The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัด สพฐ.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นคร เจือจันทร์, 2021-11-04 02:25:35

คู่มือการปฏิบัติงานของ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัด สพฐ.

คู่มือการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัด สพฐ.

97

สารวจข้อมลู /สรา้ งเครอื ขา่ ย
จัดทาหลกั เกณฑ์
วางแผน
ประชาสัมพนั ธ์
ประเมนิ ผล

เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
ค่มู ือการปฏิบัตงิ านสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากลมุ่ อานวยการ

งานการเผยแพร่ขอ้ มูลขา่ วสารและผลงาน

การเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารและเสรมิ สร้างความเขา้ ใจ เกีย่ วกบั กิจกรรมและผลงานของสถานศกึ ษา
และ บคุ ลากร ให้หนว่ ยงานและสาธารณชนท่วั ไปได้รบั ทราบ
แนวทางการปฏิบตั ิ

1 แตง่ ตง้ั คณะทางานศกึ ษาวิเคราะหร์ ะเบยี บกฎหมาย แผนผังการปฏิบัติงาน
แนวปฏิบัติทเ่ี กีย่ วกบั การเผยแพรข่ ้อมลู ข่าวสาร แตง่ ตง้ั คณะทางานศึกษาระเบยี บ กฎหมาย
2 จัดระบบรูปแบบการเผยแพร่ข้อมลู
3 จัดทาแผนเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสาร จดั ระบบรปู แบบการเผยแพรข่ ้อมูล
4 คดั เลอื กงานกิจกรรมประดิษฐ์ส่ือข้อมลู ขา่ วสารที่ จัดทาแผนเผยแพร่ข้อมูล
เผยแพร่
5 วิเคราะหส์ รปุ ประเดน็ ข้อมูลข่าวสารที่จะเผยแพร่ ผลติ สื่อขอ้ มูล ขา่ วสารที่จะเผยแพร่
6 เสนอผอู้ านวยการพิจารณาอนุมัติ
7 เผยแพรง่ านให้ข้อมูลขา่ วสารและผลงานให้ตรงกับ
กลุ่มเป้าหมาย
8 ติดตามประเมินผลและสรุปผล

98

วเิ คราะห์สรุปประเดน็ ข้อมูลขา่ วสาร เพ่อื เผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์

ไม่อนุมตั ิ

เสนอ ผอ.พิจารณา

อนมุ ัติ
ดาเนินการเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์

เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง ตดิ ตามประเมินผล สรปุ
คู่มือการปฏบิ ัติงานกลมุ่ อานวยการสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540

การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานงานการจัดการศกึ ษา

การสง่ เสริม สนบั สนนุ และประสานงานการจัดการศึกษาเพอื่ ให้หน่วยงาน ชุมชน ได้มสี ่วนรว่ มในการ
ส่งเสรมิ สนับสนนุ ประสานงานการจดั การศกึ ษาได้อยา่ งท่ัวถึงและมปี ระสทิ ธภิ าพ

แนวทางการปฏบิ ตั ิ

1.ศึกษาการส่งเสริม สนบั สนุนและประสานงานการจัดการศึกษา จากการบริหารงานโรงเรียนนติ บิ คุ คล
2.ประสานหน่วยงานตา่ งๆเพื่อสนบั สนุน เช่น โรงเรยี นพ่ี องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ชมุ ชน ฯลฯ
3.แต่งตงั้ ผูร้ ับผิดชอบในการดาเนินการ
4.จัดทาทะเบียนการได้รับการสง่ เสริมสนบั สนนุ และประสานงานการจัดการศึกษา
5.ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่อย่างท่วั ถงึ

แผนผังการปฏิบัติ

99

ศึกษาการสง่ เสรมิ สนับสนนุ และประสานงานการ
จดั การศกึ ษา

ประสานหนว่ ยงานตา่ งๆเพือ่
สนบั สนนุ

แตง่ ตงั้ ผ้รู ับผดิ ชอบในการ
ดาเนนิ การ

จัดทาทะเบียนการไดร้ ับการสง่ เสรมิ
สนบั สนนุ

ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่อย่างทัว่ ถงึ

เอกสารอ้างองิ
คมู่ ือการการปฏบิ ัติงานสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา กลุ่มอานวยการ และกลมุ่ บริหารท่ัวไป

การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน
ในการปฏิบัติงานน้ัน ส่ิงที่หน่วยงาน หรือสถานศึกษา คาดหวังท่ีจะได้จากองค์กร หรือ
หนว่ ยงาน คอื ผลการปฏิบัติงาน ท่ีมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล เพื่อนาผลการดาเนินงาน ไปรายงานผล
การปฏิบัตงิ านต่อผู้บงั คบั บัญชาส่วนราชการ และสาธารณชนตามลาดบั
แนวทางการปฏิบตั ิ
1. แต่งตั้งคณะทางานในการสรุปและรวบรวมผลงาน
2. อบรม มอบนโยบายแนวทางการรายงานผลงานให้คณะทางานเขา้ ใจในแนวทางเดยี วกนั
3. คณะทางานรวบรวมสรุปผลงานเป็นรูปเลม่
4. ส่งรายงานผลการดาเนนิ งานให้หนว่ ยงานและบุคคลที่เก่ียวขอ้ ง
5. สรปุ ผลและประเมินผลการทางาน

แตง่ ตง้ั คณะทางาน

อบรม/มอบนโยบาย/วางแผนงาน

สรปุ รวบรวมผลงาน

100

เอกสารทีเ่ ก่ียวข้อง
พ.ร.บ. การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่

3) พ.ศ. 2553

101

102

103

104

105

บทท่ี 6
ข้อแนะนำกำรปฏิบัติตนของผูร้ กั ษำกำร

เมื่อได้รับเกยี รตแิ ละโอกาสใหท้ าหน้าท่ี “รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน” ส่ิงท่ี
ควรคดิ เป็นอันดบั แรกคือ ยนิ ดแี ละภูมิใจ ท่ไี ด้รบั ความไวว้ างใจให้ปฏิบัติหนา้ ที่ “ผู้นา” ขององค์กร
ความยนิ ดี และความภูมใิ จ จะทาให้เรามีพลังในการปฏิบัติงาน และจะเป็นฐานสาคัญท่ีจะผลักดัน
ให้เรามีความพร้อมท้ังร่างกายและจิตใจในการเป็นแบบอย่างแก่ครู บุคลากร และนักเรียนใน
โรงเรยี นของเรา

ดังนั้นจึงขอเสนอแนะให้ผู้ท่ีได้รับตาแหน่ง “รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน”
ประพฤตปิ ฏบิ ัติงานเพ่อื เปน็ แบบอย่างท่ดี ี ดังนี้

