The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wattana2002, 2022-08-08 08:32:31

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1

97

จัดการแสดง 3) ฝ่ายธุรการ

5. การดำเนินงานในการจดั การแสดง จะเร่มิ จาก 1)

การแต่งต้งั เจ้าหนา้ ที่ปฏบิ ัตงิ านในฝา่ ยตา่ ง ๆ 2)

การคัดเลือกนักแสดง 3) ผู้กำกับการแสดงเรยี ก

ประชมุ 4) จัดประชุมเพือ่ ติดตามการทำงานขอ

ทุก 5) ฝกึ ซอ้ มการแสดง 6) การจัดการแสดง

จริง 7) สรปุ และประเมินผลการจัดการแสดง

ความรขู้ องนักเรียนทน่ี ำไปสู่ความเขา้ ใจทค่ี งทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรยี นท่ีนำไปสู่ความ

นักเรียนจะรูว้ า่ ... เข้าใจทีค่ งทน

1. คำสำคญั ที่ควรรู้ ไดแ้ ก่ การวิจารณ์ ธรุ การ นกั เรยี นจะสามารถ...

เหรัญญกิ และซ้อมใหญ่ 1. ศกึ ษาและอธิบายความหมาย การปฏบิ ตั ิตนของ

2. นักแสดง คือ ผู้ท่สี วมบทบาทเปน็ ตัวละคร เพอื่ นักแสดงและผู้ชม

ถา่ ยทอดเรื่องราวและความคิดในบทละครให้ผูช้ ม 2. ศกึ ษาประวัติ ผลงานการแสดง และฝมี อื การ

ได้รับรู้ ซงึ่ การปฏบิ ัติตนเป็นนักแสดงทีด่ ีนัน้ แสดงของนักแสดงท่ีนักเรียนชน่ื ชอบ

จะตอ้ งตระหนกั ถึงหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบต่อ 3. ศึกษาอธบิ ายอิทธพิ ลของนักแสดงท่ีมีผลตอ่

อาชพี ของตนและผู้ชม รวมถงึ ผูร้ ว่ มงานทุกฝ่าย พฤติกรรมของผูช้ ม

เพราะถา้ ไม่ต้งั ใจแสดงให้ดีกเ็ ท่ากับเปน็ การ 4. ศึกษาและอธบิ ายหลกั การวิจารณ์การแสดงของ

ทำลายผลงานของผู้สร้างสรรค์ที่รว่ มทำงานกบั ผแู้ สดง

เราให้เสยี หาย รวมทัง้ เปน็ การทำลายความ 5. วจิ ารณ์การแสดงของนกั แสดงละครโทรทัศน์

ศรัทธาของผู้ชม และต้องรู้จักแสวงหาความรเู้ พื่อ 6. ศึกษาและอธบิ ายบทบาทหนา้ ท่ีของแตล่ ะฝา่ ยใน

พฒั นารปู แบบการแสดง เพือ่ ทีจ่ ะได้เป็นนกั แสดง การจัดการแสดงและขัน้ ตอนการดำเนินงานของ

ทมี่ คี ุณภาพ การจัดการแสดง

3. นักแสดงทเี่ ราเหน็ ในปจั จุบันตามละครโทรทศั น์ 7. จดั กิจกรรมการแสดงเพ่ือเผยศิลปะการแสดง

