The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ane Cha, 2023-02-26 22:39:01

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม

ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.


68 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา ให้กับหน่วยงาน การศึกษาในจังหวัด นครปฐม 6. โครงการการขับเคลื่อน การยกระดับคุณภาพ การศึกษาและประสิทธิ ภาพการจัดการศึกษา จังหวัดนครปฐม โดยผ่าน กลไกของ กศจ. 1. เพื่อให้มีแนวทางการ ยกระดับคุณภาพการ ศึกษาและเรียนรู้ให้มี คุณภาพ เท่าเทียม และ ทั่วถึงตามบริบทของ จังหวัด มีเครือข่าย ในการจัดการศึกษา โดยผ่านกระบวนการมี ส่วนร่วมของส่วน ราชการ หน่วยงาน สถานศึกษา ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กร เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาบัน ประกอบการและสถาบัน ที่จัดการศึกษาอื่น 2. เพื่อจัดทำกลไกการ ยกระดับคุณภาพการจัด การศึกษาแบบบูรณา การให้สอดคล้องกับ บริบทในพื้นที่ 3. เพื่อให้มีตัวชี้วัดการ ดำเนินงานอย่างมีส่วน ร่วมของส่วนราชการ หรือหน่วยงานและ สถานศึกษาในจังหวัด ผลผลิต 1. มีแนวทางการยก ระดับคุณภาการศึกษา และการเรียนรู้ให้มี คุณภาพเท่าเทียมและ ทั่วถึงตามบริบทของ จังหวัดนครปฐม 2. มีกลไกการยก ระดับคุณภาพการ ศึกษาแบบบูรณาการ ให้สอดคล้องกับบริบท ในพื้นที่ 3. มีตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงานขับเคลื่อน แนวทางการยกระดับ คุณภาพการศึกษาและ การเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึง ตามบริบทของจังหวัด นครปฐม 4. มีปฏิทินการกำกับ ติดตามและรายงาน ความก้าวหน้าผลการ ดำเนินงานโดยผ่าน กลไก ของ กศจ. เป็น รายไตรมาส ตัวชี้วัดผลผลิต 1. มีแนวทางการ ยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึง ตามบริบทของ จังหวัดที่กำหนดขึ้น อย่างมีส่วนร่วมทุก ภาคส่วน 2. มีตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงานขับเคลื่อน แนวทางการ ยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง ตามบริบทของ จังหวัด ที่คณะ กรรมการศึกษาธิการ จังหวัดมีส่วนร่วม ในการดำเนินการ 3. มีการรายงานผล การดำเนินงานต่อ คณะกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัด 90,


ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,900 สป.ศธ. กลุ่มนโยบาย และแผน 6 20 13 6 6 6


69 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา ที่สอดคล้องกับแนว ทางการยกระดับ คุณภาพการศึกษาและ การเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึงตาม บริบทของจังหวัด 4. เพื่อให้มีการกำกับ เร่งรัด ติดตามและ ประเมินผลการยกระดับ คุณภาพการศึกษาและ การเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึงของ จังหวัดตามตัวชี้วัดการ ดำเนินงาน 5. เพื่อส่งเสริมความ ร่วมมือของเครือข่ายการ จัดการศึกษา ผลลัพธ์ 1. คณะกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม ส่วนราชการ หน่วยงาน สถานศึกษา ครอบครัว องค์กร ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถาบัน ประกอบการและ สถาบันที่จัดการศึกษา อื่น มีส่วนร่วมในการ กำหนดแนวทางการ ยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง ตามบริบทของจังหวัด นครปฐม กำหนด ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน รวมทั้ง กำกับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผล 2. จังหวัดมีแนวทาง การยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง ของจังหวัดนครปฐม ตัวขี้วัดผลลัพธ์ สำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด นครปฐม สามารถ บริหารจัดการศึกษา และปฏิบัติงาน ภายใต้กลไกขององค์ คณะบุคคลได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และ สามารถยกระดับ คุณภาพการศึกษา ในจังหวัดได้


ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.


70 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา ให้มีคุณภาพและความ เท่าเทียมตามบริบท ของจังหวัด ซึ่งกำหนด ขึ้นอย่างมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วนของ จังหวัดที่มีภารกิจ เกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษา รวมทั้งมี การกำหนดตัวชี้วัดผล การดำเนินงานที่เป็น ตัวชี้วัดกลางสำหรับให้ ส่วนราชการหน่วยงาน และสถานศึกษาใช้ ขับเคลื่อนแนวทางการ ยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึง ตามบริบทของจังหวัด และมีการติดตาม ความก้าวหน้าอย่าง ต่อเนื่อง 7. โครงการเสริมสร้าง ศักยภาพบุคลากรของ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 1. เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพบุคลากร ในสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐมให้มี แรงจูงใจและเจตคติที่ดี ต่อการพัฒนาตนเองและ องค์กร ผลผลิต 1. บุคลากรใน สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐมทุกคน ได้รับการพัฒนา สมรรถนะหลักด้าน การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. ร้อยละ 80 ของ บุคลากรกลุ่ม เป้าหมายที่ได้รับการ พัฒนา เสริมสร้าง สมรรถนะในการ ปฏิบัติงาน 40,


ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,000 สป.ศธ. กลุ่ม บริหารงาน บุคคล 6 20 13 5 6 6


71 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา 2. เพื่อให้บุคลากร สามารถปรับตัวให้เท่า ทันกับการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี มีความ พร้อมที่จะปรับเปลี่ยน เป็นรัฐบาลดิจิทัลและ สามารถนำเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดได้ 2. บุคลากรในสำนัก งานศึกษาธิการจังหวัด นครปฐมทุกคน ได้รับ การพัฒนาด้านดิจิทัล สำหรับข้าราชการ ภาครัฐ ผลลัพธ์ 1. บุคลากรในสำนัก งานศึกษาธิการจังหวัด มีสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายและ พร้อมที่จะขับเคลื่อน ให้องค์กรไปสู่เป้า หมายที่วางไว้ ส่งผล ประโยชน์ต่อผู้รับ บริการ 2.บุคลากรที่ได้รับการ พัฒนาตามหลักสูตรมี ทักษะด้านดิจิทัล และ สามารถนำมาปฏิบัติ งาน เพื่อรองรับการ ปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาล ดิจิทัลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. ร้อยละ 80 ของ บุคลากรกลุ่มเป้า หมายที่ได้รับการ พัฒนาทักษะด้าน ดิจิทัล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. ร้อยละ 80 ของ บุคลากรกลุ่มเป้า หมายที่ได้รับการ พัฒนาตามหลักสูตร นำความรู้ไปใช้ใน การปฏิบัติงาน 2. ร้อยละ 80 ของ บุคลากกลุ่มเป้า หมายที่ได้รับการ พัฒนา มีทักษะใน การนำเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ในการ ปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ


ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.


72 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา 8. โครงการตรวจติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์ ๑. เพื่อรายงานผลการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การดำเนินงานตาม นโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการและ หน่วยงานระดับจังหวัด 2. เพื่อประเมินผลการ ปฏิบัติงานและรายงาน ผลการดำเนินงานตาม ตัวชี้วัดของส่วนราชการหรือหน่วยงาน และ สถานศึกษาในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ระดับจังหวัด ผลผลิต 1. ส่วนราชการหรือ หน่วยงาน และสถาน ศึกษาในสังกัด กระทรวง ศึกษาธิการ ในจังหวัดนครปฐม2. รายงานผลการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การดำเนินงานตาม นโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ ผลลัพธ์1. ส่วนราชการหรือ หน่วยงาน และ สถานศึกษาในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ในจังหวัดนครปฐม ได้รับการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล และนิเทศให้มี คุณภาพตามตัวชี้วัด ในการดำเนินงานของ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม 2. การรายงานผลเป็น ระยะ (๖ เดือน, ๑๒ เดือน) ช่วยสนับสนุน การดำเนิน งานให้ทัน ตัวชี้วัดผลผลิต 1. มีรายงานผล การนิเทศ ติดตาม ประเมินผลและ สนับสนุนการตรวจ ราชการ จำนวน 1 ฉบับ2. มีรายงานผลการ ติดตามประเมินผล ระบบบริหารและ การจัดการศึกษา จำนวน 1 ฉบับ3. มีรายงานการ ตรวจราชการและ ติดตามประเมินผล การจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 1 ฉบับ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. มีการนำข้อสรุป และข้อเสนอแนะที่ ได้จากการประชุม มาวางแผนปรับปรุง พัฒนาการดำเนิน งาน ให้มีคุณภาพ ตามเป้าหมายการจัด การศึกษาของสำนัก 65,


ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,300 สป.ศธ. กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผล 6 20 13 6 6 6


73 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา ตามปฏิทินการทำงาน ที่กำหนดไว้ 3. ผลการรายงาน สามารถนำไปใช้เป็น ข้อมูลแนวทางการ ปรับแผนในปีต่อไปได้ งานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม 2. รายงานผลการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ นิเทศการดำเนินงาน ตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์ 9. โครงการพัฒนาครู โรงเรียนเอกชน 1. เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาการจัดการเรียน การสอนให้แก่คณะ ผู้บริหาร และครู โรงเรียนเอกชนให้มี ประสิทธิภาพ 2. เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาการจัดการศึกษา ของโรงเรียนเอกชนให้มี คุณภาพ ผลผลิต 1. ผู้บริหารและครู โรงเรียนเอกชนในระบบ ได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาการจัดการเรียน การสอนให้มีประสิทธิ ภาพ จำนวน 90 คน 2. โรงเรียนเอกชนใน ระบบ ร้อยละ 80 มี ประสิทธิภาพ สามารถ จัดการศึกษาได้ อย่างมี คุณภาพตามมาตรฐาน ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับ การศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมารฐานที่กำหนด ผลลัพธ์ 1. ผู้บริหารและครู โรงเรียนเอกชนได้รับ การส่งเสริมและพัฒนา ตัวชี้วัดผลผลิต ผู้บริหารและครู โรงเรียนเอกชน ได้รับการส่งเสริม และพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพ จำนวน 90 คน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.ผู้บริหารและครู โรงเรียนเอกชน มี ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถพัฒนา การจัดการเรียนการ สอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.โรงเรียนเอกชน ในระบบในสังกัด สามารถจัดการ ศึกษาได้อย่างมี 40,


ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป. ,000 สช. กลุ่มส่งเสริม การศึกษา เอกชน 3 12 12 2 3 3


74 โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ ของโครงการ เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย งบปร (หน บา การจัดการเรียนการ สอนให้มีประสิทธิภาพ 2. โรงเรียนเอกชน ได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาการจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพตาม มาตรฐาน คุณภาพตาม มาตรฐาน ส่งผลให้ ผู้เรียนได้รับการ ศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมารฐานที่ กำหนด


4 ระมาณ น่วย : าท) แหล่งงบ ประมาณ กลุ่ม/ ผู้รับผิดชอบ ความสอดคล้อง ยุทธ ศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผน แม่บท ยุทธ. ชาติ แผน พัฒนา 13 นโย บาย ศธ. ยุทธ ศาสตร์ ศธ. ยุทธ ศาสตร์ สป.