1. การเกษียณหนังสอื
2. การลงหมายเหตรุ ายวนั
3. การกลา่ วในสถานการณแ์ ละการบรหิ ารความขัดแยง้
4. การปฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างทดี่ ี
5. การดาเนนิ การประชมุ ท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
6. การนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม (เวรยาม)
7. การประสานงาน (ภายนอก / ภายใน)
8. การสรา้ งความสมั พันธท์ ่ดี ีกับบคุ ลากรหรือหน่วยงาน (สอื่ สารสองทาง)
9. การสรา้ งขวัญกาลงั ใจแก่บุคลากร
10.การขบั เคลื่อนนโยบายสูก่ ารปฏบิ ัติ (เฉพาะกจิ )
11. การบริหารการเปล่ียนแปลง

106

1.กำรเกษยี นหนังสือ

เกษียนหนังสือ แปลว่า เขียนหนังสือ แยกเป็น เกษียน (เขียน)+หนังสือ เป็นคา
แผลงในภาษาไทย ไม่ได้เป็นคาที่มาจากภาษาสันสฤตแต่อย่างใด แต่เป็นคาสร้างข้ึนใหม่เพ่ือใช้ใน
ความหมายวา่ ขอ้ ความทเ่ี ขยี นแทรกไว้ เจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้อง หรือเลขาฯ มีวิธีเกษียนหนังสือ (บาง
ทกี เ็ รยี กว่าสรุปประเดน็ ) ดังนี้

- สรปุ เร่อื งจากหนงั สือท่สี ่งมาตดั ทอนใหเ้ หลอื เฉพาะใจความสาคัญ
- แยกสรปุ เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเนือ้ หา ส่วนขอ้ มลู เพิ่มเตมิ และสว่ นเสนอแนะ
- ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ครบถ้วนของเนือ้ หาและการใช้ภาษา
- ลงลายมอื ชอ่ื ผู้เกษียน
- ลงวนั เดอื น ปี
ผบู้ ังคับบัญชา มีวธิ เี กษียนหนังสอื ดงั นี้
- สว่ นทเ่ี ปน็ คาวินิจฉยั สั่งการ เช่น ทราบ "ดาเนินการ" "เหน็ ชอบ" "อนมุ ัต"ิ "จัด

และแจ้ง"
- สว่ นเพิ่มเตมิ คาวินิจฉยั ส่งั การ (อาจมหี รือไมม่ กี ็ได)้ เช่น อนมุ ตั ิ และใหร้ ายงาน

ผลการปฏิบตั งิ านให้รับทราบทุก 6 เดือน
- ลงลายมอื ชื่อ
- ลงวนั เดือน ปี
ขอ้ ควรคานึงสาหรับเจ้าหน้าท่ีท่เี กยี่ วขอ้ ง หรือเลขาฯ
สรุปใจความจากหนังสือต้นฉบับ ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ใช้ภาษาที่สั้น กระชับ จะพิมพ์หรือ
เขียนด้วยลายมือก็ได้ แต่ถ้าเป็นลายมือควรเขียนให้อ่านง่าย ระบุ วัน เดือน ปี ให้ตรงกับความ
เป็นจริงไม่ควรย้อนหลัง หรือล่วงหน้า เว้นไว้แต่มีเหตุผลจาเป็นจริงๆรูปแบบของการเกษียน ใช้
รูปแบบเดียวกับการบนั ทึก คอื ถงึ ใคร ขอ้ ความสรุป ลงชอ่ื ผู้เขยี น และวัน เดือน ปี ท่เี ขียน
เทคนคิ การเกษยี นของเจ้าหนา้ ท่ที ี่เกยี่ วข้อง หรือเลขาฯ
- กาหนดหมายเลขในวงกลม 1 2 3 ... กากบั เร่อื งที่เสนอขนึ้ มาตามลาดบั
- การเกษียน ใหเ้ ริ่มจากบริเวณคร่งึ หน้ากระดาษลงไปและจากซา้ ยไปขวา หากที่

ไม่พอเกษียน ใหเ้ ขียนคาว่า "โปรดพลกิ " และพลิกหนา้ ถดั ไป เรม่ิ เกษียนจาก
ส่วนบนสุดของกระดาษ ไลล่ าดับลงลา่ งและจากซ้ายไปขวาเชน่ กนั
- ขดี เส้นใต้ ในส่วนท่เี ปน็ ใจความสาคัญ
- ไมใ่ ชป้ ากกาเน้นข้อความ เนอื่ งจาก กรณีทต่ี อ้ งสาเนาหนงั สอื แจง้ ผอู้ ่นื ตอ่ ไป จะ
ทาใหค้ วามชัดเจนของตวั หนงั สือลดลง และไมน่ า่ อ่าน

107

2 กำรลงหมำยเหตุรำยวัน
สมุดหมายเหตรุ ายวนั เปน็ เอกสารท่ีมีไว้สาหรบั ผู้บริหารหรอื ผู้รักษาราชการแทนผูบ้ รหิ าร

ท่ไี ดร้ บั มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าทีแ่ ทนผูบ้ ริหารโรงเรียนจดบันทึกเหตกุ ารณส์ าคัญๆ ทเี่ กดิ ข้ึนในแต่
ละวนั ของโรงเรยี น ทคี่ วรบันทกึ ไว้ อาจมีไว้เพอ่ื เป็นหลกั ฐานอา้ งอิง เป็นข้อมูลที่มีไว้ใช้ภายในหน้า
หรอื เกบ็ เป็นความทรงจาสาหรับคนรนุ่ หลัง

แนวทำงกำรปฏบิ ตั ิ
- บนั ทึกด้วยปากกาหมกึ สีดาหรือสนี ้าเงิน
- บันทกึ เหตุการณส์ าคญั ๆทุกวันทาการและปดิ ทาการ(การระดมทรัพย์,การแกไ้ ข
หลกั ฐาน,ภยั อันตราย,การทาโทษนักเรียน,บาเหน็จความดคี วามชอบ)
- ควรบนั ทกึ หลังจากหมดเวลาราชการของแต่ละวัน
- ลงลายมอื ช่ือผู้บนั ทกึ ในแตล่ ะวัน
- ห้ามลบหรอื ใชน้ ายาลบคาผิด ให้ใช้หมกึ แดงขีดทบั ข้อความทีบ่ นั ทึกพลาด หรือเมอื่
ต้องการแก้ไขแล้วลงนามกากบั พรอ้ มวัน เดอื น ปี ย่อกากับ ที่รมิ กระดาษทุกแห่ง
- ไมม่ ีเหตกุ ารณ์ใดๆ ให้ลงว่าปกติ

3 กำรกล่ำวในสถำนกำรณ์และกำรบริหำรควำมขัดแย้ง
การพดู ในท่สี าธารณะ เป็นสิง่ ท่ีสาคญั สาหรับการเปน็ ผ้นู า เพราะนอกจากจะต้องพูดใหค้ น

