48
งานจัดหาพัสดุ
งานจดั หาพสั ดุ เปน็ การปฏิบัตงิ านตามระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยการพสั ดแุ ละทเี่ กี่ยวข้อง
เพือ่ ให้การจัดหาพสั ดุทนั ตามกาหนดเวลาท่ีตอ้ งใช้และดาเนินการอยา่ งถูกตอ้ งตามระเบียบ ประกอบดว้ ย การ
จัดทาเอง การจดั ซื้อจัดจ้าง การเชา่ การยืมและการแปรสภาพจากการจาหนา่ ยพัสดปุ ระจาปี ซ่ึงการจัดหา
พัสดุเป็นภาระหน้าท่ีทผ่ี ูอ้ านวยการโรงเรียนจะต้องบรหิ ารจัดการใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพเพื่อให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ทาง
ราชการตอ่ ไป
แนวทางการปฏบิ ตั ิ การจัดซื้อจัดจา้ ง
1. สารวจความต้องการใช้พัสดุ
2. วางแผน กาหนดเวลา ตรวจสอบงบประมาณทีจ่ ะใช้ สารวจความตอ้ งการ
ดาเนนิ การ
3. ตรวจสอบเกณฑ์คุณลกั ษณะ รูปแบบรายการพสั ดุท่ี วางแผน/กาหนดเวลา/ตรวจสอบงบประมาณ
ต้องการจัดซ้ือจดั จ้าง ตรวจสอบเกณฑ์คุณลกั ษณะ/รปู แบบรายงาน
4. จัดทารายงานขอซ้อื /จ้าง เสนอขอความเหน็ ชอบ
5. ดาเนินการจัดซือ้ จัดจ้างทเี่ หน็ ชอบ/ลงระบบ e-GP จดั ทารายงานขอซ้อื /จ้าง/ขอความเห็นชอบ
6. ทาสญั ญาหรือตกลงจัดซ้ือจัดจ้าง/จัดทาใบ PO
7. บริหารสญั ญา ดาเนินการจดั ซอ้ื /จดั จา้ งตามมติทเี่ ห็นชอบ/ลง e-GP
8. ตรวจรบั พสั ดุภายในกาหนด/ตามระเบียบฯ
9. จดั ทารายงานเสนอ ผอ.รร. เพ่อื ตรวจผลภายในเขตฯ จดั ทาสัญญา/ข้อตกลง/สร้างขอ้ มูลหลกั ผ้ขู อ/ทาPO
10. มอบเรื่องการตรวจรบั ให้เจา้ หนา้ ทก่ี ารเงินเบิกเงินเพ่ือ
จา่ ยใหผ้ ขู้ าย/ผรู้ บั จา้ ง
บรหิ ารสัญญา ตรวจรับในกาหนด
เบกิ จ่ายเงนิ ให้ จนท.พัสดรุ ายงานเพ่อื ชอบ
ผู้ขาย
แผนผงั การปฏิบัตงิ าน
49
การจา่ ยเงนิ
ตามระเบียบการเบิกจา่ ยเงินจากคลัง การเก็บรกั ษาเงินและการนาเงนิ ส่งคลงั พ.ศ.2551 เพื่อให้การ
จา่ ยเงนิ ของโรงเรยี นเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย ถูกต้องเป็นระบบตามขัน้ ตอนที่ระเบียบกาหนด การจา่ ยเงิน
จะตอ้ งดาเนินการภายหลงั การเบกิ เงินตามระเบยี บการเบิกจา่ ยเงนิ จากคลัง การเกบ็ รักษาเงนิ และการนาเงิน
สง่ คลงั พ.ศ.2551 มี 3 ลกั ษณะ ได้แก่ การจ่ายเป็นเชค็ การจ่ายเปน็ เงินสด และการจ่ายโดยวิธโี อนเงินเข้า
บญั ชผี า่ นธนาคารซง่ึ จะต้องกาหนดมาตรการการเบิกจ่ายเงินให้ถกู ต้องตามระเบยี บอย่างเครง่ ครัด
แนวทางการปฏบิ ตั ิ กกาารรจจ่าา่ ยยเเงงนิิน
1. จนท.การเงนิ ตรวจสอบการโอนเงนิ เขา้ ธนาคาร จนท.ตรวจสอบการโอนเงินเข้าบญั ชโี รงเรียน
2. จนท. จดั ทารายละเอยี ดการจ่ายและเขียนเช็คส่ังจา่ ย
และบันทึกทะเบียนคมุ เช็ค ไมถ่ ูกตอ้ ง จนท.ทารายละเอียดเขียน/จา่ ยเช็ค
3. เสนอ ผอ.ร.ร.อนุมัติและลงนามสงั่ จา่ ยเชค็ บนั ทกึ คุมจ่ายเชค็
4. จนท.การเงินจา่ ยเช็คหรอื โอนเงินให้เจา้ หนี้/ผูม้ สี ิทธิ์
รับเงิน ผอ.รร.อนมุ ตั แิ ละเสสัง่นจอา่ ยเชค็
5. แจ้งการโอน/จา่ ยเงินให้เจ้าหน/ี้ ผู้มสี ทิ ธิ์รับเงนิ ทราบ
6. จนท.การเงินจัดสง่ หลักฐานการจ่ายให้เจา้ หน้าที่บัญชี
จา่ ยเชค็ /โอนถเกู งตินอ้ ง
แจง้ การโอน/จา่ ยเงิน
จนท.บัญชลี งทะเบียนคุม
50
งานรบั เงนิ การเก็บรักษาเงิน
การรับเงนิ การเก็บรกั ษาเงินจากคลังและการเก็บรกั ษาเงนิ ตามระเบยี บการเบิกจา่ ยเงินจากคลัง
การเกบ็ รักษาเงนิ และการนาเงนิ ส่งคลงั พ.ศ.2551 เพื่อให้การรับเงนิ ของโรงเรียนเปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย
ถูกต้อง เปน็ ระบบตามขั้นตอนทีร่ ะเบียบกาหนด ซ่ึงโรงเรียนจะตอ้ งดาเนินการทันทเี ม่ือทราบหรือรับแจ้งการ
โอนเงนิ เขา้ บัญชธี นาคารหรือไดร้ ับเงินสดเพ่ือใหก้ ารจัดทารายงานเงนิ คงเหลือประจาวนั ถูกต้อง ครบถว้ นและ
เป็นปัจจุบัน
แนวทางการปฏบิ ตั ิ กากรารรับรับเงเินงนิ สรปุ ยอด
1. เจา้ หน้าท่ีการเงินออกใบเสร็จรับเงิน จนท.ออกใบเสรจ็ รบั เงิน
2. เจา้ หน้าที่สรุปการรบั เงินโดยสลกั หลงั ใบเสร็จฉบบั
สดุ ทา้ ยในวันนั้น สลกั หลงั ใบเสร็จรบั เงิน
3. เจ้าหนา้ ท่ีจดั ทารายงานคงเหลอื ประจาวันและมอบ
เงินสดให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงนิ จนท.จดั ทารายงานคงเหลือประจาวนั
4. เจา้ หนา้ ท่ีบันทึกเสนอผอ.ร.ร.รับทราบ
5. เจ้าหนา้ ท่กี ารเงินมอบหมายใบเสรจ็ รบั เงนิ ให้ ผอ.ร.ร. เสนอ
เจา้ หนา้ ทบ่ี ัญชแี ละลงทะเบยี นท่เี ก่ียวข้อง รบั ทราบ
6. บนั ทึกรับเงินในระบบโปรแกรมสาเร็จรูป ลงทะเบียนบัญชี สง่ มอบใบเสรจ็ รบั เงนิ
บนั ทึกระบบบญั ชี
แผนผงั แนวทางการปฏิบัติงาน
เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง
1. คมู่ อื ระเบยี บการเบิกจา่ ยเงินจากคลัง การเกบ็ รักษาเงนิ และการนาเงนิ สง่ คลงั พ.ศ.2551 หมวด 6
การรับเงนิ ของสว่ นราชการ สว่ นท่ี 1-2
51
การนาเงนิ สง่ คลงั
การนาเงินสง่ คลงั และฝากคลัง ตามระเบียบการเบกิ จา่ ยเงินจากคลัง การเก็บรกั ษาเงิน และการนา
เงินสง่ คลงั พ.ศ. 2551 เพ่อื ใหโ้ รงเรียนนาไปปฏบิ ัติถกู ต้องตามระเบยี บท่ีเก่ียวข้อง โดยโรงเรียนทม่ี ีเงนิ สดเปน็
จานวนเกนิ อานาจการเกบ็ รักษาจะต้องนาฝากบญั ชธี นาคารของโรงเรยี น แตม่ ีประเภทของเงินที่มขี ้อกาหนด
เปน็ การเฉพาะเชน่ เงินอาหารกลางวัน เงินคา้ ประกนั สญั ญา ฯลฯ ที่จะต้องส่งฝากคลังให้ถกู ต้องตามระเบยี บ
และเกดิ ประโยชน์ต่อทางราชการ
แนวทางการปฏิบัติ เจา้ หนา้ ท่กี ารเงนิ รบั หลกั ฐานเงินสด
1. เจ้าหน้าท่กี ารเงนิ รับหลกั ฐานและจานวนเงินจาก จากคณะกรรมการเก็บรักษาเงนิ
คณะกรรมการเกบ็ รักษาเงิน
2. เจ้าหนา้ ที่การเงินตรวจสอบความถูกต้องของประเภท เจา้ หน้าที่การเงินตรวจสอบความถกู ต้องของ
และจานวนเงนิ ที่นาส่ง ประเภทและจานวนเงินท่นี าส่ง
3. เจ้าหน้าทก่ี ารเงินบักทึกเสนออนุมตั ิ ผอ.ร.ร. เพ่ือนา
เงนิ ส่งคลัง ไมถ่ กู ตอ้ ง เจ้าหนา้ ทบ่ี นั ทกึ เสนออนมุ ตั ิ
4. ผอ.ร.ร. หรอื ผู้ได้รับมอบหมายนาเงินส่งคลงั โดยนา ผอ.รร. นาเงนิ สง่ คลงั
ฝากบญั ชี ตามทก่ี ระทรวงการคลงั กาหนดให้
ธนาคารกรุงไทยหรือธนาคารอื่นในกรณีไม่มี ถูกต้อง
ธนาคารกรงุ ไทยในเขตเพ่ือสะดวกในการเบิกจา่ ยต่อทาง
ราชการ นาเงนิ สง่ คลังโดยนาเงนิ าากบญั ชี
5. เจา้ หน้าท่ี การเงินมอบหลกั ฐานการนาสง่ ให้ กระทรวงการคลังท่ี ธนาคารกรุงไทย
เจา้ หน้าท่บี ัญชี บักทึกในทะเบียน และเอกสารที่
เกยี่ วข้อง
มอบเอกสารใหเ้ จา้ หน้าที่บญั ชีบนั ทกึ
รายการทางบญั ชี
เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง
1. คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
2. ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานสถานศึกษาในสงั กัด สพฐ. กระทรวงศกึ ษาธิการ
52
การจดั ทาบัญชีการเงนิ
การจดั ทาบัญชที างการเงินถือเปน็ หน้าทขี่ องโรงเรยี นทีจ่ ะต้องปฏบิ ัตใิ ห้เปน็ ไปด้วยความถูกตอ้ งตาม
ระเบยี บ กฎ ข้อบังคับและเป็นปัจจบุ นั โดยยึดหลักการนโยบาย บัญชีสาหรบั หน่วยงานภาครัฐ ฉบบั ที่ 2
และคูม่ ือแนวปฏิบตั ทิ างบญั ชีตามเกณฑ์คงค้างสาหรับหน่วยงานภาครฐั พ.ศ.2546 ท่ีกาหนดเปน็ มาตรการ
ป้องกันการทจุ ริตและประพฤติมิชอบของผูร้ บั ผดิ ชอบวานการเงนิ และบญั ชขี องโรงเรียนตามท่ีผ้อู านวยการ
โรงเรยี นมอบหมาย อนั จะดาเนินการตรวจสอบได้ตลอดเวลา
แนวทางการปฏิบัติ
1. ตง้ั เปิดยอดบญั ชรี ะหว่างปีงบประมาณ ต้ังเปิดยอดบญั ชรี ะหวา่ งปงี บประมาณ
2. ดาเนินการปรบั ปรุงบญั ชีเงินงบประมาณ
ดาเนนิ การปรบั ปรงุ บญั ชเี งินงบประมาณ
3. บนั ทึกเปดิ บญั ชีคงคา้ ง (หากมี)
4. บันทึกบัญชีประจาวันใหเ้ ป็นปัจจบุ ันถูกต้อง บนั ทกึ เปิดบญั ชคี งค้าง หากมี
5. สรปุ รายการบันทึก บัญชีทกุ วนั สรุปรายการรับหรือ บันทกึ บญั ชีประจาวนั