น้นั ถือเปน็ บคุ คลทม่ี ีอทิ ธพิ ลต่อการโน้มนา้ ว ของไทย

อารมณ์และความคิดผชู้ มเปน็ อย่างมาก เหน็ ได้

จากวัยรุน่ สมยั น้ีจะมพี ฤติกรรมและคา่ นยิ มตา่ ง ๆ

เลียนแบบนกั แสดงทีต่ นเองชนื่ ชอบ ดงั น้นั

นกั แสดงจะต้องประพฤติและปฏิบัติตนเป็น

แบบอย่างที่ดีต่อผชู้ ม เช่น มีความรับผดิ ชอบต่อ

หนา้ ท่ขี องตน รูจ้ กั นอบน้อมผใู้ หญ่ ไม่ทำให้

ตนเองและผ้อู ื่นเดอื ดร้อน เปน็ ตน้

4. ผูช้ ม คือ องค์ประกอบทีส่ ำคญั ทส่ี ุดของการ

จดั การแสดงต่าง ๆ เพราะถ้าขาดผ้ชู ม การแสดง

98

ต่าง ๆ ที่จดั ขน้ึ ก็จะไม่มีความหมาย เพราะผชู้ ม
จะบอกใหผ้ สู้ ร้างสรรค์และนักแสดงรวู้ า่ การแสดง
ท่ีจดั ข้นึ นัน้ ดีหรอื ไม่ อยา่ งไร และสง่ิ ที่ผชู้ มควร
ปฏิบตั ิคอื มมี ารยาทท่ดี ใี นการชมการแสดง เช่น
การชมการแสดงดว้ ยความตง้ั ใจ ไม่พดู คยุ หรสื ่ง
เสยี งดงั ขณะชมการแสดง ไมส่ ่งเสียงโห่รอ้ งเมื่อ
ไมช่ อบใจการแสดงทีน่ ักแสดงกำลงั แสดง และ
ควรให้เกียรติผแู้ สดงโดยการปรบมือใหน้ ักแสดง
เร่มิ และเม่ือจบการแสดง เป็นตน้
5. การวิจารณ์การแสดงของนักแสดงน้ัน ผูว้ จิ ารณ์
จะตอ้ งมีความเทยี่ งตรง ไม่มอี คติกบั นักแสดง
และมีเหตุผลในการรองรบั ขอ้ ตทิ ี่ตนเองกลา่ วดว้ ย
6. การวิจารณ์จะพิจารณาถึงคุณคา่ การแสดงของ
นกั แสดง คือ บทบาทการแสดงท่ีสมจริงและเป็น
ธรรมชาติ ไหวพริบปฏิภาณที่ดเี วลาแสดงหรอื ไม่
และมจี ังหวะการพดู การเคล่ือนไหวร่างกายทดี่ ี
หรือไม่ มีการเปล่งวาจาดว้ ยคำพูดท่ชี ดั เจน
ถูกตอ้ ง และใช้น้ำเสยี งได้สมั พนั ธก์ ับอารมณ์
ความรู้สึกท่แี สดงออก และเหมาะสมกบั วยั ของ
ตัวละคร มคี วามคนุ้ เคยกับฉาก อปุ กรณ์
ประกอบการแสดงและเครื่องแตง่ กาย ให้เกยี รติ
นักแสดงด้วยกัน และความร่วมมอื ความสนใจที่
จะทำให้ละครที่ตนแสดงออกมาอยา่ งความ
สมบรู ณ์
7. การจัดการแสดงไมว่ า่ จะเป็นการแสดงระบำ รำ
ฟ้อน ละคร โขน ในสถาบันการศึกษาจะมีการ
จัดแบง่ หนา้ ที่ หรอื ผูร้ บั ผิดชอบออกเป็น 3 ฝา่ ย
คือ 1) ฝ่ายอำนวยการแสดง ได้แก่ ผู้อำนวยการ
แสดง ผู้กำกบั การแสดง ผกู้ ำกบั เวที คือ ผู้ชว่ ยผู้
กำกบั เวที 2) ฝา่ ยจัดการแสดง ไดแ้ ก่
คณะกรรมการพจิ ารณาการแสดง ผู้ดแู ลดา้ น
เทคนคิ ผดู้ แู ลเครื่องแต่งกาย ผูด้ ูแลบทเพลงและ
ดนตรี 3) ฝา่ ยธรุ การ ได้แก่ เจา้ หนา้ ที่

99

ประสานงาน เจา้ หน้าที่ประชาสัมพนั ธ์ เหรญั ญิก

เจ้าหน้าทส่ี วสั ดิการ ผรู้ ับผดิ ชอบสถานท่ี

8. การดำเนนิ งานในการจดั การแสดงประเภทต่าง ๆ

มีดงั นี้ 1) แต่งตงั้ เจา้ หน้าท่ีปฏิบัติงานในฝา่ ยตา่ ง

ๆ 2) ผู้กำกบั การแสดงเรยี กประชมุ 3) จัด

ประชุมเพ่อื ติดตามการทำงานของทุกฝ่าย

4) ฝกึ ซอ้ มการแสดง 5) การจดั การแสดงจริง

6) สรปุ และประเมินผลการจัดการแสดง

ขนั้ ที่ 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ซงึ่ เป็นหลักฐานทแ่ี สดงว่านกั เรียนมีผลการเรยี นรตู้ ามท่ี

กำหนด

ไว้อยา่ งแท้จริง

1. ภาระงานท่นี กั เรียนตอ้ งปฏบิ ัติ

– ศกึ ษาความหมายอธิบายความหมาย การปฏบิ ัติตนของนักแสดงและผ้ชู ม

– ศึกษาและบอกเล่าประวัติ ผลงานการแสดง และฝีมือการแสดงของนกั แสดงที่นกั เรยี นชนื่ ชอบ

– อธิบายอทิ ธิพลของนักแสดงที่มีผลตอ่ พฤติกรรมของผชู้ ม

– วจิ ารณก์ ารแสดงของนักแสดงละครโทรทัศน์

– ศึกษาบทบาทหนา้ ทีอ่ ธบิ ายบทบาทหน้าท่ีและอธบิ ายขั้นตอนการดำเนนิ งานของการจัดการแสดง

– จดั กจิ กรรมการแสดงเพื่อเผยศลิ ปะการแสดงของไทย

2. วิธกี ารและเครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้

วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เครื่องมือประเมินผลการเรยี นรู้