ในองคก์ รรบั ฟงั ในเร่ืองของนโยบาย แนวทางการปฏิบตั ิงานและการดาเนินกิจกรรมขององค์กร
แล้ว บางคร้ังมคี วามจาเป็นต้องพูดเพ่อื ช้ีแจงความเข้าใจกบั คนนอกองคก์ รทม่ี ีส่วนเก่ียวขอ้ งหรือไม่
เก่ยี วข้องกบั องคก์ รของเรา เพ่อื ให้ภารกจิ ขององค์กรหรอื สถานศึกษาของเรา สามารถดาเนิน
กจิ กรรมตา่ งๆ สู่ความสาเรจ็ โดยเฉพาะการพดู เพอื่ โน้มน้าวใจ เชิญชวนให้บุคคลภายนอก เขา้ มามี
สว่ นร่วมในการบรหิ ารจดั การในสถานศึกษาของเรา ซง่ึ นับเป็นเร่อื งสาคัญมาก

ทสี่ าคัญคือ “ผู้นา” มกั ไดร้ บั เกียรติใหพ้ ดู หรือกล่าวในโอกาสหรอื เวทตี า่ งๆ ในฐานะผู้นา
ขององค์กร จึงต้องมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะ “การพดู ” ในสถานการณ์หรือโอกาสต่างๆ
นน่ั หมายถึง มีความพรอ้ มเสมอสาหรบั การไดร้ ับเกยี รตใิ หพ้ ดู หรอื กลา่ วในวาระโอกาสต่างๆ

แนวทำงกำรปฏิบตั ิ
- ศึกษาวธิ ีการพูดหรอื กล่าวในแต่ละสถานการณแ์ ตล่ ะโอกาสอนั ไดแ้ ก่ คาทักทาย คา
ขึ้นตน้ ใหเ้ หมาะสมกับงาน
- ประเดน็ หรือเนอื้ หาสาระ ตรงกบั สถานการณ์/โอกาส/งานนัน้
- เวลาที่เหมาะสมทใี่ ช้ในการพดู
- น้าเสียง (ดัง,หนัก,เบา)

108

- สายตา ทใี่ ชก้ ับผฟู้ ังทัว่ ถงึ ซ่ึงหมายถึงการให้เกียรตผิ ู้ฟัง
- การใช้คาทสี่ ภุ าพ นมุ่ นวล ใหเ้ กยี รตผิ ฟู้ ัง
- คาลงท้ายที่เหมาะสมหรือจบแบบประทับใจ
- มีประโยคสาคัญ/มุกตลก ขบขัน ประกอบ ก็จะสร้างความประทับใจให้กบั ผฟู้ ัง
ทง้ั น้ี ต้องมกี ารฝกึ ฝน เรยี นรู้อยู่ตลอดจะทาใหม้ ีความมนั่ ใจ ไม่ประหมา่ สามารถพูดหรอื
กลา่ วได้ในท่ีสาธารณะ ทงั้ เปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ อย่าลืมว่า บางท่ีเราอาจไม่รตู้ ัวมาก่อน
ว่าจะได้รับเกียรติใหเ้ ป็นตวั แทนพดู หรือกล่าวในงานต่างๆ ทเี่ ราไปร่วมงานจึงต้องพร้อมเสมอ
สาหรบั การพูด
ผ้นู ากับการพูด
- สร้างภาษากายใหด้ ดู ี (ย้ิม พยกั หนา้ ทา่ ทาง)
- พดู สุภาพ
- ชดั ถ้อยชัดคา
- ถูกกาลเทศะ
- ไม่พดู สงิ่ ที่ไมค่ วรพูด
- พูดดว้ ยเหตุผลไมใ่ ชอ้ ารมณ์
- ช่ืนชม-ปลอบใจ
- ไม่จาเป็นต้องพูดตรงเกินไป

4 กำรปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยำ่ งทีด่ ี
แนวทำงกำรปฏิบตั ิ

1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา เปน็ คณุ สมบตั ิพ้ืนฐานของการ
บรหิ าร ใชศ้ าสตร์ใช้ศิลป์ในการบริหารจดั การ

2. มคี วามสามารถในการปกครองบงั คบั บญั ชาผู้รว่ มงาน
3. มคี วามสุจรติ โปร่งใสและเทย่ี งธรรม มฝี ่ายจัดทาแผนท่ีเขม้ แข็ง แมน่ ยาในกฎระเบียบ
4. มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ ได้ถูกต้องรวดเร็ว กล้าตดั สนิ ใจ ปฏิบตั ิตามนโยบายของ

กระทรวงศึกษาธิการ
5. มีความสามารถในการวางแผนพฒั นาโรงเรยี น เพื่อพัฒนาองค์กรไปสเู่ ป้าหมาย การสร้าง

องคก์ รแห่งการเรียนรู้ มกี ารวางแผน จัดทาโครงการตา่ งๆ ทนี่ า่ สนใจ อยู่ตลอดเวลา

109

6. มีการวางคนใหเ้ หมาะสมกับงาน
7. การสรา้ งทมี งานที่เข้มแข็ง
8. มคี วามคิดรเิ รมิ สร้างสรรค์
9. มีความรู้ แมน่ ยาในกฎระเบยี บของทางราชการ
10.มกี ารบรหิ ารงานโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน

5 กำรดำเนนิ กำรประชุมทีเ่ ป็นทำงกำรและไม่เปน็ ทำงกำร
1.แบบท่ีเปน็ ทำงกำร ใชใ้ นการประชุมใหญ่ๆ หรอื การประชุมทจ่ี ัดอย่างสม่าเสมอเปน็

ประจา มกั ใชร้ ูปแบบวาระเหมือนทกุ ครัง้
2. แบบไม่เปน็ ทำงกำร เป็นการประชมุ ที่กาหนดรูปแบบงา่ ยๆ ไมต่ อ้ งมรี ะเบยี บวาระ

ครบถ้วน มกั ใช้ในการประชมุ ทีไ่ ม่คอ่ ยเป็นทางการหรอื การประชุมกลมุ่ ย่อยๆ
3. แบบหนว่ ยงำนกำหนด บางหนว่ ยงานอาจกาหนดรูปแบบเฉพาะ เชน่ เพม่ิ ระเบยี บว่า

ระ เรอื่ งทกั ท้วง ในกรณที ี่เปน็ เรอ่ื งพิจารณาตามปกติประจาทุกคร้ัง ไมต่ อ้ งมีการอภิปราย หากไมม่ ี
การทักท้วงหรือวา่ เหน็ ชอบ ท้ังนี้ เพ่ือประหยัดเวลาในการปรุชุม

รำยละเอยี ดในระเบยี บวำระกำรประชมุ
ระเบยี บวำระท่ี 1 เรอื่ งที่ประธำนแจ้งให้ที่ประชมุ ทรำบ
หากไมม่ ีเรอ่ื งแจง้ ใหท้ ราบ กเ็ ขียนว่า ไม่มี ในระเบยี บว่าระที่ 1 ไม่ต้องมกี ารลงมติ เพราะ
ไม่ใช่เรอื่ งพิจารณา แตอ่ าจมขี อ้ สังเกตได้ ระเบียบวาระนจ้ี ะลงท้ายวา่ ท่ีประชุมรับทราบ ที่