จา่ ยเงนิ ผา่ นไปบญั ชีแยก ประเภทเงินสด เงินฝาก ไม่มี
ธนาคาร และเงินฝากคลังและบนั ทกึ ทะเบียนคุม
6. ปรับปรุงบัญชี เมือ่ สนิ้ ปีงบประมาณ สรปุ รายการบนั ทกึ บัญชที ุกวนั ทาการ
7.ปดิ บญั ชรี ายได้และค่าใช้จา่ ย
8. ตรวจสอบความถกู ต้องของเงนิ สดและเงินฝาก ปรับปรงุ บญั ชีเม่อื สิ้นปีงบประมาณ หากมี
ธนาคารตามรายงานคงเหลอื ประจาวัน ปิดบญั ชรี ายได้และคา่ ใชจ้ า่ ย
9. แกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดจากการบนั ทึกรายการผดิ บญั ชโี ดย ไมม่ ี
การขีดฆ่าข้อความหรือตวั เลขผิด ลงลายมือชอ่ื ย่อกากบั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
พรอ้ ม วัน เดอื น ปี แลว้ เขียนขอ้ ความหรอื ตวั เลขท่ี
ถูกต้อง แกไ้ ขขอ้ ผิดพลาดให้ถูกตอ้ ง หากมี
ไม่มี เปดิ บญั ชีปงี บประมาณตอ่ ไป
53
การจดั ทารายงานทางการเงินและงบการเงิน
การจดั ทารายงานการเงินและงบการเงนิ ในโรงเรยี นให้ถูกต้องตามระบบบญั ชที ่ีกระทรวงการคลัง
กาหนด เพื่อใหโ้ รงเรยี นสามารถจัดทารายงานทางการเงินและแสดงงบการเงนิ ให้ถูกต้องและจดั ส่งรายงานต่อ
เขตพื้นทีก่ ารศึกษาและ สตง. ตามท่รี ะเบยี บราชการกาหนด ทง้ั น้ีการจดั ทารายงานทางการเงินและงบการเงิน
ถือเปน็ มาตรการการตรวจสอบและปอ้ งกันการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ และป้องกันความเสยี่ งในหน่วยงาน
ภาครัฐ
แนวทางการปฏบิ ตั ิ จนท.สรปุ ยอดรวมของแต่ละบญั ชี
1. สรุปยอดรวมของแต่ละบญั ชีให้ถกู ตอ้ ง และเป็น
ปจั จบุ ัน ไม่ถกู ต้อง จดั ทางบทดลอง
2. ดาเนินการจัดทางบทดลอง
3. จัดทารายงานประจาเดือนส่งหน่วยงานตน้ สังกดั (เขต ถูกตอ้ ง
พ้นื ที่ฯ) สาหรับโรงเรยี นสังกัด สพม.ต้องจัดส่งสานักงาน
ตรวจเงินแผน่ ดนิ เขตฯ ภายในวนั ที่ 15 ของเดือน
ถัดไป
4. จัดทารายงานประจาปโี ดยจดั ทางบแสดงฐานะ
การเงินและจัดสง่ รายงานประจาปีให้เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
และจัดสง่ สานักงานตรวจเงนิ แผน่ ดินตามกาหนด
ระยะเวลาในระเบยี บกาหนด
จดั ทารายงานประจาเดือน
(ภายในวันท่ี 15 ของเดอื นถดั ไป)
จดั ทารายงานประจาปี
เปิดบัญชใี นปงี บประมาณตอ่ ไป
แผนผังแนวทางการปฏิบัตงิ าน
เอกสารท่ีเกีย่ วข้อง
1. ค่มู อื หลักการนโยบายบัญชี สาหรบั หนว่ ยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2
2. คู่มือแนวปฏบิ ัตทิ างบญั ชีตามเกณฑ์คงคา้ งสาหรบั หนว่ ยงานภาครัฐ พ.ศ.2546
3. คมู่ ือการปฏิบัติงาน สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา กล่มุ บรหิ ารงานการเงนิ และสินทรัพย์
54
55
56
การบรหิ ารงานบคุ คล
ในแต่ละหนึ่งวันของการทาหน้าท่ีผู้อานวยการโรงเรียนภารกิจของการบริหารงานบุคคลต้องพบเจอ
และแก้ไขปัญหา มีหลายกรณีด้วยกัน เช่น ครูบางท่านอาจลากิจ ลาป่วย หรือลากรณีต่างๆ จึง
จาเป็นต้องมีภารกิจให้ต้องพิจารณาตัดสินใจ ได้แก่ การพิจารณาอนุญาตการลา การหาครูทาการ
สอนแทน หรอื ทาภารกจิ อื่นๆแทนผู้ท่ลี า เป็นตน้
กรณีตัวอย่างสถานการณ์ เหตุการณ์ที่ผุ้บริหารโรงเรียนต้องมีทักษะการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นใน
โรงเรยี น อาธิ เช่น
อย่าไดเ้ กรง ให้คดิ วา่ ปญั หามไี ว้ ใชส้ ติ ใช้ - บางปัญหาควรเปดิ
กลัวทท้ อแท้ แกไ้ ข ปัญญา ความ โอกาศให้คณะกรรมการ
จรงิ ใจแก้ไข สถานศกึ ษารว่ มแกไ้ ข
ปญั หา --------------------------
- ยุตธิ รรมไม่ลาเอยี ง
งานบรหิ ารบคุ คล มีความสาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่างานอื่นๆ
57
การบริหารงานบุคคล เป็นกระบวนการท่ีเกี่ยวข้องกับการวางแผนอัตรากาลัง การสรรหา และการ
คัดเลือกบุคคลท่ีเหมาะสมเข้าทางาน มอบหมายภาระงานให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของบุคคล
รวมทงั้ ธารงรักษาบุคลากร การพัฒนาบุคลากร การเสริมแรงและสร้างแรงจูงใจในการทางาน การประเมินผล
การปฏบิ ัตงิ าน จนกระทั่งการให้บคุ ลากรพน้ จากการปฏบิ ตั ิงาน
สาหรบั บุคคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พนกั งาน
ราชการ ครูจา้ งสอน ลูกจ้างประจา และลกู จ้างช่ัวคราว ซึ่งการบริหารบคุ คลของสถานศึกษา เป็นภารกจิ ที่
สาคัญสาหรับผ้บู รหิ าร ตอ้ งส่งเสริม สนบั สนนุ ให้บุคลากรสามารถปฏบิ ัติงานได้อยา่ งคล่องตวั มีประสทิ ธภิ าพ
ภายใต้กฎ ข้อบงั คบั ระเบียบ กฎหมายที่กาหนด
แนวคิดในการบริหารงานบคุ คล
1. ศกึ ษาแนวปฏิบัติ จากกฎ ข้อบังคับ ระเบียบ กฎหมายต่างๆ ในแตล่ ะเร่ืองใหเ้ ขา้ ใจอย่างถกู ต้อง
ชัดเจน จนสามารถนาไปปฏิบัติตามได้
2. ดาเนนิ การด้วยความรอบคอบ รวดเร็ว บนพนื้ ฐานของข้อมูลท่ีเปน็ จริงและสามารตรวจสอบ
แหลง่ ที่มาได้
3. บรหิ ารงานโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล และการมสี ่วนร่วม
4. ติดตอ่ สือ่ สาร ประสานงานกับหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง
58
ขอบขา่ ยการบริหารงานบุคคล
การบรหิ ารงานบคุ คล
การวางแผนอตั รากาลงั การจดั สรรอัตรากาลังขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
การสรรหาและบรรจุแตง่ ตงั้ การเปลยี่ นตาแหนง่ ใหส้ ูงขึน้ การย้ายขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
การดาเนินการเก่ยี วกบั การเลือ่ นข้นั เงนิ เดอื น การลาทุกประเภท
การประเมินผลการปฏิบัติงาน การดาเนินการทางวนิ ัยและการลงโทษ
การสั่งพกั ราชการและการสั่งใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อน การรายงานการดาเนนิ การทางวนิ ัยและการลงโทษ
การอทุ ธรณแ์ ละการรอ้ งทกุ ข์
การออกจากราชการ
การจัดระบบและการจดั ทาทะเบียนประวตั ิ การทาบัญชีรายช่ือและให้ความเหน็ เกี่ยวกบั การสนอขอ
การส่งเสริมการประเมินวทิ ยาฐานะขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์
การรเิ รม่ิ สง่ เสรมิ การขอรบั ใบอนญุ าต
การสงเสริมวินัย คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสาหรกับาขรา้ สรา่งชเสกราิมรคแรลบู ะคุ ยลกายก่อรงทเาชงิดกชารูเกศยีกึ รษตาิ การสงเสรมิ มาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวิชาชีพ
การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
59
การดาเนนิ การเกย่ี วกบั อตั รากาลงั
อัตรากาลงั เปน็ เรื่องท่ีมีความสาคญั ต่อการปฏบิ ตั ิงานให้เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนนิ งาน
และภาระงานท่ีกาหนด การได้มาซึงอัตรากาลงั ท่ีเหมาะสมจาเป็นต้องเร่มิ จากการวิเคราะหง์ าน วางแผน
อัตรากาลงั ท่จี ะต้องพจิ ารณาถงึ จานวนคน ความรคู้ วามสามารถของคนทม่ี ีความเหมาะสมกบั งานทจี่ ะปฏิบตั ิ
วธิ กี ารได้มาซึง่ กาลังคนทเ่ี หมาะสม ในระบบข้าราชการครู มกี ฎหมายวา่ ด้วยระเบียบขา้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา เปน็ กรอบในการดาเนนิ การ อกี ทงั้ คณะกรรมการข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษา (กคศ.) ได้กาหนดหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารให้ดาเนินการและมอบอานาจให้ส่วนราชการต่างๆดาเนินการอย่าง
ชดั เจน โดยมาขัน้ ตอนดาเนนิ งานพอสรุปเป็นข้นั ตอนปฏิบัตทิ ่ีต่อเนื่องกนั ดงั น้ี
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
1. การวางแผนอตั รากาลงั
1. วเิ คราะห์ภารกจิ และประเมนิ สภาพความต้องการกาลงั คน
2. จัดทาแผนอตั รากาลัง ตามเกณฑท์ ก่ี .ค.ศ.กาหนด
3. นาแผนอัตรากาลงั ขอความเหน็ ชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
4. นาแผนอตั รากาลังส่งสพท.เพอ่ื ดาเนินการเสนอขอผ้มู ีอานาจอนุมตั ิ (กศจ.)