– การทดสอบ – แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น

– การสนทนาซกั ถามโดยครู – แบบบันทึกข้อมูลการแสดงความคดิ เห็นและการ

– การแสดงความคิดเห็นและการอภปิ ราย อภิปราย

– การฝกึ ปฏิบัติระหวา่ งเรยี น – ใบกิจกรรม

– การประเมนิ ตนเองของนกั เรียน – แบบบนั ทึกผลการปฏบิ ัติงาน

– การประเมินผลด้านความรู้ – แบบประเมินผลดา้ นความรู้

– การประเมนิ ผลด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ – แบบประเมินผลดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

คา่ นิยม และค่านิยม

– การประเมนิ ผลด้านทักษะ/กระบวนการ – แบบประเมินผลด้านทักษะ/กระบวนการ

3. สงิ่ ที่มุ่งประเมนิ

– อธบิ ายความหมาย การปฏิบัติตนของนกั แสดงและผ้ชู ม

– ศึกษาและบอกเลา่ ประวตั ิ ผลงานการแสดง และฝีมือการแสดงของนักแสดงที่นกั เรยี นชน่ื ชอบ

– อธิบายอทิ ธิพลของนักแสดงทมี่ ีผลตอ่ พฤติกรรมของผ้ชู ม

100

– วิจารณ์การแสดงของนักแสดงละครโทรทัศน์

– ศึกษาบทบาทหนา้ ท่ีอธบิ ายบทบาทหนา้ ที่และอธบิ ายขั้นตอนการดำเนินงานของการจัดการแสดง

– จดั กิจกรรมการแสดงเพอ่ื เผยศิลปะการแสดงของไทย

ขน้ั ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 17 การเป็นนกั แสดงและผู้ชม 1 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 18 การวิจารณ์การแสดงของนักแสดง 2 ชั่วโมง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 19 การจัดการแสดง 2 ช่วั โมง

101

แผนการจดั การเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 6 เรือ่ ง การจดั การแสดงและการวจิ ารณ์การแสดง เวลา 3 ชวั่ โมง
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 17
รหัสวชิ า ศ21102 เร่ือง การเปน็ นกั แสดงและผูช้ ม เวลา 1 ช่ัวโมง
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจนั คำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ

ภาคเรยี นท่ี 1/2565

สอนวันที.่ ....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์

คณุ คา่ นาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ กึ ความคิดอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน

2. ตัวช้ีวัด
อธิบายอิทธิพลของนกั แสดงช่อื ดังที่มีผลตอ่ การโนม้ น้าวอารมณ์หรือความคิดเห็นของผูช้ ม

(ศ 3.1 ม.1/1)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายและการปฏิบัติตนของนักแสดงและผู้ชมได้ (K)
2. เขยี นเลา่ ประวตั ินกั แสดงที่ชืน่ ชอบได้ (K)
3. อธิบายอิทธิพลของนักแสดงทีม่ ผี ลต่อพฤติกรรมของผู้ชม (K)
4. ปฏิบัตกิ ิจกรรมดว้ ยความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ (A)
5. วิเคราะห์และสรุปความหมายการปฏบิ ตั ติ นของนักแสดงและผชู้ มได้ (P)
6. พูดถงึ ผลงานการแสดงและการพัฒนารูปแบบของการแสดงของนกั แสดงท่ีชื่นชอบได้ (P)
7. วเิ คราะห์และสรุปอทิ ธิพลของนักแสดงที่มีผลต่อพฤติกรรมของผชู้ มได้ (P)

4. สาระการเรียนรู้
• การปฏบิ ัติตนของผูแ้ สดงและผู้ชม
• ประวัตนิ ักแสดงที่ช่ืนชอบ
• การพัฒนารูปแบบของการแสดง
• อิทธิพลของนักแสดงท่ีมผี ลตอ่ พฤติกรรมของผู้ชม

5. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

102

นกั แสดง คือ ผู้ท่ีสวมบทบาทเป็นตัวละคร เพื่อ ถา่ ยทอดเรื่องราวและความคิดในบทละครใหผ้ ชู้ มได้รบั
รู้ ซงึ่ การปฏิบตั ติ นเปน็ นกั แสดงท่ดี นี ั้นจะต้องตระหนกั ถงึ หน้าที่และความรบั ผิดชอบต่อ อาชพี ของตนและผู้ชม
และปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดีตอ่ ผู้ชมเพราะนักแสดงถอื เป็นผทู้ ่ีมอี ทิ ธิพลตอ่ พฤติกรรมของผูช้ ม สว่ นผ้ชู มก็คือ
ผู้ท่ีชมการแสดงแลว้ บอกให้ผู้สร้างสรรคแ์ ละนกั แสดงรวู้ า่ การแสดงที่จดั ข้นึ นั้นดหี รือไม่ อย่างไร บทบาทของ
นักแสดงน้นั เป็นอย่างไร และสิ่งทผ่ี ชู้ มควรปฏบิ ัติคอื มีมารยาทท่ดี ีในการชมการแสดง

6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซือ่ สตั ย์สุจริต
3. มีวนิ ยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อย่อู ยา่ งพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

