The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wattana2002, 2022-08-08 08:32:31

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1

47

ครูเปิดเพลงใหน้ ักเรียนฟัง 1 เพลง แลว้ ถามนักเรยี นวา่ เพลงทีค่ รเู ปิดนนั้ มีความไพเราะหรอื ไม่ และ
นักเรียนทราบไดอ้ ยา่ งไร ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันตอบเพ่ือประเมินความรกู้ ่อนเรยี นของนักเรียน

ขัน้ ที่ 2 ข้ันสอน
1. ครูนำเสนอเน้ือหาเรื่อง การประเมนิ คุณภาพของบทเพลง โดยอธิบายเกย่ี วกับความไพเราะ วา่ เปน็
สิง่ ท่ีเกดิ ข้นึ ภายในความรูส้ ึกของแตล่ ะบคุ คล แต่ก็มีเกณฑใ์ นการประเมินคณุ ภาพของบทเพลงหรือดนตรีท่ฟี ัง
เช่นกนั คอื เกณฑ์ในการประเมินคณุ ภาพดา้ นของเน้ือหา คุณภาพดา้ นเสียง และคณุ ภาพด้านองค์ประกอบ
ดนตรี โดยให้นกั เรยี นดูเนือ้ หาในหนังสอื เรยี นประกอบ
2. ครูถามนักเรยี นว่าเพลงทีน่ ักเรยี นคดิ วา่ ดมี ีคุณภาพ ควรจะมเี นื้อหาของเพลง เสียงรอ้ งหรือเสยี งของ
เครอ่ื งดนตรี และลักษณะของการใชอ้ งค์ประกอบดนตรเี ปน็ อย่างไร ตามลำดับ ใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั ตอบและ
แสดงความคดิ เหน็
3. ครูยกตวั อย่างเพลงทีเ่ ปิดใหน้ กั เรียนฟงั หรือใหน้ กั เรยี นร่วมยกตัวอยา่ ง 1 เพลง แล้วอธบิ ายคุณภาพ
ของเพลงท้ัง 3 ด้านใหน้ ักเรยี นเข้าใจยิ่งข้นึ แลว้ เปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถาม
ขัน้ ท่ี 3 ขนั้ สรุป
นกั เรียนร่วมกันอภปิ รายสรปุ เรื่อง การประเมนิ คุณภาพของบทเพลง โดยครคู อยให้ความรู้เสริมในส่วน
ทีน่ ักเรียนไมเ่ ข้าใจหรอื สรปุ ไม่ตรงกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 4 ฝึกฝนนกั เรียน
1. ใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ิ กิจกรรม ประเมนิ คุณภาพด้านเนื้อหาของเพลง กจิ กรรม ประเมนิ คุณภาพดา้ น
เสยี งของเพลง และกจิ กรรม ประเมนิ คุณภาพด้านองคป์ ระกอบดนตรี แลว้ แต่ละคนออกมานำเสนอผลงานหน้า
ชั้นเรยี น
2. ให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน
3. ใหน้ ักเรียนทำโครงงานตามความสนใจ
ขนั้ ท่ี 5 การนำไปใช้
นกั เรยี นสามารถนำความร้เู รอื่ ง การประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลง ไปใช้ในการประเมนิ คุณภาพของ
ผลงานดนตรตี า่ ง ๆ ทีส่ นใจ และนำไปใช้เปน็ มาตรฐานเพื่อฝึกฝนผลงานดนตรขี องตนเองให้ได้ตามมาตรฐาน
และมคี ุณภาพ

กิจกรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
ฝกึ ประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลงหรอื ดนตรหี ลาย ๆ เพลงโดยใช้เกณฑ์การประเมินคุณภาพของบท

เพลง และสรุปเปน็ ขอ้ มลู แล้วนำเสนอหนา้ ชัน้ เรียน
2. กิจกรรมสำหรับฝกึ ทักษะเพ่ิมเติม
นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่วมกนั ศึกษาคุณภาพของเพลงท่ีเป็นท่นี ิยมในขณะน้ัน โดยการ

สัมภาษณผ์ ทู้ ี่ชนื่ ชอบหลาย ๆ คน แล้วใช้เกณฑ์การประเมินคุณภาพของบทเพลง และสรุปเปน็ ข้อมูล แล้ว
นำเสนอหนา้ ชน้ั เรียน

48

10. การวัดและประเมินผล

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

และค่านยิ ม (A)

1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สงั เกตพฤติกรรมขณะปฏบิ ตั ิ

แสดงความคดิ เห็น ความกระตือรือร้นในการ กิจกรรมรายบุคคล และ

2. จากการตรวจการวัดและ ปฏิบตั กิ ิจกรรม ปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่ม

ประเมินผลการเรยี นรู้ประจำ 2. สงั เกตจากความรบั ผิดชอบ 2. สงั เกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมได้

หน่วย และความมรี ะเบียบขณะ อย่างคลอ่ งแคล่ว

3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏบิ ตั ิกิจกรรม 3. สงั เกตความตง้ั ใจและปฏิบัติ

หลงั เรยี น 3. สังเกตจากการยอมรบั ความ ตามขน้ั ตอน

4. จากการตรวจใบกิจกรรม คดิ เหน็ ของผู้อืน่ ขณะปฏบิ ัติ 4. ประเมนิ พฤตกิ รรมตามแบบ

กจิ กรรม การประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/

4. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ กระบวนการ

การประเมนิ ผลดา้ นคุณธรรม

จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม

11. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
1. หอ้ งสมุด
2. หอ้ งดนตรี
3. รายการประกวดขบั ร้องเพลงหรอื ดนตรีทางสถานีโทรทัศน์
4. เพลงประเภทตา่ ง ๆ
5. เครื่องดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ
6. ใบกจิ กรรม
7. หนังสอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตร–ี นาฏศลิ ป์ ช้นั ม. 1 บรษิ ทั สำนกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั
8. แบบฝกึ ทกั ษะ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชนั้ ม. 1 บริษัท สำนักพิมพ์วฒั นาพานชิ จำกัด

49

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3
เร่ือง ดนตรกี ับมรดกทางวฒั นธรรม

ผงั มโนทศั นเ์ ป้าหมายการเรียนรู้ เวลา 3 ช่ัวโมง

ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ
– องค์ประกอบของดนตรีในแตล่ ะวัฒนธรรม – การศึกษาค้นคว้า
– บทบาทและอทิ ธพิ ลของดนตรี – การคดิ วิเคราะห์
– การสืบค้น
– การปฏบิ ตั ิ
– การอภิปราย
– การนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวัน

ดนตรกี ับมรดก
ทางวฒั นธรรม

ภาระ/ช้ินงาน คณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม
– การทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น – มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การปฏิบตั กิ ิจกรรมดนตรี
– การฟงั เพลงแล้ววิเคราะห์ความแตกต่างของ – เหน็ ความสำคญั และประโยชน์ขององคป์ ระกอบ
องค์ประกอบดนตรี ดนตรใี นแต่ละวัฒนธรรม
– การอภิปราย – เห็นคุณคา่ ของความสัมพนั ธแ์ ละอิทธพิ ลของ
– การนำเสนอผลงานโดยการรอ้ งเพลงหรอื ดนตรีทีม่ ตี อ่ สงั คมหรอื ชุมชนของตนเอง
วิธกี ารอืน่ ที่เหมาะสม – มีระเบียบและวนิ ัยในตนเอง
– ใบกจิ กรรม – ปฏิบัติตนอยา่ งมีมารยาทในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
– การทำโครงงาน ร่วมกบั ผู้อ่นื

50

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 ดนตรีกับมรดกทางวัฒนธรรม

ขน้ั ที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางทีต่ ้องการใหเ้ กิดขนึ้ กบั นกั เรยี น

ตัวชวี้ ดั ช้นั ปี

1. อธบิ ายบทบาทความสัมพันธแ์ ละอิทธิพลของดนตรีท่มี ีต่อสังคมไทย (ศ 2.2 ม.1/1)

2. ระบคุ วามหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรใี นวัฒนธรรมตา่ งกัน (ศ 2.2 ม.1/2)

ความเขา้ ใจทค่ี งทนของนกั เรียน คำถามสำคัญทท่ี ำให้เกดิ ความเข้าใจท่ีคงทน

นักเรยี นจะเข้าใจว่า... 1. องคป์ ระกอบของดนตรีไทยต่างจาก

1. องค์ประกอบดนตรีเป็นสว่ นสำคัญในการ องค์ประกอบของดนตรีสากลอยา่ งไร

สร้างสรรคผ์ ลงานทางดนตรี และมคี วาม 2. ดนตรีพ้ืนบา้ นมีองคป์ ระกอบหลักร่วมกนั คือ

แตกตา่ งกันไปในแตล่ ะวัฒนธรรม ได้แก่ อะไรบา้ ง

องคป์ ระกอบของดนตรไี ทย องค์ประกอบของ 3. ดนตรหี รอื บทเพลงมบี ทบาทตอ่ สังคมไทย

ดนตรีสากล และองค์ประกอบของดนตรี อย่างไร

พนื้ บ้าน 4. ดนตรีตะวนั ตกหรือดนตรีของชาตอิ น่ื ๆ มี

2. ดนตรหี รือบทเพลงมบี ทบาทในสังคมมากมาย อิทธิพลต่อสงั คมไทยอย่างไร

ถอื เปน็ สว่ นหนึง่ ในชวี ิตประจำวนั เปน็ สงิ่ จรรโลง

ใจให้เกดิ ความรัก ขจดั ความกลัวได้

3. ดนตรเี ป็นสิ่งมคี ุณค่าและสามารถเสริมสรา้ งให้

มนษุ ยม์ ีความสขุ ได้

ความร้ขู องนกั เรยี นท่ีนำไปสู่ความเขา้ ใจที่ ทกั ษะ/ความสามารถของนกั เรยี นท่นี ำไปสู่

คงทน ความเข้าใจทค่ี งทน

นกั เรียนจะรวู้ า่ ... นกั เรียนจะสามารถ...

1. คำสำคญั ทค่ี วรรู้ ไดแ้ ก่ เพลงประเภททยอย 1. บอกหรอื ระบคุ วามหลากหลายของ

ดุริยางคศลิ ป์ไทย ขนั้ คเู่ สยี ง และกลมุ่ คอร์ด องคป์ ระกอบดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม

2. องคป์ ระกอบของดนตรีไทย เชน่ บันไดเสียง 2. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งในการเลือกใช้

จังหวะเพลงไทย ทำนองเพลงไทย การ องคป์ ระกอบดนตรีในเพลงแต่ละประเภท

ประสาน 3. ประยุกตใ์ ช้ดนตรีร่วมกับกิจกรรมใน

เสียง รปู แบบ อารมณเ์ พลง สว่ นองคป์ ระกอบ ชวี ิตประจำวนั ของตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสม

ของดนตรสี ากล เชน่ เสยี ง จังหวะดนตรี 4. อธบิ ายบทบาทความสมั พันธ์และอิทธิพลของ

ทำนองเพลง เสยี งประสาน พืน้ ผิวของดนตรี ดนตรีท่ีมีต่อสงั คมไทย

สสี ันของเสียง รูปแบบของเพลงหรือคีตลกั ษณ์

และองค์ประกอบของดนตรพี ้ืนบา้ นจะมี

ลักษณะหลักร่วมกัน คือ ไม่มรี ะบบกฎเกณฑท์ ่ี

51

ชัดเจนตายตวั แสดงถงึ ความเปน็ เอกลักษณ์

เฉพาะถ่นิ มที ว่ งทำนองสั้น ๆ จดจำง่าย

3. บทบาทของดนตรใี นสังคมมมี ากมาย ไดแ้ ก่ ใช้

เพอ่ื การผ่อนคลายความเครยี ด ใช้ในงานรืน่ เรงิ

ใช้ประกอบกจิ กรรมการแสดงต่าง ๆ ใช้ในพธิ ี

การ และใชป้ ระกอบพิธีกรรมทางศาสนา

4. การร้องรำทำเพลง การฟงั เพลง ตลอดจนการ

ชมการแสดงตา่ ง ๆ ถือเปน็ สงิ่ ชว่ ยบรรเทาหรอื

ชว่ ยลดความเครยี ดของคนได้ดที ่ีสุด

ขัน้ ที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซงึ่ เป็นหลักฐานทแ่ี สดงว่านักเรยี นมผี ลการเรยี นรู้

ตามที่กำหนดไว้อยา่ งแทจ้ ริง

1. ภาระงานท่นี กั เรยี นต้องปฏบิ ตั ิ

– ระบุความหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรใี นแต่ละวัฒนธรรม

– วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งของเพลงในการเลอื กใชอ้ งค์ประกอบของดนตรีไทย ดนตรีสากล และดนตรี

พ้ืนบ้าน

– รอ้ งเพลงหรือนำเสนอผลการวิเคราะหด์ ้วยวิธีการต่าง ๆ

– อธบิ ายบทบาทความสมั พันธแ์ ละอทิ ธิพลของดนตรที ่ีมีตอ่ สังคมไทย

– อธบิ ายบทบาทความสมั พนั ธ์และอิทธิพลของดนตรีท่ีมีต่อสงั คมหรือชมุ ชนของตนเอง

– ประยุกต์ใช้ดนตรรี ว่ มกบั กจิ กรรมในชวี ติ ประจำวนั ของตนเองและครอบครวั

2. วธิ ีการและเคร่อื งมอื ประเมนิ ผลการเรียนรู้

วิธกี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ เครือ่ งมือประเมินผลการเรียนรู้

– การทดสอบ – แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น

– การสนทนาซกั ถามโดยครู – ใบกิจกรรม

– การอภิปรายหนา้ ชั้นเรยี น – แบบประเมินผลด้านความรู้

– การประเมินผลดา้ นความรู้ – แบบประเมนิ ผลด้านคุณธรรม จริยธรรม และ

– การประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม

ค่านยิ ม – แบบประเมินผลดา้ นทักษะ/กระบวนการ

– การประเมนิ ผลด้านทกั ษะ/กระบวนการ

3. ส่งิ ที่มุ่งประเมนิ

– ระบคุ วามหลากหลายขององค์ประกอบดนตรใี นแต่ละวฒั นธรรมได้

– วิเคราะหค์ วามแตกต่างของเพลงในการเลอื กใชอ้ งค์ประกอบของดนตรีไทย ดนตรีสากล และดนตรี

พน้ื บา้ นได้

– รอ้ งเพลงหรือนำเสนอผลการวเิ คราะหด์ ้วยวธิ ีการต่าง ๆ ได้

52

– อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอทิ ธิพลของดนตรที ่ีมีตอ่ สังคมไทยได้

– อธบิ ายบทบาทความสมั พันธแ์ ละอทิ ธิพลของดนตรที ี่มีต่อสังคมหรือชุมชนของตนเองได้

– ประยกุ ตใ์ ชด้ นตรรี ว่ มกบั กิจกรรมในชวี ติ ประจำวันของตนเองและครอบครัวได้

– พฤตกิ รรมการปฏิบตั ิกจิ กรรมร่วมกับผู้อื่นด้วยความซื่อสัตย์ ความรับผดิ ชอบ และความสนกุ สนาน