110

ประชุมบางแหง่ ใช้คาว่า เร่ืองเพ่อื แจ้งทราบ ซึง่ ไม่ชัดเจนวา่ แจง้ ผูใ้ ด อาจทาใหส้ ับสน ฉะนัน้ หาก
เป็นการประชุมท่ีสาคญั ควรแยกระเบยี บวาระที่ 1 ใหป้ ระธานเทา่ นนั้ เป็นผแู้ จ้ง ถอื เปน็ การให้

เกียรตปิ ระธานดว้ ย
ระเบียบวำระท่ี 2 เรื่องกำรรบั รองรำยงำนกำรประชุม
ประธานจะเป็นผู้เสนอให้ที่ประชมุ พจิ ารณารายงานการประชมุ ครงั้ ท่ผี ่านมา โดยอาจให้

พจิ ารณาทลี ะหน้า ในกรณีทม่ี ไิ ดแ้ จกล่วงหนา้ หรอื รวบยอดทั้งฉบบั ในกรณีทแ่ี จกล่วงหน้าแล้ว
หากไมม่ ีผ้เู สนอแก้ไขเลขานุการจะต้องบันทึกขอ้ ความที่แก้ไขใหมอ่ ยา่ งละเอยี ด และข้อความใหม่
จะตอ้ งปรากฏในรายงานการประชุมครั้งใหมด่ ว้ ย ระเบียบวาระน้จี ะลงทา้ ยว่า “ทป่ี ระชุมพิจารณา
แล้วรับรองรายงานการประชุมครง้ั ท่.ี ...โดยไมม่ ีการแกไ้ ข (หรือมกี ารแกไ้ ข...)”

ระเบยี บวำระที่ 3 เร่ืองทเ่ี สนอให้ที่ประชมุ ทรำบ
บางแห่งใช้คาว่า เรอื่ งสบื เนื่อง คือสบื เนอื่ งจากการประชมุ คร้ังท่แี ล้ว เป็นการายงานผลการ
ปฏิบตั ิงานท่ีไดร้ บั มอบหมายในการปรชุ มคร้งั ก่อนๆ แตก่ ารใชค้ ากวา่ เรอ่ื งสบื เนือ่ ง อาจทาให้เกิด
ความผดิ พลาด โดยมกี ารนาเร่ืองท่เี ลอื่ นจากการพิจารณาครั้งกอ่ นมาพจิ ารณาและลงมตใิ น
ระเบยี บวาระนท้ี าให้สบั สนกับระเบยี บวาระที่ 4 ซึ่งเปน็ เร่ืองพิจารณาโดยเฉพาะ

ในการประชุมระเบียบวาระท่ี 3 น้ี เป็นเรอ่ื งที่ผู้เขา้ ประชุมจะรายงานผลงานหรือเรอ่ื งราว

สาคัญในหน่วยงานของตน ทป่ี ระชุมเพียงแต่ รับทราบ หรอื มขี อ้ สังเกต เช่นเดียวกบั ระเบยี บ
วาระท่ี 1

ระเบียบวำระที่ 4 เร่อื งท่เี สนอให้ท่ปี ระชมุ พิจำรณำ
ระเบยี บวาระนเี้ ปน็ หัวใจในการประชุม เลขานกุ ารจะต้องส่งข้อมูลประกอบการพิจารณา
ใหก้ รมการศึกษาล่วงหนา้ หากข้อมลู มากจะตอ้ งสรปุ สาระสาคญั ให้กรรมการอ่านดว้ ย หัวข้อต่างๆ
ทจี่ ะนามาพิจารณาจะตอ้ งตง้ั ชือ่ เรื่องใหก้ ระชบั ชัดเจนทกุ เรอื่ ง เมื่อผู้เก่ียวข้องอ่านกจ็ ะทราบทันที
ว่าเป็นเรอ่ื งใด ทาใหป้ ระหยัดเวลาอ่าน และในทป่ี ระชมุ ก็อภปิ รายได้ตรงประเด็น
ในระเบยี บวาระท่ี 4 จะลงท้ายด้วยมตทิ ี่ประชุม เชน่ “ท่ีประชุมมมี ติอนุมตั ิตำมเสนอ”

หรอื “ที่ประชุมพิจำรณำแล้วมีมติ ดังน้ี 1... 2... 3…” มตทิ ปี่ ระชมุ จะตอ้ งกระชบั และชัดเจน
กว่าอนุมัติ หรอื ไม่ มอบหมายให้ใคร ทาอะไร ใหแ้ ล้วเสรจ็ เมือ่ ไร ย่างไร เปน็ ตน้

ระเบียบวำระที่ 5 เรือ่ งอ่ืนๆ (ถำ้ ม)ี
ระเบียบวาระนี้ เปน็ ระเบียบวาระที่อาจเป็นเรอื่ งเรง่ ด่วนทีม่ ิไดแ้ จง้ ลว่ งหน้า ภาษาพูด
เรยี กว่า วาระจร

111

คำอธิบำยกำรเขียนรำยงำนกำรประชุม
1. รำยงำนกระประชุม ให้ลงชอื่ คณะทป่ี ระชุมหรือชอ่ื การประชมุ นั้น
2. ครง้ั ที่ ให้ลงคร้ังทป่ี ระชุมทับดว้ ยปี พุทธศกั ราช และข้ึนคร้ังที่ 1 ใหม่ เมอื่ ขึน้ ปีพุทธศักราช

ใหม่
3. เมื่อ ให้ลงวนั เดือนปีที่ประชุม
4. ณ ใหล้ งสถานท่ีประชุม
5. ผมู้ ำประชมุ กรณแี ต่งต้งั โดยชื่อ ให้ลงชอื่ และตาแหนง่ ของผูไ้ ดร้ ับแต่งตง้ั เป็น

