The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wattana2002, 2022-08-08 08:32:31

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1

แผนการจัดการเรยี นรู้

วชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ (ศ21102)

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ
ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

นายวัฒนา ราชจันคา

ตาแหน่ง ครู

โรงเรียนวัดตะพงนอก
สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร





คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม.1 เล่มนี้เป็นสือ่ การเรียนรู้ทจี่ ัดทำขึน้ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
จัดการเรียนรู้โดยยึดหลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
(Child–center) ตามหลักการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้
สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม บทบาทของครูมีหน้าที่เอื้ออำนวยความ
สะดวกให้นักเรียนประสบผลสำเร็จ โดยสร้างสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ทำให้
นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้น
กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปความรดู้ ว้ ยตนเอง ทำใหน้ ักเรยี นไดร้ บั การพฒั นาท้ังด้านความรู้ ด้าน
คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม และดา้ นทกั ษะ/กระบวนการท่ดี ี นำไปสู่การอย่รู ่วมกนั ในสังคมอย่างสันตสิ ุข

การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ เล่มนี้ ได้จัดทำตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งครอบคลุมสาระการเรียน ดนตรีและนาฏศิลป์ ภายในเล่มได้นำเสนอ
แผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายชั่วโมงตามหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้ครูนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้สะดวกยิ่งข้ึน
นอกจากนี้แต่ละหน่วยการเรยี นรู้ยังมีการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ทัง้ 3 ด้าน ได้แก่ ดา้ นความรู้ ด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการ ทำให้ทราบผลการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ของนักเรยี น
ได้ทันที

ผ้จู ดั ทำ
นายวัฒนา ราชจนั คำ

สารบัญ ข

คำนำ หนา้
สารบญั ก
คำอธิบายรายวชิ า ข
กำหนดหน่วยการจดั การเรยี นรู้ 1
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ดั 3
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 วงดนตรีและบทเพลง 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ประเภทของวงดนตรี 11
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 เครอ่ื งหมายและสญั ลกั ษณท์ างดนตรี 15
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 การเปรียบเทยี บเสยี งรอ้ งและเสียงของเครอ่ื งดนตรี
19
ในบทเพลงจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 บทเพลงสำหรบั ฝกึ ร้องและการบรรเลงเครือ่ งดนตรี 23
28
ประกอบการร้องเพลง
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 การใชแ้ ละบำรุงรกั ษาเคร่ืองดนตรี 36
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 วเิ คราะห์องค์ประกอบดนตรี 41
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 การถ่ายทอดอารมณข์ องบทเพลง 45
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7 การนำเสนอบทเพลงทต่ี นเองสนใจ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การประเมินคุณภาพของบทเพลง 53
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 ดนตรกี ับมรดกทางวัฒนธรรม 57
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9 องคป์ ระกอบของดนตรีในแตล่ ะวฒั นธรรม
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10 บทบาทและอิทธิพลของดนตรี 65
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 ความรู้พนื้ ฐานเกีย่ วกับนาฏศิลป์และละครของไทย 69
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 11 ประเภทของละครไทยในแตล่ ะสมัย
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 12 ปัจจัยทมี่ ีผลต่อการเปล่ยี นแปลงนาฏศลิ ปแ์ ละละครไทย 78
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 การแสดงนาฏศิลป์และละคร 82
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 นาฏยศัพท์ ภาษาท่า และการตีบท 87
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 14 รำวงมาตรฐาน 91
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 15 การแสดงเตน้ กำรำเคียว
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16 การเต้นรำจังหวะวอลตซ์ 101
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 การจดั การแสดงและการวจิ ารณก์ ารแสดง 106
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 17 การเป็นนกั แสดงและผูช้ ม 110
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 18 การวิจารณก์ ารแสดงของนักแสดง
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 19 การจดั การแสดง

1

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

รหสั วิชา ศ 21102 รายวชิ า ดนตรี - นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

*************************************************************************

ดนตรี

เครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี โน้ตเพลงไทย อัตราจังหวะ 2 ชั้น โน้ตสากลในกุญแจซอล และฟา

ในบันไดเสยี ง C Major เสยี งรอ้ งและเสยี งของเครื่องดนตรวี ิธีการขับร้องและเสยี งของเครื่องดนตรีวธิ ีการขับร้อง

เครอ่ื งดนตรีของวฒั นธรรมต่าง ๆ การร้องเพลง การบรรเลงพื้นบ้าน เพลงปลกุ ใจ เพลงไทยเดิม เพลงประสาน

เสียง 2 แนว เพลงรูปแบบ ABA เพลงประกอบการเตน้ รำ วงดนตรพี นื้ บ้าน วงดนตรไี ทย

วงดนตรีสากล การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง จังหวะ การประเมินคุณภาพของบทเพลง การใช้บำรุงรักษา

เครอ่ื งดนตรีองค์ประกอบของดนตรีในแตล่ ะวัฒนธรรมและในสังคม

อ่าน เขียน ร้องโน้ตเพลงไทยสากล เปรียบเทียบเสียงร้องเครื่องดนตรีร้องเพลงใช้เครื่องดนตรี

ประกอบจัดประเภทของเครื่องดนตรีไทย และดนตรีสากลเปรียบเทียบอารมณ์ในการฟังดนตรีแต่ละประเภทใช้

และบำรงุ รกั ษาเครอ่ื งดนตรอี ยา่ งระมดั ระวงั

ช่ืนชม มีมารยาทในการฟัง นำเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนชื่นชมชอบและอภิปรายลักษณะเด่นท่ีทำให้

งานน้ันน่าชนื่ ชม มคี วามมุง่ ม่ันในการทำงาน ใฝเ่ รยี นรู้ กระตือรอื ร้น ประหยดั มีวนิ ัย ตรงตอ่ เวลา มีจิตสาธารณะ

และรักษาความเป็นไทย

รหัสตวั ช้ีวดั
ศ 2.1 ม.1/1 , ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9
ศ 2.2 ม.1/1 , ม.1/2

รวมตัวช้วี ัด 11 ตัวชวี้ ดั

2

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหสั วชิ า ศ 21104 รายวิชา ดนตรี - นาฏศิลป์ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

*************************************************************************

นาฏศลิ ป์

การปฏิบตั ิของผู้แสดงและผู้ชมประวัตินักแสดงทช่ี ื่นชอบ การพัฒนารูปแบบของการแสดง อิทธิพลของ

นักแสดงที่มีผลต่อพฤติกรรมผู้ชม นาฏยศัพท์ ภาษาท่า การตีบท ท่าทางเคลื่อนไหวที่สื่ออารมณ์ ระบำ

เบ็ดเตล็ด รำวงมาตรฐาน รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย นาฏศิลป์พนื้ บ้าน นาฏศิลปน์ านาชาติ บทบาทหน้าที่

ของฝา่ ยตา่ ง ๆ ในการแสดง การสร้างสรรค์ กจิ กรรมการแสดงทีน่ ่าสนใจ หลกั ในการชมการแสดง ปัจจัยท่ีมีผล

ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของนาฏศลิ ป์ไทยนาฏศิลป์พนื้ บา้ น ละครไทย ละครพน้ื บา้ น ประเภทของละครไทยในแต่ละ

ยคุ สมยั

อธิบายอิทธิพลของนกั แสดงทม่ี ีผลต่อการโน้มนา้ วอารมณ์ ความคดิ ของผู้ชม ใชน้ าฏยศพั ทใ์ นการแสดง

แสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่าย ๆ ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง พิจารณา

คุณภาพการแสดงที่ชมโดยเน้นเรื่องการใช้เสียง การแสดงท่า การเคลื่อนไหว ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการ

เปลีย่ นแปลงของนาฏศลิ ป์ไทย นาฏศลิ ปพ์ นื้ บ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน บรรยายประเภทของละครไทย

ในแตล่ ะยคุ สมัย

รัก ชื่นชอบและร่วมสืบทอดศิลปวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย การแสดง

พื้นเมืองและรำวงมาตรฐาน วิเคราะห์การติชมการแสดงของเพื่อนอย่างสร้างสรรค์เป็นผู้ชมที่ดี มีความมุ่งมั่นใน

การทำงาน ใฝ่เรยี นรู้ กระตือรือร้น ประหยดั มีวินยั ตรงต่อเวลา มจี ติ สาธารณะและรกั ความเป็นไทย

รหัสตัวช้ีวัด
ศ 3.1 ม.1/1 , ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5
ศ 3.2 ม.1/1 , ม.1/2

รวมท้ังหมด 7 ตัวช้ีวัด

3

กำหนดหน่วยการจัดการเรยี นรู้

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ วชิ าดนตรี – นาฏศลิ ป์ ชนั้ มัธยมศึกษาศกึ ษาปีท่ี 1
เวลา 40 ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรยี นรู้ 6 หน่วย

หนว่ ยการเรียนร/ู้ ช่อื เรอ่ื ง เวลา/
แผนการจดั การเรียนรู้ จำนวน
ชัว่ โมง
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วงดนตรแี ละบทเพลง
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 ประเภทของวงดนตรี 11
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เคร่อื งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี 3
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 การเปรียบเทียบเสยี งร้องและเสยี งของเคร่อื งดนตรใี นบทเพลงจากวฒั นธรรมต่าง ๆ 2
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 บทเพลงสำหรับฝกึ ร้องและการบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการรอ้ งเพลง 2
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 การใช้และบำรุงรักษาเคร่อื งดนตรี 3
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 วิเคราะห์องคป์ ระกอบดนตรี 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง 4
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 การนำเสนอบทเพลงทตี่ นเองสนใจ 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 การประเมินคณุ ภาพของบทเพลง 2
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 ดนตรกี ับมรดกทางวัฒนธรรม 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9 องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม 3
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 บทบาทและอิทธิพลของดนตรี 2
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 ความรพู้ ื้นฐานเกี่ยวกับนาฏศิลปแ์ ละละครของไทย 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 11 ประเภทของละครไทยในแตล่ ะสมยั 3
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12 ปัจจัยที่มีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงนาฏศิลป์และละครไทย 2
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 13 นาฏยศัพท์ ภาษาทา่ และการตบี ท 10
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14 รำวงมาตรฐาน 2
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 15 การแสดงเตน้ กำรำเคียว 3
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 16 การเตน้ รำจังหวะวอลตซ์ 2
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 การจดั การแสดงและการวิจารณ์การแสดง 3
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 17 การเป็นนักแสดงและผ้ชู ม 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 การวจิ ารณก์ ารแสดงของนกั แสดง 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 19 การจัดการแสดง 1
2
สอบกลางภาค 2
สอบปลายภาค 2
40
รวม

4

ตารางวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชว้ี ดั

มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระที่ 2 ดนตรี สาระที่ 3 นาฏศิลป์
ตัวช้วี ัดช้ันปี
มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ศ 2.1 ศ 2.2 ศ 3.1 ศ 3.2

หนว่ ยการเรยี นรู้ 123456789121234512

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 **** *
วงดนตรแี ละบทเพลง

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ****
วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบดนตรี

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 **
ดนตรีกับมรดกทางวัฒนธรรม

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

ความรู้พน้ื ฐานเก่ียวกับ **

นาฏศลิ ปแ์ ละละครของไทย

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 **
การแสดงนาฏศิลป์และละคร

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6

การจดั การแสดงและการ * **

วจิ ารณก์ ารแสดง

5

แผนการจัดการเรียนรู้รายช่วั โมง
ดนตรี–นาฏศิลป์

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

6

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1
เรอ่ื ง วงดนตรีและบทเพลง

เวลา 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์เปา้ หมายการเรยี นรู้

ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ
– ประเภทของวงดนตรี – การศกึ ษาค้นคว้า
– เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรี – การคดิ วิเคราะห์
– การเทียบเทียบเสียงรอ้ งและเสยี งของเครอื่ งดนตรใี น – การจำแนก
บทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ – การเปรียบเทยี บ
– บทเพลงสำหรับการร้องและการบรรเลงเครือ่ งดนตรี – การสังเกต
ประกอบการรอ้ งเพลง – การอภปิ ราย
– การใช้และบำรงุ รักษาเครื่องดนตรี – การปฏิบตั ิ
– การนำความรไู้ ปประโยชน์ใช้ในชีวติ ประจำวนั

วงดนตรีและบทเพลง

ภาระงาน/ช้นิ งาน คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม
– การทำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น – มีเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมดนตรี
– การจัดประเภทวงดนตรี – เหน็ ความสำคัญและประโยชน์ของสัญลกั ษณ์
– การอ่านและเขยี นโน้ตเพลงไทยในอตั ราจังหวะ 2 ชน้ั ทางดนตรแี ละเหน็ ความสำคญั ของวธิ กี ารใช้และ
– การอ่านและเขยี นโนต้ สากลในกุญแจซอลและฟาใน บำรุงรักษาเครื่องดนตรีอยา่ งถกู วธิ ี
บันไดเสยี ง C Major – มรี ะเบียบและวนิ ัยในตนเอง
– การเปรียบเทยี บเสยี งร้องและเสยี งของเครอ่ื งดนตรี – ปฏบิ ตั ติ นอยา่ งมีมารยาทในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม
ในบทเพลง รว่ มกับผูอ้ ่ืน
– การร้องเพลงท่ีสนใจ
– การบรรเลงเคร่ืองดนตรปี ระกอบการรอ้ งเพลง
– การใช้และบำรงุ รกั ษาเคร่อื งดนตรี
– การอธิบายวิธกี ารใชแ้ ละบำรงุ รักษาเครือ่ งดนตรี
– ใบกิจกรรม
– การทำโครงงาน