ขนั้ ท่ี 3 แผนการจดั การเรียนรู้

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 องค์ประกอบของดนตรใี นแตล่ ะวัฒนธรรม 2

ชั่วโมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 10 บทบาทและอทิ ธิพลของดนตรี

1 ชั่วโมง

53

แผนการจัดการเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื ง ดนตรีกบั มรดกทางวัฒนธรรม เวลา 3 ช่ัวโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9
รหสั วิชา ศ21102 เรือ่ ง องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม เวลา 2 ชั่วโมง
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ

ภาคเรียนที่ 1/2565

สอนวันท่ี.....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า

ของดนตรีท่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล

2. ตัวชี้วดั
ระบคุ วามหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในแตล่ ะวฒั นธรรม (ศ 2.2 ม.1/2)

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ระบคุ วามหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรใี นแตล่ ะวัฒนธรรมได้ (K)
2. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของเพลงในการเลอื กใช้องคป์ ระกอบของดนตรไี ด้ (K)
3. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมด้วยความซื่อสตั ยแ์ ละความรบั ผดิ ชอบ (A)
4. ปฏบิ ัติกิจกรรมดว้ ยความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ และมนั่ ใจ (A)
5. เหน็ ความสำคัญและประโยชน์ขององค์ประกอบดนตรีในแตล่ ะวัฒนธรรม (A)
6. เปรยี บเทียบความแตกต่างระหว่างองคป์ ระกอบดนตรีต่าง ๆ ได้ (P)
7. สืบคน้ ขอ้ มลู เพลงหรอื ดนตรไี ดต้ รงตามลักษณะขององค์ประกอบดนตรี (P)
8. ร้องเพลงหรือนำเสนอผลการวเิ คราะห์ด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ได้ (P)

4. สาระการเรยี นรู้
• องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
องค์ประกอบของดนตรีไมว่ ่าจะเปน็ ดนตรีไทย ดนตรสี ากล หรือดนตรพี ื้นบ้าน ตา่ งก็มีบทบาทหนา้ ท่ี

และมีความสำคญั ในแตล่ ะวัฒนธรรม ซึ่งมสี ว่ นทำให้เกดิ เปน็ บทเพลงหรือเกิดเปน็ ดนตรที ่ีมคี วามไพเราะ

6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร

54

2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซื่อสตั ย์สจุ รติ
3. มวี นิ ยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพียง
6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. จดุ เน้นสูก่ ารพฒั นาผู้เรียนความสามารถและทักษะของผ้เู รียนศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)
⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)
⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขียนได้)
⬜ R3 – (A)Rithmetic (มีทักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะการคิดวิเคราะห์ การคดิ อย่างมี

วิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคิดสร้างสรรคแ์ ละคดิ เชิงนวตั กรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะความเขา้ ใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม

กระบวนการคิดข้ามวฒั นธรรม)
⬜ C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงาน

เปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ)
⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทักษะด้านการสื่อสารและ

ร้เู ทา่ ทันสื่อ)
⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์และรู้เท่าทนั เทคโนโลยี)
⬜ C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้)
 C8 – Compassion (มคี ุณธรรม มคี วามเมตตากรุณา และมีระเบียบวนิ ัย)

9. กจิ กรรมการเรียนรู้

55

ข้นั ที่ 1 ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรียน
1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อประเมินความรู้
2. ครสู นทนาซกั ถามนกั เรียนวา่ รจู้ ักองคป์ ระกอบดนตรีของดนตรีไทย องคป์ ระกอบดนตรขี องดนตรี
สากล และองคป์ ระกอบดนตรขี องดนตรีพน้ื บ้านอะไรบา้ ง แล้วใหน้ ักเรียนชว่ ยกันตอบและร่วมกนั แสดงความ
คิดเห็น
ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ สอน
1. ครนู ำเสนอเน้ือหาเร่ือง องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม เกีย่ วกับองคป์ ระกอบดนตรไี ทย
องคป์ ระกอบดนตรีสากล และองคป์ ระกอบดนตรีพ้ืนบ้าน วา่ ประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบใด และมีความสำคัญ
ต่อบทเพลงหรือดนตรีอยา่ งไร
2. ครแู บ่งนักเรยี นออกเป็น 3 กลุ่ม ให้แต่ละกลมุ่ ศึกษาความร้เู รือ่ งองคป์ ระกอบของดนตรใี นแตล่ ะ
วฒั นธรรม ดังนี้

• กลมุ่ ที่ 1 เร่อื ง องค์ประกอบของดนตรีไทย
• กลมุ่ ท่ี 2 เรื่อง องค์ประกอบของดนตรีสากล
• กลุ่มที่ 3 เรอื่ ง องคป์ ระกอบของดนตรีพนื้ บ้าน
3. ให้แต่ละกลุม่ ออกมาอภิปรายลกั ษณะเดน่ ของเร่ืองที่กลุม่ ไดไ้ ปศกึ ษาคน้ คว้าใหค้ รแู ละ
เพอื่ น ๆ ในชัน้ เรียนฟัง แลว้ ร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคดิ เหน็
ขน้ั ท่ี 3 ขั้นสรุป
ใหน้ ักเรยี นร่วมกันสรุปเรื่อง องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม โดยครูคอยให้ความร้เู สริมใน
สว่ นที่นกั เรยี นไมเ่ ข้าใจหรอื สรุปไม่ตรงกับจุดประสงค์การเรยี นรู้
ขนั้ ท่ี 4 ฝกึ ฝนผ้เู รยี น
ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม วเิ คราะห์ความแตกตา่ งของเพลงในการเลอื กใช้องค์ประกอบของดนตรีไทย
กจิ กรรม วเิ คราะห์ความแตกต่างของเพลงในการเลือกใช้องคป์ ระกอบของดนตรสี ากล และกิจกรรม วเิ คราะห์
ความแตกต่างของเพลงในการเลือกใชอ้ งค์ประกอบของดนตรีพ้นื บา้ น แลว้ ช่วยกนั เฉลยหนา้ ชั้นเรยี น
ขัน้ ท่ี 5 การนำไปใช้
นักเรียนสามารถนำความรู้เร่อื ง องคป์ ระกอบของดนตรีในแตล่ ะวฒั นธรรม ไปใช้ในการระบุความ
หลากหลายขององค์ประกอบดนตรี และเปรียบเทยี บความแตกต่างของลักษณะขององค์ประกอบของดนตรีใน
แตล่ ะวัฒนธรรม เพ่อื เปน็ ความรู้เสริมในการเรียนหรือหัดเล่นดนตรีไทย ดนตรีสากล และดนตรพี ืน้ บ้านทส่ี นใจ
ในโอกาสต่อไป

56

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพิเศษ
ศกึ ษาลักษณะองคป์ ระกอบของดนตรีไทย องค์ประกอบของดนตรีสากล และองคป์ ระกอบของดนตรี

พ้นื บ้านเพ่ิมเตมิ อย่างละเอียด แล้วฝึกบรรยายเพลงไทย เพลงไทยสากล เพลงสากล และเพลงพนื้ บา้ นทฟี่ ัง ตาม
ลักษณะขององคป์ ระกอบดนตรแี ตล่ ะประเภท

2. กจิ กรรมสำหรบั ฝกึ ทักษะเพมิ่ เตมิ
นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่วมกนั จำแนกองคป์ ระกอบของดนตรีไทย องค์ประกอบของดนตรี
สากล และองคป์ ระกอบของดนตรพี นื้ บา้ นจากเพลงที่กลุม่ สนใจ โดยเขยี นวา่ ท่อนเพลงท่อนใดท่ีมลี ักษณะตรง
ตามองคป์ ระกอบของดนตรีเบื้องตน้ สรุป แลว้ นำมาอภิปราย

10. การวัดและประเมินผล ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
ด้านความรู้ (K) และค่านยิ ม (A)
1. สังเกตจากพฤติกรรมขณะ
1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ ปฏิบตั ิกจิ กรรมรายบุคคล
แสดงความคิดเห็น ความกระตือรอื ร้นในการ และปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลุ่ม
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
2. จากการตรวจการวัดและ 2. สงั เกตจากการปฏบิ ตั ิ
ประเมนิ ผลการเรียนรปู้ ระจำ 2. สงั เกตจากความรับผิดชอบ กจิ กรรมได้อย่างคล่องแคล่ว
หน่วย และความมีระเบยี บขณะ
ปฏิบตั ิกจิ กรรม 3. สังเกตจากความตั้งใจและ
3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอน
กอ่ นเรยี น 3. สงั เกตจากการยอมรับความ
คดิ เห็นของผู้อืน่ ขณะปฏบิ ัติ
4. จากการตรวจใบกิจกรรม กจิ กรรม

11. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้
1. เพลงไทย เพลงไทยสากล เพลงสากล และเพลงพน้ื บ้าน
2. ใบกิจกรรม
3. ห้องสมุด
4. ห้องดนตรี
5. ผู้รู้ด้านดนตรปี ระเภทต่าง ๆ ในชุมชน
6. หนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ช้นั ม. 1 บรษิ ัท สำนกั พิมพว์ ัฒนาพานิช จำกดั
8. แบบฝึกทักษะ ราบวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ช้ัน ม. 1 บริษทั สำนกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั

57

แผนการจดั การเรยี นรู้

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง ดนตรีกับมรดกทางวฒั นธรรม เวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 10
รหสั วิชา ศ21102 เรอ่ื ง บทบาทและอทิ ธิพลของดนตรี เวลา 1 ช่ัวโมง
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1
ผสู้ อน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ

ภาคเรียนท่ี 1/2565

สอนวันที่.....................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่า

ของดนตรีทเี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล

2. ตวั ช้ีวดั
อธบิ ายบทบาทความสมั พันธแ์ ละอิทธพิ ลของดนตรีท่ีมตี ่อสงั คมไทย (ศ 2.2 ม.1/1)

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายบทบาทความสมั พันธแ์ ละอทิ ธิพลของดนตรีทม่ี ีต่อสังคมไทยได้ (K)
2. อธบิ ายบทบาทความสัมพันธ์และอทิ ธิพลของดนตรที ม่ี ีต่อสงั คมหรือชุมชนของตนเองได้ (K)
3. เห็นคุณค่าของความสัมพนั ธแ์ ละอิทธิพลของดนตรที ม่ี ีตอ่ สงั คมหรือชมุ ชนของตนเอง (A)
4. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดว้ ยความซ่ือสัตย์และความรบั ผิดชอบ (A)
5. ประยุกต์ใชด้ นตรีร่วมกับกิจกรรมในชีวติ ประจำวนั ของตนเองและครอบครวั ได้ (P)

4. สาระการเรียนรู้
• บทบาทและอิทธิพลของดนตรี
– บทบาทดนตรใี นสงั คม
– อิทธิพลของดนตรีในสงั คม

5. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ดนตรหี รือบทเพลงมีบทบาทสำคัญและมีอิทธพิ ลต่อสงั คมไทย เชน่ ใช้เพ่ือการผ่อนคลายความเครียด

ใช้ในงานรนื่ เริง ใชป้ ระกอบกิจกรรมการแสดงตา่ ง ๆ ใช้ในพธิ กี าร ใชป้ ระกอบพธิ กี รรมทางศาสนา เปน็ ตน้
ดงั นั้นดนตรจี ึงเปน็ ส่งิ ท่ีมคี ณุ ค่าและมปี ระโยชนต์ ่อมนุษย์

6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการสื่อสาร

58

2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซอื่ สัตย์สจุ รติ
3. มีวนิ ยั
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อย่อู ยา่ งพอเพียง
6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

8. จดุ เนน้ สู่การพัฒนาผเู้ รียนความสามารถและทกั ษะของผเู้ รยี นศตวรรษที่ 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขียนได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ การคดิ อย่างมี
วิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา)

⬜ C2 - Creativity and Innovation (ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์และคดิ เชิงนวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม
กระบวนการคดิ ขา้ มวัฒนธรรม)
 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงาน
เป็นทีม และภาวะผนู้ ำ)
 C5 – Communication, Information and Media literacy (ทักษะดา้ นการสื่อสารและ
ร้เู ทา่ ทันส่ือ)

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์และรู้เท่าทันเทคโนโลย)ี

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นร้)ู
 C8 – Compassion (มีคุณธรรม มคี วามเมตตากรุณา และมีระเบยี บวนิ ยั )

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้

59

ขั้นท่ี 1 ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
ครสู นทนาซกั ถามนักเรยี นว่า ในชีวิตประจำวันของนักเรียนมกี ารนำดนตรีหรือบทเพลงมาใชใ้ นกจิ กรรม
ใดบา้ ง ครูส่มุ เลือกตัวแทนนักเรียนตอบคำถามพร้อมท้ังแสดงความคิดเหน็ ใหเ้ พ่ือน ๆ ในห้องฟัง หลงั จากน้ันครู
ยกตัวอย่างการนำดนตรีหรือบทเพลงไปใช้ในชีวติ ประจำวัน 1–2 ตวั อย่าง เพื่อให้นักเรยี นเขา้ ใจย่ิงข้ึน เช่น การฟัง
เพลงระหวา่ งรอรถรบั สง่ นักเรียน การเต้นแอโรบิกตามจังหวะดนตรี เป็นต้น
ขน้ั ท่ี 2 ขั้นสอน
1. ครนู ำเสนอเน้ือหาเรื่อง บทบาทและอิทธิพลของดนตรี โดยอธบิ ายเกยี่ วกับบทบาทของดนตรีใน
สังคมท่เี ราสามารถพบเหน็ ในปัจจบุ ัน เชน่ การใชด้ นตรีเพ่ือผอ่ นคลายความเครียด การใช้ดนตรใี นงานร่ืนเริง
การใชด้ นตรปี ระกอบกจิ กรรมการแสดงตา่ ง ๆ การใชด้ นตรีในพธิ กี าร การใช้ดนตรปี ระกอบพธิ กี รรมทางศาสนา
เป็นต้น โดยให้นักเรียนดเู น้อื หาในหนังสอื เรียนประกอบ
2. ครสู นทนาซักถามนักเรยี นเกย่ี วกับบทบาทของดนตรใี นชุมชนของนักเรยี น ท่เี คยเห็นการใชด้ นตรีใน
กิจกรรมต่าง ๆ และให้นักเรยี นช่วยกันยกตัวอยา่ ง
ขั้นท่ี 3 ขั้นสรุป
ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั สรปุ เร่ือง บทบาทและอิทธิพลของดนตรี โดยครูคอยให้ความรเู้ สริมในส่วนทีน่ กั เรยี น
ไมเ่ ขา้ ใจหรือสรุปไม่ตรงกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ข้นั ที่ 4 ฝึกฝนนกั เรียน
1. ให้นกั เรยี นปฏบิ ัติ กจิ กรรม ประยกุ ตใ์ ช้ดนตรรี ่วมกบั กจิ กรรมในชวี ติ ประจำวันของตนเอง และ
กิจกรรม อธิบายบทบาทของดนตรีทีม่ ีต่อสงั คม แลว้ ใหแ้ ต่ละคนออกมานำเสนอหนา้ ชน้ั เรียน
2. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน
3. ใหน้ ักเรยี นทำโครงงานตามความสนใจ
ข้ันที่ 5 การนำไปใช้
นักเรียนสามารถนำความรเู้ รอื่ ง บทบาทและอิทธิพลของดนตรี ไปใช้เปน็ แนวทางในการเลือกชมการ
แสดงดนตรีตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม เพื่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเอง ครอบครวั และชุมชนของตนเอง