คณะกรรมการซ่งึ มาประชุมในวันนั้น หากคณะกรรมการต่างต้งั โดยตาแหน่งใหล้ งตาแหนง่
ก่อนแลว้ ถึงตามดว้ ยช่ือ และตาแหนง่ ในท่ีประชมุ ถ้ามีผมู้ าประชมุ แทนให้ลงตาแหน่งและ
ชอื่ ของผู้มาประชมุ แทน และลงว่าประชุมแทนผูใ้ ดหรือตาแหนง่ ใด
6. ผู้ไมม่ ำประชมุ ให้ลงชือ่ และ/หรอื ตาแหนง่ ของผทู้ ี่ได้รับการต่างตั้งเปน็ คณะที่ประชุม ซึ่งมิ
ได้มาประชมุ พร้อมทั้งเหตุผล (ถา้ มี)
7. ผ้เู ข้ำร่วมประชมุ ใหล้ งชื่อและหรอื ตาแหนง่ ของผทู้ ีม่ ิได้รับการแต่งต้ังเป็นคณะที่ประชุม
ซงึ่ ไดเ้ ขา้ ร่วมประชุมในคร้ังนัน้ (ถ้ามี)
8. เรมิ่ ประชุมเวลำ ให้ลงเวลาท่เี ริมประชุม
9. ขอ้ ควำม ใหเ้ ขยี นระเบยี บวาระการประชมุ ประเด็นท่ีเป็นสาระและการอภปิ รายทสี่ าคัญ
ของการประชมุ และมตทิ ี่ประชมุ โดยปกตใิ ห้เรม่ิ ต้นด้วยประธานกลา่ วเปิดประชุมและ
เร่อื งท่ีประชุม กับมตหิ รือขอ้ สรปุ ของทีป่ ระชมุ ในแต่ละเรือ่ งตามลาดับ
10.เลกิ ประชุมเวลำ ใหล้ งเวลาเลิกประชมุ
11.ผู้จดรำยงำนกำรประชุม ให้ลงชือ่ ผูจ้ ดรายงานการประชุม

6 กำรนิเทศ กำกับ ตดิ ตำม (เวรยำม)
อานวยพร วงษ์ถนอม ไดก้ ลา่ วถงึ บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษาในการนิเทศการศึกษา

ดงั นี้
1. จดั ใหก้ ารปฐมนิเทศครูใหมใ่ ห้เขา้ ใจในหนา้ ท่กี ารงานทต่ี นรบั ผิดชอบ
2. สถานศกึ ษาจดั การอบรม หรือให้การนิเทศด้วยการสอนแกค่ รอู ยา่ งสมา่ เสมอ
3. แนะนาให้ครูรจู้ ักดัดแปลงเน้ือหาวิชาท่ีสอนให้เหมาะสมแกส่ ภาพท้องถ่นิ
4. ชว่ ยให้ครูมคี วามเชอ่ื ม่ันในความสามารถของตนท่จี ะแก้ปัญหา และอปุ สรรคในการเรียน
การสอน
5. เสนอแนะวิธีสอนที่เหมาะสมกบั เนือ้ หาวชิ า และสภาพแวดล้อมใหค้ รู
6. สง่ ครไู ปสังเกตการสอนในสถานศึกษาอ่นื ๆ ท่ีเห็นว่าเปน็ ตวั อย่างท่ีดไี ด้
7. ให้ครูได้เขา้ ร่วมการฝกึ อบรมทางวชิ าการที่จดั ขนึ้ ภายในและภายนอกกล่มุ สถานศึกษา
8. จัดให้มกี ารติดตามผลภายหลงั การฝกึ อบรม

112

9. จดั หาหนังสอื ทางวิชาการ ค่มู ือครู วารสาร และบริการอ่นื ๆ เพอื่ ช่วยเหลือครู
ก้าวหน้าทางวิชาการ และวชิ าชีพ

10.ผูบ้ รหิ ารควรเยยี่ มช้ันเรียน เพือ่ ม่งุ ทจ่ี ะให้คาปรกึ ษาช่วยเหลอื และแก้ไขปญั หาทางการสอน
11.การบารุงขวญั และใหก้ าลังใจแกค่ รู
12.ผู้บรหิ ารควรมเี กณฑ์ในการพจิ ารณาความดคี วามชอบของครู โดยใช้วิธีความเป็นธรรมให้

มากทส่ี ุด
13.จัดใหม้ ีการสัมมนาของคณะครู เพอ่ื แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั การเรียนการสอน
14.สนับสนุนให้ครมู โี อกาสศึกษาในสาขาวิชาที่เกยี่ วขอ้ ง และจะเปน็ ประโยชนโ์ ดยตรงต่อ

การศกึ ษา
15.จดั ให้มกี ารประกวดการเรียนการสอนระหว่างสถานศึกษาภายในกลุ่ม

หน้าท่ที ่ีจะตอ้ งกระทาเก่ยี วกับการนเิ ทศการศึกษาของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาไว้ 3 ประการ
ดงั นี้

1. ทาหน้าที่ตรวจสอบความเป็นไปเกี่ยวกับการเรียนการสอน ขัน้ ตรวจสอบถอื ว่าเปน็ ข้ัน
เร่ิมตน้ การนเิ ทศ เรือ่ งทคี่ วรจะตรวจสอบไดแ้ ก่ ความเขา้ ใจในการใชห้ ลักสตู รของครู ความ
เขา้ ใจอย่างถ่องแท้ของครเู กยี่ วกับเนือ้ หาของหลกั สูตร การใช้กลวิธกี ารสอนตา่ ง ๆ
ตลอดจนการใชส้ อ่ื การสอน ลักษณะของนกั เรียนในแต่ละห้อง

2. ทาหนา้ ทีป่ ระเมนิ ผลการเรียนการสอน
3. ทาหน้าทชี่ ว่ ยส่งเสริมและปรบั ปรุงการเรียนการสอน อนั ไดแ้ กค่ วามเข้าใจของครเู ก่ียวกบั

หลักการ จุดหมาย และโครงสรา้ งของหลักสตู ร แนะแนวการทาโครงการสอนทั้งระยะ
สัน้ และระยะยาวจัดหาเครื่องมือประกอบการสอน และแหล่งวชิ าการ จดั บรรยากาศทาง
กายภายในหอ้ งเรียนให้น่าเรียนส่งเสริมใหค้ รปู รับปรุงตัวเองทั้งด้านวิชาการ และวชิ าชพี
ตลอดจนการพยายามให้ครูประเมนิ ผลการเรียน

7 กำรประสำนงำน (ภำยนอก / ภำยใน)
กำรประสำนงำน

การจดั ให้คนในองคก์ ารทางานสมั พนั ธ์ สอดคล้องให้คนในองคก์ รทางานสัมพันธ์
สอดคล้องกนั โดยจะตอ้ งตระหนกั ถงึ ความรบั ผิดชอบ วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย วิธีการทางาน อกี ทั้ง
ความรว่ มมอื ในการ ปฏิบัตงิ านเปน็ น้าหนง่ึ ใจเดียวกัน มีความคดิ ความเข้าใจตรงกนั มคี วามร่วมมือ
ในการปฏิบตั ิงาน ไม่เกดิ ความสบั สนขัดแยง้ กนั เปน็ สิง่ สาคญั ท่ีเกิดจากการประสานงานทีด่ ีใน
องคก์ ร

หลักการประสานงาน
1. จัดระบบการตดิ ต่อ สอื่ สารที่ดที ัง้ ภายในและภายนอกองคก์ ร
2. จดั ระบบความรว่ มมือทีด่ ี มนี ้าใจ ไมว่ างเฉย ช่วยเหลือซงึ่ กนั และกนั

113

3. จดั ระบบการประสานงานท่ดี ี การสงั สรรค์ตา่ งๆ เพอ่ื ความเขา้ ใจตรงกันและความสัมพันธ์
อนั ดีของคนในองคก์ ร