2. การจดั สรรอัตรากาลังขา้ ราชการครูบคุ ลากรทางการศึกษา
1. สพฐ.แจง้ จัดสรรอตั รากาลงั ใหเ้ ขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
2. สพท.ตั้งคณะกรรมการพิจารณาเกลีย่ อัตรากาลงั และจัดสรรให้สถานศึกษา นาเสนอ กศจ.
3. กศจ.พจิ ารณาอนุมัติและแจ้งไปยงั สถานศึกษา
4. สถานศกึ ษารับทราบและบันทกึ ข้อมลู อัตราว่างในระบบ
3. การสรรหาและบรรจุแต่งตง้ั
1. กรณีข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
1.1 กศจ.กาหนดพิจารณาวิธีดาเนินการสรรหาและบรรจุแต่งต้ังโดยวิธีการรับย้ายหรือ รับโอนหรือ
การคดั เลอื กหรอื การสอบแขง่ ขนั ตามแนวทางที่ ก.ค.ศ.กาหนด
1.2 กศจ.ดาเนินการสรรหา และสงั่ บรรจุแต่งต้ัง สง่ ตวั ใหส้ ถานศกึ ษา
1.3 ผู้อานวยสถานศกึ ษารับการรายงานตวั จดั ทาทะเบียนประวัติ ปฐมนิเทศ มอบหมายภาระงาน
ใหร้ ับผดิ ชอบ
1.4 กรณบี รรจใุ หมต่ าแหน่งครูผชู้ ว่ ย ผอ.สถานศึกษาแตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนินการประเมินอย่าง
เข้มข้นเป็นระยะเวลา 2 ปี (ประเมินรวม 8 คร้ัง) เม่ือผ่านการประเมินตามเกณฑ์ รายงานสพท. เพื่อนาเสนอ
กศจ.พิจารณาแตง่ ตง้ั เป็นครู คศ.1
2. กรณีลกู จ้างชว่ั คราว
60
2.1 สารวจอัตรากาลัง ความจาเป็น และงบประมาณในการจ้าง
2.2 นาข้อมูลจากการสารวจ เสนอขอความเหน็ ชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
2.3 เสนอข้อมูลการขอจา้ งพรอ้ มแบบรายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ต่อ
สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาพิจารณาอนุญาต
2.4 ดาเนินการจดั ทาสัญญาจา้ ง ให้เป็นไปตามระเบยี บ
แผนผงั การปฏิบตั งิ าน
รับยา้ ย/รับโอน สพฐ.แจง้ จดั สรรอตั รากาลังให้ สพท. สถานศกึ ษาส่งขอ้ มลู แผน
อัตรากาลงั ให้ สพท.
สพท.ตัง้ คณะกรรมการจดั สรรอัตรากาลงั ให้สถานศกึ ษา
สถานศกึ ษารบั ทราบ
กศจ.พจิ ารณาอนุมัติจดั สรรให้
สถานศกึ ษา
กศจ.ดาเนนิ การ คัดเลือก/สอบแขง่ ขันและบรรจุแตง่ ตั้ง
สถานศกึ ษา
ผู้อานวยสถานศกึ ษารับการรายงานตัว จดั ทาข้อมลู ประวตั ิ ปฐมนิเทศ
มอบหมายภาระงานใหร้ บั ผดิ ชอบ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. พระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และทีแ่ กไ้ ขเพิม่ เติม
2. เกณฑอ์ ัตรากาลงั ขา้ ราชการครูตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด
3. คู่มือการปฏิบัติงานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กลุ่มบริหารงานบุคคล สานักงานคณะกรรมการ
สถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
61
2. การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มเป็นกระบวนการในการบริหารบุคคลท่ีจะเข้ามาดารง
ตาแหน่งครู ซึ่งตอ้ งดาเนินการตามพระราชบัญญตั ิระเบียบขอ้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547
มาตรา 56 บัญญัติให้ผู้ใดท่ีได้รับการบรรจุแต่งต้ังให้เข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ผู้ใดได้รับการบรรจุแต่งต้ังในตาแหน่งครู ให้ผู้นั้นเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มในตาแหน่งครู
ผู้ชว่ ย เปน็ เวลา 2 ปี กอ่ นแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ ครู เพื่อเพ่ิมพูนความรู้ทักษะและบุคลิกลักษณะในการปฏิบัติ
วชิ าชีพ ท้งั ในการปฏบิ ตั งิ านและการปฏิบัติหน้าท่ีที่เหมาะสมกับวิชาชีพครูตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ.
กาหนด
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
5. ผู้อานวยการสถานศกึ ษาแต่งต้ังคณะกรรมการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม จานวน 3 คน
ประกอบด้วย ผู้อานวยการสถานศึกษา เป็นประธานกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถานศึกษา
จานวน 1 คน เปน็ กรรมการ และขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท่ีผู้อานวยการสถานศึกษาแต่งตั้งให้
ทาหนา้ ทเ่ี ป็นผู้ควบคุม ดแู ลการเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้มเป็นกรรมการและเลขานุการ
6. ให้คณะกรรมการมีหน้าท่ีให้คาปรึกษาแนะนา รวมทั้งประเมินผลการเตรียมความพร้อมและพัฒนา
อย่างเข้ม โดยยึดหลักเกณฑก์ ารมสี ว่ นรว่ ม
7. ให้คณะกรรมการประเมินการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มทุก 3 เดือน ในระยะเวลา 2 ปี
รวม 8 ครงั้
8. ผ้อู านวยการสถานศึกษาไดร้ ับรายงานผลการประเมินแต่ละครั้งให้ดาเนินการ ดังนี้
1. ผลการประเมนิ ต่ากว่าเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด และผู้อานวยการสถานศึกษาเห็นว่าควรทบทวน
ก็อาจให้คณะกรรมการไปพิจารณาทบทวนอีกคร้ัง และหากผลการประเมินยังต่ากว่าเกณฑ์ท่ี
ก.ค.ศ. กาหนด ให้ผู้อานวยการสถานศึกษาส่ังให้ผู้น้ันออกจากราชการภายใน 5 วันทาการ
นบั ตง้ั แต่วนั ท่ีไดร้ ับรายงาน แล้วแจง้ ผู้นนั้ ทราบโดยเร็ว
2. กรณีผลการประเมินต่ากว่าเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด และผู้อานวยการสถานศึกษาเห็น
เช่นเดียวกับคณะกรรมการ ก็สั่งให้ผู้น้ันออกจากราชการภายใน 5 วันทาการ นับต้ังแต่วันที่
ได้รับรายงาน แล้วแจง้ ผูน้ ัน้ ทราบโดยเรว็
3. กรณีผลการประเมินเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ให้มีการเตรียมความพร้อมละพัฒนา
อย่างเข้มต่อไป และเมื่อผ่านการประเมินทุกครั้งจนครบ 2 ปีแล้ว และเห็นควรให้ผู้น้ันรับ
ราชการต่อไป ใหร้ ายงานสานักงานพน้ื ทก่ี ารศึกษาเพือ่ เสนอ กศจ. พิจารณาอนุมัติและแต่งต้ังผู้
น้ันให้ดารงตาแหน่งครตู อ่ ไป พรอ้ มทงั้ แจ้งให้ผูไ้ ด้รับการแตง่ ตง้ั ทราบ
62
แผนผังการปฏบิ ตั ิงาน
สถานศึกษาแต่งตงั้ คณะกรรมการประเมนิ ผล
เตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม
คณะกรรมการทไ่ี ดร้ ับการแต่งตั้งประเมินผลทกุ 3 เดือน
ในระยะเวลา 2 ปี รวม 8 ครง้ั
รายงานสรปุ การประเมินท้ัง 8 ครั้ง
ผอ.สถานศกึ ษาพิจารณาสรปุ ผลการ กรณไี มผ่ า่ น ผลการประเมนิ ต่ากวา่ เกณฑท์ ่ี ก.ค.
ประเมินทง้ั 8 ครัง้ ตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. ศ. กาหนด ผอ.สถานศกึ ษาสงั่ ใหผ้ ู้
กาหนด นัน้ ออกจากราชการ
ให้แจ้งผนู้ น้ั ทราบ และรายงาน
กรณีผ่าน
สพท.
กศจ.พจิ ารณา
ผู้มีอานาจตามมาตรา 53 ส่ังบรรจแุ ตง่ ตงั้ และสง่ คาสง่ั ไปยงั สพท.
แจง้ ผู้เกีย่ วขอ้ งทราบและรายงานสานกั งาน ก.ค.ศ.
เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง
1. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2551 มาตรา 53, 56
63
2. หนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ. 0206.2/ ว 20 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2548 เร่ือง หลักเกณฑ์
และวธิ กี ารเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเขม้
3. หนงั สอื สานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ. 0206.3/ ว 24 ลงวนั ท่ี 14 ธันวาคม 2548 เร่อื ง การปรับปรุงการ
กาหนดตาแหน่งข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
4. หนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ. 0206.2/ ว 1 ลงวันท่ี 2 มกราคม 2551 เรื่อง การปรับอัตรา
เงินเดอื นขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
5. หนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ. 0206.2/ 440 ลงวันที่ 1 เมษายน 2551 เร่ือง การแต่งตั้งครู
ผชู้ ว่ ยให้ดารงตาแหน่งครู
3. การยา้ ยขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
แนวคิด
การยา้ ยขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เพอื่ ใหโ้ อกาสไปดารงตาแหน่งเดิมในสถานศึกษาอื่น
ผู้มีหน้าที่ต้องศึกษาระเบียบ หลักเกณฑ์ให้ถูกต้องชัดเจน และดาเนินการตามกรอบเวลาที่ สพฐ.กาหนด โดย
ยึดหลกั ความถูกต้องยตุ ิธรรม และเกดิ ผลดีตอ่ ทางราชการ
แนวทางการปฏิบัติ
1. ศธจ. ประกาศ เร่ือง การย่ืนคาร้องขอย้ายประจาปี (กรณีพิเศษไมต่ ้องรอประกาศฯ)
2. ครูเขยี นคาร้องขอยา้ ย ปีละ 1 ครง้ั ระหวา่ งวันท่ี 1-31 มกราคม (หรอื ระยะเวลาตามประกาศ)
3. ผูอ้ านวยการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบในแบบคาร้องขอยา้ ย
4. เสนอขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน แลว้ รวบรวมเอกสารสง่ สพท.
5. สพท. ดาเนินการตามระเบียบการยา้ ยฯ
6. กศจ. ทีร่ บั ยา้ ยพิจารณา
7. ผู้มอี านาจออกคาส่งั ยา้ ย
8. ผ้อู านวยการสถานศึกษาแจ้งผยู้ า้ ยทราบ ให้ดาเนนิ การสง่ มอบงานในหน้าท่ี
9. ทาหนังสือสง่ ตัวครผู ู้ยา้ ย
9.1 กรณีภายในเขตเดียวกนั สง่ โรงเรียนรับย้าย
9.2 กรณีต่างเขต สง่ ไปสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาที่รบั ย้าย
64
แผนผังการปฏบิ ัตงิ าน
การยา้ ยขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
กรณปี กติ กรณีพิเศษ
ประกาศ ศธจ.
เรือ่ ง การยื่นคารอ้ งขอยา้ ยประจาปี
ข้าราชการครยู นื่ คารอ้ งขอยา้ ย ปลี ะ 1 คร้งั
(1-31 มกราคม)
ผอ.สถานศึกษา.ดาเนนิ การ ดงั น้ี
1. ผอ.พจิ ารณาให้ความเห็นในแบบคารอ้ งขอยา้ ย
2. เสนอขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
3. รวบรวมคาร้องขอยา้ ย และเอกสารประกอบการยา้ ย สง่ สพท.
