The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม ได้ดำเนินการจัดทำคู่มือการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 ขึ้น เพื่อเป็นเอกสารการดำเนินการด้านการเรียนการสอนสำหรับคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยนครพนม ซึ่งเนื้อหาของคู่มือประกอบด้วย ระเบียบ ข้อบังคับ และ ประกาศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาตามประกาศมหาวิทยาลัย

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 เล่มนี้ จะช่วยให้คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ได้ใช้ประโยชน์ในการวางแผนงานและการปฏิบัติตนให้เกิดความพร้อมในการทำงาน และการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by VUTTIGON PRAPHATSARANG, 2021-07-16 04:41:51

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ประจำปีการศึกษา 2564

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม ได้ดำเนินการจัดทำคู่มือการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 ขึ้น เพื่อเป็นเอกสารการดำเนินการด้านการเรียนการสอนสำหรับคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยนครพนม ซึ่งเนื้อหาของคู่มือประกอบด้วย ระเบียบ ข้อบังคับ และ ประกาศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาตามประกาศมหาวิทยาลัย

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 เล่มนี้ จะช่วยให้คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ได้ใช้ประโยชน์ในการวางแผนงานและการปฏิบัติตนให้เกิดความพร้อมในการทำงาน และการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม

Keywords: มหาวิทยาลัยนครพนม,Nakhon Phanom University

1

คมู่ ือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจำ�ปกี ารศึกษา 2564

2

3

คูม่ อื การศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยนครพนม

ประจำ�ปกี ารศึกษา 2564

คำ�น�ำ

กองสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลยั นครพนม ไดด้ ำ� เนนิ การจดั ทำ� คมู่ อื การศกึ ษา ประจำ� ปกี าร
ศกึ ษา 2564 ขึน้ เพือ่ เป็นเอกสารการด�ำเนินการดา้ นการเรยี นการสอนสำ� หรับคณาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนกั ศกึ ษา
ของมหาวทิ ยาลัยนครพนม ซง่ึ เนอื้ หาของคูม่ อื ประกอบด้วย ระเบียบ ขอ้ บังคับ และ ประกาศต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องใน
การจดั การศึกษาตามประกาศมหาวทิ ยาลยั
กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการศึกษา ประจ�ำปี
การศึกษา 2564 เล่มน้ี จะช่วยให้คณาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนักศึกษา ได้ใช้ประโยชน์ในการวางแผนงานและการ
ปฏบิ ตั ติ นให้เกดิ ความพร้อมในการท�ำงาน และการศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลยั นครพนม

4

คุณลักษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ ของมหาวิทยาลยั นครพนม

1) มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม รบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและสงั คม
2) มคี วามรู้และทักษะในสาขาวชิ าที่ศึกษา มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์อยา่ งเปน็ ระบบ
3) รจู้ กั พัฒนาตนเอง ตดิ ตามความกา้ วหน้าทางวิชาการ มคี วามคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์มคี วามสนใจใฝร่ ู้
4) มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ มีความสามัคคีในหมู่คณะ
5) มีความสามารถในการใชภ้ าษาไดเ้ ป็นอย่างดี และทกั ษะภาษาอังกฤษ รวมทงั้ ทักษะภาษาในประเทศอนภุ ูมภิ าค
ลมุ่ น�้ำโขง
6) มคี วามรูพ้ น้ื ฐานทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศทจี่ ะใช้งานได้ดี
7) มคี วามรู้ ความสามารถทางด้านดนตรี กีฬา ศลิ ปะ หรอื วรรณกรรม

5

คมู่ ือการศึกษา มหาวทิ ยาลยั นครพนม

ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2564
University of Societal Creativity

6

“มหาวทิ ยาลัยนครพนม” มหาวิทยาลยั แห่งการสร้างสรรค์สังคมพหุวัฒนธรรม

7

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม สารบญั

ปปรระะจจำ�ำ�ปปีกกี าารรศศกึกึ ษษาา22556644

4 ค�ำน�ำ
5 คณุ ลักษณะของบณั ฑิตทพ่ี ึงประสงค์ มหาวิทยาลยั นครพนม
10 ทีน่ ี้ “มหาวทิ ยาลัยนครพนม”

16 ปฏทิ ินการศึกษา ระดับอาชวี ศกึ ษา ประจ�ำปกี ารศึกษา 2564
19 ปฏิทินการศกึ ษา ระดับปริญญาตรี ประจำ� ปีการศึกษา 2564
23 หน่วยงานภายในมหาวิทยาลยั นครพนม
24 คณะเกษตรและเทคโนโลยี
25 คณะครุศาสตร์
26 คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม
28 คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
29 คณะวทิ ยาศาสตร์
30 คณะวิศวกรรมศาสตร์
31 คณะศลิ ปศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์
32 วิทยาลัยการทอ่ งเที่ยวและอตุ สาหกรรมบริการ
33 วทิ ยาลัยการบินนานาชาติ
34 วิทยาลยั เทคโนโลยอี ุตสาหกรรมศรสี งคราม
35 วทิ ยาลัยธาตพุ นม
36 วทิ ยาลยั นาหวา้
37 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครพนม
38 ระเบยี บ ขอ้ บังคบั และประกาศ มหาวทิ ยาลัยนครพนม
38 ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนมวา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาและการประเมนิ ผลการศกึ ษาตาม
หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี พ.ศ. 2563
55 ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาและการประเมนิ ผลการศกึ ษาตาม
หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2564
57 ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนมวา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาและการประเมนิ ผลการศกึ ษาตาม
หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชัน้ สงู พ.ศ. 2563
74 ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนมวา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาและการประเมนิ ผลการศกึ ษาตาม
7 6 8 รหะเลบกั ียสบตู มรหปารวะทิ กยาาศลนยั ยี นบคัตรรพวชินามชวพี ่าชดนั้ ว้ สยงู ก(าฉรบศบั กึ ทษี่ า2ร)ะพดบั.ศป.ร2ญิ 56ญ4าตรี พ.ศ. 2562

สารบญั ต่อ คูม่ อื การศึกษา มหาวทิ ยาลยั นครพนม

ประจำ�ปีการศึกษา 2564

96 ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี (ฉบบั ท2ี่ ) พ.ศ. 2564
106 ระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม ว่าดว้ ยกิจการนักศึกษา พ.ศ. 2551
125 ระเบยี บมหาวิทยาลัยนครพนม วา่ ด้วยวินัยนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2553
129 ระเบยี บมหาวิทยาลัยนครพนม วา่ ด้วยการแต่งกายของนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2563
134 ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ยเครอ่ื งแบบ เครอื่ งหมายหรอื เครอื่ งแตง่ กาย นกั ศกึ ษา
ระดบั ต่ำ� กวา่ ปริญญาตรี พ.ศ. 2552
136 ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยนครพนม ว่าด้วยการสอบประจำ� ภาคของนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2551
140 ระเบียบมหาวิทยาลยั นครพนม วา่ ด้วย การเกบ็ เงนิ คา่ หนว่ ยกติ คา่ ธรรมเนียมการศึกษา
และค่าธรรมเนียมอ่นื ๆ ของการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรแี ละบณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2562
145 ประกาศมหาวทิ ยาลยั นครพนม เรอื่ ง บญั ชแี นบทา้ ยระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ย
การเก็บ เงนิ คา่ หน่วยกติ คา่ ธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนยี มอ่นื ๆ ของการศึกษา
ระดับปรญิ ญาตรี และบณั ฑติ ศึกษา (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) พ.ศ. 2564
148 ประกาศมหาวิทยาลยั นครพนม เรือ่ ง ก�ำหนดอตั ราค่าบำ� รุงและคา่ ธรรมเนียมการศึกษา
ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) และประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู (ปวส.)
150 ประกาศมหาวิทยาลัยนครพนม เรื่องการเก็บเงนิ คา่ ธรรมเนยี มการศึกษา ๆ ของหลกั สูตร
ปริญญาตรี พ.ศ. 2554
151 ประกาศมหาวทิ ยาลยั นครพนม เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละแนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การตรวจสอบ
ระดับคะแนน
152 ประกาศมหาวิทยาลัยนครพนม เรอื่ ง หลักเกณฑ์และแนวปฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั การจดั การศึกษา
รายวชิ าสหกจิ ศกึ ษา มหาวิทยาลยั นครพนม พ.ศ. 2554

ภาคผนวก
156 หนว่ ยงานท่ีให้บรกิ ารด้านการศกึ ษา
171 คุณสมบัติของผู้ก้ยู มื เงิน กองทนุ ใหก้ ู้ยืมเพอื่ การศึกษา (กยศ.)

9

คมู่ ือการศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจำ�ปีการศกึ ษา 2564

ท่ีนิี่ “มหาวทิ ยาลยั นครพนม”

เจตนารมณ์ในการจัดต้ังมหาวิทยาลัยนครพนม นอกจากจะเป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษา
ทั้งในระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษาแก่ประชาชนในจังหวัด
ให้ได้ศึกษาเพิ่มข้ึนแล้ว ยังเป็นจุดเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาค
ลุ่มน้�ำโขง ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม อันจะส่งผลต่อการเสริมสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาค
ดังน้ันในการประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 24 กันยายน 2545 จึงเห็นชอบในหลักการให้มีการจัดต้ัง
มหาวิทยาลัยนครพนม โดยให้หลักการหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีอยู่ เพ่ือเป็นการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่
ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและให้แต่งต้ังคณะกรรมการเตรียมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยนครพนม ตั้งแต่วันที่ 30
ตุลาคม 2545 เพ่ือด�ำเนินการยกร่างโครงการจัดท�ำแผนแม่บทและร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย เสนอ
ต่อท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี และเห็นชอบโครงการน�ำร่องจัดต้ังมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2547 และมี
พระราชบัญญัตมิ หาวทิ ยาลัยนครพนม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับท่ี 122 วันท่ี 1 กันยายน 2548

หน่วยงานภายในมหาวทิ ยาลยั นครพนม

1. หน่วยงานทจ่ี ดั ตัง้ ตามกฎกระทรวงจดั ต้ังสว่ นราชการในมหาวิทยาลัยนครพนม
กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2555

1.1 สํานกั งานอธกิ ารบด ี 1.6 สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา
1.2 คณะเกษตรและเทคโนโลยี 1.7 สํานกั วิทยบรกิ าร
1.3 คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม 1.8 วทิ ยาลัยธาตพุ นม
1.4 คณะวิทยาการจดั การและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1.9 วทิ ยาลยั นาหว้า
1.5 คณะศลิ ปศาสตรและวิทยาศาสตร์ 1.10 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครพนม

2. หนว่ ยงานท่จี ัดตง้ั ตามประกาศของสภามหาวิทยาลัยนครพนม

2.1 คณะครศุ าสตร ์ 2.6 ส�ำนักงานสภามหาวทิ ยาลัย
2.2 คณะวิทยาศาสตร์ 2.7 วทิ ยาลยั การบนิ นานาชาต ิ
2.3 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 2.8 โรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลยั นครพนม พนมพทิ ยพฒั น์
2.4 วิทยาลัยการท่องเทย่ี วและอตุ สาหกรรมบรกิ าร
2.5 วทิ ยาลัยเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมศรีสงคราม 10

3. หนว่ ยงานท่ีจดั ตง้ั ตามภารกิจและยทุ ธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนครพนม

3.1 งานวารสาร
3.2 งานประกนั คณุ ภาพการศึกษา
3.3 ศูนยศ์ ึกษาอนุภมู ิภาคลุ่มน้�ำโขง
3.4 ศูนย์วจิ ยั และฝกึ อบรมการเกษตร
3.5 ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศ
11 3.6 ศนู ยบ์ ่มเพาะวิสาหกจิ