4. จดั ใหค้ นในองค์กร โดยเฉพาะผปู้ ฏบิ ตั ิภารกจิ เกิดความชัดเจน ว่าใคร ทาอะไร ท่ีไหน
อย่างไร เมือ่ ไร เพือ่ สะดวกแก่การประสานงานในการปฏิบตั ิงาน

8 กำรสร้ำงควำมสัมพันธท์ ีด่ กี บั บคุ ลำกรหรอื หน่วยงำน (สอ่ื สำรสองทำง)
1.กำรจดั กำรศึกษำ
ในการจัดกรศกึ ษาชุมชนุ มีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาอยา่ งชัดเจน เชน่ ในดา้ นภมู ปิ ญั ญา

ท้องถน่ิ โดยโรงเรียนจะขอความร่วมมอื มายังชมุ ชนในด้านการเป็นวิทยากร หรือเปน็ แหลง่ ศึกษาหา
ความรู้เพมิ่ เตมิ ใหก้ บั นกั เรียนเกยี่ วกบั ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ในชมุ ชนนั้นๆ เชน่ การจกั สาน การทอเสื่อ
เป็นตน้ ซ่งึ ชมุ ชนจะเปน็ แหลง่ เรยี นรูท้ ่สี าคญั ที่โรงเรียนจะใหน้ กั เรยี นไปศกึ ษาหาความรู้ หรอื
ดาเนินการไดโ้ ดยเชิญคนในชมุ ชนมาเป็นวิทยากร หรือให้ผ้เู รยี นเข้าไปศึกษาและฝกึ งานในชมุ ชน
ดว้ ยตัวเอง ซ่ึงคนในชมุ ชนจะทาหน้าท่ีเป็นวิทยากรที่คอยให้ความรู้แกน่ กั เรยี น

นอกจากชมุ ชนยังมสี ว่ นร่วมในด้านทุนทรัพย์ วัสดคุ รุภัณฑต์ ่างๆจากชุมชน เช่น ขอบรจิ าค
เงนิ ทนุ การศกึ ษา จากประชาชนในชมุ ชนเพื่อมาให้แกผ่ ้เู รียนในสถานศกึ ษา การทอดผา้ ป่าต่างๆ
และกจิ กรรมต่างๆ เปน็ ต้น ซ่งึ ตอ้ งใชง้ บประมาณในการดาเนินการจงึ ตอ้ งอาศัยความรว่ มมือของ
คนในชุมชน ซ่ึงกไ็ ดร้ บั ความรว่ มมอื ด้วยดมี าโดยตลอด

2. กำรบริกำรกิจกรรมเสริม
ในดา้ นการบริการกิจกรรมเสรมิ ก็จะเป็นงานในโอกาสตา่ งๆ เชน่ งานวนั เดก็ งานวันพ่อ
งานวันแม่ การประชมุ ผ้ปู กครองต่างๆ เปน็ ตน้ โรงเรยี นจะเชญิ คนในชมุ ชน เพ่อื ขอความร่วมมือให้
ไปร่วมในกจิ กรรมตา่ งๆท่ีทางโรงเรยี นจัดขึน้ ซงึ่ จากการทากจิ กรรมท่ีผา่ นมาทางคนในชุมชนกไ็ ด้
ใหค้ วามร่วมมือเปน็ อย่างดีนอกจากนีใ้ นบางกจิ กรรมทางโรงเรียนก็ตอ้ งอาศัยสถานทภี่ ายในชุมชน
ในการทากจิ กรรม เชน่ วนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา กจิ กรรมการบาเพญ็ ประโยชน์ท่จี ะให้
นกั เรียนไปพฒั นาชมุ ชนให้นา่ อยู่หรือสะอาด ซ่งึ ทาชุมชนก็ได้ให้ความรว่ มมือและส่งเสริมในการทา
กจิ กรรมตา่ งๆมาโดยตลอด

โรงเรียนชว่ ยเหลือชมุ ชนุ ในดำ้ นใดได้บำ้ ง
1. ดำ้ นแหล่งควำมรู้
โรงเรยี นมบี ทบาทในการพัฒนาชุมชนโดยตรง ทาหน้าทใี่ ห้การศกึ ษาแก่ประชาชนทกุ เพศ
ทกุ วยั และทกุ อาชีพ โดยคานึง่ ถงึ ผลประโยชนข์ องชุมชนเป็นใหญ่ มกี ารจัดบรหิ ารดา้ นต่างๆ ให้แก่

114

ประชาชนเขา้ มาใชป้ ระโยชน์ เชน่ หอ้ งสมดุ โรงฝกึ งาน หอประชุมฯลฯ ประชาชนสามารถเขา้ มา
ศึกษาหาความรู้เพมิ่ เตมิ ไดจ้ ากโรงเรยี น โดยโรงเรยี นจะเปน็ ศูนย์กลางในการถ่ายทอดความรู้
ทกั ษะ และทัศนคติท่ีดใี หแ้ กส่ มาชิกทกุ คนในชุมชน โดยเป็นแหล่งศกึ ษาหาความรู้ท้งั ดา้ นวชิ าการ
และการประกอบอาชีพของคนในชมุ ชนน้นั มีการสารวจความตอ้ งการและศกึ ษาปญั หาของคนใน
ชุมชนเพ่ือรว่ มกันหาทางแก้ไขและพัฒนาให้ดีข้ึนกวา่ เดมิ ในทกุ ๆด้าน

2. ดำ้ นบริกำรสถำนที่
ในดา้ นการบรกิ ารแกช่ มุ ชนนน้ั โรงเรยี นจะเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนในทอ้ งถ่นิ มาใชบ้ รกิ าร
ด้านอาคารสถานท่ี วสั ดอุ ปุ กรณ์ หรอื บริเวณโรงเรยี น เพือ่ จัดกจิ กรรมท่ีจาเปน็ ต่างๆ ได้ เช่น การ
ใชส้ นามกฬี า ของโรงเรียนในกาจัดแข่งขันกีฬาต่างๆ การใช้หอ้ งสมดุ หรือหอประชมุ ของโรงเรียน
ในการประชมุ ชาวบา้ นหรือแสดงการสาธติ และนิทรรศการต่างๆ การจดั โครงการอาหารกลางวนั
ใหก้ บั นกั เรยี นยากจน การออกวารสารหรือเอกสารสิ่งพมิ พ์ตา่ งๆ เพ่ือให้แพรข่ า่ วสารและความรู้ที่
จาเปน็ แกค่ นในชุมชน การจดั รายการเพ่ือการศกึ ษาทางวิทยหุ รอื โทรทัศน์ การตดิ ต่อเจา้ หน้าที่มา
ใหก้ ารรกั ษาพยาบาล หรอื ควบคมุ โรคติดต่อในชุมชน เปน็ ต้น
3. ด้ำนวัฒนธรรมประเพณี
ในด้านวฒั นธรรมประเพณีโรงเรียนมบี ทบาทในการส่งเสรมิ อนุรกั ษ์วฒั นธรรมต่างๆของ
ชมุ ชนใหอ้ ยคู่ กู่ ับชุมชน เพื่อให้วัฒนธรรมนัน้ คงอยู่ตอ่ ไป ซง่ึ สามารถสง่ เสรมิ หรืออนรุ กั ษไ์ ดด้ ว้ ย
วธิ กี ารตา่ งๆ เชน่ รว่ มสบื สานและเข้าไปมสี ว่ นรว่ มในวฒั นธรรมและประเพณีของชมุ ชนในท้องถิ่น
นน้ั ๆ หรอื รว่ มเผยแพรแ่ ละให้ความรกู้ ับประชาชนเก่ียวกับวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ นอกจากนยี้ ัง
สามารถจัดกจิ กรรมหรอื พิธีการงานมหรสพตามประเพณีโดยเปน็ ผนู้ าใหแ้ กช่ ุมชน โดยการสง่ เสรมิ
ให้ชุมชนนน้ั มสี ว่ นรว่ มการสืบทอดวฒั นธรรมประเพณีตา่ งๆของตนได้อยา่ งเต็มที่