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพเิ ศษ
ศึกษาลักษณะการประยุกต์ใช้ดนตรีหรือบทเพลงของสมาชิกในครอบครวั และสรุปวา่ สมาชิก

แตล่ ะคนใช้ดนตรีหรือบทเพลงประกอบกิจกรรมใดบ้างในแต่ละวนั แลว้ นำมาเล่าให้ครแู ละเพ่ือน ๆ ฟัง
2. กจิ กรรมสำหรบั ฝกึ ทักษะเพ่ิมเติม
นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 4–5 คน ร่วมกนั ศึกษาชอื่ เพลงหรอื วงดนตรที ีใ่ ชส้ ำหรับฟังและร้องในงานรื่น

เรงิ ใช้ประกอบกิจกรรมการแสดง ใช้ในพธิ ีการ และใชใ้ นการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาในชุมชนของตนเอง
หรือชุมชนใกลเ้ คยี ง แล้วเขียนสรุปมาเปน็ ขอ้ ๆ ใหไ้ ด้มากท่ีสุด นำมาอภปิ รายให้ครูและเพ่ือน ๆ ฟงั

60

10. การวดั และประเมินผล ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
ด้านความรู้ (K) และคา่ นยิ ม (A)
1. สังเกตจากพฤติกรรมขณะ
1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ ปฏิบตั กิ จิ กรรมรายบคุ คล
แสดงความคดิ เห็น ความกระตือรอื รน้ ในการ และปฏิบัติกิจกรรมกลมุ่
ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
2. จากการตรวจการวดั และ 2. สังเกตจากการปฏิบตั ิ
ประเมนิ ผลการเรียนร้ปู ระจำ 2. สังเกตจากความรบั ผดิ ชอบ กจิ กรรมได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว
หน่วย และความมรี ะเบยี บขณะ
ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 3. สังเกตจากความตงั้ ใจและ
3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏิบัตติ ามขนั้ ตอน
หลงั เรียน 3. สงั เกตจากการยอมรับความ
คิดเหน็ ของผู้อนื่ ขณะปฏบิ ัติ 4. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ
4. จากการตรวจใบกิจกรรม กิจกรรม การประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/
กระบวนการ
4. ประเมนิ พฤติกรรมตามแบบ
การประเมนิ ผลดา้ น
คุณธรรม จรยิ ธรรม และ
คา่ นิยม

11. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
1. กิจกรรมการแสดงดนตรใี นชุมชน
2. บทเพลงและวงดนตรตี า่ ง ๆ
3. ใบกิจกรรม
4. ห้องสมดุ
5. ห้องดนตรี
6. ผูร้ ดู้ า้ นดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ ในชมุ ชน
7. หนังสอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชั้น ม. 1 บริษัท สำนกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จำกัด
8. แบบฝึกทักษะ รายวชิ าพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชนั้ ม. 1 บรษิ ทั สำนกั พมิ พว์ ฒั นาพานชิ จำกดั

61

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4
พน้ื ฐานเกี่ยวกับนาฏศิลป์และละครของไทย

ผังมโนทัศนเ์ ปา้ หมายการเรียนรู้ เวลา 3 ช่ัวโมง

ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ
– ประเภทของละครไทยในแตล่ ะสมัย – ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน
– ปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลง – การศกึ ษาค้นคว้า
นาฏศลิ ป์และละครของไทย – กระบวนการคิด
– การวเิ คราะห์
– การนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั

ความรู้พืน้ ฐาน
เก่ียวกับนาฏศลิ ป์
และละครของไทย

ภาระงาน/ช้นิ งาน คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม
– การทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน – เห็นคณุ ค่าและความสำคัญของการ
– การศึกษาประเภทของละครไทยในแต่ละสมยั แสดงนาฏศิลป์และละครของไทย
– สรปุ และอธิบายประเภทของละครไทยในแต่ – ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคลและ
ละสมยั ปฏิบัติกิจกรรมเปน็ กลุ่มดว้ ยความ
– การศึกษาปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ การเปลีย่ นแปลง ซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ
– ปฏบิ ตั ติ นอยา่ งมมี ารยาทในการปฏิบัติ
นาฏศลิ ป์และละครของไทย กจิ กรรมร่วมกบั ผอู้ น่ื
– สรุปและอธิบายปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ การ
เปลย่ี นแปลงนาฏศลิ ปแ์ ละการละครของไทย
– ใบกจิ กรรม
– ใบงาน
– การจดั ทำรายงาน
– การทำโครงงาน

62

ผงั การออกแบบการจัดการเรียนรู้

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 พื้นฐานเกี่ยวกับนาฏศลิ ป์และละครของไทย

ขน้ั ที่ 1 ผลลัพธป์ ลายทางที่ต้องการใหเ้ กิดขึ้นกบั นกั เรียน

ตัวช้วี ดั ช้นั ปี

1. ระบุปจั จัยท่ีมีผลต่อการเปลย่ี นแปลงของนาฏศลิ ป์ นาฏศิลปพ์ น้ื บา้ น ละครไทยและละครพ้ืนบ้าน

(ศ 3.2 ม.1/ 1)

2. บรรยายประเภทของละครไทยในแตล่ ะยคุ สมัย (ศ 3.2 ม.1/ 2)

ความเข้าใจท่คี งทนของนกั เรียน คำถามสำคญั ที่ทำให้เกิดความเขา้ ใจที่

นักเรียนจะเขา้ ใจว่า... คงทน

1. ละครไทยมี 3 ประเภท คือ ละครแบบดั้งเดิม 1. ละครไทยมกี ป่ี ระเภท แตล่ ะประเภท

กำเนดิ ข้นึ ในสมัยกรงุ ศรีอยุธยาและสบื ทอดมาถึง เกดิ ขึ้นสมยั ใด

ปจั จุบัน ละครแบบปรบั ปรุง เกดิ ข้ึนในสมยั 2. ปจั จยั ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงของ

กรุงรัตนโกสนิ ทร์ ชว่ งปลายรัชกาลท่ี 4 ถึง นาฏศิลปแ์ ละการละครของไทย มีอะไรบ้าง

รชั กาลท่ี 5 ละครสมัยใหม่ เปน็ ละครทเ่ี กิดขึ้นใน

สมัยกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ชว่ งรชั กาลที่ 5 จนมาถงึ

ปัจจบุ ัน

2. อทิ ธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ พระมหากษัตริย์

สภาพสงั คม คา่ นิยมของคนในชาติ คอื ปัจจัยที่มี

ผลต่อการเปลีย่ นแปลงนาฏศลิ ป์และการละคร

ของไทย

ความรขู้ องนักเรยี นทนี่ ำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทกั ษะ/ความสามารถของนกั เรยี นที่นำไปสู่

นกั เรยี นจะรู้ว่า... ความเข้าใจทค่ี งทน

1. คำสำคัญท่ีควรรู้ ไดแ้ ก่ ละครชาตรเี ข้าเคร่ือง นกั เรียนจะสามารถ...

การแสดงโอเปรา ละครบังสวนั ศลิ ปะการแสดง 1. ศกึ ษาและอธบิ ายประเภทของละครไทย

ของไทย และค่านยิ ม ในแต่ละสมยั

2. ละครแบบดั้งเดิม เป็นละครรำเก่าแก่ท่สี ุด กำเนดิ 2. ศกึ ษาและสรปุ ละครชนดิ ต่าง ๆ ในแต่ละ

ข้ึนในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา และสืบทอดมาถงึ ประเภท

ปัจจบุ นั ไดแ้ ก่ ละครชาตรี ละครนอก และ 3. ศึกษาและอธบิ ายถงึ ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการ

ละครใน เปลย่ี นแปลงของนาฏศลิ ป์และการละคร

3. ละครแบบปรับปรุง เปน็ การนำละครรำแบบด้ัง ของไทย

เดิมมาพัฒนาปรบั ปรงุ เกดิ ขึน้ ในสมยั กรุง

รตั นโกสนิ ทร์ ชว่ งปลายรชั กาลที่ 4 ถึง

รชั กาลท่ี 5 และสืบทอดมาถงึ ปจั จุบนั ได้แก่

63

ละครดึกดำบรรพ์ ละครพนั ทาง และละครเสภา

4. ละครสมยั ใหม่ เปน็ ละครที่เกิดขึ้นในสมัยกรุง

รตั นโกสนิ ทร์ ชว่ งรชั กาลที่ 5 จนมาถงึ ปัจจุบนั

ไดแ้ ก่ ละครร้อง ละครพูด ละครอิง-

ประวตั ศิ าสตร์ ละครเพลง ละครเวที ละครวิทยุ

และละครโทรทศั น์

5. อิทธพิ ลของวัฒนธรรมตา่ งชาติมผี ลต่อการ

เปลีย่ นแปลงของนาฏศิลป์และละครของไทย โดย

นำเอาศลิ ปะการแสดงของต่างชาติผสมผสานกบั

ศิลปะการแสดงของไทยเพื่อใหศ้ ิลปะการแสดง

ของไทยเขา้ กับยุคสมยั ท่ีเปลยี่ นไปและเปน็ ท่ี

ยอมรบั ของนานาประเทศ

6. พระมหากษัตริย์จะทรงให้การสนับสนุนและร่วม

สรา้ งสรรคพ์ ฒั นาศิลปะการแสดงของไทยทุกยุค

ทกุ สมยั

7. สภาพสงั คม ถ้าสงั คมมีความสงบ ประชาชนใน

ประเทศมีเวลาท่ีจะสร้างสรรคแ์ ละพัฒนา

ศิลปะการแสดงได้อย่างเตม็ ท่ี

8. คา่ นยิ มท่เี ปลี่ยนแปลงไปตามยคุ สมยั มผี ลให้

ศลิ ปะการแสดงของไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงไปดว้ ย

เพราะผทู้ สี่ ร้างสรรค์จะพฒั นาและสร้างสรรคศ์ ลิ ปะ

การแสดงเพื่อตอบสนองความต้องการทาง

ค่านยิ ม

ของตนเอง

ข้ันที่ 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรียนรซู้ ่ึงเปน็ หลักฐานทแ่ี สดงว่านกั เรยี นมผี ลการเรียนรู้

ตามทกี่ ำหนดไว้อยา่ งแทจ้ ริง

1. ภาระงานทนี่ ักเรยี นตอ้ งปฏิบัติ

– ศกึ ษาและอธิบายประเภทของละครไทยในแตล่ ะสมัย

– ศึกษาและสรปุ ละครชนดิ ตา่ ง ๆ ในแตล่ ะประเภท

– ศึกษาและอธบิ ายถงึ ปัจจัยที่มีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงนาฏศลิ ปแ์ ละละครของไทย

2. วธิ กี ารและเครื่องมือประเมินผลการเรยี นรู้

วธิ ีการประเมินผลการเรยี นรู้ เครื่องมือประเมนิ ผลการเรยี นรู้

– การทดสอบ – แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น

64

– การสนทนาซักถามโดยครู – แบบบนั ทึกข้อมูลการแสดงความคิดเหน็ และ

– การแสดงความคิดเหน็ และการอภปิ ราย การอภิปราย

– การฝึกปฏบิ ัตริ ะหวา่ งเรียน – ใบกิจกรรม

– การประเมินตนเองของนกั เรียน – ใบงาน

– การประเมนิ ผลดา้ นความรู้ – แบบบนั ทกึ ผลการปฏบิ ัตงิ าน

– การประเมนิ ผลดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และ – แบบประเมนิ ผลด้านความรู้

คา่ นิยม – แบบประเมินผลด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม

– การประเมนิ ผลด้านทกั ษะ/กระบวนการ และค่านยิ ม

– แบบประเมินผลด้านทักษะ/กระบวนการ

3. สิง่ ท่ีมงุ่ ประเมิน

– อธิบายประเภทของละครไทยในแตล่ ะสมยั ได้

– อธิบายละครชนิดตา่ ง ๆ ในแต่ละประเภทได้

– อธิบายถงึ ปัจจยั ท่ีมผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงนาฏศลิ ป์ไทยได้

ขั้นท่ี 3 แผนการจดั การเรียนรู้

– แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 11 ประเภทของละครไทยในแต่ละสมยั 2 ชั่วโมง

– แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 12 ปจั จยั ทีม่ ีผลต่อการเปล่ียนแปลงนาฏศิลป์และละครไ 1 ชัว่ โมง

65

แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรือ่ ง พ้นื ฐานเก่ยี วกับนาฏศิลป์และละครของไทย เวลา 3 ชวั่ โมง
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 11
รหัสวชิ า ศ21102 เร่อื ง ประเภทของละครไทยในแตล่ ะสมยั เวลา 2 ช่ัวโมง
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ

ภาคเรียนท่ี 1/2565

สอนวันท่ี.....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของ

นาฏศิลป์ท่ีเปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

2. ตวั ช้ีวดั
บรรยายประเภทของละครไทยในแตล่ ะยุคสมยั (ศ 3.2 ม.1/2)

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายประเภทของละครไทยในแต่ละสมัย พร้อมกับยกตัวอยา่ งประกอบได้ (K)
2. ปฏิบัตกิ ิจกรรมด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลนิ (A)
3. วเิ คราะหแ์ ละสรุปประเภทของละครไทยในแต่ละสมัย (P)

4. สาระการเรียนรู้
• ประเภทของละครไทยในแต่ละยคุ สมัย
– ละครรำแบบดง้ั เดมิ
– ละครรำแบบปรับปรุง
– ละครท่ีพัฒนาขน้ึ ใหม่

5. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
ละครไทยมี 3 ประเภท คอื 1) ละครแบบดง้ั เดิม เป็นละครรำเกา่ แก่ทีส่ ดุ กำเนิดขนึ้ ในสมัยกรงุ ศรี

อยธุ ยา และสบื ทอดมาถงึ ปจั จุบนั ได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก และละครใน 2) ละครแบบปรับปรงุ เปน็ การ
นำละครรำแบบดั้งเดิมมาพัฒนาปรบั ปรงุ เกิดขน้ึ ในสมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร์ ชว่ งปลายรัชกาลที่ 4 ถงึ รชั กาลที่ 5
และสืบทอดมาถงึ ปจั จุบัน ได้แก่ ละครดึกดำบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา 3) ละครสมัยใหม่ เป็นละครท่ี
เกดิ ข้ึนในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ช่วงรชั กาลที่ 5 จนมาถึงปจั จบุ นั ได้แก่ ละครร้อง ละครพูด ละครองิ
ประวัตศิ าสตร์ ละครเพลง ละครเวที ละครวทิ ยุ และละครโทรทศั น์

66

6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซ่ือสัตยส์ ุจรติ
3. มวี นิ ยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อย่างพอเพยี ง
6. มุง่ มัน่ ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจติ สาธารณะ

8. จดุ เนน้ สกู่ ารพัฒนาผูเ้ รยี นความสามารถและทกั ษะของผเู้ รยี นศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขียนได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มีทักษะการคำนวณ)