คู่มือการศึกษา มหาวทิ ยาลยั นครพนม

ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2564

ปรชั ญา วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ

ปรัชญา

พฒั นาตน ตน่ื รู้ ผูร้ บั ใชส้ งั คม

วิสยั ทัศน์

“มหาวิทยาลัยนครพนมเป็นมหาวิทยาลัยแหง่ การสรา้ งสรรค์สังคมพหุวฒั นธรรมช้นั น�ำ แหง่ อนุภมู ภิ าคลุ่มน้ำ� โขงตอนกลาง”

นยิ าม

มหาวิทยาลัยแห่งการสร้างสรรค์สังคมพหุวัฒนธรรมชั้นนำ� (University of Societal Creativity) หมายถึง การพัฒนา
เศรษฐกจิ สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งสมดลุ เปน็ ทพี่ ง่ึ ทางวชิ าการใหก้ บั สงั คม ชว่ ยพฒั นาชมุ ชนทห่ี ลากหลายวฒั นธรรม เพอื่ ยกระดบั
คณุ ภาพชวี ติ ของคนในทอ้ งถน่ิ อนภุ มู ภิ าคลมุ่ นำ้ �โขงตอนกลาง อนั ดบั 1 ใน 5 ของมหาวทิ ยาลยั ในพน้ื ทอี่ นภุ มู ภิ าคลมุ่ นำ้ �โขงตอนกลาง
“อนุภูมิภาคลุ่มนำ้ �โขงตอนกลาง” หมายถึง พ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจตอนกลางของลุ่มแม่นำ้ �โขงท่ีเชื่อมโยงด้วยเส้นทางคมนาคม
ถนนหมายเลข R8 R9 และ R12 ครอบคลุมพน้ื ท ี่ 11 จังหวดั 3 ประเทศ ไดแ้ ก่
พ้นื ทป่ี ระเทศไทย ประกอบดว้ ย 1 ) จงั หวัดนครพนม 2) จังหวัดสกลนคร 3) จังหวัดบงึ กาฬ
4) จงั หวัดมุกดาหาร และ 5) จังหวดั หนองคาย
พ้นื ทส่ี าธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประกอบดว้ ย 1) แขวงคำ�ม่วน 2) แขวงบอลิคำ�ไซ และ 3) สะหวันนะเขต
พื้นท่สี าธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม ประกอบด้วย 1) จงั หวัดฮาตงิ ห์ 2) จงั หวดั กว่างบิงห์ และ 3) จังหวัดเหงะอาน

พนั ธกิจ

1. จดั หลกั สตู รการสอนและพฒั นากำ�ลงั คนทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรมภายใตบ้ รบิ ทความหลากหลาย
ทางวฒั นธรรมและสงั คมของประเทศกลมุ่ อนภุ ูมิภาคลมุ่ นำ้ �โขงตอนกลาง
2. การวิจยั และพฒั นานวัตกรรมและองค์ความร้ทู ส่ี ำ�คญั ต่อการสร้างการเติบโตอยา่ งยั่งยนื ของทุกภาคสว่ น
3. ให้บริการวชิ าการและเปน็ ผู้นำ�ในการถ่ายทอดองค์ความรใู้ นประเทศกล่มุ อนุภมู ภิ าคลมุ่ น้ำ�โขงตอนกลางเพ่อื การพัฒนา
อย่างย่งั ยืน
4. สง่ เสรมิ ทำ�นบุ ำ�รงุ และเผยแพรศ่ ลิ ปะ วฒั นธรรมทห่ี ลากหลายเพอื่ การบรู ณาการ การอยรู่ ว่ มกนั ในประเทศกลมุ่ อนภุ มู ภิ าค
ลุม่ น้ำ�โขงตอนกลาง
5. การบริหารจัดการทด่ี ีดว้ ยหลักธรรมาภิบาล

12

อัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ คา่ นยิ ม

อัตลักษณข์ องบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั นครพนม

รอบร้ภู าษา เชยี่ วชาญเทคโนโลย ี มีจิตสาธารณะ พรอ้ มทักษะการทำ�งาน

เอกลักษณข์ องมหาวทิ ยาลยั นครพนม

มหาวทิ ยาลยั แห่งการสรา้ งสรรคส์ งั คมพหุวัฒนธรรม (University of Societal Creativity)

นิยาม

Network : ทำ� งานเปน็ เครือข่าย
Pool : พลงั รว่ ม
Unity : ความเปน็ หนึง่ เดยี ว
(NPU : “บคุ ลากรมหาวทิ ยาลยั นครพนม ร่วมท�ำงานด้วยพลงั เครือขา่ ย รรู้ กั สามคั คีเปน็ หนึง่ เดียว”)

13

คมู่ ือการศึกษา มหาวิทยาลยั นครพนม

ประจำ�ปกี ารศึกษา 2564

ตราสญั ลักษณ์ มหาวทิ ยาลัยนครพนม
1. วงรีรูปหยดน�้ำ ส่ือความหมายถึง หยดน้�ำหนึ่งหยดท่ีหลอมรวมกันเป็นแม่น้�ำแห่งการศึกษา เปรียบประดุจ การรวม
สถานศึกษา มาเปน็ มหาวทิ ยาลยั นครพนม โดยสนี ้�ำตาลเปน็ สปี ระจำ� จงั หวัด และ สเี หลอื งทองเปน็ สีประจ�ำมหาวทิ ยาลัย
2. องคพ์ ระธาตพุ นมอยบู่ นดอกบวั สอ่ื ความหมายถงึ การเคารพสกั การะองคพ์ ระธาตพุ นมอนั เปน็ สญั ลกั ษณป์ ระจำ� จงั หวดั
นครพนมและเปน็ ตวั แทนของคณุ ธรรมที่หลอมรวมใจ ของบคุ คลทุกทกุ หมู่เหล่าเขา้ ไว้ด้วยกนั
3. ซ้มุ ประตสู ่ีทิศ สอื่ ความหมายถึงประตแู ห่งการศึกษาทงั้ ส่ีทิศทเ่ี ปดิ โอกาสบุคคลเข้ามาแสวงหาองค์ความรู้
4. คลื่นน้�ำสีฟ้าจ�ำนวนสามเส้น สื่อความหมายถึง แม่น้�ำโขงซึ่งเป็นแม่น้�ำนานาชาติที่ไหลอย่างต่อเน่ืองเปรียบประดุจ
การเปดิ โอกาสทางการศึกษาใหแ้ ก่บคุ คลทุกชนชาติ
5. ลายดอกบวั เจด็ ดอก สอื่ ความหมายถงึ ลายประจ�ำพระธาตพุ นมซึ่งเป็นสัญลกั ษณ์แหง่ คณุ ธรรมและจ�ำนวนเจ็ดดอกนนั้
เทียบเทา่ กบั สถานศึกษาท้ังเจด็ แห่งทีห่ ลอมรวมเปน็ มหาวทิ ยาลัยนครพนม
6. รวงข้าวสีเหลืองทอง ส่ือความหมายถึง ความเจริญเติบโตและการรวมกลุ่มกันเพื่อให้เกิด ความสามัคคี เพื่อเป้าหมาย
แห่งความสำ� เรจ็ ในการปฏบิ ตั งิ านในนาม มหาวทิ ยาลยั นครพนม
7. ฐานสงิ ห์ สอ่ื ความหมายถงึ ความม่ันคงและยง่ั ยืนของมหาวทิ ยาลยั นครพนม

สปี ระจำ�มหาวิทยาลยั

สเี หลืองทอง เปน็ สีของความสว่างไสว เจิดจ้า เฉกเชน่ เดยี วกับองค์พระธาตุพนม

ดอกไม้ประจ�ำ มหาวทิ ยาลัยนครพนม

ดอกกันเกรา หรือภาษาท้องถิ่นเรียกว่า ต้นมันปลา เป็นพันธ์ุไม้ที่พบมากในแถบจังหวัดทางภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มกี ลนิ่ หอมเย็น ซ่ึงจะออกมากในชว่ งเดือนเมษายน-พฤษภาคม นิยมเอาไป
บชู าองคพ์ ระธาตุพนม

พระพทุ ธรปู ประจ�ำ มหาวทิ ยาลัยนครพนม
พระพุทธพิทยมงคล พระราชทานนามโดย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหมายถึง พระพุทธรูปท่ีประกอบไปด้วยความเจริญรุ่งเรือง
แหง่ ความรู้ ออกแบบโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สวุ รรณคีรี ศลิ ปินแห่งชาติ
14

15

ค่มู อื การศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2564

16

17

ค่มู อื การศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2564

18

19

ค่มู อื การศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2564

20

21

ค่มู อื การศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2564

22

23

คู่มอื การศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม
ประจำ�ปีการศกึ ษา 2564
คณะเกษตรและเทคโนโลยี

FACULTY OF AGRICULTURE AND TECHNOLOGY

http://agri.npu.ac.th โทรศัพท์ : 0 4253 2471,0 4253 2545
ระดบั ปริญญาตรี 4 ปี ดังน้ี
หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) สาขาวชิ าเทคโนโลยีการเกษตร
1) แขนงวชิ าเทคโนโลยอี าหาร
2) แขนงวชิ าพืชศาสตร์
3) แขนงวชิ าสตั วศาสตร์
4) แขนงวิชาการประมง
ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สูง (ปวส.) ดงั น้ี
1) สาขาวิชาพืชศาสตร์
2) สาขาวิชาสตั วศาสตร์
3) สาขาวิชาชา่ งกลเกษตร
4) สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร
5) สาขาวิชาเพาะเลย้ี งสตั ว์นำ�้
ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ดงั น้ี
1) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

24

คณะครุศาสตร์

FACULTY OF EDUCATION

http://edu.npu.ac.th โทรศัพท์ : 0 4258 7181
ระดับปริญญาเอก 3 ปี ดังน้ี
หลักสูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑติ (ปร.ด.) สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน
ระดับปริญญาโท 2 ปี ดังน้ี
หลกั สูตรครุศาสตมหาบัณฑติ (ค.ม.)
1) สาขาวชิ าการบริหารและพฒั นาการศึกษา 2) สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน
3) สาขาวชิ านวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ประถมศึกษา
ระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี ดังนี้
หลักสูตรครุศาสตร์บณั ฑติ (ค.บ.)
1) สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย 2) สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์
3) สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 4) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศกึ ษา
5) สาขาวิชาสงั คมศึกษา 6) สาขาวชิ าภาษาไทย
7) สาขาวิชาคณติ ศาสตรศึกษา 8) สาขาวิชาดนตรีศกึ ษา
ระดับประกาศนียบัตรบณั ฑิต 1 ปี ดงั น้ี
หลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑติ วชิ าชีพครู

25

คู่มอื การศึกษา มหาวทิ ยาลยั นครพนม
ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2564
คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม

FACULTY OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY

http://itech.npu.ac.th โทรศัพท์ : 0 4250 3777
ระดบั ปรญิ ญาตรี (ตอ่ เนอ่ื ง) ดังนี้
หลกั สตู รอุตสาหกรรมศาสตรบณั ฑิต (อส.บ.)
1) สาขาวชิ าเทคโนโลยีไฟฟา้ อตุ สาหกรรม 2 แขนงวชิ า ดงั น้ี
1.1) แขนงวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟ้าและระบบอัตโนมัติ
1.2) แขนงวชิ าเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกสอ์ ัจฉริยะ
2) สาขาวชิ าเทคโนโลยีอุตสาหการ 2 แขนงวิชา ดังน้ี
2.1) แขนงวิชาเทคโนโลยวี ศิ วกรรมการจดั การอตุ สาหกรรม
2.2) แขนงวชเิ ทคโนโลยวี ศิ วกรรมการผลิต
3) สาขาวิชาเทคโนโลยีเครือ่ งกล 2 แขนงวิชาดังน้ี
3.1) แขนงวิชาเทคโนโลยีเครือ่ งกล
3.2) แขนงวิชาเทคโนโลยยี านยนตส์ มัยใหม่
4) สาขาวิชาหุน่ ยนต์อจั ฉรยิ ะ
ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.) ดังน้ี
1) สาขาวิชาเทคนิคเครือ่ งกล
2) สาขาวชิ าเทคนคิ การผลิต
3) สาขาวิชาเทคนคิ โลหะ
4) สาขาวชิ าไฟฟา้
5) สาขาวชิ าอิเลก็ ทรอนิกส์
6) สาขาวิชาชา่ งกอ่ สรา้ ง
7) สาขาวิชาเทคนคิ สถาปตั ยกรรม
8) สาขาวิชาการบัญชี
9) สาขาวิชาการตลาด
10) สาขาวชิ าการจดั การสำ�นกั งาน
11) สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ลั
12) สาขาวชิ าการโรงแรม
26

ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) ดังน้ี
1) สาขาวชิ าช่างยนต์
2) สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน
3) สาขาวชิ าช่างเชอ่ื มโลหะ
4) สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำ�ลัง
5) สาขาวิชาช่างอิเลก็ ทรอนิกส์
6) สาขาวชิ าช่างก่อสร้าง
7) สาขาวิชาสถาปัตยกรรม
8) สาขาวชิ าการบญั ชี
9) สาขาวิชาการตลาด
10) สาขาวิชาการจดั การสำ�นักงาน
11) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
12) สาขาวิชาการโรงแรม

27

คู่มอื การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั นครพนม

ประจำ�ปีการศึกคษาณ2564ะวิทยาการจดั การและเทคโนโลยีสารสนเทศ

FACULTY OF MANAGEMENT SCIENCES AND INFORMATION TECHNOLOGY
http://mit.npu.ac.th โทรศัพท์ : 0 4258 7288

ระดับปริญญาเอก 3 ปี ดังน้ี
1) หลักสูตรบญั ชีดษุ ฎบี ณั ฑติ (บช.ด.)
2) หลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจดุษฎบี ณั ฑติ (บธ.ด.) สาขาวิชานวตั กรรมการตลาด
ระดบั ปริญญาโท 2 ปี ดังน้ี
1) หลกั สูตรบญั ชมี หาบณั ฑิต (บช.ม.)
2) หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑติ (บธ.ม.) สาขาวิชานวตั กรรมการตลาด
ระดับปรญิ ญาตรี 4 ปี ดงั น้ี
1) หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์การกฬี า 2 แขนงวิชา
1.1) แขนงวิชาการฝึกกีฬาและการออกกำ�ลงั กาย
1.2) แขนงวชิ าการจัดการกฬี า
2) หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3) หลกั สตู รนิเทศศาสตรบณั ฑติ (นศ.บ.) สาขาวชิ านเิ ทศศาสตรด์ ิจิทลั
4) หลักสตู รบัณชีบัณฑิต (บช.บ.)
5) หลักสตู รบรหิ ารธุรกิจ (บธ.บ.) 2 สาขาวิชา
5.1) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ
5.2) สาขาวิชาการจดั การ

28

คณะวิทยาศาสตร์

FACULTY OF SCIENCE

http://sci.npu.ac.th โทรศัพท์ : 0 4250 3776
ระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี ดังนี้
1) หลกั สูตรครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) 2 สาขาวิชาดงั นี้
1.1) สาขาวชิ าฟสิ กิ ส์
1.2) สาขาวิชาชวี วทิ ยา
2) หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) 4 สาขาวิชาดังนี้
2.1) สาขาวิชาเคมี
2.2) สาขาวิชาฟิสกิ ส์
2.3) สาขาวชิ าชวี วทิ ยา
2.4) สาขาวิชาคณติ ศาสตร์

29

คู่มอื การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั นครพนม
ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2564
คณะวศิ วกรรมศาสตร์

FACULTY OF ENGINEERING

http://en.npu.ac.th โทรศัพท์ : 0 4250 3558
ระดบั ปริญญาโท 2 ปี ดงั น้ี
หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (วศ.ม.) สาขาวชิ าการบริหารงานก่อสรา้ งและโครงสร้างพืน้ ฐาน
ระดบั ปริญญาตรี 4 ปี ดังน้ี
1) หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
2) หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศ.บ.) สาขาวชิ าวศิ วกรรมอุตสาหการและการจดั การ
3) หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ (วศ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
4) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต (วศ.บ.) สาขาวชิ าวิศวกรรมโลจสิ ตกิ ส์
5) หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ (วศ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
6) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ (วศ.บ.) สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอื่ งกล

30

คณะศิลปศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์

FACULTY OF LIBERAL ARTS AND SCIENCE

http://flas.npu.ac.th โทรศพั ท์ : 0 4258 7100
ระดบั ปรญิ ญาโท 2 ปี ดงั นี้
หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต (ศศ.ม.) สาขาวชิ าการจัดการภาครฐั และภาคเอกชน
ระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี ดงั น้ี
1) หลกั สูตรนิตศิ าสตรบัณฑิต (น.บ.)
2) หลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต (รป.บ.) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
3) หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) สาขาวชิ าพฒั นาสังคมและส่งิ แวดล้อม
4) หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) สาขาวิชาภาษาองั กฤษ
5) หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาวชิ ามานษุ ยวทิ ยาวฒั นธรรมและการท่องเทยี่ ว
6) หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) สาขาวชิ าภาษาจีน

31

คู่มือการศึกษา มหาวทิ ยาลยั นครพนม

ประจ�ำ ปีการศกึ ษวา2ิท564ยาลยั การทอ่ งเทยี่ วและอุตสาหกรรมบริการ

TOURISM AND SERVICE INDUSTRY COLLEGE

http://tsic.npu.ac.th โทรศัพท์ : 0 4253 2468
ระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี ดังนี้
หลักสูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.)
1) สาขาวิชาการท่องเท่ียวและอตุ สาหกรรมบรกิ าร
2) สาขาวิชาการโรงแรม ภตั ตาคาร และอเี วน้ ท์

32

วิทยาลยั การบนิ นานาชาติ

INTERNATIONAL AVIATION COLLEGE

http://iac.npu.ac.th โทรศพั ท์ : 0 4253 1575, 0 4253 1577, 06 1938 9888
ระดบั ปริญญาตรี 4 ปี ดงั นี้
หลกั สูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต (บธ.บ.) สาขาวิชาการจดั การการบิน
ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.) ดงั นี้
สาขาวชิ าช่างอากาศยาน
หลักสูตรระยะสน้ั (52 สปั ดาห์) ดังน้ี
1) CPL- Commercial Pilot License (Aero plane) หรือ หลกั สตู รนกั บินพาณชิ ยต์ รี – เคร่ืองบนิ
2) PPL – Private Pilot License – Aero plane หรือ หลักสตู รนักบินส่วนบคุ คล – เครอื่ งบนิ
3) IR – Instrument Rating หรอื หลกั สตู รเพม่ิ ศกั ด์ิการบินดว้ ยเครื่องวัดประกอบการบิน
4) ME – Multi – engine Rating หรอื หลกั สตู รเพิม่ ศกั ด์กิ ารบนิ ด้วยเคร่อื งบนิ หลายเครื่องยนต์
5) IP – Fight Instructor Rating หรอื หลักสตู รครกู ารบิน

33

ค่มู อื การศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจ�ำ ปกี ารศึกษา2ว564ิทยาลัยเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมศรสี งคราม

SRISONGKHAM INDUSTRIAL TECHONOLOGY COLLEGE

http://sitc.npu.ac.th โทรศัพท์ : 0 4259 9649
ระดับปริญญาตรี 4 ปี ดังน้ี
1) หลกั สูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) สาขาวิชาหนุ่ ยนต์อุตสาหกรรมและระบบอตั โนมัติ
2) หลักสูตรบริหารธุรกจิ บัณฑิต (บธ.บ.) สาขาวิชาการจดั การธรุ กจิ การคา้ สมัยใหม่
ระดับปรญิ ญาตรี (2 ปีต่อเน่ือง) ดังนี้
1) หลักสตู รบัญชีบณั ฑิต (บช.บ.)
ระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.) ดงั น้ี
1) สาขาวชิ าเทคนคิ เครื่องกล
2) สาขาวิชาไฟฟา้ และระบบอัตโนมัติ
3) สาขาวชิ าการบญั ชี
4) สาขาคอมพิวเตอรแ์ ละการตลาดดิจทิ ัล
ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) ดังน้ี
1) สาขาวชิ าช่างยนต์
2) สาขาวิชาชา่ งไฟฟ้ากำ�ลัง
3) สาขาวิชาชา่ งอิเล็กทรอนิกส์
4) สาขาวชิ าการบญั ชี
5) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ

34

วทิ ยาลัยธาตพุ นม

THATPHANOM COLLEGE

http://tp.npu.ac.th โทรศพั ท์ : 0 4254 0442
ระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี ดงั นี้
1) หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต (วศ.บ.) สาขาวิชาวศิ วกรรมพลงั งาน
2) หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต (บธ.บ.) สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การค้าสมยั ใหม่
ระดับปรญิ ญาตรี (ตอ่ เนื่อง) ดงั นี้
หลักสตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบัณฑติ (อสบ.) แบ่งออกเป็น 2 แขนงวชิ าดงั น้ี
1) แขนงวิชาไฟฟ้าควบคมุ 2) แขนงวชิ าเครื่องกลการผลติ
ระดบั ปรญิ ญาตรี (ตอ่ เน่อื ง) ดงั น้ี
หลกั สตู รบัญชีบัณฑติ (บช.บ.)
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสงู (ปวส.) ดังนี้
1) สาขาวชิ าเทคนิคเครอ่ื งกล
2) สาขาวิชาไฟฟา้ และระบบอตั โนมัติ
3) สาขาวชิ าอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละหนุ่ ยนต์
4) สาขาวชิ าการบญั ชี
5) สาขาวิชาการจดั การธรุ กจิ คา้ ปลีกสมยั ใหม่
6) สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรแ์ ละการตลาดดจิ ทิ ลั
ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) ดังน้ี
1) สาขาวิชาช่างยนต์
2) สาขาวชิ าชา่ งไฟฟ้ากำ�ลงั
3) สาขาวชิ าชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์
4) สาขาวชิ าการบัญชี
5) สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ

35

คู่มอื การศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลยั นาหว้า

ประจำ�ปีการศึกษา 2564

NAWA COLLEGE

http://www.npu.ac.th/nawa โทรศัพท์ : 0 4259 7464
ระดบั ปริญญาตรี 4 ปี ดังน้ี
1) หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ (บธ.บ.) สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการคา้ สมยั ใหม่
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชัน้ สูง (ปวส.) ดังน้ี
1) สาขาวิชาเทคนคิ เคร่อื งกล
2) สาขาวชิ าไฟฟา้ และระบบอัตโนมัติ
3) สาขาวชิ าช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์และห่นุ ยนต์
4) สาขาวิชาการบัญชี
5) สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์และการตลาดดิจทิ ลั
6) สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ ค้าปลีก
ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) ดังน้ี
1) สาขาวชิ าช่างยนต์
2) สาขาวิชาช่างไฟฟา้ กำ�ลงั
3) สาขาวชิ าชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์
4) สาขาวชิ าการบัญชี
5) สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ

36

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครพนม

BOROMARAJONANI COLLEGE OF NURSING NAKHON PHANOM
bcnn.npu.ac.th โทรศัพท์ : 0 4251 2196

ระดับปริญญาโท 2 ปี ดังนี้
หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (พย.ม.)
1) สาขาวชิ าการพยาบาลเวชปฏิบัติชมุ ชน
2) สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผู้สูงอายุ
ระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี ดังน้ี
หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.)
ระดบั ประกาศนยี บัตร 1 ปี ดังน้ี
หลักสตู รประกาศนยี บัตรผู้ช่วยพยาบาล

