The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม ได้ดำเนินการจัดทำคู่มือการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 ขึ้น เพื่อเป็นเอกสารการดำเนินการด้านการเรียนการสอนสำหรับคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยนครพนม ซึ่งเนื้อหาของคู่มือประกอบด้วย ระเบียบ ข้อบังคับ และ ประกาศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาตามประกาศมหาวิทยาลัย

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 เล่มนี้ จะช่วยให้คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ได้ใช้ประโยชน์ในการวางแผนงานและการปฏิบัติตนให้เกิดความพร้อมในการทำงาน และการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by VUTTIGON PRAPHATSARANG, 2021-07-16 04:41:51

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ประจำปีการศึกษา 2564

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม ได้ดำเนินการจัดทำคู่มือการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 ขึ้น เพื่อเป็นเอกสารการดำเนินการด้านการเรียนการสอนสำหรับคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยนครพนม ซึ่งเนื้อหาของคู่มือประกอบด้วย ระเบียบ ข้อบังคับ และ ประกาศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาตามประกาศมหาวิทยาลัย

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 เล่มนี้ จะช่วยให้คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ได้ใช้ประโยชน์ในการวางแผนงานและการปฏิบัติตนให้เกิดความพร้อมในการทำงาน และการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

กองส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม

Keywords: มหาวิทยาลัยนครพนม,Nakhon Phanom University

เว้นแต่จะมีเหตุอันสมควรและได้รับอนุมัติจากอธิการบดี และนักศึกษาต้องยื่นคำ�ร้องขอลาพักการศึกษาภายใน
30 วันนบั จากวนั เปิดภาคการศกึ ษานั้น
32.5 นกั ศกึ ษาทเ่ี หลอื รายวชิ าทตี่ อ้ งลงทะเบยี นเรยี นตามหลกั สตู ร ทม่ี จี ำ�นวนหนว่ ยกติ ตา่ํ กวา่ เกณฑ์
ท่ีกำ�หนดไวใ้ นขอ้ 32.2 ให้ลงทะเบียนเรียนเทา่ จำ�นวนหน่วยกติ ท่ีเหลอื ได้
32.6 ในกรณีท่ีมีความจำ�เป็นต้องลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตร
ซึ่งไม่เป็นไปตามที่กำ�หนดไว้ในข้อ 32.2 อาจทำ�ได้โดยความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรและคณบดี โดยได้รับอนุมัติจากอธิการบดี ทั้งน้ี ถ้าต้องการลงทะเบียนมากกว่าที่กำ�หนด ต้องไม่เกิน 25
หนว่ ยกติ สำ�หรับนกั ศกึ ษาระบบปกติ และไมเ่ กิน 12 หน่วยกิต สำ�หรับนกั ศึกษาระบบพเิ ศษ
32.7 การลงทะเบียนเรียนที่จัดการศึกษาระบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่ระบบทวิภาค ให้จัดทำ�เป็นประกาศ
มหาวิทยาลยั
32.8 ในกรณีที่มีเหตุผลความจำ�เป็น อธิการบดีอาจอนุมัติให้นักศึกษาระบบปกติ หรือนักศึกษา
ระบบพเิ ศษ ไปลงทะเบียนเรียนบางรายวิชาทีจ่ ัดไว้สำ�หรบั นกั ศกึ ษาต่างภาคได้ โดยจะต้องชำ�ระค่าลงทะเบยี นเรียน
รายวิชา ตามประกาศของมหาวิทยาลยั นครพนม เร่ือง ค่าธรรมเนียมการศึกษาสำ�หรับนกั ศกึ ษาปริญญาตร”ี
ข้อ 9 ใหย้ กเลกิ ขอ้ ความในขอ้ 36 ของระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั
ปริญญาตรี พ.ศ. 2562 และใหใ้ ช้ขอ้ ความตอ่ ไปน้ีแทน
“ข้อ 36 การขอถอนรายวิชา หรือขอยกเลกิ รายวชิ าเรียน มีหลกั เกณฑ์ดังนี้
36.1 ต้องดำ�เนินการภายใน 15 วันนับจากวันเปิดภาคการศึกษา หรือภายใน ๗ วันนับจากวัน
เปดิ ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน รายวชิ านัน้ จะไม่ปรากฏในใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) การดำ�เนนิ การดังกล่าว
นกั ศกึ ษาสามารถดำ�เนินการไดด้ ้วยตนเอง โดยผ่านระบบบริการการศกึ ษา
36.2 เม่อื พน้ กำ�หนดตามขอ้ 36.1 แล้ว แตไ่ มเ่ กินสัปดาหท์ ี่ 12 ของภาคการศกึ ษา หรือ
สปั ดาห์ที่ 5 ของภาคการศึกษาฤดูรอ้ น นบั จากวันเร่มิ เรยี นตามปฏทิ นิ การศึกษาของมหาวิทยาลยั รายวชิ านัน้ ยังคง
ปรากฏในใบรายงานผลการศกึ ษา (Transcript) โดยจะไดส้ ญั ลกั ษณ์ “W” เวน้ แตก่ รณคี วามผดิ พลาดทไี่ มไ่ ดเ้ กดิ จาก
นกั ศกึ ษา
กรณดี งั กล่าวนกั ศกึ ษาต้องยนื่ คำ�ร้องทีง่ านทะเบยี นคณะ โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ 101

ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้สอน และคณบดี เม่ือได้รับอนุมัติจากอธิการบดี จะดำ�เนินการถอนรายวิชาโดยกองส่งเสริม ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
วิชาการและงานทะเบยี น
36.3 เม่ือพ้นระยะเวลาท่ีกำ�หนดไว้ในข้อ 36.2 รายวิชานั้น จะได้รับค่าระดับคะแนน 0 และจะ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
ปรากฏในใบรายงานผลการศกึ ษา (Transcript)”
ขอ้ 10 ให้ยกเลกิ ขอ้ ความในข้อ 37 ของระเบยี บมหาวิทยาลยั นครพนม ว่าด้วยการศกึ ษาระดับ
ปริญญาตรี พ.ศ. 2562 และใหใ้ ชข้ อ้ ความตอ่ ไปน้ีแทน
“ข้อ 37 การวดั ผลและการประเมนิ ผล
37.1 มหาวิทยาลัยดำ�เนินการวัดผลและประเมินผลแต่ละรายวิชาท่ีนักศึกษาได้ลงทะเบียนเรียน

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ทุกภาคการศึกษา การวดั ผลและประเมินผลเปน็ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของอาจารยผ์ ้สู อน หรือผทู้ ี่คณะเจ้าของ
รายวิชาจะกำ�หนด ซ่ึงอาจกระทำ�โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการ
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 เรยี น การรว่ มกจิ กรรม การสอบหรือวธิ ีอ่นื ตามที่คณะเจ้าของรายวชิ าจะกำ�หนดในแต่ละรายวชิ าไว้ในหลกั สตู ร ซึง่
การสอบอาจมีไดห้ ลายครงั้ และการสอบประจำ�ภาคการศึกษา หมายถงึ การสอบคร้งั สดุ ท้ายของรายวชิ าน้ัน
37.2 ทกุ รายวิชาท่ีลงทะเบียนเรียน นักศกึ ษาตอ้ งเข้ารบั การวัดผลและประเมนิ ผลตาม กิจกรรมที่
อาจารย์ผสู้ อนรายวชิ านัน้ ๆ กำ�หนด และต้องเข้าเรยี นตามแผนการสอนท่ีอาจารยผ์ ู้สอนกำ�หนด โดยมีเวลาเขา้ เรียน
ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาทง้ั หมด
37.3 การวัดผลและประเมนิ ผลในแต่ละรายวชิ า ให้วัดผลและประเมินผลเป็นระดบั คะแนน
และค่าระดับคะแนน หรอื สญั ลกั ษณ์
102 37.3.1 การวัดผลและประเมินผลเป็นระดบั คะแนน มี 8 ระดับ มคี วามหมายดังน้ี
ระดบั คะแนน ความหมาย คา่ ระดับคะแนน
A ดเี ยี่ยม (Excellent) 4.0
B+ ดีมาก (Very Good) 3.5
B ดี (Good) 3.0
C+ ดพี อใช้ (Fairly Good) 2.5
C พอใช้ (Fair) 2.0
D+ ออ่ น (Poor) 1.5
D อ่อนมาก (Very Poor) 1.0
F ตก (Failed) 0
37.3.2 การวดั ผลและประเมินผลเป็นสญั ลักษณ์ ในรายวชิ าทไ่ี ม่นับหนว่ ยกติ เป็น หนว่ ยกติ สะสม
กำ�หนดสญั ลกั ษณ์ และมีความหมายดงั น้ี
S (Satisfactory) หมายความว่า ผลการประเมนิ ผ่านเกณฑห์ รอื เป็นที่นา่ พอใจ
U (Unsatisfactory) หมายความวา่ ผลการประเมินไมผ่ า่ นเกณฑห์ รอื ไม่เปน็ ทน่ี ่าพอใจ
AU (Audit) หมายความวา่ การศกึ ษาแบบรว่ มเรยี น เปน็ การศกึ ษา ทเ่ี พม่ิ พนู ความรแู้ บบ
ไมน่ ับหนว่ ยกิต
37.3.3 สัญลักษณ์อน่ื ๆ มีความหมาย ดังนี้
I (Incomplete) หมายความวา่ การวดั ผลและประเมินผลยงั ไมส่ มบรู ณ ใช้เมอื่ อาจารยผ์ ู้
สอนโดยความเหน็ ชอบของหวั หนา้ สาขาวชิ ารบั ผดิ ชอบรายวชิ านน้ั เหน็ สมควรใหร้ อการวดั ผลและประเมนิ ผลไวก้ อ่ น
เนอื่ งจากนกั ศกึ ษายงั ปฏบิ ตั งิ านซงึ่ เปน็ สว่ นประกอบการศกึ ษารายวชิ านน้ั ยงั ไมส่ มบรู ณ์ หรอื ใชเ้ มอ่ื นกั ศกึ ษาไดร้ บั การ
อนมุ ตั ใิ หไ้ ดส้ ญั ลกั ษณ์ I จากอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร และคณะกรรมการประจำ�คณะตามความ ในขอ้ 19.2 การ
ลาป่วย แห่งระเบียบน้ี
เม่ือได้สัญลักษณ์ I ในรายวิชาใด นักศึกษาต้องติดต่ออาจารย์ผู้สอน เพื่อด�ำเนินการให้มี

การวดั ผลและประเมนิ ผลภายในสส่ี ปั ดาหแ์ รกของภาคการศกึ ษาถดั ไป เมอ่ื พน้ กำ� หนดดงั กลา่ ว ยงั ไมส่ ามารถวดั และ
ประเมนิ ผลได้ สัญลักษณ์ I จะเปลี่ยนเป็นระดับคะแนน F หรือสัญลักษณ์ U แลว้ แตก่ รณี
W (Withdrawn) หมายความวา่ การขอถอนรายวชิ าภายในกำ� หนด ใชเ้ มอื่ นกั ศกึ ษาไดร้ บั
การอนุมัตใิ หถ้ อนหรือยกเลิกการลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ านน้ั
37.4 นกั ศกึ ษาทไี่ ดร้ ะดบั คะแนน F หรอื ระดบั คะแนนอน่ื ทหี่ ลกั สตู รกำ� หนดใหร้ ายวชิ านน้ั ตอ้ งเรยี น
ซำ้� ต้องลงทะเบยี นเรียนรายวชิ านั้นซำ้� เวน้ แต่รายวชิ าดงั กล่าวเป็นรายวชิ าในหมวดวิชาเลอื กตามหลักสตู ร
37.5 อาจารยผ์ สู้ อนจะประเมนิ ผลการศกึ ษาของนกั ศกึ ษาทกุ คนทไี่ ดล้ งทะเบยี นเรยี นไวใ้ นภาคการ
ศึกษาหน่งึ ๆ ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 คร้งั และเม่อื ทำ�การประเมนิ ผลรายวิชาใดเปน็ ครง้ั สุดทา้ ยแล้ว ถือว่าการเรียนรายวชิ า
นน้ั สิน้ สดุ ลง
37.6 อาจารยผ์ ู้สอนต้องแจง้ เกณฑ์การวดั ผลและประเมนิ ผลในแต่ละรายวิชาใหน้ กั ศกึ ษาทราบใน
วนั แรกของการจดั การเรียนการสอนในรายวชิ าน้ัน
37.7 การประเมนิ ผลการศึกษาเพอ่ื คำ�นวณระดับคะแนนเฉล่ีย (Grade Point Average = G.P.A.)
จะกระทำ�เมอื่ สนิ้ แต่ละภาคการศกึ ษา
37.8 วิธีการคำ�นวณระดับค่าคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade Point Average =
Cumulative G.P.A.) ดังน้ี
37.8.1 ให้นำ�ผลรวมท้ังหมดของผลคูณระหว่างค่าระดับคะแนนท่ีได้กับจำ�นวน
หน่วยกิตของแต่ละรายวิชาที่มีการประเมินผลเป็นค่าระดับคะแนนเป็นตัวตั้งหารด้วยจำ�นวนหน่วยกิตสะสม
(Cumulative Credits) ผลลพั ธ์ที่ไดค้ อื ระดบั ค่าคะแนนเฉลีย่ สะสม
37.8.2 การคำ�นวณดงั กลา่ วขา้ งต้นให้ต้ังหารถึงทศนิยม 4 ตำ�แหนง่ และให้ปดั เศษเฉพาะ
ทศนิยมท่มี คี ่าตงั้ แต่ 4 ข้นึ ไป ตง้ั แต่ตำ�แหนง่ ที่ 4 เพอ่ื ให้เหลือทศนยิ ม 2 ตำ�แหน่ง
37.9 รายวชิ าท่ีมีคา่ ระดบั คะแนนทกุ รายวิชาจะต้องนำ�หนว่ ยกติ ของรายวิชานนั้ ๆ ไปรวมเป็นตัว
หารในการคำ�นวณหาคา่ ระดบั คะแนนเฉล่ยี สะสม
37.10 ให้ผ้สู อนทกุ รายวิชาส่งผลการเรยี นตอ่ คณะภายใน 7 วนั ทำ�การ นบั ต้ังแต่วนั สิ้นสดุ การสอบ
ประจำ�ภาค และคณะกรรมการประจำ�คณะจะตอ้ งใหค้ วามเหน็ ชอบภายใน 20 วนั นบั ตง้ั แตว่ นั สน้ิ สดุ การสอบประจำ� 103

ภาค กรณรี ายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไปใหผ้ สู้ อนสง่ ผลการเรยี นไปยงั กองสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น เพอื่ นำ�เสนอตอ่ คณะ
กรรมการบริหารจดั การวิชาศกึ ษาทว่ั ไปพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบและรบั รองผลการเรยี น
ในกรณีท่ีมีเหตุผลและความจำ�เป็นมหาวิทยาลัยอาจออกประกาศมหาวิทยาลัยกำ�หนดระยะเวลา ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
แตกตา่ งจากระยะเวลาตามวรรคหน่งึ ก็ไดเ้ ป็นกรณี ๆ ไป
ในกรณีท่ีอาจารย์ผู้สอนไม่ส่งผลการเรียนตามที่กำ�หนดในวรรคหน่ึง ให้ถือว่าเป็นการกระทำ�ผิด ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
วินัย”
ข้อ 11 ใหย้ กเลิกขอ้ ความในข้อ 40 ของระเบยี บมหาวิทยาลัยนครพนม ว่าดว้ ยการศึกษาระดบั
ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2562 และใหใ้ ชข้ ้อความต่อไปนแี้ ทน

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม “ข้อ 40 คณุ สมบตั ขิ องผ้สู ำ�เรจ็ การศึกษา และการอนมุ ัติสำ�เรจ็ การศกึ ษา
40.1 คุณสมบัติของผู้สำ�เร็จการศกึ ษา นกั ศกึ ษาที่จะสำ�เร็จการศกึ ษาต้องมคี ณุ สมบัติ ดงั น้ี
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (1) สอบผ่านรายวชิ าครบตามหลักสตู ร ดังน้ี
(1.1) การนบั หนว่ ยกิตในแต่ละรายวชิ าให้นบั ครงั้ เดียว
(1.2) ในกรณีทน่ี กั ศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวชิ าทร่ี ะบไุ วใ้ นหลกั สตู ร
วา่ เป็น รายวชิ าท่ีเทียบเทา่ กัน ใหน้ ับรายวชิ าใดรายวชิ าหนง่ึ เป็นหนว่ ยกติ ท่ไี ดร้ ะดับคะแนนสูงสดุ
(2) มคี า่ ระดบั คะแนนเฉลยี่ สะสมไมต่ ำ่ �กวา่ 2.00 จากระบบ 8 ระดบั คะแนนหรอื เทยี บเทา่
(3) ได้ศึกษาและผ่านการวัดและประเมินผลรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามหลักสูตร และ
ขอ้ กำ�หนดของสาขาวิชา โดยไมม่ ีรายวิชาใดท่ไี ด้ระดับคะแนน F หรือสญั ลกั ษณ์ I หรือ W คา้ งอยู่ ทัง้ น้ี นับรวมถึง
104 รายวชิ าที่ได้รับการเทยี บโอน และนกั ศกึ ษาจะตอ้ งผา่ นการเขา้ รว่ มกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรเพ่ือพัฒนานักศกึ ษาตามที่
มหาวิทยาลยั กำ�หนด
(4) มผี ลการสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ ตามประกาศของมหาวิทยาลยั
(5) หากเปน็ นกั ศกึ ษาทโ่ี อนยา้ ยมาจากมหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบนั การศกึ ษาอน่ื จะตอ้ งศกึ ษา
อย่ใู นมหาวทิ ยาลัยอยา่ งนอ้ ยหนึง่ ปกี ารศกึ ษา
(6) ไมม่ ยี อดคา้ งชำ�ระคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษาทกุ ภาคการศกึ ษา นอกจากนกั ศกึ ษากองทนุ
กู้ยมื เพ่ือการศกึ ษาตามที่มหาวทิ ยาลยั กำ�หนด ใหค้ ณะขออนมุ ตั ิจากอธกิ ารบดเี ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร
(7) มีคุณสมบตั อิ น่ื ตามประกาศมหาวทิ ยาลยั
40.2 ให้ยื่นคำ�ร้องขอสำ�เร็จการศึกษาตามแบบที่มหาวิทยาลัยกำ�หนดต่องานทะเบียนคณะ
ใหเ้ สรจ็ ส้ินภายใน 30 วันนับต้งั แต่วันเปิดภาคการศกึ ษาปกติ หรือภายใน 15 วนั นับตัง้ แต่วนั เปิด ภาคการศึกษาฤดู
ร้อน นักศึกษาท่ีไม่ย่ืนคำ�ร้องดังกล่าวภายในเวลาที่กำ�หนดจะไม่ได้รับการพิจารณาเสนอชื่อ เพ่ือรับปริญญาในภาค
การศึกษานน้ั ๆ
ให้งานทะเบียนคณะรวบรวมรายช่ือและคำ�ร้องขอสำ�เร็จการศึกษา นำ�ส่งให้หัวหน้าสาขาวิชา
ที่ได้รับมอบหมาย พิจารณาตรวจสอบรายชื่อนักศึกษาท่ีเรียนครบตามหลักสูตร และผ่านคุณสมบัติการสำ�เร็จ
การศึกษาของหลกั สูตรนน้ั ๆ กอ่ นเสนอคณะกรรมการประจำ�คณะเพื่อประชมุ พจิ ารณาเห็นชอบรายชื่อผสู้ ำ�เรจ็ การ
ศกึ ษา
40.3 ใหค้ ณะจัดทำ�บัญชีรายช่ือผู้สำ�เรจ็ การศกึ ษาเสนอตอ่ นายทะเบียนกองส่งเสริมวิชาการและ
งานทะเบยี น เพอื่ กลน่ั กรองคณุ สมบตั กิ ารสำ�เรจ็ การศกึ ษา กอ่ นเสนอรายชอื่ ผสู้ ำ�เรจ็ การศกึ ษา และขออนมุ ตั ปิ รญิ ญา
จากสภามหาวิทยาลัย
40.4 วันสำ�เร็จการศึกษาเมอ่ื สภามหาวิทยาลัยอนุมัติปริญญาใหถ้ ือว่านักศึกษาสำ�เรจ็ การศึกษา
ตั้งแตว่ ันทคี่ ณะกรรมการประจำ�คณะให้ความเหน็ ชอบ เวน้ แตส่ ภามหาวทิ ยาลยั มีมติเปน็ อยา่ งอืน่
40.5 ผสู้ ำ�เรจ็ การศกึ ษาจะไดร้ ับใบรายงานผลการศกึ ษา (Transcript) และหนงั สอื รับรองคุณวุฒิ
ก็ต่อเมือ่ ได้รับการอนุมตั ปิ รญิ ญาจากสภามหาวิทยาลยั แล้ว”