⬜ C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อย่างมี
วจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละคดิ เชงิ นวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
กระบวนการคดิ ขา้ มวฒั นธรรม)
 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงาน
เปน็ ทีม และภาวะผ้นู ำ)

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทกั ษะดา้ นการสื่อสารและ
รู้เทา่ ทันสือ่ )

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และรเู้ ท่าทนั เทคโนโลยี)

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นร)ู้
 C8 – Compassion (มคี ุณธรรม มคี วามเมตตากรุณา และมรี ะเบยี บวินยั )

67

9. กิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ ท่ี 1 ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรียน
1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเพ่ือประเมินความรู้
2. ครใู ห้นกั เรยี นชมภาพละครไทยประเภทต่าง ๆ แล้วซักถามนักเรียนว่า การแสดงในภาพน้คี ือการ

แสดงอะไร มีลักษณะการแสดงอยา่ งไร และนักเรยี นเคยชมการแสดงเหล่านมี้ าบ้างหรือไม่
3. ครเู ชื่อมโยงสง่ิ ทีน่ ักเรียนตอบกับเรื่อง ประเภทของละครไทยในแตล่ ะสมัย
ขน้ั ที่ 2 ขัน้ สอน
1. ครูนำเสนอเนอ้ื หาเรื่อง ประเภทของละครไทยในแตล่ ะสมัย วา่ ละครไทยมกี ่ีประเภท แต่ละประเภท

เกิดขนึ้ ในสมัยใด มีการพัฒนาเปลีย่ นแปลงไปตามยคุ สมัยอย่างไร และละครแตล่ ะประเภทมลี ะครชนิดใดบ้าง
โดยการบรรยายและยกตวั อย่างประกอบ

2. ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน และแจกใบงานที่ 1 ใหร้ ว่ มกันศึกษาวา่ ละครไทยทงั้ 3
ประเภทมีละครอะไรบ้าง โดยศึกษาขอ้ มลู เพ่ิมเติมจาก หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์
ชนั้ ม. 1 บรษิ ทั สำนกั พมิ พ์วัฒนาพานชิ จำกัด อนิ เทอรเ์ น็ต หนงั สือนาฏศิลป์ไทยในห้องสมุด

3. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอหน้าช้ันเรยี น กลมุ่ ละ 1 ประเดน็
ขน้ั ท่ี 3 ข้ันสรุป
นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ และอภปิ รายสรปุ เร่ือง ประเภทของละครไทยในแต่ละสมัย เป็น
ความคิดของช้นั เรียน โดยครูคอยให้ความรู้เสรมิ ในสว่ นท่นี ักเรยี นไม่เขา้ ใจหรือสรปุ ไมต่ รงกบั จุดประสงค์การ
เรยี นรู้
ขั้นที่ 4 ฝกึ ฝนผเู้ รยี น
1. ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัติ กิจกรรม ประเภทของละครไทยในแต่ละสมยั โดยใหน้ กั เรียนบรรยายสรุป
ประเภทของละครไทยในแตล่ ะสมัยลงในแผนผังที่กำหนดใหถ้ ูกต้อง
2. ใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั ิ กิจกรรม ท่มี าของละครไทยแตล่ ะชนิด โดยใหน้ กั เรียนอธบิ ายทม่ี าของละครแต่
ละชนิดท่ีกำหนดใหถ้ กู ต้อง
ขน้ั ที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรยี นสามารถนำความรู้เร่อื ง ประเภทของละครไทยในแต่ละสมยั ไปประยุกต์ในการเรยี นนาฏศลิ ป์
ในระดับสูงต่อไป

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ
นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน ร่วมกันจดั ทำปา้ ยนิเทศเผยแพรค่ วามรู้เกย่ี วกับประเภทละครไทยใน

แต่ละสมัย
2. กจิ กรรมสำหรบั ฝกึ ทักษะเพ่ิมเติม

68

นักเรียนศกึ ษาประเภทละครไทยในแต่ละสมัยเพิ่มเติมทางอินเทอร์เนต็ หรือสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ หรอื
ผรู้ ใู้ นชุมชน แลว้ จดั ทำเป็นรายงานส่งครู

10. การวดั และประเมนิ ผล

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

คา่ นยิ ม (A)

1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความซอื่ สัตยใ์ น 1. สังเกตจากการศกึ ษาและ

แสดงความคิดเหน็ การปฏิบตั กิ จิ กรรม สรุปประเภทของละครไทย

2. สังเกตจากการอธิบายถึง 2. สังเกตจากความมีนำ้ ใจและ ในแต่ละสมัย

ประเภทของละครไทยแต่ละ ความเสยี สละในการปฏบิ ัติ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ

สมัย กิจกรรมรว่ มกบั ผูอ้ น่ื กิจกรรมกลมุ่ ร่วมกบั ผู้อ่ืน

3. จากการตรวจการวดั และ 3. สงั เกตจากการปฏบิ ัติ ได้อย่างคล่องแคลว่

ประเมนิ ผลการเรยี นรปู้ ระจำ กิจกรรมด้วยความ

หนว่ ย สนกุ สนานและเพลดิ เพลนิ

4. จากการตรวจแบบทดสอบ

ก่อนเรยี น

5. จากการตรวจใบกจิ กรรมและ

ใบงาน

11. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
1. ภาพการแสดงละครไทย
2. ใบกจิ กรรม
3. ใบงาน
4. สถานทีต่ า่ ง ๆ เช่น โรงเรียน มหาวทิ ยาลัยทเ่ี ปดิ สอนด้านนาฏศิลป์และการละคร โรงละคร เป็นตน้
5. อินเทอรเ์ น็ต
6. หนังสือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชนั้ ม. 1 บริษัท สำนกั พิมพว์ ัฒนาพานิช จำกัด
7. แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชั้น ม. 1 บรษิ ัท สำนกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จำกัด

69

แผนการจดั การเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรือ่ ง พ้ืนฐานเกี่ยวกบั นาฏศลิ ป์และละครของไทย เวลา 3 ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 12
และละครของไทย เรื่อง ปัจจัยที่มีผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงนาฏศิลป์
รหัสวิชา ศ21102
ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 1 ช่ัวโมง
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจนั คำ
รายวชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ

ภาคเรยี นท่ี 1/2565

สอนวนั ท.่ี ....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ

นาฏศลิ ปท์ ี่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

2. ตัวชี้วดั
ระบปุ ัจจยั ทม่ี ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศลิ ป์ นาฏศิลปพ์ ืน้ บ้าน ละครไทยและละครพ้ืนบ้าน

(ศ 3.2 ม.1/1)

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกถงึ ปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงนาฏศลิ ปแ์ ละละครของไทยได้ (K)
2. ปฏบิ ัติกิจกรรมด้วยความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ (A)
3. วิเคราะหแ์ ละสรปุ ปจั จัยที่มผี ลตอ่ การเปล่ยี นแปลงนาฏศลิ ป์และละครของไทยได้ (P)

4. สาระการเรยี นรู้
• ปัจจัยทมี่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์พ้นื บา้ น ละครไทยและละครพื้นบา้ น
– อิทธพิ ลทางวฒั นธรรมตา่ งชาติ
– พระมหากษตั ริย์
– สภาพสังคม
– ค่านยิ มของคนในชาติ

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
อิทธิพลทางวฒั นธรรมต่างชาติ พระมหากษัตรยิ ์ สภาพสังคม คา่ นิยมของคนในชาติ ถือเป็น ปัจจยั ทมี่ ี

ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงนาฏศิลป์และละครของไทย

70

6. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซ่ือสัตย์สุจริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
6. มุง่ ม่ันในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. จดุ เนน้ สกู่ ารพฒั นาผูเ้ รียนความสามารถและทกั ษะของผเู้ รยี นศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขยี นได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มีทักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ อยา่ งมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละคดิ เชงิ นวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม
กระบวนการคิดข้ามวัฒนธรรม)
 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงาน
เปน็ ทีม และภาวะผนู้ ำ)

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทกั ษะดา้ นการสื่อสารและ
รู้เทา่ ทันส่อื )

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และรเู้ ท่าทันเทคโนโลย)ี

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรยี นร)ู้
 C8 – Compassion (มีคุณธรรม มคี วามเมตตากรุณา และมรี ะเบยี บวินัย)

71

9. กิจกรรมการเรียนรู้
ขน้ั ท่ี 1 ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน
ครทู บทวนความร้เู ดิมโดยตั้งประเดน็ คำถามสุ่มใหน้ ักเรยี นตอบ เชน่ ละครไทยมีกี่ประเภท ได้แก่

อะไรบ้าง ละครชาตรีมีท่ีมาอย่างไรบา้ ง ละครรำแบบด้ังเดิมกับแบบปรับปรุงเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรบา้ ง
ขั้นท่ี 2 ข้นั สอน
1. ครนู ำเสนอเนอ้ื หาเร่ือง ปจั จยั ท่ีมีผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงนาฏศลิ ปแ์ ละละครของไทย เกย่ี วกบั ส่ิงท่มี ี

อิทธิพลทำใหศ้ ลิ ปะการแสดงของไทยประเภทต่าง ๆ เกิดการเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยการบรรยายและ
ยกตวั อย่างประกอบ

2. ครูให้นักเรียนแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4 คน และแจกใบงานท่ี 2 ให้รว่ มกันศึกษาว่าอทิ ธิพลที่ทำให้
นาฏศลิ ปพ์ นื้ บ้านเกิดการเปลี่ยนแปลงมีอะไรบ้าง โดยศกึ ษาขอ้ มลู เพิ่มเติมจาก หนังสือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน
ดนตรี–นาฏศิลป์ ชัน้ ม. 1 บรษิ ทั สำนกั พมิ พว์ ัฒนาพานชิ จำกัด อนิ เทอรเ์ นต็ หนงั สือนาฏศลิ ป์พืน้ บ้านใน
ห้องสมดุ

3. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมารายงานหน้าช้ันเรียน
ข้นั ที่ 3 ขั้นสรุป
นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็นและอภปิ รายสรุปเร่ือง ปัจจยั ท่มี ีผลต่อการเปล่ยี นแปลงนาฏศิลป์
และละครของไทย เปน็ ความคดิ ของช้นั เรียน โดยครคู อยให้ความร้เู สริมในส่วนทนี่ ักเรียนไมเ่ ข้าใจหรอื สรปุ ไม่
ตรงกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
ขั้นที่ 4 ฝึกฝนผู้เรียน
1. ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั ิ กิจกรรม ปัจจยั ที่มีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงนาฏศลิ ป์และละครของไทย โดยให้
นกั เรียนอธบิ ายปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงนาฏศิลปแ์ ละละครของไทยวา่ มีอะไรบา้ ง
2. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น
3. ครูใหน้ ักเรียนทำโครงงานตามความสนใจ
ขนั้ ที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรียนสามารถนำความรูเ้ รอื่ ง ปัจจยั ที่มผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงนาฏศลิ ปแ์ ละละครของไทย ไป
ประยกุ ต์ใช้ในการเรียนนาฏศิลปใ์ นระดับสูงต่อไป

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรยี นแบ่งกลุ่ม เลือกศึกษาการแสดงพืน้ บา้ นของแต่ละภาคไดร้ บั อิทธพิ ลทางวฒั นธรรมด้านการ

แสดงมาจากชาติอ่นื โดยวเิ คราะหว์ ่าไดร้ บั อิทธพิ ลในดา้ นใดบา้ ง แล้วจดั ทำเปน็ รูปเล่มรายงานส่งครู
2. กจิ กรรมสำหรับฝึกทักษะผูเ้ รียน
นักเรียนชมการแสดงละครดึกดำบรรพ์ และพจิ ารณาว่าอิทธิพลของการแสดงโอเปรามีผลทำให้ละคร

ดึกดำบรรพ์แตกต่างจากละครในอยา่ งไรบา้ ง

72

10. การวดั และประเมินผล

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

คา่ นิยม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากการปฏบิ ตั ิ 1. สังเกตจากการศึกษาและสรุป

แสดงความคิดเหน็ กจิ กรรมด้วยความ ปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ การ

2. สงั เกตจากการอธบิ ายถึง สนุกสนานและเพลดิ เพลิน เปลย่ี นแปลงนาฏศลิ ป์และ

ปจั จยั ท่มี ผี ลต่อการ 2. สังเกตจากการยอมรบั ละครของไทย

เปลี่ยนแปลงนาฏศลิ ปแ์ ละ ความ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ

ละครไทย คิดเหน็ ของผู้อ่ืนขณะปฏบิ ัติ กิจกรรม

3. จากการตรวจการวัดและ กิจกรรม กลมุ่ รว่ มกบั ผู้อน่ื ได้อยา่ ง

ประเมนิ ผลการเรียนร้ปู ระจำ 3. ประเมนิ พฤติกรรมตาม คล่องแคล่ว

หน่วย แบบ 3. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ

4. จากการตรวจแบบทดสอบ การประเมนิ ผลดา้ น การประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/

หลังเรยี น คุณธรรม จริยธรรม และ กระบวนการ

5. จากการตรวจใบกจิ กรรม คา่ นยิ ม

และใบงาน

11. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบกิจกรรม
2. ใบงาน
3. สถานท่ตี ่าง ๆ เชน่ โรงเรยี น มหาวิทยาลยั ทเี่ ปิดสอนดา้ นนาฏศลิ ป์และการละคร

โรงละคร เปน็ ต้น
4. อนิ เทอร์เนต็
5. หนังสือเรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชน้ั ม. 1 บรษิ ัท สำนักพิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั
6. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชนั้ ม. 1 บริษทั สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 73
การแสดงนาฏศลิ ป์และละคร เวลา 10 ชั่วโมง

ผงั มโนทศั น์เป้าหมายการเรียนรู้

ทกั ษะ/กระบวนการ
– ทักษะการปฏิบตั กิ จิ กรรมเป็นรายบคุ คล
– ทักษะการปฏิบตั ิกจิ กรรมเปน็ กล่มุ
– ทักษะการฟงั พดู อ่าน เขยี น
– การศึกษาค้นควา้ – กระบวนการคิด
– การสงั เกต – การปฏบิ ัติ
– การเคลอ่ื นไหวร่างกาย
– การนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน

การแสดงนาฏศิลป์
และละคร

ภาระงาน/ชน้ิ งาน คุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยม
– การมีเจตคตทิ ี่ดตี ่อการแสดง
– การทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น นาฏศลิ ป์และการละคร
– เหน็ คุณคา่ และความสำคัญของการ
– การศกึ ษาการแสดงนาฏยศพั ท์ ภาษาท่า แสดงนาฏศลิ ป์และการละคร
– ปฏิบัติกจิ กรรมเป็นรายบุคคลและ
และการตีบท ปฏิบัติกจิ กรรมเปน็ กลมุ่ ด้วยความ
ซ่ือสัตย์ ความรบั ผิดชอบ
– ฝึกปฏิบตั กิ ารใชน้ าฏยศพั ท์ ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ – ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งมีมารยาทในการ
ปฏบิ ัติกจิ กรรมรว่ มกับผ้อู ืน่
และการรำตีบท

