The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัด สพฐ.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นคร เจือจันทร์, 2021-11-04 02:25:35

คู่มือการปฏิบัติงานของ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัด สพฐ.

คู่มือการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัด สพฐ.

การรักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ปรากฏในมาตรา ๖๘
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ วรรคหน่ึง
บัญญัติว่า “ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ถ้า
ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใดว่างลง หรือผู้ดารงตาแหน่งไม่สามารถปฏิบัติ
หน้าท่ีราชการได้ ให้ผู้มีอานาจตามมาตรา ๕๓ ส่ังให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไป
รักษาการในตาแหน่งน้ันได้” ซ่ึงเมื่อพิจารณาแล้วจะเห็นว่า ถ้าตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา
ว่างลง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ต้องไปพิจารณาตามมาตรา ๕๔ แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ ก่อนเป็นเบ้ืองแรก คือ ให้รอง
ผู้อานวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อานวยการสถานศึกษาหลายคน ให้
ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาแต่งตั้งรองผู้อานวยการสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งรักษา
ราชการแทน แต่ถ้าไม่มีผู้ใดดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ
ราชการได้ ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งต้ังข้าราชการในถานศึกษาคนใดคน
หนง่ึ เปน็ ผรู้ กั ษาราชการแทน

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานของ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้ึน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้กับ
ข้าราชการท่ีรักษาการในตาแหน่งเกิดความม่ันใจในการปฏิบัติงาน อันจะส่งผลให้การบริหาร
จัดการสถานศกึ ษามคี ณุ ภาพ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการปฏิบัติงานของ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายในการ
ปฏิบัติงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และถูกต้องตามหลักธรรมาภิบาลต่อไป หากมี
ข้อเสนอแนะ โปรดแจ้งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานทราบ เพื่อดาเนินการ
ปรับปรุงแก้ไขหรอื เพมิ่ เตมิ ใหม้ ีความถูกต้องคบถ้วนมคี ุณภาพยิง่ ๆ ข้ึนไป

สานักงานพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนติ กิ าร
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1

2

โรงเรียนในสังกัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนมีจำนวนนักเรียนท่ีไม่มี
ผู้บริหำรสถำนศึกษำดำรงตำแหน่งอยู่ถึง 4,256 โรงเรียน สภำวะกำรขำดแคลน ผู้บริหำรที่ไม่
สำมำรถบรรจแุ ตง่ ตงั้ ผ้อู ำนวยกำรโรงเรียนทม่ี นี ักเรียนตำ่ กว่ำ 20 คน รวมถึงภำวะระหว่ำงกำรชะลอ
กำรย้ำยผู้บริหำรสถำนศึกษำตำมกลไกด้ำนกฎหมำยท้ังนี้เพ่ือให้ กำรขับเคลื่อนกลไกสำคัญด้ำน
กำรศึกษำเพ่ือกำรพฒั นำประเทศมใิ หห้ ยุดชะงัก สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน จึงมี
หนังสือด่วนท่ีสุด ที่ ศธ 04009/ว 795 ลว. 12 ก.พ. 2561 เร่ือง ให้ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกร
ทำงกำรศึกษำรักษำกำรในตำแหน่งผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำท่ีว่ำง เพื่อแต่งต้ังบุคคลให้ทำหน้ำท่ี
ขับเคลื่อนสถำนศกึ ษำระหวำ่ งท่มี ิมผี ดู้ ำรงตำแหน่งผู้อำนวยกำรในสถำนศึกษำน้ันๆ

จำกข้อมูลของสำนักพัฒนำระบบบริหำรงำนบุคคลและนิติกำร ณ วันที่ 9 มีนำคม 2561
ผู้ทำหน้ำท่ีรักษำกำรในตำแหน่ง จำนวน 4,256 คน แบ่งเป็นสังกัดสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีมัธยมศึกษำ
308 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยกำรโรงเรียนรักษำกำรในตำแหน่ง สถำนศึกษำอื่น 22 คน ,รอง
ผู้อำนวยกำรรักษำกำรในตำแหน่ง 156 คน และครูรักษำกำรในตำแหน่ง 130 คน ในส่วนสังกัด
สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำ 3,933 คน

ประกอบด้วยผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี นรกั ษำกำรในตำแหน่ง สถำนศึกษำอื่น 585 คน ,
รองผู้อำนวยกำร 116 คน และ ครูรักษำกำรในตำแหน่งผู้อำนวยกำร 3,232 คน จำกข้อมูล
ดังกล่ำวพบว่ำ กลุ่มที่ปฏิบัติหน้ำท่ีรักษำกำรในตำแหน่งผู้อำนวยกำรในจำนวนมำกที่สุด
ไดแ้ ก่ผูด้ ำรงตำแหน่งครู ซึ่งเป็นตำแหน่งท่ีมีภำระหน้ำที่หลักในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน จึง
มีควำมจำเป็นอย่ำงย่ิงท่ีจะต้องเติมเต็มศักยภำพ ในกำรบริหำรกำรศึกษำ ให้แก่ผู้รักษำกำร
ในตำแหน่งกลุ่มดังกล่ำว เพื่อให้เกิดควำมมั่นใจ และขวัญกำลังใจในกำรปฏิบัติงำน อันจะ
ส่งผลต่อคุณภำพกำรศึกษำในภำวะท่ีท้ำทำยกระแสกำรเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 ได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ ซ่ึงเป็นไปตำมพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรครูและบุคลำกร

3

1) จดั ทำนโยบำยแผนพฒั นำกำรศกึ ษำดำ้ น 5) กำกับ ตดิ ตำมประเมินผลตำมแผนงำนโครงกำร
วิชำกำร บุคคล งบประมำณบริหำรท่วั ไป

2) จดั ต้งั /รบั ผดิ ชอบกำรใชจ้ ่ำยงบประมำณ ภารกิจ อานาจ 6) ระดมทรัพยำกร ปกครอง ดูแล
3) พฒั นำหลักสูตร /จดั กำรเรยี นกำรสอน หน้าท่ี ของ บำรงุ รักษำทรพั ยส์ ินฯ
สถานศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน 7) จดั ระบบประกนั คุณภำพภำยใน
สถำนศกึ ษำ

4) ออกระเบียบ ขอ้ บงั คบั ประกำศ แนวปฏบิ ัติ 8) สง่ เสรมิ ควำมเข้มแข็งชุมชน สรำ้ งควำมสัมพนั ธ์

4

5

ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

เป็นตำแหน่งข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ตำมมำตรำ 38 ข (2) ใน
พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ พ.ศ.2547 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม
หมำยถึง บุคลำกรวิชำชีพที่รับผิดชอบกำรบริหำรสถำนศึกษำแต่ละแห่ง ทั้งของรัฐและเอกชน ซึ่ง
อำนำจหน้ำท่ีของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ตำมมำตรำ 27 พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรครูและ
บุคลำกรทำงกำรศึกษำ พ.ศ.2547 และแก้ไขเพ่ิมเติม กำหนดให้ผู้บริหำรสถำนศึกษำเป็น
ผบู้ งั คับบญั ชำของขำ้ รำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำในสถำนศึกษำ และมีอำนำจและหน้ำท่ี
ดงั ตอ่ ไปน้ี

ควบคุม ดแู ลให้กำรบริหำรงำนบคุ คลในสถำนศึกษำสอดคลอ้ งกับนโยบำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ

1 หลักเกณฑ์และวิธีกำรตำมท่ี ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนที่กำรศึกษำกำหนด (ปัจจุบัน

เปล่ยี นเปน็ ศกึ ษำธิกำรจงั หวัด ทำหนำ้ ทแี่ ทน อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำ)

2 พจิ ำรณำเสนอควำมดีควำมชอบของข้ำรำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำในสถำนศกึ ษำ

3 ส่งเสริม สนับสนุนข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำในสถำนศึกษำให้มีกำรพัฒนำอย่ำง
ตอ่ เนื่อง

4 จัดทำมำตรฐำน ภำระงำนสำหรับข้ำรำชกำรครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำในสถำนศกึ ษำ

5 ประเมินผลกำรปฏิบัตงิ ำนตำมมำตรฐำนของข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำเพ่ือเสนอ อ.
ก.ค.ศ. เขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำ

6 ปฏิบัติหน้ำท่ีอ่ืนตำมท่ีบัญญัติไว้ในพระรำชบัญญัติน้ี กฎหมำยอ่ืนหรือตำมท่ี อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นท่ี
กำรศึกษำหรือคณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำมอบหมำย

6

ดังนัน้ ผู้ปฏบิ ตั ิหน้ำทรี่ ักษำกำรในตำแหนง่ จงึ มีอำนำจหนำ้ ที่ที่ต้องศึกษำให้เกดิ
ควำมเข้ำใจซ่ึงกำรตระหนกั ถงึ บทบำทและอำนำจหนำ้ ทข่ี องตน จะเป็นเครื่องมอื สำคญั ทีเ่ อื้อ
ใหก้ ำรปฏบิ ัตงิ ำนเป็นไปด้วยควำมรำบร่ืน

ภารกจิ อานาจหน้าทข่ี องสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

1. จัดทำนโยบำยแผนพฒั นำกำรศกึ ษำด้ำนวิชำกำร บคุ คล งบประมำณบรหิ ำรทว่ั ไป
2. จดั ตัง้ /รับผิดชอบกำรใช้จ่ำยงบประมำณ
3. พฒั นำหลกั สตู ร/จัดกำรเรยี นกำรสอน
4. ออกระเบียบ ขอ้ บงั คับ ประกำศ แนวปฏบิ ตั ิ
5. กำกบั ติดตำมประเมนิ ผลตำมแผนงำนโครงกำร
6. ระดมทรัพยำกร ปกครอง ดูแลบำรุงรักษำทรัพย์สินฯ