ข้อ 12 ให้อธิการบดรี ักษาการตามระเบียบนี้ และมีอำ�นาจออกประกาศ คำ�ส่งั เกีย่ วกบั วิธีการ เพ่อื ปฏบิ ตั ิ
ให้เปน็ ไปตามระเบยี บน้ี
ในกรณีทีร่ ะเบยี บนีม้ ิได้กำ�หนดไว้ ให้เสนอสภามหาวทิ ยาลยั เปน็ ผพู้ จิ ารณาอนมุ ตั ิเป็นกรณี ๆ ไป
ประกาศ ณ วนั ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2564
(นายสุเมธ แยม้ นุ่น)
ประธานคณะบุคคลปฏบิ ตั หิ นา้ ทแ่ี ทน
นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภาหาวทิ ยาลยั นครพนม

105

ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนม
ว่าดว้ ยกจิ การนักศกึ ษา พ.ศ. 2551
ประจำ�ปีการศึกษา 2564
.................................
เพอ่ื พฒั นากจิ กรรมนกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั นครพนม ใหม้ คี ณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคโ์ ดยสง่ เสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษา
106 ได้รู้จักการใช้สิทธิและหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยภายใต้กฎระเบียบ ข้อบังคับ ขนบธรรมเนียม
ประเพณีและวัฒนธรรมอันดี รวมท้ังมีความรับผิดชอบต่อท้ังตนเอง สังคมและประเทศชาติ เพ่ือนำ�ความรู้
ความสามารถทีม่ ีไปใชใ้ นการดำ�รงชวี ติ ได้อย่างปกติสขุ และเป็นท่ยี อมรับของสังคม
อาศยั อำ�นาจความในมาตรา 17 (2) แหง่ พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั นครพนม พ.ศ. 2548 โดยมตทิ ป่ี ระชมุ
สภามหาวิทยาลัยนครพนม ในการประชุมครงั้ ท่ี 2/2551 เมื่อวนั ท่ี 28 กุมภาพนั ธ์ 2551 จึงวางระเบยี บไวด้ ังน้ี
ข้อ 1 ระเบยี บนเ้ี รยี กว่า “ระเบียบมหาวทิ ยาลยั นคนพนม ว่าด้วยกจิ การนักศึกษา พ.ศ. 2551”
ขอ้ 2 ระเบยี บน้ใี ชบ้ ังคบั ตัง้ แต่วนั ถดั จากประกาศเปน็ ต้นไป
ขอ้ 3 ในระเบยี บน้ี
“มหาวทิ ยาลยั ” หมายถงึ มหาวทิ ยาลัยนครพนม
“อธกิ ารบดี” หมายถึง อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั นครพนม
“รองอธิการบดี” หมายถึง รองอธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยนครพนมฝา่ ยพัฒนานักศึกษาและพฒั นาบุคลากร
“คณะ” หมายถงึ คณะหรอื วทิ ยาลยั หรอื หนว่ ยงานในมหาวทิ ยาลยั ทม่ี ฐี านะเทยี บเทา่ คณะทเ่ี ปน็ สว่ นราชการ
ตามกฎกระทรวงว่าด้วยการแบง่ ส่วนราชการ หรอื จดั ตง้ั สภามหาวิทยาลยั นครพนม
“คณบดี” หมายถึง คณบดี ผู้อำ�นวยการสถาบัน ผู้อำ�นวยการสำ�นัก ผู้อำ�นวยการวิทยาลัย หัวหน้า
หน่วยงานทเ่ี รียกช่อื อยา่ งอนื่ ท่ีมฐี านะเทียบเท่าคณะ
“นักศึกษา” หมายถึง ผู้ที่กำ�ลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง
และระดบั ปรญิ ญาตรี
“คณะกรรมการกิจการนักศึกษา” หมายถึงคณาจารย์หรือเจ้าหน้าท่ีฝ่ายพัฒนานักศึกษาท่ีมหาวิทยาลัย
แตง่ ตง้ั ขนึ้ จากผดู้ ำ�รงตำ�แหนง่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ซง่ึ ไดแ้ ก่ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยพฒั นานกั ศกึ ษาและพฒั นาบคุ ลากร คณบดคี ณะ
หรือวิทยาลัย รองคณบดฝี า่ ยพฒั นานักศึกษาทุกคณะหรือวทิ ยาลยั และผู้อำ�นวยการกองกิจการนกั ศึกษา
“องคก์ รกจิ กรรม” หมายถงึ กลมุ่ กจิ กรรมนกั ศกึ ษาประเภทตา่ งๆ ตามระเบยี บน ซงึ่ ไดแ้ ก ่ องคก์ ารนกั ศกึ ษา
สภานักศกึ ษา ชมรม สโมสรนักศึกษาและชุมนมุ ตา่ ง ๆ
“คณะกรรมการองค์การนักศึกษา”หมายถึง คณะกรรมการองคก์ ารนักศึกษา มหาวิทยาลยั นครพนม
“องคก์ ารนักศึกษา” หมายถงึ องคก์ ารนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยนครพนม

“สภานักศึกษา” หมายถึง สภานักศกึ ษา มหาวิทยาลยั นคพนม
“สโมสรนักศึกษา” หมายถึง สโมสรนักศึกษาคณะหรอื วิทยาลยั ตา่ ง ๆ ในมหาวิทยาลยั นครพนม
“ชมรม” หมายถงึ การรวมตวั กนั ของชมุ นมุ ทม่ี กี ารดำ�เนนิ กจิ กรรมประเภทเดยี วกนั โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเดยี วกนั
ตัง้ แต่ 2 คณะหรือวทิ ยาลยั ขึน้ ไป และใหอ้ ยู่ในความดแู ลขององค์การนกั ศึกษา
“ชุมนุม” หมายถึง กลุ่มนักศึกษาท่ีมีสมาชิกดำ�เนินกิจกรรมประเภทเดียวกันโดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันใน
คณะหรอื วิทยาลัยเดียวกนั และให้อยู่ในความดูแลของสโมสรนกั ศกึ ษา
หมวด 1
วตั ถุประสงคข์ องกิจกรรมนักศกึ ษา
ข้อ 4 การดำ�เนินกิจกรรมนักศกึ ษามีวัตถปุ ระสงค์ ดงั นี้
(1) สง่ เสรมิ ความรู้ ความสามารถและความรบั ผดิ ชอบในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของนกั ศกึ ษา เพอื่ ประโยชน์
ในการพฒั นานกั ศกึ ษาในด้านประสบการณ์ วิชาการ วิชาชพี คณุ ธรรม และจริยธรรม
(2) สง่ เสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษารจู้ กั การใชส้ ทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องตนเอง ระบอบประชาธปิ ไตยโดยปลกู ฝงั นสิ ยั
ให้มีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสว่ นรวม ตลอดทั้งเคารพสทิ ธแิ ละหนา้ ทีข่ องผอู้ นื่
(3) ฝึกการเป็นผู้นำ�สังคม มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ มีความเสียสละและรู้จักอุทิศตน
เพ่อื ประโยชนส์ ่วนรวม เพือ่ ความเจรญิ ก้าวหนา้ ของประเทศชาติ
(4) ส่งเสริมให้นักศึกษามีความสามัคคี ความมีน้ำ�ใจเป็นนักกีฬา มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรง
มมี นุษย์สมั พันธท์ ดี่ ีรวมทงั้ มีบุคลิกภาพทดี่ ีด้วย
(5) เชอ่ื มความสมั พนั ธ ์ แลกเปลย่ี นความร ู้ ประสบการณ์ และความรคู้ วามเขา้ ใจระหวา่ งนกั ศกึ ษา
กบั มหาวิทยาลยั และสถาบนั อ่นื ๆ
(6) ส่งเสริมวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์อันดีงามของท้องถ่ินและ
ประเทศชาติ
(7) พัฒนาและธำ�รงไว้ซึ่งเกียรติคุณของมหาวิทยาลัย รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีความรักและ
ความผกู พนั ตอ่ มหาวทิ ยาลัย
หมวด 2 107

สทิ ธิ เสรีภาพ และหน้าท่ีของนักศึกษา ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
ขอ้ 5 นกั ศกึ ษามสี ิทธิเสรีภาพ ดังน้ี
(1) นักศึกษาย่อมมีความเสมอภาคกันในการได้รับความคุ้มครองแห่งระเบียบนี้โดยช้ันหรือระดับ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
การศึกษาไม่กอ่ ใหเ้ กดิ เอกสทิ ธแ์ิ ต่อย่างใด
(2) นักศึกษามีสิทธิแสดงความคิดเห็นอย่างเสรีภาพโดยเปิดเผย ภายใต้บทบัญญัติแห่งกฎหมาย
ระบอบประชาธิปไตยและระเบียบขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัย
(3) นกั ศกึ ษามเี สรภี าพในการศกึ ษาหาความรแู้ ละประสบการณ ์ ทง้ั ในและนอกหลกั สตู รตามความ
สามารถของตน

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม (4) นกั ศกึ ษามสี ทิ ธเิ ทา่ ทยี มกนั ในการเสนอตวั เขา้ รบั การเลอื กตงั้ และออกเสยี งเลอื กตง้ั ตามทก่ี ำ�หนด
ไวใ้ นระเบียบน้ี
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (5) นักศึกษามเี สรภี าพทจ่ี ะรวบรวมสมาชกิ เขา้ เปน็ กลุม่ เพื่อดำ�เนินกจิ กรรมตามวัตถุประสงค์ของ
กจิ กรรมนักศกึ ษา
(6) นักศึกษาคนเดยี วหรือหลายคนร่วมกัน มีสิทธเิ สนอขอ้ คดิ เห็นหรอื ยืน่ เร่อื งราวเพอื่ ร้องเรียนตอ่
อธิการบดหี รอื คณบดี เมอื่ เห็นวา่ ตนไมไ่ ด้รับการปฎบิ ตั ิดว้ ยความยตุ ธิ รรม
(7) นกั ศึกษามสี ทิ ธิเสรีภาพในการพดู การเขยี น การพมิ พ์ การโฆษณา การอบรม และการรวมตัว
กนั เปน็ สโมสรนกั ศกึ ษา ชมรม หรอื ชมุ นมุ ภายใตข้ อบเขตของกฎหมาย กฎระเบยี บของมหาวทิ ยาลยั และวฒั นธรรม
อนั ดงี ามของไทย
108 ขอ้ 6 นักศึกษามีหนา้ ท่ี ดังน้ี
(1) นักศกึ ษาเลา่ เรยี นตามหลกั สตู รอยา่ งเต็มกำ�ลังความสามารถ
(2) ปฎิบตั ติ ามระเบียบ ขอ้ บังคบั ประกาศ และคำ�สั่งของมหาวทิ ยาลยั และปฎิบัตติ นตามครรลอง
ของระบอบประชาธปิ ไตย
(3) รกั ษาและนำ�ชอ่ื เสียง เกยี รติคณุ มาสมู่ หาวทิ ยาลัย
(4) ไปใชส้ ทิ ธิออกเสียงเลือกตง้ั ตามทก่ี ำ�หนดในระเบยี บนี้
(5) ธำ�รงไวซ้ ่งึ ความสามคั คี เกียรติยศ และชอื่ เสียงของมหาวทิ ยาลัย
(6) ผดงุ ไว้ซ่ึงขนบธรรมเนียมและวฒั นธรรมอันดีงามของชาตไิ ทย
(7) ให้ความรว่ มมือและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสถาบนั

หมวด 3
การจดั ส่วนบริหารกิจกรรมนักศึกษา
ขอ้ 7 การบรหิ ารกจิ กรรมนักศกึ ษา ระดบั มหาวิทยาลยั แบง่ เปน็ 2 ส่วน คือ
(1) องคก์ ารนักศึกษามหาวทิ ยาลยั นครพนม เรยี กชื่อยอ่ ว่า อน.นพ. และเรยี กเป็นภาษาองั กฤษวา่
Nakhon PhanomUniversity Student Union มคี ำ�ย่อวา่ NPUSU
(2) สภานกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั นครพนม เรยี กยอ่ วา่ สน.นพ. และเรยี กเปน็ ภาษาองั กฤษวา่ Nakhon
Phanom University Student Council มีคำ�ย่อวา่ NPUSC
ให้องค์การนักศึกษาและสภานักศึกษาอยู่ในการดูแลของรองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและ
พัฒนาบคุ ลากร
ขอ้ 8 การบรหิ ารกจิ กรรมนกั ศกึ ษาระดบั คณะหรอื วทิ ยาลยั ใหจ้ ดั ตงั้ เปน็ สโมสรนกั ศกึ ษา และใหอ้ ยใู่ นกำ�กบั
ดูแลของรองคณบดที ีร่ ับผิดชอบด้านกจิ กรรมนักศกึ ษาหรือผู้ท่คี ณบดีมอบหมาย
ขอ้ 9 คณะหรอื วทิ ยาลยั อาจจดั ใหม้ รี ะเบยี บหรอื ประกาศเกย่ี วกบั กจิ กรรมของนกั ศกึ ษาในคณะหรอื วทิ ยาลยั
ท้ังนตี้ อ้ งไมข่ ัดหรือแย้งกับบทบญั ญัติแหง่ ระเบียบน้ี

หมวด 4
องคก์ ารนกั ศกึ ษา
ข้อ 10 องค์การนักศึกษามีหน้าท่ีในการจัดทำ�กิจกรรมนักศึกษาท่ีเป็นส่วนกลางและเป็นผู้แทนนักศึกษา
ในการทำ�กิจกรรมท้ังปวงในมหาวิทยาลัย โดยมีหน่วยงานหลักในการดำ�เนินกิจกรรม คือ คณะกรรมการองค์การ
นกั ศกึ ษา สโมสรนักศกึ ษา ชมรม และชมุ นมุ ต่าง ๆ ของนักศึกษา
ข้อ 11 คณะกรรมการองคก์ ารนักศกึ ษา ประกอบด้วย
(1) นายกองคก์ ารนักศึกษา
(2) อปุ นายกคนท่ี 1
(3) อปุ นายกคนท่ี 2
(4) เลขานกุ าร
(5) เหรญั ญกิ
(6) ประชาสัมพันธ์
(7) ประธานฝา่ ยสง่ เสรมิ วชิ าการ
(8) ประธานฝา่ ยบำ�เพ็ญประโยชน์
(9) ประธานฝ่ายศลิ ปวฒั นธรรม
(10) ประธานฝ่ายกีฬาและนันทนาการ
(11) ประธานฝา่ ยจริยธรรม
(12) กรรมการที่เหลอื จากการเลอื กต้งั คณะกรรมการองค์การนกั ศกึ ษาในตำ�แหน่งอ่นื ๆ
ขอ้ 12 คณะกรรมการองค์การนกั ศึกษามีหน้าทแี่ ละความรบั ผิดชอบ ดงั น้ี
(1) บริหารกจิ กรรมทงั้ ปวงทเ่ี กยี่ วกบั องคก์ ารนกั ศึกษาและนำ�ไปแถลงในทปี่ ระชุมสภานกั ศกึ ษา
(2) กำ�หนดนโยบายการดำ�เนนิ งานประจำ�ปขี ององคก์ ารนกั ศกึ ษา และนำ�ขนึ้ แถลงตอ่ ทปี่ ระชมุ สภา
นักศกึ ษา
(3) บรหิ ารงานกจิ กรรมนักศึกษาให้เปน็ ไปตามนโยบายที่ไดแ้ ถลงไวต้ ่อสภานกั ศึกษา
(4) พจิ ารณากลนั่ กรองโครงการและงบประมาณของคณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษา ชมรมนกั ศกึ ษา 109

และองค์การต่าง ๆ ของนักศึกษา เพื่อจัดทำ�งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีเสนอต่อสภานักศึกษาพิจารณาอนุมัติ ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
แลว้ รวบรวมนำ�เสนอตอ่ คณะกรรมการกจิ การนกั ศกึ ษา
(5) ควบคมุ ดแู ลและใหค้ วามสะดวกในการดำ�เนนิ งานของชมรมทส่ี งั กดั ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
(6) ร่วมมือประสานงานและให้ความสะดวกในการดำ�เนินงานของสโมสรนกั ศึกษา
(7) พิจารณาระเบียบ ข้อบังคบั ข้อปฏิบตั ิ และขอ้ เสนอแนะทเ่ี ก่ยี วกับการดำ�เนินงาน ขององคก์ าร
นกั ศึกษา โดยเสนอให้สภานักศกึ ษาพิจารณาอนมุ ตั ิ ทงั้ นีต้ ้องไมข่ ดั หรอื แย้งตอ่ กฎหรือระเบียบของมหาวยิ าลัย
(8) เขา้ รว่ มประชมุ กับสภานักศึกษาแตไ่ มม่ สี ิทธิออกเสยี งในการลงมติ
(9) ดำ�เนนิ การเลอื กตั้งคณะกรรมการองคก์ ารนกั ศึกษา และสมาชิกสภานกั ศึกษาชุดใหม่

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม (10) พิจารณาแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการดำ�เนินงาน คณะกรรมการเลือกตั้งส่วนกลาง และ
อนกุ รรมการฝ่ายต่าง ๆ เพอื่ ช่วยเหลอื การดำ�เนินงาน
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (11) เสนอผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการองค์การนักศึกษาและชมรมนักศึกษาต่อ
คณะกรรมการกิจการนกั ศกึ ษา กอ่ นวันสง่ มอบงานให้คณะกรรมการองคก์ ารนกั ศึกษาชุดใหม่
(12) เสนอความเหน็ ตอ่ มหาวทิ ยาลัยเกี่ยวกบั การดำ�เนินงานด้านกจิ การนกั ศกึ ษา
(13) ประสานการดำ�เนินงานกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อดำ�เนินงานที่เก่ียวข้อง
กับกจิ การนกั ศกึ ษา
(14) เรียกประชุมนักศึกษาท้ังปวงโดยขออนุมัติฝ่ายกิจการนักศึกษา เพื่อชี้แจ้งเร่ืองต่าง ๆ หรือ
กลา่ วตกั เตือน ในกรณีทม่ี ีการกระทำ�ผดิ ระเบียบ ขอ้ บังคับ หรอื ศลี ธรรมอันดงี านตามเห็นสมควร และอาจนำ�เสนอ
110 มหาวทิ ยาลัยเพอ่ื พจิ ารณาต่อไป
ข้อ 13 คณะกรรมการองค์การนกั ศกึ ษาแต่ละตำ�แหน่งมีหนา้ ท่ี ดงั น้ี
(1) นายกองค์การนักศึกษา มีหน้าที่
(1.1) เป็นผแู้ ทนนกั ศกึ ษาทงั้ ปวง
(1.2) ควบคุมดูแลและรับผิดชอบในการดำ�เนินงานทงั้ ปวงของคระกรรมการองค์การนักศกึ ษา
(1.3) เรยี กประชมุ และเปน็ ประธานในทปี่ ระชุมคณะกรรมการองค์การนักศกึ ษา
(1.4) ลงนามในประกาศแต่งตง้ั ถอดถอน รวมทัง้ การอนุมัติลาออกของคณะกรรมการดำ�เนนิ
งานหรืออนกุ รรมการของฝา่ ยตา่ ง ๆ
(2) อปุ นายก มหี น้าที่
(2.1) ทำ�การแทนนายกองค์การนักศกึ ษา ในกรณีท่นี ายกองคก์ ารนักศึกษาไมอ่ ยู่ หรอื ไม่
สามารถปฏบิ ตั หิ น้าท่ไี ด้ โดยต้องไดร้ บั มอบหมายเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรจากนายกองคก์ ารนกั ศึกษา และแจง้ ให้
มหาวิทยาลัยทราบล่วงหนา้
(2.2) ปฏิบัติงานตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากนายกองคก์ ารนักศึกษา
(3) เลขานกุ าร มหี นา้ ท่ี
(3.1) รบั – ส่ง และจดั ทำ�หนงั สอื โตต้ อบองคก์ ารนักศกึ ษา
(3.2) รบั ผดิ ชอบจดั เตรยี มระเบยี บวาระการประชมุ และจดั ทำ�รายงานการประชมุ คณะกรรมการ
องค์การนักศกึ ษา แล้วส่งสำ�เนารายงานการประชมุ ใหก้ องกิจการนกั ศกึ ษาภายใน 20 วนั หลงั การประชุม
(3.3) ดแู ลรักษาเอกสารและส่งิ พมิ พต์ ่าง ๆ ขององค์การนกั ศึกษา
(3.4) ปฏบิ ตั งิ านตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากองคก์ ารนกั ศกึ ษา
(4) เหรัญญกิ มีหน้าท่ี
(4.1) รบั ผดิ ชอบการเบิกจ่ายเงินขององค์การนกั ศึกษา ตามท่ีนายกองค์การนกั ศกึ ษาเสนอ
อนุมตั ิ
(4.2) จัดทำ�บัญชีรับ – จ่ายเงินขององค์การนักศึกษา ที่ได้รับจากมหาวิทยาลัยและแห่งอื่น