37

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยนครพนม
วา่ ดว้ ยการจัดการศึกษาและการประเมนิ ผลการศึกษาตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ
ประจำ�ปีการศึกษา 2564
พ.ศ. 2563
.................................
38 ดว้ ยมหาวทิ ยาลยั นครพนม เหน็ สมควรปรบั ปรงุ ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาและ
การประเมนิ ผลการศกึ ษาตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พ.ศ. 2559 ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
วา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาและการประเมินผลการเรยี นตามหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2556
อาศยั อำ�นาจตามความในมาตรา 17 (2) แหง่ พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั นครพนม พ.ศ. 2548 ประกอบกบั
มติสภามหาวิทยาลยั นครพนม ในคราวประชุม ครงั้ ที่ 3/2563 เมือ่ วันท่ี 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 จึงวางระเบยี บ
ไว้ ดงั ต่อไปน้ี
ข้อ 1 ระเบยี บน้เี รยี กวา่ “ระเบยี บมหาวิทยาลัยนครพนม วา่ ด้วยการจัดการศกึ ษาและการประเมนิ ผลการ
ศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พ.ศ. 2563”
ข้อ 2 ระเบียบนใ้ี ห้มีผลใช้บังคบั กับนักศกึ ษาทีเ่ ข้าศึกษาในปกี ารศึกษา 2563 เปน็ ต้นไป
ขอ้ 3 บรรดาระเบยี บ ข้อบังคับ ประกาศ คำ�ส่ัง หรือมตอิ น่ื ใดทไ่ี ดก้ ำ�หนดไวแ้ ล้วกอ่ นระเบยี บน้ี หรือ
ซ่ึงขัดแย้งกับระเบยี บนใี้ หใ้ ชร้ ะเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี
“มหาวทิ ยาลยั ” หมายความวา่ มหาวทิ ยาลัยนครพนม
“สภามหาวิทยาลยั ” หมายความว่า สภามหาวิทยาลยั นครพนม
“อธิการบดี” หมายความวา่ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยนครพนม
“คณะ” หมายความวา่ คณะ สถาบนั วทิ ยาลัย หรอื สว่ นราชการท่ีเรียกชอื่ อยา่ งอ่นื ท่มี ฐี านะเทียบเทา่ คณะ
หรือวิทยาลยั ท่จี ัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2563
“คณบด”ี หมายความวา่ คณบดี ผอู้ ำ�นวยการวทิ ยาลยั หรอื หวั หนา้ สว่ นราชการทเี่ รยี กชอื่ อยา่ งอน่ื ทม่ี ฐี านะ
เทยี บเทา่ คณะหรอื วิทยาลัย
“คณะกรรมการประจำ�คณะ” หมายความว่า คณะกรรมการประจำ�คณะ คณะกรรมการประจำ�สถาบัน
คณะกรรมการประจำ�วิทยาลัย หรือคณะกรรมการประจำ�ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นท่ีมีฐานะเทียบเท่า
และใหห้ มายความรวมถงึ คณะกรรมการประจำ�สว่ นงานภายในทจ่ี ดั ตง้ั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ย การบรหิ ารสว่ นงานภายใน
สถาบนั อุดมศึกษา ซงึ่ ทำ�หน้าท่ีจดั การเรยี นการสอนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลยั นครพนมด้วย

“หลกั สูตร” หมายความว่า หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พ.ศ. 2563
“ประกาศนียบัตรวิชาชีพ” หมายความว่า การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2563
หลังจากจบหลกั สตู รมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเทา่ ใชอ้ ักษรยอ่ “ปวช.”
“นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และให้หมายรวมถึงนักศึกษา
จากสถาบันการศกึ ษาอ่ืน ทีล่ งทะเบยี นเรยี นรายวิชาตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) ของมหาวิทยาลยั
นครพนมดว้ ย
“ภาคการศกึ ษา” หมายความวา่ ช่วงเวลาท่ีคณะเปดิ ทำ�การสอน การจดั ภาคการศกึ ษาใหใ้ ชร้ ะบบทวภิ าค
โดยกำ�หนดให้ 1 ปกี ารศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ 2 ภาคการศกึ ษา ภาคการศึกษาละไมน่ อ้ ยกวา่ 18 สัปดาห์
“ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน” หมายความว่า ชว่ งเวลาทค่ี ณะจัดให้ศกึ ษาหรอื ฝึกปฏบิ ัตใิ นระหวา่ ง ภาคฤดรู อ้ น
“สถานประกอบการ” หมายความว่า บริษัท ห้างหุ้นส่วน ร้าน รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐและ เอกชน
ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศทีร่ ่วมมือกับคณะเพอื่ จัดการอาชีวศึกษา
“ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดา มารดา และบุคคลอื่นที่ทำ�หน้าท่ีปกครองดูแลและให้ความอุปการะ
แก่นักศึกษา และให้คำ�รับรองแก่คณะหรือสถานประกอบการ ว่าจะปกครองดูแลความประพฤติ ของนักศึกษา
ในระหว่างที่ศึกษาอยู่ในคณะและฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการหรือ ฝึกอาชีพในการศึกษา
ระบบทวภิ าคี
“การศกึ ษาในระบบ” หมายความว่า การจดั การศกึ ษาวิชาชพี ที่เนน้ การศึกษาในคณะเป็นหลกั โดยมีการ
กำ�หนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา การวัดผลและการประเมินผลท่ีเป็นเง่ือนไขของการสำ�เร็จ
การศกึ ษาท่ีแนน่ อน
“การศึกษานอกระบบ” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีมีความยืดหยุ่นในการกำ�หนด จุดหมาย
รูปแบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดผลและการประเมินผลที่เป็นเง่ือนไขของการสำ�เร็จการศึกษา โดยเน้ือหา
และหลกั สูตรจะตอ้ งมคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบคุ คลแตล่ ะกลมุ่
“การศึกษาระบบทวิภาคี” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่าง คณะกับ
สถานประกอบการ ในเร่ืองการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผู้ศึกษาใช้เวลา
สว่ นหนงึ่ ในคณะ และฝึกภาคปฏิบตั ิในสถานประกอบการ รัฐวสิ าหกิจ หรือหนว่ ยงานของรฐั 39

“การศึกษาตามอัธยาศยั ” หมายความวา่ กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถชี วี ิตประจำ�วันของบุคคลซึ่งบุคคลสามารถเลอื ก ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
ที่จะเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความพร้อม และศักยภาพในการเรียน
รขู้ องแต่ละบุคคล ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
“ผู้ควบคุมการฝึก” หมายความว่า ผู้ที่สถานประกอบการมอบหมายให้ทำ�หน้าท่ีประสานงาน
กบั คณะในการจดั การศึกษาระบบทวิภาคี และรบั ผดิ ชอบดแู ลการฝึกอาชีพของนักศกึ ษาในสถานประกอบการ
“ครูฝึก” หมายความว่า ผู้ทำ�หน้าท่ีสอน ฝึกอบรมนักศึกษาในสถานประกอบการตามหลักเกณฑ์
ท่ีมหาวิทยาลัยกำ�หนด

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม “อาจารย์นิเทศก์” หมายความว่า อาจารย์ท่ีคณะมอบหมายให้ทำ�หน้าท่ีนิเทศ ให้คำ�ปรึกษา แนะนำ�
แกน่ ักศกึ ษาที่ฝึกอาชพี และฝกึ ประสบการณท์ กั ษะวชิ าชพี
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 “อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา” หมายความวา่ อาจารยท์ ค่ี ณะมอบหมายใหท้ ำ�หนา้ ทใ่ี หค้ ำ�แนะนำ� ใหค้ ำ�ปรกึ ษา ตดิ ตาม
ผลการศึกษา และตักเตอื นดูแลความประพฤติของนักศึกษา
“มาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า ข้อกำ�หนดด้านสมรรถนะวิชาชีพ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการกำ�กับดูแล
ตรวจสอบ และประกันคณุ ภาพผู้สำ�เร็จการศกึ ษา
“การประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ” หมายความวา่ การทดสอบความรู้ ความสามารถ ตลอดจนลกั ษณะนิสัย
ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยใช้เคร่ืองมือท่ีเหมาะสม ซ่ึงกำ�หนดเกณฑ์การตัดสินไว้ชัดเจน พร้อมทั้ง
จัดดำ�เนนิ การประเมนิ ภายใตเ้ งื่อนไขทเี่ ป็นมาตรฐาน
40 “คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า คณะกรรมการผู้ทำ�หน้าที่รับผิดชอบในการ
อำ�นวยการ ติดตาม และกำ�กบั ดแู ลการประเมินมาตรฐานวิชาชพี ของนกั ศกึ ษาในคณะ
ข้อ 5 ให้อธิการมหาวิทยาลัยนครพนมรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอำ�นาจวินิจฉัย ตีความ ปัญหา
เกี่ยวกับการปฏบิ ตั ิตามระเบียบนี้ คำ�วนิ จิ ฉัยของอธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั นครพนมให้เปน็ ทส่ี ุด
ในกรณีที่ระเบียบนี้ไม่ได้กำ�หนดไว้ให้ สภามหาวิทยาลัยนครพนมเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาดคำ�วินิจฉัย
ของสภามหาวิทยาลัยให้เปน็ ท่สี ุด

หมวด 1
สภาพนักศกึ ษา

สว่ นท่ี 1
คณุ สมบัตขิ องผู้สมคั รเข้าเป็นนกั ศกึ ษา
ขอ้ 6 ผ้สู มัครเข้าเปน็ นกั ศกึ ษาตอ้ งมคี ณุ สมบัตดิ งั ตอ่ ไปน้ี
6.1 สำ�เรจ็ การศึกษาไมต่ า่ํ กว่าระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 หรือเทยี บเทา่
6.2 มคี วามประพฤตเิ รียบรอ้ ย
6.3 มรี า่ งกายแขง็ แรงและไม่เป็นอุปสรรคตอ่ การศกึ ษา
6.4 ไม่เปน็ โรคท่สี ังคมรงั เกียจหรือติดยาเสพติดชนดิ ร้ายแรงตามที่กฎหมายกำ�หนด
6.5 มีภมู ิลำ�เนาเปน็ หลกั แหล่ง โดยมสี ำ�เนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน หรือหลกั ฐานของทางราชการ
ในลักษณะเดยี วกันมาแสดง
ในกรณีทไี่ ม่มหี ลักฐานดงั กลา่ วข้างตน้ ใหใ้ ช้ทะเบยี นประวตั ิเดก็ ทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกำ�หนด
ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าดว้ ยหลักฐาน วัน เดือน ปเี กิด ในการรบั นกั ศึกษาเข้าศกึ ษา ในคณะ
6.6 มีความเคารพเล่อื มใสศรัทธาต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ด้วยความบริสุทธใิ์ จ
6.7 มีเจตคติทด่ี ีตอ่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์เปน็ ประมุข