75 4.3 รายละเอียดโครงการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 4.3.1 โครงการส่งเสริมการจัดงานวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย ประจำปี 2566 แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ งบรายจ่ายอื่น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (1) เป้าหมาย คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 (2) ประเด็น การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (10) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม (1) เป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ (Y2) คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามและมีความรัก และภูมิใจ ในความเป็นไทยมากขึ้น นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต สังคมไทยมีความสุขและเป็น ที่ยอมรับของนานาประเทศมากขึ้น (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและเสริมสร้างจิตสาธารณะและการเป็นพลเมืองดี (3) เป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1) คนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความพร้อมในทุกมิติตามมาตรฐานและสมดุล ทั้งด้าน สติปัญญา คุณธรรม จริยธรรม มีจิตวิญญาณที่ดี เข้าใจในการปฏิบัติตน ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น ความสอดคล้องห่วงโซ่คุณค่าฯ (Value Chains) ของเป้าหมายแผนแม่บทย่อย (1) ชื่อองค์ประกอบ (V) : V03 สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและสติปัญญา (2) ชื่อปัจจัย (F) : F0303 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( พ.ศ. 2566 – 2570) หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (2566-2570) นโยบายและแผนความมั่นคงที่........................................................................................................................ นโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย นโยบายเร่งด่วนที่ 7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เป้าหมายที่ 4 ด้านการศึกษา (Goals) เป้าหมายย่อยที่ (Target)................................................................................................................................ นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดี


76 แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและเป็นพลเมืองดี มีจิตอาสา น้อมนำศาสตร์พระราชา 1. หลักการและเหตุผลความจำเป็น แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 กำหนดวิสัยทัศน์ คือ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ ซึ่งใน ข้อ 3 เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือ ผนึก กำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสอดรับกับกิจกรรม ยุวกาชาด ที่เป็นกิจกรรมพัฒนาประเทศผู้เรียนกิจกรรมหนึ่ง ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสังคมไทยและความมีจิตสำนึกในการทำประโยชน์ให้แก่สังคม ซึ่งกิจกรรม ยุวกาชาดยังเน้นในเรื่องของทักษะและกระบวนในรูปของระบบหน่วย กลุ่ม หมู่ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะเกี่ยวกับปฏิบัติตามหลักการกาชาดและยุวกาชาด ยุวกาชาดเกิดขึ้นจากมติที่ประชุมสหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ เมื่อ ค.ศ. 1919 (พ.ศ. 2462) โดยที่ประชุมได้มีข้อเสนอแนะว่า “สภากาชาดทุกชาติควรจัดตั้งกาชาดสำหรับเด็ก เพื่อฝึกอบรมเยาวชนให้รู้จักการกินดี อยู่ดี รักษาสุขภาพอนามัย มีเมตตาสงสารเพื่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ไม่ว่าชาติ ศาสนาใดๆ มีศรัทธา เสียสละ และบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม โดยจัดกิจกรรมและดำเนินการ ให้สอดคล้องกับระบบการศึกษา ซึ่งสภากาชาดไทยได้ฝากกิจการยุวกาชาดไว้กับกระทรวงศึกษาธิการ ด้วยเหตุผลที่ว่าเป็นกิจการอันเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการได้ดูแลกิจการลูกเสืออยู่แล้ว ปัจจุบันกิจการยุวกาชาดอยู่ในความดูแลของ 2 หน่วยงาน คือ สภากาชาดไทย โดยสำนักงานยุวกาชาดรับผิดชอบ เยาวชนชาย-หญิง อายุระหว่าง 15 - 25 ปี ที่เรียกว่าอาสายุวกาชาด และกระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักการลูกเสือยุวกาชาดและกิจการนักเรียน รับผิดชอบเยาวชน ชาย-หญิง อายุระหว่าง 7 - 18 ปี ที่เรียกว่าสมาชิกยุวกาชาด โดยทั้ง 2 หน่วยงานมีการประสานการดำเนินงานร่วมกัน กิจการยุวกาชาดเป็นกิจกรรมสำหรับเยาวชนอายุระหว่าง 7 - 25 ปี ซึ่งได้รับการสถาปนาขึ้น เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2465 โดยสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต อุปนายกสภากาชาดสยาม ในขณะนั้น กิจการยุวกาชาดได้เจริญเติบโตขึ้นตามลำดับ มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงใหม่หลายด้าน เช่น หลักสูตรการเรียนการสอน การจัดกิจกรรม ข้อบังคับต่าง ๆ และในวันที่ 27 มกราคม 2566 ซึ่งเป็น วันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย เพื่อเป็นการระลึกถึงบุคคลซึ่งก่อตั้งกิจการยุวกาชาดขึ้นในประเทศไทย ตลอดจน ส่งเสริมให้ผู้บังคับบัญชาและสมาชิกยุวกาชาด ได้ร่วมกิจกรรม ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทางสร้างสรรค์ รู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม การจัดงานวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย ประจำปี 2566 ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อระลึกถึงบุคคลสำคัญผู้ก่อตั้งกิจการยุวกาชาดขึ้นในประเทศไทย 2.2 เพื่อให้ผู้บังคับบัญชายุวกาชาดและสมาชิกยุวกาชาด ตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของการเป็น สมาชิกยุวกาชาด มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทางสร้างสรรค์ รู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม 2.3 เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยุวกาชาดต่อเนื่องเพิ่มมากขึ้น


77 3. เป้าหมายโครงการ • ผลผลิต (Output) 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ร่วมทำกิจกรรมเพื่อระลึกถึงบุคคลสำคัญผู้ก่อตั้งกิจการยุวกาชาดขึ้น ในประเทศไทย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 2. ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 ตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของการเป็นสมาชิกยุวกาชาด มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทางสร้างสรรค์ รู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม • ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้ร่วมทำกิจกรรมเพื่อระลึกถึงบุคคลสำคัญผู้ก่อตั้งกิจการยุวกาชาดขึ้น ในประเทศไทย 2. ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของการเป็นสมาชิกยุวกาชาด มีระเบียบ วินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทางสร้างสรรค์ รู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม 3. ผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยุวกาชาดต่อเนื่องและเพิ่มมากขึ้น 4. ผลที่คาดว่าจะเกิด 4.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้ร่วมทำกิจกรรมเพื่อระลึกถึงบุคคลสำคัญผู้ก่อตั้งกิจการยุวกาชาดขึ้น ในประเทศไทย 4.2 ผู้เข้าร่วมโครงการได้ร่วมทำกิจกรรมตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของการเป็นสมาชิก ยุวกาชาด มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทาง สร้างสรรค์ รู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม 4.3 ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยุวกาชาดต่อเนื่องและเพิ่มมากขึ้น 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 5.1.1 ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ร่วมทำกิจกรรมเพื่อระลึกถึงบุคคลสำคัญผู้ก่อตั้งกิจการ ยุวกาชาดขึ้นในประเทศไทย 5.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของการเป็นสมาชิก ยุวกาชาด มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้แสดงออกในทาง สร้างสรรค์ รู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ เจ้าหน้าที่ ผู้บังคับบัญชาและสมาชิกยุวกาชาด ได้เข้าร่วมในกิจกรรมงานวันคล้ายวันสถาปนา ยุวกาชาดและร่วมระลึกถึงบุคคลสำคัญผู้ก่อตั้งกิจการยุวกาชาดขึ้นในประเทศไทย ตระหนักในคุณค่า และความสำคัญของการเป็นสมาชิกยุวกาชาด มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้นำ รู้รัก สามัคคี ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกในทางสร้างสรรค์ รู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม มีการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนยุวกาชาดต่อเนื่องและเพิ่มมากขึ้น