7

แผนผังโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา

สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา

วิชาการ งบประมาณ บรหิ ารบุคคล บรหิ ารทัว่ ไป

- กำรพัฒนำหรือกำรดำเนินกำร - กำรจดั ทำแผนงบประมำณและคำขอตงั้ - กำรวำงแผนอัตรำกำลงั - กำรพฒั นำระบบและเครอื ขำ่ ย
เกย่ี วกบั กำรใหค้ วำมเหน็ กำร งบประมำณเพ่ือเสนอต่อปลัดกระทรวง - กำรจดั สรรอัตรำกำลัง ขอ้ มูลสำรสนเทศ
พัฒนำสำระหลักสตู รทอ้ งถ่นิ ศกึ ษำธกิ ำร หรอื เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำร ขำ้ รำชกำรครแู ละบุคลำกร - กำรประสำนงำนและพฒั นำ
- กำรวำงแผนงำนดำ้ นวชิ ำกำร กำรศกึ ษำขัน้ พื้นฐำน แล้วแตก่ รณี ทำงกำรศึกษำ เครอื ขำ่ ยกำรศึกษำ
- กำรจัดกำรเรียนกำรสอนใน - กำรจัดทำแผนปฏิบตั ิกำรใชจ้ ำ่ ยเงิน ตำมที่ - กำรสรรหำและบรรจแุ ต่งต้งั - กำรวำงแผนกำรบรหิ ำรงำน
สถำนศกึ ษำ ได้รบั จัดสรรงบประมำณจำกสำนกั งำน - กำรเปลีย่ นตำแหน่งให้สูงข้ึน กำรศกึ ษำ
- กำรพัฒนำหลกั สตู ร คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำนโดยตรง กำรยำ้ ยขำ้ รำชกำรครูและ - งำนวจิ ัยเพอ่ื พัฒนำนโยบำยและ
สถำนศึกษำ - กำรอนมุ ัตกิ ำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณที่ไดร้ ับ บคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ แผน
- กำรพัฒนำกระบวนกำรเรียนรู้ จดั สรร - กำรดำเนินกำรเกย่ี วกบั กำร - กำรจดั ระบบกำรบรหิ ำรและ
- กำรคัดเลอื กหนังสือ แบบเรยี น - กำรขอโอนและกำรขอเปลยี่ นแปลง เลอื่ นขั้นเงนิ เดอื น พฒั นำองคก์ ร
เพอ่ื ใชใ้ นสถำนศกึ ษำ งบประมำณ - กำรลำทุกประเภท - กำรพัฒนำมำตรฐำนกำร
- กำรรำยงำนผลกำรเบกิ จ่ำยงบประมำณ - กำรประเมนิ ผลกำรปฏบิ ัตงิ ำน ปฏิบตั งิ ำน
ฯลฯ - กำรตรวจสอบติดตำมและรำยงำนกำรใช้ - กำรดำเนินกำรทำงวนิ ยั และ - งำนเทคโนโลยีเพ่ือกำรศึกษำ
ผลผลิตจำกงบประมำณ กำรลงโทษ - กำรดำเนินงำนธุรกำร

ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ

8

ขอบข่ายและภารกจิ ของสถานศึกษา

1. งานบรหิ ารวชิ าการ

1.1 กำรพฒั นำหรอื กำรดำเนินกำรเก่ยี วกับกำรใหค้ วำมเห็นกำรพฒั นำสำระ
หลักสูตรทอ้ งถนิ่

1.2 กำรวำงแผนงำนดำ้ นวชิ ำกำร
1.3 กำรจัดกำรเรยี นกำรสอนในสถำนศึกษำ
1.4 กำรพฒั นำหลักสูตรของสถำนศึกษำ
1.5 กำรพฒั นำกระบวนกำรเรียนรู้
1.6 กำรวดั ผล ประเมนิ ผล และดำเนนิ กำรเทยี บโอนผลกำรเรยี น
1.7 กำรวจิ ัยเพื่อพัฒนำคณุ ภำพกำรศกึ ษำในสถำนศกึ ษำ
1.8 กำรพฒั นำและสง่ เสรมิ ให้มแี หล่งเรยี นรู้
1.9 กำรนเิ ทศกำรศึกษำ
1.10 กำรแนะแนว
1.11 กำรพัฒนำระบบประกนั คณุ ภำพภำยในและมำตรฐำนกำรศึกษำ
1.12 กำรส่งเสริมชุมชนใหม้ ีควำมเขม้ แข็งทำงวชิ ำกำร
1.13 กำรประสำนควำมร่วมมอื ในกำรพฒั นำวชิ ำกำรกบั สถำนศึกษำและองค์กรอน่ื
1.14 กำรสง่ เสริมและสนบั สนนุ งำนวิชำกำรแกบ่ ุคคล ครอบครวั องค์กร หนว่ ยงำน

สถำนประกอบกำรและสถำบันอืน่ ทจี่ ดั กำรศกึ ษำ
1.15 กำรจัดทำระเบยี บและแนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั งำนด้ำนวชิ ำกำรของสถำนศกึ ษำ
1.16 กำรคดั เลอื กหนังสือ แบบเรียนเพอื่ ใช้ในสถำนศกึ ษำ
1.17 กำรพฒั นำและใชส้ อ่ื เทคโนโลยเี พื่อกำรศกึ ษำ

9

2. งานบรหิ ารงบประมาณ

2.1 กำรจดั ทำแผนงบประมำณและคำขอต้งั งบประมำณเพ่ือเสนอต่อ
ปลัดกระทรวงศึกษำธกิ ำร หรอื เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน
แล้วแต่กรณี

2.2 กำรจดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ ำรใช้จ่ำยเงนิ ตำมทีไ่ ดร้ ับจดั สรรงบประมำณจำก
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำนโดยตรง

2.3 กำรอนมุ ตั กิ ำรใชจ้ ่ำยงบประมำณทไ่ี ด้รบั จดั สรร
2.4 กำรขอโอนและกำรขอเปลย่ี นแปลงงบประมำณ
2.5 กำรรำยงำนผลกำรเบกิ จำ่ ยงบประมำณ
2.6 กำรตรวจสอบตดิ ตำมและรำยงำนกำรใชง้ บประมำณ
2.7 กำรตรวจสอบตดิ ตำมและรำยงำนกำรใชผ้ ลผลิตจำกงบประมำณ
2.8 กำรระดมทรพั ยำกรและกำรลงทุนเพ่ือกำรศกึ ษำ
2.9 กำรปฏบิ ตั งิ ำนอน่ื ใดตำมท่ีไดร้ ับมอบหมำยเกีย่ วกบั กองทุนเพอื่ กำรศกึ ษำ
2.10 กำรบรหิ ำรจดั กำรทรัพยำกรเพ่ือกำรศกึ ษำ
2.11 กำรวำงแผนพสั ดุ
2.12 กำรกำหนดรูปแบบรำยกำร หรอื คณุ ลักษณะเฉพำะของครภุ ณั ฑ์ หรอื

สงิ่ ก่อสรำ้ งทใี่ ช้เงนิ งบประมำณเพื่อเสนอต่อปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร หรือ
เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำน แล้วแต่กรณี
2.13 กำรพฒั นำระบบขอ้ มูลและสำรสนเทศเพอื่ กำรจัดทำและจัดหำพสั ดุ
2.14 กำรจดั หำพสั ดุ
2.15 กำรควบคมุ ดแู ล บำรงุ รักษำและจำหน่ำยพสั ดุ
2.16 กำรจัดหำผลประโยชน์จำกทรพั ยส์ นิ
2.17 กำรเบิกเงนิ จำกคลงั
2.18 กำรรับเงิน กำรเกบ็ รกั ษำเงนิ และกำรจำ่ ยเงิน
2.19 กำรนำเงินสง่ คลงั
2.20 กำรจดั ทำบัญชีกำรเงนิ
2.21 กำรจดั ทำรำยงำนทำงกำรเงินและงบกำรเงนิ
2.22 กำรจดั ทำหรอื จัดหำแบบพมิ พบ์ ญั ชี ทะเบียน และรำยงำน

10

3. งานบริหารงานบคุ คล

3.1 กำรวำงแผนอัตรำกำลงั
3.2 กำรจัดสรรอัตรำกำลังขำ้ รำชกำรครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ
3.3 กำรสรรหำและบรรจุแตง่ ต้งั
3.4 กำรเปลีย่ นตำแหนง่ ให้สูงข้นึ กำรยำ้ ยขำ้ รำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
3.5 กำรดำเนนิ กำรเกย่ี วกับกำรเลื่อนขั้นเงินเดอื น
3.6 กำรลำทกุ ประเภท
3.7 กำรประเมินผลกำรปฏิบัตงิ ำน
3.8 กำรดำเนินกำรทำงวนิ ยั และกำรลงโทษ
3.9 กำรสัง่ พกั รำชกำรและกำรส่งั ให้ออกจำกรำชกำรไว้กอ่ น
3.10 กำรรำยงำนกำรดำเนนิ กำรทำงวนิ ัยและกำรลงโทษ
3.11 กำรอทุ ธรณแ์ ละกำรร้องทกุ ข์
3.12 กำรออกจำกรำชกำร
3.13 กำรจัดระบบและกำรจัดทำทะเบียนประวัติ
3.14 กำรจัดทำ บัญชีรำยชือ่ และให้ควำมเห็นเกย่ี วกับกำรเสนอขอพระรำชทำน

เครื่องรำชอสิ รยิ ำภรณ์
3.15 กำรส่งเสรมิ กำรประเมนิ วทิ ยฐำนะข้ำรำชกำรครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ
3.16 กำรสง่ เสรมิ และยกย่องเชดิ ชูเกียรติ
3.17 กำรสง่ เสริมมำตรฐำนวิชำชพี และจรรยำบรรณวชิ ำชพี
3.18 กำรสง่ เสรมิ วินยั คุณธรรมและจรยิ ธรรมสำหรับขำ้ รำชกำรครแู ละบุคลำกร

ทำงกำรศกึ ษำ
3.19 กำรริเร่มิ ส่งเสริมกำรขอรบั ใบอนญุ ำต
3.20 กำรพัฒนำขำ้ รำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ
กำรดำเนนิ กำรท่ีเกย่ี วกับกำรบรหิ ำรงำนบคุ คล ใหเ้ ปน็ ไปตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรนั้น