แล้วรายงานให้กองกิจการนักศึกษาทราบภายในเดือนกรกฎาคมสำ�หรับภาคการศึกษาต้น และภายในเดือน
มกราคมสำ�หรับภาคการศึกษาปลาย
(4.3) ควบคุมและรับผิดชอบ การเงิน – การบัญชี และพัสดุขององค์การนักศึกษาให้
เป็นไปตามระเบียบการเงินขององค์การนักศึกษา และระเบียบของมหาวิทยาลัยนครพนมโดยอนุโลม
(4.4) จัดทำ�บัญชีทรัพย์สินและพัสดุขององค์การนักศึกษา
(5) การประชาสัมพนั ธ์ มหี นา้ ท่ี
(5.1) เป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ข่าวสารความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของ
กจิ การนักศึกษา ตลอดจนกิจกรรมบางอย่างของมหาวทิ ยาลยั
(5.2) รับผิดชอบในการตดิ ประกาศ และขอ้ ความต่าง ๆ ขององค์การนกั ศึกษา
(5.3) รับผิดชอบการส่งเสียงตามสายภายใต้บทบัญญัติของกฎหมายตลอดทั้งรับผิดชอบ
อุปกรณก์ ารส่งเสียงตามสาย
(6) ประธานฝ่ายตา่ งๆ มีหนา้ ที่
(6.1) รบั ผดิ ชอบการปฏบิ ตั งิ านฝา่ ยของตน ตามคณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษามอบหมาย
(6.2) กำ�กบั และดแู ลการดำ�เนนิ กจิ กรรมของชมรม และเปน็ ประธานในทป่ี ระชมุ กรรมการ
ดำ�เนนิ งานและท่ีประชุมประธานชมรม
(6.3) จดั ทำ�งบประมาณของฝา่ ย และรวบรวมโครงการของชมรมตา่ ง ๆ เพอื่ นำ�เสนอ
ต่อคณะกรรมการกิจการนกั ศกึ ษาพจิ ารณา
ข้อ 14 การไดม้ าซง่ึ คณะกรรมการองคก์ ารนักศกึ ษา ใหค้ ณะหรอื วิทยาลยั ตา่ ง ๆ ส่งนายกสโมสรนักศึกษา
และอปุ นายกสโมสรนกั ศกึ ษาคนท่ี 1 เพอื่ ทำ�การเลอื กตงั้ เพอ่ื ดำ�รงตำ�แหนง่ ตามขอ้ 11 โดยอธกิ ารบดมี หาวยิ าลยั เปน็
ผู้ประกาศแต่งตั้งตามผลการเลือกตง้ั ดงั น้นั ทั้งนี้ให้คณะกรรมการองค์การนกั ศึกษามีวาระในการดำ�รงตำ�แหน่ง 1 ปี
ในการประชุมองค์การนักศึกษาคร้ังแรก ให้อธิการบดีเป็นผู้รียกประชุมองค์การนักศึกษา เพื่อเลือกต้ัง
คณะกรรมการองคก์ ารนกั ศึกษา ทงั้ น้ีใหแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการองค์การนักศกึ ษาให้แลว้ เสร็จภายใน 15 วัน
ขอ้ 15 คณะกรรมการองค์การนักศึกษา พ้นจากตำ�แหนง่ เมื่อ
(1) ออกตามวาระ 111

(2) ตาย ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
(3) ลาออก
(4) พ้นจากสภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา หรือได้รบั อนมุ ตั ใิ ห้ลาพกั การศึกษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
(5) ขาดคณุ สมบตั ติ ามทกี่ ำ�หนดไวใ้ นระเบยี บการเลอื กตงั้ คณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษา
(6) ขาดประชุมคณะกรรมการองค์การนักศึกษา 3 ครั้งติดต่อกัน โดยไม่ได้แจ้งเหตุ
เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร
(7) ถกู สภานกั ศกึ ษาจำ�นวน 2 ใน 3 ของจำ�นวนสมาชกิ ทง้ั หมดลงมตไิ มไ่ วว้ างใจกรรมการ
องคก์ ารนักศกึ ษาเปน็ รายบคุ คลหรือทั้งคณะ

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม (8) ถกู ลงโทษทางวนิ ยั นกั ศกึ ษา โดยถกู ตดั คะแนนความประพฤตไิ มน่ อ้ ยกวา่ 20 คะแนน
และพ้นจากตำ�แหน่งนายกสโมสรนักศึกษาหรืออุปนายกองค์การนักศึกษาคนที่ 1 ตามแต่กรณี
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (9) อธิการบดีมีคำ�สั่งให้พ้นจากตำ�แหน่งโดยระบุความผิดไว้อย่างชัดเจน
ข้อ 16 ถ้าตำ�แหน่งคณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษาวา่ งลงไมน่ ้อยกวา่ 60 วัน กอ่ นส้ินวาระเพราะเหตุอนื่
นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการองค์การนักศึกษาเลือกนักศึกษาท่ีมีคุณสมบัติเป็นคณะกรรมการ
องค์การนักศึกษาเสนอต่ออธิการบดี เพ่ือพิจารณาแต่งต้ังให้ดำ�รงตำ�แหน่งแทน แต่ถ้าตำ�แหน่งนายกองค์การ
นกั ศกึ ษาวา่ งลงใหเ้ ลอ่ื นอปุ นายกคนท ี่ 1 ขนึ้ ดำ�รงตำ�แหนง่ แทน และใหอ้ ยใู่ นตำ�แหนง่ เพยี งครบวาระของผซู้ ง่ึ ตนแทน
ถา้ ตำ�แหนง่ กรรมการองค์การนกั ศกึ ษาวา่ งลงไมเ่ กนิ 60 วนั ก่อนสนิ้ วาระจะไมเ่ สนอแต่งตั้งแทนก็ได้
ขอ้ 17 กรณที ค่ี ณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษาทง้ั คณะพน้ จากตำ�แหนง่ กอ่ นครบวาระเกนิ 90 วนั ใหจ้ ดั การ
112 เลือกตั้งคณะกรรมการองค์การนักศึกษาชุดใหม่ภายใน 20 วัน คณะกรรมการองค์การนักศึกษาที่เข้ามาแทนน้ันให้
อยใู่ นตำ�แหนง่ เพยี งครบวาระของคณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษาทถี่ กู แทน กรณที ค่ี ณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษา
ทั้งคณะถูกสภานักศึกษาลงมติไม่ไว้วางใจ ภายในระยะเวลาไม่เกิน 60 วันก่อนส้ินวาระ ให้คณะกรรมการองค์การ
นกั ศกึ ษาชดุ นนั้ พน้ จากตำ�แหนง่ ทนั ที และใหส้ ภานกั ศกึ ษาแตง่ ตง้ั องคก์ ารนกั ศกึ ษาเฉพาะกจิ ขนึ้ เพอื่ ดำ�เนนิ งานแทน
คณะกรรมการนักศึกษาชดุ เดมิ จนกว่าจะครบวาระ
เม่ือมกี ารเปลย่ี นแปลงคณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษาทั้งชดุ ใหค้ ณะกรรมการองค์การนักศึกษาโดยนายก
องค์การนักศึกษาและเหรัญญิก รวบรวมหลักฐานการเงิน บัญชี พัสดุ และทรัพย์สินท้ังหมด ส่งให้คณะกรรมการ
กิจการนกั ศึกษา เพื่อตรวจสอบกอ่ นการมอบหมายงานใหค้ ณะกรรมการองคก์ ารนักศึกษาชุดใหมไ่ มเ่ กิน 20 วัน
ขอ้ 18 ใหค้ ณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษาชดุ ทห่ี มดวาระ มอบหมายงานใหค้ ณะกรรมการองคก์ ารนกั ศกึ ษา
ชุดใหมใ่ หแ้ ลว้ เสร็จภายใน 10 วนั นับตัง้ แตว่ ันทมี่ กี ารแต่งตง้ั คณะกรรมการองค์การนักศึกษาชุดใหม่

หมวด 5
สภานกั ศึกษา
ข้อ 19 สภานักศึกษาประกอบด้วย คณะกรรมการสภานกั ศกึ ษาทม่ี าจากการเลือกตงั้ โดยตรงของนักศึกษา
ทุกคณะหรอื วทิ ยาลัย ตามความในหมวด 6 แหง่ ระเบยี บนี้
ขอ้ 20 สภานักศึกษามหี น้าทด่ี งั น้ี
(1) กำ�กับและติดตามการทำ�งานของคณะกรรมการองค์การนักศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย
ทแ่ี ถลงไว้
(2) ตรวจสอบทรัพย์สินและบัญชีขององคก์ ารนกั ศกึ ษา
(3) ประเมนิ ผลการดำ�เนินงานขององค์การนักศกึ ษา
(4) ลงมติไม่ไว้วางใจคณะกรรมการองค์การนักศึกษาเป็นรายบุคคลหรือท้ังคณะ เม่ือเห็นว่าการ
ดำ�เนินงานขององค์การนักศึกษาไม่เป็นไปตามนโยบายที่แถลงไว้ หรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลประโยชน์ของ
นักศกึ ษาหรือมหาวิทยาลยั โดยสว่ นรวม
(5) เสนอความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั การดำ�เนนิ งานด้านต่าง ๆ ขององคก์ ารนักศกึ ษา

(6) วางระเบียบเกี่ยวกับการประชุมสภานักศึกษาเพื่อถือปฏิบัติ
(7) หลังจากสภานักศึกษาดำ�เนินการตามข้อ (1) – (6) แล้วให้รายงานผลการดำ�เนินการดัง
กล่าวต่อกองกิจการนักศึกษา
(8) พิจารณาข้อบังคับงบประมาณประจำ�ปีขององค์การนักศึกษาที่เสนอให้สภานักศึกษา
ให้ความเห็นชอบ แล้วส่งไปยังคณะกรรมการกิจการนักศึกษาภายใน 15 วัน นับแต่วันที่สภานักศึกษารับเรื่อง
เพื่อให้คณะกรรมการกิจการนักศึกษาใช้เป็นข้อมูลประกอบการให้ความเห็นชอบต่อไป
(9) รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ของสภานักศึกษา
ข้อ 21 ให้สภานักศึกษาประกอบด้วย
(1) ประธานสภานักศึกษา
(2) รองประธานสภาคนที่ 1
(3) รองประธานสภาคนที่ 2
(4) เลขาธิการ
(5) ผู้ช่วยเลขาธิการ
(6) เหรัญญิก
(7) กรรมการที่เหลือจากการเลือกตั้งคณะกรรมการสภานักศึกษาในตำ�แหน่งอื่น ๆ
ในการประชุมสภานักศึกษาครั้งแรก ให้อธิการบดีเป็นผู้เรียกประชุมสภานักศึกษา เพื่อเลือกตั้งกรรมการ
สภานักศึกษา คณะกรรมาธิการสามัญประจำ�สภานักศึกษา
ทั้งนี้ ให้แต่งตั้งกรรมการสภานักศึกษาและคณะกรรมาธิการสามัญประจำ�สภานักศึกษา ให้แล้วเสร็จ
ภายใน 15 วัน
ข้อ 22 เมื่อตำ�แหน่งกรรมการสภานักศึกษาว่างลง ให้กรรมการตามความข้อ 21 จัดให้มีการเลือกตั้งซ่อม
ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ตำ�แหน่งว่างลง
ข้อ 23 สมาชิกสภานักศึกษา มีอำ�นาจหน้าที่ดังนี้
(1) ประธานนักศึกษา มีหน้าที่
(1.1) เป็นประธานของที่ประชุมสภานักศึกษา ที่ประชุมนักศึกษาทั้งปวง และที่ 113

ประชุมร่วมระหว่างสภานักศึกษาและองค์การนักศึกษา ตลอดทั้งรับผิดชอบการดำ�เนินกิจการอื่น ๆ ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
ของสภานักศึกษา
(1.2) แต่งตั้งคณะกรรมการสภานักศึกษาเพื่อปฏิบัติหน้าที่นั้นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
โดยความเห็นชอบของสถานศึกษา
(1.3) แตง่ ตัง้ ถอดถอน รวมทง้ั อนมุ ัตกิ ารลาออกจากตำ�แหน่งของคณะกรรมการสภานกั ศกึ ษา
และคณะกรรมการวิสามัญที่สภานักศึกษาแต่งตั้ง
(2) รองประธานสภานักศึกษา มีหน้าที่
(2.1) ทำ�การแทนประธานสภานักศึกษา ในกรณีที่ประธานสภานักศึกษาไม่อยู่หรือไม่สามารถ

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ปฏิบัติหน้าที่ได้ โดยต้องได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษรจากประธานสภานักศึกษา และแจ้งให้มหาวิทยาลัย
ทราบเป็นการล่วงหน้า
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (2.2) ช่วยประธานสภานักศึกษาในกิจการทั้งปวง
(3) เลขาธิการ มีหน้าที่
(3.1) รับผิดชอบจัดทำ�ระเบียบวาระการประชุมและนัดประชุมสภานักศึกษา หรือแจ้งให้
สมาชิกสภานักศึกษาทราบล่วงหน้า เว้นแต่กรณีที่มีการประชุมติดต่อกันหรือมีการเรียกประชุมด่วน
(3.2) รับผิดชอบจัดทำ�รายงานการประชุมสภานักศึกษา และส่งสำ�เนารายงานการประชุม
ให้กองกิจการนักศึกษาทราบภายใน 20 วัน
(3.3) รับ – ส่ง และจัดทำ�หนังสือโต้ตอบของสภานักศึกษา
114 (3.4) ดูแลรักษาเอกสารและสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของสภานักศึกษา
(3.5) จัดทำ�บัญชีทรัพย์สินและพัสดุของสภานักศึกษา
(3.6) ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากประธานสภานักศึกษา
(4) ผู้ช่วยเลขาธิการ มีหน้าที่
(4.1) ช่วยเลขาธิการในกิจการทั้งปวง
(5) เหรัญญิก มีหน้าที่
(5.1) รับผิดชอบการเบิกจ่ายเงินของสภานักศึกษา ตามที่ประธานสภานักศึกษาเสนออนุมัติ
(5.2) ควบคุมและรับผิดชอบการเงินการบัญชีของสภานักศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบ
การเงินของมหาวิทยาลัยนครพนมโดยอนุโลม
(6) คณะกรรมการอื่น ๆ มีหน้าที่
(6.1) ศกึ ษาและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในเรอ่ื งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สภานกั ศกึ ษาแลว้ เสนอตอ่ สภา
นกั ศกึ ษาเพื่อพิจารณาต่อไป
(6.2) เรียกตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง หรือเชิญนักศึกษาที่เกี่ยวข้องมาชี้แจงในเรื่องที่
ต้องการตรวจสอบ ติดตาม หรือศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อ 24 สภานักศึกษามีอำ�นาจแต่งตั้งนักศึกษาที่เป็นหรือไม่ได้เป็นสมาชิกสภานักศึกษา ให้เป็นคณะ
กรรมาธิการวิสามัญจำ�นวนไม่น้อยกว่า 5 คน เพื่อพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ หรือเพื่อดูแลผล
ประโยชน์ของนักศึกษา ทั้งนี้ต้องไม่ขัดหรือแย้งต่อระเบียบที่ประชุมสภานักศึกษา เพื่อประกอบการพิจารณาใน
เรื่องต่างๆ
ข้อ 25 สมาชิกสภานักศึกษาแต่ละคนมีสิทธิและหน้าที่ดังจะกล่าวต่อไปนี้
(1) เข้าร่วมประชุมและลงมติในการประชุมสภานักศึกษา
(2) รวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของนักศึกษาและกลั่นกรองข้อมูลดังกล่าว เสนอ
ต่อสภานักศึกษา ตลอดจนพิสูจน์และแสวงหาข้อเท็จจริงเสนอต่อที่ประชุมสภานักศึกษา เพื่อประกอบการ
พิจารณาในเรื่องต่าง ๆ

(3) มีสิทธิยื่นญัตติทั่วไปในการประชุม โดยต้องมีสมาชิกรับรองไม่น้อยกว่า 5 คนและมีสิทธิ
ยื่นกระทู้ถามเรื่องที่เกี่ยวกับการดำ�เนินงานขององค์การนักศึกษา
ข้อ 26 ในปีหนึ่ง การประชุมสภานักศึกษาสมัยสามัญ ให้มีการประชุมอย่างน้อย 2 สมัยๆ ละ 60 วัน
การกำ�หนดสมัยการประชุมสามัญ ให้ที่ประชุมสภานักศึกษาเป็นผู้พิจารณาและให้ประธานสภานักศึกษาเป็น
ผู้จัดทำ�ประกาศ แล้วแจ้งให้ฝ่ายกิจการนักศึกษาทราบ
ข้อ 27 นอกจากการประชุมสภานักศึกษาสมัยสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่ามีความจำ�เป็นเพื่อประโยชน์ของ
นักศึกษาหรือมหาวิทยาลัย ให้ประธานสภานักศึกษาเรียกประชุมสมัยวิสามัญโดยมิชักช้า
ในกรณีที่ได้รับการร้องขอจากคณะกรรมการองค์การนักศึกษา หรือสมาชิกสภานักศึกษาจำ�นวน
ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนสมาชิกสภานักศึกษาที่มีอยู่ทั้งหมดของสภานักศึกษา
ข้อ 28 การนัดประชุมสภานักศึกษา ให้ประธานสภานักศึกษาเป็นผู้เรียกประชุมโดยให้แจ้งวัน เวลา
สถานที่ และระเบียบวาระการประชุมให้สมาชิกทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 5 วัน สำ�หรับการประชุมสมัยสามัญ
และไม่น้อยกว่า 3 วัน สำ�หรับการประชุมสมัยวิสามัญ
ข้อ 29 การประชุมสภานักศึกษา จะต้องมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนสมาชิก
สภานักศึกษาทั้งหมด จึงจะถือเป็นองค์ประชุม
ข้อ 30 การลงมติ ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ตัดสิน ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานที่ประชุมออกเสียง
ชี้ขาดเพิ่มอีกเสียงหนึ่ง เว้นแต่มีบทบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในระเบียบการประชุมสภานักศึกษา
ข้อ 31 การประชุมสภานักศึกษา ให้กระทำ�การโดยเปิดเผยตามที่กำ�หนดไว้ในระเบียบการประชุม
สภานักศึกษา แต่หากนายกองค์การนักศึกษาหรือสมาชิกสภานักศึกษารวมกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำ�นวน
สมาชิกที่มาประชุม ร้องขอให้มีการประชุมลับ ก็ให้ประธานสภานักศึกษาดำ�เนินการประชุมลับได้ โดยไม่ต้อง
ขอมติที่ประชุมในการประชุมทุกครั้ง และให้จัดทำ�รายงานการประชุมไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ 32 ให้อธิการบดีหรือผู้ที่อธิการบดีมอบหมายเป็นผู้ลงนามแต่งตั้งหรือถอดถอน รวมทั้งอนุมัติ
การลาออกจากสมาชิกสภานักศึกษา
ข้อ 33 สมาชิกสภานักศึกษาพ้นจากตำ�แหน่งเมื่อ
(1) ออกตามวาระ 115

(2) ตาย ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
(3) ลาออก
(4) สมาชิกสภานักศึกษาลงมติให้ออกก่อนวาระ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
(5) สถานภาพการเป็นนักศึกษาสิ้นสุดลงหรือได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาหรือขาด
คุณสมบัติตามที่กำ�หนดไว้ในระเบียบการเลือกตั้งคณะกรรมการองค์การนักศึกษาและสมาชิกสภานักศึกษา
(6) ถูกลงโทษทางวินัย โดยถูกตัดคะแนนความประพฤติเกิน 20 คะแนน
(7) ขาดประชุมสภานักศึกษาติดต่อกัน 3 ครั้ง โดยไม่ได้แจ้งเหตุที่ไม่สามารถมาประชุมได้เป็น
ลายลักษณ์อักษร