– ศึกษาการแสดงรำวงมาตรฐาน

– ฝึกปฏบิ ตั ิรำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์วนั เพญ็

– ศึกษาการแสดงเตน้ กำรำเคยี ว

– ฝึกปฏิบัตกิ ารแสดงเต้นกำรำเคยี ว

– ศกึ ษาการเต้นรำจงั หวะวอลตซ์

– ฝึกปฏบิ ตั กิ ารเตน้ รำจงั หวะวอลตซ์

– ใบกจิ กรรม – แผน่ ปา้ ยความรู้

– การจดั ทำรายงาน – การทำโครงงาน

74

ผังการออกแบบการจดั การเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 การแสดงนาฏศิลป์และละคร

ขนั้ ท่ี 1 ผลลพั ธป์ ลายทางทตี่ ้องการใหเ้ กิดขนึ้ กบั นกั เรยี น

ตัวชี้วัดชนั้ ปี

1. ใชน้ าฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละครในการแสดง (ศ 3.1 ม. 1/2)

2. แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละครในรปู แบบงา่ ย ๆ (ศ 3.1 ม. 1/3)

ความเข้าใจทค่ี งทนของนกั เรียน คำถามสำคญั ท่ที ำให้เกดิ ความเขา้ ใจท่ี

นกั เรียนจะเข้าใจว่า... คงทน

1. นาฏยศพั ท์ คือ ศัพทเ์ ฉพาะทางนาฏศลิ ป์ทใี่ ช้ 1. นาฏยศัพทห์ มายถึงอะไร

เรียกท่ารำซึ่งใช้ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ไดแ้ ก่ 2. ภาษาทา่ หมายถึงอะไร

สว่ นศรี ษะ ใบหนา้ ไหล่ สว่ นแขนและมอื ส่วน 3. การตบี ทหมายถงึ อะไร

ลำตัว สว่ นขาและเท้าในการ แสดงนาฏยศพั ท์ 4. รำวงมาตรฐานมีลักษณะการแสดง

2. ภาษาทา่ หมายถึง การแสดงท่าทางแทนคำพูด อยา่ งไร

และใชแ้ สดงใหเ้ หน็ ถึงอารมณ์ความรสู้ กึ ท่ีอยู่ 5. รำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์วันเพญ็ ใช้

ภายใน รวมถงึ กริ ยิ าหรอื อริ ิยาบถต่าง ๆ ทา่ รำอะไรบา้ ง

3. การตบี ท หมายถึง การแสดงทา่ ทางเพ่ือส่ือ 6. การแสดงเต้นกำรำเคียวมลี ักษณะการ

ความหมายตามบทเพลง บทละคร ดว้ ยท่าทาง แสดงอย่างไร

ธรรมดาโดยนำภาษาทา่ มาเรยี บเรียงใหส้ อดคล้อง 7. การเต้นรำจังหวะวอลตซ์มีลกั ษณะการ

กบั บททแี่ สดง แสดงอยา่ งไร

4. รำวงมาตรฐานมีลักษณะการแสดงเป็นคู่หญิงชาย

ตง้ั แต่ 3 คู่ข้ึนไป เวลาแสดงจะเดนิ เป็นวงกลม

ทวนเข็มนาฬกิ า ผู้หญงิ อยู่ข้างหน้า ผู้ชายอยขู่ า้ ง

หลงั ซึ่งผ้ชู ายจะเดินเยือ้ งทางด้านซ้ายไมเ่ ดนิ ตาม

ก้นผูห้ ญงิ

5. รำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทรข์ วญั เพญ็ ใชท้ ่ารำ

แขกเตา้ เขา้ รังและทา่ รำผาลาเพียงไหล่

6. การแสดงเตน้ กำรำเคียวมลี ักษณะการแสดงทแ่ี บง่

ผแู้ สดงออกเปน็ 2 ฝา่ ย คือ ฝา่ ยชายเรียกวา่ พ่อ

เพลง ฝ่ายหญิงเรียกว่าแมเ่ พลง โดยเรมิ่ จากฝา่ ย

ชายรอ้ งเพลงชกั ชวนแม่เพลงออกมาร่ายรำและ

ร้องเพลงดว้ ยกนั ซึง่ ทง้ั 2 ฝ่าย จะร้องเพลงแก้

กนั พรอ้ มกบั รา่ ยรำไปเรอ่ื ย ๆ จนจบเพลง

7. การเตน้ รำจังหวะวอลตซ์เปน็ คู่หญิงกับชายทมี่ ีการ

75

เคลอ่ื นไหวรา่ งกายท่ีสง่างามและนิ่มนวล

ความรูข้ องนกั เรียนท่ีนำไปสู่ความเข้าใจท่ีคงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู่

นักเรยี นจะร้วู ่า... ความเข้าใจทีค่ งทน

1. คำสำคญั ทีค่ วรรู้ ไดแ้ ก่ ภาษาท่า ภาษานาฏศิลป์ นักเรียนจะสามารถ...

การรำตบี ท บทรอ้ ง บทเจรจา และบทพากย์ 1. อธิบายการใช้นาฏยศพั ท์ ภาษาท่าและ

2. นาฏยศพั ทเ์ ปน็ เฉพาะทางนาฏศลิ ปท์ ใี่ ชเ้ รียกท่ารำ การตีบทได้

ซึ่งจะใช้สว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย ได้แก่ สว่ นศีรษะ 2. อธิบายการแสดงรำวงมาตรฐานเพลงดวง

ใบหนา้ ไหล่ สว่ นแขนและมือ สว่ นลำตวั สว่ นขา จนั ทร์วนั เพญ็ ได้

และเท้าในการแสดงนาฏยศัพท์ เชน่ ตัง้ วงบน 3. อธบิ ายการแสดงเตน้ กำรำเคยี วได้

เอียงศรี ษะ จบี หงาย ยกเท้า กดเอว เป็นต้น 4. ศกึ ษาและฝกึ ปฏิบตั กิ ารเต้นรำจังหวะ

3. ภาษาทา่ หมายถงึ การแสดงท่าทางแทนคำพดู วอลตซ์

และใชแ้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ อารมณ์ความรสู้ ึกท่ีอยู่ 5. ปฏบิ ัตินาฏยศัพท์ ภาษาทา่ และการตีบท

ภายใน รวมถึงกริ ยิ าหรอื อิริยาบถต่าง ๆ เชน่ การ และการรำตีบทได้

ส่นั ขอ้ มือหรือส่ายหน้ามคี วามหมายว่า ปฏิเสธ 6. ปฏบิ ตั ิรำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทรว์ นั

การกวักมือมคี วามหมายว่า เรยี ก เปน็ ต้น ส่วน เพญ็ ได้

ภาษานาฏศลิ ป์ คือการสรา้ งสรรค์ท่าทางหรือท่ารำ 7. แสดงท่าทางประกอบบทร้องเพลงเต้นกำ

ทว่ี ิจิตรงดงามเพื่อใช้ส่อื ความหมายแทนคำพูด รำเคยี วได้

อารมณ์ความรสู้ ึกที่อยูภ่ ายใน และใชแ้ สดงกริ ยิ า 8. แสดงการเตน้ รำจังหวะวอลตซไ์ ด้

หรอื อริ ยิ าบถต่าง ๆ เช่น ทา่ พรหมสห่ี นา้ ใชส้ ่ือ

ความหมายแทนคำว่า “ยิ่งใหญ่” เป็นตน้

4. การตบี ท หมายถึง การแสดงท่าทางเพื่อสอ่ื

ความหมายตามบทเพลง บทละคร ดว้ ยทา่ ทาง

ธรรมดาโดยนำภาษาทา่ มาเรียบเรียงให้สอดคล้อง

กบั บทท่ีแสดง ส่วนการรำตีบท หมายถึง การรา่ ย

รำตามบทรอ้ ง บทเจรจา และบทพากย์ ซ่ึงผู้แสดง

และตวั ละครจะใชภ้ าษานาฏศลิ ปใ์ นการรำตบี ท

ส่ิงสำคญั ของการรำตีบท คือ การคำนึงถงึ

ความหมายของบทแล้วแสดงท่ารำใหส้ อดคล้อง

กบั บท นอกจากนผ้ี ูแ้ สดงจะตอ้ งแสดงลีลาและ

อารมณใ์ หก้ ลมกลืนกันด้วย

5. รำวงมาตรฐาน เปน็ การแสดงทางนาฏศิลป์อย่าง

หนงึ่ ทพี่ ัฒนามาจากการเล่นรำวงของชาวบ้าน

เรยี กว่า รำโทน โดยกรมศลิ ปากรพจิ ารณา

76

ปรับปรุงลกั ษณะการเลน่ ให้มีระเบยี บแบบแผน
และเปน็ แบบฉบับอนั ดีงามของนาฏศิลป์ไทย
ดังน้นั กรมศลิ ปากรจึงประพนั ธบ์ ทรอ้ งและ
ทำนองเพลงขึ้นใหม่ พร้อมทัง้ ปรับปรงุ ดนตรี โดย
กำหนดใหใ้ ช้วงป่พี าทยห์ รือวงดนตรีสากลบรรเลง
ประกอบการรำส่วนท่ารำมีการกำหนดแน่นอนว่า
เพลงใดใช้ทา่ รำอะไรบา้ ง
6. รำวงมาตรฐานมีลักษณะการแสดงเปน็ ค่หู ญิงชาย
ตงั้ แต่ 3 คูข่ น้ึ ไป เวลาแสดงจะเดินเป็นวงกลม
ทวนเขม็ นาฬิกา ผู้หญิงอยู่ขา้ งหนา้ ผ้ชู ายอยขู่ า้ ง
หลงั ซง่ึ ผูช้ ายจะเดินเยอื้ งทางด้านซา้ ยไม่เดินตาม
ก้นผ้หู ญงิ
7. การแสดงเต้นกำรำเคียวแต่เดิมเป็นการละเล่น
พน้ื บา้ นทนี่ ยิ มเลน่ กันในฤดูเกบ็ เกีย่ วขา้ วของคน
ไทยในภาคกลาง ต่อมากรมศิลปากรได้ทำการ
ปรบั ปรงุ การละเล่นเตน้ กำรำเคียวไวใ้ นรปู แบบ
ของการแสดงพ้นื บ้านเพ่ือนำไปจดั แสดงในโอกาส
ต่าง ๆ
8. การเตน้ รำจังหวะวอลตซ์เกิดขึ้นคร้ังแรกในแคว้น
สวาเบียก ประเทศเยอรมนี และเรม่ิ แพรห่ ลายไป
ท่วั ยุโรปจนมาถงึ ปัจจบุ นั จงั หวะวอลตซ์เปน็
จงั หวะทอี่ ยู่ในประเภทบอลรูม เวลาเต้นรำจะมี
การเคลื่อนไหวรา่ งกายทสี่ ง่างามและน่ิมนวล
9. จังหวะวอลตซจ์ ะมจี งั หวะชา้ –เรว็ เท่ากนั ตลอด
เพลง ซง่ึ แบง่ เปน็ 3 จังหวะ ใน 1 หอ้ งเพลง
และในการฟังจังหวะให้สงั เกตเสยี งเบสกับเสยี ง
กลอง คอื เสยี ง “พ่มั ” จะตรงกับเสยี งเบส เสียง
“แท๊ก–แท๊ก”จะตรงกับเสียงกลอง เวลาเต้นให้นับ
123 หรือนับตามจำนวนก้าวแตล่ ะสเตป็ ก็ได้ และ
การจบั ค่ใู นการเตน้ รำจังหวะวอลตซ์ จะจับคู่แบบ
บอลรูมเปดิ แต่มบี างท่าจะจบั คู่แบบพรอมมิหนาด
ขน้ั ที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเปน็ หลักฐานทแี่ สดงวา่ นกั เรยี นมผี ลการเรียนรู้
ตามทก่ี ำหนดไว้อย่างแท้จริง

77

1. ภาระงานทน่ี ักเรียนต้องปฏิบตั ิ

– ศกึ ษาและฝึกปฏิบัติการใช้นาฏยศัพท์ ภาษาทา่ และการตบี ท

– ศกึ ษาและฝกึ ปฏบิ ัติการแสดงรำวงมาตรฐานเพลงดวงจนั ทร์วันเพ็ญ

– ศกึ ษาและฝึกปฏิบตั ิการแสดงเต้นกำรำเคยี ว

– ศกึ ษาและฝึกปฏบิ ัติการเต้นรำจังหวะวอลตซ์

2. วิธกี ารและเคร่อื งมือประเมินผลการเรยี นรู้

วธิ ีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ เคร่ืองมือประเมนิ ผลการเรียนรู้

– การทดสอบ – แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน

– การสนทนาซกั ถามโดยครู – แบบบันทกึ ข้อมูลการแสดงความคิดเหน็ และ

– การแสดงความคิดเหน็ และการอภิปราย การอภิปราย

– การฝกึ ปฏบิ ัตริ ะหว่างเรียน – ใบกจิ กรรม

– การประเมนิ ตนเองของนกั เรยี น – แบบประเมนิ สามารถความรู้ดา้ นทกั ษะ

– การประเมนิ ผลดา้ นความรู้ ทางนาฏศิลป์

– การประเมินผลดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม – แบบประเมินผลดา้ นความรู้

และคา่ นิยม – แบบประเมินผลดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม

– การประเมินผลด้านทกั ษะ/กระบวนการ และค่านิยม

– แบบประเมนิ ผลด้านทักษะ/กระบวนการ

3. ส่ิงท่ีมงุ่ ประเมิน

– แสดงนาฏยศพั ท์ ภาษาท่า และการตบี ทได้

– แสดงรำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทรว์ ันเพญ็ ได้

– แสดงการแสดงเต้นกำรำเคียวได้

– แสดงการเต้นรำจงั หวะวอลตซไ์ ด้

ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 นาฏยศัพท์ ภาษาท่า และการตีบท 2 ช่ัวโมง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 14 รำวงมาตรฐาน 3 ช่วั โมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 15 การแสดงเต้นกำรำเคียว 2 ชว่ั โมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 16 การเตน้ รำจงั หวะวอลตซ์ 3 ชั่วโมง

78

แผนการจดั การเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เรอื่ ง การแสดงนาฏศิลป์และละคร เวลา 3 ช่ัวโมง
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 13
รหสั วชิ า ศ21102 เรอ่ื ง นาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ และการตีบท เวลา 2 ช่ัวโมง
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1
ผูส้ อน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวิชา ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ภาคเรยี นที่ 1/2565

สอนวันท.ี่ ....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์

คุณคา่ นาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน

2. ตวั ช้ีวัด
ใชน้ าฏยศพั ทห์ รอื ศพั ท์ทางการละครในการแสดง (ศ 3.1 ม.1/2)

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายนาฏยศพั ท์ ภาษาท่า และการตีบท พร้อมกับยกตัวอยา่ งประกอบได้ (K)
2. การปฏิบตั ิกิจกรรมดว้ ยความสนุกสนานและเพลดิ เพลนิ (A)
3. แสดงนาฏยศัพท์ ภาษาท่า และการตบี ทได้ (P)

4. สาระการเรียนรู้
• นาฏยศัพท์หรือศัพทท์ างการละครในการแสดง
• ภาษาทา่ และการตีบท

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
นาฏยศพั ท์ หมายถงึ ศัพท์เฉพาะทางนาฏศิลป์ท่ีใช้เรยี กท่ารำ ซ่ึงจะใช้สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ได้แก่