11

4. งานบรหิ ารทัว่ ไป

4.1 กำรพฒั นำระบบและเครอื ข่ำยขอ้ มลู สำรสนเทศ
4.2 กำรประสำนงำนและพฒั นำเครอื ขำ่ ยกำรศึกษำ
4.3 กำรวำงแผนกำรบรหิ ำรงำนกำรศึกษำ
4.4 งำนวจิ ัยเพื่อพัฒนำนโยบำยและแผน
4.5 กำรจัดระบบกำรบริหำรและพฒั นำองค์กร
4.6 กำรพฒั นำมำตรฐำนกำรปฏบิ ัติงำน
4.7 งำนเทคโนโลยเี พอื่ กำรศึกษำ
4.8 กำรดำเนนิ งำนธรุ กำร
4.9 กำรดูแลอำคำรสถำนทแ่ี ละสภำพแวดลอ้ ม
4.10 กำรจัดทำสำมะโนผเู้ รียน
4.11 กำรรบั นกั เรยี น
4.12 กำรเสนอควำมเหน็ เก่ยี วกับเรือ่ งกำรจดั ตง้ั ยุบ รวมหรอื เลกิ สถำนศกึ ษำ
4.13 กำรประสำนกำรจดั กำรศึกษำในระบบ นอกระบบและตำมอธั ยำศัย
4.14 กำรระดมทรัพยำกรเพื่อกำรศึกษำ
4.15 กำรทัศนศกึ ษำ
4.16 งำนกจิ กำรนกั เรียน
4.17 กำรประชำสมั พนั ธง์ ำนกำรศกึ ษำ
4.18 กำรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสำนกำรจัดกำรศกึ ษำของบคุ คล ชมุ ชน องค์กร

หน่วยงำนและสถำบนั สงั คมอื่นทจี่ ัดกำรศึกษำ
4.19 งำนประสำนรำชกำรกบั ส่วนภมู ภิ ำคและสว่ นท้องถิน่
4.20 กำรรำยงำนผลกำรปฏบิ ตั ิงำน
4.21 กำรจดั ระบบกำรควบคุมภำยในหน่วยงำน
4.22 แนวทำงกำรจัดกจิ กรรมเพอื่ ปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมในกำรลงโทษนักเรียน

12

12

13

งานวิชาการเป็นภารกิจหลักของสถานศึกษา ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มุ่งให้กระจายอานาจในการบริหาร
จัดการไปให้สถานศึกษาให้มากที่สุดด้วยเจตนารมณ์ท่ีจะให้สถานศึกษาดาเนินการโดย
อิสระ คล่องตัว รวดเรว็ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น
และ การมีส่วนร่วมจากผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคั ญทาให้
สถานศกึ ษามีความเข้มแขง็ ในการบรหิ ารจัดการ สามารถพัฒนาหลกั สูตร และกระบวนการ
เรยี นรู้ ตลอดจนการวดั ผลประเมนิ ผล รวมท้ังวัดปจั จัยเก้อื หนนุ การพัฒนาคุณภาพนักเรียน
ชมุ ชน ท้องถิ่นได้อย่างมคี ณุ ภาพและมีประสิทธภิ าพ

14

15

16

17

18

การคดั เลอื กหนงั สอื แบบเรยี นเพอ่ื ใชใ้ นสถานศกึ ษา

การคัดเลือกหนังสือแบบเรียนให้กับนักเรียนตามนโยบายของรัฐ เป็นหน้าท่ีของครูผู้สอนเป็นผู้พิจารณา
คัดเลือกหนังสือตามเหตุผลเชิงคุณค่าทางวิชาการ เสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และผ่านความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทนนักเรียน) และคณะกรรมการ
สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยหนงั สือเรียนพจิ ารณาคัดเลือกจากหนังสือที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน หลกั สตู รสถานศกึ ษามีเน้อื หาสาระยากง่ายเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น ให้เลือกจากบัญชีกาหนดส่ือการเรียนรู้สาหรับ
เลือกใช้ในสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ( http://academic.obec.go.th/textbook.web)
หรือเว็บไซต์ของสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา หรือเว็บไซต์สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
(http://academic.obec.go.th หรอื http://www.obec.go.th)

สพฐ.จดั สรรงบประมาณ อนมุ ัตงิ วด
ประกาศกาหนดกรอบเวลา
คดั เลอื กตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและ
รร.แต่งตงั้ คณะกรรมการคดั เลอื กหนังสอื รายการหนังสอื ที่ สพฐ.ประกาศคัดเลือก
เรยี นประกอบดว้ ย ครู-นกั เรียน กรรมการ ตามหลกั สูตรสถานศึกษาและรายการ

สถานศึกษา ผ้ปู กครองนักเรียน หนังสอื ที่ สพฐ.ประกาศ
เบกิ จา่ ยเงินใหผ้ ขู้ ายภายใน 7 วนั

ลงบัญชีวสั ดุ

คัดเลอื กหนงั สอื

แจกหนังสอื ให้นักเรียน

รายงานผลการ
ดาเนินงาน สพท.
ตามท่ี สพฐ.กาหนด

19

20


21

ศกึ ษากฎหมายตา่ งๆ นโยบายของรฐั บาล และทีเ่ ก่ียวข้อง

วิเคราะหภ์ ารกจิ ในการวางแผนงานดา้ นวชิ าการ

รวบรวมข้อมลู นามาวเิ คราะห์ สังเคราะห์ กาหนด
เป้าหมายจัดทากรอบในการดาเนนิ งาน

ดาเนนิ การจัดทาแผนงานดา้ นวิชาการตามกรอบท่กี าหนด

ประเมินคุณภาพแผนงาน ไม่มคี ณุ ภาพ ปรับปรุงแกไ้ ข
ดา้ นวิชาการ

มีคุณภาพ

เสนอคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานพจิ ารณาเหน็ ชอบ
ผู้อานวยการสถานศกึ ษาอนมุ ัติ

แผนผังแนวทางการปฏบิ ัตงิ าน

22

23

การพัฒนาหลกั สตู รของสถานศึกษา

ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นไปตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง โดยได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน สง่ เสรมิ สถานศกึ ษาใหจ้ ัดกระบวนการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้
สังคมชุมชน มีส่วนร่วมในการกาหนดหลักสตู ร กระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งเครือข่ายและแหล่งการเรียนรู้ การ
จัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน โดยจัดให้มีดัชนีวัด คุณภาพการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้
สามารถตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาได้ทุกชัน้ ปี

แนวทางการปฏิบัติ การพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
1. การพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษา
จดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาเป็นของตนเอง
1.1 จัดให้มกี ารวจิ ัยและพัฒนาหลกั สตู รขึน้ ใชเ้ องใหท้ นั กับ สถานศกึ ษาสามารถจดั ทาหลักสูตร

การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคมและเปน็ คณะกรรมการสถานศกึ ษาใหค้ วามเหน็ ชอบ
ต้นแบบให้กับสถานศึกษาอืน่ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล
1.2 จดั ทาหลักสตู รทีม่ ่งุ เนน้ พฒั นาผเู้ รยี นให้เป็นมนษุ ย์ที่
สมบูรณ์ ท้ังร่ายกายและจิตใจ สติปัญญา มีความรู้และ ปรับปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษา
คุณธรรม สามารถอยรู่ ่วมกันกบั ผูอ้ ่นื ได้อยา่ งมคี วามสุข
1.3 จัดใหม้ วี ิชาต่างๆ ครบถว้ นตามหลักสตู รแกนกลาง แผนผงั แนวทางการปฏิบตั ิงาน
สถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
1.4 เพมิ่ เติมเนอื้ หาสาระของรายวชิ าให้สูงและลึกซ้งึ มากข้ึน
สาหรบั กล่มุ เป้าหมายเฉพาะ ไดแ้ ก่ดา้ นศาสนา ดนตรี
นาฏศิลป์ กีฬา อาชวี ศึกษา การศกึ ษาทสี่ ง่ เสรมิ ความ
เปน็ เลิศผบู้ กพรอ่ ง พกิ าร และการศึกษาทางเลอื ก
1.5 เพม่ิ เติมเน้ือหาสาระของรายวิชา ทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพ
ปัญหา ความต้องการของผ้เู รียนกบั ผปู้ กครอง ชุมชน

สังคมและม่งุ ส่คู วามเปน็ สากล

2. สถานศึกษาสามารถจดั ทาหลกั สตู ร การจดั กระบวนการเรียนรู้ การสอนและอ่ืนๆ ให้เหมาะสมกับความสามารถของ
ผเู้ รยี นตามกลุ่มเปา้ หมายพิเศษ

3. คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ให้ความเห็นชอบหลกั สูตรสถานศึกษา
4. นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล และปรบั ปรุงหลักสตู รสถานศึกษาและรายงานผลให้สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา

รับทราบ

เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง
- ค่มู ือการบริหารโรงเรียน ในโครงการพฒั นาการบรหิ ารรปู แบบนิตบิ ุคคล สานกั นโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พื้นฐาน สพฐ.
กระทรวงศึกษาธกิ าร

24

การจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา

การเรยี นรู้เปน็ กระบวนการทีท่ าใหเ้ กดิ พฤติกรรม เปลย่ี นไปจากเดมิ อนั เปน็ ผลจากการฝึกประสบการณ์ แตม่ ใิ ชผ่ ล
จากการตอบสนองตามธรรมชาติ เชน่ สญั ชาตญาณ หรอื วุฒภิ าวะ หรือจากการเปลยี่ นแปลงช่ัวคราวของรา่ งกาย ตอ้ งส่งเสรมิ
ใหค้ รจู ดั ทาแผนการเรียนรู้ ตามสาระและหน่วยการเรยี นรู้ โดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั สง่ เสรมิ ใหค้ รจู ัดกระบวนการเรียนรตู้ าม
กลุ่มสาระและหน่วยการเรยี น ส่งเสริมใหค้ รจู ัดการเรียนการสอนโดยจดั เนอื้ หาสาระและกิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับความสนใจ
ความถนดั ของผู้เรียน