สพท. ตรวจสอบคุณสมบตั ิตามกรณยี า้ ย จดั ทาข้อมูลการย้าย
ไม่อนุมตั ิ กศจ.ทร่ี ับยา้ ยพิจารณา
อนมุ ตั ิ
ผมู้ อี านาจออกคาสง่ั ย้าย
ผอ.สถานศึกษาดาเนนิ การดัง้ น้ี
1. แจ้งครผู ู้ยา้ ย
2. ใหค้ รผู ยู้ า้ ยสง่ มอบงานในหนา้ ท่ี
3. ทาหนงั สอื ส่งตัวครผู ยู้ ้าย
65
4. การดาเนนิ การเกย่ี วกบั การเลือ่ นขน้ั เงินเดือน
แนวคดิ
การพิจารณาการเลอื่ นขนั้ เงนิ เดอื น ผมู้ ีหนา้ ที่ ต้องปฏิบัติตามแนวปฏิบัติโดยศึกษาระเบียบ แนวปฏิบัติ ให้
ชดั เจน ดาเนินการอย่างยุติธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ เพ่อื เปน็ ขวัญกาลังใจ แก่ข้าราชการครแู ละบุคลากร
แนวทางการปฏิบตั ิ
1. ให้โรงเรียนแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการครูในสังกัด อย่าง
น้อย 3 คน โดยมีผู้อานวยการโรงเรียนเป็นประธาน และสรุปคะแนนผลการประเมินในแบบเสนอขอเล่ือนข้ัน
ให้ สพท.ส่วนแบบประเมินใหโ้ รงเรยี นเกบ็ ไวเ้ ป็นหลกั ฐานในการขอตรวจสอบ
2. ใหโ้ รงเรียนเสนอขอเลื่อนข้ันเงินเดือนให้กับข้าราชการครูในโรงเรียน ได้ 1ขั้น,0.5ข้ัน หรือไม่เล่ือน
ข้ัน (ถา้ มแี ล้วแตก่ รณี)
3. โรงเรียนจะพิจารณาให้ข้าราชการครูฯ/ลูกจ้างประจา เล่ือน 1 ขั้น ได้ไม่เกินโควตา 15% ของ
จานวนขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาและลกู จ้างประจาท่ีมีตัวอย่จู รงิ
4. กรณีท่โี รงเรยี นใดพิจารณาไม่ให้ข้าราชการครู/ลูกจ้างประจาเลื่อนขั้น ให้โรงเรียนช้ีแจงเหตุผล ใน
รายงานการประชมุ ในแตล่ ะรายบุคคลให้ละเอยี ดชดั เจนพร้อมทง้ั ระบคุ ะแนนประเมินดว้ ย
5. เม่ือคณะกรรมการพิจารณาผลการปฏิบัติงานแล้ว ให้โรงเรียนจัดทาบัญชีรายละเอียด เสนอขอ
เล่ือนข้ันเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและลูกจ้างประจา โดยให้เรียงลาดับความดี
ความชอบ จากคะแนนการประเมินมากสุดไปน้อยสุด และนาส่งบัญชีรายละเอียดการเสนอขอเล่ือนขั้น
เงินเดอื นส่งสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
6. ข้าราชการครูบรรจุใหม่ ที่มีเวลารับราชการไม่ถึง 4 เดือน แต่ไม่น้อยกว่า 3 เดือน 15 วัน มีสิทธิ
ได้รับการพิจารณาให้เล่ือนข้ันเงินเดือนได้ 0.5 ข้ัน แต่ต้องเป็นผู้ที่มีผลการประเมินในระดับ ดีเด่นเท่าน้ัน
(ระดับคะแนนประเมนิ ไม่ต่ากว่า 90 -100%)
7. การนับจานวนคร้ังการลาและการมาทางานสายให้ถือปฏิบัติตามหนังสือ สพฐ. ด่วนที่สุดท่ี ศธ
04009/371 ลงวนั ท่ี 9 มกราคม 2547 ดงั นี้
7.1 การลาบอ่ ยคร้งั
7.1.1 ลาเกนิ 6 ครั้ง สาหรับข้าราชการที่ปฏบิ ตั ริ าชการในสถานศกึ ษา
7.1.2 ลาเกนิ 8 ครั้ง สาหรับข้าราชการที่ปฏิบัติราชการในสานักงาน สาหรับข้าราชการที่ลา
เกินจานวนครง้ั ทก่ี าหนด แต่วันลาไมเ่ กนิ 15 วันทาการ และมีผลการปฏิบัติงานดีเด่น ผู้บังคับบัญชาผู้มีอานาจ
ส่ังเล่อื นขั้นเงินเดอื น อาจพิจารณาผอ่ นผันให้เลือ่ นขน้ั เงินเดอื นได้
7.2 การมาทางานสายเนือง ๆ
7.2.1 มาทางานสายเกิน 8 ครัง้ สาหรับขา้ ราชการท่ปี ฏบิ ตั ริ าชการในสถานศกึ ษา
7.2.2 มาทางานสายเกิน 9 ครง้ั สาหรบั ขา้ ราชการทป่ี ฏิบตั ิราชการในสานกั งาน
66
7.2.3 กรณีป่วยจาเป็น ต้องรักษาตวั เปน็ เวลานาน ไมว่ า่ คราวเดียวหรือหลายคราว รวมกันไม่เกิน
60 วันทาการและมใี บรับรองแพทย์ประกอบนัน้ ไมน่ ามารวมกบั ลาปว่ ยและลากจิ ทีแ่ สดงในบัญชฯี ขอ้ 10.1
7.3 กรณีลาป่วยจาเป็น ให้เป็นไปตาม กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการเลื่อนข้ันเงินเดือนข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2550
8. คะแนนประเมนิ ให้สรุปเป็นร้อยละ เพ่ือประกอบการพิจารณาเลอ่ื นข้นั เงินเดือน ดังน้ี
8.1 ผลการประเมินดีเด่น ระดับคะแนนประเมินไม่ต่ากว่า 90-100% อยู่ในข่ายอาจได้รับการ
พจิ ารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน 1 ข้นั
8.2 ผลการประเมินเป็นท่ยี อมรับได้ ระดับคะแนนประเมินไมต่ ่ากวา่ 60-89% อยู่ในข่ายได้รับการ
พิจารณาเลือ่ นขน้ั เงินเดือน 0.5 ข้ัน
8.3 ผลการประเมินตอ้ งปรบั ปรุง ระดบั คะแนนประเมนิ ต่ากว่า 60% ไมค่ วรเลื่อนขัน้ เงินเดอื น
9. ให้ทกุ โรงเรยี นจัดทาบัญชรี ายชอื่ สารอง สาหรบั ผทู้ ่ีจะได้รับการพิจารณาเล่ือน 1 ขั้น โดยให้รายช่ือผู้ท่ี
ไดร้ บั การพิจารณาสารองการเลอื่ น 1 ขน้ั อยใู่ นลาดับที่ 1 ของบัญชีรายชอ่ื ผูไ้ ด้รบั การพจิ ารณาเลอื่ น 0.5 ขน้ั
67
แผนผังการปฏิบตั งิ าน
ผอ.สถานศึกษา.จดั ทาคาสั่ง แต่งตงั้ คณะกรรมการพิจารณา
- คณะกรรมการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านข้าราชการครู ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 คน
- คณะกรรมการสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานขา้ ราชการครู ไม่นอ้ ยกวา่ 3 คน
คณะกรรมการประเมินฯ ดาเนินการ และจดั ใหม้ ีการประชุม
คณะกรรมการสรปุ ผลการประเมิน ดาเนนิ การโดยการประชมุ
มีผคู้ ดั คา้ น
ผอ.สถานศกึ ษาพจิ ารณาตดั สนิ
ผลการประเมิน และจดั ทาประกาศ
ผลการประเมนิ ให้ครทู ราบโดยท่วั กัน
เห็นดว้ ย
จดั ทาบัญชีรายละเอยี ดตามแบบทก่ี าหนด พร้อมรายงานการ
ประชมุ ของคณะกรรมการฯ นาสง่ สพท.
สพท. ดาเนินการตามอานาจหน้าท่ี
กศจ.พจิ ารณาและ
ทาคาส่งั เล่อื นขนั้ เงนิ เดอื น
สพท. ดาเนนิ การเร่ืองเบิกจ่ายเงนิ เดอื น อนุมตั ิ ผอ.สถานศกึ ษา
-แจ้งครรู ับทราบ
-บนั ทกึ ขอ้ มูลลงทะเบยี นประวตั ิ
หมายเหตุ: การพิจารณาเล่ือนขั้นเงินเดือนของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาที่มีขอบเขต
ความรับผิดชอบหลายจังหวัด ให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาดาเนินการพิจารณาเล่ือนข้ัน
เงินเดือน โดยจัดทาบัญชีรายละเอียดการเล่ือนข้ันเงินเดือนของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาแยก
ตามจงั หวัดทข่ี า้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทีป่ ฏิบัติหน้าท่ีอยู่ในจังหวัดนั้นและเสนอ กศจ. จังหวัดนน้ั ๆ
68
5. การลาทกุ ประเภท
แนวคดิ
การลาทกุ ประเภทของขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ผรู้ บั ผดิ ชอบตอ้ งดาเนินการให้เป็นไป
ตามท่ีกฎหมายระเบียบกาหนด ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.
2547 และจัดให้มีการสรุปรายบคุ คล ทกุ ปงี บประมาณ
1. ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555
2. คู่มือการปฏิบัติงานสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กลุ่มบริหารงานบุคคล สานักงานคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
การลา 11 ประเภท บทบาทส่ังกา
1. ลาปว่ ย เงอื่ นไขของการลาเพ่ือขอพิจาร
2. ลาคลอดบุตร
3. ลาไปชว่ ยเหลือภรรยาไปคลอดบุตร 1. ลาปว่ ยสง่ ใบลาก่อนหรอื ใบวันลา ลา 3
4. ลากจิ ส่วนตัว อานาจครึ่งหนงึ่ ไมเ่ กิน 60 วนั ผอ.สรรหา
5. ลาพักรอ้ น 2. ลาก่นหรอื ลาในวนั คลอด รวมแลว้ ไมเ่ ก
6. ลาบวชหรอื ลาประกอบพธิ บี วช 3. ลาไปช่วยเล้ียงลูก ลาไดไ้ มเ่ กนิ 15 วัน
7. ลาตรวจเลือดหรือเตรยี มผล ภรรยาทีช่ อบด้วยกฎหมาย
8. ลาศกึ ษาต่อ อบรม วิจัยดูงาน 4. ลากิจต้องส่งใบลาก่อนไดร้ บั อนญุ าตแล
9. ลาไปปฏบิ ตั งิ านในองค์การตา่ งประเทศ เกิน 30 วัน ผอ.สรรหาไมเ่ กนิ 45 วัน
10. ลาตดิ ตามคูส่ มรส 5. ลาพกั ผอ่ น ข้าราชการครลู าไมไ่ ด้
11. ลาไปฟน้ื ฟสู มรรถภาพด้านอาชีพ 6. ลาบวชหรือประกอบพิธีบวช ตอ้ งส่งใบ
รายงานตัวภายใน 5 วนั
7. ลาตรวจเลอื ดหรอื เตรยี มพล ไปตรวจเล
เตรียมพลรายงานภายใน 48 ช่วั โมง
8. ลาศกึ ษาตอ่
- ลาในประเทศ ผอ.รร
- ลาตา่ งประเทศ เลขา กพฐ.