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม (8) ประพฤติตนเส่ือมเสียร้ายแรงและสภานักศึกษาลงมติให้พ้นจากสมาชิกภาพด้วยคะแนนเสียง
ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ขององค์ประชุม
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (9) อธิการบดีมีค�ำส่ังให้พ้นจากต�ำแหน่ง โดยระบุความผิดไว้อย่างชัดเจน
ข้อ 34 ถ้าต�ำแหน่งสมาชิกสภานักศึกษาว่างลงก่อนส้ินวาระไม่น้อยกว่า 90 วัน ให้มีการเลือกต้ังสมาชิก
สภานักศึกษาข้ึนแทนต�ำแหน่งที่ว่างลง ภายในระยะเวลา 20 วันนับแต่วันท่ีต�ำแหน่งน้ันว่าง และให้ผู้ที่เข้ามาแทน
น้ันอยู่ในต�ำแหน่งเพียงครบวาระของผู้ซ่ึงตนแทน

หมวด 6
การเลือกตั้งและแต่งต้ังคณะกรรมการองค์การนักศึกษาและคณะกรรมการสภานักศึกษา
ข้อ 35 ให้คณะกรรมการองค์การนักศึกษาและคณะกรรมการสภานักศึกษาชุดเดิมจัดการเลือกต้ังคณะ
116 กรรมการองค์การนักศึกษาและคณะกรรมการสภานักศึกษาชุดใหม่ให้แล้วเสร็จภายในเดือนกุมภาพันธ์ เพ่ือด�ำรง
ต�ำแหน่งตามความข้อ 11. และข้อ 21. แห่งระเบียบน้ี
เม่ือการเลือกตั้งคณะกรรมการองค์การนักศึกษาและคณะกรรมการสภานักศึกษาชุดใหม่เสร็จสิ้นแล้ว ให้
นายกองค์การนักศึกษาชุดเดิม รายงานผลการเลือกตั้งมายังคณะกรรมการกิจการนักศึกษา เพื่อพิจารณาแต่งต้ัง
ต่อไป
ข้อ 36 การเลือกต้ังคณะกรรมการองค์การนักศึกษา ให้ด�ำเนินการพร้อมกับการเลือกตั้งสมาชิกสภา
นักศึกษา
ข้อ 37 ให้คณะกรรมการองค์การนักศึกษา มาจากการเลือกต้ังของนายกสโมสรนักศึกษาคณะและ
อุปนายกสโมสรนักศึกษาคนที่ 1 ของทุกคณะหรือวิทยาลัยและให้คณะกรรมการองค์การนักศึกษาท่ีผ่านการ
เลือกตั้งมาท�ำการคัดเลือกคณะกรรมการตามความข้อ 11. แห่งระเบียบน้ี
คณะกรรมการสภานกั ศกึ ษา มาจากการเลอื กตงั้ ของคณะกรรมการสภานกั ศกึ ษาของทกุ คณะหรอื วทิ ยาลยั
ๆ ละ 2 คน และให้คณะกรรมการสภานักศึกษาที่ได้รับเลือกตั้ง มาท�ำการเลือกต้ังคณะกรรมการสภานักศึกษา
ตามความในข้อ 21. แห่งระเบียบน้ี
ข้อ 38 ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการองค์การนักศึกษาและคณะกรรมการสภานักศึกษา ต้องมีคุณสมบัติ
ดังนี้
(1) ไม่เป็นนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายของหลักสูตรการศึกษา
(2) ไม่ถูกลงโทษทางวินัยโดยการถูกตัดคะแนนความประพฤติเกิน 20 คะแนนและไม่อยู่ระหว่าง
พักการศึกษา
(3) มีผลการศึกษาเฉลี่ยไม่ต�่ำกว่า 2.00 ในภาคเรียนที่มีการสมัคร
(4) ในกรณีที่สมัครรับเลือกตั้งคณะกรรมการองค์การนักศึกษา ต้องไม่เป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่งสมาชิก
สภานักศึกษา และผู้ท่ีสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภานักศึกษา ต้องไม่เป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่งคณะกรรมการองค์การ
นักศึกษา

ข้อ 39 ให้อธิการบดีแต่งตั้งคณะกรรมการองค์การนักศึกษาและสมาชิกสภานักศึกษาภายใน 15 วัน นับ
ต้ังแต่วันประกาศผลการเลือกต้ังคร้ังสุดท้าย
หมวด 7
สโมสรนักศึกษา
ข้อ 40 กิจกรรมนักศึกษาแต่ละคณะหรือวิทยาลัย ให้ด�ำเนินงานในรูปแบบของสโมสรนักศึกษา และสังกัด
องค์การนักศึกษาโดยอยู่ในความควบคุมดูแลของคณะหรือวิทยาลัยนั้น ๆ
ข้อ 41 ให้กิจกรรมนักศึกษาแต่ละคณะหรือวิทยาลัย มีสโมสรนักศึกษาเพียงสโมสรเดียว และให้ใช้ช่ือ
สโมสรนักศึกษาดังกล่าวตามช่ือของคณะหรือวิทยาลัย ซ่ึงสโมสรดังกล่าวต้องเป็นผู้รับผิดชอบและด�ำเนินงาน
ท้ังปวงเกี่ยวกับกิจกรรมของนักศึกษาในคณะหรือวิทยาลัยนั้น ๆ
ข้อ 42 ให้น�ำความตามข้อ 13 แห่งระเบียบนี้ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ 43 การสมัครเข้ารับเลือกต้ังเป็นกรรมการสโมสรนักศึกษา จะต้องสมัครรวมเป็นกลุ่มโดยมีผู้สมัคร
ครบทุกต�ำแหน่งและระบุต�ำแหน่งที่สมัครของแต่ละบุคคล
ข้อ 44 คณะกรรมการสโมสรนักศึกษาแต่ละคณะหรือวิทยาลัย ต้องจัดท�ำงบประมาณเงินบ�ำรุงกิจกรรม
นักศึกษาในการด�ำเนินกิจกรรม เสนอต่อกองกิจการพัฒนานักศึกษาและท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมตามระยะเวลา
ท่ีก�ำหนด ทั้งน้ีให้รวมงบประมาณของชุมนุมในสังกัดเข้าเป็นส่วนหนึ่งของงบประมาณนั้นด้วย
งบประมาณตามวรรคต้น จะต้องเป็นงบประมาณที่ใช้จ่ายในกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ หรือให้ความรู้แก่นักศึกษา
ในมหาวิทยาลัยหรือเป็นประโยชน์แก่ประชาชนโดยทั่วไป
ข้อ 45 คณะกรรมการสโมสรนักศึกษา จะต้องให้ความร่วมมือแก่องค์การกิจกรรมในการด�ำเนินกิจกรรม
นักศึกษาทั้งปวง
ข้อ 46คุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกต้ัง และผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา
ตลอดจนวิธีการเลือกต้ัง การด�ำรงต�ำแหน่ง และการพ้นจากต�ำแหน่งในคณะกรรมการสโมสร-นักศึกษาดังกล่าว
ให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการบริหารกิจกรรมนักศึกษาในคณะน้ัน ๆ
ข้อ 47 ให้สโมสรนักศึกษาแจ้งผลการเลือกตั้งคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาและสมาชิกสภา-นักศึกษา
ในระดับคณะหรือวิทยาลัย ให้องค์การนักศึกษาทราบทุกครั้งท่ีมีการเลือกตั้งภายใน 7 วัน 117

หมวด 8 ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
การเลือกตั้งและแต่งต้ังคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาและสมาชิกสภานักศึกษา
ข้อ 48 ให้สโมสรนักศึกษาชุดเดิมจัดการเลือกต้ังคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาและคณะกรรมการ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
สภานักศึกษาชุดใหม่ ให้แล้วเสร็จก่อนมีการคัดเลือกคณะกรรมการองค์การนักศึกษาและคณะกรรมการ
สภานักศึกษาชุดใหม่ ให้สโมสรนักศึกษาชุดเก่าจัดท�ำเป็นประกาศก�ำหนดรายละเอียดเก่ียวกับคณะกรรมการ
การเลือกตั้ง วัน เวลา สถานที่ วิธีการรับสมัคร การลงคะแนน รายงานผลการเลือกตั้ง และการร้องคัดค้าน
การเลือกตั้งมายังกองกิจการนักศึกษา

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ข้อ 49 ให้สโมสรนักศึกษาชุดเก่าจัดให้ผู้สมัครแถลงนโยบายและหาเสียงเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งอย่าง
น้อย 5 วัน
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 ข้อ 50 ให้สโมสรนักศึกษาชุดเดิม จัดให้มีการลงคะแนนและนับคะแนนเลือกตั้งที่คณะหรือวิทยาลัยที่
นักศึกษาสังกัด โดยแยกหีบเลือกตั้งคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาและสมาชิกสภานักศึกษา โดยให้ดำ�เนินการ
ในวันเดียว
ข้อ 51 นักศึกษาผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งได้แก่ นักศึกษาภาคปกติที่ไม่อยู่ระหว่างลาพักหือถูกสั่งให้
พักการศึกษา
ข้อ 52 นักศึกษาที่มีสิทธิออกเสียงแต่ละคน มีสิทธิเลือกกลุ่มผู้สมัครคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาได้
เพียง 1 กลุ่ม และสมาชิกสภานักศึกษาคณะหรือวิทยาลัยละ 2 คน
118 ข้อ 53 ให้คณะกรรมการสโมสรนักศึกษาชุดเดิมในแต่ละคณะหรือวิทยาลัย ส่งผลการนับคะแนนเลือก

ตั้งคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาและสมาชิกสภานักศึกษา ให้องค์การนักศึกษาทราบ เพื่อดำ�เนินการประกาศ
ผลการเลือกตั้งต่อไป
ข้อ 54 ให้องค์การนักศึกษาประกาศผลการเลือกตั้งภายใน 5 วันนับแต่วันที่ได้รับรายงานผลการเลือกตั้ง
ข้อ 55 ถ้านักศึกษาไม่น้อยกว่า 80 คน ที่มาใช้สิทธิเลือกตั้งของคณะหนึ่งคณะใดเห็นว่าการเลือกตั้งใน
คณะนั้นเป็นไปโดยไม่สุจริต หรือฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติในระเบียบนี้ ย่อมมีสิทธิยื่นคำ�ร้องคัดค้านเป็นลายลักษณ์
อักษรภายใน 5 วันนับแต่วันเลือกตั้ง เพื่อให้คณบดีหรือผู้ที่คณบดีมอบหมาย วินิจฉัยภายใน 5 วัน หากมีผลการ
วินิจฉัยว่าการเลือกตั้งดังกล่าวนั้นกระทำ�โดยมิชอบให้ดำ�เนินการเลือกตั้งมาใหม่ภายใน 15 วันนับตั้งแต่วันที่ทราบ
ผลวินิจฉัย
หมวด 9
ชมรม
ข้อ 56 นักศึกษาทุกคนต้องเป็นสมาชิกของชมรมนักศึกษาอย่างน้อย 1 ชมรมโดยแต่ละชมรมจะต้องมี
ระเบียบหรือข้อบังคับการดำ�เนินกิจกรรมตามที่มหาวิทยาลัยกำ�หนด ทั้งนี้ต้องไม่ขัดหรือแย้งต่อระเบียบนี้
ข้อ 57 ชมรมนักศึกษา มีหน้าที่ให้บริการแก่นักศึกษาที่มาขอใช้บริการ จะกีดกันนักศึกษาที่มาใช้บริการ
หรือมาร่วมกิจกรรมของชมรมไม่ได้ เว้นแต่กรณีที่นักศึกษากระทำ�ผิดหรือฝ่าฝืนระเบียบของชมรมนั้น
ข้อ 58 การจัดตั้งชมรมนักศึกษาขึ้นใหม่ มีขั้นตอนวิธีปฏิบัติดังนี้
กลุ่มนักศึกษาที่ประสงค์จะจัดตั้งชมรม ยื่นหนังสือขอจัดตั้งต่อองค์การนักศึกษาพร้อมรายละเอียด
เกี่ยวกับชมรมที่ขอจัดตั้ง ดังต่อไปนี้
(1) ชื่อและวัตถุประสงค์ของชมรมที่จะจัดตั้ง
(2) รายนามอาจารย์ที่ปรึกษา
(3) รายนามสมาชิกจำ�นวนไม่น้อยกว่า 50 คนตามเกณฑ์แห่งระเบียบนี้ โดยระบุชั้นปี คณะ
และเลขประจำ�ตัวของแต่ละคน พร้อมทั้งใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกและรูปถ่ายของสมาชิกแต่ละคน
(4) รายชื่อคณะกรรมการบริหาร โดยต้องระบุตำ�แหน่งหน้าที่ของกรรมการแต่ละคน

(5) สถานที่ตั้งและประเภทกิจกรรมของชมรมที่ขอจัดตั้ง
(6) ระเบียบและข้อบังคับของชมรมที่ขอจัดตั้ง ตามความในข้อ 59
วิธีดำ�เนินการพิจารณาอนุมัติการจัดตั้งชมรม ให้ดำ�เนินการ ดังนี้
(1) เมื่อองค์การนักศึกษาได้รับเรื่องการขอจัดตั้งชมรมแล้ว ให้เสนอความเห็น
และแจ้งต่อสภานักศึกษาภายใน 15 วัน
(2) สภานักศึกษาลงมติอนุมัติให้จัดตั้งหรือไม่ให้จัดตั้งภายใน 45 วันหลังจากได้รับเรื่องการขอ
จัดตั้ง
เมื่อสภานักศึกษามีมติให้จัดตั้งชมรมใด ให้สภานักศึกษาเสนอคณะกรรมการกิจการนักศึกษา
ภายใน 7 วัน เพื่อพิจารณาอนุมัติและแจ้งให้องค์การนักศึกษาทราบ เพื่อดำ�เนินการแจ้งต่อชมรมที่ขอจัดตั้งนั้น
ต่อไป
(3) สภานักศึกษาอาจเชิญตัวแทนจากชมรมที่จะก่อตั้ง มาชี้แจงรายละเอียดเพิ่มเติมในที่ประชุม
สภานักศึกษาได้ตามเหตุอันสมควร
ข้อ 59 ระเบียบหรือข้อบังคับการดำ�เนินกิจกรรมของชมรมนักศึกษาต้องประกอบด้วยรายละเอียดที่
สำ�คัญ ดังนี้
(1) ชื่อและเครื่องหมายของชมรม
(2) ที่ตั้งสำ�นักงานและวัตถุประสงค์ของชมรม
(3) ประเภทและคุณสมบัติของชมรม
(4) สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกในชมรม
(5) องค์ประกอบ โครงสร้างการบริหาร อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารชมรม
(6) คุณสมบัติของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งต่าง ๆ ในคณะกรรมการบริหารชมรม
(7) การคัดเลือก แต่งตั้ง และการพ้นวาระของคณะกรรมการบริหารและตำ�แหน่งต่าง ๆ ในชมรม
(8) การประชุมและการตัดสินชี้ขาด
(9) การเงินและทรัพย์สิน
(10) การเก็บรักษาเงินและทรัพย์สิน การสั่งจ่ายเงินและการเบิกเงินของชมรม 119
(11) การได้มาของทรัพย์สินในชมรม
(12) การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงระเบียบข้อบังคับที่กำ�หนดโดยชมรม
ข้อ 60 ชมรมนักศึกษาจะจัดตั้งขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ มีวัตถุประสงค์เพื่อดำ�เนินกิจกรรมด้านใดด้านหนึ่งโดย ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
เฉพาะ คือ
(1) ชมรมด้านพัฒนาสังคมและบำ�เพ็ญประโยชน์ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
(2) ชมรมด้านศิลปะและวัฒนธรรม
(3) ชมรมด้านกีฬาและนันทนาการ
(4) ชมรมด้านวิชาการ
(5) อื่น ๆ

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ข้อ 61 ให้คณะกรรมการบริหารชมรม ประกอบด้วย
(1) ประธาน
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (2) รองประธาน
(3) เลขานุการ
(4) เหรัญญิก
(5) ประชาสัมพันธ์
(6) กรรมการฝ่ายต่างๆ อีกไม่เกิน 10 คน
ข้อ 62 ให้แต่ละชมรมนักศึกษาทำ�การคัดเลือกคณะกรรมการบริหารชมรม เพื่อรับผิดชอบในกิจการของ
ชมรมให้แล้วเสร็จก่อนสิ้นปีการศึกษา พร้อมทั้งให้แจ้งรายชื่อกรรมการบริหารชุมนุมชุดใหม่ให้องค์การนักศึกษา
120 ทราบภายใน 7 วัน
ข้อ 63 คณะกรรมการบริหารชมรมมีอำ�นาจหน้าที่ตามกำ�หนดไว้ในระเบียบข้อบังคับของชมรมนั้น และ
(1) ควบคุมการดำ�เนินงานในชมรมของตนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของชมรม
(2) รับผิดชอบร่วมกันในการบริหารกิจกรรมของชมรม
(3) จัดทำ�ร่างงบประมาณของชมรมและเสนอต่อองค์การนักศึกษา
(4) จดั ทำ�รา่ งรายงานประเมนิ ผลการดำ�เนนิ งานในรอบปขี องชมรม แลว้ เสนอตอ่ องคก์ ารนกั ศกึ ษา
ก่อนวันสิ้นวาระการทำ�งาน
(5) ช่วยเหลือในกิจการโดยทั่วไปขององค์การนักศึกษา
ข้อ 64 ชมรมจะได้รับงบประมาณในการดำ�เนินกิจกรรม เมื่อได้รับอนุมัติจากสภาแล้วการที่ชมรม
จะได้รับการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ จะต้องจัดทำ�รายงานประเมินผลการดำ�เนินงานทั้งหมดของตน
ในรอบปี เสนอต่อสภานักศึกษาภายใน 30 วันก่อนวันสิ้นวาระการทำ�งานของคณะกรรมการบริหารชมรม มิฉะนั้น
จะมิได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณประจำ�ปีและให้สภานักศึกษารวบรวมรายงานประเมินผลดังกล่าวเสนอต่อ
คณะกรรมการกิจการนักศึกษา เพื่อรับทราบและพิจารณาต่อไป
ข้อ 65 ชมรมสิ้นสุดสภาพลงเมื่อสภานักศึกษาลงมติให้ยุบเลิก ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งดังนี้
(1) ไม่มีการดำ�เนินกิจกรรมปรากฏในรอบปีตามที่ควรจะเป็น โดยพิจารณาจากรายงานผลการ
ดำ�เนินงาน
(2) ไม่ส่งรายงานประเมินผลการดำ�เนินงานในรอบปี
(3) คณะกรรมการบริหารชมรมนั้นเห็นสมควรให้ยกเลิก
(4) ดำ�เนินกิจกรรมผิดวัตถุประสงค์ อันก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อชื่อเสียงของนักศึกษา
องค์การนักศึกษา หรือมหาวิทยาลัย
(5) ไม่ปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยหรือองค์การนักศึกษา อันก่อให้เกิดอภิสิทธิ์หรือ
ทำ�ให้แบบแผนการปฏิบัติงานและระบบการบริหารกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยเสียหาย
ข้อ 66 ในกรณีที่มีการยุบเลิกชมรม ให้องค์การนักศึกษาตรวจสอบและดำ�เนินการโอนทรัพย์สิน
ทั้งหมดของชมรมนั้นเป็นองค์การนักศึกษา

หมวด 10
ชุมนุม
ข้อ 67 ให้ชุมนุมอยู่ในความควบคุมดูแล และความรับผิดชอบของสโมสรนักศึกษา
ข้อ 68 การจัดตั้งชุมนุมให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ ของสโมสรนักศึกษานั้น ๆ ทั้งนี้ต้องไม่ขัด
หรือแย้งต่อระเบียบนี้
ข้อ 69 ชุมนุมอาจได้รับงบประมาณในการดำ�เนินกิจกรรมจากสโมสรนักศึกษาภายในเกณฑ์ที่สโมสร
นักศึกษาจะได้รับตามที่กำ�หนดไว้ และให้ถือว่างบประมาณดังกล่าวนี้ เป็นส่วนหนึ่งของงบประมาณสโมสร
นักศึกษา
ข้อ 70 เมื่อมีการยุบเลิกชุมนุม ให้สโมสรนักศึกษาดำ�เนินการตรวจสอบและโอนทรัพย์สินทั้งหมดของ
ชุมนุมนั้นให้เป็นของสโมสรนักศึกษา
ข้อ 71 การบริหารชุมนุมนักศึกษา ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับของสโมสรนักศึกษา
หมวด 11
การเงิน
ข้อ 72 เงินบำ�รุงกิจกรรมนักศึกษาประกอบด้วย
(1) เงินค่าธรรมเนียมการศึกษาในแต่ละปีการศึกษา คือ
(1.1) เงินค่าบำ�รุงกิจกรรม คือ ค่าบำ�รุงกิจกรรมนักศึกษาตามประกาศ มหาวิทยาลัย
นครพนม เรื่อง การกำ�หนดอัตราค่าบำ�รุงและค่าธรรมเนียมการศึกษาประจำ�ปีการศึกษา
(1.2) เงินเหลือจ่ายจากเงินบำ�รุงกิจกรรมนักศึกษาของปีที่ผ่านมา
(2) เงินจากการหารายได้ของนักศึกษา คือ
(2.1) เงินรายได้จากการจัดกิจกรรมองค์การนักศึกษา
(2.2) เงินดอกผล หรือ ดอกเบี้ยเงินฝาก
(2.3) เงินบริจาคจากบุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ
เงินตาม (1) ให้นำ�ฝากไว้ในสถาบันการเงินที่มหาวิทยาลัยเห็นชอบ และเงินตาม (2) ให้เก็บรักษาไว้
ในบัญชีขององค์การนักศึกษา สโมสรนักศึกษาหรือชมรม และมีวิธีการทางบัญชีในการรับ และเบิกจ่ายที่ถูก
ต้องตามหลักเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำ�หนด ซึ่งสภานักศึกษาหรือมหาวิทยาลัยสามารถเรียกตรวจสอบได้ ในการ 121