78 6. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ ผู้บังคับบัญชายุวกาชาด สมาชิกยุวกาชาด และเจ้าหน้าที่ จากสถานศึกษาที่เปิดสอนกิจกรรม ยุวกาชาด ในจังหวัดนครปฐม จำนวน 350 คน 7. วิธีการดำเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. - ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค. - มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. - มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค. - ก.ย.) กิจกรรมที่ 1 จัดทำโครงการ/ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมตามโครงการฯ กิจกรรมที่ 4 ประเมินผลโครงการ สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน - - - - - - 40,000 - - - - - - - - - รวมวงเงิน (บาท) - 40,000 - - 8. ระยะเวลาดำเนินการ (วัน/เดือน/ปี) มกราคม 2566 9. สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 10. งบประมาณ 40,000 บาท (สี่หมื่นบาทถ้วน) ขอถัวจ่ายทุกรายการ งบประมาณจากสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตผู้ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน งบรายจ่ายอื่น รายการค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อสร้างพื้นฐาน แก่ผู้เรียนด้านการศึกษา 4 ด้าน ระดับจังหวัด หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 1 จัดทำโครงการ/ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (20 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) - ค่าอาหารกลางวัน (20 คน x 110 บาท x 1 มื้อ) กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมตามโครงการฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมกิจกรรม (350 คน x 35 บาท x 1 มื้อ) - ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรม (350 คน x 80 บาท x 1 มื้อ) กิจกรรมที่ 4 ประเมินผลโครงการ สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน - 1,000 2,200 12,250 28,000 - รวมทั้งสิ้น 43,450 ขอเบิกเพียง 40,000


79 11. การวิเคราะห์ความเสี่ยง 11.1 ความเสี่ยง : 11.1.1 โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19) อาจทำให้จำนวนสถานศึกษาและผู้เข้าร่วม กิจกรรมไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 11.1.2 สถานศึกษามีกิจกรรมมาก ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกกิจกรรม เนื่องจาก นักเรียนต้องเดินทางออกนอกสถานศึกษา และมีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง 11.1.3 ระหว่างการดำเนินกิจกรรมอาจมีผู้เจ็บป่วย ประสบอุบัติเหตุหรือได้รับบาดเจ็บ 11.2 การบริหารความเสี่ยง : 11.2.1 ประสานสถานศึกษาที่เป็นสถานที่จัดกิจกรรมสำรองไว้ 11.2.2 ติดตามมาตรการ ระเบียบ ข้อบังคับและหลักการปฏิบัติจากกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดให้มีการมาตรการป้องกัน ได้แก่ การตรวจวัดอุณหภูมิ การสวมใส่หน้ากากอนามัย ตั้ง จุดแอลกอฮอล์สำหรับล้างมือ การเว้นระยะห่างเพื่อความปลอดภัย 11.2.3 จัดให้มีหน่วยพยาบาล เครื่องมือปฐมพยาบาลและยารักษาโรค 12. กลุ่มงานรับผิดชอบ กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม


80 4.3.2 โครงการนิเทศการจัดกิจรรมยุวกาชาดในสถานศึกษา ประจำปี 2566 แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ งบเงินอุดหนุน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (1) เป้าหมาย คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 (2) ประเด็น การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (10) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม (1) เป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ (Y2) คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามและมีความรัก และภูมิใจ ในความเป็นไทยมากขึ้น นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต สังคมไทยมีความสุขและเป็นที่ ยอมรับของนานาประเทศมากขึ้น (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและเสริมสร้างจิตสาธารณะและการเป็นพลเมืองดี (3) เป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1) คนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความพร้อมในทุกมิติตามมาตรฐานและสมดุล ทั้งด้าน สติปัญญา คุณธรรม จริยธรรม มีจิตวิญญาณที่ดี เข้าใจในการปฏิบัติตนปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น ความสอดคล้องห่วงโซ่คุณค่าฯ (Value Chains) ของเป้าหมายแผนแม่บทย่อย (1) ชื่อองค์ประกอบ (V) : V03 สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและสติปัญญา (2) ชื่อปัจจัย (F) : F0303 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( พ.ศ. 2566 – 2570) หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (2566-2570) นโยบายและแผนความมั่นคงที่..........................................................-.............................................................. นโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย นโยบายเร่งด่วนที่ 7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เป้าหมายที่ 4 ด้านการศึกษา (Goals) เป้าหมายย่อยที่ (Target)................................................................................................................................ นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดี แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและเป็นพลเมืองดี มีจิตอาสา น้อมนำศาสตร์ พระราชา


81 1. หลักการและเหตุผลความจำเป็น แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 กำหนดวิสัยทัศน์ คือ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ ซึ่งใน ข้อ 3 เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึก กำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสอดรับกับกิจกรรม ยุวกาชาด ที่เป็นกิจกรรมพัฒนาประเทศผู้เรียนกิจกรรมหนึ่ง ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบ วินัย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสังคมไทยและความมีจิตสำนึกในการทำประโยชน์ให้แก่สังคม ซึ่งกิจกรรม ยุวกาชาดยังเน้นในเรื่องของทักษะและกระบวนในรูปของระบบหน่วย กลุ่ม หมู่ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะเกี่ยวกับปฏิบัติตามหลักการกาชาดและยุวกาชาด สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ตระหนักและเล็งเห็นว่าเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนกิจกรรม ยุวกาชาดในสถานศึกษามีคุณภาพ บุคลากรควรมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการจัดกิจกรรม ยุวกาชาด ตระหนักในความสำคัญของกิจกรรมยุวกาชาด จึงได้จัดทำโครงการนิเทศการจัดกิจกรรมยุวกาชาด ในสถานศึกษา ประจำปี 2566 ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชายุวกาชาดในสังกัด มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ ประสบการณ์ที่จะ นำไปใช้ในการจัดกิจกรรมยุวกาชาด รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญในกระบวนการของกิจกรรมยุวกาชาดให้เป็นไป ตามอุดมการณ์ของกาชาด 2.2 เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุวกาชาด ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ติดตาม ช่วยเหลือ แนะนำ แก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในการกลเรียนการสอนยุวกาชาด 2.3 เพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชายุวกาชาดและเกิดเครือข่ายความร่วมมือส่งเสริม พัฒนากิจกรรมยุวกาชาด 3. เป้าหมายโครงการ • ผลผลิต (Output) ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุวกาชาดที่เข้ารับการนิเทศ ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะที่ถูกต้องและสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถจัดกิจกรรม ยุวกาชาดและบริหารงานยุวกาชาดในหมู่ยุวกาชาดโรงเรียนของตนเองได้ถูกต้อง • ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุวกาชาด ที่เข้ารับการนิเทศ มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ ที่ถูกต้องและสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถจัดกิจกรรมยุวกาชาด และบริหารงานยุวกาชาดในหมู่ยุวกาชาดโรงเรียนของตนเองได้ถูกต้อง 4. ผลที่คาดว่าจะเกิด 4.1 ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชายุวกาชาด มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ ประสบการณ์ที่จะนำไปใช้ ในการจัดกิจกรรมยุวกาชาด ตระหนักถึงความสำคัญในกระบวนการของกิจกรรมยุวกาชาดให้เป็นไปตามอุดมการณ์ ของกาชาด


82 4.2 ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชายุวกาชาด ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ติดตาม ช่วยเหลือ แนะนำ แก้ไข ปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในการจัดการเรียนการสอนยุวกาชาด 4.3 ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชายุวกาชาด เกิดขวัญกำลังใจ ทำให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือส่งเสริม พัฒนากิจกรรมยุวกาชาด และมีโรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยุวกาชาดเพิ่มมากขึ้น 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุวกาชาด ในจังหวัดนครปฐมที่จัดการเรียนการสอนกิจกรรม ยุวกาชาด จำนวน 22 โรงเรียน 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุวกาชาด ที่เข้ารับการนิเทศ มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ ที่ถูกต้องและสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถจัดกิจกรรมยุวกาชาด และบริหารงานยุวกาชาดในหมู่ยุวกาชาดโรงเรียนของตนเองได้ถูกต้อง 6. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บังคับบัญชายุวกาชาด ในจังหวัดนครปฐม รวมจำนวน 22 โรงเรียน 7. วิธีการดำเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. - ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค. - มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. - มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค. - ก.ย.) กิจกรรมที่ 1 จัดทำโครงการ/ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ กิจกรรมที่ 3 สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน - - - - 9,600 - - - 400 - - - รวมวงเงิน (บาท) - 9,600 400 - 8. ระยะเวลาดำเนินการ (วัน/เดือน/ปี) มกราคม - มิถุนายน 2566 9. สถานที่ดำเนินการ สถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดนครปฐม 10. งบประมาณ 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ขอถัวจ่ายทุกรายการ งบประมาณจากสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตผู้ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและ กิจการนักเรียน งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนโครงการชุมนุมยุวกาชาดและกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ ยุวกาชาดเฉลิมพระเกียรติ หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 1 จัดทำโครงการ/ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการนิเทศการจัดกิจกรรม ยุวกาชาดในสถานศึกษา ประจำปี 2566 2.1 ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (10 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) 500


83 หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) 2.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการนิเทศการจัดกิจกรรมยุวกาชาดฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (60 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) - ค่าตอบแทนวิทยากร (4 คน x 1.5 ชม. x 600 บาท) - ค่าเกียรติบัตร (60 ใบ x 15 บาท) - ค่าห้องประชุม - ค่าพาหนะ กิจกรรมที่ 4 ประเมินผลโครงการ สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน - ค่าถ่ายเอกสาร 3,000 3,600 900 1,000 600 400 รวมทั้งสิ้น 10,000 11. การวิเคราะห์ความเสี่ยง 11.1 ความเสี่ยง : 11.1.1 โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid -19) อาจทำให้จำนวนสถานศึกษาและผู้เข้าร่วม กิจกรรมไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 11.1.2 ระหว่างการดำเนินกิจกรรมอาจมีผู้เจ็บป่วย ประสบอุบัติเหตุหรือได้รับบาดเจ็บ 11.2 การบริหารความเสี่ยง : 11.2.1 ประสานสถานศึกษาที่เป็นสถานที่จัดกิจกรรมสำรองไว้ 11.2.2 ติดตามมาตรการ ระเบียบ ข้อบังคับและหลักการปฏิบัติจากกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดให้มีการมาตรการป้องกัน ได้แก่ การตรวจวัดอุณหภูมิ การสวมใส่หน้ากากอนามัย ตั้งจุดแอลกอฮอล์สำหรับล้างมือ การเว้นระยะห่างเพื่อความปลอดภัย 11.2.3 จัดให้มีหน่วยพยาบาล เครื่องมือปฐมพยาบาลและยารักษาโรค 12. กลุ่มงานรับผิดชอบ กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม


84 4.3.3 โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ประจำปี พ.ศ. 2566 แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ งบรายจ่ายอื่น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (1) เป้าหมาย คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 (2) ประเด็น การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (10) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม (1) เป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ (Y2) คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามและมีความรัก และภูมิใจในความเป็นไทยมากขึ้น นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต สังคมไทย มีความสุขและเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศมากขึ้น (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและเสริมสร้างจิตสาธารณะและการ เป็นพลเมืองดี (3) เป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1) คนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความพร้อมในทุกมิติ ตามมาตรฐานและสมดุล ทั้งด้านสติปัญญา คุณธรรม จริยธรรม มีจิตวิญญาณที่ดี เข้าใจในการปฏิบัติตน ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น ความสอดคล้องห่วงโซ่คุณค่าฯ (Value Chains) ของเป้าหมายแผนแม่บทย่อย (1) ชื่อองค์ประกอบ (V) : V03 สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและสติปัญญา (2) ชื่อปัจจัย (F) : F0303 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( พ.ศ. 2566 – 2570) หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (2566-2570) นโยบายและแผนความมั่นคงที่........................................................-................................................................ นโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย นโยบายเร่งด่วนที่ 7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เป้าหมายที่ 4 ด้านการศึกษา (Goals) เป้าหมายย่อยที่ (Target).............................................................-................................................................... นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดี แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและเป็นพลเมืองดี มีจิตอาสา น้อมนำศาสตร์พระราชา


85 1. หลักการและเหตุผลความจำเป็น ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายกรพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดี ในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีความสามารถในการแก้ไข ปัญหา ปรับตัว สื่อสารและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล นอกจากนี้สอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 10 การปรับเปลี่ยนค่านิยม และวัฒนธรรม แผนแม่บทย่อย 10.1 การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและการเสริมสร้าง จิตสาธารณะและการเป็นพลเมืองที่ดี การส่งเสริมให้คนไทย มีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม สร้างจิตสาธารณะและจิตอาสาโดยใช้ประโยชน์ จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร เพื่อรับผิดชอบต่อส่วนรวม สร้างเสริมผู้นำ การเปลี่ยนแปลงและต้นแบบที่ดีทั้งระดับบุคคลและองค์กร โดยมีเป้าหมายคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความ พร้อมในทุกมิติตามมาตรฐานและสมดุลทั้งด้านสติปัญญา คุณธรรม จริยธรรม มีจิตวิญญาณที่ดี เข้าใจในการ ปฏิบัติตน ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมดีขึ้น ประกอบกับพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ได้กำหนดให้กระทรวงศึกษาธิการ รับผิดชอบ หมวด 7 การส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ซึ่งมีหน้าที่หลักในการส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล คุ้มครอง ช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษา ตลอดจนการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม อีกทั้งภารกิจการส่งเสริม ป้องกัน แก้ไขและคุ้มครองความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ซึ่งเป็นภารกิจของสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน ข้อ 3) ส่งเสริมการป้องกัน แก้ไขและคุ้มครอง ความประพฤตินักเรียน นักศึกษา และข้อ 4) ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการดำเนินการเกี่ยวกับการ คุ้มครองสิทธิของนักเรียน นักศึกษา และประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง จัดตั้งศูนย์เสมารักษ์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2561 เพื่อเป็นศูนย์กลางในการประสานงานส่งเสริม ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาในจังหวัด รองรับนโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนการส่งเสริมความ ประพฤตินักเรียนและนักศึกษาของคณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ทั้งระดับกระทรวง และระดับจังหวัด ตลอดจนภารกิจงาน ที่เกี่ยวข้องกับกิจการนักเรียนและนักศึกษาที่จะต้องดำเนินการและบูรณา การให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลยิ่งขึ้น ซึ่งศูนย์เสมารักษ์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดต้องขับเคลื่อนงาน ด้านการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาให้เป็นไปตามภารกิจ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมสนับสนุน การดูแลช่วยเหลือ คุ้มครอง ป้องกัน แก้ไข ความประพฤติและคุ้มครองสิทธินักเรียนและนักศึกษาในระดับพื้นที่ ของศูนย์เสมารักษ์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จึงกำหนดจัดโครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ประจำปี พ.ศ. 2566 ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อกำหนดนโยบาย มาตรการ แนวทางและแผนในการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา 2.2 เพื่อให้ศูนย์เสมารักษ์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมสามารถบูรณาการและขับเคลื่อน การส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาได้อย่างเป็นระบบมีกลไกและเอกภาพในการดำเนินการ


86 2.3 เพื่อเฝ้าระวังสถานการณ์ปัญหาความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่จังหวัดนครปฐม 2.4 เพื่อส่งเสริมสนับสนุน เฝ้าระวัง คุ้มครอง และประสานบูรณาการในการป้องกันแก้ไข ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. เป้าหมายโครงการ • ผลผลิต (Output) 1. ลงพื้นที่ติดตามการเฝ้าระวัง สถานการณ์และปัญหาความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา จำนวน 15 ครั้ง 2. ผู้เข้าร่วมประชุม ร้อยละ 80 ของคณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา จังหวัด และเจ้าหน้าที่ศูนย์เสมารักษ์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง • ผลลัพธ์ (Outcome) 1. คณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจังหวัด เจ้าหน้าที่ศูนย์เสมารักษ์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีกลไกการขับเคลื่อนงานการส่งเสริม ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาให้เป็นระบบ มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลและเกิดประโยชน์สูงสุด ต่อนักเรียนและนักศึกษา 2. นักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่จังหวัดนครปฐมได้รับการปกป้อง แก้ไข คุ้มครองและส่งเสริม ความประพฤติ 4. ผลที่คาดว่าจะเกิด 4.1 คณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจังหวัด เจ้าหน้าที่ศูนย์เสมารักษ์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม และเครือข่ายพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา มีความชัดเจนในการปฏิบัติงาน มีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน และสามารถขับเคลื่อนงานการส่งเสริม ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาได้อย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ นักเรียนและนักศึกษา 4.2 นักเรียนและนักศึกษาในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ได้รับการ คุ้มครอง ป้องกัน แก้ไขปัญหาได้อย่างทันเหตุการณ์ และได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ได้อย่างทั่วถึง รวมถึงนักเรียน นักศึกษาและครอบครัว ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อประสบเหตุภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติและสถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 5.1.1 คณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจังหวัด เจ้าหน้าที่ศูนย์เสมารักษ์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน 5.1.2 ลงพื้นที่ติดตามการเฝ้าระวัง สถานการณ์และปัญหาความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา จำนวน 15 ครั้ง


87 5.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 5.2.1 คณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจังหวัด เจ้าหน้าที่ศูนย์เสมารักษ์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีกลไกการขับเคลื่อนงานการส่งเสริม ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาให้เป็นระบบ มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลและเกิดประโยชน์สูงสุด ต่อนักเรียนและนักศึกษา 5.2.2 นักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่จังหวัดนครปฐมได้รับการปกป้อง แก้ไข คุ้มครองและส่งเสริม ความประพฤติ 6. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ 6.1 นักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่จังหวัดนครปฐม 6.2 คณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา เจ้าหน้าที่ศูนย์เสมารักษ์สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดนครปฐม และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 7. วิธีการดำเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. - ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค. - มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. - มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค. - ก.ย.) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการฯ , เจ้าหน้าที่ศูนย์ เสมารักษ์ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมที่ 2 ออกตรวจ ติดตามฯ กิจกรรมที่ 3 สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน - - - 7,500 8,800 200 - - - - - - รวมวงเงิน (บาท) - 16,500 - - 8. ระยะเวลาดำเนินการ (วัน/เดือน/ปี) ตุลาคม - มีนาคม 2566 9. สถานที่ดำเนินการ ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม 10. งบประมาณ 16,500 บาท (หนึ่งหมื่นหกพันห้าร้อยบาทถ้วน) ขอถัวจ่ายทุกรายการ งบประมาณจากสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2566 แผนงาน พื้นฐาน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ งบรายจ่ายอื่น รายการค่าใช้จ่ายในการพัฒนา การส่งเสริมศักยภาพการตรวจ ติดตามความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษา หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียน และนักศึกษาจังหวัด เจ้าหน้าที่ศูนย์เสมารักษ์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม บุคลากรที่เกี่ยวข้อง - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 50 บาท x 2 มื้อ) - ค่าอาหารกลางวัน (30 คน x 110 บาท x 1 มื้อ) - ค่าห้องประชุม - ค่าวัสดุ/ถ่ายเอกสาร 3,000 3,300 1,000 200


88 หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 2 ออกตรวจ ติดตาม เฝ้าระวังสถานการณ์และปัญหา ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่จังหวัดนครปฐม - ค่าพาหนะ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าเบี้ยเลี้ยง การออกตรวจสถานที่เฝ้าระวัง สถานการณ์ กิจกรรมที่ 3 สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน - ค่าวัสดุ/ถ่ายเอกสาร 8,800 200 รวมทั้งสิ้น 16,500 11. การวิเคราะห์ความเสี่ยง 11.1 ความเสี่ยง : 11.1.1 จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมอาจไม่เป็นไปตามที่กำหนด 11.1.2 ขาดรถยนต์สำหรับออกตรวจการณ์และวิทยุสื่อสาร 11.2 การบริหารความเสี่ยง : 11.2.1 ประชาสัมพันธ์หลายๆ ช่องทาง และให้ตอบรับการเข้าร่วมประชุมในระบบ Google Forms เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว 11.2.2 ขออนุมัติใช้รถยนต์รับจ้างและรถยนต์ของหน่วยงานราชการอื่น โดยเบิกจ่ายค่าพาหนะ และค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 12. กลุ่มงานรับผิดชอบ กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม


89 4.3.4 โครงการบริหารงานและตรวจติดตามโรงเรียนเอกชนในสังกัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ งบดำเนินงาน ............................................................................................................................. ............................................. ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (1) เป้าหมาย สร้างความเป็นธรรม และลดความเลื่อมล้ำในทุกมิติ (2) ประเด็น 4.1 การลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ 4.1.7 สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสาธารณะสุข และการศึกษา โดยเฉพาะสำหรับผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม (1) เป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ (Y2) คนไทยทุกคนได้รับการคุ้มครองและมีหลักประกันทางสังคมเพิ่มขึ้น (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ 17.1 การคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐานและหลักประกันทางเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ (3) เป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1) คนไทยทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบางได้รับการคุ้มครอง และมีหลักประกันทางสังคมเพิ่มขึ้น ความสอดคล้องห่วงโซ่คุณค่าฯ (Value Chains) ของเป้าหมายแผนแม่บทย่อย (1) ชื่อองค์ประกอบ (V) : V01 นโยบาย/มาตรการด้านสวัสดิการที่ยกระดับคุณภาพชีวิตและครอบคลุม ทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย (2) ชื่อปัจจัย (F) : F0101 สวัสดิการเพื่อสร้างผลิตภาพ (Productive Welfare) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( พ.ศ. 2566 – 2570) (1) หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอเหมาะสม นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (2566-2570) นโยบายและแผนความมั่นคงที่ ....................................................-........................................................... นโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ 11 การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เป้าหมายที่ 4 ด้านการศึกษา (Goals) เป้าหมายย่อยที่ (Target)......................................................-.................................................................... นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 6. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเสมอภาค แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สนับสนุนการพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยเน้นการมีส่วนร่วม


90 1. หลักการและเหตุผลความจำเป็น ตามที่รัฐบาลมีนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของเอกชน โดยสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ได้จัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนให้แก่โรงเรียนเอกชน เพื่ออุดหนุนตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพื้นฐานตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ และเงินอุดหนุนโครงการอาหารเสริม (นม) เงินอุดหนุนรายบุคคลสำหรับนักเรียนในโรงเรียนเอกชน เพื่อให้โรงเรียนเอกชนสามารถบริหารจัดการศึกษา ในระดับต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนเอกชนที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจักต้องดำเนินการตาม ระเบียบ หลักเกณฑ์ คำสั่ง ประกาศที่กระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนกำหนด อย่างเคร่งครัดการบริหารจัดการตรงตามวัตถุประสงค์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม มีโรงเรียนเอกชน ในกำกับดูแล ที่รับเงินสนับสนุนจากภาครัฐ รวมทั้งสิ้น 45 โรง และมีหน้าที่ในการกำกับดูแล และส่งเสริม ให้โรงเรียนเอกชน ดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ เป็นไปตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการกำหนดมาตรการช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนเอกชนเป็นเงินอุดหนุนค่าหนังสือ เรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พ.ศ.2552 ประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการอุดหนุนเป็นค่าอาหารเสริม (นม) ของนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2552 และประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการอุดหนุนเป็นค่าอาหารกลางวัน พ.ศ.2552 และตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด มีหน้าที่ ส่งเสริม ประสานงาน ติดตาม ให้บริการ โรงเรียนเอกชนนอกระบบ เพื่อให้จัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ ตลอดจน กำกับ ดูแลประสาน ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชน ลดปัญหาการขาดความรู้ความเข้าใจตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน และที่เกี่ยวข้อง กลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อดำเนินการตรวจติดตามการใช้จ่ายเงินอุดหนุน ทุกประเภทของโรงเรียนเอกชน ประจำปีการศึกษา 2565 รวมถึงดำเนินการตรวจติดตามสถานะการขอจัดตั้ง การจัดการเรียนการสอน และการเลิกล้มกิจการของโรงเรียนเอกชนนอกระบบให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด พร้อมทั้งให้คำปรึกษา แนะนำ เป็นไปโดยถูกต้องตามระเบียบ กฎหมาย คำสั่ง และกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อตรวจติดตามการใช้จ่ายเงินอุดหนุนทุกประเภทของโรงเรียนเอกชนในระบบ ในสังกัดให้เป็นไป ด้วยความถูกต้องเป็นไปตามที่ระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด 2.2เพื่อตรวจติดตามสถานะของโรงเรียนเอกชนนอกระบบ (การขอจัดตั้ง การจัดการเรียนการสอนและ การเลิกล้มกิจการ) ให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด ตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 กฎหมาย คำสั่ง และกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง 3. เป้าหมายโครงการ 3.1 ผลผลิต (Output) 3.1.1 โรงเรียนเอกชนในระบบ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้จ่ายเงินอุดหนุนทุกประเภท ของโรงเรียนได้ถูกต้อง ครบถ้วน 3.1.2 โรงเรียนเอกชนนอกระบบ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดำเนินการได้ถูกต้อง ครบถ้วน


91 3.2 ผลลัพธ์(Outcome) 3.2.1 โรงเรียนเอกชนในระบบ ได้รับความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้จ่ายเงินอุดหนุนทุกประเภท ของโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมายที่กำหนด 3.2.2 โรงเรียนเอกชนนอกระบบ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมายที่กำหนด 4. ผลที่คาดว่าจะเกิด 4.1 โรงเรียนเอกชนในกำกับดูแลของ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม มีระบบการบริหารจัดการ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินอุดหนุนได้ถูกต้องตามระเบียบที่กฎหมายกำหนด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ส่งผลต่อคุณภาพของโรงเรียนและผู้เรียน 4.2 ได้ทราบปัญหา อุปสรรคในการดำเนินการเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินอุดหนุนโรงเรียนเอกชนในสังกัด เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป 4.3 การบริหารงานและการปฏิบัติงานของโรงเรียนเอกชนมีความถูกต้อง เป็นไปตามระเบียบและกฎหมาย ที่กำหนด มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน มีประสิทธิภาพสามารถอ้างอิงได้ 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 80 ของโรงเรียนเอกชนในระบบ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้จ่ายเงินอุดหนุน ทุกประเภทของโรงเรียนได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด 2. ร้อยละ 90 ของโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ได้รับความรู้ความเข้าใจ และสามารถดำเนินการได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนเอกชนในระบบ ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้จ่ายเงินอุดหนุน ทุกประเภทของโรงเรียนได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด 2. โรงเรียนเอกชนนอกระบบ ร้อยละ 95 มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดำเนินการได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบฯ กฎหมาย ที่กำหนด 6. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ 6.1 โรงเรียนเอกชนในระบบ ในสังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จำนวน 44 โรงเรียน 6.2 โรงเรียนเอกชนนอกระบบ ในสังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จำนวน 84 โรงเรียน 7. วิธีการดำเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. – ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค. – มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. – มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค. – ก.ย.) 7.1 ประชุมคณะกรรมการฯ สรุปแนวทางการ ตรวจ นิเทศ และติดตามการบริหารจัดการ โรงเรียนเอกชนทั้งในระบบและนอกระบบ - 400.- - -


92 กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. – ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค. – มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. – มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค. – ก.ย.) 7.2 ดำเนินการตรวจ นิเทศ และติดตามสถานะ ของโรงเรียนเอกชนนอกระบบในสังกัด - - 23,100.- - 7.3 ดำเนินการตรวจ นิเทศ และติดตามการ ขอรับเงินอุดหนุนการใช้จ่ายเงินอุดหนุน ทุกประเภท และการบริหารจัดการโรงเรียน เอกชนในระบบ ในสังกัด - - - 23,100.- 7.4 สรุปผลและรายงานผลการตรวจ นิเทศ และติดตามการบริหารจัดการโรงเรียนเอกชน และรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณให้ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน - - - 5,800.- 8. ระยะเวลาดำเนินการ (วัน/เดือน/ปี) : เมษายน - กันยายน 2566 9. สถานที่ดำเนินการ/พื้นที่ดำเนินการ : โรงเรียนเอกชนในจังหวัดนครปฐม 10. งบประมาณ 52,400.- บาท (ขอถัวจ่ายทุกรายการ) ได้รับสนับสนุนงบประมาณจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากแผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต : นักเรียนโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการอุดหนุน กิจกรรม : พัฒนาบุคลากร/ผู้เรียนและโรงเรียนเอกชน งบดำเนินงาน เพื่อเบิกจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการตรวจติดตามการใช้จ่ายเงินอุดหนุนของโรงเรียนเอกชนทุกประเภท ตรวจติดตามสถานการณ์ขอตั้ง การจัดการเรียนการสอน การเลิกล้มกิจการ ค่าใช้จ่ายในการประชุมผู้บริหาร โรงเรียน และค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการที่จำเป็นต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน งบประมาณรวมทั้งสิ้น 52,400.- บาท หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) งบดำเนินงาน : 52,400.- กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการตรวจติดตามฯ (400.-) • ค่าใช้สอย • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 400.- (จำนวน 8 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท) กิจกรรมที่ 2 ตรวจ นิเทศ และติดตามสถานะของโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ในสังกัด (23,100.-) • ค่าตอบแทน - ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 8,000.- • ค่าใช้สอย - ค่าเบี้ยเลี้ยง