8. จุดเน้นสู่การพฒั นาผู้เรียนความสามารถและทักษะของผ้เู รยี นศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขียนได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มีทักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ การคิดอยา่ งมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะการคดิ สร้างสรรคแ์ ละคดิ เชงิ นวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
กระบวนการคิดขา้ มวฒั นธรรม)

⬜ C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงาน
เป็นทีม และภาวะผู้นำ)

103

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทักษะดา้ นการส่ือสารและ
รู้เทา่ ทนั สอื่ )

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์และรเู้ ท่าทนั เทคโนโลยี)

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรยี นร้)ู
 C8 – Compassion (มีคุณธรรม มคี วามเมตตากรุณา และมีระเบยี บวนิ ัย)

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น
1. นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเพือ่ ประเมินความรู้
2. ครใู หน้ ักเรยี นผูช้ มมากมายกำลังชมการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย แลว้ ซกั ถามนักเรยี นว่า ผู้คนทอ่ี ยใู่ นภาพ

กำลงั ทำอะไรกนั อยู่ โดยใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เห็นและอภิปรายตามความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์
ตนเอง

3. ครูเชอื่ มโยงส่งิ ท่ีนักเรยี นตอบกบั เร่ือง การเป็นผแู้ สดงและผชู้ ม
ขน้ั ที่ 2 ข้นั สอน
1. ครูนำเสนอเนอื้ หาเร่ือง การเป็นผูแ้ สดงและผู้ชม เก่ยี วกับวา่ ความหมาย และการปฏิบัตติ นของ
นกั แสดงและผชู้ ม โดยการบรรยายและยกตัวอยา่ งประกอบ
2. ครใู ห้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4 คน รว่ มกันพิจารณาว่าผชู้ มควรปฏบิ ตั ติ นอย่างไรบ้างเวลาเขา้ ชม
การแสดง และให้แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาแสดงความคิดเห็นหน้าช้ันเรียน
ขั้นท่ี 3 ขัน้ สรุป
นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ และอภิปรายสรุปเรื่อง การเปน็ ผแู้ สดงและผชู้ ม เปน็ ความคิดของช้นั
เรยี น โดยครคู อยให้ความรเู้ สริมในส่วนท่ีนกั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจหรอื สรุปไม่ตรงกบั จุดประสงค์การเรียนรู้
ข้นั ท่ี 4 ฝกึ ฝนผู้เรียน
1. นักเรียนปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม การเปน็ นกั แสดงและผูช้ ม โดยใหน้ กั เรียนอธิบายความหมายและการ
ปฏบิ ตั ิตนของนักแสดงและผชู้ มว่ามลี กั ษณะอยา่ งไรบา้ ง
2. นกั เรียนปฏบิ ัติ กิจกรรม นักแสดงทีช่ ื่นชอบ โดยนกั เรยี นเขยี นประวัติ ผลงานการแสดง และการ
พัฒนาฝมี อื การแสดงของนักแสดงชายและนกั แสดงหญงิ ทีน่ ักเรียนชนื่ ชอบมา 2 คน พร้อมกบั ตดิ ภาพนักแสดง
ในกรอบ
3. นักเรยี นปฏบิ ัติ กจิ กรรม อิทธพิ ลของนกั แสดงทมี่ ีผลต่อพฤติกรรมของผู้ชม โดยให้นักเรียนคดิ วา่
ปจั จุบันนี้อทิ ธพิ ลของนักแสดงมผี ลต่อพฤติกรรมของผู้ชมอยา่ งไรบ้าง (กิจกรรมทีใ่ ห้นกั เรยี นปฏิบตั ิในขั้นฝกึ ฝน
ผเู้ รยี นครจู ะให้นักเรียนทำเป็นการบ้านแลว้ มานำมาส่งในคาบเรียนตอ่ ไป)
ขัน้ ที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรยี นสามารถนำความรู้เร่ือง การเป็นผู้แสดงและผ้ชู ม ไปประยุกตใ์ นการเรยี นนาฏศลิ ป์ในระดบั สงู
ตอ่ ไป

104

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพิเศษ
นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ร่วมกนั จัดทำป้ายนเิ ทศเผยแพร่ความรู้เก่ียวกบั ปฏิบตั ติ นเปน็ ผ้ชู มท่ีดี

ในการชมการแสดงในโรงละคร
2. กจิ กรรมสำหรับฝึกทักษะเพิ่มเตมิ
นกั เรียนทกุ คนเขา้ ชมการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย ณ โรงละคร

10. การวดั และประเมินผล

ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

คา่ นิยม (A)

1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความซื่อสัตยใ์ น 1. สังเกตจากวเิ คราะห์และ

