 2 3 3
50 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา บูรณาการและ ขับเคลื่อนการส่งเสริม ความประพฤตินักเรียน และนักศึกษาได้อย่าง เป็นระบบมีกลไกและ เอกภาพในการ ดำเนินการ 3. เพื่อเฝ้าระวัง สถานการณ์ปัญหาความ ประพฤตินักเรียนและ นักศึกษาในพื้นที่จังหวัด นครปฐม 4. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน เฝ้าระวัง คุ้มครอง และประสาน บูรณาการในการป้องกัน แก้ไขความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษา กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นักเรียนและนักศึกษา จำนวน 15 ครั้ง 2. ผู้เข้าร่วมประชุม ร้อยละ 80 ของ คณะกรรมการส่งเสริม ความประพฤตินักเรียน และนักศึกษาจังหวัด และเจ้าหน้าที่ศูนย์เสมา รักษ์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผลลัพธ์ 1. คณะกรรมการ ส่งเสริมความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษา จังหวัด เจ้าหน้าที่ศูนย์ เสมารักษ์สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม และบุคลากร ที่เกี่ยวข้อง มีกลไกการ ขับเคลื่อนงานการ ส่งเสริมความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษา ให้เป็นระบบมีประสิทธิ ภาพ เกิดประสิทธิผล และเกิดประโยชน์สูงสุด ต่อนักเรียนและ นักศึกษา นครปฐมและ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน 2. ลงพื้นที่ติดตาม การเฝ้าระวัง สถานการณ์และ ปัญหาความ ประพฤตินักเรียน และนักศึกษา เพื่อ แก้ไขปัญหาความ ประพฤตินักเรียน และนักศึกษา จำนวน 15 ครั้ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. คณะกรรมการ ส่งเสริมความ ประพฤตินักเรียน และนักศึกษาจังหวัด เจ้าหน้าที่ศูนย์เสมา รักษ์สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม และ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีกลไกการขับเคลื่อน งานการส่งเสริม ความประพฤติ นักเรียนและ นักศึกษาให้เป็น
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.
51 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา 2. นักเรียนและ นักศึกษาในพื้นที่จังหวัด นครปฐมได้รับการ ปกป้อง แก้ไข คุ้มครอง และส่งเสริมความ ประพฤติ ระบบ มีประสิทธิ ภาพ เกิดประสิทธิผล และเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อนักเรียน และนักศึกษา 2. นักเรียนและ นักศึกษาในพื้นที่ จังหวัดนครปฐม ได้รับการปกป้อง แก้ไข คุ้มครองและ ส่งเสริมความ ประพฤติ 4. โครงการการขับเคลื่อน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรม พืชอันเนื่องมาจากพระราช ดำริ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารีกระทรวงศึกษาธิการ ระดับพื้นที่ 1. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อน การดำเนินงานสวน พฤกษศาสตร์ในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราช ดำริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารีของ สถานศึกษาในระดับ พื้นที่ 2. เพื่อขับเคลื่อนการ ขับเคลื่อนการดำเนิน งานสวนพฤกษศาสตร์ ในโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ ผลผลิต สถานศึกษาดำเนินงาน สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจาก พระราชดำริฯ ในระดับจังหวัด ผลลัพธ์ ผู้บริหาร ครู และ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจาก ตัวชี้วัดผลผลิต สถานศึกษาในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับสนับสนุน กำกับติดตามการ ดำเนินงานสวน พฤกษศาสตร์ โรงเรียนในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากรพระ ราชดำริฯ ในระดับ จังหวัด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ สถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจในการ ดำเนินงานสวน พฤกษศาสตร์ 9,5