93 หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) (จำนวน 8 คน ๆ ละ 120 บาท จำนวน 10 วัน) 9,600.- - ค่าพาหนะเดินทางไปราชการ จำนวน 8 คน 5,000.- - ค่าจัดจ้างทำเอกสาร 500.- กิจกรรมที่ 2 ดำเนินการตรวจ นิเทศ และติดตามการขอรับเงินอุดหนุนการใช้ จ่ายเงินอุดหนุน ทุกประเภท และการบริหารจัดการโรงเรียนเอกชนในระบบ ในสังกัด (23,100.-) • ค่าตอบแทน - ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 8,000.- • ค่าใช้สอย - ค่าเบี้ยเลี้ยง (จำนวน 8 คน ๆ ละ 120 บาท จำนวน 10 วัน) 9,600.- - ค่าพาหนะเดินทางไปราชการ จำนวน 8 คน 5,000.- - ค่าจัดจ้างทำเอกสาร 500.- กิจกรรมที่ 4 สรุปผลและรายงานผลการตรวจ นิเทศ และติดตามการบริหาร จัดการโรงเรียนเอกชน และรายงานผลการ ใช้จ่ายงบประมาณให้สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน • ค่าวัสดุ - ค่าวัสดุสำนักงานและค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ 5,800.- รวมทั้งสิ้น 52,400 *ขอถัวจ่ายทุกรายการ 11. การวิเคราะห์ความเสี่ยง ความเสี่ยง 1. ผู้บริหารโรงเรียนเอกชนในระบบ มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการดำเนินการใช้จ่ายเงินอุดหนุนของโรงเรียน เอกชนในระบบ 2. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการดำเนินการใช้จ่ายเงินอุดหนุนของโรงเรียนเอกชนในระบบ 3. ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมจำกัด อีกทั้งที่ตั้งของโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ทั้งสิ้น 75 โรง อยู่ต่างพื้นที่กัน การบริหารความเสี่ยง 1. สร้างความรู้ความเข้าใจในกฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง เป็นไปตามระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. วางแผนการเดินทางเพื่อให้ทันในระยะเวลาที่กำหนด 12. กลุ่มงานรับผิดชอบ : กลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม


94 4.3.5 โครงการประชุมเครือข่ายพัฒนาการศึกษาเอกชนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ งบรายจ่ายอื่น ..................................................................................................................................................................................... ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้าน 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารภาครัฐ (1) เป้าหมาย ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส (2) ประเด็น ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเชื่อมโยงการพัฒนา ในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นที่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ (1) เป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ (Y2) บริการของรัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้บริการ (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ 20.2 การบริหารการจัดการการเงินการคลัง (3) เป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1) หน่วยงานภาครัฐบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ความสอดคล้องห่วงโซ่คุณค่าฯ (Value Chains) ของเป้าหมายแผนแม่บทย่อย (1) ชื่อองค์ประกอบ (V) : V02 การขับเคลื่อนตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ (2) ชื่อปัจจัย (F) : F0201 กลไกและช่องทางที่เอื้อให้การบูรณาการระหว่างหน่วยงานในการนำแผนหรือนโยบายไปปฏิบัติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( พ.ศ. 2566 – 2570) (1) หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (2566-2570) นโยบายและแผนความมั่นคงที่ ........-.................................................................................................... นโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ 11 การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เป้าหมายที่ 4 ด้านการศึกษา (Goals) เป้าหมายย่อยที่ (Target) ................-....................................................................................................... นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 6. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สนับสนุนการพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยเน้นการมีส่วนร่วม


95 1. หลักการและเหตุผลความจำเป็น กระทรวงศึกษาธิการ มีอำนาจหน้าที่จัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาของชาติให้สอดคล้องกับแนวนโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญและนโยบายรัฐบาล โดยแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ได้กำหนด วิสัยทัศน์ว่า “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้อง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ซึ่งมีหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน ด้านวิชาการและการประกัน คุณภาพให้กับครู ผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนเอกชน ซึ่งมีส่วนสำคัญในการร่วมพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ของประเทศ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการขับเคลื่อนการศึกษาในเชิงรุก เพื่อสร้างคุณภาพของคนไทย ให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ ประกอบอาชีพและดำรงชีวิตได้ โดยมีความใฝ่รู้และทักษะ ที่เหมาะสม เป็นคนดี มีคุณธรรม สร้างเสริมคุณภาพการเรียนรู้ ตามแนวทางในการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา จึงจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายและแนวทางดำเนินการที่ชัดเจน มีการระดมความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การจัดการศึกษาเอกชนทุกฝ่าย อาทิ ผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ครู และข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ให้ได้รับทราบนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และแนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัด เพื่อร่วมกันขับเคลื่อน การปฏิรูปการศึกษาเอกชนให้เป็นรูปธรรม ต่อไป ประกอบกับพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 กำหนดให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนมีหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ การประกันคุณภาพ การวิจัยและพัฒนา เพื่อประกันคุณภาพการศึกษาเอกชนให้กับโรงเรียนทั้งส่วนกลาง และภูมิภาค โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาจะเป็นผู้รับผิดชอบการดำเนินงานตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องในส่วนกลาง และมอบให้สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดรับผิดชอบดำเนินการในส่วนภูมิภาค โดยบูรณาการ การดำเนินงานร่วมกับคณะกรรมประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัด (ปส.กช.) จึงเห็นควรให้มีจัดประชุม ชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงานต่าง ๆ ในส่วนกลาง และการประชุมคณะกรรมการประสานและส่งเสริม การศึกษาเอกชนจังหวัด เพื่อถ่ายทอดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานสู่การปฏิบัติในระดับจังหวัด เพื่อให้การ ส่งเสริมการศึกษาเอกชนมีความเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงเพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมระดม ความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการศึกษาเอกชนต่อไป กลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อประชุมคณะกรรมการประสานและส่งเสริม การศึกษาเอกชนจังหวัดเพื่อถ่ายทอดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานสู่การปฏิบัติในระดับจังหวัด เพื่อให้การ ส่งเสริมการศึกษาเอกชนมีความเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงเพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมระดม ความคิดเห็นและเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชนต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลและสร้างการมีส่วนร่วมของเอกชนในการจัดการศึกษาของรัฐบาล ตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน 2.2 เพื่อจัดประชุมขับเคลื่อนการดำเนินงานของคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน ตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน


96 3. เป้าหมายโครงการ 3.1 ผลผลิต (Output) 3.1.1 คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดนครปฐม ทั้งในระบบและนอกระบบ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาเอกชน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในนโยบายการจัดการศึกษาเอกชน ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ 3.1.2 ผู้เข้าร่วมประชุม มีส่วนร่วมระดมความคิดเห็นและเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการศึกษา เอกชน เพื่อให้มีประสิทธิภาพ 3.2 ผลลัพธ์(Outcome) 3.2.1 ผู้เข้าร่วมประชุม มีความรู้ ความเข้าใจ ในนโยบายการจัดการศึกษาเอกชนตามนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธิการ 3.2.2 ผู้เข้าร่วมประชุมได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 3.2.3 โรงเรียนเอกชนในสังกัด ได้มีเครือข่ายให้การช่วยเหลือ กำกับ ดูแล ส่งเสริมการจัดการศึกษา เอกชนให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน 4. ผลที่คาดว่าจะเกิด 4.1 เครือข่ายทางการศึกษาเอกชน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในนโยบายการจัดการศึกษาเอกชน ตามนโยบายของของกระทรวงศึกษาธิการ 4.2 เครือข่ายทางการศึกษาเอกชน ได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อนำไปใช้ในการกำหนดแนวทาง ขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการศึกษาเอกชนตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน 4.3 โรงเรียนเอกชนในสังกัด มีเครือข่ายให้การช่วยเหลือ กำกับ ดูแล ส่งเสริมการจัดการศึกษาเอกชน ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ เชิงปริมาณ คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดนครปฐม ทั้งในระบบและนอกระบบ และคณะทำงาน รวม 40 คน เชิงคุณภาพ 1. คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน ร้อยละ 90 รับทราบนโยบายและแนวทาง การดำเนินงานสู่การปฏิบัติในระดับจังหวัด 2. คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน ร้อยละ 90 มีส่วนร่วมสามารถระดม ความคิดเห็นและเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชนให้มีความเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพ 6. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ 6.1 คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดนครปฐม จำนวน 14 คน 6.2 คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนนอกระบบจังหวัดนครปฐม จำนวน 16 คน


97 7. วิธีการดำเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. – ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค. – มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. – มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค. – ก.ย.) 7.1 ประชุมคณะกรรมการประสานและส่งเสริม การศึกษาเอกชนจังหวัดนครปฐม ทั้งในระบบ และนอกระบบ ผู้บริหาร ครูและบุคลากร ทางการศึกษาเอกชน - - 14,900.- - 7.2 สรุปและจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน - - - 100.- 8. ระยะเวลาดำเนินการ (วัน/เดือน/ปี) : เมษายน - กันยายน 2566 9. สถานที่ดำเนินการ/พื้นที่ดำเนินการ : โรงเรียนเอกชนในจังหวัดนครปฐม 10. งบประมาณ 15,000.- บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ) ได้รับสนับสนุนงบประมาณจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากแผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต : นักเรียนโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการอุดหนุน กิจกรรม : พัฒนาบุคลากร/ผู้เรียนและโรงเรียนเอกชน งบรายจ่ายอื่น เพื่อเบิกจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมเครือข่ายพัฒนาการศึกษาเอกชน งบประมาณรวมทั้งสิ้น 15,000.- บาท หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) งบดำเนินงาน : 15,000.- กิจกรรมที่ 1 จัดการประชุมคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน (14,900.-) • ค่าตอบแทน •ค่าวิทยากร 1,000.- • ค่าใช้สอย - ค่าห้องประชุม 500.- - ค่าอาหารกลางวัน 10,000.- (จำนวน 40 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 250 บาท) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2,000.- (จำนวน 40 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท) - ค่าจัดจ้างทำเอกสาร 400.- • ค่าวัสดุ - วัสดุสำนักงานและวัสดุคอมพิวเตอร์ 1,000.-