แสดงความคดิ เหน็ การปฏบิ ัติกิจกรรม สรปุ ความหมาย การ

2. สงั เกตจากการอธบิ ายถึง 2. สงั เกตจากความมนี ้ำใจและ ปฏบิ ัติตนของนักแสดง

ความหมายและการปฏบิ ัตติ น ความเสียสละในการปฏบิ ตั ิ และผชู้ ม

ของนักแสดงและผู้ชม กิจกรรมรว่ มกับผูอ้ ่ืน 2. สงั เกตจากการวเิ คราะห์

3. สงั เกตจากการอธิบายถึง 3. สงั เกตจากการปฏิบตั ิ และสรปุ อิทธพิ ลของ

อทิ ธิพลถึงของนักแสดงท่ีมีผล กจิ กรรมด้วยความ นักแสดงที่มผี ลตอ่

ต่อพฤตกิ รรมของผ้ชู ม สนกุ สนานและเพลดิ เพลิน พฤติกรรมของผชู้ ม

4. สงั เกตจากการอธบิ ายถึง 3. สงั เกตจากการปฏิบัติ

ผลงานการแสดงและการพฒั นา กิจกรรมกลุ่มรว่ มกบั ผอู้ นื่

รปู แบบของการแสดงของ ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่

นกั แสดงท่ชี ืน่ ชอบ

5. จากการตรวจการวดั และ

ประเมนิ ผลการเรยี นรูป้ ระจำ

หนว่ ย

6. จากการตรวจแบบทดสอบ

กอ่ นเรียน

7. จากการตรวจใบกิจกรรมและ

ใบงาน

11. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้
1. ภาพผู้ชมกำลงั ชมการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย
2. ใบกจิ กรรม
3. สถานทตี่ ่าง ๆ เช่น โรงเรียน โรงละคร เปน็ ต้น

105

4. อินเทอรเ์ นต็
5. หนังสือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชั้น ม. 1 บริษทั สำนักพิมพว์ ฒั นาพานิช จำกัด
6. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชัน้ ม. 1 บริษทั สำนักพมิ พ์วัฒนาพานชิ จำกดั

106

แผนการจัดการเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรื่อง การจัดการแสดงและการวิจารณก์ ารแสดง เวลา 3 ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 18
รหสั วชิ า ศ21102 เร่ือง การวิจารณ์การแสดงของนกั แสดง เวลา 1 ช่ัวโมง
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ

ภาคเรยี นท่ี 1/2565

สอนวนั ท่ี.....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์

คุณคา่ นาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

2. ตัวชี้วัด
ใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ท่ีกำหนดให้ในการพจิ ารณาคุณภาพการแสดงที่ชมโดยเน้นการใช้เสยี ง การแสดงทา่

และการเคล่อื นไหว (ศ 3.1 ม.1/5)

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายหลักการวจิ ารณ์การแสดงของผ้แู สดงได้ (K)
2. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดว้ ยความสนกุ สนานเพลิดเพลิน (A)
3. สามารถวจิ ารณ์การแสดงของนกั แสดงได้ (P)

4. สาระการเรยี นรู้
• หลกั ในการชมการแสดง

5. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
การวิจารณก์ ารแสดงของนักแสดงนน้ั ผวู้ จิ ารณจ์ ะตอ้ งมคี วามเทีย่ งตรง ไมม่ ีอคติกับนกั แสดง

และมีเหตุผลในการรองรบั ข้อตทิ ่ีตนเองกล่าวด้วย ส่วนการวิจารณ์จะพิจารณาถงึ คณุ ค่าการแสดงของนักแสดง
คอื พิจารณาวา่ นกั แสดงมศี ักยภาพดา้ นทักษะการแสดงไม่ว่าจะเปน็ การพูด การแสดงสหี น้าทา่ ทาง
การเคลื่อนไหวรา่ งกายทสี่ มบทบาทหรือไม่ และถูกตอ้ งสวยงามอย่างไรบา้ ง

6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

107

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซือ่ สตั ย์สุจริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพียง
6. มุ่งม่นั ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. จุดเน้นสูก่ ารพฒั นาผูเ้ รยี นความสามารถและทกั ษะของผูเ้ รยี นศตวรรษที่ 21 (3R 8C)
⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)
⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขียนได)้
⬜ R3 – (A)Rithmetic (มีทักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะการคิดวิเคราะห์ การคดิ อย่างมี

วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์และคิดเชงิ นวตั กรรม)
⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเขา้ ใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม

กระบวนการคิดขา้ มวฒั นธรรม)
 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงาน

เป็นทีม และภาวะผนู้ ำ)
⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทักษะด้านการสื่อสารและ

รเู้ ทา่ ทนั ส่ือ)
⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใช้คอมพวิ เตอร์และรเู้ ท่าทันเทคโนโลย)ี
⬜ C7 - Career and Learning skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู)้
 C8 – Compassion (มีคุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมีระเบยี บวนิ ยั )

9. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ที่ 1 ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรียน