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. 500 สป.ศธ. กลุ่มนิเทศ ติดตาม และ ประเมินผล 1 1 12 1 1
52 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารีของ สถานศึกษาในระดับ จังหวัด พระราชดำริฯ ใน ระดับจังหวัด โรงเรียนในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากรพระ ราชดำริฯ ในระดับ จังหวัดและเข้าร่วม โครงการ 5. โครงการนครปฐมร่วม ใจ สร้างความปลอดภัย ในสถานศึกษา 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ การฝึก ปฏิบัติแผนเผชิญเหตุ จากสถานการณ์จำลอง ด้านความปลอดภัยใน สถานศึกษาให้กับครู นักเรียนแกนนำในระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ในจังหวัดนครปฐม 2. เพื่อให้ครู นักเรียน แกนนำสามารถนำ ความรู้ ความเข้าใจ วิธีการ การป้องกัน ตนเองจากสถานการณ์ ไปประยุกต์ใช้และขยาย ผลในสถานศึกษา 3. เพื่อให้สถานศึกษา มีรูปแบบ/แนวทาง/คู่มือ การดำเนินงานความ ปลอดภัยสถานศึกษา ตามบริบทของสถาน ศึกษาในการสร้างความ เชื่อมั่น ความไว้วางใจ ผลผลิต 1. ได้ครู นักเรียนแกน นำ จำนวน 400 คน ที่มีความรู้ความเข้าใจ ด้านความปลอดภัยใน สถานศึกษา วิธีการ ปฏิบัติตน การป้องกัน ตนเองจากสถานการณ์ จำลองสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ 2. สถานศึกษามัธยม ศึกษาในจังหวัด นครปฐม จำนวน 42 แห่ง มีรูปแบบ/ แนวทาง/คู่มือการ ดำเนินงานความ ปลอดภัยสถานศึกษา ตามบริบทของสถาน ศึกษาในการสร้าง ความเชื่อมั่น ความ ไว้วางใจ ให้กับ ผู้ปกครองและ ผู้เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดผลผลิต 1. ครู นักเรียนแกน นำร้อยละ 80 ของ สถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการ ปฏิบัติตนตาม สถานการณ์จำลอง ไปขยายผลใน สถานศึกษาได้ 2. สถานศึกษา มัธยมศึกษาร้อยละ 80 มีรูปแบบ/ แนวทาง/คู่มือการ ดำเนินงานความ ปลอดภัยในสถาน ศึกษาตามบริบทของ สถานศึกษา ตัวขี้วัดผลลัพธ์ 1. ครู นักเรียนแกน นำมีความรู้ความ เข้าใจวิธีการปฏิบัติ ตนตามสถานการณ์ จำลองสามารถนำไป 29,
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,000 สป.ศธ. (งบ ดำเนินงาน ศธจ.นฐ.) กลุ่มนิเทศ ติดตาม และ ประเมินผล 3 11 12 1 3 3
53 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา ให้กับผู้ปกครองและ ผู้เกี่ยวข้อง ผลลัพธ์ 1. ครู นักเรียนแกนนำ นำความรู้ความเข้าใจ และการฝึกปฏิบัติแผน เผชิญเหตุจากสถาน การณ์จำลองด้านความ ปลอดภัยในสถาน ศึกษาไปประยุกต์ใช้ และนำไปขยายผลใน สถานศึกษา 2. สถานศึกษามัธยม ศึกษาในจังหวัด นครปฐม มีรูปแบบ/ แนวทาง/คู่มือการ ดำเนินงานความ ปลอดภัยสถานศึกษา ตามบริบทของสถาน ศึกษาในการสร้าง ความเชื่อมั่น ความ ไว้วางใจ ให้กับ ผู้ปกครองและ ผู้เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้และนำไป ขยายผลในสถาน ศึกษาได้ 2. สถานศึกษามัธยม ศึกษามีรูปแบบ/ แนวทาง/คู่มือการ ดำเนินงานความ ปลอดภัยในสถาน ศึกษาตามบริบทของ สถาน ศึกษาในการ สร้างความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ ให้กับ ผู้ปกครองและ ผู้เกี่ยวข้อง 6. โครงการเสริมสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยา เสพติดในสถานศึกษาของ จังหวัดนครปฐม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 1. เพื่อส่งเสริมให้ สถานศึกษาในจังหวัด นครปฐม มีแผนงาน/ กิจกรรมขับเคลื่อนการ ดำเนินงานโครงการ สถานศึกษาสีขาว ปลอด ผลผลิต 1.สถานศึกษาในพื้นที่ จังหวัดนครปฐม สังกัด สพฐ. , สช. , กศน. , อาชีวศึกษา เข้าร่วม โครงการสถานศึกษา สีขาว ปลอดยาเสพติด ตัวชี้วัดผลผลิต 1. สถานศึกษาใน พื้นที่จังหวัด นครปฐม 2. เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานด้านยา เสพติดจากสถาน 20,