6.8 สำ�หรับผู้เขา้ ศึกษาระบบทวิภาคี ในวนั ทำ�สญั ญาการฝึกอาชีพ ต้องมีอายุไมต่ าํ่ กวา่ 15 ปบี ริบูรณ์ 41
และมคี วามตง้ั ใจทจ่ี ะรับการฝึกอาชีพในสาขาวิชาทส่ี มัคร
ข้อ 7. ผ้เู ข้าศกึ ษาตามโครงการตา่ ง ๆ ของคณะ ให้คณะกำ�หนดคุณสมบตั ิเพิ่มเตมิ ได้ ตามความเหมาะสม ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
ของโครงการนน้ั
ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
ส่วนที่ 2
การรับสมัครเขา้ เปน็ นักศกึ ษา
ขอ้ 8 การรบั สมคั รเขา้ เปน็ นกั ศกึ ษา ใหท้ ำ�การสอบคดั เลอื ก หรอื คดั เลือกตามทคี่ ณะกำ�หนด ในกรณที มี่ กี าร
สอบคัดเลือก ให้ปฏบิ ัติดังนี้
8.1 ใหม้ หาวทิ ยาลยั ประกาศรบั สมคั ร ดำ�เนนิ การสอบ และประกาศผลสอบตามวนั และเวลา ทก่ี ำ�หนด
8.2 ใหท้ ำ�การทดสอบขอ้ เขยี นใหห้ มวดวชิ าใด ๆ ตามความตอ้ งการของคณะหรอื สถานประกอบการ
หากคณะ หรอื สถานประกอบการจะทำ�การทดสอบความถนัดทางการศกึ ษาวชิ าชีพ และหรอื สอบสมั ภาษณ์กไ็ ด้
ขอ้ 9 การรับสมัครเขา้ เปน็ นกั ศึกษา ในการศึกษาระบบทวิภาคี และโครงการตา่ ง ๆ ของคณะ
9.1 ในการศกึ ษาระบบทวภิ าคี สถานประกอบการจะเปน็ ผสู้ อบคดั เลอื กหรอื คดั เลอื กผสู้ มคั รเขา้ ศกึ ษา
เองตามคณุ สมบัติที่กำ�หนดและตามจำ�นวนท่ไี ด้ตกลงรว่ มกับคณะ หรอื จะมอบใหค้ ณะเปน็ ผ้ดู ำ�เนนิ การ หรอื ดำ�เนิน
การรว่ มกนั ก็ได้
9.2 ในโครงการต่าง ๆ ของคณะ ให้คณะคัดเลือกตามคุณสมบัติ ที่กำ�หนดตามความเหมาะสม
ของโครงการน้นั

สว่ นที่ 3
การเป็นนักศกึ ษา
ข้อ 10 ผู้สมัครเข้าเป็นนักศึกษา ในการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาระบบทวิภาคี
จะมีสภาพนักศึกษา เม่ือได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย และชำ�ระเงินค่าธรรมเนียมและอื่น ๆ
หรือดำ�เนินการตามเง่ือนไขท่ีมหาวิทยาลัยกำ�หนด สำ�หรับผู้สมัครเข้าเป็นนักศึกษา ในการศึกษาระบบทวิภาคี
ผเู้ ข้าศกึ ษาตอ้ งทำ�สญั ญาการฝึกอาชีพกับสถานประกอบการ

สว่ นท่ี 4
การพน้ สภาพและคืนสภาพนกั ศึกษา
ข้อ 11 สำ�เร็จการศึกษาตามหลักสูตร และได้รับการอนุมัติประกาศนียบัตรจากสภามหาวิทยาลัย โดยถือ
วันท่สี ภามหาวิทยาลยั อนมุ ัตปิ ระกาศนียบัตรเปน็ วันพน้ สภาพนักศึกษา
ข้อ 12 นอกจากการพ้นสภาพนักศกึ ษาตามข้อ 11 ใหน้ กั ศึกษาพน้ สภาพในกรณีต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้
12.1 พน้ สภาพนักศกึ ษา ตามข้อ 54 หรอื ขอ้ 55
12.2 ลาออก
12.3 ถงึ แก่ความตาย
12.4 มหาวทิ ยาลยั สั่งให้พน้ สภาพนักศึกษาในกรณใี ดกรณหี น่งึ ตอ่ ไปนี้

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม (1) ขาดเรียน ขาดการฝึกอาชีพ หรือขาดการติดต่อกับคณะและหรือสถานประกอบการ
เกินกว่า 15 วัน ซง่ึ คณะหรือสถานประกอบการพิจารณาแล้ว เหน็ ว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมีพฤตกิ รรมอย่าง
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 อื่นทแี่ สดงว่าไม่มีความต้งั ใจทีจ่ ะศกึ ษาเลา่ เรยี นหรือรับการฝึกอาชพี
(2) ไมย่ น่ื คำ�รอ้ งขอกลบั เขา้ ศกึ ษา ภายใน 15 วัน นบั แตว่ ันถัดจากวันครบ กำ�หนดลาพกั
การศึกษา หรือการฝึกอาชีพ ตามข้อ 17
(3) ไมม่ าตดิ ตอ่ เพอ่ื รกั ษาสภาพนกั ศึกษา ตามข้อ 25
(4) ขาดคณุ สมบตั ขิ องผู้สมคั รเขา้ เปน็ นักศึกษา ตามข้อ 6
(5) พน้ สภาพนกั ศกึ ษา ตามข้อ 54 หรือข้อ 55
ข้อ 13 ผทู้ ีพ่ น้ สภาพนกั ศึกษา ตามข้อ 12.2 และในทุกกรณีตามขอ้ 12.4 ยกเวน้ ข้อ 12.4(4) และ 12.4(5)
42 ถ้าประสงค์จะขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษาจะต้องยื่นคำ�ร้องต่อคณะภายใน 1 ปี นับแต่วันถัดจากวันพ้นสภาพ
นักศึกษา เม่อื คณะพจิ ารณาเหน็ สมควรใหน้ ำ�เสนอต่อมหาวทิ ยาลยั ให้พิจารณาคนื สภาพนักศึกษาได้

ส่วนท่ี 5
การพักการศกึ ษา
ข้อ 14 คณะและสถานประกอบการอาจพิจารณาอนญุ าต ใหน้ กั ศกึ ษาลาพักการศกึ ษา หรอื การฝกึ อาชพี ได้
ตามทเ่ี หน็ สมควร เม่ือมีเหตจุ ำ�เป็นกรณีใดกรณีหน่งึ ตอ่ ไปน้ี
14.1 ไดร้ บั ทนุ การศกึ ษาใหไ้ ปศกึ ษา หรอื ดงู าน หรอื เปน็ ตวั แทนของคณะหรอื มหาวทิ ยาลยั หรอื สถาน
ประกอบการ ในการเข้ารว่ มประชมุ หรอื กรณอี ื่น ๆ อันควรแก่การสง่ เสริม
14.2 เจ็บปว่ ยตอ้ งพกั รักษาตวั เป็นเวลานาน โดยมคี ำ�รับรองของแพทยป์ รญิ ญา
14.3 กรณลี าพักเพื่อรบั ราชการทหารกองประจำ�การ ใหล้ าพักได้จนกว่าจะไดร้ ับการนำ�ปลด
14.4 เหตจุ ำ�เปน็ อย่างอื่นตามทีค่ ณะ มหาวทิ ยาลัย และสถานประกอบการจะพจิ ารณาเหน็ สมควร
นกั ศกึ ษาทลี่ าพกั การศกึ ษา หรอื การฝกึ อาชพี ตอ้ งชำ�ระเงนิ คา่ รกั ษาสภาพนกั ศกึ ษาและคา่ ธรรมเนยี ม
ต่าง ๆ ตามท่มี หาวิทยาลยั กำ�หนด แต่ถา้ นกั ศกึ ษาได้ชำ�ระเงินค่าธรรมเนียมตา่ ง ๆ ครบถ้วน สำ�หรบั ภาคการศึกษา
น้ันแลว้ ไม่ต้องชำ�ระเงนิ คา่ รกั ษาสภาพนักศกึ ษาสำ�หรับภาคการศกึ ษานั้นอีก
ข้อ 15 ให้นักศึกษาย่ืนคำ�ร้องเพื่อขอลาพักการศึกษาพร้อมหลักฐานที่คณะ และมีผู้ปกครองเป็นผู้รับรอง
สำ�หรับผู้ท่ีบรรลุนิติภาวะจะมีผู้รับรองหรือไม่ก็ได้ โดยผ่านอาจารย์ท่ีปรึกษาเพ่ือให้คณบดีเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ
แลว้ สง่ เรอ่ื งไปยงั กองบรหิ ารวชิ าการ เพอ่ื ปรบั สถานภาพของการเปน็ นกั ศกึ ษา ทงั้ น้ี นกั ศกึ ษาจะตอ้ งดำ�เนนิ การภายใน
30 วนั นบั จากวันเปดิ ภาคการศกึ ษานัน้
ขอ้ 16 การอนญุ าตใหน้ กั ศกึ ษาลาพกั การศึกษาหรือการฝึกอาชพี ใหค้ ณะทำ�หลกั ฐานเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร
แจง้ ให้ผปู้ กครองทราบ เวน้ แตผ่ ้ทู ี่บรรลนุ ติ ภิ าวะทไี่ ม่มีผูป้ กครองมอบตัว ให้แจ้งนกั ศกึ ษาโดยตรง
ข้อ 17 นักศึกษาที่ลาพักการศึกษาหรือการฝึกอาชีพ หรือถูกสั่งพักการศึกษา หรือการฝึกอาชีพ เมื่อครบ
กำ�หนดเวลาท่ีลาพกั การศกึ ษา หรือการฝกึ อาชพี แล้ว ให้ยน่ื คำ�ร้องขอกลับเขา้ ศกึ ษาพรอ้ มดว้ ยหลกั ฐานการอนุญาต
ให้ลาพักการศึกษาหรือการฝึกอาชีพ ต่อคณะภายใน 15 วัน นับแต่วันถัดจากวันครบกำ�หนด หากพ้นกำ�หนดน้ีให้
ถอื ว่าพ้นสภาพนักศึกษาเว้นแต่มีเหตผุ ลสมควร

สว่ นท่ี 6 43
การลาออก
ข้อ 18 นกั ศกึ ษาทปี่ ระสงคจ์ ะลาออกจากการเป็นนักศึกษาของมหาวทิ ยาลัยใหย้ นื่ ใบลาออก พรอ้ มหนังสือ ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
รับรองของผู้ปกครอง ผ่านอาจารย์ท่ีปรึกษาเพ่ือขออนุมัติต่ออธิการบดี และผู้ที่จะได้รับอนุมัติให้ลาออกได้ต้องไม่มี
หน้ีสนิ กับมหาวิทยาลัย เว้นแตผ่ ู้ท่บี รรลนุ ติ ิภาวะ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
ข้อ 19 นักศึกษาท่ีลาออกแล้ว หากประสงค์จะขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษาในภาคการศึกษาเดียวกัน
จะต้องยื่นคำ�ร้องต่อคณะ และเมื่อได้รับการอนุมัติจากมหาวิทยาลัย ถือว่านักศึกษาผู้นั้นมีสภาพนักศึกษามาตั้งแต่
ต้นภาคการศกึ ษาน้ันทุกประการ
หมวด 2
การจดั การศึกษา
ส่วนที่ 1
การเปดิ และปิดภาคการศกึ ษา
ข้อ 20 ให้มหาวิทยาลัยกำ�หนดวันเปิดและปิดภาคการศึกษาให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยกำ�หนด
ถ้าคณะมีความจำ�เปน็ ท่ีจะกำ�หนดให้มีความแตกต่างไปจากประกาศดงั กลา่ ว ให้ขออนุญาตต่อมหาวิทยาลัย
ส่วนท่ี 2
การลงทะเบียนรายวชิ า
ข้อ 21 คณะต้องจัดใหน้ กั ศึกษาลงทะเบียนรายวิชาต่าง ๆ ใหเ้ สร็จก่อนวนั เปดิ ภาคการศกึ ษา เวน้ แตเ่ ป็นไป
ตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการประจำ�คณะกำ�หนด
ขอ้ 22 การลงทะเบียนรายวชิ าตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ปี รึกษา
ข้อ 23 นักศกึ ษาตอ้ งลงทะเบยี นรายวชิ าด้วยตนเอง หากมีความจำ�เปน็ อาจมอบฉนั ทะให้ บคุ คลอนื่ ดำ�เนนิ
การแทนได้ และการลงทะเบียนรายวชิ าให้เปน็ ไปตามที่มหาวิทยาลัยกำ�หนด
ขอ้ 24 มหาวทิ ยาลยั อาจใหน้ กั ศกึ ษาลงทะเบยี นรายวชิ าภายหลงั กำ�หนดตาม ขอ้ 21 กไ็ ด้ โดยใหม้ หาวทิ ยาลยั
กำ�หนดวันส้ินสุดการลงทะเบียนตามท่ีเห็นสมควรแต่ต้องไม่เกิน 15 วัน นับแต่วันเปิดภาคการศึกษา หรือไม่เกิน
5 วัน นับแต่วันเปิดภาคการศกึ ษาภาคฤดูร้อน
การลงทะเบยี นรายวชิ าภายหลงั วนั สน้ิ สดุ การลงทะเบยี น นกั ศกึ ษาตอ้ งเสยี คา่ ปรบั ตามทม่ี หาวทิ ยาลยั กำ�หนด
ข้อ 25 นักศึกษาที่มิได้ลงทะเบียนรายวิชาภายในเวลาที่มหาวิทยาลัยกำ�หนด ถ้าประสงค์จะรักษาสภาพ
นักศกึ ษา ตอ้ งตดิ ตอ่ รักษาสภาพภายใน 15 วนั นับแต่วนั ถัดจากวันปดิ การลงทะเบียน
ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนแล้วจะต้องชำ�ระค่าลงทะเบียนให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาท่ีมหาวิทยาลัย
กำ�หนด
ข้อ 26 นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาในแต่ละภาคการศึกษาได้ไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละ
ภาคการศึกษาปกติ สำ�หรับการลงทะเบียนเต็มเวลา และให้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาได้ไม่เกิน 12
หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ สำ�หรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา สำ�หรับการลงทะเบียน
ภาคการศึกษาฤดรู ้อน ใหล้ งทะเบยี นได้ไม่เกนิ 12 หน่วยกิต