108

ครูตรวจกิจกรรมท่ีให้นักเรยี นทำเปน็ การบา้ น โดยคดั เลอื กนกั เรียนออกมา 3 คน และให้นกั เรียนทีถ่ ูก
คัดเลือกคนที่ 1 พูดถงึ กจิ กรรม การเป็นนกั แสดงและผ้ชู ม คนท่ี 2 พูดถึงกิจกรรม นักแสดงท่ีช่ืนชอบ คนท่ี 3
พูดถงึ กิจกรรม อทิ ธิพลของนักแสดงที่มีผลต่อพฤติกรรมของผ้ชู ม จากนั้นครนู ำเสนอเนื้อเร่ืองทจี่ ะเรยี นกันใน
วันน้ี

ขนั้ ท่ี 2 ขน้ั สอน
1. ครูนำเสนอเน้ือหาเร่ือง การวิจารณก์ ารแสดงของผู้ชม เกยี่ วกบั ลักษณะของผูว้ จิ ารณ์ และหลกั เกณฑ์
ในการวิจารณก์ ารแสดงของนักแสดง โดยการบรรยายและยกตัวอยา่ งประกอบ
2. ครแู จกกระดาษ A4 ใหน้ ักเรยี นทกุ คน คนละ 1 แผน่
3. ครใู หน้ ักเรยี นทุกคนชมการแสดงละครเวทีจากสือ่ วีดทิ ัศน์ แลว้ พจิ ารณาทักษะการแสดงของ
นกั แสดงวา่ มีลักษณะอย่างไรบา้ ง และเขยี นบรรยายลงในกระดาษ A4 สง่ ครู
ขน้ั ท่ี 3 ขัน้ สรุป
นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นและอภิปรายสรปุ เรื่อง การวจิ ารณก์ ารแสดงของผชู้ ม
เป็นความคดิ ของชนั้ เรยี น โดยครคู อยใหค้ วามรู้เสรมิ ในสว่ นทน่ี กั เรยี นไม่เขา้ ใจหรอื สรุปไมต่ รงกับจดุ ประสงค์การ
เรียนรู้
ข้นั ท่ี 4 ฝกึ ฝนผูเ้ รียน
1. ปฏิบัติ กิจกรรม หลักเกณฑใ์ นการวจิ ารณ์การแสดงของนักแสดง โดยใหน้ ักเรยี นสรุปหลักเกณฑใ์ น
การวิจารณก์ ารแสดงของนกั แสดง
2. ปฏิบัติ กิจกรรม วจิ ารณ์บทบาทการแสดง โดยให้นกั เรียนนักเรยี นเลือกชมละครโทรทัศน์ 1 เร่ือง
แล้ววจิ ารณบ์ ทบาทการแสดงของนักแสดงทรี่ บั บทเป็นพระเอก นางเอก นางร้ายหรอื ผู้รา้ ย
ข้นั ที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรยี นสามารถนำความรู้เรื่อง การวิจารณก์ ารแสดงของผู้ชม ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรยี นนาฏศลิ ป์ใน
ระดับสงู ตอ่ ไป และสามารถหลักในการวิจารณ์การแสดงไปประยุกต์ใชเ้ ปน็ หลักในการวจิ ารณ์นกั ร้องหรือนัก
ดนตรี

กิจกรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 6 คน ร่วมกันสรา้ งหลักเกณฑ์ในการวิจารณ์การแสดงของผ้แู สดงมากลมุ่ ละ

5 ขอ้ แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรยี น
2. กิจกรรมสำหรับฝกึ ทักษะผู้เรียน
นกั เรยี นทุกคนชมการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยและพจิ ารณาว่านักแสดงรา่ ยรำและถ่ายทอดอารมณ์เปน็

อยา่ งไรบ้าง แลว้ เขยี นบรรยายลงในกระดาษ A4 ส่งครู

109

10. การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

ค่านยิ ม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ 1. สงั เกตจากวิจารณก์ ารแสดง

แสดงความคดิ เหน็ กิจกรรมด้วยความ ของนักแสดง

2. จากการตรวจการวัดและ สนุกสนานและเพลดิ เพลิน 2. สงั เกตจากการปฏิบตั ิ

ประเมนิ ผลการเรียนรปู้ ระจำ 2. สังเกตจากการยอมรบั กิจกรรมกลมุ่ รว่ มกบั ผู้อ่นื ได้

หนว่ ย ความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ ขณะ อย่างคลอ่ งแคล่ว

3. สังเกตจากการอธบิ าย ปฏบิ ัติกจิ กรรม

หลักการวิจารณ์การแสดง

ของนกั แสดง

4. จากการตรวจใบกิจกรรม

11. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้
1. ใบกิจกรรม
2. สถานที่ต่าง ๆ เชน่ โรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั ที่เปิดสอนดา้ นนาฏศลิ ป์และการละคร

โรงละคร เป็นตน้
3. อินเทอรเ์ นต็
4. หนงั สือเรียนรายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชัน้ ม. 1 บริษทั สำนักพมิ พ์วัฒนาพานิช จำกดั
5. แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชน้ั ม. 1 บรษิ ัท สำนกั พมิ พ์วฒั นาพานิช จำกดั