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,000 สป.ศธ. กลุ่มพัฒนา การศึกษา 1 1 12 1 1 1
54 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา ยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา 2566 2. เพื่อส่งเสริมให้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านยาเสพติด มีความรู้ ความเข้าใจในขั้นตอน การ ดำเนินงานโครงการ สถานศึกษาสีขาวปลอด ยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา 2566 เพิ่มขึ้น 3. เพื่อส่งเสริมให้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านยาเสพติด มีความรู้ ความเข้าใจในการ รายงานผลการดำเนิน งานด้านยาเสพติด จังหวัด (ระบบ Nispa) การรายงานสภาพการใช้ สารเสพติดและยาเสพ ติดในสถานศึกษาผ่าน ระบบดูแลและติดตาม การใช้สารเสพติดใน สถานศึกษา (ระบบ Catas) และระบบ ทะเบียนกำลังพล ผู้ปฏิบัติงานด้านยาเสพ ติด เพิ่มขึ้น และอบายมุข ปี การศึกษา 2566 จำนวน 100 แห่ง 2. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ งานด้านยาเสพติด เข้า ร่วมประชุมการดำเนิน งานโครงการสถาน ศึกษาสีขาว ปลอดยา เสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา 2566 รวมทั้งการรายงานผล การดำเนินงานด้านยา เสพติดจังหวัด (ระบบ Nispa) การรายงาน สภาพการใช้สารเสพ ติดและยาเสพติดใน สถานศึกษาผ่านระบบ ดูแลและติดตามการใช้ สารเสพติดในสถาน ศึกษา (ระบบ Catas) และระบบทะเบียน กำลังพลผู้ปฏิบัติงาน ด้านยาเสพติด จำนวน 100 คน ผลลัพธ์ 1. ผลสำเร็จของ สถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการ ประเมินโครงการ ศึกษาในพื้นที่จังหวัด นครปฐม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. สถานศึกษามี ความรู้ ความเข้าใจ การประเมิน โครงการสถานศึกษา สีขาวปลอดยาเสพ ติดและอบายมุข ปี การศึกษา 2566 2. สถานศึกษามี ความรู้ ความเข้าใจ การประเมิน โครงการสถานศึกษา สีขาวปลอดยาเสพ ติดและอบายมุข ปี การศึกษา 2566 3. เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานด้านยา เสพติด มีความรู้ ความเข้าใจ ในการ ดำเนินงานโครงการ สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข เพิ่มขึ้น รวมทั้งการรายงาน ผลในระบบ Nispa ระบบ Catas และ
4 ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.
55 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข ปีการศึกษา 2566 2. ผลสำเร็จของ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านยาเสพติด มี ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงาน โครงการสถานศึกษา สีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข ปี การศึกษา 2566 3. ผลสำเร็จการ รายงานผลการดำเนิน งานด้านยาเสพติด จังหวัด (ระบบ Nispa) การรายงานสภาพการ ใช้สารเสพติดและยา เสพติดในสถานศึกษา ผ่านระบบดูแลและ ติดตามการใช้สารเสพ ติดในสถานศึกษา (ระบบ Catas) และ ระบบทะเบียนกำลัง พลผู้ปฏิบัติงานด้านยา เสพติด ระบบทะเบียนกำลัง พล
5 ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.