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม การลงทะเบยี นรายวชิ าในแตล่ ะภาคการศกึ ษาไดไ้ มเ่ กนิ สปั ดาหล์ ะ 35 ชว่ั โมง ทง้ั น้ี นบั รวม กจิ กรรม 2 ชว่ั โมง
ตอ่ สัปดาห์ทกุ ภาคการศกึ ษาดว้ ย หากไม่เกินจากที่กำ�หนดไวใ้ นแผนการศึกษา เว้นแตไ่ ด้รับ อนญุ าตจากคณะ
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 หากคณะใดมีเหตุผลและความจำ�เป็น การลงทะเบียนรายวิชาท่ีแตกต่างไปจากเกณฑ์ข้างต้น ก็อาจทำ�ได้
แต่ต้องไม่กระทบตอ่ มาตรฐานและคณุ ภาพการศึกษา
ขอ้ 27 นกั ศกึ ษาทโ่ี อนผลการศกึ ษาตอ้ งลงทะเบยี นรายวชิ าในคณะไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ใน 3 ของจำ�นวนหนว่ ยกติ
ท่ีระบไุ ว้ในหลกั สูตร แต่ละประเภทวิชา และสาขาวิชา
นกั ศกึ ษาทข่ี อเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณต์ ามขอ้ 63 ตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าในคณะ ทข่ี อสำ�เรจ็
การศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ใน 3 ของจำ�นวนหน่วยกิตท่ีระบไุ ว้ในหลักสตู ร แต่ละประเภทวชิ าและสาขาวิชา และตาม
แผนการเรยี นที่คณะกำ�หนด
44 สว่ นท่ี 3

การเปลี่ยน การเพมิ่ และการถอนรายวชิ า
ข้อ 28 นักศึกษาจะขอเปลี่ยนรายวิชาท่ีได้ลงทะเบียนไว้แล้ว หรือขอเพ่ิมรายวิชาต้องกระทำ� ภายใน 15
วัน นับแต่วันเปิดภาคการศึกษา หรือภายใน 5 วัน นับแต่วันเปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน ส่วนการขอถอนรายวิชา
ต้องกระทำ�ภายใน 30 วัน นับแต่วันเปิดภาคการศึกษาหรือภายใน 10 วัน นับแต่วันเปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน
การถอนรายวิชาภายหลังกำ�หนดตามวรรคหนึ่งอาจกระทำ�ได้ถ้าคณะพิจารณาเห็นว่ามีเหตุผลสมควร
การขอเปล่ียนขอเพิ่ม หรือขอถอนรายวิชา ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษา และ อาจารย์ผู้
สอนประจำ�รายวชิ า
ข้อ 29 การถอนรายวิชาภายในกำ�หนด ตามข้อ 28 ให้ลงอักษร “W” ในระเบียนแสดงผล การเรียน
การถอนรายวิชาภายหลังกำ�หนด ตามข้อ 28 และคณะพิจารณาเห็นว่ามีเหตุสมควรให้ลงอักษร “W”
ในระเบยี นแสดงผลการเรียนเช่นเดียวกัน แต่ถา้ คณะพิจารณาเห็นว่าไม่มเี หตผุ ลอนั สมควรกใ็ หล้ งอกั ษร “F”

ส่วนท่ี 4
การเรยี นโดยไม่นบั จ�ำ นวนหน่วยกติ มารวมเพอื่ การสำ�เร็จการศกึ ษาตามหลกั สูตร
ข้อ 30 คณะอาจอนุญาตให้นักศึกษา ลงทะเบียนเรียนรายวิชา วิชาใดวิชาหนึ่งเพ่ือเป็นการเสริมความรู้
โดยไมน่ ับจำ�นวนหนว่ ยกติ ของรายวิชานน้ั มารวม เพือ่ การสำ�เร็จการศึกษาตามหลกั สูตรได้
ขอ้ 31 เมอื่ ไดท้ ำ�การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นแลว้ ไดร้ ะดบั ผลการเรยี นตง้ั แต่ 1.0 ขน้ึ ไป ถอื วา่ ประเมนิ
ผ่าน ให้ลงอักษร “Au” ในระเบียนแสดงผลการเรียน ถ้าผลการประเมนิ ไมผ่ ่านไม่ตอ้ งบนั ทึกรายวชิ าน้นั และใหถ้ ือ
เป็นการส้นิ สุดสำ�หรบั การเรยี นรายวิชานัน้ โดยไมน่ บั จำ�นวนหนว่ ยกติ มารวม เพื่อการสำ�เร็จการศกึ ษาตามหลักสตู ร

ส่วนที่ 5
การนบั เวลาเรยี นเพอ่ื สทิ ธิในการเขา้ รบั การวัดผลปลายภาคการศึกษา
ข้อ 32 นักศึกษาต้องมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 80 ของเวลาเปิดภาคการศึกษาเต็ม
สำ�หรับรายวิชาน้ัน จึงจะมีสิทธเิ ข้ารับการวัดผลปลายภาคการศึกษา

ในกรณีท่มี ีความจำ�เป็นอย่างแทจ้ ริงคณะอาจพิจารณาผ่อนผนั ใหเ้ ปน็ ราย ๆ ไป 45
นักศึกษาที่ไม่มีสิทธิเข้ารับการวัดผลปลายภาคการศึกษาตามวรรคหนึ่ง จะขอประเมินเทียบโอนความรู้
และประสบการณ์ ตามขอ้ 63 ในภาคการศึกษานน้ั มไิ ด้ ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
ขอ้ 33 การนับเวลาเรยี น ใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั นี้
33.1 เวลาเปิดเรียนเตม็ ปกติ ไม่นอ้ ยกวา่ ภาคการศกึ ษาละ 18 สัปดาห์ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
33.2 นกั ศึกษาที่ยา้ ยคณะระหว่างภาคการศกึ ษา ใหน้ ำ�เวลาเรียนจากคณะทั้งสองแหง่ รวมกนั
33.3 นกั ศกึ ษาทล่ี าออกแลว้ ไดร้ บั อนญุ าตใหก้ ลบั เขา้ เรยี นในภาคการศกึ ษาเดยี วกนั ใหน้ บั เวลาเรยี น
ท่เี รยี นแลว้ มารวมกัน
33.4 นกั ศกึ ษาทล่ี าพกั การศกึ ษาหรอื การฝกึ อาชพี ในภาคการศกึ ษาใด ไดร้ บั อนญุ าตใหก้ ลบั เขา้ ศกึ ษา
หรือฝึกอาชีพในภาคการศึกษาเดียวกัน ให้นับเวลาเรียนหรือฝึกอาชีพก่อนและหลังการลาพักการศึกษาหรือ
การฝึกอาชพี ในภาคการศึกษานน้ั มารวมกัน
33.5 รายวชิ าทม่ี อี าจารยผ์ สู้ อนหรอื ครฝู กึ ตง้ั แต่ 2 คนขน้ึ ไป และแยกกนั สอน ใหน้ ำ�เวลาเรยี นทศ่ี กึ ษา
กับอาจารย์ผู้สอนหรือครูฝึกทกุ คนมารวมกนั
33.6 ถ้ามกี ารเปลยี่ นรายวชิ า หรอื เพิ่มรายวิชา ให้นับเวลาเรยี นตงั้ แตเ่ ร่มิ ศกึ ษารายวิชาใหม่

ส่วนท่ี 6
การขออนุญาตเลอ่ื นการเขา้ รบั การวัดผลปลายภาคการศึกษา
ข้อ 34 นักศึกษาท่ีไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคการศึกษา ตามวันและเวลาท่ีคณะกำ�หนด
คณะอาจอนุญาตให้เลอื่ นการเขา้ รับการวัดผลปลายภาคการศกึ ษาไดใ้ นกรณี ต่อไปนี้
34.1 ประสบอุบตั ิเหตุ หรือเจบ็ ป่วยก่อน หรอื ระหว่างการเขา้ รับการวดั ผลปลายภาคการศกึ ษา
34.2 ถกู ควบคุมตัวโดยพนกั งานเจ้าหน้าท่ตี ามกฎหมาย
34.3 เปน็ ตวั แทนของคณะ มหาวทิ ยาลยั หรอื สถานประกอบการในการเขา้ รว่ มประชมุ หรอื กจิ กรรม
พเิ ศษอยา่ งอืน่ โดยไดร้ ับความยนิ ยอมจากคณะหรอื มหาวิทยาลยั
34.4 มคี วามจำ�เปน็ อย่างอนื่ โดยคณะหรือมหาวทิ ยาลัย หรือสถานประกอบการ พิจารณาแลว้
เหน็ วา่ เปน็ ความจำ�เป็นอยา่ งแท้จรงิ
ข้อ 35 นักศึกษาที่ประสงค์จะขออนุญาตเลื่อนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคการศึกษา ต้องย่ืนคำ�ร้อง
พร้อมทั้งหลกั ฐานประกอบตอ่ คณะกอ่ นการวัดผลปลายภาคการศกึ ษา ไม่น้อยกวา่ 3 วัน หากไม่สามารถกระทำ�ได้
ใหค้ ณะพจิ ารณาเปน็ ราย ๆ ไป
กรณีท่ีคณะอนุญาตให้เล่ือนได้ให้บันทึก “I” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียน และให้นักศึกษาเข้ารับ
การวดั ผลปลายภาคการศกึ ษาทดแทนภายใน 10 วนั นบั แต่วันประกาศผลการศึกษา หากไมส่ ามารถดำ�เนินการได้
ให้คณะพิจารณาจัดการวัดผลปลายภาคการศึกษาทดแทน ภายในกำ�หนดการวัดผลปลายภาคการศึกษา
ของภาคการศกึ ษาถัดไป
การอนุญาตให้เลื่อนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคการศึกษา ให้คณะทำ�เป็นลายลักษณ์อักษร มอบให้
นกั ศึกษา