9. ลาไปปฏบิ ตั งิ านในองค์การตา่ งประเทศ
กลบั มารายงานตวั เขา้ ทางานภายใน 15 ว
10. ลาติดตามค่สู มรส ลาได้ 2 ปตี อ่ ได้อกี
11. ลาไปฟน้ื ฟูสมรรถภาพดา้ นอาชีพ มสี ทิ
ได้รบั อนญุ าตจงึ จะหยุดราชการได้
69 ข้อมลู กิจกรรมการเลื่อนขั้นเงินเดอื น
ารของ ผอ.รร ครง่ึ ปีแรก 1 ตลุ าคม ถึงวันที่ 31 มีนาคม
รณาอนญุ าต/ไม่อนุญาต ครง่ึ ปหี ลงั 1 เมษายน ถงึ วนั ที่ 30 กันยายน
30 วนั ข้นึ ไปต้องมีใบรบั รองแพทย์ ผอ.มี ผู้ประสงค์ลายนื่ ใบลา
ไมเ่ กิน 120 วัน
ผอ.รร พจิ ารณาอนุญาต
กนิ 90 วัน
ทาการลาภายในชว่ ง 90 วัน ตอ้ งเป็น บันทกึ ข้อมลู บุคคลสรุปแบบรายงานการลา
ปว่ ย
ล้วจงึ หยุด ผอ.รร มีอานาจครง้ั หนงึ่ ไม่ - ลาเกิน 6 ครงั้ สาหรบั ข้าราชการครู
มาทางานสายเนืองๆ
บลากอ่ นไมน่ ้อยกว่า 60 วัน สกึ แลว้ - มาสายเกิน 8 ครง้ั ข้าราชการ
ลอื กรายงานกอ่ นไมน่ ้อยกวา่ 48 ชัว่ โมง ผอ.รร. แจง้ เตือนผูล้ า
เป็นระยะๆไม่ให้เกิน
ศ รมต.มอี านาจอนญุ าตไมเ่ กิน 1 ปี เมือ่ กาหนดรกั กันเตอื นกัน
วัน
ก 2 ปี เกิน 4 ปี ให้ลาออกจากราชการ
ทธิจะฟืน้ ฟูสขุ ภาพ แตไ่ มเ่ กนิ 12 เดอื น
70
6. การดาเนนิ งานวนิ ยั ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
แนวคดิ
การดาเนนิ งานวนิ ยั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาครอบคลุมตั้งแต่การส่งเสริมวินยั และปอ้ ง
ปรามมใิ ห้กระทาผดิ ใหแ้ ก่ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตลอดจนรบั เร่ืองรอ้ งเรียน สบื สวน
ขอ้ เท็จจรงิ แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยรา้ ยแรงและไมร่ า้ ยแรง การดาเนนิ การทางวินัยส้ินสดุ
รวมถงึ การส่งั พักราชการและการสงั่ ให้ออกจากราชการไวก้ ่อน
แนวการปฏบิ ตั ิ
การดาเนินการทางวนิ ยั ไม่ร้ายแรงขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
1. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจรงิ เมอื่ มีการรอ้ งเรียนหรอื ปรากฏเปน็
ขา่ วในส่ือมวลชน หรือไดร้ บั การรายงานจากหน่วยงานอ่นื หรอื ผู้บงั คับบญั ชาพบเห็นการกระทาผิด
2. ตรวจสานวนการสืบสวนขอ้ เท็จจริง ถา้ เปน็ กรณีไม่มมี ลู กเ็ สนอผบู้ ังคบั บัญชายุติเรอื่ ง แตถ่ า้ เปน็
กรณมี มี ลู เปน็ ความผดิ วนิ ัยไม่ร้ายแรง แตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบสวนวินยั ไม่รา้ ยแรง
3. คณะกรรมการดาเนินการสอบสวนตากฎ ก.ค.ศ.วา่ ด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2550 และเสนอ
รายงานการสอบสวน พร้อมสานวนการสอบสวน ใหผ้ ู้สงั่ วินัย ตามระเบียบ ก.ค.ศ.ว่าด้วยวธิ กี ารออกคาสั่ง
เก่ยี วกบั การลงโทษทางวนิ ัยข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2548 ประกอบกับ กฎ ก.ค.ศ. ว่า
ด้วยอานาจการลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงนิ เดือนหรือลดข้ันเงินเดือน พ.ศ.2549
4. รายงานการดาเนนิ การทางวนิ ัยตามมาตรา 104(1) แห่งพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติมต่อไป
การดาเนนิ การทางวินยั อยา่ งร้ายแรงขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
1. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาแตง่ ตั้งคณะกรรมการสบื สวนขอ้ เท็จจริง เม่อื มีการรอ้ งเรียน หรอื ปรากฎเป็น
ข่าวในส่อื มวลชนหรือได้รบั รายงานจากหน่วยงานอ่นื หรือผู้บังคบั บัญชาพบเห็นการกระทาความผิด
2. ตรวจสานวนการสบื สวนขอ้ เท็จจรงิ ถ้าเปน็ กรณีไม่มีมลู ก็เสนอผู้บังคบั บัญชายตุ ิเรื่อง แตถ่ า้ เป็น
กรณมี มี ูลเปน็ ความผิดวินัยรา้ ยแรง ให้รายงานถงึ สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาพิจารณาดาเนนิ การรายงาน
ศึกษาธิการจังหวัดเพ่ือให้ กศจ.พิจารณาแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง
3. คณะกรรมการดาเนนิ การสอบสวนตามกฎ ก.ค.ศ.ว่าดว้ ยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2550 และ
เสนอรายงานการสอบสวน พร้อมสานวนการสอบสวนให้ผู้ส่งั แตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบสวนพิจารณา ถ้าไม่ผดิ
วินยั ใหย้ ุตเิ รือ่ ง แตถ่ ้าผิดวินัยกใ็ หด้ าเนินการต่อไปตามระเบยี บ
การส่งั พักราชการ
1. เม่อื มีการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
หรอื มีกรณีถูกฟ้องคดีอาญา หรอื ตอ้ งหาว่ากระทาผดิ อาญา และมเี หตุตามกฎ ก.ค.ฉบับที่ 22 (พ.ศ.2542) ว่า
ด้วยการสั่งพักราชการ การสงั่ ให้ออกจากราชการไว้ก่อน และการดาเนินการเพือ่ ใหเ้ ปน็ ไปตามผลการสอบสวน
พิจารณา และกฎ ก.พ.ฉบบั ที่ 11(พ.ศ.2539) วา่ ด้วยการส่งั พักราชการและการสง่ั ให้ออกจากราชการไว้ก่อน
เช่น ถา้ ใหค้ งอยู่ในหนา้ ท่รี าชการสอบสวนพจิ ารณาหรือจะกอ่ ให้เกดิ ความไม่สงบเรยี บร้อยขึน้ ฯลฯ แลว้
71
2. ผู้มีอานาจตามาตรา 53 ออกคาสงั่ พักราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อรอฟังผลการ
สอบสวนพจิ ารณา
การส่งั ให้ออกจากราชการไวก้ ่อน
1. เมือ่ มกี ารแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
หรือมีกรณถี ูกฟ้องคดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทาผดิ อาญา ซึง่ เป็นเหตทุ ่ีอาจถูกส่ังพักราชการตามข้อ 3 และผู้
มอี านาจตามมาตรา 53 พิจารณาแล้วเห็นวา่ การสอบสวนพิจารณาหรือการพิจารณาคดีที่เปน็ เหตุท่ีอาจถกู สั่ง
พักราชนนั้ จะไม่แล้วเสรจ็ โดยเร็ว
2. ผูม้ อี านาจตามมาตรา 53 ออกคาสั่งให้ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาออกจากราชการไว้
ก่อนเพื่อรอฟังผลการสอบสวนพจิ ารณา
72
แผนผังการปฏิบัติงาน เริ่มต้น
การส่งเสรมิ วินัยขา้ ราชการครแู ละ มีกรณีกล่าวหา โดยการรอ้ งเรียน เป็นเปน็ ข่าวทางสอ่ื มวลชน
บุคลากรทางการศกึ ษา ผบู้ งั คบั บญั ชาพบเห็น หรอื ได้รบั รายงานจากหนว่ ยงานอ่นื
แตง่ ต้ังคระกรรมการสืบสวนขอ้ เทจ็ จริ ง
รางาน สพท. ร้ายแรง มีมูล ไมร่ ้ายแรง ไมม่ ีมลู
ศธจ.
แตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบสวนวินัยไมร่ า้ ยแรง ยตุ เิ รื่อง
กศจ.พจิ ารณา
แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนวนิ ยั รา้ ยแรง ผู้บังคบั บัญชาสั่ง
ลงโทษ
พักราชการ ใหอ้ อกจากราชการไว้กอ่ น รายงาน สพท.
ศธจ.
ผ้มู ีอานาจตามมาตรา
53 พิจารณาสานวน กศจ.พิจารณา
สพฐ.พิจารณา
ผิดวนิ ยั ไม่ผดิ วินยั ยตุ ิเร่อื ง
เห็นพอ้ งในระดบั เหน็ แย้งกันใน เหน็ พ้องกนั ใน กรณเี หน็ แยง้ กบั มติ กศจ. กรณีเหน็ ด้วยกับมติ กศจ.
โทษไมร่ ้ายแรง ระดับโทษ ระดับโทษ ก.ค.ศ.พจิ ารณา (วนิ ยั สนิ้ สุด)
ร้ายแรง
ผมู้ ีอานาจ กศจ. วินยั ส้นิ สุด
สั่งลงโทษ พิจารณา
ผมู้ อี านาจสัง่ หรือปฏบิ ตั ติ ามมติ
รายงานตามมาตรา 104(2)
ก.ค.ศ.พิจารณา
วินยั สิน้ สุด
73
เอกสารที่เกย่ี วขอ้ ง
1 พระราชบัญญตั ริ ะเบียบข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และทีแ่ กไ้ ขเพิม่ เตมิ
2 กฎ ก.ค.ศ. วา่ ด้วยการสอบสวนพจิ ารณา พ.ศ.2550
3 กฎ ก.ค.ศ. ว่าดว้ ยกรณคี วามผดิ ที่ปรากฏชัดแจง้ พ.ศ.2549
4. กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยอานาจการลงโทษภาคทัณฑ์ ตดั เงินเดือน หรอื ลดขั้นเงนิ เดือน พ.ศ.2549
5. ระเบียบ ก.ค.ศ. วา่ ดว้ ยวิธกี ารออกคาสง่ั เกย่ี วกบั การลงโทษทางวนิ ยั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
พ.ศ.2548
6. ระเบยี บ ก.ค.ศ. วา่ ดว้ ยวันออกจากราชการของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2548
7. ระเบียบ ก.ค.ศ. วา่ ดว้ ยการรายงานการดาเนินการทงาวนิ ัยและการออกจากราชการของขา้ ราชกาครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2551
8. กฎ ก.ค.ฉบบั ท่ี 22 (พ.ศ.2542) ว่าด้วยการสัง่ พกั ราชการ การส่งั ให้ออกจากราชการไวก้ ่อนและการดาเนนิ การ
เพ่อื ใหไ้ ปไปตามผลการสอบสวนพิจารณา
9. กฎหมาย กฎ ระเบียบ และหนงั สือเวียนอน่ื ทเ่ี กี่ยวข้อง
7. การจดั ทาบัญชีรายชื่อและให้ความเหน็ เก่ียวกับการเสนอขอพระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์
แนวคิด
งานการเสนอขอพระราชทานเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ ผู้รบั ผดิ ชอบ ต้องศกึ ษาระเบยี บ แนวปฏิบัติ การ
ขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ จัดใหม้ ีการทาทะเบียนคุม และชีแ้ จงแก่ข้าราชการครทู ี่มีคุณสมบัติ
เสนอขอรบั พระราชทานเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ ทม่ี ีสิทธไ์ิ ด้รับตามระเบยี บ
แนวทางการปฏิบัติ
1. ช้ัน ต.ม. เป็นข้าราชการระดับปฏิบัติการ หรือเป็นข้าราชการครูผู้ช่วย หรือครูอันดับ คศ.1 และมี
เวลารับราชการติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ นับตั้งแต่วันท่ีบรรจุหรือเล่ือนขั้นจนถึงก่อนวันเฉลิมพระ
ชนมพรรษาของปีท่ขี อพระราชทาน 60 วนั
2. ชั้น ต.ช. เป็นข้าราชการอันดับ คศ.2 รับเงินเดือนไม่ต่ากว่าขั้นต่าของระดับชานาญการ (15,050
บาท) แต่เงินเดอื นไมถ่ งึ ข้ันตา่ ของระดับชานาญการพเิ ศษ (22,140 บาท)
3. ชนั้ ท.ม. เปน็ ข้าราชการระดับชานาญการ หรือเป็นข้าราชการครูอันดับ คศ.2 และรับเงินเดือนไม่
ตา่ กว่าข้นั ต่าของระดบั ชานาญการพิเศษ (22,140)
4. ช้ัน ท.ช. เป็นข้าราชการระดับชานาญการ หรือเป็นข้าราชการอันดับ คศ.2 และรับเงินเดือนไม่ต่า
กว่าขั้นต่าของระดับชานาญการพิเศษ (22,140) มาแล้ว 5 ปีบริบูรณ์ หรือเป็นข้าราชการระดับชานาญการ
พิเศษ หรือข้าราชการอันดบั คศ.3
5. ช้ันสายสะพาย ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) (ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาเท่าน้ัน)
ขา้ ราชการระดับ 8 (อันดับ คศ.3)
5.1 ตอ้ งไดร้ ับเงินเดือนเต็มขั้นของระดับ 8 (อนั ดบั คศ.3) ขั้น 58,390 บาท
5.2 ไดร้ บั เครื่องราชย์ฯ ชั้น ท.ช. มาแลว้ ไมน่ ้อยกว่า 5 ปบี รบิ ูรณ์
5.3 ถ้ามคี ุณสมบัตติ ามขอ้ 1-2 ใหเ้ สนอขอกอ่ นวนั ท่ี 1 ตลุ าคม ของปีท่ีจะเกษียณ
74
แผนผังการปฏบิ ตั ิงาน
สพท. แจง้ สถานศกึ ษาให้สารวจ และ
รวบรวมคาขอเครอ่ื งราชฯตามระเบียบ
สถานศึกษา
1. ผอ.รร. แจง้ ครทู ราบ
2. ครูเขยี นคาขอเคร่อื งราชฯ
3. ผอ.ตรวจสอบคณุ สมบตั ผิ ูข้ อ/ผอ.ลงนาม
4. รวบรวมเอกสารคาขอสง่ สพท.