56 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการเรีย โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา 1. โครงการประเมินและ พัฒนาความสามารถด้าน การอ่านออกเขียนได้ และ ด้านการคิดคำนวณ 1. เพื่อประเมิน ความสามารถด้านการ อ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565 2. เพื่อประเมิน คุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 3. เพื่อจัดทำ สารสนเทศผลการ ประเมินความสามารถ ด้านการอ่านของ นักเรียน (RT) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 และผลการประเมิน คุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 4. เพื่อพัฒนาครู ผู้สอนวิชาภาษาไทย และวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ให้มีความ สามารถในการจัดการ เรียนรู้เพื่อแก้ปัญหา ผลผลิต 1. นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนใน สังกัดสำนักงานคณะ กรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน จังหวัดนครปฐม ได้รับ การประเมินคุณภาพ ผู้เรียนด้วยเครื่องมือ มาตรฐานระดับชาติ 2. เอกสารสารสนเทศ ผลการประเมินความ สามารถด้านการอ่าน ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 และผลการประเมิน คุณภาพผู้เรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 3. ครูผู้สอนวิชา ภาษาไทย และวิชา คณิตศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 และ 3 มีความ สามารถในการจัดการ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. ร้อยละ 80 ของ นักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 1 และ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษา เอกชน จังหวัด นครปฐม ที่สมัครใจ ได้รับการประเมิน ด้วยเครื่องมือ มาตรฐานระดับชาติ 2. มีเอกสาร สารสนเทศผลการ ประเมินความ สามารถด้านการอ่าน ของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และผลการ ประเมินคุณภาพ ผู้เรียน (NT) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 ฉบับ 75,
ยนรู้ให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,000 สป.ศธ. (งบ ดำเนินงาน ศธจ. นครปฐม) กลุ่มนิเทศ ติดตาม และ ประเมินผล 3 12 12 2 3 3
57 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา ภาวะการเรียนถดถอย (Loss Learning) เรียนรู้เพื่อแก้ปัญหา ภาวะการเรียนถดถอย (Loss Learning) ผลลัพธ์1. สถานศึกษาได้ ข้อมูลผลการประเมิน ความสามารถด้านการ อ่าน ของชั้นประถม ศึกษาปีที่ 1 และผล การประเมินคุณภาพ ผู้เรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3 เพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการ กำหนดนโยบายและ แผนพัฒนาผู้เรียนเป็น รายบุคคล 2. ครูนำสารสนเทศ ผลการประเมินความ สามารถด้านการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 1 และผล การประเมินคุณภาพ ผู้เรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3 ไปใช้ใน การพัฒนาการเรียน การสอน 3. ครูสามารถใช้ เครื่องมือมาตรฐาน ที่เน้นการเขียนตอบใน 3. ร้อยละ 80 ของ ครูผู้สอนวิชา ภาษาไทย และวิชา คณิตศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 และ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3 ได้รับ การพัฒนาความ สามารถในการ จัดการเรียนรู้เพื่อ แก้ปัญหาภาวะการเรียนถดถอย (Loss Learning) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 และ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2565 โรงเรียนในสังกัด สำนักงานคณะ กรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน จังหวัดนครปฐม ได้รับการประเมิน คุณภาพผู้เรียนด้วย เครื่องมือมาตรฐาน ระดับชาติ
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.
58 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา การประเมินคุณภาพ ผู้เรียน เป็นตัวอย่าง ในการพัฒนาเครื่องมือ ในชั้นเรียนให้มีความ น่าเชื่อถือ และสอด คล้องกับแนวทางการ ประเมินคุณภาพ ผู้เรียนระดับชาติและ ระดับนานาชาติ 4. ครูผู้สอนวิชา ภาษาไทย และวิชา คณิตศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 สามารถจัดการ เรียนรู้เพื่อฟื้นฟูภาวะ ถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery) 2. เอกสารสารสน เทศผลการประเมิน ความ สามารถด้าน การอ่านของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และผลการ ประเมินคุณภาพ ผู้เรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3 มีความ ครบถ้วนถูกต้อง 3. มีการนำผลการ ประเมินคุณภาพ ผู้เรียนไปใช้ในการ วางแผนยกระดับ คุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา 4. ครูผู้สอนวิชา ภาษาไทย และวิชา คณิตศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 และ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3 สามารถ จัดการเรียนรู้เพื่อ ฟื้นฟูภาวะถดถอย ทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery)
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.