สว่ นศรี ษะ ใบหนา้ ไหล่ สว่ นแขนและมอื สว่ นลำตัว ส่วนขา และเท้าในการแสดงนาฏยศัพท์ ภาษาท่า หมายถงึ
การแสดงทา่ ทางแทนคำพูด และใช้แสดงใหเ้ ห็นถึงอารมณ์ความรู้สึกทอี่ ยูภ่ ายใน รวมถึงกิริยาหรืออริ ิยาบถต่าง
ๆ ส่วนภาษานาฏศิลป์ คือการสร้างสรรค์ทา่ ทางหรือทา่ รำท่ีวจิ ิตรงดงามเพื่อใช้ส่อื ความหมายแทนคำพูด
อารมณ์ความรู้สึกทอ่ี ยภู่ ายใน และใชแ้ สดงกริ ยิ าหรืออิรยิ าบถต่าง ๆ การตีบท หมายถึง การแสดงทา่ ทางเพือ่ ส่ือ
ความหมายตามบทเพลง บทละคร ด้วยท่าทางธรรมดาโดยนำภาษาทา่ มาเรียบเรยี งใหส้ อดคล้องกับบทท่ีแสดง
ส่วนการรำตบี ท หมายถึง การร่ายรำตามบทร้อง บทเจรจา และบทพากย์ ซง่ึ ผแู้ สดงหรือตวั ละครจะใช้ภาษา
นาฏศิลปใ์ นการรำตบี ท

79

6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซอ่ื สัตย์สุจริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพียง
6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. จดุ เน้นสกู่ ารพัฒนาผู้เรยี นความสามารถและทกั ษะของผู้เรยี นศตวรรษที่ 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขยี นได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ การคิดอยา่ งมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์และคดิ เชงิ นวัตกรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม
กระบวนการคดิ ข้ามวัฒนธรรม)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงาน
เป็นทีม และภาวะผนู้ ำ)

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทักษะด้านการส่ือสารและ
รู้เท่าทนั ส่ือ)

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์และรเู้ ท่าทนั เทคโนโลยี)

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรยี นรู้)
 C8 – Compassion (มคี ุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมรี ะเบียบวินยั )

80

9. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อประเมินความรู้
2. ครใู ห้นกั เรยี นชมละครรำของไทยจากสื่อวีดิทัศน์ แล้วถามนกั เรียนวา่ การแสดงท่ีนกั เรียนไดช้ มนน้ั มี

ลกั ษณะการแสดงท่าทางอย่างไร นักเรยี นทราบหรือไม่วา่ ท่าทางที่ผู้แสดงแสดงออกมานั้นส่อื ความหมายวา่
อยา่ งไร โดยให้นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ และอภปิ รายตามความรู้ ความเขา้ ใจ และประสบการณ์ตนเอง

3. ครเู ช่อื มโยงส่งิ ที่นกั เรียนตอบกับเรื่องนาฏยศัพท์ ภาษาทา่ และการตบี ท
ขัน้ ที่ 2 ขั้นสอน
1. ครูนำเสนอเนอ้ื หาเรื่อง นาฏยศัพท์ ภาษาท่า และการตีบท ว่านาฏยศพั ทห์ มายถงึ อะไร ภาษาทา่
และการตีบทหมายถึงอะไร และมลี กั ษณะอย่างไร
2. ครใู หน้ กั เรยี นทุกคนฝึกปฏิบัตทิ ่านาฏยศพั ทต์ ามภาพในส่อื การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ สมบูรณ์
แบบ ชั้น ม. 1 บรษิ ทั สำนกั พิมพว์ ัฒนาพานิช จำกัด โดยครูคอยให้คำแนะนำ
3. ครใู หน้ ักเรยี นทุกคนฝกึ ปฏิบัตภิ าษาท่าและภาษานาฏศลิ ปต์ ามภาพในหนังสอื เรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน
ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชั้น ม. 1 บรษิ ทั สำนักพมิ พ์วฒั นาพานิช จำกัด โดยครูคอยให้คำแนะนำ
4. ครใู ห้นักเรยี นทุกคนฝกึ ปฏิบตั กิ ารรำตบี ทตามภาพในสอ่ื การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ สมบูรณแ์ บบ
ช้นั ม. 1 บริษัท สำนกั พมิ พว์ ัฒนาพานิช จำกดั โดยครูคอยให้คำแนะนำ
5. ครใู ห้นกั เรียนแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 6 คน และใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมาแสดงนาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ การรำตี
บทหน้าช้นั เรยี นทีละกลุ่ม
ขั้นท่ี 3 ขั้นสรุป
นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ และอภิปรายสรุปเร่ือง นาฏยศัพท์ ภาษาท่า และการตีบท เปน็
ความคิดของชนั้ เรียน โดยครูคอยให้ความรเู้ สรมิ ในสว่ นทน่ี ักเรียนไม่เข้าใจหรือสรุปไมต่ รงกับจุดประสงคก์ าร
เรียนรู้
ขั้นที่ 4 ฝกึ ฝนผู้เรียน
1. นักเรียนทำใบงานที่ 1 เรื่อง ประเภทของนาฏยศัพท์ โดยใหน้ ักเรยี นศึกษาประเภทของนาฏยศัพท์
แล้วตอบคำถามในใบงานที่ 1 แล้วนำสง่ ครู
2. นักเรยี นปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม นาฏยศัพท์ ภาษานาฏศลิ ป์ และการรำตบี ท โดยให้นกั เรยี นจับคหู่ ญงิ ชาย
แลว้ แบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4 คู่ รว่ มกนั ฝกึ ปฏบิ ตั ิการรำตีบทของตัวพระและตัวนางในระบำเทพบันเทงิ และให้แต่ละ
กลมุ่ ออกมาแสดงหนา้ ชัน้ เรียน และนักเรียนพิจารณาว่าท่ารำที่ฝกึ ปฏิบตั ิแตล่ ะทา่ มีนาฏยศัพท์อะไรบ้าง และมี
ภาษานาฏศิลป์อะไรบ้าง แล้วใหน้ กั เรียนพิจารณาวา่ ภาษานาฏศิลป์แตล่ ะภาพส่ือความหมายวา่ อย่างไร
ขัน้ ที่ 5 การนำไปใช้
นกั เรียนสามารถนำความรเู้ ร่อื ง นาฏยศัพท์ ภาษาทา่ และการตีบท ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการเรียนนาฏศิลป์
ในระดบั สงู ต่อไป และเปน็ พื้นฐานในการฝึกปฏบิ ัติการแสดงนาฏศิลปช์ ุดตา่ ง ๆ

กิจกรรมเสนอแนะ

81

1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพิเศษ
นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 5 คน ร่วมกนั จดั ทำสมดุ ภาพภาษานาฏศลิ ปแ์ ลว้ ออกมานำเสนอผลงานหน้า
ชนั้ เรียน
2. กจิ กรรมสำหรับฝึกทักษะเพ่ิมเตมิ
นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน เลือกวรรณกรรมบทละครประเภทรอ้ ยกรองมา 1 บท และรว่ มกัน
สร้างสรรค์ทา่ รำเพื่อใช้สอื่ ความหมายตามบทละครทเี่ ลอื กมา แลว้ ออกมาแสดงหนา้ ช้นั เรียน

10. การวัดและประเมินผล ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
ด้านความรู้ (K) คา่ นยิ ม (A)
1. สงั เกตจากการแสดง
1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความซ่ือสตั ยใ์ น นาฏยศพั ท์ ภาษาท่า และ
แสดงความคิดเห็น การปฏบิ ตั ิกิจกรรม การตบี ท
2. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ
2. จากการตรวจการวดั และ 2. สังเกตจากความมีน้ำใจและ กิจกรรมรายบคุ คลและ
ประเมนิ ผลการเรยี นร้ปู ระจำ ความเสยี สละในการปฏบิ ัติ ปฏิบตั กิ ิจกรรมร่วมกับ
หนว่ ย กิจกรรมร่วมกบั ผูอ้ ื่น ผู้อนื่ ไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว

3. จากการตรวจแบบทดสอบ 3. สังเกตจากการปฏิบตั ิ
ก่อนเรียน กิจกรรมด้วยความ
สนกุ สนานและเพลดิ เพลิน
4. จากการตรวจใบกิจกรรม

11. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
1. ภาพการแสดงละครไทย
2. ใบกจิ กรรม
3. สถานทต่ี า่ ง ๆ เช่น โรงเรยี น โรงละคร เปน็ ตน้
4. อนิ เทอร์เนต็
5. หนังสอื เรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชั้น ม. 1 บรษิ ัท สำนกั พิมพ์วฒั นาพานิช จำกดั
6. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชาพนื้ ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ช้ัน ม. 1 บรษิ ัท สำนกั พมิ พ์วฒั นาพานิช จำกัด

82

แผนการจดั การเรียนรู้

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เร่อื ง การแสดงนาฏศิลป์และละคร เวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14
รหสั วชิ า ศ21102 เร่อื ง รำวงมาตรฐาน เวลา 1 ช่ัวโมง
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1
ผสู้ อน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ

ภาคเรียนท่ี 1/2565

สอนวันท่ี.....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์

คณุ ค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั

2. ตัวช้ีวดั
1. ใช้นาฏยศัพทห์ รือศพั ท์ทางการละครในการแสดง (ศ 3.1 ม.1/2)
2. แสดงนาฏศิลปแ์ ละละครในรปู แบบงา่ ย ๆ (ศ 3.1 ม.1/1)

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายท่ีมาและลักษณะของการแสดงรำวงมาตรฐานได้ถกู ต้อง (K)
2. อธิบายลกั ษณะทา่ รำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญได้ถูกตอ้ ง (K)
3. ฝกึ ปฏิบตั ริ ำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์วันเพญ็ ด้วยความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ (A)
4. ขบั ร้องเพลงและแสดงท่ารำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญได้ถกู ต้องสวยงาม (P)

4. สาระการเรียนรู้
• รำวงมาตรฐาน
• รปู แบบการแสดงนาฏศิลป์
– นาฏศิลป์

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
รำวงมาตรฐาน เป็นการแสดงทางนาฏศิลปท์ ่ีพฒั นามาจากการเลน่ รำวงของชาวบ้าน ท่ี เรียกวา่ รำโทน

โดยกรมศลิ ปากรได้ประพันธ์บทรอ้ งและทำนองเพลงขน้ึ ใหม่ พรอ้ มท้งั ปรับปรงุ ดนตรี โดยกำหนดใหใ้ ช้วงป่ี
พาทยห์ รือวงดนตรสี ากลบรรเลงประกอบการรำ และกำหนดท่ารำไวใ้ นแตล่ ะเพลง เชน่ เพลงดวงจันทร์วนั เพ็ญ
จะใชท้ ่าแขกเต้าเข้ารงั กบั ทา่ ผาลาเพียงไหล่ เปน็ ตน้ สว่ นลกั ษณะการแสดงจะแสดงเปน็ คู่หญงิ ชายตงั้ แต่ 3 คู่ขึ้น

83

ไป เวลาแสดงจะเดินเปน็ วงกลมทวนเข็มนาฬกิ า ผหู้ ญงิ อยู่ข้างหนา้ ผชู้ ายอยู่ขา้ งหลงั ซงึ่ ผูช้ ายจะเดนิ เยื้องทาง
ดา้ นซา้ ยไม่เดนิ ตามกน้ ผหู้ ญงิ

6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มุ่งม่ันในการทำงาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ

8. จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผเู้ รยี นความสามารถและทกั ษะของผเู้ รยี นศตวรรษท่ี 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขียนได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะการคิดวเิ คราะห์ การคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์และคดิ เชงิ นวัตกรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม
กระบวนการคดิ ข้ามวฒั นธรรม)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงาน
เปน็ ทีม และภาวะผู้นำ)

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทักษะด้านการสื่อสารและ
รู้เทา่ ทนั สือ่ )

84

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และรู้เท่าทนั เทคโนโลย)ี

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรยี นร)ู้
 C8 – Compassion (มีคุณธรรม มคี วามเมตตากรุณา และมีระเบียบวนิ ยั )

9. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั ที่ 1 ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรียน
ครใู ห้นักเรียนชมวดี ทิ ศั น์การแสดงรำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทรว์ นั เพญ็ แล้วถามนักเรยี นว่าการแสดง

รำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์วันเพญ็ มีลักษณะท่ารำอยา่ งไร โดยใหน้ ักเรยี นแสดงความคิดเห็นและอภิปราย
ตามความรู้ ความเขา้ ใจ และประสบการณ์ตนเอง

ขน้ั ที่ 2 ขั้นสอน
1. ครูนำเสนอเนอ้ื หาเร่ือง การแสดงรำวงมาตรฐาน เกี่ยวกับท่มี า เนอ้ื เพลง ลกั ษณะการแสดงและ
ลักษณะทา่ รำวงมาตรฐานเพลงดวงจนั ทร์วนั เพ็ญ โดยใหน้ กั เรียนแสดงความคดิ เหน็ และอภิปรายตามความรู้
ความเข้าใจ และประสบการณต์ นเอง
2. ครใู ห้นกั เรยี นฝกึ ปฏิบัตริ ำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์วนั เพ็ญ ดังน้ี

1) ครูติดแผนภมู เิ พลงดวงจันทรว์ ันเพญ็ บนกระดานดำ แล้วอา่ นเน้ือเพลงใหน้ กั เรยี นฟัง 1 เท่ยี ว
2) ครูอา่ นเน้ือเพลงดวงจนั ทร์วันเพญ็ ใหน้ ักเรยี นฟงั และใหน้ กั เรยี นอา่ นตามจนจำเนื้อเพลงได้
แมน่ ยำ
3) ครูเปดิ เทปบนั ทึกเสยี งเพลงดวงจันทร์วนั เพ็ญ ให้นักเรียนฟงั 1 เทีย่ ว และให้นักเรียนฝึกรอ้ งตาม
พรอ้ มกบั ตบมอื เป็นจังหวะตามไปดว้ ยจนจำเนื้อเพลงและขับรอ้ งได้ถกู ต้องตามจงั หวะเพลง
4) ครสู าธิตท่ารำเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญทลี ะทา่ แล้วให้นักเรียนปฏิบตั ติ ามจนสามารถปฏบิ ตั ิตามได้
(โดยไม่เปิดเทปเพลง)
5) ครูสาธิตทา่ รำเพลงดวงจันทรว์ ันเพ็ญจนจบเพลง แลว้ ให้นักเรียนปฏบิ ตั ิตามจนสามารถปฏบิ ัติตาม
ได้ (โดยไมเ่ ปดิ เทปเพลง)
6) นกั เรียนปฏบิ ัตทิ า่ รำเพลงดวงจนั ทร์วันเพ็ญประกอบการเปดิ เทปบันทึกเสยี งเพลง หลาย ๆ ครงั้
จนเกดิ ความชำนาญ โดยครูคอยดูแลและให้คำแนะนำและแก้ไขข้อบกพร่องเพ่ือให้แสดงท่าทางไดถ้ ูกต้อง
สวยงาม
ขน้ั ที่ 3 ข้ันสรุป
นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็นและอภิปรายสรุปเร่ือง การแสดงรำวงมาตรฐาน เป็นความคิดของช้ัน
เรยี น โดยครคู อยให้ความรู้เสริมในส่วนท่นี ักเรียนไมเ่ ขา้ ใจหรอื สรุปไม่ตรงกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ขนั้ ที่ 4 ฝึกฝนผ้เู รียน
นกั เรียนปฏิบัติ กิจกรรม รำวงมาตรฐานเพลงดวงจนั ทรว์ ันเพ็ญ โดยใหน้ กั เรยี นจบั คหู่ ญิงชายแลว้
แบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4 คู่ ร่วมกันฝกึ ขับรอ้ งเพลงและแสดงทา่ รำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทรว์ ันเพ็ญ พร้อมท้ังขบั