7

ผงั การออกแบบการจัดการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 วงดนตรแี ละบทเพลง

ขนั้ ที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางทตี่ อ้ งการใหเ้ กิดกบั ขน้ึ นกั เรียน

ตวั ชวี้ ดั ชัน้ ปี

1. อา่ น เขยี น ร้องโนต้ ไทย และโนต้ สากล (ศ 2.1 ม. 1/1)

2. เปรยี บเทยี บเสียงรอ้ งและเสยี งเครอ่ื งดนตรที ี่มาจากวฒั นธรรมทต่ี ่างกนั (ศ 2.1 ม. 1/2)

3. ร้องเพลงและใช้เครอื่ งดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงดว้ ยบทเพลงท่หี ลากหลายรปู แบบ

(ศ 2.1 ม. 1/3)

4. จัดประเภทของวงดนตรไี ทยและวงดนตรที ีม่ าจากวฒั นธรรมต่าง ๆ (ศ 2.1 ม. 1/4)

5. ใช้และบำรงุ รกั ษาเคร่ืองดนตรีอย่างระมดั ระวังและรับผิดชอบ (ศ 2.1 ม. 1/9)

ความเข้าใจที่คงทนของนกั เรียน คำถามสำคัญที่ทำใหเ้ กิดความเข้าใจทค่ี งทน

นกั เรยี นจะเข้าใจว่า... 1. วงดนตรีไทยแบ่งออกเป็นก่ปี ระเภท อะไรบ้าง

1. วงดนตรไี ทยแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 2. วงดนตรีสากลมลี กั ษณะเดน่ อยา่ งไร

วงเคร่ืองสาย วงปพ่ี าทย์ และวงมโหรี 3. วงดนตรีพ้ืนบา้ นของแตล่ ะภาคมีวงดนตรี

2. วงดนตรีสากลมมี ากมายหลายประเภท เชน่ อะไรบา้ ง

วงดนตรแี จ๊ส วงคอมโบ วงสตริง วงโยธวาทิต 4. โน้ตไทยมวี ธิ กี ารอ่านและเขยี นอย่างไร

เป็นต้น 5. โน้ตสากลมวี ธิ กี ารอา่ นและเขียนอย่างไร

3. วงดนตรีพื้นบา้ นมมี ากมายและแบง่ ตาม 6. การเปรยี บเทยี บลักษณะเสียงรอ้ งและเสยี งของ

ภูมภิ าคของไทย เช่น ภาคเหนือมวี งสะลอ้ ซอ เครอื่ งดนตรใี นบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ

ซงึ ภาคอีสานมวี งโปงลาง ภาคใต้มวี งปพ่ี าทย์ มีวิธีปฏบิ ัติอยา่ งไร

ชาตรี ภาคกลางมีวงกลองยาว เป็นต้น 7. เพลงพนื้ บา้ นของแตล่ ะทอ้ งถ่นิ ที่สามารถนำมา

4. การอา่ นหรือเขียนโนต้ เพลงไทยในอตั ราจังหวะ ฝกึ ร้องมเี พลงอะไรบา้ ง ยกตวั อยา่ งท้องถิน่

2 ช้ันถอื เป็นการฝกึ ทักษะพื้นฐานของเพลงไทย ละ 1 เพลง

5. การอา่ นหรอื เขียนโน้ตในกุญแจซอลและฟาใน 8. ฉ่งิ มวี ิธกี ารบรรเลงใหเ้ กิดเสียงฉง่ิ และฉับ

บันไดเสยี ง C Major ถือเปน็ พน้ื ฐานในการ อยา่ งไร

เรยี นหรอื หดั เล่นดนตรสี ากล และโนต้ ใน 9. เครื่องดนตรไี ทยและเคร่ืองดนตรีสากลแตล่ ะ

กุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major ถอื ประเภทมวี ธิ บี ำรุงรกั ษาอยา่ งไร

เปน็ ภาษาสากลทีน่ กั ดนตรสี ามารถเขา้ ใจ

ตรงกนั ในขณะทีร่ อ้ งหรอื บรรเลงดนตรีรว่ มกนั

6. การเปรยี บเทียบเสียงการรอ้ งเพลงและเสยี ง

ของเครื่องดนตรีในบทเพลงจากวฒั นธรรม

ตา่ ง ๆ สามารถสงั เกตไดจ้ ากคุณภาพของ

เสยี งทเี่ กดิ จากวธิ ีการขับรอ้ งและเครือ่ งดนตรี

ทีใ่ ช้บรรเลงในบทเพลง

7. การแสดงความสามารถทางดนตรีสามารถทำ

8

ไดห้ ลายวิธี เชน่ การรอ้ งเพลงหรือใช้เคร่ือง ทักษะ/ความสามารถของนกั เรียนทนี่ ำไปสู่ความ
ดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงดว้ ย เข้าใจท่คี งทน
บทเพลงทหี่ ลากหลายรปู แบบ นักเรียนจะสามารถ...
8. เครื่องดนตรแี ตล่ ะชนดิ หรือแตล่ ะประเภทมี 1. จัดประเภทของวงดนตรไี ทย วงดนตรสี ากล
วธิ กี ารใชแ้ ละบำรุงรกั ษาตามลักษณะเฉพาะ
ของเครื่องน้นั ๆ และวงดนตรีพื้นบ้านได้ถูกตอ้ ง
9. การใชแ้ ละบำรุงรักษาเคร่อื งดนตรอี ย่างถกู ต้อง 2. อ่าน เขยี น รอ้ งโนต้ ไทยและโนต้ สากลได้
และปลอดภยั จะช่วยยืดอายกุ ารใชง้ านของ
เครื่องดนตรใี ห้ยาวนานขึน้ ถูกตอ้ งตามหลักการ
3. เปรียบเทยี บลกั ษณะเสยี งร้องและเสียงของ
ความรู้ของนกั เรียนทน่ี ำไปสู่ความเข้าใจท่ีคงทน
นักเรียนจะรวู้ า่ ... เครื่องดนตรีในบทเพลงจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ
1. คำสำคัญทคี่ วรรู้ ไดแ้ ก่ โอเปรา สลิ ะ สึก และ ได้ถกู ต้อง
4. รอ้ งเพลงและใชเ้ ครื่องดนตรีบรรเลง
วาสลนิ ประกอบการรอ้ งเพลงได้อยา่ งหลากหลาย
2. วงเคร่อื งสายประกอบด้วยเคร่อื งสแี ละเคร่ือง 5. ใชแ้ ละบำรงุ รกั ษาเครื่องดนตรีได้อย่าง
ระมัดระวงั และปลอดภยั
ดดี เป็นหลกั มีเคร่ืองเป่าและเครือ่ งตีเปน็
ส่วนประกอบ วงปี่พาทยป์ ระกอบดว้ ยเคร่อื งตี
เปน็ หลกั และมปี ี่เป็นประธาน สว่ นวง
มโหรปี ระกอบดว้ ยเคร่ืองดนตรีทุกประเภท
3. วงดนตรีสากลมมี ากมายหลายประเภท เชน่
วงดนตรีแจส๊ วงคอมโบ วงสตรงิ และวงโยธ-
วาทิต เปน็ ตน้ ซึง่ จะนยิ มใช้บรรเลงในงานรน่ื
เรงิ และนิยมบรรเลงประกอบกจิ กรรมตา่ ง ๆ
4. วงดนตรีพนื้ บา้ นมีมากมายและแบ่งตาม
ภูมภิ าคของไทย ประกอบดว้ ยวงดนตรี
พ้ืนบา้ นภาคเหนอื วงดนตรพี นื้ บ้านภาคอสี าน
วงดนตรีพ้นื บ้านภาคใต้ วงดนตรพี น้ื บา้ นภาค
กลาง
5. เพลงไทยในอตั ราจังหวะ 2 ชน้ั เป็นเพลงท่ีมี
จงั หวะไมช่ า้ หรือไมเ่ ร็วจนเกินไป ร้องงา่ ย จงึ
เปน็ เพลงทนี่ ยิ มนำมาขบั ร้อง
6. กุญแจประจำหลักซอลเป็นกญุ แจทีใ่ ช้สำหรบั
บันทกึ โนต้ ทม่ี รี ะดบั เสยี งกลาง ๆ ไปหาระดับ
เสยี งสูง ๆ สว่ นกุญแจประจำหลักฟาเปน็
กุญแจทใี่ ช้สำหรบั บันทกึ โนต้ ที่มีระดับเสยี งตำ่ ๆ
7. วิธกี ารขับร้องที่ถกู ตอ้ งจะสง่ ผลถึงคุณภาพ

9

ของเสียงร้องทดี่ ี และการใชเ้ คร่ืองดนตรีใน

การบรรเลงได้ถูกต้องเหมาะสมกจ็ ะมผี ล

ต่อคณุ ภาพของบทเพลง

8. บทเพลงท่สี ามารถนำมาฝกึ ร้องหรอื บรรเลง

ดนตรมี หี ลายรปู แบบ เชน่ บทเพลงพน้ื บา้ น

ของแต่ละทอ้ งถ่นิ บทเพลงปลุกใจตา่ ง ๆ

บทเพลงประสานเสยี ง 2 แนว บทเพลง

รปู แบบ ABA หรอื บทเพลงประกอบการเตน้ รำ

ต่าง ๆ เปน็ ตน้

9. การใชแ้ ละการบำรุงรักษาเครื่องดนตรไี ด้อย่าง

ถกู ต้องจะช่วยใหเ้ กดิ ความปลอดภยั แกต่ นเอง

และช่วยยดื อายุการใช้งานของเครื่องดนตรไี ด้

นานยง่ิ ขน้ึ

ขัน้ ท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรยี นรซู้ ่ึงเปน็ หลักฐานท่แี สดงว่านกั เรยี นมผี ลการเรียนรู้

ตามทกี่ ำหนดไว้อย่างแทจ้ ริง

1. ภาระงานทน่ี กั เรียนตอ้ งปฏบิ ตั ิ

– จดั ประเภทวงดนตรี

– อ่านและเขียนโน้ตเพลงไทยในอัตราจังหวะ 2 ชน้ั

– อา่ นและเขยี นโนต้ สากลในกญุ แจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major

– เปรยี บเทียบเสยี งรอ้ งและเสียงของเครอื่ งดนตรใี นบทเพลง

– ร้องเพลงท่ีสนใจ

– บรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการร้องเพลง

– ใช้และบำรุงรกั ษาเครอ่ื งดนตรี

– อธบิ ายวธิ ีการใช้และบำรงุ รกั ษาเครื่องดนตรี

2. วิธีการและเคร่ืองมอื ประเมินผลการเรียนรู้

วธิ ีการประเมินผลการเรยี นรู้ เครื่องมือประเมนิ ผลการเรียนรู้

– การทดสอบ – การฝกึ ปฏบิ ตั ิระหว่างเรียน – แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น

– การตรวจใบงาน – การตรวจใบกิจกรรม – ใบกจิ กรรม

– การประเมินความสามารถในการร้องเพลง – แบบประเมนิ ความสามารถในการร้องเพลง

– การประเมินความสามารถในการบรรเลง – แบบประเมนิ ความสามารถในการบรรเลง

เครือ่ งดนตรปี ระกอบการร้องเพลง เคร่ืองดนตรปี ระกอบการร้องเพลง

– การประเมนิ ผลด้านความรู้ – แบบประเมนิ ผลดา้ นความรู้

– การประเมินผลดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม – แบบประเมนิ ผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ

และค่านยิ ม ค่านิยม

– การประเมนิ ผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ – แบบประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/กระบวนการ

10

3. สิ่งท่ีมุ่งประเมนิ

– จัดประเภทวงดนตรไี ทย วงดนตรสี ากล และวงดนตรีพนื้ บ้านได้

– อ่านและเขยี นโนต้ เพลงไทยในอัตราจังหวะ 2 ชน้ั ได้ถกู ตอ้ ง

– อ่านและเขยี นโนต้ สากลในกญุ แจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major ได้ถกู ต้อง