59 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การเข้าถึงบริการทางการศึกษาและส่ง โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา 1. โครงการทุนการศึกษา พระราชทาน ม.ท.ศ. ประจำปี 2566 1. เพื่อดำเนินการ คัดเลือก คัดสรร นักเรียนที่จบการ ศึกษาระดับชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ ๓ ที่มีความ ประสงค์ขอเข้ารับ ทุนการศึกษาพระราช ทาน ม.ท.ศ. จาก สถานศึกษาทุกแห่ง และทุกสังกัดใน จังหวัดนครปฐม 2. เพื่อเสริมสร้าง ทัศนคติที่ถูกต้อง ดีงาม ต่อสถาบันพระ มหากษัตริย์และ ประเทศชาติ บ่มเพาะ ความมีวินัย รวมทั้ง พัฒนาศักยภาพ ความสามารถในการ เรียนรู้ ให้เป็นผู้ใฝ่ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีทักษะชีวิต ทักษะ อาชีพ อันจะช่วยสร้าง พื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เข้มแข็งแก่เด็กและ เยาวชนไทยผู้ได้รับทุน พระราชทาน เป็น ผลผลิต 1. นักเรียนที่จบชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกสังกัดในจังหวัด นครปฐม ที่สมัครขอ เข้ารับพระราช ทุนการศึกษา ม.ท.ศ. 2. นักเรียนทุน พระราชทาน ม.ท.ศ. รุ่นที่ 12-14 จำนวน 6 คน 3. คณะกรรมการ คัดเลือก คัดสรรผู้รับ พระราชทานทุนและ ประสานงานระดับ จังหวัด และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน ผลลัพธ์ 1. คณะกรรมการ ระดับจังหวัด สามารถ คัดเลือก คัดสรร ตาม กระบวนการ เช่น เยี่ยมบ้านักเรียนเพื่อ ประเมินสภาพ จริง สัมภาษณ์ จาก นักเรียนที่จบชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวชี้วัดผลผลิต 1. นักเรียนที่จบชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีผลการเรียนดี มีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำ กว่าระดับ ๓.๐๐ ประพฤติดี และ พร้อมที่จะเข้ารับการ ฝึกและพัฒนา ศักยภาพ สมัครเข้า รับการคัดเลือกเป็น นักเรียนทุนโครงการ ทุนการศึกษา พระราชทาน ม.ท.ศ. จำนวน 20 คน 2. นักเรียน ทุนการศึกษา พระราชทาน ม.ท.ศ. รุ่นที่ 12-14 ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย จำนวน 6 ค 3. คณะกรรมการ คัดเลือก คัดสรรผู้รับ พระราชทานทุนและ ประสานงานระดับ จังหวัด และ 16,
งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,650 สป.ศธ. (งบ ดำเนินงาน ศธจ. นครปฐม) กลุ่มพัฒนา การศึกษา 4 17 9 4 4 4
60 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา นักเรียนทุนในพระองค์ ฯ สามารถเติบโตเป็น คนดี มีคุณภาพ นำ ความรู้กลับไปทำงาน พัฒนาท้องถิ่นชุมชนมี สัมมาชีพมั่นคง เป็น พลเมืองที่ทำประโยชน์ ให้แก่ประเทศชาติ ทุกสังกัดในจังหวัด นครปฐม ที่สมัครขอ เข้ารับพระราช ทุนการศึกษา ม.ท.ศ. ให้เหลือจำนวน 5 คน เพื่อเสนอสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 2 2. คณะกรรมการ ระดับจังหวัดฯ ลงพื้นที่ เยี่ยมบ้านนักเรียนทุน พระราชทานรุ่นที่ 12 – 14 จำนวน 6 คน เพื่อดูแลช่วยเหลือ นักเรียนทุนฯ การ ติดตามผลการเรียน ความประพฤติ ใช้จ่าย เงินทุน ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 15 คน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. สามารถคัดเลือก นักเรียนที่จบชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีคุณสมบัติ และ เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ เสนอ สำนักงานศึกษา ธิการภาค 2 ได้ตาม เวลาที่กำหด 2. ติดตามลงพื้นที่ เยี่ยมบ้านนักเรียน ทุนศึกษาพระราช ทาน ม.ท.ศ.ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย ครบทุกคน 3. คณะกรรมการ คัดเลือก คัดสรรผู้รับ พระราชทานทุนและ ประสานงานระดับ จังหวัด ดำเนินการ คัดเลือกคัดสรรได้ โดยความโปร่งใส เป็นธรรม และ ตรวจสอบได้
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.