85

ร้องเพลง จากนั้นใหแ้ ตล่ ะกลุ่มออกมาแสดงหนา้ ชัน้ เรยี น และให้นกั เรียนเรียงลำดับท่ารำเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ
ใหถ้ ูกต้อง

ขั้นท่ี 5 การนำไปใช้
นักเรียนสามารถนำ การแสดงรำวงมาตรฐาน ไปแสดงในวนั สำคัญหรือโอกาสต่าง ๆ ได้ เช่น วนั
สงกรานต์ วันลอยกระทง เป็นต้น

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพิเศษ
นักเรยี นทสี่ นใจในชนั้ เรยี นร่วมกนั จดั ฝึกปฏิบัตริ ำวงมาตรฐานและแสดงในโอกาสต่าง ๆ ตามความ

เหมาะสม
2. กิจกรรมสำหรับฝึกทักษะเพิม่ เตมิ
นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 6 คน ศกึ ษาเน้อื เพลงและลักษณะทา่ รำวงมาตรฐานเพลงอน่ื ทนี่ กั เรียนยังไม่

เคยเรยี น 1 เพลง และฝกึ ขบั ร้องเพลงและท่ารำให้เกิดความชำนาญและถูกต้อง จากนน้ั ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ออกมา
แสดงหนา้ ชน้ั เรียน

10. การวดั และประเมินผล

ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)

ค่านยิ ม (A)

1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ 1. สงั เกตจากการขบั ร้องเพลง

แสดงความคดิ เห็น กิจกรรมดว้ ยความ และแสดงทา่ รำวงมาตรฐาน

2. สังเกตจากการอธบิ ายที่มา สนกุ สนานและเพลิดเพลนิ เพลงดวงจันทร์วนั เพ็ญ

ลักษณะการแสดงและ 2. สังเกตจากการชว่ ยเหลอื และ 2. สังเกตจากการปฏบิ ัติ

ลักษณะ การมีความรบั ผิดชอบในการ กิจกรรมรายบุคคลและ

ท่ารำของการแสดงรำวง ปฏบิ ัติกจิ กรรมรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมร่วมกบั ผู้อ่ืน

มาตรฐานเพลงดวงจันทร์วนั 3. สงั เกตการณ์ปฏิบตั ิกจิ กรรม ได้อย่างคล่องแคลว่

เพญ็ อย่างเปน็ ขนั้ ตอนและมี

3. จากการตรวจการวดั และ ระเบียบ

ประเมนิ ผลการเรียนร้ปู ระจำ

หน่วย

4. จากการตรวจใบกจิ กรรม

11. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้
1. ส่ือวดี ิทศั นก์ ารแสดงรำวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์วนั เพ็ญ
2. เทปเพลงดวงจันทรว์ นั เพ็ญและเคร่ืองเล่นเทปเพลง

86

3. ใบกิจกรรม
4. สถานท่ีต่าง ๆ เช่น โรงเรียน บา้ น ศูนย์วัฒนธรรม สถานท่จี ัดการแสดงวัฒนธรรมท้องถ่ิน เปน็ ต้น
5. อินเทอร์เนต็
6. หนงั สอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชั้น ม. 1 บรษิ ทั สำนกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จำกัด
7. แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ชนั้ ม. 1 บริษทั สำนกั พิมพว์ ฒั นาพานชิ จำกัด

87

แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง การแสดงนาฏศิลป์และละคร เวลา 3 ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 15
รหัสวิชา ศ21102 เรือ่ ง การแสดงเต้นกำรำเคยี ว เวลา 2 ชั่วโมง
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1
ผ้สู อน นายวัฒนา ราชจนั คำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ภาคเรียนที่ 1/2565

สอนวันที่.....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์

คุณคา่ นาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ กึ ความคดิ อย่างอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน

2. ตัวช้ีวัด
1. ใช้นาฏยศัพทห์ รอื ศัพทท์ างการละครในการแสดง (ศ 3.1 ม.1/2)
2. แสดงนาฏศิลปแ์ ละละครในรูปแบบง่าย ๆ (ศ 3.1 ม.1/3)

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายทีม่ าและลักษณะการแสดงเต้นกำรำเคยี วได้ (K)
2. ฝกึ ปฏบิ ัติการแสดงเตน้ กำรำเคียวด้วยด้วยความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ (A)
3. ขับรอ้ งเพลงและแสดงท่ารำเต้นกำรำเคยี วได้ถูกต้อง (P)

4. สาระการเรยี นรู้
• ระบำเบ็ดเตล็ด
• รปู แบบการแสดงนาฏศิลป์
– นาฏศิลปพ์ ้ืนบ้าน

5. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การแสดงเตน้ กำรำเคยี วเป็นการละเล่นพืน้ บ้านทน่ี ิยมเล่นกันในฤดูเก็บเกีย่ วขา้ วของคนไทยในภาค

กลาง ตอ่ มากรมศลิ ปากรไดท้ ำการปรบั ปรงุ การละเล่นเต้นกำรำเคียวไว้ในรูปแบบของการแสดงพนื้ บ้านเพื่อ
นำไปจดั แสดงในโอกาสตา่ ง ๆ ซึ่งลกั ษณะการแสดง จะแบง่ ผแู้ สดงออกเปน็ 2 ฝ่าย คือ ฝา่ ยชายเรยี กว่าพอ่ เพลง
ฝา่ ยหญิงเรียกว่าแม่เพลง โดยเริม่ จากฝ่ายชายร้องเพลงชกั ชวนแม่เพลงออกมารา่ ยรำและรอ้ งเพลงดว้ ยกนั ซ่ึง
ทงั้ 2 ฝา่ ย จะร้องเพลงแก้กนั พรอ้ มกับร่ายรำไปเร่ือย ๆ จนจบเพลง

88

6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซอ่ื สัตย์สุจริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อย่อู ย่างพอเพียง
6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. จดุ เน้นสกู่ ารพัฒนาผู้เรยี นความสามารถและทกั ษะของผู้เรยี นศตวรรษที่ 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขยี นได้)

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มที ักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ การคิดอยา่ งมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์และคดิ เชงิ นวัตกรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม
กระบวนการคดิ ข้ามวัฒนธรรม)

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงาน
เป็นทีม และภาวะผนู้ ำ)

⬜ C5 – Communication, Information and Media literacy (ทักษะดา้ นการส่ือสารและ
รู้เท่าทนั ส่ือ)

⬜ C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์และรเู้ ท่าทนั เทคโนโลยี)

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรยี นรู้)
 C8 – Compassion (มคี ุณธรรม มีความเมตตากรุณา และมรี ะเบียบวินยั )

89

9. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขั้นที่ 1 ข้นั นำเขา้ สู่บทเรยี น
ครใู หน้ กั เรียนชมส่ือวดี ิทศั นก์ ารแสดงเต้นกำรำเคียว และถามนกั เรียนว่าการแสดงที่ได้ชมน้ีมีชอ่ื ว่าการ

แสดงอะไร มลี ักษณะการแสดงอยา่ งไร โดยใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เห็นและอภปิ รายตามความรู้ ความเขา้ ใจ
และประสบการณ์ตนเอง

ขั้นท่ี 2 ข้นั สอน
1. ครใู หน้ ักเรยี นศึกษาเน้ือหาเร่ือง การแสดงเต้นกำรำเคียว เกย่ี วกบั ทีม่ า เนื้อเพลง ลักษณะการแสดง
ลักษณะท่ารำ ท่าทางการเคลื่อนไหวทีแ่ สดงส่ือทางอารมณ์ จากหนังสอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์
ชั้น ม. 1 บริษัท สำนกั พิมพ์วฒั นาพานชิ จำกัด จากนน้ั ครูตั้งคำถามและสุ่มให้นักเรยี นตอบคำถาม คนละ 1
คำถาม
2. ครใู ห้นักเรียนฝกึ ปฏบิ ัติการแสดงเตน้ กำรำเคยี ว ดงั น้ี

1) ครตู ดิ แผนภมู ิเพลงเตน้ กำรำเคยี ว บนกระดานดำ แลว้ อา่ นเนอื้ เพลงใหน้ ักเรียนฟัง 1 เที่ยว
2) ครูอ่านเนื้อเพลงเต้นกำรำเคยี ว ให้นกั เรยี นฟัง และให้นกั เรยี นอ่านตามจนจำเนื้อเพลงไดแ้ ม่นยำ
3) ครูเปดิ เทปบันทึกเสยี งเพลงเตน้ กำรำเคียว ให้นกั เรียนฟงั 1 เที่ยว และใหน้ กั เรียนฝึกรอ้ งตาม
พร้อมกบั ตบมือเป็นจงั หวะตามไปด้วยจนจำเนอื้ เพลงและขับร้องได้ถูกต้องตามจังหวะเพลง
4) ครสู าธิตทา่ รำเพลงเต้นกำรำเคียวทลี ะท่า แล้วใหน้ กั เรียนปฏิบัตติ ามจนสามารถปฏิบตั ิตามได้
(โดยไมเ่ ปดิ เทปเพลง)
5) ครสู าธติ ทา่ รำเพลงเตน้ กำรำเคียวจนจบเพลง แล้วให้นักเรียนปฏบิ ตั ติ ามจนสามารถปฏิบตั ิตามได้
(โดยไม่เปิดเทปเพลง)
6) นกั เรยี นปฏบิ ตั ทิ า่ รำเต้นกำรำเคยี วประกอบการเปดิ เทปบันทกึ เสียงเพลงหลาย ๆ ครัง้ จนเกดิ
ความชำนาญ โดยครคู อยดแู ลและให้คำแนะนำและแกไ้ ขข้อบกพร่องเพื่อให้แสดงท่าทางไดถ้ ูกต้องสวยงาม
ขน้ั ที่ 3 ข้นั สรุป
นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็นและอภปิ รายสรุปเรื่อง การแสดงเต้นกำรำเคียว เปน็ ความคดิ ของชน้ั
เรยี น โดยครคู อยให้ความรู้เสรมิ ในส่วนท่นี ักเรียนไม่เขา้ ใจหรอื สรปุ ไม่ตรงกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ขนั้ ท่ี 4 ฝึกฝนผู้เรยี น
นกั เรียนปฏิบัติ กิจกรรม การแสดงเต้นกำรำเคียว โดยใหน้ ักเรียนจับคู่หญงิ ชายแล้วแบง่ กล่มุ กลุ่มละ 4
คู่ รว่ มกบั ฝึกท่ารำเต้นกำรำเคียวพร้อมท้ังขับร้องเพลง จากน้นั ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มออกมาแสดงหนา้ ช้นั เรยี นและให้
นักเรียนพจิ ารณาท่าเตน้ กำรำเคียวในแตล่ ะภาพวา่ ควรจะนำเนื้อเพลงเต้นกำรำเคียวเพลงใดมาใส่
ขั้นท่ี 5 การนำไปใช้
นักเรียนสามารถนำ การแสดงเต้นกำรำเคยี ว ไปแสดงในวันสำคัญหรอื โอกาสต่าง ๆ ได้ เชน่ วันปีใหม่
วันสงกรานต์ เป็นตน้ และนำความรู้ไปเป็นพ้ืนฐานในการเรียนนาฏศลิ ป์ในระดบั ต่อไปได้

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ

90

นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 5 คน รว่ มกันจัดทำแผน่ ป้ายความรเู้ กี่ยวกบั ระบำเบ็ดเตล็ด และใหแ้ ตล่ ะ
กลมุ่ ออกมานำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น

2. กจิ กรรมสำหรบั ฝึกทักษะเพิ่มเติม
นักเรียนทุกคนในช้ันเรียนรว่ มกันจดั การแสดงเตน้ กำรำเคยี วในงานวันเดก็ หรือวนั สำคญั ทท่ี างโรงเรียน
จัดขน้ึ

10. การวัดและประเมินผล ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
ด้านความรู้ (K) ค่านยิ ม (A)
1. สงั เกตจากการขบั ร้องเพลง
1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความมนี ำ้ ใจและ และแสดงทา่ รำเตน้ กำรำเคียว
แสดงความคิดเห็น ความเสียสละในการปฏบิ ัติ
กิจกรรมรว่ มกับผู้อนื่ 2. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ
2. สังเกตจากการอธิบายที่มา กจิ กรรมกลมุ่ ร่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้
และลกั ษณะการแสดงเตน้ กำรำ 2. สงั เกตจากการปฏบิ ตั ิ อย่างคลอ่ งแคลว่
เคียว กจิ กรรมดว้ ยความ
3. สงั เกตจากการอธบิ าย สนกุ สนานและเพลดิ เพลนิ
ลักษณะทา่ รำและท่าทางการ
เคลือ่ นไหวที่แสดงส่อื ทาง
อารมณ์ในการแสดงเต้นกำรำ
เคียว
4. จากการตรวจการวดั และ

ประเมนิ ผลการเรียนรู้ประจำ
หนว่ ย
5. จากการตรวจใบกิจกรรม

11. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
1. ส่อื วีดิทัศนก์ ารแสดงเต้นกำรำเคียว
2. เทปเพลงเต้นกำรำเคียวและเครื่องเลน่ เทปเพลง
3. ใบกิจกรรม
4. สถานท่ีต่าง ๆ เชน่ โรงเรยี น ศนู ย์วัฒนธรรม และสถานท่ีจดั การแสดงวัฒนธรรมท้องถนิ่ เป็นตน้
5. อินเทอรเ์ นต็
6. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพื้นฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ช้นั ม. 1 บรษิ ทั สำนกั พิมพ์วฒั นาพานิช จำกัด
7. แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ชั้น ม. 1 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานชิ จำกดั

91

แผนการจดั การเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 เร่ือง การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร เวลา 3 ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 16
รหัสวชิ า ศ21102 เรือ่ ง การเตน้ รำจงั หวะวอลตซ์ เวลา 3 ช่ัวโมง
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1
ผู้สอน นายวัฒนา ราชจันคำ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ

ภาคเรยี นที่ 1/2565

สอนวันที.่ ....................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์

คุณค่านาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั

2. ตวั ช้ีวดั
แสดงนาฏศลิ ป์และละครในรูปแบบง่าย ๆ (ศ 3.1 ม.1/3)

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายถงึ ทีม่ า การนับจังหวะในการเตน้ การจับคู่ในการเต้นและลกั ษณะของการเตน้ รำ

จังหวะวอลตซท์ ่าโคลส เชนจไ์ ด้ (K)
2. ฝึกปฏิบัตกิ ารเตน้ รำจงั หวะวอลตซด์ ว้ ยความสนุกสนานเพลิดเพลิน (A)
3. เตน้ รำจงั หวะวอลตซท์ ่าโคลส เชนจไ์ ด้ถูกตอ้ ง (P)