สพท. รวบรวมดาเนินการตรวจสอบและนาสง่ สพฐ
สานักนายกฯ พจิ ารณา
อนมุ ตั ิ
สพฐ.และ สพท.บนั ทึกลงทะเบียนประวัติ
สถานศกึ ษา
1. ผอ. แจ้งครูทราบ
2. ผอ. มอบหมายผูร้ บั ผิดชอบ จัดทาทะเบยี นคุม
เอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง
แนวปฏิบัติในการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญจักรพรรดิมาลา ข้าราชการครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา
75
8. การสง่ เสรมิ การประเมินวิทยฐานะข้าราชการครู
แนวคดิ
ก.ค.ศ. กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารให้ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู มีวทิ ย
ฐานะและเล่ือนวทิ ยฐานะ ตามหนังสอื สานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 โดยมี
เจตนารมณ์เพอ่ื สง่ เสริมสนับสนนุ ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผดู้ ารงตาแหนง่ ครู ได้มีการสง่ั สม
ความชานาญและมคี วามเช่ยี วชาญในการจดั การเรียนการสอน มกี ารพฒั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง และสง่ เสรมิ
ให้ครปู ระพฤติปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดี มวี ินัย คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี
แนวทางปฏิบตั ิ
1. ขา้ ราชการครทู ี่มีคุณสมบตั ิครบถ้วนตามหลักเกณฑย์ ่นื คาขอพรอ้ มเอกสารหลกั ฐานต่อผอู้ านวยการ
สถานศกึ ษา
2. ผ้อู านวยการสถานศึกษาต้ังคณะกรรมการตรวจสอบคุณสมบตั ิและกลนั่ กรองข้อมลู
3. ผู้อานวยการสถานศึกษาตรวจสอบและรบั รองขอ้ มูล ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน และจัดทาเอกสารที่
เกี่ยวขอ้ ง
4. สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาตรวจสอบคุณสมบัติและเอกสารหลักฐาน
5. สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด ตรวจสอบคณุ สมบัตเิ อกสาร
6. คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพจิ ารณาดาเนินการ
76
แผนผงั การปฏิบัติงาน
ขัน้ ตอนการขอมีวิทยฐานะและเลื่อนวทิ ยฐานะสายงานการสอน
ับนทึก ้ขอ ูมลลงใน Logbook ข้าราชการครู แต่ละปคี รปู ระเมนิ ผู้อานวยการสถานศกึ ษาต้งั เสนอความเหน็ ผอ.ประเมินรายปกี ารศกึ ษาและประเมนิ
ปฏิบัติงาน 5 ปี ตนเองและรายงานท้ัง 3 เสนอ คณะกรรมการกลัน่ กรองผลการ ภาพรวม 5 ปีการศกึ ษา
ด้าน
ปีการศกึ ษาที่ 1-5 1 ด้านการจัดการเรยี น ปฏบิ ัติงาน
การสอน
รวบรวมข้อมูล 2 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ ยน่ื คาขอ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา
Logbook และ ชั้นเรียน -ตรวจสอบและรบั รองข้อมูล ตรวจสอบคณุ สมบตั แิ ละเอกสาร
3 ดา้ นการพัฒนาตนเอง - ผลการประเมนิ ภาพรวม 5 ปีการศกึ ษา เสนอ สพท.
เอกสารอน่ื และวิชาชีพ วฐ2 หลักฐาน
ครบ 5 ปี ครจู ัดทาคาขอพรอ้ มเอกสาร
หลักฐานและผลงานทางวชิ าการ
(ชช,ชชพ)
คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พจิ ารณา สานักงานศึกษาธิการจงั หวัด
ตรวจสอบคณุ สมบตั ิ
วิทยฐานะครูชานาญการ วิทยฐานะครเู ชยี่ วชาญ
วทิ ยฐานะครชู านาญการพิเศษ วทิ ยฐานะครูเชีย่ วชาญพิเศษ
อนุมัติ ไม่อนุมตั ิ เสนอ ก.ค.ศ. พจิ ารณาพร้อมผลงานทาง สง่ ผลงานทางวชิ าการท่ี
วิทย วทิ ย วิชาการและเอกสารท่เี กย่ี วข้อง ปรบั ปรงุ แลว้
ฐานะ มีคุณสมบตั ิ
ครู แจง้ สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา ฐานะครู
ชานา กรณีไมอ่ นุมตั ิใหแ้ จ้งข้อสังเกตด้วย ชานาญ สานกั งาน ก.ค.ศ. ดาเนนิ การประเมนิ
แจญ้งกผา้ขู รอรบั การประเมิน การพิเศษ
พิเศษ
มติ ก.ค.ศ.
มติ ก.ค.ศ. วทิ ยฐานะ ปรบั ปรงุ
วิทยฐานะ ครูชานาญ วทิ ยฐานะ
ครูชานาญ กไมารอ่ พนเิ ุมศัตษิ ครชู านาญ
การพิเศษแจ้ง ศธจ. วทิ ยฐานะ แจง้ ศธจ. กแาลระพผิเู้ขศอษรบั การประเมนิ
ครชู านาญ ปรบั ปรงุ ผลงานทางวชิ าการ
การพเิ ศษ
แจ้งผ้ขู อรับการประเมนิ
77
78
79
80
81
82
83
เครือข่ายผู้ปกครองกับการเข้ามามี บทบาทในฐานะ การสร้างความร่วมมือ แนวร่วม และ
หรือการมีส่วน ร่วมในการพัฒนาการศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 การมีส่วนร่วมของ
บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองท้องถ่ิน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กร
วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น เพ่ือท่ีจะให้เกิด กลไก ความร่วมมือในการ
ดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นร่วมกันระหวา่ ง ผูป้ กครองกบั สถานศกึ ษา
แนวทางการปฏบิ ัติ แผนผังการปฏิบัตงิ าน
1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการทร่ี ับผิดชอบ 1. แต่งตั้ง 2. ประกาศ คัดเลอื ก
2. ประกาศ คัดเลือก สรรหา เลอื กตั้ง คณะกรรมการ คณะกรรมการ /สรรหา
เครอื ข่ายผู้ปกครอง รบั ผิดชอบงานเครอื ข่าย เลือกตัง้
3. ออกคาสั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการ เครือข่าย ผปู้ กครอง
ผ้ปู กครอง คณะกรรมการ
4. จัดประชมุ คณะกรรมการ เครือข่ายผปู้ กครอง เครือข่ายผปู้ กครอง
5. จัดทาแผนภูมเิ ครือข่ายผปู้ กครอง
6. กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน
7. สรุปผล รายงานผล
3. ออกคาสง่ั แต่งตง้ั 4. จัดประชุม
คณะกรรมการ คณะกรรมการ ฯ อย่าง
เครอื ขา่ ยผู้ปกครอง นอ้ ยปลี ะ 2 คร้ัง
5. คณะกรรมการเครือขา่ ยผูป้ กครอง
จดั ทาแผนปฏิบัติงานประจาปี
6. สรุปผล รายงานผลเครือขา่ ยผปู้ กครอง
84
การจัดระบบการบริหารและพฒั นาองค์กร
การบรหิ ารและการพัฒนาองคก์ ร เปน็ ศลิ ปะในการดาเนินงาน ให้เปน็ ผลสาเร็จ ผู้บริหารไม่ใช่เป็นผู้ลง
มือปฏิบัติ แต่จะเป็นผู้ใช้ศิลปะในการทา ให้ผู้ปฏิบัติทางานสาเร็จตามจุดมุ่งหมาย ตามที่ผู้บริหารต้ังใจ
ผู้บริหารต้องเผชิญกับสถานการณ์ท่ีไม่คาดคิด และวิกฤตทางด้านต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน ลักษณะงานบริหาร จึงไม่
แน่นอน เส่ียงกับสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเปล่ียนแปลง ผู้บริหารก็ควรแสวงหาโอกาสและสร้างความได้เปรียบให้
เกิดกับองค์กร โดยการมุ่งเน้นพัฒนาองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีระบบ โดยไม่คานึงถึงตัวบุคคล แต่ให้
พิจารณาทผี่ ลงานเป็นหลกั
แนวทางการปฏบิ ัติ
1. แต่งตงั้ คณะทางาน
2. ศกึ ษาวเิ คราะห์ จัดทาแผนกลยุทธ์และแผนพัฒนาสถานศึกษา
3. กาหนดตัวช้ีวดั ความสาเร็จของการบรหิ ารจัดการ
4. จดั ระบบบริหารและพัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ องคท์ ่ที ันสมัยและมีประสิทธิภาพ
5. ประเมนิ ผลงานและรายงานผลการพัฒนา
6. ปรบั ปรงุ และพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
แผนผังการปฏิบัติงาน
การจดั ระบบบรหิ ารและพฒั นาองค์กร
แต่งต้ังคณะทางาน
ศกึ ษาวเิ คราะห์ จัดทาแผนกลยุทธ์ / แผนพัฒนาสถานศึกษา
กาหนดตวั ช้วี ัดความสาเร็จ
จดั ระบบบริหารและพฒั นาสถานศกึ ษา
ประเมนิ ผลงานและรายงาน
ปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบบรหิ ารสถานศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง
85
การพัฒนามาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน เปน็ เครอ่ื งมือเสริมสร้างความพร้อม หรือตรวจสอบตนเอง ให้มีกิจกรรมการ
ปฏิบัตงิ านที่เหมาะสม เพียงพอครอบคลมุ จนม่นั ใจว่า สง่ ผลตอ่ การประเมินคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา
เป็นคูม่ ือ หรือแนวทางในการปฏบิ ัติงานของบคุ ลากรในสถานศึกษา
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
1. แตง่ ตงั้ คณะทางาน
2. ศกึ ษาวสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ และโครงสร้างการบรหิ ารสถานศึกษา
3. ประชุม วางแผนและจัดทามาตรฐานการปฏิบตั งิ านใหค้ รอบคลุมฝ่ายบรหิ ารทวั่ ไป
4. จัดพิมพค์ มู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน
5. ขออนุมตั ิ 6.ประชมุ ชแี้ จงและประกาศใช้
6. ติดตามและประเมนิ ผล
7. ปรับปรุง พัฒนา
8. สรปุ ผล ปญั หาอปุ สรรค
การพฒั นามาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