61 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารแล โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา 1. โครงการบริหารงาน และตรวจติดตามโรงเรียน เอกชนในสังกัด ปีงบ ประมาณ พ.ศ. 2566 1. เพื่อตรวจติดตาม การใช้จ่ายเงินอุดหนุน ทุกประเภทของ โรงเรียนเอกชนใน ระบบ ในสังกัดให้เป็น ไปด้วยความถูกต้อง เป็นไปตามที่ระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด 2. เพื่อตรวจติดตาม สถานะของโรงเรียน เอกชนนอกระบบ (การขอจัดตั้ง การ จัดการเรียนการสอน และการเลิกล้ม กิจการ) ให้เป็นไป ตามระเบียบที่กำหนด ตาม พ.ร.บ. โรงเรียน เอกชน พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 กฎหมาย คำสั่ง และกฎ กระทรวงที่เกี่ยวข้อง ผลผลิต 1. โรงเรียนเอกชนใน ระบบ มีความรู้ ความ เข้าใจ และสามารถใช้ จ่ายเงินอุดหนุนทุก ประเภทของโรงเรียน ได้ถูกต้อง ครบถ้วน 2. โรงเรียนเอกชน นอกระบบ มีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถดำเนินการได้ ถูกต้อง ครบถ้วน ผลลัพธ์ 1. โรงเรียนเอกชนใน ระบบ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถใช้จ่ายเงิน อุดหนุนทุกประเภท ของโรงเรียนได้อย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมายที่กำหนด 2. โรงเรียนเอกชน นอกระบบ ได้รับ ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดำเนิน การได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัดผลผลิต 1. ร้อยละ 80 ของ โรงเรียนเอกชนใน ระบบ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถใช้จ่ายเงิน อุดหนุนทุกประเภท ของโรงเรียนได้ ถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด 2. ร้อยละ 90 ของ โรงเรียนเอกชนนอก ระบบ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถดำเนินการ ได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. โรงเรียนเอกชน ในระบบ ร้อยละ 80 มีความรู้ ความ เข้าใจ และสามารถ ใช้จ่ายเงินอุดหนุน ทุกประเภทของ โรงเรียนได้ถูกต้อง 52,
ละการจัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยเน้นการมีส่วนร่วม ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,400 สช. กลุ่มส่งเสริม การศึกษา เอกชน 4 17 9 6 4 4
62 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา ตามระเบียบฯ กฎหมายที่กำหนด ครบถ้วน ระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด 2. โรงเรียนเอกชน นอกระบบ ร้อยละ 95 มีความรู้ ความ เข้าใจ และสามารถ ดำเนินการได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตาม ระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด 2. โครงการประชุม เครือข่ายพัฒนาการศึกษา เอกชนประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 1. เพื่อขับเคลื่อน นโยบายรัฐบาลและ สร้างการมีส่วนร่วม ของเอกชนในการจัด การศึกษาของรัฐบาล ตามพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน 2. เพื่อจัดประชุม ขับเคลื่อนการ ดำเนินงานของ คณะกรรมการ ประสานและส่งเสริม การศึกษาเอกชน ตามพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน ผลผลิต 1. คณะกรรมการ ประสานและส่งเสริม การศึกษาเอกชน จังหวัดนครปฐม ทั้งใน ระบบและนอกระบบ ผู้บริหาร ครูและ บุคลากรทางการศึกษา เอกชน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ใน นโยบายการจัดการ ศึกษาเอกชนตาม นโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ 2. ผู้เข้าร่วมประชุม มีส่วนร่วมระดมความ คิดเห็นและเสนอแนะ แนวทางการส่งเสริม ตัวชี้วัดผลผลิต คณะกรรมการประ สานและส่งเสริม การศึกษาเอกชน จังหวัดนครปฐม ทั้ง ในระบบและนอก ระบบและคณะ ทำงาน รวม 40 คน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.คณะกรรมการ ประสานและส่งเสริม การศึกษาเอกชน ร้อยละ 90 รับทราบ นโยบายและแนว ทางการดำเนินงานสู่ การปฏิบัติในระดับ จังหวัด 2.คณะกรรมการ ประสานและส่งเสริม 15,