110

แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 เรอ่ื ง การจดั การแสดงและการวจิ ารณก์ ารแสดง เวลา 3 ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 19
รหัสวิชา ศ21102 เร่อื ง การจัดการแสดง เวลา 2 ชั่วโมง
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1
ผสู้ อน นายวัฒนา ราชจนั คำ รายวิชา ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ

ภาคเรยี นท่ี 1/2565

สอนวันท.่ี ....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์

คุณค่านาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

2. ตวั ช้ีวัด
ใชท้ ักษะการทำงานเป็นกล่มุ ในกระบวนการผลติ การแสดง (ศ 3.1 ม.1/4)

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายบทบาทหน้าทขี่ องแต่ละฝ่ายในการจัดการแสดงได้ (K)
2. ขนั้ ตอนการดำเนนิ งานของการจดั การแสดง (K)
3. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมดว้ ยความสนุกสนานเพลิดเพลิน (A)
4. จดั กิจกรรมการแสดงเพื่อเผยศลิ ปะการแสดงของไทย (P)

4. สาระการเรยี นรู้
• บทบาทและหนา้ ที่ของฝ่ายต่าง ๆ ในการจดั การแสดง
• การสร้างสรรคก์ จิ กรรมการแสดงที่สนใจโดยแบง่ ฝ่ายและหนา้ ทใ่ี ห้ชดั เจน

5. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
การจัดการแสดงน้นั ผู้ร่วมงานทกุ คนจะตอ้ งรจู้ กั บทบาทหนา้ ท่ีของฝา่ ยต่าง ๆ ได้แก่ 1) ฝ่ายอำนวยการ

แสดงประกอบดว้ ย ผอู้ ำนวยการแสดง ผูก้ ำกบั การแสดง ผู้ฝึกและควบคุมการแสดง ผ้กู ำกับเวที ผชู้ ่วยผกู้ ำกบั
เวที 2) ฝ่ายจัดการแสดง ประกอบดว้ ยคณะกรรมการพิจารณา ผดู้ ูแลดา้ นเทคนิค ผูด้ แู ลเครือ่ งแต่งกาย ผู้ดูแล
บทเพลงและดนตรี ฝ่ายธุรการแสดงประกอบดว้ ย เจา้ หน้าทป่ี ระสานงาน เจา้ หนา้ ทีป่ ระชาสมั พนั ธ์ เหรญั ญิก
เจา้ หนา้ ท่ีสวัสดกิ าร ผูร้ ับผดิ ชอบสถานท่ี และการดำเนินงานในการจดั การแสดงเปน็ งานท่ตี ้องอาศยั ความ
รว่ มมือจากทกุ ฝ่ายในการดำเนนิ งาน เพอ่ื ให้การแสดงนน้ั สำเร็จลุลว่ งไปด้วยดี ซงึ่ ขัน้ ตอนการดำเนินงานในการ
จดั การแสดงประเภทต่าง ๆ มีดงั น้ี 1) แต่งตง้ั เจ้าหนา้ ท่ี 2) การคดั เลือกนกั แสดง 3) ผูก้ ำกับการแสดงเรยี ก

111

ประชุม เพ่ือมอบหมายงานให้กบั เจ้าหนา้ ท่ีฝ่ายต่าง ๆ เพ่ือเตรียมการและออกแบบตามลักษณะงานของแตล่ ะ
ฝ่าย 4) จัดประชุมเพอื่ ติดตามการทำงานของทุกฝา่ ย 5) ฝกึ ซอ้ มการแสดง 6) การจดั การแสดง 7) สรุปและ
ประเมนิ ผลการจดั การแสดง

6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ
3. มีวินัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพียง
6. มุง่ มัน่ ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. จุดเนน้ สู่การพฒั นาผเู้ รียนความสามารถและทกั ษะของผเู้ รียนศตวรรษที่ 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขยี นได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์และคิดเชิงนวัตกรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
กระบวนการคดิ ข้ามวฒั นธรรม)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงาน
เปน็ ทมี และภาวะผูน้ ำ)

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทกั ษะดา้ นการสื่อสารและ
รเู้ ท่าทันสือ่ )

112

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทกั ษะการใชค้ อมพิวเตอร์และรเู้ ท่าทนั เทคโนโลยี)
 C7 - Career and Learning skills (ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้)
 C8 – Compassion (มีคุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมีระเบียบวนิ ยั )

9. กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั ท่ี 1 ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น
ครูตรวจกิจกรรมท่ีให้นักเรยี นทำเปน็ การบ้าน และทบทวนความรู้เดมิ จากครง้ั ที่แล้ว จากนน้ั ครูนำเสนอ

เนอ้ื หาเรือ่ งการจดั การแสดง
ขน้ั ที่ 2 ขั้นสอน
1. ครูนำเสนอเนอื้ หาเร่ือง การจัดการแสดง เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของแตล่ ะฝา่ ยในการจดั การแสดงได้