98 หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 2 สรุปและจัดทำรายงานผลการดำเนินงานให้สำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (100.-) • ค่าใช้สอย - ค่าห้องประชุม 100.- รวมทั้งสิ้น 15,000.- *ขอถัวจ่ายทุกรายการ 11. การวิเคราะห์ความเสี่ยง ความเสี่ยง : คณะผู้เข้าร่วมประชุมฯ ไม่ให้ความสำคัญกับการประชุมส่งผลให้ไม่เข้าร่วมประชุม ตาม วัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด การบริหารความเสี่ยง : สร้างความรู้ ความเข้าใจ และติดต่อประสานงานให้คณะผู้เข้าประชุมรับรู้ รับทราบถึงประโยชน์ในการดำเนินการครั้งนี้ 12. กลุ่มงานรับผิดชอบ : กลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม


99 4.3.6 โครงการการส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กระทรวงศึกษาธิการในระดับจังหวัด แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ งบรายจ่ายอื่น ............................................................................................................................. ............................................. ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้านความมั่นคง (1) เป้าหมาย ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข (2) ประเด็น 4.1 รักษาความสงบภายในประเทศ 4.1.2 การพัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันของชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (01) ความมั่นคง (1) เป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ (Y2) ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุขดีขึ้น (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การรักษาความสงบภายในประเทศ (3) เป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1) คนไทยมีความจงรักภักดี ซื่อสัตย์พร้อมธำรงไว้ซึ่งสถาบันหลักชาติ สถาบันศาสนา เป็นที่เคารพ ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนไทยสูงขึ้น ความสอดคล้องห่วงโซ่คุณค่าฯ (Value Chains) ของเป้าหมายแผนแม่บทย่อย (1) ชื่อองค์ประกอบ (V01) : การตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ (2) ชื่อปัจจัย (F0103) : ความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสถาบันหลักของชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( พ.ศ. 2566 – 2570) (1) หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (2566-2570) นโยบายและแผนความมั่นคงที่ 1 การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ นโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เป้าหมายที่ 4 ด้านการศึกษา (Goals) เป้าหมายย่อยที่ (Target)................................................................-.................................................................. นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 …………………………………………………………………… -……………………………………………………………………………………… แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกาเพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมือง แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและเป็นพลเมืองดี มีจิตอาสา น้อมนำศาสตร์ พระราชา


100 1. หลักการและเหตุผลความจำเป็น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานร่วมสนองพระราชดำริในการดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กระทรวงศึกษาธิการ (อพ.สธ.-ศธ) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะเยาวชน นักเรียน นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพืชพรรณไม้ และการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชของประเทศ ตระหนักถึงความสำคัญ และประโยชน์ของการอนุรักษ์ทรัพยากรที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมหาชนชาวไทย กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดำเนินการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามกรอบกิจกรรมของ อพ.สธ.-ศธ โดยเน้นการดำเนินการ 1) กิจกรรมศูนย์ข้อมูล ทรัพยากร 2) กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด มีหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุน ติดตาม การบูรณาการ และขับเคลื่อนการดำเนินงานตามขั้นตอน อพ.สธ. และ ดำเนินการเรื่องรับสมัครและการตรวจสอบเอกสาร ในระดับจังหวัด 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีของสถานศึกษาในระดับพื้นที่ 2.2 เพื่อขับเคลื่อนการขับเคลื่อนการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีของสถานศึกษาในระดับจังหวัด 3. เป้าหมายโครงการ • ผลผลิต (Output) สถานศึกษาดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริฯ ในระดับจังหวัด • ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้บริหาร ครู และนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในระดับจังหวัด 4. ผลที่คาดว่าจะเกิด 4.1 สถานศึกษาสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯเพิ่มขึ้น 4.2 สถานศึกษาที่เป็นสมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริฯอย่างต่อเนื่อง 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ สถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการได้รับสนับสนุน กำกับติดตามการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากรพระราชดำริฯ ในระดับจังหวัด 5.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ สถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากรพระราชดำริฯ ในระดับจังหวัดและเข้าร่วมโครงการ


101 6. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ สถานศึกษาสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ เพิ่มขึ้น 7. วิธีการดำเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. - ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค. - มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. - มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค. - ก.ย.) กิจกรรมที่ 1 : จัดประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการ ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในระดับ จังหวัด - - 4,800 - กิจกรรมที่ 2 : นิเทศ ติดตามสถานศึกษาที่เป็นสมาชิกงาน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม พืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในระดับจังหวัด - - 4,700 - กิจกรรมที่ 3 : สรุปรายงานผลการขับเคลื่อนการ ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนฯ ในระดับจังหวัด - - 1,200 - รวมวงเงิน (บาท) - - 9,500 - 8. ระยะเวลาดำเนินการ (วัน/เดือน/ปี) ระหว่างเดือนตุลาคม 2565 ถึง กันยายน 2566 9. สถานที่ดำเนินการ จังหวัดนครปฐม 10. งบประมาณ 9,500 บาท (*ถัวจ่ายทุกรายการ) พร้อมระบุรายละเอียดงบประมาณ หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 1 : จัดประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในระดับจังหวัด 4,800 ค่าใช้สอย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (50 บาท x 30 คน x 1 มื้อ) 1,500 - ค่าอาหารกลางวัน (110 บาท x 30 คน x 1 มื้อ) 3,300 กิจกรรมที่ 2 : นิเทศ ติดตามสถานศึกษาที่เป็นสมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในระดับจังหวัด 3,500 ค่าใช้สอย - ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พัก และพาหนะ 3,500 กิจกรรมที่ 3 : สรุปรายงานผลการขับเคลื่อนการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนฯ ในระดับจังหวัด 1,200 ค่าใช้สอย - ค่าถ่ายเอกสาร/จัดทำรูปเล่ม/อื่น ๆ 1,200 รวมทั้งสิ้น 9,500


102 11. การวิเคราะห์ความเสี่ยง ความเสี่ยง : สถานศึกษายังไม่มีความรู้ ความเข้าใจการดำเนินการในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในระดับจังหวัด การบริหารความเสี่ยง : สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมจัดประชุมเชิงปฏิบัติขับเคลื่อน การดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในระดับ จังหวัด 12. กลุ่มงานรับผิดชอบ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม


103 4.3.7 โครงการการบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการ โดยผ่านการมีส่วนร่วมของ กศจ. แผนงาน ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ งบดำเนินงาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (1) เป้าหมาย ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส (2) ประเด็น ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ พัฒนาประเทศ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ (1) เป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ (Y2) บริการของภาครัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้บริการ (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ 20.3 การปรับสมดุลภาครัฐ (3) เป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1) เปิดโอกาสให้ภาคส่วนต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณะและกิจกรรม อย่างเหมาะสม ความสอดคล้องห่วงโซ่คุณค่าฯ (Value Chains) ของเป้าหมายแผนแม่บทย่อย (1) ชื่อองค์ประกอบ (V) : V02 การมีส่วนร่วมที่เหมาะสม (2) ชื่อปัจจัย (F) : F0201 เวทีรับฟังความคิดเห็นของทุกภาคส่วน ในการพัฒนาระบบราชการด้านต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( พ.ศ. 2566 – 2570) หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (2566-2570) นโยบายและแผนความมั่นคงที่........................................................-.................................................................... นโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการป้องกันปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เป้าหมายที่ 4 ด้านการศึกษา (Goals) เป้าหมายย่อยที่ (Target)....................................................................................................................................... นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 6. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สนับสนุนการพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยเน้นการมีส่วนร่วม


104 1. หลักการและเหตุผลความจำเป็น ตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ และให้มีสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการบริหารและจัดการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด การปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ นโยบาย และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่าง ๆ และตามคำสั่งคณะกรรมการ ขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ที่ 629/2560 ลงวันที่ 8 พฤษภาคม 2560 ข้อ 7 ในแต่ละจังหวัด ให้มีคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เรียกโดยย่อว่า กศจ. ให้มีอำนาจ หน้าที่ตามข้อ 8 และ (9) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานตามความจำเป็นเพื่อช่วยเหลือ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ซึ่งประกอบด้วยคณะอนุกรรมการ จำนวน 3 คณะ คือ คณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด คณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์และคณะอนุกรรมการ เกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม จึงจัดทำโครงการการบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการ โดยผ่านการมีส่วนร่วมของ กศจ. ขึ้น เพื่อดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด คณะอนุกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัด คณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ และคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนา การศึกษา เพื่อปฏิบัติภารกิจตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการบริหารและจัดการศึกษา ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค หรือตามที่ได้รับมอบหมาย 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อปฏิบัติภารกิจตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการบริหารและจัดการศึกษาตามแนว ทางการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค หรือตามที่ได้รับมอบหมาย 2.2 เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด(กศจ.) 2.3 เพื่อจัดประชุมคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด(อกศจ.) 2.4 เพื่อจัดประชุมคณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ 2.5 เพื่อจัดประชุมคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา 3. เป้าหมายโครงการ 3.1 ผลผลิต (Output) 3.1.1 จัดประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) จำนวน 8 ครั้ง 3.1.2 จัดประชุมคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด(อกศจ.) จำนวน 6 ครั้ง 3.1.3 จัดประชุมคณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์จำนวน 4 ครั้ง 3.1.4 จัดประชุมคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา จำนวน 4 ครั้ง 3.2 ผลลัพธ์ (Outcome) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ปฏิบัติภารกิจตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับ การบริหารและจัดการศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค หรือตามที่ได้รับมอบหมาย