แนวทางการปฏบิ ัติ การจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา
จดั ทาแผนการเรยี นรู้
การจดั การเรยี นรู้การสอนในสถานศึกษา จัดการเรยี นการสอน
ใช้สอื่ /แหล่งเรยี นรู้
1. จัดทาแผนการเรยี นรู้ทุกลุ่มสาระการเรียนรู้ การวิจัย/พฒั นา
2. จดั การเรียนการสอนวัดผลและประเมนิ ผลทกุ กลุ่มสาระการ
เรยี นรู้ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การสง่ เสริมพัฒนาความเป็นเลิศ
3. ใชส้ ื่อการเรยี นการสอนและแหลง่ เรยี นรู้
4. จัดกิจกรรมพัฒนาห้องสมุด หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารต่างๆ ใหเ้ อ้ือตอ่
การเรยี นรู้
5. ส่งเสรมิ การวิจยั และพฒั นาการเรยี นการสอนทุกกลมุ่ สาระ
การเรยี นรู้
6. ส่งเสรมิ การพฒั นาความเป็นเลศิ ของผูเ้ รียน ชว่ ยเหลอื

ผูเ้ รยี นพกิ าร ดอ้ ยโอกาสและผเู้ รียนมคี วามสามารถพเิ ศษ

แผนผงั การปฏิบตั ิงาน

เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง
- คมู่ อื การบริหารโรงเรยี น ในโครงการพฒั นาการบรหิ ารรปู แบบนติ บิ ุคคล สานักนโยบายและแผนการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ

25

การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้

กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ตอ้ งส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนสามารถพฒั นา คานึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลและพัฒนาการ
ทางสมอง เนน้ ใหค้ วามสาคญั ทงั้ ความรแู้ ละคณุ ธรรม ผู้สอนตอ้ งพยายามคดั สรรกระบวนการเรียนรู้ การออกแบบการเรยี นรู้ ที่
สอดคล้องกับศักยภาพและบริบทของผู้เรียน การกาหนดบทบาทของตัวผู้สอนและผู้เรียน การใช้ส่ือการเรียนการสอนที่
หลากหลาย การออกแบบการวัดผลและประเมินผล เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ทั้งแปด
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ และนาไปส่กู ารพัฒนาสมรรถนะทีส่ าคญั ของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์

แนวทางการปฏบิ ตั ิ การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้

การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้

1. จัดเนอื้ หาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจและ จดั เนื้อหาสาระและ ฝกึ ทักษะกระบวนการ
ความถนัดของผูเ้ รยี นโดยคานงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล กิจกรรม
2. ฝึกทกั ษะกระบวนการคดิ การจัดการการประเมินสถานการณ์

และการประยกุ ตค์ วามรู้ มาใชเ้ พ่ือป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา จัดกจิ กรรมใหก้ บั ผเู้ รยี น จดั กิจกรรมการเรียน
3. จัดกิจกรรมให้ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ฝกึ การ การสอน
ปฏบิ ตั ิให้ทาได้ คดิ เป็น ทาเปน็ รกั การอา่ น และเกิดการใฝร่ ู้อย่าง

ตอ่ เนื่อง สง่ เสริมสนบั สนนุ จดั สภาพแวดลอ้ มแหง่
4. จดั การเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ดา้ นต่างๆ การเรยี นรู้
อย่างได้สดั สว่ นสมดลุ กัน รวมทั้งปลูกฝงั คณุ ธรรม คา่ นยิ มทด่ี งี าม

และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคไ์ วใ้ นทุกวชิ า

5. ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผสู้ อนสามารถจดั บรรยากาศ ศกึ ษาค้นคว้า พัฒนารูปแบบการจดั การเรยี นรู้
สภาพแวดล้อม สอ่ื การเรยี นการสอน และอานวยความสะดวก

เพื่อใหผ้ ้เู รยี นเกิด การเรียนรู้ และมคี วามรู้ รวมท้งั สามารถใช้การ

วจิ ัยเปน็ สว่ นหนึง่ ของกระบวนการเรียนรูท้ งั้ นีผ้ สู้ อนและผเู้ รียน แผนผงั การปฏิบตั ิงาน
อาจเรียนรูไ้ ปพร้อมกัน จากส่อื การเรยี นการสอนและแหล่ง

วิทยาการ

6. จดั การเรียนร้ใู หเ้ กดิ ขน้ึ ไดท้ ุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกบั บดิ า มารดาและบุคคลในชุมชนทกุ ฝ่าย เพอื่

ร่วมกันพฒั นาการเรยี นตามศกั ยภาพ

7. ศกึ ษาค้นคว้าพฒั นารปู แบบ หรือการออกแบบกระบวนการเรยี นรูท้ ก่ี ้าวหนา้ เพ่ือเปน็ ผ้นู ากระบวนการจดั การเรยี นรู้ เพ่อื

เปน็ ตน้ แบบใหก้ บั สถานศึกษาอนื่

เอกสารที่เกย่ี วข้อง
- คมู่ อื การบริหารโรงเรยี น ในโครงการพัฒนาการบรหิ ารรปู แบบนติ บิ ุคคล สานักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน สพฐ.

กระทรวงศกึ ษาธิการ

26

การวดั ผล ประเมินผลและดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี น

การวัดผลประเมินผล เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล ร่องรอย หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึง
พัฒนาการ ความก้าวหน้า และตัดสนิ ผลการเรียนของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริม
ให้ผเู้ รียนเกิดการพัฒนา และเรียนรูอ้ ย่างเต็มศักยภาพ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ สามารถจัดให้มีข้ึนทั้ง
ระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา และระดับชาติ อีกทั้งในการจัดการศึกษาปัจจุบัน สภาพเศรษฐกิจ สังคม มี
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การศึกษามีหลายรูปแบบซ่ึงสามารถเทียบโอนการศึกษาในทุกระบบ ท่ีจัด
การศึกษาในปัจจุบนั

แนวทางการปฏิบัติ
1. ศกึ ษามาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ดั ของหลักสตู รสถานศึกษา
2. วัดและประเมนิ ผลตามตัวช้วี ดั ของหลักสูตรสถานศึกษา
3. การจบหลกั สูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์การจบของหลักสูตรสถานศกึ ษา
4. การเทียบโอนหลักสตู รกรณีโอนยา้ ยสถานศกึ ษา
5. การแก้ไขผลการเรียน 0, ร, มส, มผ และการเรียนซา้
6. การจัดทาเอกสาร ปพ. 1-7
7. อนมุ ตั ิการจบหลกั สตู ร
8. รายงานผลการจบการศึกษา(ปพ.2) ไปยงั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา (ป.6 ม.3 และ ม.6) และ

รายงานไปยังสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน (รายงานเฉพาะ ม.3 และ ม.6)

27

ศึกษาหลักสูตร การเทียบโอน
สถานศึกษา

จัดการเรียนรู้

วัดและประเมินผลการเรยี นรู้

ระหว่างภาค / ปลายภาค

ผา่ น ตดั สินผล ไมผ่ า่ น
แก้ไขผลการเรยี น
ผ่านเกณฑก์ ารจบหลักสูตร ผา่ น ไม่ผา่ น
จดั ทาเอกสาร(ปพ.1-7)
อนุมัตกิ ารจบหลักสตู ร สพฐ. (ม.3 และ ม.6)
เขตพืน้ ที่การศึกษา (ป.6 ม.3 และ ม.6)
รายงาน (ปพ.2)

แผนผังแนวทางการปฏิบตั ิ

เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง

1. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551
2. ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการวดั และประเมนิ ผลตามหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพื้นฐานของ

สถานศึกษา

28

การวิจยั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในสถานศกึ ษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 24 (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอน
สามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดลอ้ ม สื่อการเรียน และอานวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมี
ความรอบรู้ โดยท้ังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้ง
การสง่ เสริมใหผ้ ้สู อนสามารถวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกบั ผูเ้ รียนในแต่ระดับการศกึ ษา

แนวทางการปฏิบตั ิ
1. กาหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวจิ ยั เปน็ สว่ นหน่ึงของกระบวนการเรยี นรู้ และกระบวนการทางาน
ของผู้เรียน ครู และผ้เู กยี่ วข้องกบั การศึกษา
2. พฒั นาครแู ละผ้เู รยี นให้มคี วามรู้เกย่ี วกบั การปฏริ ปู การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวจิ ัยเปน็ สาคัญ ในการ
เรียนรทู้ ่ีซับซ้อนข้ึน ทาใหผ้ ูเ้ รียนได้ฝึกการคิด การจดั การ การหาเหตุผลในการตอบปญั หา การผสมผสาน
ความรู้แบบสหวิทยาการ และการเรยี นรใู้ นปญั หาท่ีตนสนใจ
3. พฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการวจิ ยั
4. รวบรวมและเผยแพร่ผลการวจิ ยั เพอ่ื การเรียนรู้และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา รวมทั้งสนบั สนุนใหค้ รูนา
ผลการวิจัยมาใช้ เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรูแ้ ละพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
5. มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2552 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

29

ศึกษาวเิ คราะห์ หลักเกณฑ์ ระเบยี บ มาตรฐาน แนวคดิ
ทฤษฎี เกี่ยวกบั การวิจัยเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

ภายในสถานศกึ ษา

สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครู ดาเนินการวิจัยเกีย่ วกับรปู แบบ เทคนคิ และวธิ ีการ พฒั นา
คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา

นเิ ทศ ตดิ ตาม

ประเมินผลการ ไม่มคี ณุ ภาพ
ดาเนินงานเพ่ือคดั เลอื ก
รูปแบบ เทคนิค วธิ กี าร ปรบั ปรุงแกไ้ ข

มคี ุณภาพ

สรุป/นาเสนอผลการวจิ ัย/
เผยแพร่

แผนผงั แนวทางการปฏบิ ัติ

เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง
1.คมู่ อื การบริหารโรงเรียนในโครงการพฒั นาการบริหารรปู แบบนิติบคุ คล
2. พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม
3. กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีการกระจายอานาจการบรหิ ารและจัดการศึกษา พ.ศ.2550

30

งานการพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหลง่ เรียนรู้

แนวคดิ

แหลง่ เรยี นรู้ คือแหลง่ ข้อมลู ข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ท่สี นับสนุนสง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นใฝ่
เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรูแ้ ละเรียนรดู้ ว้ ยตนเองตามอัธยาศยั อยา่ งกวา้ งขวางและต่อเนื่อง เพื่อเสรมิ สร้างให้
ผเู้ รยี นเกดิ กระบวนการเรียนรู้ และเปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้