– เปรยี บเทียบเสยี งร้องและเสียงของเครื่องดนตรีในบทเพลงได้

– รอ้ งเพลงท่ีสนใจได้

– บรรเลงเคร่อื งดนตรีประกอบการรอ้ งเพลงได้

– ใชแ้ ละบำรงุ รกั ษาเคร่ืองดนตรไี ด้ถูกต้อง

– อธิบายวธิ ีการใชแ้ ละบำรงุ รักษาเคร่ืองดนตรีได้

– พฤตกิ รรมการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมร่วมกับผู้อน่ื ด้วยความซื่อสตั ย์ ความรับผดิ ชอบ และความสนุกสนาน

ขนั้ ที่ 3 แผนการจดั การเรียนรู้

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 1 ประเภทของวงดนตรี 3 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 เคร่อื งหมายและสัญลกั ษณท์ างดนตรี 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 การเปรยี บเทียบเสยี งรอ้ งและเสยี งของเครื่องดนตรีในบทเพลง

จากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ 2 ช่ัวโมง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 บทเพลงสำหรับฝึกร้องและการบรรเลงเครอื่ งดนตรีประกอบ

การร้องเพลง 3 ชวั่ โมง

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5 การใช้และบำรุงรักษาเครื่องดนตรี 1 ชัว่ โมง

11

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา 11 ชวั่ โมง
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง วงดนตรีและบทเพลง เวลา 1 ชวั่ โมง
รหัสวชิ า ศ21102 เร่อื ง ประเภทของวงดนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 รายวิชา ดนตรี-นาฏศลิ ป์
ผสู้ อน นายวัฒนา ราชจนั คำ ภาคเรียนท่ี 1/2565 สอนวันที่.....................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คุณคา่

ดนตรี ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ ต่อดนตรีอย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน

2. ตวั ชี้วัด
จดั ประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีทมี่ าจากวฒั นธรรมต่าง ๆ (ศ 2.1 ม.1/4)

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. จำแนกประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ได้ (K)
2. บอกประเภทของวงดนตรีทต่ี นเองรู้จักหรอื เคยพบเหน็ ไดถ้ ูกต้อง (K)
3. ปฏิบัติกจิ กรรมร่วมกับผู้อื่นด้วยความซ่ือสัตย์ ความรับผดิ ชอบ และมีความสขุ (A)
4. จดั ประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรที ่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ได้ (P)

4. สาระการเรยี นรู้
• วงดนตรพี ื้นเมือง
• วงดนตรไี ทย
• วงดนตรีสากล

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
วงดนตรที ง้ั วงดนตรีไทย วงดนตรสี ากล และวงดนตรีพนื้ บ้านนน้ั ถูกจัดเป็นประเภทตามลักษณะเฉพาะ

วธิ กี ารบรรเลง และบทบาทหน้าท่ใี นการบรรเลงของแต่ละวง

6. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

12

7. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวนิ ยั
2. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน

8. จดุ เนน้ สู่การพฒั นาผูเ้ รียนความสามารถและทักษะของผ้เู รียนศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1 - Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2 - (W)Riting (สามารถเขียนได)้

⬜ R3 - (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อยา่ งมี
วิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์และคดิ เชงิ นวตั กรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะความเข้าใจความแตกต่างทางวฒั นธรรม
กระบวนการคดิ ขา้ มวัฒนธรรม)

⬜ C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงาน
เป็นทมี และภาวะผูน้ ำ)

⬜ C5 - Communication, Information and Media literacy (ทักษะดา้ นการส่อื สารและ
รู้เท่าทันส่อื )

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใช้คอมพวิ เตอร์และร้เู ท่าทนั เทคโนโลย)ี

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรยี นรู้)
 C8 - Compassion (มคี ุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมีระเบยี บวนิ ยั )

9. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ที่ 1 ขน้ั นำเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเพอ่ื ประเมนิ ความรู้
2. สนทนาซกั ถามนักเรยี นวา่ วงดนตรที ่นี ักเรยี นรูจ้ ักหรือเคยพบเหน็ มวี งดนตรีอะไรบา้ ง เพ่อื ประเมนิ

ความรกู้ ่อนเรียน
3. ครเู ปดิ วีดทิ ัศน์การบรรเลงของวงดนตรปี ระเภทใดก็ได้ แล้วถามนกั เรยี นวา่ วงดนตรที ่ีบรรเลงอยูเ่ ป็น

วงดนตรปี ระเภทใด ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันตอบ และเฉลยคำตอบใหน้ กั เรยี นทราบ
ขัน้ ที่ 2 ขน้ั สอน
1. ครนู ำเสนอเนื้อหาเรื่อง ประเภทของวงดนตรี เกีย่ วกับประเภทของวงดนตรไี ทยและประเภทของวง

ดนตรสี ากล โดยให้นักเรยี นดูภาพวงดนตรใี นหนงั สอื เรยี นควบคูไ่ ปดว้ ย
2. ครูสนทนาซักถามนักเรยี นวา่ นักเรียนเคยเห็นวงดนตรีประเภทใดบา้ งนอกจากวงดนตรที ่กี ล่าวมา ให้

นกั เรยี นรว่ มแสดงความคิดเห็น โดยครูคอยให้ความรเู้ สริม

13

3. แบ่งนกั เรียนออกเป็น 2 กลุม่ แลว้ นำบัตรคำช่ือเคร่ืองดนตรที ่ีใชบ้ รรเลงในวงดนตรไี ทยและวงดนตรี
สากลต่าง ๆ ท่ีจดั ทำขึน้ 2 ชดุ เหมอื น ๆ กันแจกให้นักเรียนกลมุ่ ละชุด จากนั้นครเู ป็นคนกำหนดใหแ้ ต่ละกลุ่มจดั
ประเภทของเครื่องดนตรีตามทค่ี รบู อก โดยกลุ่มท่จี ดั ไดเ้ รว็ และถูกตอ้ งเป็นฝา่ ยชนะ (ครูสามารถกำหนดประเภท
ของวงดนตรีกว่ี งก็ได้ตามความเหมาะสม)

4. ครอู ธบิ ายเร่ืองวงดนตรีพื้นบ้านของแตล่ ะทอ้ งถิ่นให้นักเรียนฟังแล้วถามนักเรียนว่าในท้องถนิ่ ของ
นักเรยี นมวี งดนตรีพ้ืนบ้านวงใด และใชบ้ รรเลงในโอกาสใด ใหน้ ักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น

ขน้ั ที่ 3 ข้นั สรุป
ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั สรปุ เรื่อง ประเภทของวงดนตรี โดยครคู อยใหค้ วามร้เู สรมิ ในส่วนทีน่ ักเรียนไมเ่ ขา้ ใจ
หรือสรุปไมต่ รงกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้
ขั้นที่ 4 ฝกึ ฝนผูเ้ รียน
ให้นกั เรยี นปฏบิ ัติ กิจกรรม จัดประเภทของวงดนตรีไทย กิจกรรม จัดประเภทของวงดนตรีสากล และ
กจิ กรรม จดั ประเภทของวงดนตรพี นื้ บา้ น และช่วยกนั เฉลยคำตอบ
ขัน้ ที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรยี นนำความรเู้ ร่ือง ประเภทของวงดนตรี ไปใชใ้ นการศึกษาประเภทของวงดนตรีที่พบเห็นใน
ชวี ติ ประจำวนั ถ่ายรปู เก็บไว้ และนำไปเผยแพร่ความรู้
กิจกรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพเิ ศษ
ศกึ ษาประวตั ิความเป็นมาของวงดนตรที ี่สนใจจากแหล่งการเรียนรูต้ า่ ง ๆ หรือหดั เลน่ เครื่องดนตรีในแต่
ละประเภทท่ีตนเองสนใจ แล้วนำไปบรรเลงรวมวงกบั เพื่อน ๆ ตามลกั ษณะของวงดนตรีแตล่ ะประเภท โดยขอ
คำแนะนำจากครูดนตรี หรือผู้รู้ดา้ นดนตรี
2. กจิ กรรมสำหรบั ฝึกทักษะเพิ่มเตมิ
ศึกษาลักษณะเดน่ ของวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ เช่น ชนิดและจำนวนของเครื่องดนตรี แนวเพลงทใ่ี ช้
บรรเลง แหลง่ ที่มาของวงดนตรี เปน็ ต้น แลว้ สรปุ เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของวงดนตรี และนำมาเล่าใหเ้ พ่ือน ๆ ฟงั

10. การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

และค่านิยม (A) 1. สงั เกตจากพฤติกรรมขณะ
ปฏิบตั ิกิจกรรมรายบุคคล
1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ และปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลุ่ม

แสดงความคิดเห็น ความกระตือรอื รน้ ในการ 2. สงั เกตจากการปฏิบัติ
กจิ กรรมได้อย่างคลอ่ งแคล่ว
2. จากการตรวจการวัดและ ปฏิบตั กิ ิจกรรม
3. สังเกตจากความต้งั ใจและ
ประเมินผลการเรียนรปู้ ระจำ 2. สงั เกตจากความรับผิดชอบ

หนว่ ย และความมีระเบียบขณะ

3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

14

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
และคา่ นยิ ม (A) ปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน
ก่อนเรยี น
4. จากการตรวจใบกจิ กรรม 3. สงั เกตจากการยอมรับความ
คดิ เห็นของผู้อนื่ ขณะปฏิบัติ
กจิ กรรม

11. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้
1. ห้องสมุด
2. ห้องดนตรี
3. วดี ิทศั นก์ ารบรรเลงของวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ
4. รายการประกวดวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ ตามสถานโี ทรทัศนห์ รือตามสถานทสี่ าธารณะ
5. ใบกจิ กรรม
6. วงดนตรีไทย วงดนตรีสากล และวงดนตรีพื้นบา้ น
7. บุคคลตา่ ง ๆ เช่น ครสู อนวิชาดนตรี ครูสอนวิชาวทิ ยาศาสตร์ ผู้ทมี่ คี วามรู้เรื่องเสียง เปน็ ต้น
8. หนังสอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ช้ัน ม. 1 บริษัท สำนกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั
9. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชาพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ช้ัน ม. 1 บริษทั สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด

15

แผนการจัดการเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่อื ง วงดนตรแี ละบทเพลง เวลา 11 ชว่ั โมง
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2
รหสั วชิ า ศ21102 เร่อื ง เครอ่ื งหมายและสัญลกั ษณ์ทางดนตรี เวลา 2 ช่วั โมง
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจนั คำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ

ภาคเรยี นที่ 1/2565

สอนวันท่ี.....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คณุ คา่

ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคดิ ตอ่ ดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน

2. ตวั ช้ีวัด
อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทย และโน้ตสากล (ศ 2.1 ม.1/1)

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อา่ น เขียน รอ้ งโนต้ ไทยและโน้ตสากลได้ (K)
2. อ่าน เขียนโนต้ สากลในกุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major ได้ (K)
3. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมรว่ มกบั ผู้อืน่ ดว้ ยความซื่อสัตยแ์ ละความรับผิดชอบ (A)
4. ปฏิบัติกิจกรรมรว่ มกบั ผู้อื่นด้วยความสนกุ สนานและมนั่ ใจ (A)
5. มที ักษะในการรอ้ งเพลงไทยในอตั ราจงั หวะ 2 ชัน้ (P)

4. สาระการเรียนรู้
• เครือ่ งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี
– โน้ตเพลงไทย อตั ราจงั หวะ 2 ช้นั
– โนต้ สากลในกญุ แจซอลและฟาในบันไดเสียง C Major

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การอา่ นหรือเขยี นโน้ตเพลงไทยในอตั ราจังหวะ 2 ชนั้ ถือเป็นการฝกึ ทักษะพ้นื ฐานของเพลงไทย เพราะ

เปน็ เพลงท่มี ีจังหวะไมช่ า้ หรือไมเ่ รว็ จนเกนิ ไป ส่วนการอ่านหรือเขยี นโนต้ ในกุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C
Major ถือเปน็ พ้ืนฐานในการเรยี นหรอื หัดเลน่ ดนตรสี ากล และโนต้ ในกุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major
ถอื เปน็ ภาษาสากลที่นักดนตรีสามารถเข้าใจตรงกนั ในขณะทีร่ อ้ งหรือบรรเลงดนตรรี ว่ มกัน

16

6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซ่อื สตั ย์สุจริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจติ สาธารณะ

8. จดุ เนน้ สกู่ ารพัฒนาผเู้ รียนความสามารถและทักษะของผเู้ รยี นศตวรรษที่ 21 (3R 8C)

⬜ R1 - Reading (สามารถอา่ นออก)

⬜ R2 - (W)Riting (สามารถเขยี นได้)

⬜ R3 - (A)Rithmetic (มีทักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะการคดิ วิเคราะห์ การคดิ อย่างมี
วิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์และคดิ เชงิ นวัตกรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะความเขา้ ใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม
กระบวนการคดิ ข้ามวัฒนธรรม)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงาน
เปน็ ทมี และภาวะผู้นำ)

⬜ C5 - Communication, Information and Media literacy (ทักษะดา้ นการสื่อสารและ
รเู้ ท่าทันสือ่ )