แต่งต้งั คณะทางาน
ศกึ ษา วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ โครงสรา้ งการบรหิ ารสถานศึกษา
ประชมุ วางแผน
จดั ทามาตรฐาน / แนวปฏบิ ัติ / พรรณางาน
จดั พิมพ์ ขออนมุ ัติ
ประชมุ ช้ีแจงและประกาศใช้
ติดตามประเมินผล
ปรับปรุง พฒั นา
86
งานเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา
การบรหิ ารสถานศกึ ษาจาเป็นตอ้ งใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารและพฒั นาการศึกษา
โดยจดั หาเทคโนโลยีเพอ่ื พัฒนาการศึกษาในงานต่างๆสาหรับสมดุลและพัฒนาให้บุคลากรสามารถนาหรือ
พฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษามาใชจ้ ดั การศึกษา
แนวทางปฏิบัติ
1 แตง่ ตงั้ ผรู้ ับผิดชอบ แผนผังการปฏบิ ัตงิ าน
2 สารวจข้อมลู เทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา
3 วางแผนกาหนดนโยบายหรือแนวทางการนา แตง่ ต้ังผู้รบั ผดิ ชอบ
นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษามาใชใ้ นการ
บริหารและการพัฒนาการศกึ ษา สารวจข้อมลู เทคโนโลยี
4.ระดมจัดหาเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาในงานดา้ นต่างๆ เพ่อื การศกึ ษา
5 สนับสนุนให้บุคลากรนานวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อ
การศึกษามาใช้ในการบริหารและพัฒนาการศึกษา วางแผน กาหนดและแนวทางการนา
6 ส่งเสริมให้มกี ารพัฒนา บคุ ลากรให้มีความรู้ นวตั กรรม/เทคโนโลยี
ความสามารถและทักษะในการผลิตและการใช้
เทคโนโลยี จัดหานวัตกรรม พฒั นาบคุ ลากร
7 สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารวจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษาการพัฒนา เทคโนโลยี ให้มคี วามรูท้ กั ษะ
เทคโนโลยี
8 ตดิ ตามประเมนิ ผลการใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา
ใหบ้ ริการนวตั กรรมเทคโนโลยี พัฒนาบคุ ลากร
ติดตามประเมนิ ผล ให้มคี วามรูท้ กั ษะ
87
การดแู ลอาคารสถานท่แี ละสภาพแวดลอ้ ม
การดาเนินงาน ดูแลอาคารสถานท่ี และสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา เป็นงานท่ีมีความสาคัญ
ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และการจัดการเรียนการสอน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการวางแผน
มาตรการ การดูแลรักษาความสะอาด ความปลอดภัย ด้านสาธารณูปโภคตลอดจนการบารุงรักษา เพ่ือ
เออื้ อานวยความสะดวก และปลอดภัยใหเ้ กดิ ขนึ้ ในสถานศึกษา
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
1. ศกึ ษาระเบยี บมาตรการ หลักเกณฑ์ แนวปฏิบตั ิการขออนุญาตใช้อาคารสถานที่ ของส่วนราชการ
2. จดั ทาขอ้ บงั คับ/ระเบียบการขอใชส้ ถานท/่ี แบบฟอรม์ ต่างๆที่เก่ยี วข้อง
3. จดั ทาคาสงั่ มอบหมายผรู้ ับผดิ ชอบดูแล ทาความสะอาด
4. ดาเนนิ การ/ปรบั ปรุงภมู ทิ ศั น์ สภาพแวดล้อมตา่ งๆให้ครอบคลมุ
5. ประเมินความพึงพอใจของผ้รู ับบริการ
6. สรุปผลการดาเนนิ งาน นาเสนอแนวทางแกไ้ ขและพัฒนางานการบรกิ ารอาคารสถานท่ี
แผนผังการปฏิบตั ิงาน
ศึกษาระเบยี บ มาตรการ
หลกั เกณฑ์ แนวปฏบิ ตั ิ
คณะทางานจดั ทาระเบยี บ แบบฟอรม์
การขอใชอ้ าคารสถานท่ี และวางแผนกิจกรรม 5 ส.
แตง่ ตงั้ คณะทางาน/มอบหมายผู้รับผดิ ชอบ/ส่ือสาร ไม่เหน็ ชอบ
ผอ.ลงนาม อนุมัติ แผน/คาสงั่ /เมหอ็นบชหอมบายงาน
ดาเนนิ การตามแเหผน็นชอบ
ประเมนิ ความพงึ พอใจ
เอกสารท่เี กีย่ วข้อง สรุปรายงาน/นาเสนอแนวทางแก้ไข/พฒั นางาน
คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา กลุม่ งานบรหิ ารท่วั ไป และกลุม่ อานวยการ
88
งานยานพาหนะ
การบรกิ ารด้านยานพาหนะ เป็นภารกิจ ทจ่ี าเปน็ แกห่ น่วยงานในการใช้ยานพาหนะส่วนกลาง ของ
หน่วยงาน หรือสถานศึกษาน้ัน ต้องมีหลักเกณฑ์ระเบียบ และมาตรการในการใช้ยานพาหนะส่วนกลาง เพ่ือ
การบริหารสาหรบั บุคลากรในหน่วยงาน หรือสถานศึกษาที่แจ้งความประสงค์ใช้ยานพาหนะ รวมทั้งต้องมีการ
ควบคุมตรวจสอบ ซ่อม บารุงรักษา และสรุปรายงานการบริการด้านยานพาหนะ เป็นภารกิจท่ีจาเป็นแก่
หน่วยงานในการใช้ยานพาหนะส่วนกลางของหน่วยงานหรือสถานศึกษาน้ันนั้นท่ีต้องมีหลักเกณฑ์ระเบียบและ
มาตรการในการใช้ยานพาหนะส่วนกลางเพ่ือการบริหารสาหรับบุคลากรในหน่วยงานหรือสถานศึกษาที่แจ้ง
ความประสงคใ์ ชย้ านพาหนะรวมทง้ั ตอ้ งมีการควบคมุ ตรวจสอบซ่อมบารุงรกั ษาและสรปุ รายงาน
แนวทางการปฏิบตั ิ
1. ศกึ ษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาในการใช้ยานพาหนะส่วนกลางของสถานศึกษา
2. จาแนกพาหนะสว่ นกลาง โดยจัดเป็นหมวดหมเู่ พ่ือความสะดวกในการควบคุม การบารงุ รักษา
การให้บรกิ าร รวมท้ังการจดั ทาเอกสารคู่มือประจารถและขออนุญาตชาระภาษรี ถยนต์
3. กาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ ีการในการขอใชย้ านพาหนะสว่ นกลาง รวมทง้ั การขอใช้น้ามันส่วนกลาง
หรอื กรณีทต่ี อ้ งใชน้ า้ มนั จากแผนงาน/โครงการที่เกย่ี วขอ้ ง
4. กาหนดผู้รบั ผดิ ชอบเปน็ การเฉพาะในเรอ่ื งของการขอใช้ การดูแลบารุงรกั ษา การตรวจสภาพ การ
ส่งซ่อม พร้อมทั้งรายงานผู้บังคับบัญชาทราบตามลาดบั
5. กาหนดสถานทเ่ี กบ็ รกั ษายานพาหนะส่วนกลาง ให้อยู่ในทป่ี ลอดภยั และสอดคลอ้ งกับระเบียบ
กรณขี ออนุญาตนาพาหนะสว่ นกลางเก็บรักษานอกหน่วยงาน ต้องดาเนินการตามระเบียบและ
กฎหมายท่ีเกยี่ วข้อง
แบบฟอร์มท่ีใช้
- แบบขออนญุ าตใช้รถยนตส์ ่วนกลาง
- แบบสั่งจ่ายนา้ มนั เช้ือเพลงิ
- บันทึกการใช้รถยนตข์ องพนักงานขบั รถ
เอกสารอ้างอิง
1. ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรวี ่ารถราชการ พ.ศ. 2523 และทแี่ ก้ไขเพ่มิ เติม
2. ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ
89
ศกึ ษาสภาพปจั จบุ ัน
ปัญหาในการใชย้ านพาหนะส่วนกลาง
ของสถานศึกษา
ผู้รบั ผิดชอบ/เจ้าหน้าท่ี
- จาแนกพาหนะสว่ นกลางโดยจัดเป็นหมวดหมู่
- กาหนดหลักเกณฑ์วธิ กี ารในการขอใช้ยานพาหนะ
สว่ นกลางรวมทัง้ การขอใช้นา้ มนั
ผอ.สถานศกึ ษา ไมอ่ นุมตั ิ
อนุมตั สิ ง่ั จ่ายนา้ มันเช้อื เพลิง
อนมุ ตั ิ
กาหนดสถานทเี่ กบ็ รกั ษาพาหนะสว่ นกลาง
ให้อยูใ่ นทปี่ ลอดภยั และสอดคล้อง
กับระเบียบ
นาผลการดูแล บารงุ รกั ษา การตรวจสภาพ
ประเมนิ ผลประสิทธภิ าพยานพาหนะ
ส่วนกลางเพ่ือนาไปสูก่ ารปรับปรุงต่อไป
90
งานนักการภารโรงและลกู จ้าง
นกั การภารโรงและลูกจ้างเปน็ บุคลากรสาคัญในการปรับปรุงพฒั นาและดแู ลอาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อมและสง่ิ
อานวยความสะดวกในสถานศึกษา การบรหิ ารจดั การให้นกั การภารโรงและลกู จ้างปฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ สง่ ผลดี
ต่อการพฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษา
แนวทางการปฏิบัติ
1. แต่งตั้งผรู้ ับผิดชอบบริหารงาน
2. จัดทาแผนปฏิบตั ิงานและปฏทิ ินปฏบิ ตั ิงานของนกั การภารโรงและลกู จ้าง
3. ประชมุ ชีแ้ จง/แบ่งหน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบ
4. ดาเนินการตามแผนและปฏิทิน
5. กากับ ดแู ล ตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน
6. สรุป รายงานผล ปรบั ปรุงพัฒนาอยา่ งต่อเน่อื ง
แผนผังการปฏิบัตงิ าน
จดั ทาแผน/ปฏิทนิ การปฏบิ ตั งิ าน
ประชุมชแี้ จง/แบง่ หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ
ดาเนนิ การตามแผน/ปฏทิ ิน
กากบั ดูแล ตรวจสอบ และประเมินผล
สรปุ /รายงาน/ปรับปรุง/พฒั นา
91
การประสานการจัดการศึกษาในระบบและนอกระบบ
การประสานการจดั การศกึ ษาในระบบและนอกระบบต้องมีการดาเนนิ การประสานงานกับหนว่ ยงาน
ท่เี ก่ยี วข้องเพ่ือประสานความรว่ มมอื ในการจดั การศึกษา
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
1.ศกึ ษาการจดั การศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ
2.ประสานงานหน่วยงานการจดั การศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ
3.แต่งตง้ั ผู้รับผดิ ชอบดาเนินการประสานงานอยา่ งชดั เจน
4.เผยแพรข่ ้อมูลขา่ วสารใหท้ ราบอย่างทว่ั ถงึ
แผนผังการปฏิบัตงิ าน
ศกึ ษาการจดั การศึกษาทั้งในระบบ
และนอกระบบ
ประสานงานหน่วยงานการจัดการศกึ ษาทั้ง