ใช้จ่ายเงินส่วนนี้จำ�เป็นต้องให้ที่ปรึกษาโครงการเห็นชอบด้วย
ข้อ 73 เงินบำ�รุงกิจการนักศึกษาตามระเบียบนี้ ให้ใช้ในการดำ�เนินกิจกรรมของนักศึกษาทั้งภายใน ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
และภายนอกมหาวิทยาลัย
ข้อ 74 ในการใช้จ่ายเงินตามข้อ 72 ต้องจัดทำ�เป็นโครงการและได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
กิจการนักศึกษา การเบิกจ่ายเงินให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยโดยอนุโลม
ข้อ 75 การจัดสรรงบประมาณตามข้อ 72 (1) ให้คณะกรรมการองค์การนักศึกษาจัดสรรให้แก่
คณะกรรมการองค์การนักศึกษา สโมสรนักศึกษา และชมรมนักศึกษาตามความเหมาะสม โดยองค์กรกิจกรรม
ที่เกี่ยวข้องเป็นผู้จัดทำ�คำ�ของบประมาณ ที่มีรายละเอียดโครงการพร้อมคำ�ชี้แจงถึงความเป็นไปในการ
ของบประมาณเสนอต่อคณะกรรมการองค์การนักศึกษา เพื่อพิจารณาหลักเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณ

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ขององค์การนักศึกษา ให้ดำ�เนินการดังนี้
(1) การจัดสรรงบประมาณแก่ชมรม ให้พิจารณาโครงการที่เสนอและผลการดำ�เนินงานในปีการ
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 ศึกษาที่ผ่านมา
(2) การจัดสรรงบประมาณแก่สภานักศึกษา ให้จัดสรรเฉพาะกิจกรรมประชุมและกิจกรรมใน
ลักษณะการพัฒนา ปรับปรุงองค์กรหรือกิจกรรมที่เป็นหน้าที่โดยตรงของสภานักศึกษา
ข้อ 76 การจัดสรรงบประมาณตามข้อ 75. สำ�หรับโครงการที่เป็นแผนงานประจำ�ปีให้คณะกรรมการ
บริหารชมรม จัดทำ�และเสนอร่างข้อกำ�หนดงบประมาณต่อคณะกรรมการองค์การนักศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความ
เห็นชอบก่อนเปิดภาคการศึกษาต้น ทั้งนี้ให้จัดสัดส่วนการจัดสรรเงินบำ�รุงกิจกรรมนักศึกษาไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ
10 ของทุกปีการศึกษา เพื่อใช้ในการดำ�เนินกิจกรรมนักศึกษาสำ�หรับปีการศึกษาถัดไป การจัดสรรงบประมาณ
สำ�หรับโครงการเฉพาะกิจอื่น ๆ หรือโครงการเร่งด่วนให้คณะกรรมการบริหารชมรมนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ
122 องค์การนักศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบเป็นคราว ๆ ไป

ข้อ 77 การพิจารณาร่างข้อกำ�หนดงบประมาณหรือโครงการขอใช้งบประมาณขององค์การนักศึกษา
ตามความข้อ 76 ให้ผู้แทนชมรมนักศึกษาที่เกี่ยวข้องเข้าไปชี้แจงรายละเอียดหรือเหตุผลต่อที่ประชุม
ข้อ 78 การเบิกจ่ายเงินขององค์การนักศึกษาตามข้อ 72(2) ให้นายกองค์การนักศึกษาหรืออุปนายก
ทั้งสองคนลงนามร่วมกับเหรัญญิก ส่วนการเบิกจ่ายเงินของชมรมอื่นให้ประธานหรือหัวหน้าชมรมนั้น ๆ ลงนาม
ร่วมกับเหรัญญิกขององค์กรกิจกรรม
ข้อ 79 นักศึกษาผู้ใดที่ได้รับเลือกตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในระเบียบนี้ ได้จ่ายเงินไป
โดยฝ่าฝืนหลักเกณฑ์ตามข้อกำ�หนดงบประมาณประจำ�ปี จะต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายต่าง ๆ แก่องค์การ
นักศึกษาภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ชดใช้เงินดังกล่าว มิฉะนั้นอาจถูกลงโทษ
ทางวินัยนักศึกษาจากมหาวิทยาลัย หรือถูกดำ�เนินการทางกฎหมายตามสมควรแก่กรณี
ข้อ 80 ให้กองกิจการนักศึกษามีหน้าที่ควบคุมการใช้จ่ายเงินบำ�รุงกิจการนักศึกษา
ข้อ 81 ผู้มีอำ�นาจถอนเงินบำ�รุงกิจการนักศึกษาตามข้อ 72(1) ให้ผู้ลงนามร่วมกัน 2 ใน 3 คนดังนี้
(1) รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและบุคลากร
(2) ผู้อำ�นวยการกองกิจการนักศึกษา
(3) เจ้าหน้าที่การเงินกองกิจการนักศึกษา
ข้อ 82 ให้อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมนักศึกษาเป็นผู้ยืมเงินทดรองจ่าย โดยยืมเงินไปใช้จ่ายในการดำ�เนิน
กิจกรรม เมื่อเสร็จสิ้นโครงการให้นำ�หลักฐานการจ่ายเงินมาหักล้างหนี้เงินยืมตามสัญญายืมเงิน และเงินส่วน
ที่เหลือให้ส่งคืนเป็นเงินสด โดยดำ�เนินการให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับถัดจากวันเสร็จสิ้นโครงการ ทั้งนี้
ให้กองกิจการนักศึกษาให้ความรู้แก่นักศึกษาเกี่ยวกับการใช้และเบิกจ่ายเงินด้วย
ข้อ 83 ให้กองกิจการนักศึกษาเป็นผู้จัดทำ�บัญชีเงินบำ�รุงกิจกรรมนักศึกษาโดยอนุโลม ตามระบบบัญชี
ราชการ เว้นแต่คณะกรรมการกิจการนักศึกษาจะได้กำ�หนดระบบบัญชีเป็นอย่างอื่น หลักฐานที่ใช้ในการลงบัญชี
จะต้องเก็บไว้ให้เป็นระเบียบ เพื่อความสะดวกแก่การตรวจสอบ และให้ติดประกาศผลการตรวจสอบบัญชีไว้ใน
ที่เปิดเผย

ข้อ 84 ให้การนับบัญชีของเงินบำ�รุงกิจกรรมนักศึกษา เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ของปีหนึ่งถึงสิ้นเดือน
กุมภาพันธ์ของปีถัดไป
ข้อ 85 ให้กองกิจการนักศึกษาจัดทำ�รายงานประจำ�ปี เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินบำ�รุงกิจกรรมนักศึกษา
เสนออธิการบดีหรือผู้ที่อธิการบดีมอบหมายภายในเดือนพฤษภาคมของทุกปี โดยแสดงรายละเอียดตามที่
มหาวิทยาลัยกำ�หนด
ข้อ 86 เมื่อคณะกรรมการบริหารชมรมหมดวาระหรือมีการปรับเปลี่ยน ให้คณะกรรมการบริหารชมรม
ที่จะหมดวาระหรือปรับเปลี่ยน จัดทำ�หนังสือมอบหมายงานและรายงานทรัพย์สินและหนี้สินที่มีอยู่แล้วส่งมอบ
ให้คณะกรรมการชมรมชุดใหม่ภายใน 10 วัน นับตั้งแต่วันที่มีการแต่งตั้ง แล้วแจ้งให้กองกิจการนักศึกษาทราบ
ข้อ 87 การจัดสรรงบประมาณให้แก่องค์กรกิจกรรมนักศึกษาในรูปแบบของชุมนุมนักศึกษา ให้เป็นไป
ตามหลักเกณฑ์ที่คณะหรือวิทยาลัยกำ�หนด โดยไม่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ให้นำ�บทบัญญัติว่าด้วยการเงินแห่งระเบียบ
นี้มาใช้โดยอนุโลม
หมวด 12
ที่ปรึกษากิจกรรมของนักศึกษา
ข้อ 88 เพื่อส่งเสริมให้การดำ�เนินกิจกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยเป็นไปตามเจตนารมณ์และ
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ มหาวิทยาลัยต้องจัดให้มีที่ปรึกษาขององค์กรกิจกรรมต่าง ๆ อันได้แก่ องค์การนักศึกษา
สภานักศึกษา สโมสรนักศึกษา ชมรมและชุมนุม เพื่อทำ�หน้าที่ให้คำ�ปรึกษา แนะนำ�และดูแลกิจกรรมต่าง ๆ ให้
เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และดำ�เนินการที่ชอบด้วยระเบียบแบบแผนและประเพณีนิยมอันดีงาม
ข้อ 89 ให้มหาวิทยาลัยแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาองค์กรกิจกรรมระดับมหาวิทยาลัยได้ไม่เกินองค์กรละ
3 คน และอาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละคนเป็นที่ปรึกษาได้ไม่เกิน 3 องค์กร ส่วนอาจารย์ที่ปรึกษาองค์กรกิจกรรม
ระดับคณะหรือวิทยาลัย ให้คณะหรือวิทยาลัยแต่งตั้งตามความเหมาะสม ทั้งนี้ คุณสมบัติของที่ปรึกษาให้เป็นไป
ตามประกาศของมหาวิทยาลัยหรือคณะหรือวิทยาลัย แล้วแต่กรณี โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้รับค่าตอบแทนตาม
ที่มหาวิทยาลัยกำ�หนด
ข้อ 90 การแต่งตั้งหรือเปลี่ยนแปลงที่ปรึกษาองค์กรกิจกรรมระดับมหาวิทยาลัย ต้องได้รับความเห็น
ชอบจากองค์การนักศึกษาก่อน จึงนำ�เสนอให้มหาวิทยาลัยพิจารณาต่อไป
หมวด 13 123

บททั่วไป
ข้อ 91 นักศึกษาจะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการองค์การนักศึกษา คณะกรรมการสภานักศึกษา กรรมการ ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
สโมสร กรรมการชมรม เกนิ กวา่ 1 ตำ�แหนง่ ในเวลาเดยี วกนั ไมไ่ ด้ เวน้ แตผ่ ูท้ ีด่ ำ�รงตำ�แหนง่ นายกสโมสรและอปุ นายก
สโมสรคนที่ 1 ให้ดำ�รงตำ�แหน่งคณะกรรมการองค์การนักศึกษาในเวลาเดียวกันได้ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
ข้อ 92 กรรมการนักศึกษาทุกประเภท สมาชิกสภานักศึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษามีวาระการดำ�รง
ตำ�แหน่งคราวละ 1 ปี
ข้อ 93 การจัดกิจกรรมต่างๆ ต้องดำ�เนินการโดยองค์กรกิจกรรม และจะต้องอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
ของอาจารย์ที่ปรึกษา โดยแบ่งผู้รับผิดชอบออกเป็น 2 กลุ่มได้แก่
(1) องค์การนักศึกษา

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม (2) สโมสรนักศึกษา
ข้อ 94 การอนุมัติจัดกิจกรรม
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (1) ให้อธิการบดีหรือผู้ที่อธิการบดีมอบหมาย เป็นผู้อนุมัติการจัดกิจกรรมขององค์กรกิจกรรม
ตามข้อ 93(1) รวมทั้งอนุมัติการจัดกิจกรรมร่วมระหว่างคณะต่าง ๆ และการจัดกิจกรรมภายนอกมหาวิทยาลัย
หรือกิจกรรมที่มีบุคคลภายนอกเข้าร่วม
(2) ให้คณบดีหรือผู้ที่คณบดีมอบหมายเป็นผู้อนุมัติการจัดกิจกรรมขององค์กรกิจกรรมตาม
ข้อ 93(2)
ข้อ 95 การจัดทำ�หนังสือ สิ่งตีพิมพ์ ภาพวาด หรือภาพขีดเขียนขององค์กรกิจกรรมเพื่อเผยแพร่แก
่ผู้อื่นต้องระบุชื่อผู้จัดทำ� ผู้รับผิดชอบ และชื่อองค์กรกิจกรรมให้ชัดเจนรวมทั้งต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
โดยองค์กรกิจกรรมตามข้อ 93(1) หรือ 93(2) ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้อำ�นวยการกองกิจการนักศึกษา
124 หรือคณบดีก่อนแล้วแต่กรณี จึงจะสามารถดำ�เนินการได้

ข้อ 96 การดำ�เนินการใด ๆ ที่กระทำ�ในนามองค์กรกิจกรรม หากเป็นการฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับ และ
ประกาศอื่นใดของมหาวิทยาลัยหรือฝ่าฝืนกฎหมายของบ้านเมือง ผู้รับผิดชอบองค์กรกิจกรรมนั้น ๆ ต้องเป็นผู้รับ
ผิดชอบต่อกิจกรรมหรือการดำ�เนินการดังกล่าว
ขอ้ 97 ใหอ้ ธกิ ารบดรี กั ษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บนี ้ และมอี ำ�นาจวนิ จิ ฉยั ออกระเบยี บปฏบิ ตั ิ ประกาศ
หรือคำ�สั่งเกี่ยวกับกิจกรรมนักศึกษาที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

พลเอก
(ชวลิต ยงใจยุทธ)
นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม

ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยนครพนม
วา่ ด้วยวินยั นักศกึ ษา พ.ศ. 2553
.................................
เพ่ือรักษาไว้ซ่ึงช่ือเสียงเกียรติคุณของมหาวิทยาลัยนครพนม มารยาทอันดีงาม และความประพฤติ
อนั เรยี บร้อยของนกั ศกึ ษา และใหบ้ รรลตุ ามปณิธานของมหาวทิ ยาลยั นครพนม
อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 17 (2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548
และโดยมติสภามหาวทิ ยาลัยนครพนม ในคราวประชมุ คร้ังท่ี 9/2553 เม่อื วนั ท่ี 13 ธนั วาคม 2553 จงึ วางระเบียบ
ไว้ดังตอ่ ไปนี้
ข้อ 1 ระเบยี บน้เี รยี กว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม” ว่าด้วยวนิ ัยนกั ศึกษา พ.ศ. 2549”
ข้อ 2 ระเบยี บน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ต้ังแต่วันถดั จากวนั ประกาศเปน็ ต้นไป
ข้อ 3 บรรดา ระเบียบ ขอ้ บังคบั ประกาศ หรือ คำ�ส่งั ใดที่ขัดหรือแยง้ กับระเบยี บน้ีให้ใช้ระเบียบนแี้ ทน
ข้อ 4 ในระเบียบน้ี
“มหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ มหาวทิ ยาลัยนครพนม
“คณะ” หมายความว่า คณะ/วิทยาลัย หรอื หนว่ ยงานท่เี รยี กชือ่ อยา่ งอืน่ ที่มี
ฐานะเทยี บเท่าคณะ
“อธกิ ารบด”ี หมายความว่า อธิการบดมี หาวิทยาลัยนครพนม
“คณบด”ี หมายความวา่ คณบดี ผอู้ ำ�นวยการ หรือหนว่ ยงานที่เรียกชอ่ื
อยา่ งอืน่ ท่ีมฐี านะเทียบเท่าคณะของนกั ศึกษา
ที่สังกดั
“นักศึกษา” หมายความวา่ นักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยนครพนม 125

“ผปู้ กครอง” หมายความว่า บดิ า มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม
“อาจารย”์ หมายความว่า ผู้ปฏิบัตกิ ารสอนสงั กัดในมหาวิทยาลัยนครพนม
“เจา้ หน้าที”่ หมายความว่า ผทู้ ่ีได้รบั มอบหมายหรือแตง่ ตง้ั ใหป้ ฏิบัตงิ าน ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
ในดา้ นวนิ ัยนกั ศกึ ษา
“คณะกรรมการวนิ ยั นกั ศึกษามหาวทิ ยาลัย” ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
หมายความว่า คณะกรรมการวนิ ยั นักศึกษามหาวทิ ยาลัยนครพนม
“คณะกรรมการวินัยนักศึกษาประจำ�คณะ”
หมายความวา่ คณะกรรมการวินัยนักศึกษาประจำ�คณะหรอื วิทยาลยั
ทนี่ กั ศึกษาสังกัด

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ข้อ 5 ให้อธิการบดีแต่งตั้งคณะกรรมการวินัยศึกษาประจำ�คณะ ขึ้นคณะหนึ่งประกอบด้วย
(1) คณบดี หรือรองคณบดีที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 (2) ตัวแทนอาจารย์ในคณะไม่น้อยกว่า 1 คน เป็นกรรมการ
(3) ตัวแทนเจ้าหน้าที่ในคณะ ไม่น้อยกว่า 1 คน เป็นกรรมการ
(4) ตัวแทนนักศึกษาในคณะ ไม่น้อยกว่า 1 คน เป็นกรรมการ
(5) ให้คณบดีแต่งตั้งอาจารย์ หรือเจ้าหน้าที่เป็นเลขานุการ
ข้อ 6 ให้อธิการบดีแต่งตั้งคณะกรรมการวินัยนักศึกษาประจำ�มหาวิทยาลัยนครพนม ประกอบด้วย
(1) อธิการบดีหรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ
(2) ตัวแทนคณบดีหรือรองคณบดีที่ได้รับมอบหมาย ไม่น้อยกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
เป็นกรรมการ
126 (3) ตัวแทนองค์การนักศึกษาไม่น้อยกว่า 1 คน เป็นกรรมการ

(4) ผู้อำ�นวยการกองพัฒนานักศึกษา หรือรักษาราชการแทนผู้อำ�นวยการกองพัฒนานักศึกษา
เป็นกรรมการ
(5) นิติกรมหาวิทยาลัยนครพนม จำ�นวน 1 คน เป็นเลขานุการ
(6) เจ้าหน้าที่กองพัฒนานักศึกษา เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ข้อ 7 นักศึกษาต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศหรือคำ�สั่งของมหาวิทยาลัยหรือคณะ
อย่างเคร่งครัด
ข้อ 8 นักศึกษาต้องปฏิบัติตามศีลธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมที่ดีของสังคมไทย
ข้อ 9 นักศึกษาต้องรักษาไว้ซึ่งระเบียบวินัย ความสามัคคี และชื่อเสียงเกียรติคุณของมหาวิทยาลัย
ข้อ 14 นักศึกษาใช้สถานที่และบริเวณมหาวิทยาลัยได้ไม่เกินเวลาที่กำ�หนด เว้นแต่จะได้รับอนุญาต
เปน็ กรณี ๆ ไป
ข้อ 15 นกั ศึกษาต้องไม่ดำ�เนนิ กจิ กรรมใด ๆ อันเป็นการขดั ต่อกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ
ประกาศ และคำ�ส่งั ของมหาวิทยาลัย หรือคณะ
ข้อ 16 นกั ศึกษาตอ้ งไม่กระทำ�การใด ๆ อนั จะก่อใหเ้ กิดความเสียหายแกผ่ อู้ ่นื หรอื มหาวิทยาลยั
ข้อ 17 นักศกึ ษาต้องไม่นำ�หรอื ไม่ดื่มสุรา หรือเสพของมนึ เมาใด ๆ ในเครือ่ งแตง่ กายนักศึกษา
ข้อ 18 นกั ศกึ ษาตอ้ งไมด่ มื่ สรุ า หรือเสพของมึนเมาใด ๆ ในเครอ่ื งแตง่ กายนักศึกษา
ขอ้ 19 นกั ศึกษาตอ้ งไม่เล่นหรือมสี ่วนเกยี่ วขอ้ งหรอื สนับสนนุ การพนันใด ๆ
ข้อ 20 นักศกึ ษาตอ้ งไมก่ ระทำ�ตนให้เป็นผมู้ หี นีส้ ินล้นพ้นตวั จนมเี รอ่ื งเสียหายถงึ ผู้อน่ื หรอื มหาวทิ ยาลัย
ขอ้ 21 นกั ศกึ ษาต้องไม่ลักขโมย ยักยอกหรือทำ�ลายทรพั ยส์ ินของผอู้ ่ืนหรือทรพั ย์สนิ มหาวิทยาลัย
ขอ้ 22 นกั ศกึ ษาตอ้ งไมน่ ำ�สง่ิ ผดิ กฎหมายเขา้ มาในบรเิ วณมหาวทิ ยาลยั หรอื มสี งิ่ ผดิ กฎหมายไวใ้ นครอบครอง
ขอ้ 23 นกั ศกึ ษาต้องไมม่ หี รอื พกพาอาวธุ หรือวัตถุระเบิด
ข้อ 24 นกั ศกึ ษาตอ้ งไม่ก่อหรอื มีสว่ นเก่ยี วข้องในการทะเลาะววิ าทกับนักศกึ ษาด้วยกนั หรือกับผู้อน่ื