แนวทางการปฏบิ ัติ

1. สารวจจัดทาทะเบยี นแหล่งการเรยี นรู้ สิ่งแวดลอ้ มทางการศึกษา และภูมิปญั ญาท้องถ่ิน
2. จดั ทาเอกสารสรปุ แหลง่ เรยี นร้สู ่งิ แวดล้อมทางการศึกษา และภูมปิ ัญญาท้องถนิ่
3. ดาเนนิ การสนบั สนุน ส่งเสรมิ และกากับการใช้ประโยชน์แหล่งเรียนรู้ และเผยแพร่
4. ติดตามประเมนิ ผลการใชแ้ หล่งเรยี นรู้ หากผลการประเมนิ ไม่ผา่ นหรอื ไมบ่ รรลเุ ป้าหมายตามที่
สถานศึกษากาหนด ใหด้ าเนินการประชุม วเิ คราะห์สภาพและปัญหา เพ่ือ สรุปเป็นแนวทางในการพัฒนาครงั้
ตอ่ ไป
5. สรุปและรายงานผล

31

สารวจ/จัดทาทะเบียนแหล่งเรยี นรู้ ประสานหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ฯ (กรณีเป็นแหล่งเรยี นรนู้ อกสถานศกึ ษา)

จัดทาเอกสารสรุปแหลง่ เรียนรู้

สนับสนุน สง่ เสรมิ และกากับการใชป้ ระโยชน์

ตดิ ตามประเมนิ ผล

ผา่ น ผลการประเมิน ไมผ่ ่าน

สรุปและรายงานผล ประชุมคณะทางานเพอ่ื
กาหนดแนวทางพฒั นา

แผนผังแนวทางการปฏิบตั ิ

เอกสารที่เกย่ี วขอ้ ง

1. นโยบายการส่งเสรมิ สนับสนนุ แหล่งเรยี นรูแ้ ละภูมปิ ญั ญาท้องถิน่
2. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542
3. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551
4. คูม่ ือการปฏบิ ัตงิ านเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา “กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา”

32

งานการนเิ ทศการศึกษา

หลกั การและแนวคดิ ที่สาคญั ของการนเิ ทศภายใน ผนู้ เิ ทศต้องมีความร้คู วามเข้าใจหลกั การนิเทศอย่างถูกตอ้ ง
ตรงประเดน็ และชดั เจนในกระบวนการนิเทศ ท้งั น้ีกระบวนการนเิ ทศที่เกดิ ขนึ้ ต้องเป็นเชงิ ระบบ มกี าร
วางแผนในการดาเนนิ งาน โดยถือหลกั การการมสี ว่ นร่วมในการทางาน มีการดาเนินงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ และ
การนเิ ทศต้องเปน็ ไปเพือ่ การพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนของครูเปน็ สาคัญ

แนวทางปฏิบัติ รวบรวมระบบขอ้ มลู ใช้โรงเรียน
1. รวบรวม จัดทา ระบบข้อมูลสารสนเทศเกยี่ วกับ สารสนเทศ เป็นฐาน
พัฒนาระบบการนิเทศ และการจดั กระบวนการเรียนรู้
2. ศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการของการนเิ ทศและ ศกึ ษาสภาพปัญหา/ความต้องการ ใชโ้ ครงการ
การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ตอ้ งการของการนิเทศ เป็นฐาน
3. จดั ทาแผนการสง่ เสรมิ และพัฒนาระบบการนิเทศ
และการจักระบวนการเรียนรู้ จัดทาแผนส่งเสรมิ /พฒั นาระบบ
4. ดาเนนิ การนเิ ทศโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานและ การนิเทศ
โครงการเปน็ ฐาน ดงั นี้
ดาเนนิ การนิเทศ
4.1 การนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เชน่ ส่งเสรมิ
ใหห้ ัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน ฝา่ ยบรหิ ารเป็นหลกั ในการ จัดทาสรุป รายงานผล
นเิ ทศภายใน สง่ เสริมครเู ปน็ ผู้สรา้ งกลั ยาณมิตร นิเทศ เผยแพร่เทคนิคการนเิ ทศ
ภายในสง่ เสริมเครือข่ายการนิเทศครูต้นแบบ ครแู กน
นา ผ้ปู กครอง ชุมชน และภมู ิปญั ญา ส่งเสริมการนิเทศ
ภายนอก รวมทง้ั ส่งเสรมิ การนเิ ทศทม่ี ีการรวมพลงั จาก
ทกุ ฝ่าย

4.2 การนิเทศโดยใช้โครงการเป็นฐาน
5. จดั ทาสรปุ รายงานผล และเผยแพรเ่ ทคนิคการนเิ ทศ
และการจัดกระบวนการเรยี นรู้ท่ปี ระสบผลสาเร็จ

แผนผงั แนวทางการปฏิบตั ิ

เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง

1. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ
2. พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ.2546

33

งานแนะแนว

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ.2551 กาหนดให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้ในกจิ กรรมพฒั นา
ผู้เรยี น 3 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรมแนะแนว (2) กจิ กรรมนักเรยี น (3) กจิ กรรมเพอื่ สังคมและ
สาธารณประโยชน์ กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมทสี่ ่งเสริมและพัฒนาผเู้ รยี นให้รจู้ กั ตนเอง รูร้ ักษ์ส่ิงแวดล้อม
สามารถคิด ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้งั ดา้ นการเรยี น และดา้ นอาชีพ สามารถ
ปรับตนไดอ้ ย่างเหมาะสม และอยูใ่ นสงั คมอย่างมคี วามสขุ ดงั น้นั การบริหารงานแนะแนวในสถานศกึ ษาเพ่ือให้
เกดิ ประสิทธิภาพ จึงควรจดั ให้ครอบคลุมใน 3 ลักษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) การจดั บริการแนะแนวอยา่ งเปน็ ระบบ
โดยมีบริการครบ 5 บริการ และครอบคลุมงานแนะแนวทั้ง 3 ประเภท ท้ังน้ีจะต้องมกี ารกาหนดผู้รบั ผิดชอบ
อย่ใู นโครงสรา้ งการบรหิ ารของโรงเรยี น และตอ้ งมโี ครงการ แผนงาน งบประมาณทแ่ี สดงถึงการปฏิบัตงิ านที่
ตอ่ เน่อื งท้ังปี 2) การจดั กจิ กรรมแนะแนวเพ่ือพฒั นาผูเ้ รียนตามหลกั สูตร ทก่ี าหนดให้สถานศึกษาต้องจดั
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (ซึง่ แบ่งเป็นกิจกรรมแนะแนว และกิจกรรมนกั เรยี น)และถอื เปน็ ส่วนสาคัญในการจบ
หลกั สูตร 3) การประยุกต์ใช้หลักการแนะแนวและกระบวนการแนะแนว ในการจดั หลกั สูตร และพัฒนาการ
เรียนการสอน การดูแลท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั

แนวทางการปฏิบัติ
1. ศึกษาขอบข่ายงานแนะแนว และบริบทของสถานศึกษา
2. กาหนดนโยบายการจดั การศึกษา โดยเน้นสร้างความตระหนักให้ทุกคนมีส่วนร่วมในกระบวนการแนะ

แนวและการดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียน
3. จัดระบบและโครงสร้างงานแนะแนว และระบบการดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี นให้ชดั เจน
4. สง่ เสรมิ ใหค้ รูทกุ คนมีบทบาทและเห็นคณุ คา่ ของการแนะแนว และดแู ลช่วยเหลอื ผเู้ รยี น
5. ส่งเสรมิ และพฒั นาใหค้ รูได้รับความรเู้ พิ่มเติม ในเร่ืองจติ วทิ ยาและการแนะแนว และดูแลช่วยเหลือ

ผู้เรียนเพ่ือให้สามารถบรู ณาการในการจัดการเรยี นรูแ้ ละเชื่อมโยงสกู่ ารดารงชวี ิตประจาวัน
6. คัดเลือกบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถและบุคลกิ ภาพที่เหมาะสมทาหนา้ ที่ครูแนะแนว ครทู ี่

ปรึกษา ครปู ระจาช้นั และคณะอนุกรรมการแนะแนว
7. ดแู ล นเิ ทศ กากับ ติดตาม และสนบั สนนุ การดาเนนิ งานแนะแนวและดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รียนอย่างเป็น

ระบบ
8. ส่งเสริมความร่วมมือและความเข้าใจอนั ดีระหวา่ งครู ผูป้ กครอง และชมุ ชน
9. ประสานงานดา้ นการแนะแนวระหว่างสถานศกึ ษา องค์กรภาครฐั และเอกชน บา้ น ศาสนสถาน ชุมชน

ในลักษณะเครือข่ายการแนะแนว
10. เชือ่ มโยงงานแนะแนวและระบบดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รียนเพอื่ การพฒั นาศักยภาพของผู้เรยี น
11. สรุปและรายงานผล

เอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง
1. พระราชบัญญัติคุม้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546
2. พระราชบัญญตั ิมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการคา้ หญงิ และเดก็ พ.ศ. 2540
3. พระราชบัญญัตสิ ่งเสรมิ และประสานงานเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2521
4. อนสุ ญั ญาว่าดว้ ยสิทธเิ ด็ก
5. คู่มอื บริการจดั การแนะแนว พ.ศ. 2545
6. ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยสทิ ธเิ ดก็ และเยาวชน
7. คู่มือการปฏิบัตงิ านสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา “กลุ่มส่งเสริมการจดั การศกึ ษา”

34

การพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา

ระบบประกันคุณภาพการศึกษากาหนดขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพของมาตรฐานการศึกษา ซ่ึงเป็นหน้าท่ี
ของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด ต้องกาหนดให้การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการบริหารสถานศึกษา ซึ่งมี 7 ขั้นตอน คือ กาหนดมาตรฐานการศึกษา จัดระบบบริหารและ
สารสนเทศ จัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษา ดาเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษา ตรวจสอบและทบทวน
คุณภาพการศึกษา ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และจัดทารายงานคุณภาพการศึกษา
ประจาปี (SAR)

แนวทางการปฏิบัติ

1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาเพ่ิมเติมของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน มาตรฐานสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา และความตอ้ งการของชุมชน

2. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ โดยจัดโครงการสร้างการบริหารที่เอ้ือต่อการพัฒนางาน และการ
สร้างระบบประกันคุณภาพภายใน จัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ข้อมูลมีความสมบูรณ์ เรียกใช้ง่าย
สะดวก รวดเรว็ ปรับใหเ้ ปน็ ปัจจุบันอยู่เสมอ