9 กำรสรำ้ งขวัญกำลังใจแกบ่ คุ ลำกร
ในฐานะท่ีเราเปน็ ผนู้ าองค์กร ควรมหี ลกั ยึดว่า “คนทุกคนมีศกั ด์ิศรใี นความเป็นมนษุ ย์

ตามท่ีบทบญั ญัติไว้รฐั ธรรมนูญ เพราะจะทาใหเ้ ราไมห่ ลงทางในการสร้างขวญั กาลังใจให้แกค่ นใน
องคก์ ร และต้องเช่อื มันว่า “คนเปน็ ทรพั ยากรท่มี ีคา่ ทสี่ ุด” ซึ่งจะทาให้เราเห็นความสาคัญและ
คุณคา่ ของคนในองค์กร ทาให้เราเป็นคนใหเ้ กยี รติคนสง่ ผลใหเ้ กิดเป็นขวัญกาลังใจในการ
ปฏบิ ตั งิ าน

แนวทางการสร้างขวัญกาลังใจ
1. จดั ใหม้ สี ภาพแวดล้อมในการทางานให้น่าอยู่ น่าทางาน
2. จดั การแบ่งงานให้ชดั เจน ใครทาอะไร และทาอย่างไร
3. สร้างความพงึ พอใจในงานดว้ ยการมอบหมายงาน ให้ตรงความรู้ความสามารถ ความถนดั

และความสนใจ

115

4. ใหก้ ารยกย่อง ชมเชย บาเหนจ็ ความดคี วามชอบอยา่ งเหมาะสม เพือ่ ตอบแทนการทา
คณุ ประโยชน์

5. ให้ความใส่ใจ ดแู ลความเป็นอย่แู ละทกุ ข์สขุ การทางาน ตลอดจนชีวติ ประจาวนั
6. ใหโ้ อกาสแสดงความคิดเห็น และมอี สิ ระในความคิดสรา้ งสรรค์
7. ใหโ้ อกาสในการ้องทกุ ข์ โดยมรี ะบบการรอ้ งทุกขต์ ามขน้ั ตอนและชว่ ยเหลือแก้ปญั หาให้

ตามความเหมาะสม
8. ให้โอกาสแก่คนทีท่ าคุณความดี ทาประโยชน์แกอ่ งค์กร ไดร้ ับพจิ ารณาเลือ่ นข้นั เลื่อน

ตาแหนง่ กา้ วหนา้ ในวชิ าชีพ
ขวัญกาลังใจ คือยาหมอใหญ่ ยาวิเศษท่จี ะทาใหค้ นมีพลงั ในการทางานอยา่ งเต็มศกั ยภาพ
นาไปสกู่ ารทาใหอ้ งคก์ รเดินสู่ความสาเร็จตามภารกจิ เป้าหมาย

10 กำรขับเคลื่อนนโยบำยสูก่ ำรปฏิบัติ (เฉพำะกิจ)
แนวคดิ เกี่ยวกับกำรนำนโยบำยไปส่กู ำรปฏิบัติ

ควำมหมำย
การนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ หมายถงึ การบรหิ ารนโยบายท่ีครอบคลุมถึงการวิเคราะห์
พฤตกิ รรมขององคก์ ร ปฏิสัมพันธ์ของบคุ คลและกลุม่ บคุ คล สมรรถนะ และความร่วมมือของ
พนักงานภาครัฐและเอกชน สภาพแวดลอ้ มของระบบและปัจจยั อนื่ ๆ ทมี่ ผี ลกระทบต่อการบรรลุ
เปา้ หมายของนโยบาย (หนิมพานชิ , การวิเคราะหน์ โยบาย ขอบขา่ ย แนวคิด ทฤษฎี และกรณี
ตวั อย่าง, 2547)

ควำมสำคญั ของกำรนำนโยบำยไปสู่กำรปฏบิ ตั ิ
ประการแรก การนานโยบายไปสกู่ ารปฏิบัตเิ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของกระบวนการนโยบาย ทาให้
กระบวนการนโยบายดาเนินไปอยา่ งสมบรู ณ์ครบวงจร ประการทส่ี อง ในการกาหนดนโยบาย
จุดมุง่ หมายท่สี าคัญ คอื ความต้องการหรอื ความปารถนาท่ีจะให้นโยบายมคี วามถกู ตอ้ ง
สมเหตสุ มผล และสามารถบรรลุผลสาเรจ็ ได้ ประการท่ีสาม เป้าหมายหลักของการนานโยบาย
ไปสกู่ ารปฏิบตั ิ คือ ทาอย่างไรจงึ จะสามารถทาใหน้ โยบายนน้ั ๆบรรลุผลสาเร็จ เพ่อื ให้
ผลประโยชนท์ ้ังปวงตกตอ่ ประชาชนและประเทศชาติ ดังน้นั ทุกระเทศจึงพยายามพัฒนาปรับปรุง
ระบบและวิธกี ารนานโยบายไปสกู่ ารปฏิบัตใิ ห้มีประสทิ ธภิ าพสูงสุด (หนมิ พานิช, การวิเคราะห์
นโยบาย ขอบข่าย แนวคิด ทฤษฎี และกรณีตัวอยา่ ง, 2547)

ลักษณะสำคัญของกำรนำนโยบำยไปสกู่ ำรปฏิบัติ
การนานโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัติเป็นเร่อื งที่มีความสลับซบั ซอ้ น เนอ่ื งจากมลี ักษณะทส่ี าคญั
คือ ประการทห่ี น่งึ มีผู้เกี่ยวขอ้ งท่ีสาคญั มาก อาทิ คณะรฐั มนตรี คณะกรรมการ ข้าราชการ