105 4. ผลที่คาดว่าจะเกิด 4.1 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม มีความเข้มแข็งในการบริหารการจัดการแบบมีส่วนร่วม และหลักธรรมาภิบาล 4.2 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม มีแนวทางการบริหารและจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต่อการพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครปฐม ส่งผลให้การบริหารจัดการศึกษาของจังหวัด นครปฐม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น 5. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 5.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) เชิงปริมาณ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐมจัดประชุมได้ ร้อยละ 80 ของเป้าหมายการจัดประชุมรวมทุกคณะ เชิงคุณภาพ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ปฏิบัติภารกิจตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับ การบริหารและจัดการศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค หรือตามที่ได้รับมอบหมาย 5.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม มีแนวทางในการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) โดยการกลั่นกรองของคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ทั้ง 3 คณะ ส่งผล ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารจัดการศึกษาของจังหวัดนครปฐม 6. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม และคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 7. วิธีการดำเนินงาน กิจกรรมและงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. - ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค. - มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. - มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค. - ก.ย.) กิจกรรมที่ 1 : จัดประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการ จังหวัด (กศจ.) จำนวน 8 ครั้ง 63,700 (2 ครั้ง) 63,700 (2 ครั้ง) 63,700 (2 ครั้ง) 63,700 (2 ครั้ง) กิจกรรมที่ 2 : จัดประชุมคณะอนุกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัด (อกศจ.) จำนวน 6 ครั้ง 13,450 (1 ครั้ง) 26,900 (2 ครั้ง) 26,900 (2 ครั้ง) 13,450 (1 ครั้ง) กิจกรรมที่ 3 : จัดประชุมคณะอนุกรรมการบริหาร ราชการเชิงยุทธศาสตร์จำนวน 4 ครั้ง 16,370 (1 ครั้ง) 16,370 (1 ครั้ง) 16,370 (1 ครั้ง) 16,370 (1 ครั้ง) กิจกรรมที่ 4 : จัดประชุมคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับ การพัฒนาการศึกษา จำนวน 4 ครั้ง -14,650 (1 ครั้ง) 14,650 (1 ครั้ง) 14,650 (1 ครั้ง) 14,650 (1 ครั้ง) รวมวงเงิน (บาท) 108,170 121,620 121,620 108,170


106 8. ระยะเวลาดำเนินการ (วัน/เดือน/ปี) ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566 9. สถานที่ดำเนินการ ศาลากลางจังหวัดนครปฐม, สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 10. งบประมาณ 434,400 บาท (*ถัวจ่ายทุกรายการ) พร้อมระบุรายละเอียดงบประมาณ หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) กิจกรรมที่ 1 : จัดประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) จำนวน 8 ครั้ง 254,800 ค่าตอบแทน - ค่าเบี้ยประชุม กศจ. - ประธานกรรมการ (1 คน x 2,000 บาท x 8 ครั้ง) 16,000 - รองประธานกรรมการ (1 คน x 1,800 บาท x 8 ครั้ง) 14,400 - กรรมการ เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ (16 คน x 1,600 บาท x 8 ครั้ง) 204,800 ค่าใช้สอย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (25 คน x 1 มื้อ x 50 บาท x 8 ครั้ง) 10,000 - ค่าพาหนะกรรมการ 9,600 กิจกรรมที่ 2 : จัดประชุมคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (อกศจ.) จำนวน 6 ครั้ง 80,700 ค่าตอบแทน - ค่าเบี้ยประชุม อกศจ. - ประธานอนุกรรมการ (1 คน x 1,250 บาท x 6 ครั้ง) 7,500 - อนุกรรมการ เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ (10 คน x 1,000 บาท x 6 ครั้ง) 60,000 ค่าใช้สอย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (20 คน x 1 มื้อ x 50 บาท x 6 ครั้ง) 6,000 - ค่าพาหนะอนุกรรมการ (2 คน x 600 บาท x 6 ครั้ง) 7,200 กิจกรรมที่ 3 : จัดประชุมคณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ จำนวน 4 ครั้ง 65,480 ค่าตอบแทน - ค่าเบี้ยประชุมประธานอนุกรรมการ (1 คน x 1,250 บาท x 4 ครั้ง) 5,000 - ค่าเบี้ยประชุมอนุกรรมการ เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ (10 คน x 1,000 บาท x 4 ครั้ง) 40,000 ค่าใช้สอย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (20 คน x 1 มื้อ x 50 บาท x 4 ครั้ง) 4,000 - ค่าพาหนะอนุกรรมการ (2,800 บาท x 4 ครั้ง) 11,200 - ค่าเบี้ยเลี้ยง (11 คน x 120 บาท x 4 ครั้ง) 5,280 กิจกรรมที่ 4 : จัดประชุมคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา จำนวน 4 ครั้ง 58,600 ค่าตอบแทน - ค่าเบี้ยประชุมประธานอนุกรรมการ (1 คน x 1,250 บาท x 4 ครั้ง) 5,000


107 หมวดงบรายจ่าย งบประมาณ (บาท) - ค่าเบี้ยประชุมอนุกรรมการ เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ (10 คน x 1,000 บาท x 4 ครั้ง) 40,000 ค่าใช้สอย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (20 คน x 1 มื้อ x 50 บาท x 4 ครั้ง) 4,000 - ค่าพาหนะอนุกรรมการ (2,400 บาท x 4 ครั้ง) 9,600 รวมทั้งสิ้น 459,580 *หมายเหตุ ขอเบิกจ่ายตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร 11. การวิเคราะห์ความเสี่ยง ความเสี่ยง : มีการเปลี่ยนแปลงนโยบาย เกิดความไม่ชัดเจนในภารกิจ บทบาท อำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด และคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ก่อให้เกิดความล่าช้า และความเข้าใจ คลาดเคลื่อนในการจัดประชุมแต่ละครั้ง ซึ่งอาจทำให้สูญเสียงบประมาณในการจัดประชุม การบริหารความเสี่ยง : สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ศึกษาทำความเข้าใจในระเบียบ ข้อบังคับแนว ปฏิบัติประกาศ คำสั่ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจน ก่อนจัดประชุม/นำเสนอวาระต่อคณะกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัด และคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด 12. กลุ่มงานรับผิดชอบ กลุ่มอำนวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล กลุ่มพัฒนาการศึกษา และกลุ่มนโยบายและแผนสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม


108 4.3.8 โครงการนครปฐมร่วมใจ สร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา แผนงาน ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์งบดำเนินงาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (1) เป้าหมายข้อที่ 2 สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (2) ประเด็นหลักที่ 6 สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (11) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชีวิต (1) เป้าหมายระดับประเด็นแผนแม่บทฯ (Y2) สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การพัฒนาคนช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น (3) เป้าหมายแผนแม่บทย่อย (Y1) วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้และทักษะศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์รักการ เรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสารและทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีขึ้น ความสอดคล้องห่วงโซ่คุณค่าฯ (Value Chains) ของเป้าหมายแผนแม่บทย่อย (1) ชื่อองค์ประกอบ (V) : V01 การพัฒนาทักษะชีวิต (2) ชื่อปัจจัย (F) : F 0102 หลักสูตรทักษะชีวิตรอบด้านและภูมิคุ้มกันทางสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( พ.ศ. 2566 – 2570) (1) หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (2566-2570) นโยบายและแผนความมั่นคงที่ - นโยบายรัฐบาล นโยบายหลักที่ 8 กระปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกวัยรุ่น เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เป้าหมายที่ 4 ด้านการศึกษา (Goals) เป้าหมายย่อยที่ (Target) - นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและเป็นพลเมืองดีมีจิตอาสา น้อมนำศาสตร์ พระราชา


109 1. หลักการและเหตุผลความจำเป็น กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 11 การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) และนโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เรื่อง การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑ และพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) โดยเฉพาะ หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคตเผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับ การพัฒนาในทุกมิติ ทั้งในด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัยและมีสมรรถณนะที่สำคัญ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนดหลักการสำคัญในการประกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไว้ดังนี้ 1. สร้างความเชื่อมั่น ไว้วางใจให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนและประขาชน โดยให้ทุกหน่วยงาน นำรูปแบบการทำงานโดยบูรณาการการทำงานร่วมกัน และปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใสความรับผิดชอบ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน 2. สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดำเนินการตามภารกิจด้วยความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กรประชาชน และประเทศชาติ โดยให้ความสำคัญกับการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ผ่านกลไกการรับฟังความคิดเห็น มาประกอบการดำเนินงานที่เป็นประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา 3. การดำเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่ประกาศและแถลงการณ์ไว้แล้วเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2564 เพื่อมุ่งเน้นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาคการศึกษาที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนและ ประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ นโยบายจุดเน้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 1.1 เร่งสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นของสังคม และป้องกันจากภัยคุกคาม ในชีวิตรูปแบบใหม่ และภัยอื่น ๆโดยมีการดำเนินการตามแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่าง ๆอย่างเข้มข้น รวมทั้งดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการ ดำเนินการและแสวงหาสถานศึกษาที่ดำเนินการได้ดีเยี่ยม (Best Practice) เพื่อปรับปรุง พัฒนาและขยายผลต่อไป 1.2 เร่งปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวช้อง โดยบูรณาการอยู่ในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวก และสร้างสรรค์พร้อมทั้งหาแนวทางวิธีการปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและบุคลากร ทางการศึกษา 1.3 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึง ประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้นในอนาคต


Click to View FlipBook Version