ข้อ 25 นักศึกษาผู้ใดเป็นผู้ก่อหรือมีส่วนเกี่ยวข้องเป็นคดีถึงเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองแล้ว ต้องรีบรายงาน
พฤติการณ์นั้นต่ออาจารย์ที่ปรึกษาทันที หรืออาจารย์ฝ่ายกิจการนักศึกษาในคณะที่ตนสังกัดหรือกองพัฒนา
นักศึกษาทันที
ข้อ 26 นักศึกษาผู้ใดต้องโทษโดยคำ�พิพากษาถึงที่สุดให้จำ�คุก เว้นแต่ความผิดลหุโทษหรือความผิด
อันได้กระทำ�โดยประมาท ถือว่าเป็นผู้กระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ขอ้ 27 นกั ศกึ ษาซึง่ ปฏบิ ตั ฝิ า่ ฝนื กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ประกาศหรอื คำ�สัง่ ใด ๆ ของมหาวทิ ยาลยั
หรือคณะ ให้ถือว่าเป็นการกระทำ�ผิดวินัย และจะได้รับโทษตามระดับความผิดดังต่อไปนี้
(1) ว่ากล่าวตักเตือน
(2) ทำ�ทัณฑ์บน
(3) ตัดคะแนนความประพฤติ
(4) ทำ�กิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยน
(5) ให้พักการศึกษา
(6) ให้พ้นจากสภาพการเป็นนักศึกษา
อนึ่ง เมื่อมหาวิทยาลัยหรือคณะ ได้ลงโทษแก่นักศึกษาผู้ใดแล้ว ให้รีบแจ้งต่อผู้ปกครอง และคณะ
ของนักศึกษาผู้นั้นหรืออธิการบดี พร้อมทั้งให้บันทึกไว้ในทะเบียนประวัติของนักศึกษาผู้นั้นด้วย
หากนักศึกษาผู้ใด ได้รับการลงโทษ ตามข้อ 27 (5) ให้พักการศึกษา และข้อ 27 (6) ให้พ้นจากสภาพการ
เป็นนักศึกษา นักศึกษาสามารถอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินัยมหาวิทยาลัยนครพนมได้ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่
วันที่ได้รับทราบคำ�สั่ง
ข้อ 28 การพิจารณาตัดคะแนนความประพฤติผิดวินัยนักศึกษา ให้ตัดคะแนนสะสมตลอดระยะเวลาที่
มีสภาพเป็นนักศึกษา
(1) การตัดคะแนนแต่ละครั้ง ให้ตัดได้ไม่ต่ำ�กว่าครั้งละ 5 คะแนน แต่จะเป็นจำ�นวน
เท่าใด ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการ
(2) นักศึกษาผู้ใดถูกตัดคะแนนครั้งเดียวหรือหลายครั้งรวมกันตั้งแต่ 20 คะแนน แต่ไม่เกิน
50 คะแนน ให้คณบดีทำ�ทัณฑ์บนเป็นลายลักษณ์อักษร
(3) นักศึกษาผู้ใดถูกตัดคะแนนครั้งเดียวหรือหลายครั้งรวมกันเกินกว่า 50 คะแนน แต่ไม่เกิน 127

80 คะแนน ให้อธิการสั่งพักการศึกษามีกำ�หนด 1 ภาคการศึกษา
(4) นักศึกษาผู้ใดถูกตัดคะแนนครั้งเดียวหรือหลายครั้งรวมกันเกินกว่า 80 คะแนน แต่ไม่ถึง ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
100 คะแนน ให้อธิการบดีสั่งพักการศึกษามีกำ�หนด 2 ภาคการศึกษา
(5) นักศึกษาผู้ใดถูกตัดคะแนนครั้งเดียวหรือหลายครั้งรวมกันครบ 100 คะแนน ให้อธิการบดี ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
สั่งให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
ข้อ 29 การสอบสวนและการลงโทษการกระทำ�ผิดวินัย ในกรณีที่มีการกระทำ�ผิดวินัยเกิดขึ้นในคณะใด
คณะหนึ่ง และนักศึกษาคณะ นั้นเป็นผู้กระทำ�ผิดโดยไม่มีนักศึกษาในคณะ อื่นเกี่ยวข้องให้คณะกรรมการวินัย
นักศึกษาประจำ�คณะ ของคณะนั้นเป็นผู้มีอำ�นาจสอบสวนการกระทำ�ผิดวินัย และเมื่อได้ทำ�การสอบสวนการ
กระทำ�ผิดวินัยดังกล่าวแล้ว ได้ความว่านักศึกษาได้กระทำ�ผิดวินัยจริงและสมควรได้รับโทษ ให้เสนอเรื่องพร้อม

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ด้วยความเห็นเสนอต่อคณบดี เพื่อพิจารณาลงโทษนักศึกษาผู้นั้นต่อไป
หากนักศึกษาร่วมกันกระทำ�ความผิดตั้งแต่ 2 คณะขึ้นไป ให้คณะกรรมการวินัยนักศึกษาประจำ�
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเป็นผู้มีอำ�นาจสอบสวนการกระทำ�ผิดวินัย เว้นแต่อธิการบดีจะเห็นสมควรเป็นอย่างอื่นเป็น
กรณี ๆ ไป และเมื่อได้ทำ�การสอบสวนการกระทำ�ผิดวินัยกังกล่าวแล้ว ได้ความว่านักศึกษาได้กระทำ�ผิดวินัยจริง
และสมควรได้รับโทษ ให้เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่ออธิการบดี เพื่อพิจารณาลงโทษนักศึกษาผู้นั้นต่อไป
ข้อ 30 เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริง พฤติการณ์ และพยานหลักฐานต่าง ๆ อันเกี่ยวกับการกระทำ�ผิดวินัย
และเพื่อพิสูจน์ให้เห็นถึงการกระทำ�ผิดวินัยนั้น ให้ผู้มีอำ�นาจสอบสวนการกระทำ�ผิดวินัยมีอำ�นาจ ดังต่อไปนี้
(1) เรียกตรวจและรวบรวมพยานหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำ�ผิดวินัย
(2) เรียกและสอบสวนนักศึกษากระทำ�ผิดวินัย หรือผู้อื่นที่เห็นว่าเกี่ยวข้องกับการกระทำ�ผิด
128 อนึ่ง นักศึกษาผู้ใดขัดขืน ไม่ให้ความร่วมมือ กล่าวข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงต่อ
ผู้มีอำ�นาจสอบสวนการกระทำ�ผิดวินัย ให้ถือว่าเป็นผู้กระทำ�ผิดวินัย
ข้อ 31 เพื่อดำ�เนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ให้อธิการบดีมีอำ�นาจออกข้อบังคับ ประกาศหรือ
คำ�สั่งใด ๆ ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้
ข้อ 32 ให้อธิการบดีรักษาการตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 13 ธันวาคม 2553


(ศาสตราจารย์พิเศษ ภาวิช ทองโรจน์)
นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม

ระเบียบมหาวทิ ยาลัยนครพนม
วา่ ดว้ ยการแตง่ กายของนกั ศึกษา พ.ศ. 2563

.................................
โดยที่เห็นสมควรแก้ไขปรับปรุงระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม ว่าด้วยการแต่งกายของนักศึกษา
พ.ศ. 2549 ให้มีความเหมาะสมยิ่งข้ึน และเพ่ือก�ำหนดหลักเกณฑ์การแต่งกายของนักศึกษาที่มีอัตลักษณ์ทางเพศ
ไมต่ รงกับเพศก�ำเนดิ เพื่อให้สอดคล้องกับสทิ ธมิ นษุ ยชนตามรัฐธรรมนญู ปราศจากการเลอื กปฏบิ ัตโิ ดยไมเ่ ป็นธรรม
ระหวา่ งเพศ และพระราชบญั ญัตคิ วามเทา่ เทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558
อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา 17 (2) แหง่ พระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาสยั นครพนม พ.ศ. 2548 ประกอบ
กบั มตคิ ณะบคุ คลปฏบิ ตั หิ นา้ ทแี่ ทนนายกสภามหาวทิ ยาลยั และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั นครพนมในคราวประชมุ
ครั้งที่ 6/2563 เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2563 จึงออกระเบียบไว้ ดงั น้ี
ขอ้ 1 ระเบียบน้เี รยี กวา่ “ระเบียบมหาวทิ ยาลยั นครพนม ว่าดว้ ยการแตง่ กายของนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2563”
ข้อ 2 ระเบียบน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ต้ังแตว่ ันถัดจากวนั ประกาศเปน็ ตน้ ไป

ขอ้ 3 ให้ยกเลิกระเบยี บมหาวิทยาลัยนครพนม ว่าดว้ ยการแต่งกายของนักศกึ ษา พ.ศ. 2549

ขอ้ 4 ในระเบียบน้ี หมายความว่า มหาวทิ ยาลัยนครพนม 129
“มหาวิทยาลัย” หมายความว่า คณะบคุ คลปฏบิ ัติหน้าท่แี ทนนายกสภามหาวทิ ยาลัยและ
“คณะบคุ คล” กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยนครพนม ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
หมายความว่า อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยนครพนม
“อธิการบด”ี หมายความว่า คณบดี หรอื ผ้อู �ำนวยการหัวหน้าหน่วยงานระดบั คณะท่ี ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
“คณบดี” จดั การศกึ ษา ระดับปริญญาตรีขนึ้ ไปหรือตำ� แหนง่ ท่ีเรียกชื่อ
อยา่ งอน่ื ที่มีฐานะเทียบเทา่ คณบดี ผูอ้ �ำนวยการ
หมายความวา่ คณะ วิทยาลัย หรอื หน่วยงานทีเ่ รียกชื่ออย่างอื่นท่มี ีฐานะ
“คณะ” เทียบเท่าคณะ วทิ ยาลยั และจดั การศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี
ขึน้ ไป
หมายความวา่ นักศึกษามหาวทิ ยาลยั นครพนม
“นกั ศึกษา” หมายความว่า บัณฑิต มหาบัณฑติ และดษุ ฎีบัณฑติ ทส่ี ำ� เร็จการศึกษา
“ผสู้ �ำเรจ็ การศึกษา” จากมหาวทิ ยาลัยนครพนม และเข้ารับพระราชทาน
ปริญญาบตั ร

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม “อัตลกั ษณ์ทางเพศ” หมายความว่า ลกั ษณะเฉพาะของบุคคล หรอื ตวั ตนของบุคคล ซึ่งรวมท้งั
จติ ใจและพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกเก่ยี วกบั
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 ลกั ษณะทาง เพศสภาพ หรือเพศภาวะของบคุ คล
“เพศโดยก�ำเนดิ ” หมายความว่า เพศซ่ึงถูกระบไุ วเ้ ม่อื แรกเกดิ โดยใชล้ ักษณะเพศทางสรรี ะ
หรืออวัยวะเพศมาเป็นฐานในการกำ� หนด
“เพสสภาพ” หมายความว่า การแสดงพฤตกิ รรม การปฏิบัติ หรือการแสดงบทบาทเพศ
ของบุคคล ซึง่ อาจตรงหรือไม่ตรงกับลกั ษณะเพศกำ� เนดิ
หมวด 1
การแต่งกายปกติ
ข้อ 5 การแตง่ กายของนกั ศึกษาหญงิ เป็นดงั นี้
130 (1) ชุดเรยี นปกติ ประกอบดว้ ย

เสอ้ื ใชเ้ สอื้ เชต้ิ แขนสน้ั สขี าวแบบธรรมดาทรงนกั เรยี น ไมร่ ดั รปู ไมม่ กี ระเปา๋ ตดิ กระคมุ ตราสญั ลกั ษณ์
มหาวทิ ยาลยั นครพนม 5 เม็ด และตดิ เข็มตราสญั ลกั ษณ์มหาวิทยาลยั นครพนมไว้ทหี่ น้าอก เบือ้ งซา้ ย ชายเสอื้ ทบั อยู่
ภายในกระโปรง มองเห็นเขม็ ขดั ชัดเจน
กระโปรง ใช้กระโปรงสดี �ำหรอื สีกรมท่า ไม่มีกระเปา๋ ความยาวของกระโปรงคลมุ 10 เซนติเมตร
ทรงกระโปรงจะเปน็ แบบมีจีบรอบเอว ไม่รัดรูป หรือทรงสุภาพก็ได้ ไม่ผ่า ชายกระโปรง สงู กว่าเขา่ ไม่ใชผ้ า้ ยนื
เข็มขดั ใช้เขม็ ขดั สดี ำ� ไม่มีลวดลาย หวั เข็มขดั เปน็ โลหะมตี ราสญั ลักษณ์มหาวทิ ยาลัยนครพนม
รองเทา้ ใชร้ องเทา้ หนงั หรอื รองเทา้ ผา้ ใบหมุ้ สน้ ปดิ ปลายเทา้ หรอื รดั สนั โดยสายรดั สน้ ตอ้ งมคี วาม
กวา้ งไม่ตำ่� กว่า 1 เซนตเิ มตร สรี องเท้าอาจมสี ดี ำ� สีนำ้� ตาล หรือสขี าว ไม่มีลวดลาย
ชุดนักเรียนปกตขิ องนกั ศึกษาหญงิ ชัน้ ปีท่ี 1 ใชก้ ระโปรงสกี รมท่ หรือสดี ำ� จบี รอบเอว ความยาวไม่
เกนิ คร่งึ นอ่ ง รองเทา้ ห้มุ ส้นปดิ ปลายเท้า สีขาว หรือรองเท้าผา้ ใบและสวมถุงเทา้ สีขาวไม่มลี วดลาย
(2) ชดุ พธิ ี ใช้กระโปรงสีกรมท่า รองเทา้ หนงั สีด�ำหุ้มสน้ ปดิ ปลายเท้า เคร่อื งแบบอื่น ๆ เหมอื นชุดปกติ

ขอ้ 6 การแตง่ กายของนักศึกษาชาย เปน็ ดังนี้
(1) ชุดเรียนปกติ ประกอบดว้ ย
เสื้อ ใช้เสื้อเช้ิดแขนส้ันหรือแขนยาวไม่มีลวดลาย ไม่มีอินธนู มีกระเป๋าไม่มีฝาปิดอยู่ที่อกเส้ือด้าน
ซา้ ยเพยี งดา้ นเดยี ว ชายเสอ้ื ทบั อยูใ่ นขอบกางเกง มองเหน็ เข็มขัดไดช้ ดั เจน ไมม่ ัวนหรอื พับแขนเสือ้
กางเกง ใชก้ างเกงสีด�ำ หรอื สกี รมท่ เนื้อผา้ เป็นสเี ดยี วกัน ไม่มีลวดลาย ทรงสุภาพมีจบี หรอื ไม่มีจีบ
ก็ได้ กระเป๋าดา้ นขา้ งและดา้ นหลงั เปน็ กระเปา๋ เจาะ หา้ มใชผ้ า้ ยนื หรอื กางเกงยีน
เข็มขัด ใชเ้ ขม็ ขัดสดี �ำไมม่ ีลวดลาย หวั เขม็ ขัดเปน็ โลหะ มตี ราสัญลักษณม์ หาวทิ ยาลยั นครพนม
รองเท้า ใชร้ องเทา้ หนงั หมุ้ ส้นปดิ ปลายเทา้ สดี ำ� สีน�ำ้ ตาล หรือรองเท้าผ้าใบสีขาว ไมม่ ลี วดลาย
ถุงเทา้ ต้องสวมถุงเท้าท่มี ีสีกลมกลืนกับสีของรองเท้า หรือตามสีของรองเทา้
ชุดเรียนปกติของนักศึกษาชายช้ันปีที่ ๑ ใช้กางเกงสีด�ำ หรือสีกรมท่า รองเท้าสีด�ำเนกไทสีฟ้ามี
สัญลกั ษณ์มหาวิทยาลัยนครพนม รองเทา้ สีด�ำ เครือ่ งแบบอื่น ๆ เหมือนชดุ เรยี นปกติ

(2) ชดุ พธิ ี ใชก้ างเกงสกี รมทำ� เสอื้ เชติ้ แขนยาว ผกู เนกไทสฟี า้ มสี ญั ลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั นครพนมตามประกาศ ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
ของมหาวทิ ยาลัยนครพนม รองเท้าสดี ำ� เคร่อื งแบบอ่นื ๆ เหมอื นชุดเรยี นปกติ
ข้อ 7 นกั ศกึ ษาทมี่ ีอตั ลักษณ์ทางเพศหรือเพศสภาพไมต่ รงกับเพศโดยกำ� เนิด มีสิทธแิ ต่งกายเขา้ ชนั้ เรียนเขา้ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
สอบวัดผล และเขา้ ฝกึ ปฏบิ ัตงิ านตามเพศวถิ ขี องตนได้ โดยใหด้ ำ� เนินการดังนี้
(1) นกั ศกึ ษาตอ้ งยนื่ คำ� รอ้ งตอ่ อธกิ ารบดี โดยไดร้ บั ความยนิ ยอมจากผปู้ กครอง อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาและคณบดี
หรือผอู้ �ำนวยการของคณะหรอื วทิ ยาลัยทน่ี ักศกึ ษากำ� ลงั ศึกษาอยู่
(2) นักศกึ ษาตอ้ งยน่ื คำ� รอ้ งภายในภาคเรียนท่ี 1 หรือภาคเรียนแรกทเี่ ขา้ ศกึ ษา
ข้อ 8 นักศกึ ษาจะตอ้ งมชี ดุ พธิ ีอยา่ งนอ้ ย 1 ชุด
ขอ้ 9 นักศึกษาที่มีความจ�ำเป็นต้องใชช้ ดุ ฝกึ ใหค้ ณะหรอื วิทยาลัยเป็นผ้กู �ำหนดชดุ ฝกึ ตามความเหมาะสม
โดยความเหน็ ชอบของมหาวทิ ยาลยั และใหใ้ ชข้ ดุ ฝกึ ไดเ้ ฉพาะในชว่ งปฏบิ ตั งิ าน ยกเวน้ กรณที มี่ หาวทิ ยาลยั เหน็ สมควร
อนุญาตเป็นอย่างอน่ื
ขอ้ 10 นักศกึ ษาที่เขา้ มาในบริเวณมหาวิทยาลัย ในวันที่มีการเรยี นการสอน ต้องแตง่ กายตามระเบียบหรือ
แตง่ กายสุภาพ

หมวด 2
การแตง่ กายของผสู้ �ำเรจ็ การศกึ ษาท่เี ข้ารับพระราชทานปรญิ ญา
ข้อ 11 การแต่งกายของผู้ส�ำเร็จการศึกษาในวันซ้อมใหญ่ และวันเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ให้ถือ
ปฏบิ ัตดิ ังน้ี
(1) กรณผี สู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาทปี่ ระกอบอาชพี อสิ ระ หรอื ทำ� งานในหนว่ ยงานเอกชน ซงึ่ ไมม่ เี ครอ่ื งแบบสำ� หรบั
เขา้ เฝ้า ให้ปฏบิ ัตดิ ังน้ี
(ก) ผู้ส�ำเร็จการศกึ ษาเพศชาย
(1) สวมชุดสากลทรงสุภาพ เน้ือผ้าเรียบไม่มีลวดลาย เสื้อนอกและกางเกงเป็นสีเดียวกัน คือ
สีกรมทา่ หรือสดี ำ� กระดมุ เปน็ แบบธรรมดา (ไมเ่ ป็นมันวาว สเี ดยี วกับเสอ้ื นอก เสื้อในเปน็ เส้อื เชิ้ตแขนยา สขี าวไม่มี
ลวดลาย ผูกเนกไท และคาดเข็มขัดตามแบบของมหาวิทยาลัยนครพนม
(2) ตัดผมสั้นทรงสุภาพ ไม่ท�ำสีผมที่มีสีแตกต่างจากสีผมธรรมชาติ โกนหนวด เครา และห้ามใส่
วิกผม 131
(3) เลบ็ มือ ตัดส้ันตดิ เนอ้ื ไมท่ �ำสีเลบ็ ทม่ี ีสแี ตกตา่ งจากสเี ลบ็ ธรรมชาติ
(4) รองเทา้ เปน็ แบบคชั ชหู ุม้ ตลอดเทา้ สดี ำ� ทรงสภุ าพ หัวไมแ่ หลม ท�ำด้วยหนงั ท่ไี ม่เปน็ มนั วาวส้น
สูงไม่เกิน 1 น้ิว ไม่มีลวดลาย ไม่เป็นแบบผูกเชือก ไม่มีลายฉลุ และไม่มีเคร่ืองตกแต่งที่เป็นโลทะหรือ เป็นมันวาว
สวมถุงเทา้ สดี ำ� ไม่มลี วดลาย
(ข) ผู้สำ� เร็จการศึกษาเพศหญงิ
(1) สวมชุดนักศึกษามหาวิทยาลัยนครพนม โดยให้ใช้กระโปรงทรงสุภาพ สีกรมท่าหรือสีด�ำ
ยาวคลุมเข่าไมเ่ กิน 10 เชนติเมตร และสวมถุงน่องแบบเตม็ ตวั สีเนอ้ื ไม่มีลวดลาย
(2) รวบผม หรือเกล้าผม หรือถักเปิย โดยเก็บชายผมด้านหลังให้เรียบร้อย ทรงผมด้านหน้าเป็น
แบบเปิด โดยใหเ้ ปิดหน้าด้านซ้ายเป็นอยา่ งน้อย หา้ มใชต้ าข่ายคลุมผม ไมท่ �ำสผี มทม่ี ีสีแตกตา่ งจากสีผมธรรมชาติ