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,000 สช. กลุ่มส่งเสริม การศึกษา เอกชน 6 20 13 6 6 6
63 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา การศึกษาเอกชน เพื่อให้มีประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ 1. ผู้เข้าร่วมประชุมมี ความรู้ ความเข้าใจ ในนโยบายการจัดการ ศึกษาเอกชนตาม นโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการ 2. ผู้เข้าร่วมประชุม ได้มีส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็นและ เสนอแนะแนวทางการ ส่งเสริมการศึกษา เอกชน 3. โรงเรียนเอกชนใน สังกัด ได้มีเครือข่าย ให้การช่วยเหลือ กำกับ ดูแล ส่งเสริม การจัดการศึกษา เอกชนให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน การศึกษาเอกชน ร้อยละ 90 มีส่วน ร่วมสามารถระดม ความคิดเห็นและ เสนอแนะแนว ทางการส่งเสริม การศึกษาเอกชนให้มี ความเป็นเอกภาพ และมีประสิทธิภาพ 3. โครงการการบริหาร และจัดการศึกษาแบบ บูรณาการ โดยผ่านการ มีส่วนร่วมของ กศจ. 1. เพื่อปฏิบัติภารกิจ ตามนโยบายของ กระทรวง ศึกษาธิการ เกี่ยวกับการบริหาร และจัดการศึกษาตาม แนวทางการปฏิรูป ผลผลิต 1. จัดประชุมคณะ กรรมการศึกษาธิการ จังหวัด (กศจ.) จำนวน 8 ครั้ง ตัวชี้วัดผลผลิต เชิงปริมาณ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐมจัด ประชุมได้ ร้อยละ 80 ของเป้าหมายการจัด ประชุมรวมทุกคณะ 434
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. 4,400 สป.ศธ. กลุ่มนโยบาย และแผน 6 20 13 6 6 6
64 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา การศึกษาในภูมิภาค หรือตามที่ได้รับ มอบหมาย 2. เพื่อจัดประชุม คณะกรรมการศึกษา ธิการจังหวัด (กศจ.) 3. เพื่อจัดประชุมคณะอนุกรรมการศึกษา ธิการจังหวัด(อกศจ.) 4. เพื่อจัดประชุมคณะ อนุกรรมการบริหาร ราชการเชิง ยุทธ ศาสตร์ 5. เพื่อจัดประชุม คณะอนุกรรมการ เกี่ยวกับการพัฒนา การศึกษาจังหวัด นครปฐม 2. จัดประชุมคณะ อนุกรรมการศึกษา ธิการจังหวัด (อกศจ.) จำนวน 6 ครั้ง 3. จัดประชุมคณะ อนุกรรมการบริหาร ราชการเชิงยุทธศาสตร์ จำนวน 4 ครั้ง4. จัดประชุมคณะ อนุกรรมการเกี่ยวกับ การพัฒนาการศึกษา จำนวน 4 ครั้ง ผลลัพธ์ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม ปฏิบัติภารกิจตาม นโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการเกี่ยวกับ การบริหารและจัด การศึกษาตามแนว ทางการปฏิรูปการ ศึกษาในภูมิภาค หรือ ตามที่ได้รับมอบหมาย เชิงคุณภาพ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม ปฏิบัติภารกิจตาม นโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกับการบริหาร และจัดการศึกษาตาม แนวทางการปฏิรูป การศึกษาในภูมิภาค หรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม มี แนวทางในการ ดำเนินงานตาม ข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) โดยการ กลั่นกรองของ คณะอนุกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม ทั้ง 3 คณะ ส่งผลให้เกิดประสิทธิ ภาพและประสิทธิผล ในการบริหารจัด การศึกษาของจังหวัด นครปฐม
4 ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.