116

ส่วนกลาง สว่ นภมู ิภาค สว่ นท้องถ่นิ ภาคเอกชน องค์กรประชาชน ประการทสี่ อง ผ้ทู ี่เกีย่ วขอ้ งมกั
มีวัตถุประสงคห์ รอื เปา้ หมายทห่ี ลากหลาย และมีความแตกตา่ งกนั ประการท่ีสาม การขยายตวั
ของรฐั บาลและโครงการรัฐต่างๆ จากภารกิจทมี่ ากขน้ึ จนทาให้โครงการตา่ งๆตลอดจนอานาจของ
ข้าราชการและงบประมาณเพม่ิ มากขึน้ โครงการต่างๆจงึ มักจะมขี นาดใหญ่ และมีกลไกการทางาน
จานวนมาก ประการท่ีส่ี ความสมั พนั ธร์ ะหว่างหนว่ ยงานจากหลายกระทรวงในหลายระดับ
ประการทหี่ ้า มปี จั จัยทีอ่ ยู่นอกเหนอื การควบคุม ซึ่งการนานโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัตมิ ักจะต้องเผชญิ
เสมอ ทาให้การแปลงนโยบายไปสู่ภาคปฏบิ ัตมิ ีความสลับซับซ้อนละเปลยี่ นแปลงไปมากขน้ึ (หนมิ
พานิช, การนานโยบายไปสู่การปฏบิ ตั ิ มมุ มองในทัศนะทางรฐั ศาสตร์การเมอื ง และรัฐประศาสน

ศาสตรก์ ารบริหาร และกรณีศกึ ษาของไทย, 2554)

เง่อื นไขหรือปัจจัยในกำรนำนโยบำยไปสกู่ ำรปฏิบตั ิ
ในทรรศนะของ L.G.Gunn ไดเ้ ขยี นบทความทมี่ ีช่ือว่า “ทาไมการนานโยบายไปสูก่ าร

ปฏบิ ตั ิจงึ เปน้ เร่อื งยาก” โดยมีเงอื นไขหรือปัจจัยดังน้ี

1. ปัจจัยที่อยู่เหนอื การควบคุมของผู้บรหิ าร อาทิ ปัจจัยทางกายภาพ ปจั จยั ทางการเมอื ง
2. ทรัพยากรและเวลาท่ีพอเพียง
3. การผสมผสานของทรัพยากร อันไดแ้ ก่ เงิน กาลงั คน ท่ีดนิ เครอ่ื งมือ อาคารสถานท่ี การ

ผสมผสานทรพั ยากรเหล่านี้ตอ้ งเป็นไปตามที่พงึ ปารถนาหรอื เป็นทต่ี อ้ งการ คือ มีมากพอ
ต่อการนานโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั ิทสี่ มั ฤทธิ์ผล ในทางปฏิบตั ปิ ัจจยั น้ีกอ่ ให้เกิดปัญหาคอ
ขวด
4. นโยบายท่จี ะนาไปสูก่ ารปฏิบัติในหลักการควรตั้งอยู่บนรากฐานของทฤษฎี สาเหตแุ ละผล
ทีเ่ พียงพอเช่ือถอื ได้ ทีล่ ้มเหลวเพราะไม่ได้ตั้งอยบู่ นรากฐานของการเขา้ ใจปัญหาทจี่ ะแก้ไข
อยา่ งเพียงพอ
5. ความสัมพนั ธข์ องสาเหตแุ ละผลของนโยบายท่ยี าวนาน ย่ิงทาใหม้ ีแนวโนม้ ล้มเหลว เพราะ
ทาให้ความสมั พนั ธ์เชงิ ตอบแทนซึง่ กนั และกัน ระหวา่ งการเชื่อมโยงตา่ งๆ ยงิ่ มีความ
สลบั ซับซอ้ น
6. ความสัมพนั ธ์เชงิ พ่ึงพาควรมนี อ้ ย ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งพึ่งพาตัวแทน การนานโยบายไปส่กู าร
ปฏบิ ตั ิมากนกั ควรมีจานวนนอ้ ยและมีเฉพาะท่สี าคัญ
7. ความเข้าใจและเห็นดว้ ยในวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ควรนามาจากดั ความให้ชัดเจน เจาะจง
เป็นท่ีเขา้ ใจ และได้รับการเห็นด้วย ท้ังนถ้ี ้าทุกคนเข้าใจและเห็นด้วยในวตั ถปุ ระสงคแ์ ละ
เปา้ หมายเหล่าน้ัน การทจี ะทาให้ การนานโยบายไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิบรรลุผลทดี่ หี รอื ท่ีสมบูรณ์
ทาได้ไม่ยาก
8. งานท่ไี ด้รบั การระบอุ อกมา จะตอ้ งมีรายละเอียด รวมทงั้ ผลท่ีเกดิ ขึ้นตามมา ซ่งึ ผู้ทจ่ี ะระบุ
รายละเอยี ด ได้แก่ผู้ทมี่ ีสว่ นร่วมในการนานโยบายไปส่กู ารปฏบิ ัติ

117

9. การสื่อสารและการประสานงาน Hood ต้งั ขอ้ สังเกตวา่ การนานโยบายไปสู่การปฏบิ ัตทิ ดี ี
ท่สี มบูรณท์ ี่สามารถทาให้บรรลุผลได้จะตอ้ งมีระบบบริหารแผนแบบหนึ่งเดยี ว

10.การปราศจากการต่อตา้ นคาส่ัง Hood ใช้วลีวา่ “การเชื่อฟังทดี่ ี”
(หนมิ พานิช, การวิเคราะหน์ โยบาย ขอบขา่ ย แนวคดิ ทฤษฎี และกรณีตัวอยา่ ง, 2547)

11 กำรบริหำรกำรเปลี่ยนแปลง
แนวทำงกำรปฏบิ ตั ิ

1. การวางแผนการเปลย่ี นแปลง (Planning for Change)
2. การนาแผนการเปลยี่ นแปลงไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ (Implementing Change)

ประกอบด้วยขนั้ ตอนและขอ้ พจิ ารณาตา่ งๆ ดังน้ี
2.1การกาหนดกลยุทธใ์ นการนาแผนการเปล่ยี นแปลงไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
2.2การส่ือสารความเขา้ ใจถึงแผนการเปลี่ยนแปลง
2.3การจัดแบง่ งาน
2.4การจัดกาลงั คน
2.5การจัดระเบยี บวิธีการดาเนินงาน
2.6การพฒั นาบคุ คล
2.7การทาใหก้ ารเปล่ียนแปลงกลายเป็นแบบแผนวัฒนธรรมขององคก์ าร
2.8การจดั สรรงบประมาณและทรัพยากร ในการบริหารการเปลี่ยนแปลงนั้น

118

3. การตดิ ตามประเมนิ ผล การรกั ษาผลการเปล่ียนแปลง (Evaluating and Maintaining
Change)


Click to View FlipBook Version