4. สาระการเรยี นรู้
• รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์
– นาฏศิลปน์ านาชาติ

5. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
การเตน้ รำจงั หวะวอลตซเ์ กิดขึ้นคร้งั แรกในแคว้นสวาเบยี ก ประเทศเยอรมนี และเริม่ แพร่หลายไปทัว่

ยโุ รปจนมาถึงปัจจุบัน จังหวะวอลตซเ์ ปน็ จงั หวะท่ีอยใู่ นประเภทบอลรูม เวลาเตน้ รำจะมีการเคลอื่ นไหวรา่ งกาย
ทีส่ ง่างามและนม่ิ นวล ซงึ่ จงั หวะวอลตซ์จะมจี งั หวะชา้ –เรว็ เทา่ กนั ตลอดเพลง ซึ่งแบ่งเป็น 3 จงั หวะ ใน 1 ห้อง
เพลง และในการฟงั จังหวะให้สงั เกตเสียงเบสกับเสยี งกลอง คือ เสยี ง “พม่ั ” จะตรงกับเสยี งเบส เสยี ง “แทก๊ –
แทก๊ ” จะตรงกับเสยี งกลอง เวลาเตน้ ให้นับ 123 หรือนับตามจำนวนก้าวแตล่ ะสเตป็ กไ็ ด้ และการจบั คู่ในการ
เตน้ รำจังหวะวอลตซ์ จะจบั คู่แบบบอลรมู เปิด แตม่ บี างทา่ จะจับคแู่ บบพรอมมหิ นาด สว่ นการเร่ิมฝกึ หัดการ

92

เตน้ รำจงั หวะวอลตซ์ ผูฝ้ กึ หดั จะเริม่ เตน้ รำท่าโคลส เชนจ์ เป็นทา่ แรก เพราะถือเปน็ ทา่ พ้ืนฐานและเป็นทา่ ที่ใช้
เชอื่ มต่อยังท่าอนื่ ๆ

6. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซือ่ สตั ย์สจุ รติ
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อย่อู ย่างพอเพยี ง
6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ

8. จุดเน้นส่กู ารพฒั นาผ้เู รยี นความสามารถและทักษะของผเู้ รียนศตวรรษที่ 21 (3R 8C)

⬜ R1– Reading (สามารถอ่านออก)

⬜ R2– (W)Riting (สามารถเขยี นได)้

⬜ R3 – (A)Rithmetic (มีทักษะการคำนวณ)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอยา่ งมี
วิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะการคิดสร้างสรรคแ์ ละคิดเชิงนวตั กรรม)

⬜ C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะความเข้าใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม
กระบวนการคิดข้ามวฒั นธรรม)

⬜ C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงาน
เป็นทมี และภาวะผู้นำ)

 C5 – Communication, Information and Media literacy (ทักษะดา้ นการส่ือสารและ
รเู้ ท่าทันสอ่ื )

 C6 - Computing and IT Literacy (ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์และรู้เท่าทันเทคโนโลยี)

93

⬜ C7 - Career and Learning skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นร)ู้
 C8 – Compassion (มคี ุณธรรม มคี วามเมตตากรุณา และมีระเบยี บวนิ ัย)

9. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นท่ี 1 ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรยี น
ครูใหน้ ักเรียนชมสอื่ วีดิทัศนก์ ารเตน้ รำจงั หวะวอลตซ์ และถามนักเรยี นวา่ การแสดงทชี่ มนี้มชี อ่ื วา่ การ

แสดงอะไร มีลักษณะการแสดงอย่างไร โดยให้นักเรยี นแสดงความคิดเห็นและอภปิ รายตามความรู้ ความเขา้ ใจ
และประสบการณ์ตนเอง

ขัน้ ท่ี 2 ข้ันสอน
1. ครนู ำเสนอเนือ้ หาเร่ือง การเตน้ รำจงั หวะวอลตซ์ เก่ียวกับทมี่ า การนับจังหวะในการเต้น การจับค่ใู น
การเต้น และลกั ษณะของการเตน้ รำจงั หวะวอลตซท์ ่าโคลส เชนจ์
2. ครใู หน้ กั เรยี นฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารเต้นรำจงั หวะวอลตซท์ า่ โคลส เชนจ์ ดงั นี้

1) นักเรยี นดคู รสู าธติ การเตน้ รำจงั หวะวอลตซท์ ่าโคลส เชนจ์ และปฏิบัตติ ามทลี ะจังหวะ
2) นักเรียนดคู รูสาธิตการเต้นรำจงั หวะวอลตซ์ทา่ โคลส เชนจ์ และปฏบิ ตั ติ าม โดยเปดิ เทปเพลง
ประกอบการเต้นดว้ ย
3) นักเรียนปฏิบตั กิ ารเตน้ รำจังหวะวอลตซ์ทา่ โคลส เชนจ์ โดยเปดิ เทปเพลงประกอบการเต้นด้วย
หลาย ๆ ครง้ั จนเกดิ ความชำนาญ โดยครคู อยดูแลและให้คำแนะนำและแก้ไขข้อบกพร่องเพอ่ื ให้แสดงท่าทางได้
ถูกต้องสวยงาม
ขัน้ ที่ 3 ขน้ั สรุป
นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ และอภปิ รายสรปุ เร่ือง การเตน้ รำจังหวะวอลตซ์ เป็นความคิดของ
ช้นั เรยี น โดยครคู อยให้ความรู้เสรมิ ในสว่ นทีน่ ักเรียนไม่เข้าใจหรือสรุปไม่ตรงกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ขนั้ ที่ 4 ฝกึ ฝนผเู้ รยี น
1. นกั เรยี นปฏิบัติ กิจกรรม การเต้นรำจังหวะวอลตซ์ โดยให้นักเรียนจบั คู่หญิงชายแล้วฝึกการเตน้ รำ
จงั หวะวอลตซท์ ่าโคลส เชนจ์ แล้วแบง่ กล่มุ กลุ่มละ 5 คู่ แล้วออกมาแสดงหน้าช้ันเรยี นทีละกลุ่ม และอธบิ ายท่า
เต้นรำของผู้ชายและผหู้ ญิง
2. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน
3. ใหน้ ักเรียนทำโครงงานตามความสนใจ
ขั้นที่ 5 การนำไปใช้
นักเรียนสามารถนำ การเตน้ รำจังหวะวอลตซ์ ไปแสดงในวันสำคญั หรือโอกาสต่าง ๆ ได้ เช่น วันปใี หม่
งานวนั เกิด เป็นตน้ และนำความรไู้ ปเปน็ พื้นฐานในการเรยี นนาฏศลิ ป์ในระดบั ต่อไปได้

กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพิเศษ

94

นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน รว่ มกันศึกษานาฏศิลป์นานาชาติทสี่ นใจมากลุ่มละ 1 การแสดง และ
จัดทำเปน็ แผน่ ป้ายความรู้ จากนัน้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมาแสดงหน้าชั้นเรียน

2. กจิ กรรมสำหรับฝึกทักษะเพมิ่ เติม
นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ศกึ ษาการเตน้ รำจังหวะวอลตซ์ทา่ อ่ืน ๆ และฝึกเต้นรำให้เกิดความ
ชำนาญและถูกต้อง จากน้นั ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ออกมาแสดงหน้าช้ันเรียน

10. การวดั และประเมินผล

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

คา่ นิยม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความซ่ือสตั ย์ใน 1. สงั เกตจากการเตน้ รำจงั หวะ

แสดงความคิดเหน็ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม วอลตซท์ า่ โคลส เชนจ์

2. สังเกตจากการอธิบายถึงการ 2. สงั เกตจากการปฏบิ ัติ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ

เตน้ รำจังหวะวอลตซ์ กจิ กรรมด้วยความ กิจกรรมกลมุ่ ร่วมกับผ้อู น่ื ได้

สนกุ สนานและเพลิดเพลิน อย่างคลอ่ งแคลว่

3. จากการตรวจการวดั และ 3. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ 3. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ

ประเมนิ ผลการเรียนรปู้ ระจำ การประเมนิ ผลดา้ นคุณธรรม การประเมนิ ผลด้านทักษะ/

หน่วย จริยธรรม และค่านิยม กระบวนการ

4. จากการตรวจแบบทดสอบ

หลังเรียน

5. จากการตรวจใบกจิ กรรม

11. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. สอ่ื วดี ิทัศน์การแสดงการเต้นรำจังหวะวอลตซ์
2. เทปเพลงจงั หวะวอลตซแ์ ละเคร่ืองเล่นเทปเพลง
3. ใบกจิ กรรม
4. สถานที่ต่าง ๆ เช่น โรงเรียน โรงละคร เปน็ ต้น
5. ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ นนาฏศลิ ป์นานาชาติ
6. อนิ เทอรเ์ น็ต
7. หนงั สอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ช้ัน ม. 1 บริษทั สำนกั พิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด
8. แบบฝึกทักษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ช้นั ม. 1 บริษัท สำนกั พิมพว์ ัฒนาพานชิ จำกดั

95

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 6
การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง

เวลา 5 ช่ัวโมง

ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรยี นรู้

ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ
– การเปน็ นักแสดงและผชู้ ม – ทกั ษะการฟัง พดู อ่าน เขียน
– การวจิ ารณ์การแสดงของนักแสดง – การศกึ ษาคน้ ควา้
– การจดั การแสดง – กระบวนการคิด
– การวเิ คราะห์
– การนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั

การจัดการแสดง
และการวิจารณ์

การแสดง

ภาระงาน/ช้นิ งาน คุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม
– เหน็ คณุ คา่ และความสำคญั ของการ
– การทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละครของไทย
– ปฏบิ ัติกจิ กรรมเปน็ รายบุคคลและ
– ศกึ ษาความหมาย การปฏบิ ัตติ นของนักแสดงและผชู้ ม ปฏิบตั กิ จิ กรรมเป็นกล่มุ ดว้ ยความ
ซ่อื สัตย์ ความรับผิดชอบ
– สรปุ และอธิบายความหมาย การปฏบิ ตั ิตนของนกั แสดงและผชู้ ม – ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการ
ปฏิบัตกิ ิจกรรมร่วมกับผูอ้ ื่น
– เขียนเลา่ ประวัติ ผลงานการแสดง และฝีมือการแสดงของ

นักแสดงทน่ี ักเรยี นชนื่ ชอบ

– อธิบายอทิ ธิพลของนักแสดงทมี่ ีผลตอ่ พฤตกิ รรมของผชู้ ม

– ศกึ ษาหลักการวจิ ารณก์ ารแสดงของผู้แสดง

– สรปุ และอธบิ ายหลกั การวจิ ารณ์การแสดงของผูแ้ สดง

– เลือกวจิ ารณ์การแสดงของนกั แสดงละครโทรทัศน์

– ศกึ ษาบทบาทหนา้ ท่แี ละการดำเนินงานของการจัดการแสดง

– สรุปและอธิบายบทบาทหนา้ ท่ขี องแต่ละฝา่ ยในการจดั การแสดง

– สรุปและอธิบายข้นั ตอนการดำเนนิ งานของการจัดการแสดง

– จดั กิจกรรมการแสดงเพ่อื เผยศลิ ปะการแสดงของไทย

– ใบกิจกรรม – แผ่นปา้ ยความรู้

– การจดั ทำรายงาน – การทำโครงงาน

96

ผงั การออกแบบการจดั การเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6 การจดั การแสดงและการวจิ ารณ์การแสดง

ข้นั ที่ 1 ผลลัพธป์ ลายทางทตี่ ้องการให้เกดิ ข้นึ กับนักเรียน

ตวั ชี้วดั ช้นั ปี

1. อธิบายอทิ ธิพลของนักแสดงช่อื ดังที่มผี ลต่อการโน้มนา้ วอารมณ์หรือความคิดเห็นของผชู้ ม

(ศ 3.1 ม. 1/1)

2. ใชท้ กั ษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง (ศ 3.1 ม. 1/4)

3. ใชเ้ กณฑง์ า่ ย ๆ ทก่ี ำหนดใหใ้ นการพจิ ารณาคุณภาพการแสดงท่ชี มโดยเน้นการใชเ้ สยี ง การแสดง

ท่าและการเคล่ือนไหว (ศ 3.1 ม. 1/5)

ความเข้าใจท่คี งทนของนักเรียน คำถามสำคัญท่ีทำให้เกดิ ความเขา้ ใจทค่ี งทน

นักเรียนจะเข้าใจวา่ ...

1. นกั แสดง คอื ผทู้ ส่ี วมบทบาทเป็นตัวละคร เพ่อื 1. อธบิ ายความหมายและการปฏบิ ตั ิตนของนักแสดง

ถ่ายทอดเรื่องราวและความคิดในบทละครให้ผชู้ ม 2. อธิบายความหมายและการปฏิบตั ิตนของผชู้ ม

ได้รบั รู้ ซ่ึงการปฏบิ ัตติ นเป็นนกั แสดงที่ดีนนั้ 3. ผ้วู ิจารณ์ความมีลักษณะอยา่ งไร และการวจิ ารณ์

จะต้องตระหนักถึงหน้าทีแ่ ละความรับผดิ ชอบต่อ การแสดงของผูแ้ สดงจะพจิ าณาคุณค่าดา้ นการ

อาชพี ของตนและผู้ชม และปฏบิ ตั ิตนเปน็ แสดงอย่างไรบ้าง

แบบอย่างทด่ี ีต่อผู้ชม 4. การจักการแสดงจะแบ่งหน้าท่อี อกเป็นกฝี่ า่ ย

2. ผชู้ ม คอื ผู้ท่ชี มการแสดงแลว้ บอกให้ผ้สู รา้ ง 5. ข้ันตอนในการดำเนินการจัดการแสดงมีอะไรบา้ ง

สรรคแ์ ละนักแสดงรูว้ ่าการแสดงท่จี ัดข้นึ น้นั ดี

หรอื ไม่ อย่างไร บทบาทของนกั แสดงน้ันเปน็

อย่างไร และสิ่งที่ผชู้ มควรปฏบิ ัติคือมีมารยาทท่ีดี

ในการชมการแสดง

3. การวิจารณ์การแสดงของนักแสดงนั้น ผู้วจิ ารณ์

จะตอ้ งมีความเท่ียงตรง ไม่มอี คติกบั นกั แสดง

และมเี หตผุ ลในการรองรับขอ้ ติที่ตนเองกล่าวด้วย

ส่วนการวจิ ารณ์จะพจิ ารณาถงึ คุณคา่ การแสดง

ของนักแสดง คือ พจิ ารณาว่านักแสดงมศี ักยภาพ

ดา้ นทักษะการแสดงไมว่ า่ จะเป็นการพูด การ

แสดงสีหนา้ ทา่ ทาง การเคล่อื นไหวรา่ งกายทสี่ ม

บทบาทหรือไม่ และถูกต้องสวยงามอยา่ งไรบ้าง

4. การแบ่งหนา้ ท่ีในการจดั การแสดงจะแบง่

ออกเป็น

3 ฝ่าย คือ 1) ฝ่ายอำนวยการแสดง 2) ฝ่าย


Click to View FlipBook Version