3. จัดทาแผนสถานศกึ ษา ที่มุ่งเนน้ คุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์/แผนยทุ ธศาสตร์)
4. ดาเนนิ การตามแผนพัฒนาสถานศกึ ษา ในระบบดาเนินโครงการ/กิจกรรม สถานศึกษาต้องสร้างระบบ
การทางานท่ีเข้มแข็ง เน้นการมีส่วนร่วมและวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง (Demming) หรือท่ีรู้จักกันว่า
วงจร PDCA
5. ตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศกึ ษา โดยดาเนนิ การอย่างจริงจงั ต่อเนื่อง โดยการสนับสนุนให้ครู
ปกครองและชุมชนเข้ามีสว่ นรว่ ม
6. ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานที่กาหนดเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
7. จัดทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR) และสรุปรายงานประจาปี โดยความเห็นชอบขอ
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน เสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กัด และเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน

35

ศึกษาวิเคราะห์ หลกั เกณฑ์ ระเบยี บ มาตรฐาน
แนวคิด ทฤษฎี

เก่ียวกับการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาและ

จดั ทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
เสนอความเหน็ ชอบและประกาศ

จัดระบบบริหารและสารสนเทศใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ สมบรู ณ์ เรยี กใช้ง่าย
สะดวก รวดเรว็ ปรับให้เป็นปจั จบุ นั อยู่เสมอ

จัดทาแผนพฒั นาสถานศึกษาท่ีม่งุ เนน้ คุณภาพการศกึ ษา

ดาเนนิ การตามแผนพัฒนาสถานศกึ ษา

ตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศึกษา

ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา

จดั ทารายงานคณุ ภาพการศึกษาประจาปี (SAR) และสรุปรายงานประจาปี
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

ประเมินผลการดาเนินงาน ไมม่ ีคณุ ภาพ
มีคุณภาพ ปรบั ปรุง/แกไ้ ข

สรุปรายงานผลการดาเนินงาน จดั ทาเอกสารเผยแพร่
นาผลการประเมนิ ไปวางแผนพฒั นาทดี่ ขี ้ึน

แผนผงั แนวทางการปฏิบตั ิ
เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง

1. พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 (หมวด 6 มาตรา 47 และ 48 )
2. กฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
3. พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 (มาตร 37 (2) และมาตรา 39 (4))

36

การประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาวชิ าการกับสถานศกึ ษาและองคก์ รอื่น

การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศึกษาและองคก์ รอื่น เป็นการประสานความ
ร่วมมือ ช่วยเหลือ ในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศึกษาของรัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ทั้งที่จดั
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานและระดับอุดมศกึ ษา

แนวทางการปฏิบัติ ประสานความร่วมมือกับ วทิ ยากร
1. ประสานความร่วมมือวิทยากรภายนอก และภูมิ ภายนอก ภายนอก
ปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนทุกด้าน ภมู ปิ ญั ญา
รวมทัง้ สบื สานจารีตประเพณี ศิลปวฒั นธรรมท้องถนิ่ เสรมิ สร้างความสมั พันธ์ระหว่างสถานศึกษา ท้องถนิ่
2. เสริมสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างสถานศึกษากับ กับชมุ ชน องคก์ รภาครฐั /เอกชน
ชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรภาครัฐ และ ในประเทศ
เอกชน เพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยาการของ จัดกิจกรรมร่วมกบั ชมุ ชน ต่างประเทศ
ชุมชน และมสี ่วนในการพฒั นาชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ
3. จัดกิจกรรมร่วมกบั ชมุ ชนเพอื่ สง่ เสรมิ การพัฒนาทาง ทาบันทกึ ข้อตกลงความ
วิชาการ และวัฒนธรรมการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับ ร่วมมอื ทางวชิ าการกับ
ศิษย์เก่า การประชุมผู้ปกครอง การปฏิบัติงานร่วมกับ สถานศึกษา/องค์กรอ่นื
ชุมชน การร่วมกิจกรรมการสถาบันการศึกษาอ่ืนๆ
เปน็ ต้น
4. ทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ
สถานศึกษาและองค์กรอื่ นทั้งในประเทศและ
ตา่ งประเทศ

แผนผังแนวทางการปฏิบัติ

เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

1. พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี ก้ไขเพ่มิ เติม
2. คู่มือการบรหิ ารโรงเรยี นในโครงการพฒั นาการบรหิ ารรปู แบบนติ ิบุคคล
3. กฎกระทรวง กาหนดหลกั เกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบรหิ ารและการจดั การศึกษา พ.ศ. 2550

การพัฒนาสอื่ และเทคโนโลยที างการศึกษา

37

งานส่งเสรมิ และพัฒนาส่อื และเทคโนโลยที างการศึกษา หมายถึงการส่งเสริมในสถานศึกษา ผลิต
พฒั นา และใชส้ ่ือและเทคโนโลยที างการศึกษา รวมทงั้ การบริการสื่อเผยแพร่เทคโนโลยที างการศึกษา

แนวทางปฏบิ ัติ ศกึ ษาขอ้ มูลความตอ้ งการสื่อ
1. ศึกษาข้อมลู ความต้องการ การใช้ส่อื เทคโนโลยีใน และเทคโนโลยที างการศึกษา
การจดั การศกึ ษา
2. สง่ เสริม สนบั สนุนให้ใช้และพฒั นาส่ือและ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหใ้ ชแ้ ละพัฒนา
เทคโนโลยที างการศึกษาสาหรบั การจัดการเรยี นรู้ จัดหารบรกิ าร
3. บรกิ ารสือ่ และเทคโนโลยีทางการศึกษาใน นเิ ทศ ตดิ ตาม
สถานศกึ ษา
4. นิเทศ ตดิ ตามผลการใช้ สอ่ื และเทคโนโลยที างการ ประเมิน ปรบั ปรงุ พัฒนา
ศกึ ษาในการจัดการเรยี นรใู้ นสถานศึกษา
5. ประเมินปรับปรุง พฒั นา ระบบบรกิ ารการสง่ เสริม
การผลิตส่อื และเทคโนโลยที างการศึกษา
6. สรปุ รายงาน เผยแพร่/ประชาสมั พันธ์ส่อื และ
เทคโนโลยที างการศึกษา

สรุปรายงาน เผยแพร่
ประชาสมั พันธ์

แผนผงั แนวทางการปฏิบัติ

เอกสารที่เกย่ี วข้อง

1. คมู่ ือการบริหารโรงเรยี นในโครงการพฒั นาการบริหารรูปแบบนติ บิ ุคคล
2. คู่มือการปฏบิ ตั งิ านสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

38

39

40

41

การบริหารงานงบประมาณเป็นภารกิจที่สาคัญในการสนับสนุนกิจการต่างๆของสถานศึกษาซึ่งเป็น
การบริหารจัดการเก่ียวกับงบประมาณและสินทรัพย์รวมถึงการจัดหารายได้จากการบริการเพ่ือสนับสนุนให้
การบริหารจัดการศึกษาและการดาเนินกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนเป็นไปตามแผนงานและแผนปฏิบัติ การ
อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลโดยมีความพร้อมในการบริหารแบบมุ่งเน้นผลงานอิสระคล่องตัว
ถูกต้องตามกฎ,ระเบียบ,ข้อปฏิบัติ,ประกาศหรือมติคณะรัฐมนตรีอย่างถูกต้องทุกประการ ภายใต้ความคุ้มค่า
ประหยัด โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ตามหลกั ธรรมาภบิ าลและเกดิ ประโยชน์สูงสุดแกท่ างราชการ

ท้ังน้ีกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา
พ.ศ. 2550 ระบุอานาจหน้าที่บริหาร บริหารและจัดการศึกษาด้านงานงบประมาณไว้ 22 งานในด้าน
งบประมาณ เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารงบประมาณสาหรับผู้รักษาการในตาแหน่งให้
สามารถสง่ เสรมิ การบรหิ ารงานงบประมาณไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

42

การจัดทาแผนงบประมาณ และคาขอตง้ั งบประมาณ

งานการจัดทาแผนงบประมาณและคาขอตั้งงบประมาณ เป็นกลุ่มงานที่ ส่งเสริม สนับสนุนและ
ประสานงาน ในเชงิ นโยบายให้สถานศกึ ษาจัดการศึกษาตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาที่กาหนด มีหน้าที่
ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการจัดการศึกษา การจัดทา
นโยบายและแผนงบประมาณ การวิเคราะห์/จัดตั้งงบประมาณ ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินและรายงานผล
ปฏิบัติงานใช้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตาม ยุทธศาสตร์ โดยเน้นความโปร่งใส ทันสมัย ความ
รบั ผิดชอบทตี่ รวจสอบได้ เกดิ ประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ล ยึดหลกั การมีส่วนร่วม และการบริหารที่โดยใช้ท่ี
ใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน (School - Based Management)