65 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา 4. โครงการการพัฒนา และจัดการเว็บไซต์ของ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ผู้เข้ารับการฝึก อบรมสามารถสร้าง และพัฒนาเว็บไซต์ ของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐมได้ 2. ผู้เข้ารับการฝึก อบรมสามารถแก้ไข ปรับปรุงและจัดการ เว็บไซต์ของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐมได้ ผลผลิต 1. ผู้เข้ารับการฝึก อบรมมีความรู้ ความ เข้าใจสามารถสร้าง และพัฒนาเว็บไซต์ของ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เข้ารับการฝึก อบรมมีความรู้ ความ เข้าใจสามารถแก้ไข ปรับปรุงและจัดการ เว็บไซต์ของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐมได้ ผลลัพธ์ เว็บไซต์สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม มีข้อมูลนำ เสนอข้อมูลแก่ผู้เข้า เยี่ยมชมเว็บไซต์ได้ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ผู้เข้าเยี่ยมชมได้รับ ความสะดวก สามารถ เข้าถึงข้อมูลเหล่านั้น ได้อย่างสะดวก (Accessibility) และมี ความน่าเชื่อถือ ตัวชี้วัดผลผลิต เจ้าหน้าที่ผู้ดูแล เว็บไซต์ของแต่ละ กลุ่มงาน และ บุคลากรใน สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม ที่สนใจ รับเข้ารับการ ฝึกอบรม จำนวน 12 คน ตัวชี้วัดผลลัพธ์- เจ้าหน้าที่ผู้ดูแล เว็บไซต์ของแต่ละ กลุ่มงาน และ บุคลากรในสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม ที่สนใจได้ เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถสร้างและ พัฒนาเว็บไซต์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 6,7
5 ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. 750 สป.ศธ. (งบ ดำเนินงาน ศธจ. นครปฐม) กลุ่มนโยบาย และแผน 6 20 13 6 6 6
66 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา (Credibility) ของ ข้อมูล 5. โครงการจัดทำแผน พัฒนาการศึกษาจังหวัด นครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. เพื่อจัดทำข้อมูล สารสนเทศให้เป็น ปัจจุบัน พร้อมสำหรับ เป็นข้อมูลในการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการ และแผนพัฒนา การศึกษาจังหวัด นครปฐม ตลอดจนเป็น ข้อมูลในการบริหาร จัดการของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม 2. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม 3. เพื่อจัดทำแผนพัฒนา การศึกษาจังหวัด นครปฐม 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) และ ฉบับทบทวน ปีงบ ประมาณ พ.ศ. 2567 ผลผลิต 1.ข้อมูลสารสนเทศด้าน การศึกษา จำนวน 1 ฉบับ 2.แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 1 ฉบับ 3. แผนพัฒนาการศึกษา จังหวัดนครปฐม 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ฉบับสมบูรณ์ 4.แผนพัฒนาการศึกษา จังหวัดนครปฐม 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ฉบับทบทวน ปีงบ ประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 ฉบับ ผลลัพธ์ 1. สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม มีข้อมูลสารสนเทศที่ ถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลุม เป็น ปัจจุบัน พร้อมสำหรับ การนำไปใช้ในการ บริหารงานหรือวาง แผนในการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดผลผลิต 1. ข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษา จำนวน 1 ฉบับ 2. แผนปฏิบัติ ราชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนัก งานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม จำนวน 1 ฉบับ 2. แผนพัฒนาการ ศึกษาจังหวัดนคร ปฐม 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ฉบับสมบูรณ์ จำนวน 1 ฉบับ 3. แผนพัฒนา การศึกษาจังหวัด นครปฐม 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ฉบับทบทวน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 1 ฉบับ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 30,
ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,400 สป.ศธ. กลุ่มนโยบาย และแผน 6 20 13 6 6 6
67 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา 2. สำนักงานศึกษา ธิการจังหวัดนครปฐม มีแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เป็น เครื่องมือบริหารงาน และปฏิบัติงานของ บุคลากรในสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม 3. สำนักงานศึกษา ธิการจังหวัดนครปฐม มีแผนพัฒนาการ ศึกษาจังหวัดนครปฐม ที่สอดคล้องกับ ประเด็นยุทธศาสตร์ ต่าง ๆ นโยบายรัฐบาล นโยบายและจุดเน้นขอ กระทรวงศึกษาธิการ และบริบทที่เกี่ยวข้อง เป็นกรอบแนวทาง ในการพัฒนา การศึกษา ให้กับ หน่วยงานการศึกษา ในจังหวัดนครปฐม 1. สำนักงานศึกษา ธิการจังหวัด นครปฐมมีข้อมูล สารสนเทศด้าน การศึกษา พร้อม สำหรับเป็นข้อมูล ในการจัดทำแผน ปฏิบัติราชการ และแผนพัฒนา การศึกษาจังหวัด นครปฐม 2. สำนักงานศึกษา ธิการจังหวัด นครปฐมมีแผน ปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3. สำนักงานศึกษา ธิการจังหวัด นครปฐมมีแผน พัฒนาการศึกษา จังหวัดนครปฐม 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) และฉบับ ทบทวนปีงบ ประมาณ พ.ศ. 2567 เป็นกรอบ แนวทางในการ พัฒนาการศึกษา