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์และรู้เท่าทันเทคโนโลย)ี
 C7 - Career and Learning skills (ทักษะอาชีพและทกั ษะการเรียนรู้)
 C8 - Compassion (มคี ุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมีระเบยี บวนิ ัย)

17

9. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขนั้ ท่ี 1 ขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น
ครูสนทนาซกั ถามนักเรียนว่าเคร่อื งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรที งั้ ของไทยและสากลมีความสำคัญ

อย่างไร ให้นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น เพ่ือประเมินความร้กู ่อนเรยี น
ขั้นที่ 2 ขัน้ สอน
1. ครูนำเสนอเนื้อหาเร่ือง เคร่ืองหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรี โดยอธิบายเกีย่ วกับเคร่ืองหมายและ

สัญลักษณ์ทางดนตรีไทยเกยี่ วกับโน้ตบทเพลงไทยในอัตราจังหวะ 2 ชนั้ ใหน้ ักเรยี นทราบ โดยให้นกั เรยี นดู
หนงั สอื เรยี นประกอบ

2. ครเู ปิดเพลงแขกบรเทศ 2 ช้ันใหน้ ักเรยี นฟงั และใหน้ ักเรียนเคาะตามจังหวะฉิ่ง
3. ครูนำนักเรยี นฝกึ ร้องโนต้ เพลงแขกบรเทศ 2 ช้นั หลาย ๆ รอบจนจับทำนองได้ แลว้ ให้นักเรยี นรอ้ ง
เป็นเน้อื เพลง โดยครเู ปดิ เพลงคลอไปพร้อม ๆ กนั
4. ครใู ห้นักเรียนรอ้ งเพลงแขกบรเทศพร้อม ๆ กันโดยไม่เปิดเพลง
5. ครูสนทนาซักถามเก่ียวกับปญั หาในการอ่านโนต้ และขับร้องเพลงแขกบรเทศ แลว้ ให้นักเรียนร่วมกนั
แสดงความคิดเห็น
6. ครใู หน้ กั เรียนฝกึ เขยี นโนต้ เพลงแขกบรเทศ 2 ช้ัน หรอื โน้ตเพลงอ่ืนทสี่ นใจในสมุดคนละ 1 เพลง
7. ครูนำเสนอเนื้อหาเรื่อง เคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรสี ากล เกีย่ วกับโน้ตสากลในกุญแจซอล
และฟาในบันไดเสียง C Major
8. ครขู อตัวแทนนักเรยี นออกมาเขยี นกุญแจซอลและกุญแจฟาบนกระดานให้เพื่อน ๆ ดเู พอ่ื เป็นการ
ทบทวนความจำ จากน้ันครูให้นักเรยี นอ่านโนต้ ตามระดบั เสียงต่าง ๆ ในกุญแจซอลและกญุ แจฟาพร้อม ๆ กัน
ทัง้ ห้อง
9. ครสู นทนาซกั ถามเก่ยี วกับปญั หาในการอา่ นโน้ตในกุญแจซอลและกุญแจฟา แล้วให้นักเรียนรว่ มกนั
แสดงความคดิ เห็น
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ สรุป
นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ เรอ่ื ง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี โดยครูคอยให้ความรูเ้ สรมิ ในสว่ นที่
นักเรียนไม่เขา้ ใจหรือสรุปไมต่ รงกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 4 ฝกึ ฝนผูเ้ รียน
ให้นักเรียนปฏบิ ัติ กิจกรรม อ่านโนต้ เพลงไทยในอตั ราจังหวะ 2 ช้นั และกิจกรรม อา่ นโน้ตสากลใน
กญุ แจซอลและฟาในบนั ไดเสียง C Major และช่วยกนั เฉลยคำตอบ
ขน้ั ที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรยี นสามารถนำความรู้เรือ่ ง เคร่อื งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ไปใช้ในการอา่ นภาษาทางดนตรี
และใช้ขับร้องเพลงหรอื บรรเลงดนตรีตามเครื่องหมายและสัญลกั ษณ์ทางดนตรีไทยและดนตรสี ากล เพ่อื จะได้
ถูกต้องตามความต้องการของผูป้ ระพันธเ์ พลงทตี่ ้องการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงออกมาได้อยา่ งไพเราะ

18

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
– นกั เรยี นฝกึ อา่ นและเขียนโนต้ เพลงไทยในอัตราจังหวะ 2 ช้ัน หรือโน้ตไทยทำนองงา่ ย ๆ และฝึกร้อง

หรอื บรรเลงเครือ่ งดนตรที ีส่ นใจใหถ้ ูกต้องตามโนต้ และจงั หวะ
– นกั เรยี นฝึกอา่ นและเขยี นโน้ตสากลในกุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสียง C Major และฝึกร้องหรือ

บรรเลงเครอ่ื งดนตรีสนใจให้ถูกต้องตามโน้ตและจังหวะ
2. กิจกรรมสำหรบั ฝึกทักษะเพ่ิมเตมิ
– นักเรียนศึกษาเครื่องหมายและสญั ลกั ษณท์ างดนตรีไทยและทางสากลอื่น ๆ เพิ่มเติมและฝึกใช้ให้

ถูกต้องเม่ือมีการร้องเพลงหรือบรรเลงดนตรี
– นกั เรยี นนำโนต้ เพลงทฝี่ ึกอ่านและเขียนมารอ้ งเป็นเพลงตามโนต้ ให้ถูกต้องและแม่นยำ แลว้ นำไปรอ้ ง

ในโอกาสตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม

10. การวดั และประเมนิ ผล ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
ด้านความรู้ (K) และคา่ นยิ ม (A)
1. สงั เกตจากการปฏิบัติตาม
1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ กจิ กรรมทก่ี ำหนด
แสดงความคดิ เหน็ ความกระตือรือรน้ ในการ
ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 2. สังเกตจากด้านความคดิ
2. จากการตรวจการวัดและ สร้างสรรคใ์ นการปฏิบัติ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้ประจำ 2. สังเกตจากความรบั ผิดชอบ กิจกรรม
หน่วย และความมีระเบียบขณะ
ปฏิบตั กิ จิ กรรม 3. สังเกตจากความต้ังใจและ
3. จากการตรวจใบกิจกรรม การปฏบิ ตั ิตามขั้นตอน
3. สงั เกตจากการยอมรับความ
คิดเหน็ ของผู้อ่นื ขณะปฏบิ ัติ
กิจกรรม

11. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
1. เทปหรือซีดเี พลงแขกบรเทศ 2 ช้นั
2. เคร่อื งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีตา่ ง ๆ
3. ห้องสมดุ
4. ใบกิจกรรม
5. หนงั สือเรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ช้ัน ม. 1 บรษิ ัท สำนักพิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั
6. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชน้ั ม. 1 บรษิ ทั สำนักพมิ พว์ ัฒนาพานชิ จำกัด

19

แผนการจัดการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง วงดนตรีและบทเพลง เวลา 11 ช่วั โมง

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 3 เร่อื ง การเปรียบเทียบเสียงร้องและเสยี งของเครือ่ งดนตรี

ในบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ เวลา 2 ชั่วโมง

รหัสวชิ า ศ21102 รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1/2565

ผสู้ อน นายวัฒนา ราชจันคำ สอนวนั ท.่ี ....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์คุณค่า

ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ ดนตรีอยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั

2. ตัวช้ีวดั
เปรยี บเทียบเสยี งรอ้ งและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวฒั นธรรมท่ตี ่างกนั (ศ 2.1 ม.1/2)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เปรยี บเทยี บเสยี งร้องและเสยี งของเคร่อื งดนตรีที่มาจากวฒั นธรรมท่ตี ่างกันได้ (K)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมด้วยความสนกุ สนาน ม่ันใจ และมคี วามสุข (A)
3. นำเสนอผลการปฏบิ ัติกิจกรรมดว้ ยวิธกี ารรอ้ งเพลงหรือวธิ ีการอน่ื ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม (P)

4. สาระการเรียนรู้
• เสียงร้องและเสยี งของเครื่องดนตรีในบทเพลงจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ
– วิธีการขบั ร้อง
– เครอ่ื งดนตรีทใ่ี ช้

5. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
การเปรียบเทยี บเสียงขับร้องและเสียงของเคร่ืองดนตรใี นบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ สามารถสงั เกต

ได้จากวธิ กี ารขับร้องและลกั ษณะวธิ ีการบรรเลงของเครอื่ งดนตรีทใ่ี ชใ้ นวงดนตรแี ต่ละประเภท ซง่ึ จะมีความ
แตกต่างกันออกไปตามลกั ษณะของผู้ขบั ร้องและลักษณะเฉพาะของเคร่ืองดนตรีนนั้ ๆ ซึ่งสามารถสงั เกตไดต้ าม
หลักการดังกลา่ ว

6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการสื่อสาร

20

2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซอื่ สัตยส์ ุจริต
3. มีวนิ ยั
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. จุดเนน้ ส่กู ารพัฒนาผ้เู รยี นความสามารถและทกั ษะของผเู้ รียนศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1 - Reading (สามารถอา่ นออก)

⬜ R2 - (W)Riting (สามารถเขยี นได้)

⬜ R3 - (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะการคดิ วิเคราะห์ การคิดอยา่ งมี
วิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์และคิดเชิงนวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะความเขา้ ใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
กระบวนการคดิ ขา้ มวฒั นธรรม)
 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงาน
เป็นทีม และภาวะผู้นำ)

⬜ C5 - Communication, Information and Media literacy (ทักษะด้านการส่ือสารและ
ร้เู ท่าทันสอ่ื )

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์และร้เู ท่าทันเทคโนโลย)ี

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนร)ู้
 C8 - Compassion (มคี ุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมีระเบยี บวินยั )

21

9. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นท่ี 1 ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน
ครูขอตัวแทนนกั เรยี นออกมาร้องเพลงชาย 1 คน หญิง 1 คน แลว้ ถามเพื่อน ๆ ในชน้ั เรยี นวา่ เพ่อื น

รอ้ งเพลงไพเราะหรือไม่ แล้วถามนักเรียนวา่ นักเรยี นรไู้ ด้อย่างไรวา่ เพื่อนรอ้ งเพลงไพเราะหรอื ไม่ไพเราะ
นกั เรียนใชห้ ลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง เพื่อเป็นการประเมินความร้คู วามเขา้ ใจของนักเรียนกอ่ นเรยี น

ข้ันท่ี 2 ขน้ั สอน
1. ครูนำเสนอเน้ือหาเรื่อง การเปรียบเทียบเสียงรอ้ งและเสียงของเครอ่ื งดนตรใี นบทเพลงจาก
วัฒนธรรมต่าง ๆ โดยอธบิ ายเกี่ยวกับวิธีการสงั เกตลักษณะของวิธีการขับร้องและการใชเ้ ครอ่ื งดนตรบี รรเลงใน
บทเพลงต่าง ๆ ว่าจะตอ้ งสังเกตในลักษณะเบอื้ งตน้ อยา่ งไรบ้าง
2. ครเู ปิดวดี ทิ ัศน์การขับรอ้ งเพลงที่ครูเห็นวา่ เหมาะสมใหน้ ักเรียนรว่ มกนั ชมและฟงั แล้วชว่ ยกนั
วจิ ารณ์ตามหลกั การหรอื ตามวิธีการท่จี ะตอ้ งสังเกตว่ามีเสียงรอ้ งและเสียงของเคร่ืองดนตรที ่บี รรเลงในเพลงตรง
ตามหลักการหรือไม่ อย่างไร โดยครูคอยให้คำแนะนำ และเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นซกั ถาม
ขัน้ ที่ 3 ขั้นสรุป
นกั เรียนรว่ มกันสรปุ เรือ่ ง การเปรียบเทียบเสยี งรอ้ งและเสียงของเครอื่ งดนตรใี นบทเพลงจากวฒั นธรรม
ต่าง ๆ โดยครคู อยให้ความรเู้ สรมิ ในสว่ นทน่ี ักเรยี นไม่เข้าใจหรอื สรุปไม่ตรงกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้
ขน้ั ท่ี 4 ฝกึ ฝนผู้เรยี น
ให้นักเรยี นปฏิบัติ กิจกรรม เปรยี บเทยี บเสยี งรอ้ งและเสยี งของเครื่องดนตรใี นบทเพลง แล้วนำขอ้ มูลมา
อภิปราย และร้องหรอื นำเสนอผลงานดว้ ยวธิ กี ารอ่นื ๆ หน้าช้นั เรียน
ขัน้ ที่ 5 การนำไปใช้
นักเรยี นสามารถนำความรู้เรอ่ื ง การเปรยี บเทยี บเสียงร้องและเสยี งของเคร่ืองดนตรีในบทเพลงจาก
วฒั นธรรมต่าง ๆ ไปใชใ้ นการวิเคราะหล์ ักษณะการขับร้องและลกั ษณะการบรรเลงของเครอ่ื งดนตรีท่ีใช้ในบท
เพลงท่ีตนสนใจว่าเปน็ อยา่ งไร ซง่ึ จะช่วยใหไ้ ดร้ บั คุณคา่ จากบทเพลงหรือดนตรมี ากขน้ึ

กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ
นักเรียนหาโอกาสชมการแสดงดนตรีจากสถานทตี่ ่าง ๆ และสงั เกตลักษณะการใช้เสียงในการขับร้อง

และลกั ษณะการบรรเลงของเครื่องดนตรีตามหลกั การ โดยการจดบนั ทึก แล้วนำมาอภปิ รายหรือเล่าให้เพ่ือน ๆ
ฟงั เพ่ือแลกเปลยี่ นประสบการณ์

2. กิจกรรมสำหรบั ฝึกทักษะเพิม่ เติม
นกั เรียนฟังเพลงทตี่ นสนใจหลาย ๆ เพลง แล้วฝกึ วิเคราะหเ์ สียงขบั ร้องและเสยี งของเครอ่ื งดนตรีท่ใี ช้
วา่ มีลกั ษณะอย่างไร พยายามฝึกฝนบอ่ ย ๆ จนเกิดความชำนาญ

22

10. การวดั และประเมนิ ผล ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
ดา้ นความรู้ (K) และคา่ นิยม (A)
1. สงั เกตจากการปฏบิ ตั ิตาม
1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ กจิ กรรมทก่ี ำหนด
แสดงความคดิ เหน็ ความกระตือรือร้นในการ
ปฏิบัตกิ จิ กรรม 2. สงั เกตจากการทำงาน
2. จากการตรวจการวัดและ รว่ มกบั
ประเมินผลการเรียนรู้ประจำ 2. สงั เกตจากความรบั ผดิ ชอบ
หน่วย และความมรี ะเบยี บขณะ สมาชกิ ในกลุ่มอยา่ ง
ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม คลอ่ งแคลว่
3. จากการตรวจใบกิจกรรม 3. สังเกตจากการเคลือ่ นไหว
3. สงั เกตจากการยอมรบั ความ รา่ งกายอย่างคล่องแคล่วม่ันใจ
คดิ เห็นของผู้อ่ืนขณะปฏบิ ัติ
กิจกรรม

11. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
1. วีดทิ ศั น์เพลงประเภทตา่ ง ๆ
2. เครื่องดนตรีประเภทตา่ ง ๆ
3. ใบกจิ กรรม
4. ห้องสมุด
5. การแสดงดนตรีตามสถานทตี่ ่าง ๆ
6. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชั้น ม. 1 บรษิ ัท สำนกั พิมพ์วฒั นาพานิช จำกดั
7. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพน้ื ฐานดนตรี–นาฏศิลป์ ชั้น ม. 1 บรษิ ัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานชิ จำกัด

23

แผนการจัดการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรื่อง วงดนตรแี ละบทเพลง เวลา 11 ช่ัวโมง
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 4
ประกอบการร้องเพลง เรื่อง บทเพลงสำหรับฝกึ รอ้ งและการบรรเลงเครื่องดนตรี
รหสั วิชา ศ21102
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 3 ชั่วโมง
ผสู้ อน นายวัฒนา ราชจันคำ
รายวิชา ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ภาคเรียนท่ี 1/2565

สอนวันท่ี.....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณค์ ณุ ค่า

ดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั

2. ตัวช้ีวดั
ร้องเพลงและใช้เคร่ืองดนตรบี รรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงทีห่ ลากหลายรูปแบบ (ศ 2.1 ม.

1/3)

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายเหตุผลในการเลือกบทเพลงสำหรับร้องหรือบรรเลงดนตรีได้ (K)
2. รอ้ งเพลงหรือบรรเลงดนตรีดว้ ยความสนุกสนาน ม่นั ใจ และมคี วามสุข (A)
3. เลอื กบทเพลงสำหรับร้องหรือบรรเลงดนตรไี ด้อยา่ งเหมาะสม (P)
4. รอ้ งเพลงและใช้เคร่ืองดนตรบี รรเลงประกอบการร้องเพลงดว้ ยบทเพลงท่ีหลากหลายรูปแบบได้ (P)

4. สาระการเรยี นรู้
• การร้องและการบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบการรอ้ ง
– บทเพลงพื้นบ้าน บทเพลงปลกุ ใจ
– บทเพลงไทยเดมิ
– บทเพลงประสานเสียง 2 แนว
– บทเพลงรปู แบบ ABA
– บทเพลงประกอบการเต้นรำ

24

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การร้องเพลงหรือใช้เครื่องดนตรบี รรเลงประกอบการร้องเพลงดว้ ยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบ เปน็

การแสดงความสามารถทางดนตรอี กี วธิ หี น่ึง และบทเพลงท่ีสามารถนำมาฝึกรอ้ งหรือบรรเลงดนตรีน้ันมีหลาย
รปู แบบ เช่น บทเพลงพนื้ บ้านของแตล่ ะท้องถิ่น บทเพลงปลกุ ใจตา่ ง ๆ บทเพลงประสานเสียง 2 แนว บทเพลง
รปู แบบ ABA หรือบทเพลงประกอบการเต้นรำตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ท้งั น้ีขนึ้ อยู่กับความชอบหรือความถนัดของแตล่ ะ
บุคคลทตี่ ้องการเลอื กนำมาร้องหรือบรรเลง

6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซ่อื สัตย์สจุ ริต
3. มีวินัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งม่นั ในการทำงาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

8. จดุ เนน้ ส่กู ารพฒั นาผูเ้ รียนความสามารถและทักษะของผ้เู รยี นศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1 - Reading (สามารถอา่ นออก)

⬜ R2 - (W)Riting (สามารถเขียนได)้

⬜ R3 - (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อยา่ งมี
วจิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา)

⬜ C2 - Creativity and Innovation (ทักษะการคิดสร้างสรรค์และคิดเชิงนวตั กรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเขา้ ใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม
กระบวนการคดิ ขา้ มวัฒนธรรม)

25

⬜ C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงาน
เป็นทมี และภาวะผูน้ ำ)

⬜ C5 - Communication, Information and Media literacy (ทกั ษะด้านการส่ือสารและ
รเู้ ทา่ ทนั สอื่ )

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และรู้เท่าทนั เทคโนโลยี)
 C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้)
 C8 - Compassion (มคี ุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมีระเบยี บวินยั )

9. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 1 ขั้นนำเข้าส่บู ทเรียน
ครูขอตัวแทนนักเรยี นออกมาร้องเพลงหน้าชัน้ เรียน 1–2 คน ตามความเหมาะสม แลว้ ถามนักเรยี น

ทัง้ หมดวา่ เพลงทเี่ พื่อนร้องจัดอยู่ในเพลงประเภทใด ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น จากนน้ั ครอู ธิบายให้
นกั เรียนทราบวา่ เพลงท่เี พื่อนออกมาร้องน้ันจัดอยใู่ นเพลงประเภทใด

ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ สอน
1. ครูนำเสนอเนือ้ หาเร่ือง บทเพลงสำหรบั ฝึกรอ้ งและการบรรเลงเคร่อื งดนตรีประกอบการรอ้ งเพลง
โดยอธิบายเกีย่ วกับการรอ้ งเพลงและการบรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการร้องดงั น้ี

– บทเพลงพ้นื บ้าน
– บทเพลงปลกุ ใจ
– บทเพลงไทยเดมิ
– บทเพลงประสานเสียง 2 แนว
– บทเพลงรปู แบบ ABA (Ternary form)
– บทเพลงประกอบการเตน้ รำ
2. แบ่งกล่มุ นกั เรียนเป็น 6 กล่มุ ให้แต่ละกลุ่มจบั สลากหวั ข้อบทเพลงสำหรบั ฝึกร้องดงั น้ี
1) บทเพลงพ้ืนบา้ น
2) บทเพลงปลุกใจ
3) บทเพลงไทยเดิม
4) บทเพลงประสานเสียง 2 แนว
5) บทเพลงรปู แบบ ABA (Ternary form)
6) บทเพลงประกอบการเต้นรำ
3. ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมารอ้ งเพลงที่กล่มุ จับสลากได้หนา้ ชัน้ เรยี น
ขั้นท่ี 3 ข้นั สรุป
นกั เรยี นร่วมกันสรปุ เรอ่ื ง บทเพลงสำหรบั ฝกึ ร้องและการบรรเลงเคร่อื งดนตรีประกอบการร้องเพลง
โดยครูคอยให้ความร้เู สริมในส่วนที่นักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจหรือสรปุ ไมต่ รงกับจุดประสงค์การเรียนรู้

26

ขน้ั ท่ี 4 ฝึกฝนผู้เรยี น
ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั ิ กิจกรรม รอ้ งเพลงที่สนใจ และกจิ กรรม บรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการร้องเพลงท่ี
ตนใจ แล้วออกมานำเสนอข้อมูลพรอ้ มทง้ั บอกเหตุผลในการเลือกร้องเพลงนัน้
ขนั้ ที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรียนสามารถนำความรเู้ รือ่ ง บทเพลงสำหรับฝกึ ร้องและการบรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการร้อง
เพลง ไปประยุกต์ใชใ้ นการเลือกบทเพลงตา่ ง ๆ มาฝึกร้องและฝกึ บรรเลงเคร่ืองดนตรปี ระกอบการร้องเพลง
เพ่ือใชแ้ สดงความสามารถของตนเองในโอกาสตา่ ง ๆ และยังชว่ ยผ่อนคลายความเครยี ดได้

กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพเิ ศษ
นักเรียนรว่ มกนั จัดประกวดรอ้ งเพลงเพลงพ้ืนบา้ น เพลงปลุกใจ เพลงไทยเดิม เพลงประสาน

เสยี ง 2 แนว เพลงรูปแบบ ABA เพลงประกอบการเตน้ รำ หรือเพลงร้องท่ัวไป โดยผเู้ ขา้ ประกวดจะตอ้ งเล่น
เครอ่ื งดนตรปี ระกอบด้วย เคร่ืองดนตรชี นิดใดก็ได้อยา่ งน้อย 1 ช้นิ และเชญิ ครหู รอื ผู้รดู้ ้านดนตรีในชมุ ชนร่วม
เปน็ คณะกรรมการในการตดั สิน

2. กจิ กรรมสำหรับฝึกทักษะเพิม่ เติม
นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4–5 คน รว่ มกนั ฝึกร้องเพลงตามตัวอย่างในหนังสือเรยี นหรือเพลงอื่น ๆ ท่ี
สนใจ พรอ้ มทง้ั บรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการร้องเพลงด้วย โดยใชเ้ ครือ่ งดนตรที ่สี มาชิกในกลมุ่ เล่นได้ และ
หาโอกาสแสดงความสามารถให้ผอู้ ื่นได้ฟังและชมในโอกาสต่าง ๆ ตามความเหมาะสม

10. การวัดและประเมนิ ผล ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
ด้านความรู้ (K) และค่านิยม (A)
1. สังเกตจากการปฏบิ ัติตาม
1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ กิจกรรมที่กำหนด
แสดงความคดิ เห็น ความกระตือรือรน้ ในการ
ปฏิบัติกิจกรรม 2. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ
2. จากการตรวจการวัดและ กิจกรรมร่วมกบั สมาชิกใน
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ประจำ 2. สังเกตจากความรบั ผดิ ชอบ กลุม่ อยา่ งคล่องแคล่ว
หนว่ ย และความมีระเบียบขณะ
ปฏิบตั ิกจิ กรรม 3. สงั เกตจากการเคลือ่ นไหว
3. จากการตรวจใบกิจกรรม ร่างกายอย่างคล่องแคลว่
3. สังเกตจากการยอมรบั ความ ม่ันใจ
คดิ เห็นของผู้อนื่ ขณะปฏิบัติ
กิจกรรม 4. ประเมนิ พฤติกรรมตามแบบ
ประเมินความสามารถในการ
รอ้ งเพลง

5. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ

27

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านิยม (A)
ประเมนิ ความสามารถในการ
บรรเลงเครือ่ งดนตรี
ประกอบการร้องเพลง

11. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้
1. บทเพลงประเภทต่าง ๆ
2. เครอ่ื งดนตรีชนิดตา่ ง ๆ
3. ผู้รู้ด้านดนตรีในชมุ ชน
4. ใบกจิ กรรม
5. หอ้ งสมุด
6. หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชนั้ ม. 1 บริษทั สำนกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั
7. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพนื้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชนั้ ม. 1 บริษัท สำนกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จำกดั

28

แผนการจัดการเรียนรู้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง วงดนตรแี ละบทเพลง เวลา 11 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 5
รหัสวชิ า ศ21102 เรื่อง การใชแ้ ละบำรงุ รักษาเครอ่ื งดนตรี เวลา 1 ช่วั โมง
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ

ภาคเรยี นท่ี 1/2565

สอนวนั ท่.ี ....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วจิ ารณค์ ณุ คา่

ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดต่อดนตรีอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั

2. ตัวช้ีวัด
ใชแ้ ละบำรุงรกั ษาเคร่ืองดนตรีอยา่ งระมัดระวงั และรับผิดชอบ (ศ 2.1 ม.1/9)