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม หมวด 3
การประเมินผลการศกึ ษา
ประจำ�ปีการศึกษา 2564
ส่วนท่ี 1
หลักในการประเมนิ ผลการศึกษา
ข้อ 36 ใหค้ ณะและสถานประกอบการ มหี น้าท่แี ละรับผิดชอบในการประเมินผลการศึกษา
ข้อ 37 ให้ประเมินผลการศึกษาเป็นรายวิชาตามระบบหน่วยกิต จำ�นวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชาให้ถือ
ตามทก่ี ำ�หนดไวใ้ นหลักสูตร
ข้อ 38 ให้คณะและสถานประกอบการพิจารณาทำ�การประเมินผลการศึกษาเป็นรายวิชา เมื่อสิ้น
ภาคการศกึ ษา หรอื เม่อื สิ้นสดุ ภาคการศกึ ษา หรอื การปฏบิ ตั งิ านในทกุ รายวชิ า
46 สำ�หรบั รายวชิ าทศ่ี กึ ษาหรอื ฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการ ใหค้ รฝู กึ และอาจารยน์ เิ ทศกร์ ว่ มกนั ประเมนิ ผล
การศกึ ษา
ข้อ 39 ให้มหาวิทยาลัยร่วมกับคณะดำ�เนินการส่งเสริมคุณภาพและควบคุมมาตรฐานการจัดการเรียน
การสอน การวัดผลและการประเมินผลการศกึ ษา

ส่วนที่ 2
วิธกี ารประเมินผลการศกึ ษา
ข้อ 40 การประเมินผลการศึกษาในทุกรูปแบบการศึกษา ให้ประเมินเป็นรายวิชาโดยดำ�เนินการประเมิน
ตามสภาพจริงต่อเน่ืองตลอดภาคการศึกษา ด้านความรู้ ความสามารถและเจตคติจากกิจกรรม การเรียนการสอน
และการปฏิบัติงานที่มอบหมาย ซ่ึงครอบคลุมจุดประสงค์ และเน้ือหาวิชาตามสมรรถนะรายวิชา โดยใช้เครื่องมือ
และวธิ กี ารหลากหลายตามความเหมาะสม
จดั ใหม้ กี ารประเมนิ เพอื่ พฒั นาและการประเมนิ สรปุ ผลการศกึ ษาปลายภาคการศกึ ษา โดยพจิ ารณาจากการ
ประเมนิ ในแตล่ ะกจิ กรรมและงานทม่ี อบหมาย ในอตั ราสว่ นตามความสำ�คญั ของแตล่ ะกจิ กรรมหรอื งานทมี่ อบหมาย
และจัดใหม้ ีการวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการศกึ ษาเมอ่ื ส้ินสดุ ภาคการศึกษา
ให้ดำ�เนินการประเมินผลการศึกษานักศึกษาในรูปแบบการศึกษาระบบทวิภาคี จากการปฏิบัติงาน
จรงิ ในสถานประกอบการ ตามวธิ กี ารท่ีครฝู กึ และอาจารยน์ เิ ทศกก์ ำ�หนด

ขอ้ 41 ใหใ้ ชร้ ะบบการใหร้ ะดบั คะแนนและคา่ ระดบั คะแนนในการประเมนิ ผลในรายวชิ าทม่ี กี ารประเมนิ ผล 47
เป็นระบบการให้ระดบั คะแนน ให้แบ่งระดับคะแนนและคา่ ระดับคะแนนเปน็ 8 ระดับ ดังตอ่ ไปน้ี
ระดบั คะแนน ค่าระดับคะแนน ความหมาย ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
A 4.0 ผลการเรยี นดเี ย่ยี ม (Excellent)
B+ 3.5 ผลการเรียนดมี าก (Very good) ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
B 3.0 ผลการเรียนดี (Good)
C+ 2.5 ผลการเรียนดพี อใช้ (Fairly good)
C 2.0 ผลการเรยี นพอใช้ (Fair)
D+ 1.5 ผลการเรียนออ่ น (Poor)
D 1.0 ผลการเรยี นอ่อนมาก (Very poor)
F 0 ผลการเรียนตก (Failed)
ข้อ 42 รายวชิ าใดท่ีแสดงระดับคะแนนตามข้อ 41 ไม่ได้ ให้ใชต้ ัวอักษร ต่อไปน้ี
Ia (Inadequate Attendance) หมายถึง ขาดเรยี น ไม่มสี ทิ ธิเขา้ รับการประเมนิ สรุปผลการเรยี น เนอื่ งจาก
มเี วลาเรียนตาํ่ กวา่ รอ้ ยละ 80 โดยคณะพจิ ารณาแล้วเห็นว่าไมใ่ ช่เหตุสดุ วสิ ยั
W (Withdrawn) หมายถึง ถอนรายวชิ าภายในเวลากำ�หนด
I (Incomplete) หมายถงึ ไมส่ มบรู ณ์ เนอื่ งจากไมส่ ามารถเขา้ รบั การประเมนิ ครบทกุ ครงั้ และ หรอื ไมส่ ง่ งาน
อนั เปน็ ส่วนประกอบของการเรยี นรายวิชาตามกำ�หนดดว้ ยเหตจุ ำ�เป็นอันสดุ วิสยั
S (Satisfactory) หมายถึง เขา้ รว่ มกจิ กรรมตามกำ�หนดและผลการประเมนิ ผา่ น
U (Unsatisfactory) หมายถงึ ไมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมหรอื ผลการประเมนิ ไม่ผา่ น
Au (Audit) หมายถงึ การเรียนโดยไม่นบั จำ�นวนหนว่ ยกติ มารวมเพ่อื การสำ�เรจ็ การศึกษา ตามหลกั สตู รและ
ผลการประเมนิ ผา่ น
ข้อ 43 ในกรณีท่ไี ด้ผลการศกึ ษาเป็น “Ia” (Inadequate Attendance) ให้ระดับผลการศึกษา เปน็ ศนู ย์
(0) เฉพาะรายวชิ า
ข้อ 44 นักศึกษาที่ทำ�การทุจริตหรือส่อเจตนาทุจริตในการสอบหรืองานที่มอบหมายให้ทำ�ในรายวิชาใด
ใหค้ ณะพจิ ารณาดำ�เนนิ การ ดังนี้
44.1 ให้ไดร้ ะดบั คะแนน F (0) เฉพาะคร้งั นน้ั หรอื ในรายวชิ านั้น หรอื
44.2 ให้ได้ระดับคะแนนเป็น F (0) ในรายวิชาน้ัน และตัดคะแนนความประพฤติ ตามระเบียบ
มหาวทิ ยาลยั วา่ ดว้ ยวนิ ัยนักศึกษา พ.ศ. 2553
ข้อ 45 การคำ�นวณค่าระดบั คะแนนเฉลีย่ ให้ปฏบิ ตั ิดงั นี้
45.1 ให้นำ�ผลบวกของผลคูณระหว่างจำ�นวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชากับระดับผลการศึกษา
หารดว้ ยผลบวกของจำ�นวนหนว่ ยกิตของแต่ละรายวิชา คดิ ทศนิยมสองตำ�แหน่งไม่ปดั เศษ
45.2 ให้คำ�นวณคา่ ระดบั คะแนนเฉลีย่ จากรายวชิ าท่ีได้ระดบั ผลการศกึ ษาตามข้อ 41 และข้อ 43

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม สำ�หรบั รายวิชาทีน่ ักศึกษาเรยี นซา้ํ เรยี นแทน ใหใ้ ช้ระดับผลการศกึ ษาสดุ ทา้ ยและนบั จำ�นวนหน่วยกิต ตามข้อ 46
45.3 ให้คำ�นวณคา่ ระดับคะแนนเฉลี่ย ดังนี้
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (1) ค่าระดบั คะแนนเฉลีย่ ประจำ�ภาคการศกึ ษา คำ�นวณจากรายวิชาที่ไดร้ ะดบั ผลการศึกษา
เฉพาะในภาคการศึกษาหนงึ่ ๆ
(2) ค่าระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสม คำ�นวณจากรายวิชาทีศ่ กึ ษามาท้ังหมดและได้ระดบั ผลการ
ศึกษาต้งั แตส่ องภาคการศึกษาขนึ้ ไป
ข้อ 46 นักศึกษาผู้ใดประสงค์จะเรียนซ้ํารายวิชาที่ได้ระดับผลการศึกษาต่ํากว่าระดับ C (2.0) หรือเลือก
เรียนรายวิชาอน่ื แทนถ้าเปน็ รายวิชาเลือก เพอ่ื ประเมินปรบั ค่าระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมให้สงู ข้นึ ใหค้ ณะหรอื สถาน
ประกอบการดำ�เนนิ การให้เรยี นซาํ้ หรอื เรียนแทน ภายในเวลากอ่ นสำ�เร็จการศกึ ษา
48 การเรียนซ้ํารายวิชา ให้นับจำ�นวนหน่วยกิตสะสมเพียงคร้ังเดียว ส่วนการเรียนแทนให้นับเฉพาะ
จำ�นวนหนว่ ยกิตของรายวิชาท่เี รยี นแทนเปน็ จำ�นวนหน่วยกิตสะสม
การนบั จำ�นวนหนว่ ยกติ สะสมในกรณนี ี้ จะกระทำ�เมือ่ นกั ศึกษาไดร้ ะดบั ผลการศึกษา ตง้ั แตร่ ะดบั C (2.0)
ขึ้นไปเท่าน้นั
รายวิชาที่เรียนซ้ําหรือเรียนแทนแล้วได้ระดับผลการศึกษาระดับ F (0) ให้ถือระดับผลการศึกษา ตํ่ากว่า
ระดับ C (2.0) ตามเดิม ยกเว้นการไดร้ ะดบั ผลการศึกษาระดับ F (0) ตามขอ้ 44.1 หรอื 44.2
ข้อ 47 การคิดคา่ ระดบั คะแนนเฉลยี่ สะสม ถา้ เปน็ รายวิชาทเ่ี รียนซาํ้ ใหน้ บั จำ�นวนหน่วยกิต เปน็ ตัวหารเพยี ง
คร้ังเดียว ส่วนการเรียนรายวิชาอนื่ แทนใหน้ บั เฉพาะจำ�นวนหนว่ ยกิตของรายวิชาท่ีเรียนแทน มาเปน็ ตวั หาร
ข้อ 48 ผู้ท่ีได้ตัวอักษร I (Incomplete) และไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคการศึกษา ทดแทน
ภายในเวลาทีค่ ณะกำ�หนด ใหค้ ณะบันทึกค่าระดับคะแนน F (0) ลงในระเบยี นแสดงผลการเรียน เว้นแตไ่ ดต้ ัวอกั ษร I
ตามขอ้ 34.3 ให้คณะพจิ ารณาเปน็ ราย ๆ
กรณีที่ได้ตัวอักษร I เน่ืองจากไม่สามารถส่งงานอันเป็นส่วนประกอบของการศึกษารายวิชาได้
ตามกำ�หนดใหน้ กั ศกึ ษาสง่ งานนนั้ ภายใน 10 วนั นบั แตว่ นั ประกาศผลการศกึ ษารายวชิ า หากไมส่ ามารถดำ�เนนิ การได้
ให้คณะประเมินผลการศึกษาจากคะแนนท่ีมีอยู่ เว้นแต่มีเหตุจำ�เป็นท่ีคณะพิจารณาเห็นสมควร ท้ังน้ีให้ดำ�เนินการ
ใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในกำ�หนดการวัดผลปลายภาคการศกึ ษาของภาคศึกษาถดั ไป
ขอ้ 49 นักศกึ ษาตอ้ งรบั การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี เมอ่ื นักศึกษาได้ลงทะเบียนรายวิชา ครบทกุ รายวชิ า
ตามโครงสรา้ งหลกั สตู รแตล่ ะประเภทวชิ าและสาขาวชิ า หรอื ตามระยะเวลาทค่ี ณะกรรมการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี
เห็นสมควร ทง้ั น้ีใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทมี่ หาวทิ ยาลัยกำ�หนด
นักศกึ ษาจะมีสิทธ์สิ ำ�เรจ็ การศึกษาตามหลกั สตู รได้ จะต้องเขา้ รบั การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี และผลการ
ประเมินผา่ นเกณฑต์ ามท่ีมหาวทิ ยาลยั นครพนมกำ�หนด
ข้อ 50 นักศึกษาต้องเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่คณะจัดไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
ครบทุกภาคการศึกษา ตามแผนการศึกษาที่คณะกำ�หนด โดยมีเวลาเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
ของเวลาท่ีจัดกจิ กรรมในแตล่ ะภาคการศกึ ษา