และข้ันตอนการดำเนนิ งานของการจัดการแสดง โดยการบรรยายและยกตัวอยา่ งประกอบ
2. ครูให้นักเรียนทุกคนรว่ มกันจดั กิจกรรมการแสดงเพื่อเผยศลิ ปะการแสดงของไทย โดยมีการจดั แบ่ง

บทบาทหน้าที่ของแตล่ ะฝา่ ยในการจดั การแสดงได้ และมีดำเนนิ งานอย่างเปน็ ขัน้ ตอน ซึ่งครูจะเปน็ ผู้ให้
คำแนะนำ

ข้นั ที่ 3 ขน้ั สรุป
นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ และอภปิ รายสรปุ เรื่อง การจัดการแสดง เปน็ ความคดิ ของชัน้ เรยี น
โดยครคู อยให้ความรู้เสริมในส่วนที่นักเรียนไม่เขา้ ใจหรือสรปุ ไมต่ รงกับจุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ข้ันที่ 4 ฝกึ ฝนผูเ้ รยี น
1. นักเรียนปฏิบตั ิ กจิ กรรม บทบาทหนา้ ท่ีของแต่ละฝ่ายในการจัดการแสดง โดยให้นักเรียนพจิ ารณา
วา่ บทบาทหน้าที่ท่กี ล่าวถงึ ในแต่ละข้อคือบทบาทหน้าท่ีของใคร แลว้ เติมคำตอบลงในด้านหน้าข้อความให้
ถกู ต้อง
2. นักเรียนปฏิบัติ กจิ กรรม ข้ันตอนในการดำเนินงานในการจัดการแสดง โดยใหใ้ หน้ ักเรียนอธบิ ายถึง
ขั้นตอนในการดำเนนิ งานในการจดั การแสดงวา่ มีอะไรบา้ ง
3. ให้นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น
4. ใหน้ กั เรยี นทำโครงงานตามความสนใจ
ขนั้ ที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรยี นสามารถนำความรเู้ รอ่ื ง การจัดการแสดง ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการเรียนนาฏศลิ ปใ์ นระดบั สูงต่อไป
และนำความรเู้ ร่ืองการจดั การแสดงไปประยุกต์ใชก้ ับการสร้างสรรค์กิจกรรมต่าง ๆ ได้ เช่น การนำขน้ั ตอนใน
การจัดการแสดงไปประยกุ ต์ใช้เปน็ ข้นั ตอนในการจดั กิจกรรมกีฬาสีของโรงเรยี น เปน็ ต้น

กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพเิ ศษ
นกั เรียนร่วมกนั จัดการแสดงท่ีน่าสนใจในงานตา่ ง ๆ ทโ่ี รงเรียนจัดข้ึน เชน่ งานวนั สนุ ทรภู่ งานวัน

ภาษาไทย งานวันเด็ก เปน็ ตน้

113

2. กจิ กรรมสำหรบั ฝึกทักษะผูเ้ รยี น
นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 5 คน รว่ มกนั ศึกษาการจดั กจิ กรรมการแสดงของชมรมนาฏศิลป์ของ
โรงเรียนและจดั ทำเป็นรายงานส่งครู

10. การวดั และประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

ค่านิยม (A)

1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากการปฏบิ ตั ิ 1. สงั เกตจากการจัดกิจกรรม

แสดงความคดิ เห็น กจิ กรรมด้วยความ การแสดงเพื่อเผย

2. สังเกตจากการอธบิ าย สนุกสนานและเพลิดเพลนิ ศลิ ปะการแสดงของไทย

บทบาทหน้าที่ของแต่ละฝา่ ย 2. สังเกตจากการยอมรับ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ

ในการจัดการแสดงและ ความคดิ เห็นของผู้อนื่ ขณะ กจิ กรรมกลมุ่ รว่ มกับผู้อน่ื ได้

ขน้ั ตอนการดำเนนิ งานของ ปฏิบัติกจิ กรรม อย่างคล่องแคลว่

การจดั การแสดง 3. ประเมินพฤติกรรมตาม 3. ประเมนิ พฤตกิ รรมตามแบบ

3. จากการตรวจการวัดและ แบบการประเมนิ ผลดา้ น การประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/

ประเมินผลการเรียนร้ปู ระจำ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ กระบวนการ

หนว่ ย คา่ นยิ ม

4. จากการตรวจแบบทดสอบ

หลงั เรยี น

5. จากการตรวจใบกิจกรรม

11. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบกิจกรรม
2. สถานท่ีต่าง ๆ เช่น โรงเรียน มหาวทิ ยาลยั ท่ีเปิดสอนด้านนาฏศิลป์และการละคร

โรงละคร เปน็ ต้น
3. อินเทอรเ์ นต็
4. หนังสอื เรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชน้ั ม. 1 บรษิ ัท สำนักพิมพว์ ัฒนาพานิช จำกัด
5. แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชน้ั ม. 1 บรษิ ัท สำนกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จำกัด


Click to View FlipBook Version