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายวิธีการใช้และบำรงุ รกั ษาเครื่องดนตรีได้ถูกต้อง (K)
2. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมรว่ มกับผู้อ่นื ดว้ ยความซ่อื สัตยแ์ ละมีความรบั ผิดชอบ (A)
3. ใช้และบำรุงรักษาเคร่ืองดนตรีอยา่ งระมัดระวงั และปลอดภัย (P)

4. สาระการเรียนรู้
• การใช้และบำรงุ รักษาเคร่ืองดนตรีของตน

5. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
เคร่ืองดนตรีแต่ละชนิดหรือแตล่ ะประเภทมวี ธิ ีการใชแ้ ละการดแู ลรักษาตามลักษณะเฉพาะของเคร่ือง

นนั้ ๆ การใชแ้ ละการดแู ลรักษาเครื่องดนตรีตามหลกั วิธีได้อยา่ งถูกต้องจะช่วยยืดอายุการใชง้ านของเครือ่ ง
ดนตรไี ด้นานยิ่งขึน้

6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

29

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
7. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต
3. มีวนิ ยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. มุง่ มนั่ ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มจี ิตสาธารณะ

8. จดุ เนน้ ส่กู ารพัฒนาผู้เรียนความสามารถและทักษะของผเู้ รียนศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขียนได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะการคดิ วิเคราะห์ การคิดอยา่ งมี
วิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะการคิดสร้างสรรคแ์ ละคดิ เชงิ นวตั กรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
กระบวนการคดิ ขา้ มวัฒนธรรม)

⬜ C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงาน
เปน็ ทีม และภาวะผนู้ ำ)

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทกั ษะดา้ นการส่ือสารและ
ร้เู ทา่ ทันสื่อ)

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์และรูเ้ ท่าทันเทคโนโลยี)
 C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้)
 C8 – Compassion (มีคุณธรรม มคี วามเมตตากรุณา และมีระเบียบวินัย)

9. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นท่ี 1 ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรยี น
ครแู บ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลมุ่ ให้แตล่ ะกลุ่มเล่นเกมแข่งขนั กันเขียนชื่อเคร่ืองดนตรีไทยและเครื่อง

ดนตรีสากลในเวลาทีค่ รูกำหนด กลุม่ ใดเขียนไดม้ ากกว่าเป็นฝ่ายชนะ (นับเฉพาะชือ่ เครือ่ งดนตรที ี่ไม่ซำ้ กนั )
ขั้นท่ี 2 ขั้นสอน

30

1. ครนู ำเครอ่ื งดนตรหี รือภาพเครอื่ งดนตรีมาใหน้ ักเรยี นดู หรือพานักเรียนไปดูเคร่ืองดนตรใี นห้อง
ดนตรี และถามนักเรยี นเกี่ยวกับชอื่ เครื่องดนตรีแต่ละชน้ิ และวิธีการเล่น เพ่ือทบทวนความจำ

2. ครูนำเสนอเนอื้ หาเร่ือง การใชแ้ ละบำรุงรักษาเคร่ืองดนตรี เกี่ยวกับวิธกี ารใชแ้ ละการดูแลและ
บำรงุ รกั ษาเครอ่ื งดนตรีไทยและเครือ่ งดนตรสี ากลแตล่ ะชนิดให้นักเรียนทราบ และใหน้ ักเรยี นดูหนงั สือเรยี น
ประกอบ

3. ครนู ำภาพเคร่ืองดนตรีมาใหน้ กั เรียนดูทลี ะชนิด แล้วให้นกั เรียนรว่ มกนั หรือเลือกสุม่ ตัวแทนบอก
วธิ กี ารใชแ้ ละการดแู ลรักษาเครือ่ งดนตรีที่อยู่ในภาพ โดยครคู อยอธิบายเพ่มิ เตมิ

4. ให้นกั เรยี นทดลองใช้และดูแลรกั ษาเครื่องดนตรเี บือ้ งต้นตามทีค่ รูคิดวา่ เหมาะสม โดยครคู อยให้
คำแนะนำ

ขัน้ ที่ 3 ข้ันสรุป
ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั สรปุ เร่ือง การใชแ้ ละบำรุงรักษาเคร่ืองดนตรี โดยครคู อยให้ความร้เู สริมในส่วนท่ี
นกั เรยี นไมเ่ ข้าใจหรือสรุปไม่ตรงกับจุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ขั้นที่ 4 ฝกึ ฝนผู้เรยี น
1. ใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ิ กิจกรรม การใช้และบำรุงรักษาเคร่อื งดนตรไี ทยและกจิ กรรม การใชแ้ ละ
บำรงุ รักษาเครอื่ งดนตรสี ากล แล้วขอตัวแทนนักเรียนออกมาสาธติ การปฏิบัตกิ ารใช้และบำรุงรักษาเคร่ืองดนตรี
2. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน
3. ใหน้ กั เรียนทำโครงงานตามความสนใจ
ขั้นท่ี 5 การนำไปใช้
นักเรยี นสามารถนำความรเู้ รอื่ ง การใชแ้ ละการดแู ลรกั ษาเคร่อื งดนตรีเบื้องตน้ ไปใชใ้ นการบรรเลงและ
ดแู ลรักษาเครื่องดนตรขี องตนเองตามหลักปฏิบัตทิ ีถ่ ูกต้อง รวมทัง้ นำความรเู้ กี่ยวกับการใชแ้ ละการดูแลรักษา
เคร่อื งดนตรีในระดับเบอ้ื งต้นไปแนะนำใหผ้ ู้อ่นื ทราบได้อย่างถกู ต้อง

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพิเศษ
นกั เรียนศึกษาเก่ยี วกับวธิ กี ารใช้และการดูแลรักษาเครื่องดนตรีแตล่ ะชนิดเพ่ิมเติมจากครูดนตรีหรือผรู้ ู้

ดา้ นดนตรี แล้วปฏบิ ัตติ ามเพ่ือเปน็ การรักษาและถนอมเครื่องดนตรีให้มีอายุการใชง้ านที่ยาวนาน
2. กจิ กรรมสำหรบั ฝกึ ทักษะเพ่ิมเติม
นกั เรียนฝกึ ทำความสะอาดเครื่องดนตรแี ตล่ ะชนดิ หรอื ประเภทตามหลักปฏบิ ัติอย่างถูกวธิ ี หรอื หลัง

การบรรเลงเครื่องดนตรี ให้ปฏิบตั ิตามวิธกี ารดูแลรักษาเคร่ืองดนตรีเบ้ืองต้นก่อนเป็นลำดับแรก เพ่ือใหเ้ คร่ือง
ดนตรมี ีอายุการใชง้ านทีน่ านข้ึน

31

10. การวดั และประเมินผล

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)

และค่านยิ ม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ 1. สังเกตจากการปฏบิ ัติตาม

แสดงความคดิ เหน็ ความกระตือรอื ร้นในการ กจิ กรรมที่กำหนด

2. จากการตรวจการวัดและ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรรม 2. สงั เกตจากการทำงาน

ประเมินผลการเรยี นรูป้ ระจำ 2. สังเกตจากความรบั ผดิ ชอบ รว่ มกับ

หนว่ ย และความมีระเบียบในการ สมาชกิ ในกลุ่มอยา่ ง

3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏิบตั ิกิจกรรม คล่องแคล่ว

หลงั เรียน 3. สังเกตจากการยอมรบั ฟงั 3. สงั เกตจากการเคลอ่ื นไหว

4. จากการตรวจใบกจิ กรรม ความคิดเหน็ ของผู้อื่นขณะ ร่างกายอย่างคล่องแคล่ว

ปฏิบตั ิกจิ กรรม มั่นใจ

4. ประเมนิ พฤติกรรมตามแบบ 4. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ

การประเมินผลดา้ นคุณธรรม การประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/

จรยิ ธรรม และค่านิยม กระบวนการ

11. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้
1. เคร่อื งดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรสี ากลชนิดต่าง ๆ
2. ภาพเครอื่ งดนตรไี ทยและเคร่อื งดนตรสี ากลชนดิ ต่าง ๆ
3. ใบกจิ กรรม
4. ห้องดนตรี
5. หอ้ งสมดุ
6. หนงั สือเรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ช้ัน ม. 1 บรษิ ทั สำนักพิมพ์วฒั นาพานิช จำกัด
7. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพื้นฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ช้ัน ม. 1 บริษัท สำนกั พมิ พ์วัฒนาพานิช จำกดั

32

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2
เรื่อง วเิ คราะห์องคป์ ระกอบดนตรี

เวลา 4 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์เปา้ หมายการเรยี นรู้

ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ
– การถ่ายทอดอารมณข์ องบทเพลง – การศึกษาคน้ ควา้
– การนำเสนอบทเพลงทต่ี นเองสนใจ – การคิด
– การประเมินคุณภาพของบทเพลง – การปฏบิ ัติ
– กระบวนการกลุ่ม
– การอภิปราย
– การนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั

วิเคราะห์
องค์ประกอบดนตรี

ภาระ/ชน้ิ งาน คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม
– การทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น – มเี จตคติท่ดี ีตอ่ การปฏิบตั ิกิจกรรมดนตรี
– การวิเคราะห์ลักษณะการสื่ออารมณข์ องบทเพลง – เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการถ่ายทอด
– การคดิ ประดิษฐ์ทา่ ทางเก่ียวกบั ระดบั เสียง อารมณเ์ พลง
– การปฏิบัติทา่ ทางตามระดบั เสียง – มรี ะเบยี บและวนิ ยั ในตนเอง
– การอภิปรายลกั ษณะความแตกต่างของอารมณ์เพลง – ปฏบิ ตั ติ นอยา่ งมีมารยาทในการปฏิบัตกิ จิ กรรม
– การรอ้ งเพลงหรอื เลน่ ดนตรีประกอบการรอ้ งเพลง รว่ มกบั ผู้อนื่
– การประเมินคณุ ภาพของบทเพลงหรอื ดนตรี
– ใบกิจกรรม
– การทำโครงงาน

33

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 วเิ คราะหอ์ งค์ประกอบดนตรี

ขัน้ ที่ 1 ผลลัพธป์ ลายทางท่ีต้องการให้เกดิ ขน้ึ กบั นักเรยี น

ตวั ชี้วดั ช้ันปี

1. แสดงความคิดเหน็ ทมี่ ีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มคี วามเร็วของจงั หวะ และความดัง–เบาแตกต่าง

กนั (ศ 2.1 ม. 1/5)

2. เปรียบเทยี บอารมณ์ ความรูส้ ึกในการฟงั ดนตรแี ต่ละประเภท (ศ 2.1 ม. 1/6)

3. นำเสนอตัวอยา่ งเพลงทตี่ นเองชน่ื ชอบและอภปิ รายลักษณะเด่นทท่ี ำใหง้ านน้นั นา่ ช่นื ชม

(ศ 2.1 ม. 1/7)

4. ใช้เกณฑส์ ำหรับประเมนิ คุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง (ศ 2.1 ม. 1/8)

ความเข้าใจทค่ี งทนของนกั เรียน คำถามสำคัญทีท่ ำใหเ้ กิดความเขา้ ใจทค่ี งทน

นกั เรียนจะเขา้ ใจวา่ ... 1. จังหวะดนตรีมสี ่วนสัมพันธก์ ับอารมณ์เพลง

1. บทเพลงแตล่ ะบทเพลงมกี ารถ่ายทอดอารมณ์ อย่างไร

เพลงโดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆ เชน่ 2. ความดงั –เบามีสว่ นสัมพนั ธก์ ับอารมณ์เพลง

จงั หวะและความดัง–เบาของเสียง เปน็ ตน้ อยา่ งไร

2. การนำเสนอบทเพลงที่ตนเองสนใจสามารถทำ 3. นักเรียนมวี ธิ กี ารนำเสนอบทเพลงท่ีตนเอง

ได้หลายวิธี เช่น การรอ้ งเพลง การบรรเลง สนใจใหผ้ อู้ ่นื รับรูไ้ ดอ้ ย่างไร

เครื่องดนตรี การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของ 4. นกั เรยี นมีเกณฑใ์ นการประเมินคุณภาพของ

เพลงแล้วนำมาอภปิ ราย เป็นต้น งานดนตรหี รอื บทเพลงทฟี่ ังอย่างไร

3. บทเพลงแตล่ ะเพลงจะมีลกั ษณะเดน่ แตกต่าง

กันไปดงั นี้ ด้านเน้ือหา ด้านแนวเพลง และ

ดา้ นองคป์ ระกอบดนตรี

4. คณุ ภาพของบทเพลงมีส่วนชว่ ยทำใหบ้ ทเพลง

มี

คุณค่าและเกดิ ความไพเราะได้

ความรู้ของนักเรียนทีน่ ำไปสู่ความเขา้ ใจท่ี ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่

คงทน ความเข้าใจทีค่ งทน

นักเรยี นจะรวู้ า่ ... นักเรียนจะสามารถ...