เมื่อนักศึกษาได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมครบถ้วนตามเกณฑ์ในภาคการศึกษาใดถือว่าประเมินผ่านในภาค 49
การศึกษาน้ัน ให้บันทึกชื่อกิจกรรมและตัวอักษร “S” ในระเบียนแสดงผลการเรียน ซึ่งหมายถึงได้เข้าร่วมกิจกรรม
ตามกำ�หนดหรือผลการประเมินผ่าน ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
หากนักศึกษาเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ในภาคการศึกษาใด ให้คณะพิจารณามอบงานหรือ
กจิ กรรมในสว่ นทน่ี กั ศกึ ษาผนู้ น้ั ไมไ่ ดเ้ ขา้ รว่ มปฏบิ ตั ิ ใหป้ ฏบิ ตั ใิ หค้ รบถว้ นภายในเวลาทค่ี ณะกำ�หนดเมอ่ื นกั ศกึ ษาดำ�เนนิ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
การครบถว้ นแลว้ ถือวา่ ประเมินผ่าน แล้วจึงบนั ทกึ ช่ือกิจกรรม และตัวอักษร “S” ในระเบียนแสดงผลการเรียนของ
ภาคการศึกษานั้น ซึ่งหมายถึงไดเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมตามกำ�หนด หรอื ผลการประเมินผา่ น
ถ้านกั ศึกษาดำ�เนนิ การไมค่ รบถ้วน ถอื วา่ ประเมินไมผ่ ่าน ใหบ้ ันทกึ ช่ือกจิ กรรมและตัวอกั ษร “U”
ซ่งึ หมายถงึ ไม่เข้าร่วมกิจกรรมหรือผลการประเมินไม่ผ่าน
ใหน้ กั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ ฝกึ อาชพี หรอื ฝกึ ประสบการณท์ กั ษะวชิ าชพี ในสถานประกอบการ เขา้ รว่ มปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม
ทส่ี ถานประกอบการจดั ตามเกณฑ์และข้อตกลงร่วมกัน ระหวา่ งคณะกับสถานประกอบการ

ส่วนที่ 3
การตัดสินผลการศึกษา
ขอ้ 51 การตัดสินผลการศกึ ษาให้ดำ�เนนิ การ ดังน้ี
51.1 ตดั สินผลการศกึ ษาเปน็ รายวิชา
51.2 รายวชิ าทม่ี ผี ลการศกึ ษาตง้ั แตร่ ะดบั D (1.0) ขน้ึ ไปถอื วา่ ประเมนิ ผา่ นและใหน้ บั จำ�นวนหนว่ ยกติ
ของรายวชิ านนั้ เป็นจำ�นวนหนว่ ยกิตสะสม
51.3 เมอื่ ไดป้ ระเมนิ ผลการศึกษาแล้ว นักศึกษาทีม่ ผี ลการศกึ ษาระดับ F (0) ตามขอ้ 41 ใหร้ บั การ
ประเมนิ ใหมไ่ ด้ 1 คร้งั ภายในระยะเวลาท่ีคณะหรอื สถานประกอบการกำ�หนด ทั้งนีไ้ มเ่ กิน 10 วนั นับแตว่ นั ประกาศ
ผลการศกึ ษารายวชิ า เวน้ แต่มเี หตุสุดวิสัย หากประเมนิ ใหมไ่ ม่ผ่าน ถา้ เป็นรายวิชาบังคับ ทก่ี ำ�หนดใหเ้ รยี นในแตล่ ะ
ประเภทวิชา สาขาวชิ า ใหเ้ รียนซาํ้ รายวิชานัน้ ถา้ เปน็ รายวชิ าเลอื กจะเรียนซาํ้ หรือเรยี นรายวิชาอ่ืนแทนก็ได้ จำ�นวน
หนว่ ยกติ ต้องไมน่ อ้ ยกว่ารายวิชาท่ศี ึกษาแทน
51.4 การประเมนิ ใหม่ ตามข้อ 51.3 ให้ระดับผลการศึกษาได้ไม่เกินระดับ D (1.0)
51.5 เมอื่ ได้ประเมินผลการศึกษาแลว้ นกั ศกึ ษาทม่ี ผี ลการศกึ ษาระดับ F (0) ตามทีก่ ำ�หนดไวใ้ นขอ้
43 และข้อ 44 ถ้าเปน็ รายวชิ าบังคับท่กี ำ�หนดให้เรียนในแตล่ ะประเภทวิชา สาขาวชิ า ให้เรยี นซา้ํ รายวิชานน้ั ถ้าเป็น
รายวชิ าเลอื กจะเรยี นซํ้า หรอื เรยี นรายวชิ าอน่ื แทนกไ็ ด้ จำ�นวนหนว่ ยกติ ตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ รายวิชาที่ศึกษาแทน
ในกรณีทีใ่ ห้เรียนรายวชิ าอ่นื แทนใหล้ งหมายเหตใุ น “ปพ.1 ปวช.63” วา่ ใหศ้ กึ ษาแทนรายวชิ าใด
ขอ้ 52 การตดั สนิ ผลการศกึ ษาเพ่ือสำ�เรจ็ การศึกษาตามหลักสตู รใหถ้ ือตามเกณฑต์ อ่ ไปนี้
52.1 ได้รายวิชาและจำ�นวนหน่วยกิตสะสมในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง หมวดวิชาสมรรถนะ
วชิ าชพี และหมวดวชิ าเลือกเสรี ครบถ้วนตามท่กี ำ�หนดไวใ้ นหลักสตู รแตล่ ะประเภทวชิ า สาขาวชิ า และตามแผนการ
ศกึ ษาท่คี ณะกำ�หนด
52.2 ได้คา่ ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไมต่ ํ่ากว่า 2.00
52.3 ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม 52.4 ไดเ้ ขา้ รว่ มปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รและไดต้ วั อกั ษร “S” (ผา่ น) ทกุ ภาคการศกึ ษาตามแผนการ
ศกึ ษาที่คณะกำ�หนด
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 ข้อ 53 การอนมุ ัติผลการศกึ ษาและการอนมุ ตั ิการสำ�เร็จการศกึ ษา
53.1 คณะ วิทยาลยั หรอื สถาบัน แลว้ แต่กรณี เป็นผู้อนมุ ตั ิผลการศึกษา
53.2 ให้กองบริหารวิชาการ รวบรวมรายชอ่ื นักศึกษา ท่ีเรียนครบตามหลักสตู รและผ่านคุณสมบัติ
การสำ�เร็จการศึกษาของหลักสูตรน้ัน ๆ นำ�ส่งให้คณะกรรมการประจำ�คณะ วิทยาลัย หรือสถาบัน แล้วแต่กรณี
ประชมุ พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบการสำ�เรจ็ การศกึ ษา และเสนอตอ่ นายทะเบยี นเพอื่ ดำ�เนนิ การเสนอรายชอ่ื ผสู้ ำ�เรจ็
การศกึ ษา เพอ่ื ขออนุมัตปิ ระกาศนยี บัตรจากสภามหาวทิ ยาลยั
ข้อ 54 เมือ่ นักศกึ ษาไดล้ งทะเบยี นรายวิชาครบ 2 ภาคการศึกษา หรอื ไม่น้อยกว่า 40 หน่วยกติ และไดร้ ับ
50 การประเมินใหม่แล้ว หากได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากว่า 1.50 ให้คณะพิจารณาว่า ควรให้ศึกษาต่อไปหรือ
ใหพ้ ้นสภาพนักศกึ ษา
เมื่อได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ 4 ภาคการศึกษา หรอื ไม่น้อยกวา่ 75 หน่วยกติ และได้รับการประเมนิ ใหม่
แลว้ หากไดค้ า่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมตาํ่ กวา่ 1.75 ใหค้ ณะพจิ ารณาวา่ ควรใหศ้ กึ ษาตอ่ ไป หรอื ใหพ้ น้ สภาพนกั ศกึ ษา
เม่ือได้ลงทะเบยี นรายวิชาครบ 6 ภาคการศกึ ษา หรอื ไมน่ อ้ ยกวา่ 100 หนว่ ยกติ และได้รับการประเมินใหม่
แลว้ หากไดค้ า่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมตาํ่ กวา่ 1.90 ใหค้ ณะพจิ ารณาวา่ ควรใหศ้ กึ ษาตอ่ ไป หรอื ใหพ้ น้ สภาพนกั ศกึ ษา
ข้อ 55 นักศึกษาที่ได้ศึกษาหรือฝึกอาชีพตามปกติ ประเมินใหม่หรือศึกษาซํ้า หรือศึกษาแทนรายวิชา
ที่ได้ผลการศกึ ษาระดบั F (0) หรอื ผลการศกึ ษาตาํ่ กว่าระดบั C (2.0) หรือเทียบโอนผลการเรยี นรู้ มาเปน็ เวลารวม
8 ภาคการศกึ ษาแลว้ แต่ยงั ไมเ่ ข้าเกณฑก์ ารสำ�เร็จการศกึ ษา ตามหลกั สูตรทกี่ ำ�หนดไวใ้ น ขอ้ 52 ใหค้ ณะพจิ ารณาว่า
ควรใหศ้ กึ ษาตอ่ ไปหรอื ใหพ้ น้ สภาพนกั ศกึ ษา ทง้ั นต้ี อ้ งไมเ่ กนิ 12 ภาคการศกึ ษา นบั ตง้ั แตว่ นั ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ นกั ศกึ ษา
โดยไม่นบั ภาคการศกึ ษาท่ลี าพักการศึกษารวมเข้าด้วย

ส่วนที่ 4
การเทียบโอนผลการศกึ ษา
ข้อ 56 การโอนผลการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาจากคณะซ่ึงใช้หลักสูตรน้ี ให้คณะที่รับนักศึกษาเข้าศึกษา
รับโอนผลการศึกษาทุกรายวิชา นอกจากรายวิชาท่ีได้ผลการศึกษาตํ่ากว่าระดับ C (2.0) คณะจะรับโอน
หรอื จะทำ�การประเมนิ ใหมจ่ นเหน็ วา่ ไดผ้ ลการศกึ ษาถงึ เกณฑม์ าตรฐานของคณะแลว้ จงึ รบั โอนผลการศกึ ษารายวชิ า
นน้ั ก็ได้
ขอ้ 57 ในกรณที ่ีนกั ศกึ ษายา้ ยคณะ ถา้ นกั ศึกษามีผลการศึกษาระดับ F (0) ในรายวชิ าใด และมีสทิ ธไ์ิ ดร้ บั
การประเมินใหม่ ตามข้อ 51.3 ให้คณะที่นกั ศึกษา ศึกษาอยู่ก่อนดำ�เนินการประเมินใหม่ใหแ้ กน่ กั ศึกษาผูน้ ั้น เวน้ แต่
มเี หตสุ ดุ วสิ ยั ใหค้ ณะทร่ี บั เขา้ ศกึ ษาดำ�เนนิ การประเมนิ ใหมไ่ ด้ ทง้ั นใ้ี หอ้ ยใู่ นดลุ พนิ จิ ของคณะทร่ี บั เขา้ ศกึ ษาเปน็ ราย ๆ ไป
ข้อ 58 คณะจะรับโอนผลการศึกษารายวิชาจากหลักสูตรอ่ืนของสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
สถานศึกษาเอกชน หรือหน่วยงานของราชการ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายของ กระทรวงศึกษาธิการ
ไดต้ ามเง่ือนไขตอ่ ไปน้ี
58.1 เปน็ รายวิชาหรือกลุ่มวชิ าทมี่ ีจุดประสงคแ์ ละเน้อื หาใกล้เคียงกันไม่ต่าํ กว่าร้อยละ 60 และมี


Click to View FlipBook Version