ในระบบและนอกระบบ
แต่งตัง้ ผู้รับผดิ ชอบดาเนนิ การ
ประสานงานอยา่ งชดั เจน
เผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารให้ทราบ
อย่างทั่วถึง
เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง
เอกสารการบริหารงานโรงเรยี นนติ บิ ุคคล
92
การทศั นศึกษา
การทศั นศึกษาหรือการพานักเรยี นไปนอกสถานศึกษา หมายถึง การท่ีครหู รอื หวั หน้าสถานศึกษา พา
นักเรยี นไปทากิจกรรมการเรยี นการสอน ภายนอกสถานศึกษา ตัง้ แต่ 2 คนข้ึนไปในเวลาเปดิ ทาการสอน
หรอื ไม่กไ็ ด้ โดยมีโครงการรองรับและดาเนนิ การตามลาดับขน้ั ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ ทงั้ น้ี ต้องเป็นไปดว้ ย
ความสมคั รใจ ไม่ใชเ่ พ่อื การทดสอบหรอื การวดั ผล
-ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการพานกั เรียนและนักศกึ ษาไปนอกสถานศกึ ษา พ.ศ.2548
แนวทางการปฏบิ ัติ
1. เขยี นโครงการ
2. พจิ ารณาและขออนุญาต
3. ขออนุญาตตน้ สังกัด (คา้ งคืน/ต่างประเทศ)
4. ขออนุญาตผปู้ กครอง
5. กาหนดผู้รบั ผิดชอบ เขียนโครงการ ผอ.(ไมค่ ้างคืน)
6. การใชร้ ถนาขบวน ผอ. เลขา(คา้ งคืน)
7. การทาประกันภยั พจิ ารณาโครงการ นอกราชอาณาจกั ร
8. การเลอื กยานพาหนะและผู้รับผดิ ชอบ และขออนุมตั ิ หวั หนา้ สว่ นราชการ
9. การจัดทาแผนการเดนิ ทาง
10. การปฏบิ ตั ริ ะหว่างการเดินทาง ไมอ่ นมุ ตั ิ อนมุ ตั ิ - กาหนดผู้รับผดิ ชอบ
11. การพักแรม เตรยี มการ - รถนาขบวน
12. การรายงาน ผอ. - การทาประกนั ภัย
13. ข้อเสนอแนะ - จัดหายานพาหนะและผขู้ บั ขี่
- ทาแผนเสนอ
เดนิ ทางไป
พกั คา้ ง
เดนิ ทางกลบั
รายงานผล
93
งานกจิ การนกั เรยี น
1 งานระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน
งานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น เปน็ งานทสี่ ่งเสรมิ พฒั นาปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา เพ่ือให้นักเรยี น
ไดพ้ ฒั นาเตม็ ศักยภาพ มีคุลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ มีภมู คิ ้มุ กันทางจติ ใจทเ่ี ขม้ แขง็ มีคณุ ภาพชวี ติ ที่ดี มีทักษะการ
ดารงชีวติ และรอดพ้นจากวกิ ฤตท้ังปวง
ดงั นั้นงานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน จึงเป็นกระบวนการ แผนผังการปฏบิ ัติงาน
ท่ดี าเนินงาน ทช่ี ่วยเหลือนกั เรียนท่ีมีขั้นตอนชดั เจน
พร้อมมีวิธีการและเครื่องมือที่มมี าตรฐาน การรู้จกั นกั เรียน
มีคณุ ภาพในการทางานท่ตี รวจสอบได้อยา่ งมรี ะบ รายบคุ คล
แนวทางการปฏิบัติ การคดั กรองนักเรยี น
1. ออกคาสัง่ แต่งต้งั คณะทางานแนวทางปฏบิ ัติ
2. ดาเนินการศกึ ษานกเรียนรายบคุ คล การส่งเสรมิ และ
3. การคดั กรองนกั เรียน พฒั นานกั เรียน
4. การสง่ เสริมพฒั นานักเรียน
5. การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หา
6. การสง่ ตอ่
7. การประเมินผลการดาเนินงาน
การป้องกนั และแกไ้ ข
ปญั หา
การส่งตอ่
การประเมินผล
94
2 งานสภานกั เรยี น
สภานักเรียนให้สามารถ นาหลักธรรมาภิบาลไปพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้แก่ การมี
วินัย เคารพกติกา มีจิตอาสา เพ่ือสังคม รู้จักใช้กระบวนการประชาธิปไตยและแนวทางสันติวิธี ซึ่งกิจกรรมท่ี
สามารถทาให้นักเรยี นมคี ุณลกั ษณะวถิ ปี ระชาธิปไตยให้กับ นักเรียน โดยการสนับสนุนให้นักเรียนได้มีกิจกรรม
การเรียนรู้ กระบวนการประชาธิปไตย ได้ปฏิบัติจริงในรูปแบบการเลือกต้ัง ผู้แทนนักเรียน เร่ิมจากการเลือก
หัวหน้าหอ้ ง หัวหนา้ ระดับชั้น ประธานชมุ นมุ ประธานชมรม คณะกรรมการนักเรียน และ สภานกั เรียน
แนวทางการปฏิบตั ิ
1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการท่ีรบั ผิดชอบ แผนผงั การปฏบิ ัติงาน
2. จัดทาแผนภมู สิ ภานกั เรยี น
3. ออกคาส่ัง แตง่ ต้ัง คณะกรรมการสภานักเรียน 1. แตง่ ตง้ั 2. ประกาศ คดั เลือก
4. อบรมพัฒนาคณะกรรมการสภานกั เรยี น คณะกรรมการ
5. คณะกรรมการสภานกั เรียนจดั ทาแผนปฏิบัตงิ าน /สรรหา
ประจาปี รบั ผิดชอบ เลือกต้ัง
6. กากบั ติดตาม ประเมนิ ผล การรปฏบิ ตั งิ าน งานสภานักเรยี น คณะกรรมการ
7.สรปุ ผล รายงานผล สภานกั เรยี น
3. ออกคาสงั่ แต่งต้งั 4. อบรมพฒั นา
คณะกรรมการ คณะกรรมการ
สภานกั เรยี น สภานกั เรียน
5. คณะกรรมการสภานักเรยี น
จัดทาแผนปฏิบัตงิ านประจาปี
6. สรปุ ผล รายงานผลงานสภานกั เรียน
เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง
องค์การสหประชาชาติ ได้มีการลงนามในปฏิญญาสากล ว่าดว้ ยสทิ ธเิ ด็ก ปีพุทธศักราช 2533
95
3 วินยั นักเรยี น
การท่ีนักเรียนจะมีอิสระที่ดี เก่ง มีความสุขได้นั้น สิ่งหน่ึงท่ีจะช่วยเสริมสร้างได้เป็นอย่างดีก็ คือ
วนิ ยั ถ้าเด็กทุกคนในโรงเรยี นมีวนิ ยั กย็ อ่ มเป็นการง่ายที่ จะจัดกระบวนการเรียนการสอน หรือกิจกรรมท่ีจะทา
ใหน้ กั เรียน เกิดลักษณะท่ีดี เก่ง และมีความสุขได้ ในทางตรงกันข้าม ถ้านักเรียนขาดวินัย ก็จะเป็นการยากย่ิง
ท่ี จะจัดกระบวนการเรียนการสอน หรือกิจกรรมให้นักเรียน เกิดทักษะดังกล่าวได้ ดังนั้นงานวินัย นักเรียนจึง
จาเป็นที่โรงเรียนต้องพัฒนา และส่งเสริมระเบียบวินัย ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้นักเรียนปฏิบัติตาม
รวมทัง้ ต้องวางแนวทางการป้องกนั แก้ไขพฤตกิ รรมนกั เรียน
แนวทางการปฏิบัติ แผนผังการปฏิบตั งิ าน
1. แตง่ ตงั้ บคุ ลากรรับผิดชอบงานวนิ ัยนักเรียน
2. จัดทาแผนงานป้องกนั แก้ไขและส่งเสรมิ วนิ ัย แตง่ ต้ังคณะทางาน
3. ดาเนินงานตามระเบียบและแผนงาน
4. กากับดแู ลนกั เรียนให้ดาเนินงานตามวนิ ัย กาหนดคุณลกั ษณ์ ระเบยี บแนวทางป้องกนั
5. ส่งเสรมิ และแก้ไขรวมทั้งประสานหนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง แก้ไขและสง่ เสริม
6. ประเมินผลเพ่ือหาทางแก้ไข
ดาเนนิ งานตาม
ระเบยี บระเบียบ
สง่ เสริม แกไ้ ข
ประเมนิ ผล
เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการลงโทษนกั เรียนหรือนักศึกษา (ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ. 2550
กฎกระทรวงกาหนดพฤติกรรมนกั เรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2550
96
4 อนามัยโรงเรียน
งานอนามัยโรงเรียน เป็นงานที่ดูแลรับผิดชอบ ด้านสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน
ส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียน มีสขุ ภาพอนามัยทด่ี ี ติดตอ่ ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เช่น
โรงพยาบาล สาธารณสุขเพื่อตรวจ สุขภาพนักเรียน ครู ให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัย การป้องกัน
โรคติดต่อ อบรมต่าง ๆ การป้องกัน การระบาดของโรค จัดให้มีเอกสารเผยแพร่ และแบบพิมพ์
การใชง้ านอนามยั
แนวทางการปฏบิ ตั ิ ออกคาสัง่
แต่งตั้ง
1. แตง่ ตั้งบุคลากรผ้รู บั ผดิ ชอบงานอนามัยโรงเรียน
2. วางแผนการดาเนนิ งานอนามยั โรงเรียน วางแผน
3. จัดหาจดั ซอื้ จดั บริการเวชภัณฑแ์ ละดูแล งาน
4. ให้บริการสุขศึกษา ให้คาปรกึ ษา
5. ประสานงานกับกองอนามัย หรือโรงพยาบาล จดั หา บริการ
ใกลเ้ คยี ง
6. กากบั ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงาน
อนามัยโรงเรยี น
บรกิ าร บรกิ าร
การประชาสมั พนั ธ์งานการศึกษา
1 การสร้างเครือขา่ ยประชาสัมพันธ์
งานประชาสัมพันธ์เป็นการบริหารการประชาสัมพนั ธ์ วเิ คราะห์ข้อมูลผลผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี
การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารและเสริมสร้างความเข้าใจ เกย่ี วกับกจิ การ ผลการดาเนินงานของ
สถานศึกษาให้หนว่ ยงาน บคุ ลากร ชมุ ชนและประชาชนท่ัวไปไดร้ ับทราบอย่างท่วั ถงึ กนั
แนวทางการปฏบิ ตั ิ แผนผงั การปฏิบตั งิ าน
แต่งตัง้ คณะกรรมการ
1. แตง่ ตงั้ คณะทางาน
2. สารวจขอ้ มูลเครือข่ายประชาสมั พันธ์
3. จดั ทาหลกั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ
รูปแบบ การตดิ ต่อประสานงาน
4. รวบรวมขอ้ มูลขา่ วสาร
5. วางแผน บริหารข้อมูล ข่าวสาร วิเคราะห์
พจิ ารณา เลอื กข้อกาหนดทีต่ อบสนอง
6. จัดกิจกรรมเสรมิ ประชาสัมพันธ์