1. คำสำคญั ที่ควรรู้ ได้แก่ เอกภาพและอมตะ 1. แสดงความคิดเห็นทมี่ ีต่ออารมณ์ของบทเพลง

2. ลีลาจงั หวะสามารถทำใหเ้ กิดความรสู้ ึกหรือ ท่มี คี วามเรว็ ของจังหวะแตกต่างกนั ได้

อารมณ์ต่าง ๆ ได้ เชน่ เพลงท่ีมีจงั หวะช้า 2. แสดงความคิดเหน็ ท่มี ตี ่ออารมณข์ องบทเพลง

สามารถถ่ายทอดอารมณ์เศร้า อ่อนหวาน หรอื ท่มี คี วามดงั –เบาของเสยี งแตกต่างกนั ได้

ทอ้ แทส้ น้ิ หวังไดด้ ีกว่าเพลงที่มีจงั หวะเรว็ 3. เปรยี บเทียบอารมณ์และความรสู้ กึ ในการฟงั

34

3. ความดัง–เบาของเสียงร้องหรอื เสยี งดนตรี เพลงหรือดนตรแี ตล่ ะประเภท

สามารถถ่ายทอดอารมณต์ ่าง ๆ ได้ เชน่ เพลง 4. นำเสนอตวั อย่างเพลงท่ีตนเองช่นื ชอบ

ทม่ี กี ารร้องโดยใช้เสยี งดงั ๆ กจ็ ะทำใหเ้ พลง 5. อภปิ รายลกั ษณะเด่นของเพลงทีต่ นเองช่นื

น้นั ถ่ายทอดอารมณ์ทด่ี ุดนั เขม้ แข็งมากกว่า ชอบ

เพลงที่ใชเ้ สยี งร้องเบานุ่มนวล 6. ประเมนิ คณุ ภาพงานดนตรหี รอื เพลงท่ีฟังได้

4. ลักษณะเด่นของเพลงด้านเน้อื หาจะต้องมี อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสมตามเกณฑ์

ความ

เป็นเอกภาพ ลักษณะเดน่ ของเพลงด้านแนว

เพลงตรงตามกลุ่มคนฟัง และลกั ษณะเดน่ ของ

เพลงด้านองค์ประกอบดนตรีครบ เหมาะสม

และมีความสมบรู ณ์ เป็นต้น

5. การประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลงต้องประเมิน

คุณภาพด้านเนื้อหา คุณภาพด้านเสยี ง และ

คณุ ภาพดา้ นองค์ประกอบดนตรี

ขนั้ ท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรยี นรู้ซง่ึ เป็นหลักฐานที่แสดงว่านกั เรียนมีผลการเรยี นรู้

ตามทกี่ ำหนดไว้อยา่ งแท้จริง

1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏบิ ตั ิ

– วิเคราะหจ์ ังหวะกบั การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง

– วเิ คราะห์ความดงั –เบากับการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง

– ปฏิบตั ทิ า่ ทางตามระดบั เสยี งดงั และเสียงเบา

– อภปิ รายลักษณะการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงทส่ี นใจ

– รอ้ งเพลงหรือนำเสนอผลการวเิ คราะหด์ ว้ ยวิธีการต่าง ๆ

– รอ้ งเพลงหรือเล่นดนตรปี ระกอบการรอ้ งเพลง

– อภิปรายลักษณะเด่นของบทเพลงทน่ี ำเสนอ

– ประเมินคุณภาพของบทเพลงด้านเน้ือหา ด้านเสียง และดา้ นองค์ประกอบดนตรี

2. วิธกี ารและเครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลการเรียนรู้

วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ เคร่ืองมอื ประเมนิ ผลการเรียนรู้

– การทดสอบ – แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น

– การสนทนาซักถามโดยครู – ใบกจิ กรรม

– การแสดงความคดิ เห็น การอภปิ ราย – แบบประเมินผลดา้ นความรู้

– การฝกึ ปฏบิ ัติระหวา่ งเรยี น – แบบประเมนิ ผลดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และ

– การประเมนิ ผลด้านความรู้ คา่ นยิ ม

– การประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม – แบบประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/กระบวนการ

35

และคา่ นิยม
– การประเมนิ ผลด้านทกั ษะ/กระบวนการ

3. ส่งิ ท่ีมงุ่ ประเมนิ
– วเิ คราะหจ์ งั หวะกับการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงได้
– วิเคราะหค์ วามดัง–เบากับการถา่ ยทอดอารมณ์ของบทเพลงได้
– ปฏบิ ัติทา่ ทางตามระดบั เสียงดงั และเสยี งเบาได้ถูกต้อง
– อภิปรายลักษณะการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงท่ีสนใจได้
– รอ้ งเพลงหรือนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ได้
– รอ้ งเพลงหรือเล่นดนตรีประกอบการร้องเพลงได้
– อภิปรายลักษณะเดน่ ของบทเพลงทนี่ ำเสนอได้
– ประเมินคุณภาพของบทเพลงด้านเน้อื หา ด้านเสยี ง และดา้ นองค์ประกอบดนตรไี ด้
– พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิกิจกรรมรว่ มกบั ผอู้ ื่นด้วยความซ่ือสัตย์ ความรับผดิ ชอบ และความสนกุ สนาน

ขัน้ ท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 การถา่ ยทอดอารมณข์ องบทเพลง
1 ช่ัวโมง
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 การนำเสนอบทเพลงทีต่ นเองสนใจ
2 ชว่ั โมง
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 การประเมินคุณภาพของบทเพลง
1 ชั่วโมง

36

แผนการจัดการเรยี นรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง วเิ คราะห์องค์ประกอบดนตรี เวลา 4 ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 6
รหสั วชิ า ศ21102 เรอื่ ง การถา่ ยทอดอารมณข์ องบทเพลง เวลา 1 ชั่วโมง
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
ผสู้ อน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ภาคเรยี นท่ี 1/2565

สอนวนั ท.่ี ....................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วจิ ารณค์ ุณคา่

ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ ดนตรอี ยา่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั

2. ตัวช้ีวดั
1. แสดงความคดิ เหน็ ทีม่ ีต่ออารมณข์ องบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะ และความดัง–เบาแตกตา่ งกนั

(ศ 2.1 ม.1/5)
2. เปรยี บเทียบอารมณ์ ความรูส้ ึกในการฟงั ดนตรีแตล่ ะประเภท (ศ 2.1 ม.1/6)

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. วิเคราะห์ว่าเพลงท่ีมจี งั หวะที่ต่างกนั สามารถส่อื อารมณ์ต่าง ๆ ได้ (K)
2. วิเคราะห์วา่ เพลงท่ีมีเสียงดังและเบาต่างกนั สามารถสอ่ื อารมณต์ า่ ง ๆ ได้ (K)
3. อภปิ รายลกั ษณะการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงทสี่ นใจได้ (K)
4. คดิ ประดิษฐ์ท่าทางเกยี่ วกับเสยี งดงั และเบาได้ (K)
5. ปฏิบัตกิ จิ กรรมดนตรีดว้ ยความสนกุ สนานและมัน่ ใจ (A)
6. นำบทเพลงไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ (P)
7. ปฏิบัตทิ ่าทางท่ีคดิ ข้ึนตามระดับเสยี งดังและเบาได้ (P)
8. นำเสนอผลงานโดยวธิ กี ารร้องหรือวิธีการอ่ืน ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม (P)

4. สาระการเรียนรู้
• การถ่ายทอดอารมณข์ องบทเพลง
– จังหวะกบั อารมณเ์ พลง
– ความดงั –เบากบั อารมณ์เพลง
– ความแตกตา่ งของอารมณ์เพลง

37

5. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
บทเพลงแตล่ ะบทเพลงมีการถ่ายทอดอารมณโ์ ดยอาศยั องค์ประกอบต่าง ๆ เช่น จังหวะ ความดงั –ของ

เสียง เป็นต้น เมอื่ บทเพลงมีการเปลีย่ นแปลงจังหวะหรือความดัง–เบาของเสยี งดนตรี กส็ ามารถทำใหเ้ กิดความ
แตกต่างทางดา้ นอารมณเ์ พลงได้

6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซอื่ สตั ย์สจุ รติ
3. มีวินยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
6. มุง่ ม่นั ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ิตสาธารณะ

8. จดุ เนน้ สกู่ ารพัฒนาผูเ้ รียนความสามารถและทกั ษะของผเู้ รียนศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขยี นได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ อย่างมี
วิจารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์และคดิ เชงิ นวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม
กระบวนการคดิ ข้ามวัฒนธรรม)
 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงาน
เปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ)

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทกั ษะดา้ นการส่ือสารและ

38

รู้เทา่ ทนั สือ่ )

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และรเู้ ท่าทันเทคโนโลยี)

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรยี นรู)้
 C8 – Compassion (มคี ุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมีระเบียบวินัย)

9. กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ ที่ 1 ข้นั นำเขา้ สู่บทเรียน
1. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพ่อื ประเมนิ ความรู้
2. ครูเปดิ เพลงที่มีจังหวะชา้ จังหวะปานกลาง จังหวะเร็ว และเพลงท่มี กี ารใชเ้ สยี งรอ้ งหรอื เสยี งดนตรีที่

มีความดงั –เบาแตกต่างกันไปให้นกั เรียนฟงั แล้วถามนักเรยี นว่าเพลงทม่ี ีจงั หวะและความดงั –เบาของเพลงแบบ
ใดทส่ี ามารถถ่ายทอดอารมณ์สนกุ สนานไดด้ ี ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็

ขั้นท่ี 2 ขน้ั สอน
1. ครูนำเสนอเน้ือหาเรื่อง การถ่ายทอดอารมณข์ องบทเพลง เกยี่ วกับจงั หวะกับอารมณ์ของบทเพลง
และความดัง–เบากบั อารมณ์ของบทเพลง โดยอธิบายให้นักเรยี นทราบถึงลกั ษณะของการถา่ ยทอดอารมณเ์ พลง
ท่ีเกิดจากจงั หวะและความดัง–เบาของบทเพลง แล้วเปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถาม และอธบิ ายเพิม่ เติมพร้อมท้ัง
ยกตัวอย่าง
2. แบ่งนักเรยี นออกเปน็ 2 กล่มุ เท่า ๆ กนั โดยกล่มุ ท่ี 1 ศึกษาเร่ืองการถา่ ยทอดอารมณ์ของจังหวะ
และกล่มุ ท่ี 2 ศกึ ษาเรื่องการถ่ายทอดอารมณ์ของความดัง–เบาของเสียงดนตรี แล้วร่วมกันอภปิ รายหนา้ ชนั้
เรียน
3. ครตู ั้งคำถามนกั เรยี นวา่ จงั หวะแบบใดทส่ี ่ืออารมณเ์ ศรา้ ได้ดที สี่ ุด หรือเพลงทม่ี ีการใช้ระดบั เสยี งแบบ
ใดทีส่ ามารถถ่ายทอดอารมณ์และความรสู้ ึกเศร้าไดด้ ที ่ีสุด เพือ่ เป็นการประเมินความเข้าใจของนักเรยี น ให้
นักเรยี นช่วยกันตอบและแสดงความคิดเหน็
4. ครูอธิบายเก่ียวกับความแตกตา่ งของอารมณเ์ พลง วา่ มีอารมณเ์ พลงแบบใดบ้างทเี่ กิดจากความ
ไพเราะของดนตรหี รือบทเพลงตา่ ง ๆ แล้วให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอยา่ งช่อื เพลงทร่ี จู้ กั พร้อมทัง้ บอกวา่ เพลงน้นั
สื่อหรือถา่ ยทอดอารมณใ์ ดออกมา
ขนั้ ที่ 3 ข้ันสรุป
นักเรียนร่วมกนั อภิปรายสรุปเร่อื ง การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง โดยครคู อยให้ความรเู้ สรมิ ในสว่ น
ทน่ี ักเรยี นไม่เขา้ ใจหรือสรุปไม่ตรงกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ขั้นท่ี 4 ฝกึ ฝนนักเรียน
1. ใหน้ กั เรยี นปฏิบัติ กิจกรรม ส่อื อารมณ์ดว้ ยจังหวะเพลงและกจิ กรรม ส่ืออารมณ์ด้วยความดงั –เบา
ของบทเพลง และช่วยกนั เฉลย
2. ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ กิจกรรม ความแตกต่างของอารมณ์เพลง แล้วให้แต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอผลงาน
หน้าชั้นเรยี น