แนวทางการปฏบิ ัติ การจดั ทาแผนงบประมาณ
ทบทวนภารกจิ โรงเรยี น
1) ทบทวนภารกจิ การจดั การศึกษาของสถานศึกษา ผลการดาเนินการท่ี วิเคราะห์ SWOT
ผา่ นมาและศึกษารายงานขอ้ มูลสารสนเทศทเ่ี ก่ยี วข้อง
2) วิเคราะหป์ จั จยั สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบตอ่ การจดั การศึกษาของ กาหนด (Vision) (Mission) (Goals) (Shared Value)
สถานศึกษา (SWOT) และประเมินสถานภาพของสถานศกึ ษา
3) กาหนดวิสยั ทัศน์ (Vision) พนั ธกิจ(Mission) เป้าประสงค์ (Goals) กาหนดเปา้ หมายของแผนในระยะปานกลาง (3-5ปี)
และคา่ นยิ มองค์การ(Core Value) ของสถานศึกษา ทาโครงสรา้ ง แผนงาน โครงการ โดยวิเคราะหล์ าดับความสาคญั
4) กาหนดกลยทุ ธจ์ ัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
5) กาหนดผลผลิต (Outputs) ผลลพั ธ์ (Outcomes) และตวั ช้วี ัด วพิ ากษแ์ ผน
ความสาเร็จ (KPIs) ขอความเหน็ ชอบกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
6) กาหนดเปา้ หมายของแผนในระยะปานกลาง (3-5ปี) โดยผลผลติ ซึ่ง จัดทาร่างข้อตกลงการปฏบิ ัตงิ านเมอ่ื ไดง้ บประมาณ
เปน็ ผลการปฏิบตั งิ านของสถานศึกษามคี วามสอดคล้องกับนโยบายที่
เกยี่ วขอ้ ง นาเสนอเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน
7) จดั ทารายละเอียดโครงสรา้ งของ แผนงาน/โครงการและกิจกรรมหลัก
โดยวเิ คราะหจ์ ดั ลาดับความสาคญั แผนผงั แนวทางการปฏบิ ตั งิ าน
8) ดาเนนิ การวพิ ากษแ์ ผนรบั ฟังความเหน็ จากผเู้ กย่ี วขอ้ งเพื่อปรับปรงุ
แผน
9) ดาเนนิ การขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
10) จัดทาคาขอรับงบประมาณของสถานศกึ ษาและกรอบประมาณการ
รายจา่ ยระยะปานกลางเสนอต่อเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
11) จดั ทาร่างข้อตกลงผลการปฏิบตั ิงาน ของสถานศึกษาเมอื่ ได้รบั
งบประมาณ โดยมีเปา้ หมายสอดคลอ้ งกบั แผนกลยทุ ธ์ของเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา
12) เผยแพรต่ ่อสาธารณชนและผเู้ กย่ี วขอ้ ง

เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

1. คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา กลุม่ นโยบายและแผนสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั
พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเตมิ

2. พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546
3. ระเบยี บวา่ ดว้ ยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2545
4. คาสง่ั หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติที่ 18/2560 เรอ่ื งการปฏิรูปการศกึ ษาในภมู ภิ าคของกระทรวงศกึ ษาธิการ

43

การจัดทาแผนปฏิบตั ิการใช้จา่ ยเงนิ ตามท่ไี ด้รบั จดั สรรงบประมาณ

แผนปฏิบัตกิ าร เป็นแผนประจาปของสถานศกึ ษาทแ่ี สดงใหเห็นถงึ ภารกจิ ที่จะดาเนินการในปใดปหนึ่ง
ซ่ึงมีการกาหนดเป้าหมายในการทางานท่ีต้องบรรลุในแต่ละปี เป็นแผนแยกย่อยออกมาจากแผนปฎิบัติ
ราชการระยะกลาง (แผนระยะ 3 – 5 ปี) โดยจะมีสาระสาคัญ เชนเดียวกับแผนพัฒนาดังกล่าว แตจัดทาเป็น
แผนประจาปทีล่ ะเอียด และชดั เจนข้นึ เพือ่ นาไปเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน และเปนกรอบในการจัดทาคา
ของบประมาณ รายจายประจาป รวมถงึ การรายงานผลการปฏิบัติราชการ เมื่อส้ินปงบประมาณ เป็นผลของ
การแปลงความคิดในการจะทาสิ่งต่างๆท่ีอยู่ในความคิดคนทางานให้ออกมาอยู่ในลักษณะเอกสารรูปธรรมซ่ึง
ผา่ นกระบวนการในการกลนั่ กรองแลว้ วา่ มคี วามเปน็ ไปได้ และสอดคล้องกบั เปา้ หมายในการทางานทกี่ าหนดไว้

แนวทางการปฏิบตั ิ วิเคราะหน์ โยบาย งบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรร
1) ศกึ ษา วเิ คราะห์รายละเอียดนโยบายและงบประมาณที่ ทบทวนกลยทุ ธจากหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
ไดร้ บั จดั สรรจากสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา และหน่วยงานที่
เกย่ี วขอ้ ง กาหนดเปา้ หมายสถานศึกษาในปนี ้ี
2) ทบทวนกลยุทธต์ ามแผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เพ่ือ จัดทารายละเอยี ด โครงการตามแผน
ปรบั แผนงาน/งาน/โครงการให้สอดคล้องกบั เป้าหมายผลการ วิเคราะหแ์ ละจดั ทาคาของบประมาณ
ปฏบิ ตั งิ านของ สพป/สพม/สพฐ./จังหวัด ฯลฯ
3) กาหนดเปา้ หมายการพัฒนาของสถานศึกษา นาเสนอแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี
4) จัดทารายละเอียดแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี ตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
5) วิเคราะหแ์ ละจดั ทาคาขอ งบประมาณ (Budget เผยแพร่ประชาสมั พันธ์ตอ่ สถานศกึ ษา
Allocation Phase)
5) นาเสนอแผนปฏิบตั ิการประจาปี เพื่อขอความเหน็ ชอบ และสาธารณชน
คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
6) เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธต์ ่อสถานศึกษา และสาธารณชน สนบั สนนุ ช่วยเหลอื ให้บคุ ลากรดาเนินการตามแผนปฏบิ ตั ิ
7) ดาเนนิ การบริหารแผนสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
8) สนับสนนุ ชว่ ยเหลือให้บุคลากรดาเนินการตามแผนปฏบิ ตั ิ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการดาเนนิ งาน
การประจาปี ของสถานศกึ ษา
9) ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการดาเนินงาน แผนผงั แนวทางการปฏบิ ตั งิ าน

44

การอนมุ ัติการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รบั จดั สรร

ภายหลังจากการจดั ทาแผนพัฒนา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี และการจดั ทาคาของบประมาณ
ประเภทงบลงทุน คา่ ครุภัณฑ์ และที่ดนิ ส่งิ ก่อสร้างเปน็ ที่เรียบรอ้ ยแลว้ สถานศึกษาจะได้รับการจัดสรร
งบประมาณ จึงสามารถนามาใชด้ าเนนิ การอนุมัตใิ ชจ้ ่ายตามแผนทกี่ าหนดรว่ มกนั ไว้ไดใ้ หต้ รงประเภทของเงิน
งบประมาณท่ีได้รบั ท้งั นี้ไม่ควร จัดซื้อจัดจา้ งก่อนได้รับการอนมุ ตั ิเงนิ ประจางวด และการใช้จา่ ยสงิ่ ท่ีไมต่ รง
ตามแผนท่ีกาหนดไว้ หรือการอนมุ ตั ใิ ช้เงินผิดประเภท

แนวทางการปฏิบัติ การอนมุ ตั ิการใชจ้ ่ายงบประมาณ
ทีไ่ ด้รบั จดั สรร
1.จัดทาแผนการใชง้ บประมาณรายไตรมาส โดยกาหนดปฏทิ ินการ
ทางานรายเดือนใหเ้ ป็นไปตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณแลว้ จัดทาแผนการใช้งบรายไตรมาส
สรปุ แยกเป็นรายไตรมาส แยกเป็น งบบคุ ลากร งบลงทนุ (แยกเปน็ คา่ ตามแผนปฏบิ ัติการ โดยแยกประเภทงบใหช้ ดั เจน
ครุภณั ฑ์ที่เดนิ และสิง่ กอ่ สรา้ ง) และงบดาเนินงาน
2.เสนอแผนการใชง้ บประมาณวงเงินรวมเพอ่ื ขออนมุ ตั ิเงนิ ประจางวด เสนอแผนไปยัง สพป./สพม.เพือ่ ขออนุมตั เิ งิน
ผา่ นเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาไปยัง สพฐ.เพ่ือเสนอตอ่ สานกั งบประมาณ ประจางวด
3.ดาเนนิ การเบกิ จ่ายงบประมาณประเภทตา่ งๆ ให้เป็นไปตามแผนปฏบิ ตั ิ
การประจาปีและการใช้งบประมาณของสถานศึกษา ตามประเภทและ
รายการตามทไี่ ด้รบั งบประมาณ

ข้นั ตอนการขออนมุ ตั ิเบกิ เงนิ ในสถานศึกษา ดาเนนิ การเบกิ จา่ ยงบประมาณตามประเภท โดย
เปน็ ไปตามแผนปฏิบัติการที่กาหนด
-จดั ทาบันทกึ ขออนมุ ตั จิ ดั กจิ กรรม/โครงการตามแผนเสนอ ผอ.ร.ร.
อนุมัติ - ผอ.อนมุ ตั โิ ครงการกิจกรรม การอนมุ ตั ิเบิกเงินในสถานศึกษา
-ประสานงานพัสดุ จดั ทารายงานการขอซ้อื /ขอจ้างตามแบบฟอร์มท่ี
กาหนด โดยวิธีการเปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการ บันทกึ ขออนมุ ัตจิ ดั กิจกรรม/โครงการ
จัดซื้อจัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ.2560 และระเบียบสานกั
นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ.2535 และท่ีแก้ไขเพิม่ เตมิ ระเบยี บ ผอ.อนมุ ตั ดิ าเนนิ โครงการ/กิจกรรม
อืน่ ๆท่ีเกีย่ วข้อง
-เจา้ หน้าทรี บั หลักฐานขอเบิกท่ตี รวจรบั แล้วมลี ายมอื ชือ่ ครบถว้ นและ ประสานงานพสั ดุ จัดทารายงานขอซ้อื ขอจา้ งตามระเบยี บ
บนั ทกึ ในทะเบียนคุมหลกั ฐานขอเบกิ เจ้าหนา้ ทรี บั หลกั ฐานขอเบกิ ทตี่ รวจรับแล้วมีลายมอื ช่ือ
-เจ้าหนา้ ทีตรวจสอบหลักฐานขอเบิก/ตรวจสอบงบประมาณทีได้รับ ครบถ้วนและบันทกึ ในทะเบยี นคมุ หลักฐานขอเบิก
- เจ้าหนา้ ทีจดั ทางบหน้ารายการขอเบิกและบันทกึ ขออนุมัติเบกิ เงิน
- ผอ.ร.ร.อนุมัติ เจ้าหนา้ ทีตรวจสอบหลกั ฐานขอเบิก/ตรวจสอบงบประมาณทีไดร้ ับ
- เจ้าหนา้ ทบี ันทกึ รายการวางเบกิ ในทะเบยี นคมุ เอกสารการวางเบกิ
- เจ้าหนา้ ที่เบกิ เงนิ นาสูก่ ระบวนการจ่ายเงินต่อไป