39

ขั้นที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรยี นสามารถนำความรูเ้ รื่อง การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง ไปใช้ในการเลือกฟงั เพลงทมี่ ีการใช้
องค์ประกอบดนตรีที่สามารถสือ่ อารมณ์ออกมาไดต้ รงกับอารมณข์ องตนเองในขณะท่ตี ้องการฟังเพลงได้อยา่ ง
เหมาะสมและไดร้ ับประโยชน์อย่างแทจ้ รงิ เชน่ วันทน่ี ักเรยี นรู้สึกอารมณ์ดีกต็ ้องเลือกฟงั เพลงท่ีมจี ังหวะคึกคกั และ
มีเสียงดงั พอสมควร เพื่อใหเ้ ข้ากับบรรยากาศในขณะนั้น เป็นต้น
กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ
ใชจ้ งั หวะและระดับเสียงดงั –เบาของเพลงท่ีตนเองชืน่ ชอบส่ืออารมณข์ องตนเองใหเ้ พ่ือน ๆ ทาย โดย
อาจสรา้ งสรรค์จังหวะและระดบั ความดงั –เบาของเสยี งขึ้นเองตามอารมณ์ทต่ี นเองต้องการถา่ ยทอดใหเ้ พื่อน ๆ
ทายก็ได้
2. กิจกรรมสำหรบั ฝึกทักษะเพ่มิ เตมิ
นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่วมกนั ศึกษาลกั ษณะการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงที่สนใจ
หลาย ๆ เพลง แล้วเปรยี บเทยี บอารมณ์และความรสู้ ึกของบทเพลงแต่ละบทเพลงวา่ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร แลว้
นำมาอภปิ รายหนา้ ชั้นเรยี น

10. การวดั และประเมินผล ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
ดา้ นความรู้ (K) และคา่ นิยม (A)
1. สังเกตจากพฤติกรรมขณะ
1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจ ปฏิบตั กิ ิจกรรมรายบคุ คล
แสดงความคดิ เหน็ และความกระตือรือรน้ ใน และปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลมุ่
การปฏิบัตกิ จิ กรรม
2. จากการตรวจแบบทดสอบ 2. สังเกตจากการปฏิบตั ิ
กอ่ นเรยี น 2. สงั เกตจากความรับผดิ ชอบ กจิ กรรมได้อย่างคลอ่ งแคล่ว
และความมรี ะเบียบขณะ
3. จากการตรวจการวัดและ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 3. สงั เกตจากความต้ังใจและ
ประ ปฏบิ ตั ิตามขั้นตอน
3. สังเกตจากการยอมรับความ
เมินผลการเรียนร้ปู ระจำ คดิ เหน็ ของผู้อน่ื ขณะปฏิบัติ
หน่วย กิจกรรม

11. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้
1. ห้องสมดุ
2. ห้องดนตรี
3. รายการประกวดขับร้องเพลงหรอื ดนตรที างสถานโี ทรทัศน์
4. บทเพลงประเภทต่าง ๆ
5. ใบกิจกรรม

40

6. หนังสอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ช้นั ม. 1 บริษัท สำนกั พิมพ์วฒั นาพานิช จำกัด
7. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ช้ัน ม. 1 บรษิ ทั สำนักพมิ พ์วฒั นาพานิช จำกัด

41

แผนการจดั การเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรื่อง วิเคราะห์องคป์ ระกอบดนตรี เวลา 4 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 7
รหัสวิชา ศ21102 เรอ่ื ง การนำเสนอบทเพลงที่ตนเองสนใจ เวลา 2 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจนั คำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ภาคเรยี นท่ี 1/2565

สอนวันท.่ี ....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณคา่

ดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ ตอ่ ดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั

2. ตวั ชี้วดั
นำเสนอตัวอยา่ งเพลงท่ีตนเองชนื่ ชอบและอภปิ รายลักษณะเด่นที่ทำให้งานน้ันน่าช่ืนชม

(ศ 2.1 ม.1/7)

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อภิปรายลกั ษณะเด่นของบทเพลงท่นี ำเสนอได้ (K)
2. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดนตรดี ้วยความสนกุ สนานและมั่นใจ (A)
3. รอ้ งเพลงหรือเล่นดนตรีประกอบการร้องเพลงได้ (P)

4. สาระการเรยี นรู้
• การนำเสนอบทเพลงทตี่ นเองสนใจ

5. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
ในการนำเสนอบทเพลงทต่ี นเองสนใจสามารถทำได้หลายวธิ ี เช่น การร้องเพลง การบรรเลงเคร่อื ง

ดนตรี การนำเพลงมาอภิปราย และวธิ กี ารอ่นื ๆ ซึง่ จำเป็นจะต้องมีความเขา้ ใจในลักษณะเด่นของบทเพลงท่ี
ตนเองสนใจด้วย

6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

42

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สจุ ริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อย่อู ย่างพอเพียง
6. มุง่ มัน่ ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

8. จดุ เน้นสูก่ ารพัฒนาผเู้ รียนความสามารถและทกั ษะของผู้เรียนศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขียนได)้

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มีทักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์และคิดเชงิ นวัตกรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเข้าใจความแตกต่างทางวฒั นธรรม
กระบวนการคิดข้ามวฒั นธรรม)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงาน
เปน็ ทมี และภาวะผู้นำ)

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสารและ
รเู้ ท่าทนั ส่อื )

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์และรู้เท่าทันเทคโนโลย)ี
 C7 - Career and Learning skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้)
 C8 – Compassion (มีคุณธรรม มคี วามเมตตากรุณา และมรี ะเบียบวินยั )

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 1 ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรียน
ครขู อตวั แทนนักเรียนออกมาร้องเพลงหน้าชน้ั เรยี น 1 เพลง แลว้ สมั ภาษณ์นักเรยี นวา่ เพลงที่รอ้ งชอ่ื

เพลงอะไร มีลักษณะเดน่ ทใี่ ด และทำไมจงึ เลือกร้องเพลงนี้

43

ขนั้ ที่ 2 ขัน้ สอน
1. ครนู ำเสนอเนือ้ หาเร่ือง การนำเสนอบทเพลงทต่ี นเองสนใจ เกี่ยวกับลักษณะเดน่ ของเพลงท่ีเรา
ต้องการนำเสนอในดา้ นของเนื้อหา ดา้ นแนวเพลง และดา้ นองค์ประกอบดนตรีใหน้ ักเรียนฟงั วา่ มลี กั ษณะ
อย่างไร
2. ครยู กตวั อย่างเพลง 1 เพลงทม่ี ีลกั ษณะเดน่ ของเพลงตามลักษณะเดน่ ด้านเนือ้ หา ด้านแนวเพลง
และดา้ นองคป์ ระกอบดนตรี และอธิบายใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ พร้อมทั้งเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซกั ถามในส่งิ ทสี่ งสยั
3. แบ่งกลมุ่ นกั เรียน กลุ่มละ 4–5 คน ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ร่วมกนั เลือกเพลงที่กลุ่มสนใจ 1 เพลง แล้วช่วยกัน
บอกลักษณะเด่นของเพลง โดยเขียนลงในกระดาษตามหวั ข้อดงั น้ี

 ชื่อเพลง
 ลักษณะเด่นด้านเน้ือหา
 ลักษณะเด่นดา้ นแนวเพลง
 ลกั ษณะเดน่ ดา้ นองคป์ ระกอบดนตรี
4. ใหแ้ ต่ละกลุม่ ออกมานำเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน และใหต้ วั แทนหรือกลมุ่ ร้องเพลงใหเ้ พ่อื น ๆ ฟงั
ขัน้ ท่ี 3 ขนั้ สรุป
ใหน้ ักเรยี นร่วมกันสรปุ เรื่อง การนำเสนอบทเพลงท่ีตนเองสนใจ โดยครูคอยให้ความร้เู สริมในส่วนท่ี
นักเรยี นไม่เข้าใจหรือสรุปไม่ตรงกบั จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ขั้นท่ี 4 ฝึกฝนผเู้ รียน
ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ัติ กิจกรรม นำเสนอบทเพลงทตี่ นเองสนใจ แล้วนำเสนอผลงานหน้าชนั้ เรียนทีละคน
ขน้ั ท่ี 5 การนำไปใช้
นักเรียนสามารถนำความรู้เร่อื ง การนำเสนอบทเพลงที่ตนเองสนใจ ไปใชใ้ นเลือกเพลงท่ีมีลกั ษณะเดน่
ตรงตามลักษณะเดน่ ดา้ นเน้ือหา ดา้ นแนวเพลง และด้านองค์ประกอบดนตรี เพ่ือนำมาขับรอ้ งหรือบรรเลงให้
ผอู้ ่นื ฟงั ได้อย่างไพเราะและมีความหมาย

กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพิเศษ
จดั ประกวดร้องเพลงเพื่อสร้างความกล้าแสดงออก และสร้างความมัน่ ใจใหต้ นเอง
2. กิจกรรมสำหรับฝึกทักษะเพ่ิมเตมิ
ฟังเพลงหลาย ๆ เพลง และหลาย ๆ แนว แลว้ สรุปลักษณะเดน่ ของแตล่ ะเพลง และนำมาเล่า

แลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั เพือ่ น ๆ หรือผู้ที่สนใจ

10. การวดั และประเมนิ ผล ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)
ด้านความรู้ (K) และคา่ นิยม (A) 1. สังเกตจากพฤติกรรมขณะ

1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ

44

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
และค่านยิ ม (A)
แสดงความคดิ เห็น ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมรายบุคคล
2. จากการตรวจการวดั และ ความกระตือรือร้นในการ และปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุ่ม
ปฏิบตั กิ จิ กรรม 2. สังเกตจากการปฏบิ ัติ
ประเมนิ ผลการเรยี นรปู้ ระจำ 2. สงั เกตจากความรบั ผิดชอบ กิจกรรมได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว
หนว่ ย และความมรี ะเบียบขณะ 3. สงั เกตจากความต้ังใจและ
3. จากการตรวจใบกจิ กรรม ปฏบิ ัติกจิ กรรม ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอน
3. สังเกตจากการยอมรับความ
คิดเหน็ ของผู้อ่นื ขณะปฏิบัติ
กิจกรรม

11. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
1. หอ้ งสมดุ
2. ห้องดนตรี
3. รายการประกวดขบั รอ้ งเพลงหรือดนตรที างสถานีโทรทัศน์
4. บทเพลงประเภทต่าง ๆ
5. ใบกิจกรรม
6. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ช้ัน ม. 1 บรษิ ทั สำนักพิมพว์ ัฒนาพานิช จำกัด
7. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ช้นั ม. 1 บริษทั สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด

45

แผนการจดั การเรียนรู้

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง วิเคราะห์องคป์ ระกอบดนตรี เวลา 4 ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8
รหสั วชิ า ศ21102 เร่อื ง การประเมินคณุ ภาพของบทเพลง เวลา 1 ช่ัวโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ

ภาคเรยี นที่ 1/2565

สอนวนั ท่ี.....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณคา่

ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดต่อดนตรอี ย่างอสิ ระ ชืน่ ชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั

2. ตวั ชี้วัด
ใช้เกณฑส์ ำหรบั ประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงทฟ่ี ัง (ศ 2.1 ม.1/8)

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. ประเมินคณุ ภาพของบทเพลงด้านเนอ้ื หา ดา้ นเสียง และด้านองค์ประกอบดนตรีได้ (K)
2. ปฏิบตั ิกิจกรรมดนตรีด้วยความสนกุ สนานและม่นั ใจ (A)
3. ใช้เกณฑ์สำหรับประเมนิ คุณภาพงานดนตรหี รือเพลงที่ฟังได้อย่างเหมาะสม (P)

4. สาระการเรียนรู้
• การประเมินคณุ ภาพของบทเพลง
– คุณภาพด้านเน้ือหา
– คณุ ภาพด้านเสียง
– คุณภาพดา้ นองคป์ ระกอบดนตรี

5. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
บทเพลงแตล่ ะเพลงมีความไพเราะที่แตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะของการสร้างสรรค์และจนิ ตนาการของ

ผปู้ ระพนั ธ์ แต่ก็มเี กณฑ์ในการประเมินคุณภาพของบทเพลงหรอื ดนตรที ี่ฟงั เช่นกัน คือ เกณฑ์ในการประเมิน
คณุ ภาพด้านของเนือ้ หา คุณภาพด้านเสยี ง และคุณภาพด้านองคป์ ระกอบดนตรี

6. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ

46

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซ่อื สัตยส์ ุจริต
3. มวี ินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
6. มุ่งม่ันในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ

8. จดุ เน้นสู่การพัฒนาผเู้ รียนความสามารถและทักษะของผ้เู รียนศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขยี นได)้

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ อยา่ งมี
วิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์และคดิ เชิงนวัตกรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเขา้ ใจความแตกต่างทางวฒั นธรรม
กระบวนการคดิ ขา้ มวัฒนธรรม)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงาน
เป็นทีม และภาวะผนู้ ำ)

 C5 – Communication, Information and Media literacy (ทกั ษะดา้ นการสื่อสารและ
รเู้ ท่าทันสื่อ)

 C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และรเู้ ท่าทนั เทคโนโลยี)

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 C8 – Compassion (มีคุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมรี ะเบียบวนิ ัย)

9. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั ท่ี 1 ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน


Click to View FlipBook Version