ผอ.ร.ร.อนมุ ัติให้เจ้าหน้าที่นาเอกสารมาวางเบกิ ตอ่ ไป

45

การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ

การรายงานผลการเบิกจ่าย คอื การกาหนดระบรุ ายละเอยี ดตาง ๆ เกีย่ วกับการดาเนินงานของบุคคลในหนวยงาน
ผ่านการตรวจสอบที่ดาเนินการเปนประจา หรือเปนระยะ โดยการตรวจสอบดงั กลาว ไดแก การวัดปจจัยนาเขา กระบวนการ
และผลผลิต ท่ีเกิดข้ึนในชวงระยะเวลาดาเนินงานตามแผน โดยทั่วไปมักติดตามใน ดานการจัดหา การจัดการและการนา
ทรพั ยากรของโครงการมาใชวาเปนไปตามท่กี าหนดไวในแผนและกาหนดการหรอื ไม วัตถปุ ระสงคของการ ติดตามเพ่ือรายงาน
การใช้จ่ายงบประมาณ คือ ตองการชี้ใหเห็นถึงสถานการณของโครงการ ในเร่ืองเกี่ยวกับการใช ทรัพยากร การปฏิบัติ
กิจกรรมตาง ๆ หรือผลิตผลของโครงการเพ่อื จะไดจดั การแกไขปรับปรุงสถานการณตางๆ ของโครงการให้ดาเนินการเบิกจ่าย
งบประมาณตามท่ีกาหนด ซ่ึงรายงานแตละประเภทน้ัน จะมีวิธีการนาเสนอที่แตกต่างกันออกไปในเชิงรูปแบบไม่ตายตัว ขอ
เพยี งให้ตอบโจทยว์ ่า เราไดจ้ ดั การเบิกจ่ายงบประมาณตามท่ีวางแผนไว้

แนวทางการปฏิบัติ การรายงานผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ

1.จดั ทาแผนการตรวจสอบ ติดตามการใชเ้ งินทง้ั เงนิ งบประมาณและ จดั ทาแผนการตรวจสอบ ตดิ ตามการใช้เงินเป็นรายไตรมาส
เงนิ นอกงบประมาณของสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผนปฏิบตั ิการ
ประจาปีงบประมาณและแผนการใช้งบประมาณรายไตรมาส ประสานแผนและการดาเนินตรวจสอบ ตดิ ตาม และนิเทศ
ให้เปน็ ไปตามแผนการตรวจสอบตดิ ตามของสถานศึกษา
2.ประสานแผนและดาเนนิ การตรวจสอบ ติดตาม และนิเทศให้เปน็ ไป
ตามแผนการตรวจสอบตดิ ตามของสถานศึกษา โดยเฉพาะโครงการท่ี โดยเฉพาะโครงการที่มคี วามเสย่ี งสงู
มีความเส่ยี งสงู
จัดทาผลสรปุ การตรวจสอบเพ่อื แกไ้ ขปญั หาและจดั ทา
3.จัดทาขอ้ สรปุ ผลการตรวจสอบ ตดิ ตาม และนเิ ทศ พร้อมท้ังเสนอ รายงานตามไตรมาส
ข้อปัญหาที่อาจทาให้การดาเนนิ การไม่ประสบผลสาเรจ็ เพ่ือให้
สถานศึกษาเร่งแกไ้ ขปัญหาไดท้ ันสถานการณ์ รายงานผลการดาเนินการเบกิ จา่ ยตามระเบยี บตอ่
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานเปน็ รายไตรมาส
4.รายงานผลการดาเนนิ การเบิกจา่ ยตามระเบยี บต่อคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานเป็นรายไตรมาส สรปุ และรายงานข้อมูลสารสนเทศดา้ นการเบิกจ่ายเปน็
ไตรมาสตอ่ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
5.สรุปและรายงานขอ้ มลู สารสนเทศด้านการเบกิ จ่ายเป็นไตรมาส (เชื่อมโยงกบั รายงานการเงนิ )
ต่อสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา(เชอื่ มโยงกับรายงานการเงิน)

46

การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศกึ ษา

การระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพ่ือการศกึ ษา มคี วามสาคัญในการจัดหาทรพั ยากรให้เพยี งพอต่อ
ความต้องการของสถานศกึ ษา เพื่อนาไปใชพ้ ฒั นาการศึกษา ดงั น้นั โรงเรียนจงึ จาเป็นอย่างยิ่งทจ่ี ะต้องมี
ยทุ ธศาสตรใ์ นการพัฒนาการศึกษาโดยมีภาคีเครือขา่ ย ผ้อู ุปถัมภ์ ให้มีสว่ นร่วมในการระดมทรัพยากรและ
การลงทนุ ดา้ นงบประมาณ การเงนิ และทรัพยส์ ิน ท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ชุมชน
ครอบครวั สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ สถาบนั ทางสงั คมตา่ งๆ ในและตา่ งประเทศ

แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1. การจดั ทรัพยากร
1. การจดั การทรัพยากรมแี นวทางปฏิบัติดงั นี้
ประชาสมั พันธ์ การวางระบบ
1) ประชาสัมพันธ์ให้หนว่ ยงานต่างๆในสถานศึกษา
และสถานศึกษาในเขตพืน้ ที่การศกึ ษาทราบรายการ สนับสนนุ ให้บุคลากรและ การใชท้ รพั ยากร
ทรัพยากรของสถานศึกษาเพ่ือใชท้ รัพยากรร่วมกัน สถานศึกษามีส่วนร่วม

2) วางระบบการใชท้ รพั ยากรอย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2. การระดมทรัพยากร
รว่ มกับบุคคลและหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชน
สารวจข้อมูล ศกึ ษาวเิ คราะห์แผน
3) สนับสนนุ ให้บุคลากรและสถานศึกษารว่ มมือกนั
ใช้ทรพั ยากรในชุมชนใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ กระบวนการ เสนอแผน จดั ทารา่ งแผน
จดั การเรียนการสอนของสถานศึกษา
2. การระดมทรัพยากรศึกษาวเิ คราะหก์ ิจกรรมงาน/ 3. การจัดหารายไดแ้ ละผลประโยชน์
โครงการตามกรอบประมาณการระยะปานกลาง
(MTEF) และแผนปฏิรปู มแี นวทางดังนี้ วิเคราะหศ์ กึ ษาของ จัดทาแผนงบประมาณ
สถานศึกษา
1) สารวจขอ้ มลู นกั เรียนที่มีความต้องการ
2) ศกึ ษา วิเคราะห์แหลง่ ทรพั ยากร แผนผงั แนวทางการปฏิบตั งิ าน
3) จัดทาแผนการระดมทรพั ยากรทางการศึกษาและ
ทนุ การศึกษา
4) เสนอแผนการระดมทรัพยากรทางการศกึ ษา
3. การจดั หารายไดแ้ ละผลประโยชน์
1) วเิ คราะหศ์ ักยภาพของสถานศกึ ษา
2) จัดทาแผนปฏบิ ตั กิ าร

เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง
1. คมู่ ืองานระดมทรัพยากร กล่มุ บรหิ ารงบประมาณ

47

งานวางแผนพัสดุ

งานพัสดมุ ีความสาคญั ต่อการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ดงั นน้ั การวางแผนพสั ดุจงึ มคี วามสาคัญ
อย่างยิ่งท่ีสถานศึกษาจะต้องมกี ารวางแผนพัสดเุ พื่อใหส้ ถานศกึ ษามีพสั ดุเพยี งพอต่อความต้องการของ
สถานศึกษา

แนวทางการปฏบิ ตั ิ

1. การวางแผน ตามความต้องการใชพ้ ัสดุ/งาน ของโครงการ แผนงาน งาน/โครงการ เนน้ แผนระยะส้นั คือ

แผน 1 ปี เท่านัน้

2. การกาหนดความต้องการ กาหนดตามความต้องการการใชพ้ สั ด/ุ งาน ของโครงการ แผนงาน งาน/โครงการ

3. การจัดหาพสั ดุ วธิ ีการให้ไดม้ าซึ่งพัสดุ และบริการเพ่ือใช้ในราชการ ปฏิบตั ิตามระเบียบกระทรวงการคลงั

ว่าด้วยการจดั ซือ้ จัดจ้างพัสดแุ ละการบริหารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 โดยมวี ิธกี ารดังนี้

วธิ กี ารซื้อหรอื จ้าง กระทาได้ 3 วธิ ี ดงั น้ี

1) วธิ กี ารประกาศเชิญชวนท่วั ไป

1.1 วธิ ตี ลาดอเิ ลคทรอนิกส์ (E-Market)

1.2 วธิ ปี ระกวดราคาอเิ ลคทรอนิกส์ (E-Bidding)

1.3 วิธีสอบราคา 1.วางแผน/กาหนดความต้องการ
2) วิธคี ัดเลือก

3) วธิ เี ฉพาะเจาะจง

4. การควบคุม-แจกจ่าย หมายรวมถึง

4.1 การควบคุมพสั ดุ 6.การจาหน่ายพสั ดุ 2.จดั หาพสั ดุ

4.2 การเก็บรักษาพัสดุ สถานท่เี ก็บเหมาะสม

5. การใช้งาน การบารุงรักษา พสั ดุหรอื การซ่อมบารุง 5.การใชง้ าน/บารงุ รักษา 3.การแจกจา่ ยพสั ดุ
5.1 การใช้งานอย่าง ถกู ต้อง (แนะนา) ค้มุ ค่า (เตม็

ประสิทธิภาพ) เหมาะสม (ถกู ตอ้ ง)

5.2 การบารุงรกั ษา มีความหมายเพ่ือรกั ษาสภาพ

ของพสั ดใุ ห้สามารถใช้ราชการ (งาน) ได้นานท่ีสดุ 4.การควบคุมพสั ดุ

6. การจาหน่ายพัสดุ หมายถงึ กรรมวธิ ีเพื่อลดความ

รบั ผดิ ชอบทมี่ ีต่อพัสดนุ ั้น

6.1 สาเหตขุ องการจาหน่าย แผนผังแนวทางการปฏิบัตงิ าน

6.2 วธิ กี ารจาหน่าย

6.3 การจาหนา่ ยเป็นสญู


Click to View FlipBook Version