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม (3) เล็บมอื ตดั สั้นติดเนือ้ ไม่ท�ำสเี ล็บทม่ี ีสีแตกต่างจากสเี ลบ็ ธรรมชาติ
(4) รองเท้าเปน็ แบบคชั ชหู ุม้ ตลอดเท้า สีดำ� ทรงสุภาพหวั ไมแ่ หลม ท�ำดว้ ยหนังไมเ่ ป็นมันวาว
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 ส้นรองเท้าแบบปลายทู่สูงไม่เกิน 2 น้ิว ไม่มีลวดลาย หรือลายฉลุ และไม่มีเครื่องตกแต่งที่เป็นโลหะ หรือที่เป็น
มันวาว
(ค) สวมครุยวิทยฐานะตามสาขาวชิ า โดยใหต้ ิดสายพกู่ ับหมวกบณั ฑติ ให้ม่นั คง
(2) กรณที ผ่ี สู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาเปน็ ขา้ ราชการ พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ พนกั งานราชการ และพนกั งานมหาวทิ ยาลยั
ให้ปฏบิ ตั ิดังน้ี
(ก) สวมเครือ่ งแบบชดุ ปกตขิ าวตามขอ้ ก�ำหนดของตน้ สังกดั โดยไมส่ วมหมวก
(ข) กรณีเป็นทหาร-ดำ� รวจ ชนั้ สัญญาบัตร และชนั้ ประทวน สวมเครื่องแบบชดุ ปกตขิ าว
ตามข้อก�ำหนดของตันสังกดั โดยไมส่ วมหมวก คาดกระบ่ี ถุงมอื ตามทมี่ กี �ำหนดตามช้ันยศ
132 (ค) เพศชาย ตัดผมส้ันทรงสุภาพ ไมท่ ำ� สผี มทม่ี ีสแี ตกตา่ งจากสผี มธรรมชาติ และห้ามใสว่ ิกผมโกน

หนวด เครา เล็บมือตดั สั้นติดเนือ้ ไมท่ ำ� สเี ล็บทม่ี ีสแี ตกต่างจากสเี ลบ็ ธรรมชาติ
กรณที หาร-ตำ� รวจให้ท�ำทรงผมตามขอ้ กำ� หนดต้นสงั กดั
(ง) เพศหญิง รวบผม-เกล้าผม-ถักเปีย โดยเก็บชายผมด้านหลังให้เรียบร้อย ทรงผมด้านหน้าเป็น
แบบเปดิ โดยใหเ้ ปดิ ด้านหน้าซา้ ยเปน็ อยา่ งนอ้ ย ไมท่ �ำสีผมที่มีสีแตกตา่ งจากสีผมธรรมชาติ และหา้ มใสว่ ิกผมเลบ็ มือ
ตดั ส้นั ตดิ เนอ้ื ไม่ทำ� สเี ลบ็ ทม่ี สี แี ตกตา่ งจากสเี ล็บธรรมชาติ
กรณีทหาร-ต�ำรวจ ให้ทำ� ทรงผมตามขอ้ กำ� หนดต้นสงั กัด
(จ) สวมครุยวทิ ยฐานะตามสาขาวชิ าโดยไมส่ วมหมวก
(3) กรณีท่ีผู้ส�ำเร็จการศึกษาประสงค์แต่งกายในฐานะนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน ชั้นยศตั้งแต่ว่าที่ร้อย
ตรีข้ึนไป ใหป้ ฏิบัตดิ ังนี้
(ก) ให้ยื่นค�ำร้องพร้อมส�ำเนาค�ำสั่งแต่งต้ังยศ เพ่ือแจ้งความประสงค์ต่อมหาวิทยาลัยภายในระยะ
เวลาท่ีก�ำหนด เฉพาะนายทหารสัญญาบัตรกองหนุนชาย ต้องเข้ารับการฝึกซ้อมการใช้กระบ่ีท่ีถูกต้องตามก�ำหนด
เวลานดั หมายด้วย
(ข) ใหส้ วมเครือ่ งแบบชดุ ปกติขาวตามพระราชบญั ญัตเิ ครือ่ งแบบทหาร คาดกระบ่ีถงุ มือ
(นายทหารสญั ญาบตั รกองหนุนหญงิ งดกระบ่ี งดถุงมอื ) โดยไม่สวมหมวก
(ค) นายทหารสญั ญาบตั รกองหนนุ ชายใหไ้ วท้ รงผมสน้ั ดา้ นขา้ ง-ดา้ นหลงั ใหเ้ หน็ หนงั ศรี ษะ และผม
ดา้ นบนยาวไมเ่ กนิ 3 เชนตเิ มตร นายทหารสญั ญาบตั รกองหนนุ หญงิ ใหข้ มวดปลายผมใหเ้ รยี บรอ้ ย ใชอ้ ปุ กรณต์ กแตง่
ทรงผมขนาดเล็กสีดำ� เช่นเดยี วกับสผี ม
(ง) ตดิ ปา้ ยชอ่ื ตามพระราชบญั ญตั เิ ครอื่ งแบบทหารวา่ ดว้ ยปา้ ยชอื่ ตดิ เครอ่ื งแบบ และ ตดิ ครอ่ื งหมาย
แสดงสถานะนอกประจำ� การ (นก.) ที่คอเสื้อดา้ นซา้ ย ให้ถกู ตอ้ งตามข้อกำ� หนดของตน้ สงั กดั
(จ) สวมครยุ วิทยฐานะตามสาขาวิชาโดยไม่สวมหมวก
(ฉ) ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ห้ามใส่วิกผม ห้ามใส่ขนตาปลอม ห้ามใส่แว่นตาท่ีมีเลนส์สีเข้ม หรือ
กรอบแวน่ ทแ่ี บบสีสะดุดตา หรือแบบไม่สุภาพ ห้ามใส่คอนแทคเลนสส์ ี หรือคอนแทคเลนส์ประเภทบก๊ิ อาย
กรณีผู้ส�ำเร็จการศึกษาท่ีมีเหตุผลความจ�ำเป็นด้านสุขภาพ หรือความบกพร่องของร่างกาย ที่ท�ำให้ไม่อาจ
ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กำ� หนดขา้ งตน้ ได้ ใหเ้ สนอขอยกเวน้ ขอ้ กำ� หนดประการใดประการหนง่ึ หรอื หลายประการตอ่ อธกิ ารบดี
มหาวทิ ยาลัยนครพนม โดยตอ้ งผ่านความเห็นชอบจากประธานคณะกรรมการฝกึ ซอ้ ม

กรณผี สู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาทม่ี อี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื เพศสภาพไมต่ รงกบั เพศโดยกำ� เนดิ มคี วามประสงคจ์ ะแตง่
กายตามเพศสภาพ ในการเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ให้ย่ืนค�ำร้องต่อคณบดีของคณะหรือวิทยาลัย ที่ส�ำเร็จ
การศึกษา ภายในระยะเวลาท่ีมหาวทิ ยาลยั ก�ำหนด และเม่อื คณบดีหรือผู้อ�ำนวยการเห็นชอบ จึงเสนอ ค�ำร้องไปยัง
อธกิ ารบดีหรอื ผู้ทอ่ี ธกิ ารบดมี อบหมาย เพอื่ พจิ ารณาอนมุ ตั ิต่อไป
ข้อ 12 ผูส้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาท่ีมอี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรือเพศสภาพไม่ตรงกบั เพศโดยกำ� เนดิ มสี ิทธแิ ต่งกายและ
จดั สง่ รปู ภาพทม่ี กี ารแตง่ กายชดุ ครยุ วทิ ยฐานะ เพอ่ื เขา้ รบั พระราชทานปรญิ ญาบตั ร ตามเพศสภาพของตนไดโ้ ดยแตง่
กายในลกั ษณะเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย และถกู ตอ้ งตามขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ยการใชช้ ดุ ครยุ วทิ ยฐานะ
เขม็ วทิ ยฐานะ และครยุ ประจำ� ตำ� แหนง่ พ.ศ. 2550 และพระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยปรญิ ญาในสาขาวชิ า อกั ษรยอ่ สำ� หรบั
สาขาวชิ า ครยุ วิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจ�ำต�ำแหน่งของมหาวทิ ยาลัยนครพนม พ.ศ. 2553
ข้อ 13 ใหอ้ ธกิ ารบดีเปน็ ผู้รกั ษาการตามระเบียบนี้ และมีอ�ำนาจออกแนวปฏิบตั ิเพ่มิ เติม เพ่ือให้เป็นไปตาม
ระเบยี บน้ี
ประกาศ ณ วนั ท่ี 15 ตุลาคม พ.ศ. 2563


(นายสเุ มธ แย้มน่นุ )
ประธานคณะบคุ คลปฏบิ ตั หิ นา้ ทีแ่ ทน
นายกสภามหาวทิ ยาลัยและกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั นครพนม

133

ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ระเบยี บมหาวิทยาลัยนครพนม
วา่ ด้วยเคร่อื งแบบ เครือ่ งหมายหรือเครอ่ื งแต่งกาย นักศึกษาระดบั ตำ�่ กว่าปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2552
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 .................................

โดยที่เป็นการสมควรให้มีระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม ว่าด้วยเครื่องแบบ เคร่ืองหมายหรือเคร่ืองแต่งกาย
นกั ศกึ ษาระดับตำ่� กว่าปรญิ ญาตร ี
134 อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 17 (2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548 ประกอบกับ

มติสภามหาวทิ ยาลัยนครพนม ในคราวประชมุ ครงั้ ท่ี 4/2552 เม่อื วนั ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 จึงวางระเบยี บไวด้ ังนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรยี กวา่ “ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยนครพนม ว่าด้วยเคร่ืองแบบ เคร่ืองหมายหรือเคร่อื งแต่งกาย
นกั ศกึ ษาระดบั ตำ่� กวา่ ปริญญาตรี พ.ศ. 2552”
ข้อ 2 ระเบยี บนีใ้ หใ้ ช้บังคับตัง้ แต่วันที่ถัดจากวนั ประกาศเปน็ ตน้ ไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คำ� ส่งั หรอื ประกาศอ่ืนใดทข่ี ัดหรอื แยง้ กับระเบียบน้ใี ห้ใชร้ ะเบียบนีแ้ ทน
ข้อ 4 ในระเบียบน้ี
“มหาวิทยาลยั ” หมายความวา่ มหาวิทยาลยั นครพนม
“อธิการบด”ี หมายความวา่ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั นครพนม
“นักศกึ ษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) และระดับ
ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้ันสูง (ปวส.) ในมหาวิทยาลัยนครพนม
ข้อ 5 เครื่องแบบ เครื่องหมายหรือเครื่องแต่งกาย นักศึกษาตามระเบียบนี้ ให้ใช้บังคับแก่ผู้ที่เป็น
นักศกึ ษา ในปีการศกึ ษา 2552 เปน็ ตน้ ไป โดยนักศึกษาท่เี ป็นข้าราชการหรือพนักงานรฐั วิสาหกิจจะใชเ้ ครอื่ งแบบของ
หนว่ ยงานนนั้ ๆ หรือใช้เครอ่ื งแบบ เครอ่ื งหมายหรอื เคร่อื งแตง่ กายตามระเบียบนี้ได้
ขอ้ 6 เครอื่ งแบบปกติ มีดังนี้
6.1 นกั ศึกษาชาย
6.1.1 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เส้ือ ผ้าสีขาวเกลี้ยง ไม่บางเกินไป ไม่รัดรูป
ไมห่ ลวมเกินไป ผ่าอกตลอด แขนสน้ั เพียงข้อศอก เวลาสวมให้สอดชายเสือ้ ไวใ้ นกางเกง
6.1.2 ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) เส้ือ ผา้ สขี าวเกล้ยี ง ไม่บางเกินไป ไม่รัดรปู
ไม่หลวมเกนิ ไป ผ่าอกตลอด แขนยาวถงึ ข้อมอื หรือแขนสน้ั เพียงขอ้ ศอก เวลาสวมใหส้ อดชายเสือ้ ไวใ้ นกางเกง
6.1.3 กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ สีกรมท่าหรือสีด�ำไม่รัดรูปและไม่หลวมเกินไป
ไม่ต�่ำเกินไป ไม่พับปลายขา มีหเู ข็มขดั ผา้ เดยี วกบั กางเกง กว้าง 10 มิลลิเมตร
6.1.4 เน็คไท ขนาดและสีตามท่มี หาวทิ ยาลัยกำ� หนดส�ำหรับนกั ศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตร
วิชาชพี ชั้นสงู (ปวส.) และกลัดเข็มเครือ่ งหมายมหาวทิ ยาลยั ท�ำด้วยโลหะรมดำ�

6.1.5 เข็มขัด หนังสีดำ� ขนาดกว้าง 40 มลิ ลเิ มตร หัวเข็มขัดชนิดมีหูสำ� หรบั สอดปลายเข็มขัด
ทำ� ด้วยโลหะรมด�ำ เปน็ รูปส่เี หลี่ยมผนื ผา้ กว้าง 2.5 นิว้ ยาว 1.6 น้วิ มลี ายดนุ นูนตราเคร่อื งหมายมหาวิทยาลยั
6.1.6 รองเท้าหนังหรอื ผา้ ใบห้มุ ส้นผูกเชือก สดี �ำ ไมม่ ีลวดลาย ถุงเทา้ สีด�ำ
6.2 นกั ศกึ ษาหญิง
6.2.1 เส้ือ ผ้าสีขาวเกลี้ยงไม่บางเกินไป ไม่รัดรูปและไม่หลวมเกินไป ผ่าอกตลอด ไม่มีสาบ
ไม่ต่อหลัง มีกระดมุ โลหะรมด�ำ 4 เมด็ ลายดนุ ตราเครื่องหมายมหาวิทยาลยั แขนปลอ่ ยธรรมดายาวเหนอื ศอก เวลา
สวมให้สอดชายเสอ้ื ไวใ้ นกระโปรง
6.2.2 กระโปรงพลีสสีดำ� จีบรอบตวั ผ้าเน้ือเรียบ ไมม่ ลี วดลาย ยาวเสมอเข่า ไมร่ ัดรูป ชาย
กระโปรงเสมอกนั และไมผ่ ่าปลาย
6.2.3 เขม็ ขดั หนงั สดี ำ� ขนาดกว้าง 40 มิลลิเมตร หัวเข็มขัดชนิดมีหูส�ำหรับสอดปลายเขม็ ขดั
ท�ำดว้ ยโลหะรมด�ำ เป็นรปู สี่เหลีย่ มผนื ผ้าขนาด กวา้ ง 2.5 นวิ้ ยาว 1.6 น้วิ มีลายดนุ นนู ตราเครอื่ งหมายมหาวทิ ยาลยั
6.2.4 เขม็ เครอื่ งหมาย มเี ขม็ เครื่องหมายทำ� ด้วยโลหะรมด�ำ ตรามหาวิทยาลัย ติดทหี่ นา้ อกเสื้อ
ดา้ นซา้ ย
6.2.5 รองเท้าคัดชูสีด�ำสูงไม่เกิน 1.5 นิ้ว ไม่มีลวดลายแบบสุภาพ
ขอ้ 7 เครือ่ งแบบชุดปฏบิ ัติ
7.1 นกั ศกึ ษาชาย
7.1.1 ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั ส(ู ปวส.)เสอื้ สเี ทา แบบตรวจการ (ซาฟาร)ี คอฮาวาย
ไมม่ อี นิ ทรทนู กระดมุ ดา้ นหนา้ ของตวั เสอ้ื มกี ระเปา๋ แปะดา้ นนอก ขา้ งลา่ ง 2 ใบ ขา้ งบนซา้ ยมอื 1 ใบและปกั เครอ่ื งหมาย
มหาวทิ ยาลยั บรเิ วณอกดา้ นขวาของตวั เสอ้ื ให้ ปกั ชอ่ื – นามสกลุ และแผนกวชิ าหรอื สาขาวชิ าทส่ี งั กดั เปน็ ภาษาไทย
ดว้ ยไหมสีขาวขนาดสงู 10 มิลลเิ มตร กางเกง เข็มขัด ถุงเท้า แบบเดยี วกันกบั เคร่ืองแบบปกติ
7.1.2 ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) เสอ้ื แบบเดยี วกนั กบั ระดบั ระดบั ประกาศนียบัตร
วชิ าชีพช้ันสงู (ปวส.) สีกรมทา่ กางเกง เข็มขัด ถุงเท้า แบบเดียวกันกบั เคร่ืองแบบปกติ
7.2 นกั ศึกษาหญงิ ใหใ้ ชแ้ บบเดยี วกนั กบั นกั ศกึ ษาชาย ทงั้ ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.)
และระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.)
ข้อ 8 ทรงผม
8.1 นักศึกษาชาย ไวผ้ มทรงสภุ าพ ไมไ่ ว้จอนท้งั สองขา้ ง ด้านหลังตดั เปิด 135
8.2 นกั ศกึ ษาหญงิ ไวท้ รงสภุ าพ ผมสนั้ ปะบา่ ถา้ ยาวใหร้ วบใหเ้ รยี บรอ้ ย อนญุ าตใหใ้ ชโ้ บวผ์ กู ผม
ชนดิ ผูกสีนำ�้ เงนิ สนี ำ�้ ตาล ขาว เทา่ น้นั
ขอ้ 9 การแต่งกายท่มี ิได้กำ� หนดไว้ในระเบยี บน ี้ ให้อย่ใู นดุลยพินิจของอธกิ ารบดโี ดยทำ� เปน็ ประกาศของ ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
มหาวิทยาลยั
ขอ้ 10 ใหอ้ ธกิ ารบดีเป็นผูร้ ักษาการตามระเบยี บนี้ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
ประกาศ ณ วันที ่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

พลตำ� รวจเอก
(สนอง วฒั นวรางกูร)
นายกสภามหาวิทยาลยั นครพนม

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม
ว่าดว้ ยการสอบประจ�ำภาคของนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2551
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 .................................
เพอื่ ใหก้ ารดำ� เนนิ การสอบประจำ� ภาคของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั นครพนมเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย
มีประสิทธิภาพและบังเกดิ ผลต่อทางราชการ
136 อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 17 (2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548 ประกอบ

ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) พ.ศ. 2551 ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั
นครพนม ว่าดว้ ยการศึกษาระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู (ปวส.) พ.ศ. 2551 และระเบียบมหาวิทยาลยั นครพนม
ว่าดว้ ยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 และโดยมติสภามหาวทิ ยาลัยนครพนม ในคราวประชุมคร้งั ท่ี 7/2551
เมื่อวันที่ 1 กนั ยายน 2551 จึงวางระเบยี บไวด้ งั นี้
ขอ้ 1 ระเบยี บนเี้ รยี กวา่ “ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ยการสอบประจำ� ภาคของนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2551”
ขอ้ 2 ระเบยี บนใ้ี หใ้ ช้บังคับตัง้ แตป่ กี ารศกึ ษา 2551 เปน็ ตน้ ไป
ข้อ 3 บรรดาขอ้ บังคบั คำ� สง่ั ประกาศ หรือมติอนื่ ใดในสว่ นที่ขดั หรือแย้งกบั ระเบยี บนใ้ี หใ้ ช้ตามระเบียบนแ้ี ทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“มหาวิทยาลัย” หมายความวา่ มหาวิทยาลยั นครพนม
“คณะ” หมายความวา่ คณะ/วทิ ยาลัย หรอื หน่วยงานอื่นทีเ่ ทยี บเทา่
คณะของมหาวทิ ยาลัยท่จี ดั การศกึ ษา
ระดบั ต่�ำกว่าอุดมศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา
“คณบด,ี ผ้อู �ำนวยการ” หมายความวา่ คณบด/ี ผ้อู �ำนวยการวทิ ยาลัยของนกั ศึกษาทีส่ งั กดั
“คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลยั ”
หมายความวา่ คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลยั นครพนม
“คณะกรรมการประจ�ำคณะ”
หมายความว่า คณะกรรมการประจ�ำคณะหรอื วิทยาลยั ท่ีนกั ศกึ ษา
สังกัด
“อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา” หมายความวา่ อาจารย์ท่คี ณะแต่งต้ังใหเ้ ปน็ ที่ปรกึ ษาเก่ียวกบั
การศกึ ษาของนกั ศกึ ษา

“คณะกรรมการสอบ” หมายความวา่ คณะกรรมการทค่ี ณะแตง่ ต้งั ให้รับผิดชอบดำ� เนินการ
เก่ียวกบั การสอบประจ�ำภาคของนักศึกษา
“กรรมการคุมสอบ” หมายความว่า ผู้ทคี่ ณะแต่งตัง้ ให้เป็นผ้คู วบคมุ ห้องสอบวชิ าใดวิชา
หนึง่ ของการสอบประจ�ำภาค

“อาจารย์ประจ�ำวชิ า” หมายความวา่ อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบสอนประจ�ำรายวชิ าหน่ึงรายวชิ า
ใดท่เี ปิดสอนในมหาวทิ ยาลยั นครพนม
“การสอบ” หมายความวา่ การสอบประจำ� ภาค ซ่ึงเป็นการสอบครงั้ สุดทา้ ยของ
แต่ละรายวิชาเม่อื เสรจ็ สน้ิ การสอนภาคการศกึ ษานัน้ ๆ
“นักศึกษา” หมายความวา่ นกั เรยี น นกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยนครพนม
ข้อ 5 การแตง่ กาย
ตอ้ งแตง่ กายให้สุภาพเรียบร้อยและถกู ตอ้ งตามข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ดว้ ยการแต่งกายของ
นักศึกษา พ.ศ. 2549
ข้อ 6 ผู้มีสทิ ธิเ์ ขา้ สอบ
(1) ต้องมีเวลาเรียนรายวิชาน้นั ไม่ต�่ำกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทั้งหมด สำ� หรับรายวิชาทเ่ี ปน็ ภาค
ปฏบิ ตั ทิ น่ี กั ศกึ ษาตอ้ งปฏบิ ตั งิ านในรายวชิ านน้ั จนครบตามกำ� หนดของรายวชิ านน้ั ๆ ทงั้ น ี้ ยกเว้นอาจารยป์ ระจำ� วชิ าจะ
กำ� หนดเปน็ อยา่ งอ่ืน
(2) ตอ้ งไมถ่ ูกลงโทษตดั สทิ ธ์ิการสอบจากมหาวทิ ยาลัย
ขอ้ 7 การเขา้ หอ้ งสอบ
(1) หา้ มเข้าห้องสอบกอ่ นได้รับอนญุ าตจากกรรมการคมุ สอบ
(2) ห้ามน�ำโทรศัพท์เคลื่อนท่ี เคร่ืองมือสื่อสาร อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจัดการข้อมูล และ
เอกสารใด ๆ เขา้ หอ้ งสอบเวน้ แตอ่ าจารยป์ ระจ�ำวชิ าจะอนญุ าตไวเ้ ป็นลายลักษณ์อกั ษร
(3) ผู้ท่ีมาหลังจากเร่ิมท�ำการสอบไปแล้ว จะไม่อนุญาตให้เข้าสอบ ยกเว้นจะมีเหตุผลอันสมควร
โดยให้ข้ึนอยู่กับดุลพินิจของประธานคณะกรรมการสอบของแต่ละคณะหรือผู้ที่กรรมการสอบมอบหมาย ท้ังน้ีต้อง
ไม่เกนิ 30 นาที หลงั จากเวลาท่เี รมิ่ ทำ� การสอบแล้ว
(4) นักศึกษาต้องเข้าห้องสอบและนัง่ สอบตามเลขทน่ี ่ัง ท่คี ณะกรรมการสอบไดจ้ ัดไว้
ขอ้ 8 การปฏบิ ตั ติ นระหว่างการสอบ
(1) นกั ศึกษาตอ้ งให้ความรว่ มมือและปฏิบัตติ ามคำ� สั่งของกรรมการคมุ สอบ
(2) ให้นักศึกษาผู้เข้าสอบแสดงบัตรประจ�ำตัวนักศึกษา หรือบัตรอ่ืนใดที่ทางราชการออกให้ท่ีมีรูป
ถ่ายและลายมือชอ่ื ใหก้ รรมการคมุ สอบตรวจสอบกอ่ นลงนามในบญั ชีผเู้ ขา้ สอบ 137

(3) นักศกึ ษาตอ้ งมอี ุปกรณ์ในการสอบของตนเองห้ามหยบิ ยืมกันในห้องสอบ
(4) หา้ มท�ำการทจุ ริตหรือกระทำ� การใด ๆ ที่สอ่ เจตนาทจุ ริต ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
(5) ห้ามสูบบหุ ร่ีหรอื รับประทานสิ่งใดในห้องสอบ
(6) หากมีข้อสงสยั ใด ๆ เกีย่ วกบั ขอ้ สอบให้ท�ำไปตามท่ีปรากฏในข้อสอบหรือตามทเ่ี หน็ สมควรหรอื ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
ถามกรรมการคุมสอบ
(7) ในกรณีท่มี คี วามจ�ำเปน็ ต้องออกจากห้องสอบต้องไดร้ ับอนญุ าตจากกรรมการคมุ สอบเสยี ก่อน
(8) เม่อื ไดย้ นิ เสียงสัญญาณหรอื ประกาศจากคณะกรรมการคมุ สอบวา่ หมดเวลาสอบให้ยตุ ิ
การเขียนใด ๆ โดยทันที

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ขอ้ 9 การสง่ กระดาษคำ� ตอบ
(1) หา้ มน�ำขอ้ สอบและกระดาษเขียนคำ� ตอบออกไปนอกห้องสอบ เวน้ แตจ่ ะได้รบั อนุญาตจาก
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 อาจารยป์ ระจ�ำวชิ าทีไ่ ด้ระบไุ วเ้ ป็นลายลกั ษณ์อักษร
(2) ให้วางกระดาษค�ำตอบหรอื สมดุ คำ� ตอบไวบ้ นโตะ๊ นงั่ สอบของตน หรอื ตามที่กรรมการคุมสอบ
ก�ำหนดให้
ขอ้ 10 การออกจากห้องสอบ
(1) หา้ มนำ� ขอ้ สอบและกระดาษเขยี นคำ� ตอบออกไปนอกห้องสอบ เวน้ แต่จะไดร้ บั อนญุ าตจากอาจารย์
ประจ�ำวิชาทีไ่ ดร้ ะบไุ วเ้ ปน็ ลายลักษณ์อกั ษร
(2) นักศกึ ษาจะออกจากห้องสอบได้หลงั จากเวลาท่กี ำ� หนดให้เริ่มสอบแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ 30 นาที
(3) เมอื่ สอบเสรจ็ กอ่ นตอ้ งออกไปจากบรเิ วณหอ้ งสอบและไมท่ ำ� การใด ๆ อนั เปน็ การรบกวนผทู้ นี่ ง่ั สอบ
138 ข้อ 11 การสอบเมอ่ื มเี หตุสุดวสิ ยั

เมอ่ื มเี หตสุ ดุ วสิ ยั ทำ� ใหน้ กั ศกึ ษา ไมส่ ามารถเขา้ สอบรายวชิ าหนง่ึ รายวชิ าใด ตามวนั เวลาทกี่ ำ� หนดไว ้ ใหน้ กั ศกึ ษา
ปฏบิ ตั ดิ งั นี้
(1) นักศึกษาต้องแจ้งให้ประธานคณะกรรมการสอบทราบทันทีถึงสาเหตุท่ีไม่สามารถเข้าสอบได้
พรอ้ มทอ่ี ยทู่ คี่ ณะกรรมการสอบสามารถตดิ ตอ่ ได้ คณะกรรมการสอบเปน็ ผพู้ จิ ารณาวา่ เปน็ เหตสุ ดุ วสิ ยั ตามกลา่ วอา้ งของ
นกั ศึกษาหรือไม่
(2) นกั ศึกษาจะเข้าสอบไดภ้ ายในวนั เดียวกบั ท่ขี าดสอบรายวิชาหน่ึงรายวชิ าใด เม่อื คณะกรรมการ
สอบพจิ ารณาแล้วมีความเหน็ ว่าเปน็ เหตสุ ดุ วิสัย ท้งั นี้ประธานคณะกรรมการสอบจะแจง้ ใหน้ ักศกึ ษาทราบกำ� หนดเวลา
และสถานทสี่ อบ
(3) ในกรณีท่ีประธานคณะกรรมการสอบพิจารณาแล้ว เห็นว่าไม่สามารถจัดให้นักศึกษาเข้าสอบได้
ภายในวันเดยี วกบั ท่ขี าดสอบรายวิชานั้น ๆ นกั ศกึ ษาจะตอ้ งปฏิบัติดงั น้ี
3.1 กรณีการลงทะเบียนเรียนรายวิชาในคณะที่นักศึกษาสังกัดอยู่ให้นักศึกษาย่ืนค�ำร้องต่อ
คณบดผี า่ นอาจารย์ที่ปรึกษา เพอื่ พิจารณาแจง้ ใหอ้ าจารยป์ ระจ�ำวชิ าดำ� เนินการสอบชดเชย
3.2 กรณลี งทะเบียนเรยี นรายวิชานอกคณะทนี่ กั ศกึ ษาสังกดั อยู่ใหน้ กั ศึกษายน่ื คำ� รอ้ งตอ่ คณบดี
ผา่ นอาจารยท์ ่ปี รึกษา เพ่ือพจิ ารณาแจง้ ใหค้ ณะท่อี าจารยป์ ระจำ� วชิ าสังกดั ดำ� เนินการสอบชดเชย
(4) เมือ่ ได้รบั อนมุ ตั แิ ล้ว ให้นักศกึ ษาสอบชดเชยใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในระยะเวลาที่คณะกำ� หนด
ข้อ 12 การปรบั โทษ
(1) นักศึกษาผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้ถือว่า มีเจตนาฝ่าฝืนส่อเจตนาทุจริตหรือทุจริต และ
ได้รบั โทษตามควรแต่กรณ ี ดงั ต่อไปนี้
1.1 ปรบั ตกในรายวชิ านนั้
1.2 ปรับตกในทกุ รายวิชาทเี่ ข้าสอบแลว้ สำ� หรบั ภาคการศึกษาน้นั
1.3 ปรับตกในทุกรายวชิ าท่ีลงทะเบียนส�ำหรบั ภาคการศึกษานัน้
ท้ังน้ี ผู้ที่ได้รับโทษตามข้อ 1.1 1.2 และ 1.3 ให้พิจารณาโทษทางวินัยตามความในข้อบังคับ
ของมหาวทิ ยาลยั นครพนม วา่ ด้วยวนิ ยั นักศึกษา

(2) ข้ันตอนในการปรับโทษ
2.1 ให้กรรมการคุมสอบอยา่ งนอ้ ย 2 คน ท�ำรายงานเสนอตอ่ ประธานคณะกรรมการสอบ
ในกรณที น่ี กั ศึกษาทจุ ริต สอ่ เจตนาทจุ ริตหรอื ฝา่ ฝนื ข้อบังคับในระเบียบนี้
2.2 ให้คณะกรรมการสอบ หรือคณะท�ำงานทแ่ี ต่งตง้ั โดยคณะกรรมการสอบรวบรวม
หลกั ฐานข้อเทจ็ จริง แล้วนำ� เสนอต่อคณะกรรมการประจำ� คณะ เพื่อพิจารณาโทษ ท้ังนใี้ ห้แลว้ เสรจ็ ภายใน 15 วัน
หลังจากวันสดุ ทา้ ยของการส่งผลการเรียน (ส�ำหรบั อาจารย)์ ตามปฏทิ ินการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัย
ขอ้ 13 นกั ศกึ ษาท่ถี กู สั่งลงโทษตามระเบียบนี้ อาจอุทธรณ์ไดต้ ามหลักเกณฑ ์ ดังนี้
(1) ใหย้ ื่นอทุ ธรณ์ตอ่ อธกิ ารบดีภายในก�ำหนด 30 วัน นบั แตว่ ันทราบคำ� ส่งั ลงโทษ โดยตอ้ งทำ�
เปน็ หนังสือลงลายมือชอื่ ของผอู้ ทุ ธรณ์
(2) การอุทธรณ์ค�ำสั่งลงโทษ ใหอ้ ุทธรณไ์ ดส้ �ำหรบั ตนเองเท่านน้ั จะอทุ ธรณ์แทนคนอื่นหรือมอบ
หมายให้คนอ่ืนอุทธรณแ์ ทนไม่ได้
(3) ให้คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลัยมีอำ� นาจพจิ ารณาวินจิ ฉยั มีค�ำสงั่ เพมิ่ โทษลดโทษ
หรอื ยกโทษตามควรแก่กรณโี ดยความเห็นชอบของอธกิ ารบดี
ข้อ 14 การยกเลกิ การสอบในกรณที ่มี เี หตุสุดวสิ ยั หรือเหตุการณไ์ ม่ปกติท�ำให้การสอนด�ำเนนิ การไม่
สมบูรณ ์ ใหค้ ณะเสนอขออนุมตั ติ อ่ มหาวิทยาลยั
ข้อ 15 ให้คณะมอี �ำนาจกำ� หนดรายละเอียดอ่ืนใดทเ่ี กี่ยวกับการสอบของนกั ศึกษาเพ่มิ เตมิ ทไี่ มข่ ดั หรือ
แย้งกบั ระเบยี บนี้
ข้อ 16 การสอบกลางภาค หรอื การสอบครั้งสุดท้ายของรายวิชาท่จี ัดการเรยี นการสอนระบบ
ชดุ วชิ า หรือระบบอ่ืน ๆ ท่ไี มใ่ ช่ระบบภาคการศึกษา ให้ใช้แนวปฏบิ ตั ิในการสอบตามระเบยี บนไ้ี ด้ โดยอนุโลม
ข้อ 17 ใหอ้ ธิการบดเี ปน็ ผรู้ กั ษาตามระเบียบน ้ี และใหม้ อี ำ� นาจออกประกาศ ค�ำสัง่ หรอื แนวทางปฏบิ ัติ
ซึ่งไม่ขดั หรือแย้งกับระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2551 139
(ศาสตราจารย์ ดร. เจริญศกั ด์ิ โรจนฤทธพิ์ เิ ชษฐ)์
อุปนายกสภามหาวิทยาลยั นครพนม ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
ปฏิบตั ิหนา้ ที่แทน นายกสภามหาวิทยาลยั นครพนม
ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ระเบยี บมหาวิทยาลยั นครพนม
ว่าดว้ ย การเกบ็ เงนิ ค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนยี มการศึกษา และคา่ ธรรมเนียมอื่น ๆ
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 ของการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีและบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562
.................................
โดยท่เี ป็นการสมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขการเก็บเงนิ ค่าหนว่ ยกิต คา่ ธรรมเนยี มการศึกษา
140 และคา่ ธรรมเนียมอื่นๆ ของการศึกษาระดับปริญญาตรีและบณั ฑิตศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม ใหส้ อดคล้อง
กับนโยบายของมหาวิทยาลัยและเหมาะสมกับสภาวการณ์ปจั จบุ ัน

อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา 17 (2) แหง่ พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลยั นครพนม พ.ศ. 2548 ประกอบ
กบั มติสภามหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราวประชุมคร้งั ที่ 13/2562 เม่ือวนั ที่ 13 ธนั วาคม 2562 จึงใหว้ างระเบยี บไว้
ดังนี้
ขอ้ 1 ระเบยี บนเ้ี รยี กว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม ว่าดว้ ย การเก็บเงินค่าหน่วยกติ
ค่าธรรมเนยี มการศึกษา และค่าธรรมเนยี มอน่ื ๆ ของการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีและบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2562”

ขอ้ 2 ระเบียบนีม้ ีผลบังคบั ใช้ต้งั แต่ภาคการศึกษา 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 เป็นตน้ ไป
นักศกึ ษาของมหาวิทยาลัยนครพนมที่เข้าศึกษากอ่ นระเบยี บน้ีมผี ลใชบ้ ังคบั หรอื ก่อนปี
การศึกษา 2563 ใหเ้ ก็บเงนิ ค่าธรรมเนียมการศกึ ษาตามแบบเดมิ ไปจนกว่าจะสำ� เร็จการศึกษา

ข้อ 3 บรรดาขอ้ บงั คับ ระเบยี บ ประกาศ มติ หรอื ค�ำสั่งอน่ื ใด ซึ่งขดั หรือแยง้ กับระเบยี บนี้
ใหใ้ ชร้ ะเบยี บนีแ้ ทน

ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“มหาวทิ ยาลัย” หมายความว่า มหาวทิ ยาลัยนครพนม
“สภามหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ สภามหาวิทยาลยั นครพนม
“อธกิ ารบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั นครพนม
“คณะกรรมการบริหาร” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยนครพนม
“คณะกรรมการประจ�ำคณะ” หมายความว่า คณะกรรมการตามมาตรา ๓๔ และ
มาตรา 35 แหง่ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548 และใหห้ มายความรวมถึงคณะกรรมการ
ทเ่ี รียกช่อื อยา่ งอ่ืนท่ีปฏบิ ตั ิหน้าทเ่ี หมอื นกับคณะกรรมการประจ�ำคณะ
“นกั ศึกษา” หมายความวา่ นักศึกษามหาวิทยาลยั นครพนม

ข้อ 5 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอ�ำนาจออกประกาศ หรือค�ำสั่ง ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
เพือ่ วางหลกั เกณฑ์การปฏิบตั ใิ หเ้ ป็นไปตามระเบยี บน้ี
ในกรณที ม่ี ปี ญั หาการตคี วามหรือปญั หาเกยี่ วกับการปฏิบัติตามระเบยี บนี้ ใหอ้ ธิการบดเี ปน็ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
ผูม้ อี ำ� นาจวนิ ิจฉยั
ในกรณที ่ีระเบียบนไ้ี มไ่ ดก้ �ำหนดไว้ ใหส้ ภามหาวิทยาลยั เปน็ ผวู้ นิ ิจฉัยชข้ี าด คำ� วินิจฉยั ของ
สภามหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ปน็ ทส่ี ุด
ข้อ 6 การเก็บเงินค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ ของการศึกษาระดับ
ปรญิ ญาตรแี ละบณั ฑิตศึกษา ในแตล่ ะภาคการศกึ ษา ใหจ้ ัดเก็บตามบญั ชแี นบทา้ ยระเบยี บน้ี
กรณีที่มีหลักสูตรเกิดใหม่ภายหลังจากที่ระเบียบน้ีมีผลบังคับใช้ ให้อธิการบดีมีอ�ำนาจในการออกประกาศ
เพม่ิ เติมบญั ชแี นบทา้ ยเปน็ การเฉพาะกรณี แลว้ ให้น�ำเสนอสภามหาวทิ ยาลยั เพอ่ื ทราบ
ในกรณที ม่ี เี หตผุ ลหรอื ความจำ� เปน็ พเิ ศษ อธกิ ารบดโี ดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั
มอี ำ� นาจในการออกประกาศ ลดหยอ่ นหรอื ยกเวน้ คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษาหรอื คา่ ธรรมเนยี มอน่ื ๆ ของการศกึ ษาระดบั
ปริญญาตรีและบณั ฑิตศกึ ษา ตามชว่ งเวลาทกี่ �ำหนด ใหแ้ ก่นักศกึ ษาเป็นการท่ัวไป แลว้ ใหน้ �ำเสนอสภามหาวิทยาลยั
เพ่ือทราบ
ในกรณที มี่ เี หตผุ ลหรอื ความจำ� เปน็ ทส่ี มควร ลดหยอ่ น หรอื ยกเวน้ หรอื จดั เกบ็ เงนิ คา่ หนว่ ยกติ คา่ ธรรมเนยี ม
การศึกษา หรอื คา่ ธรรมเนยี มอน่ื ๆ ของการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรีและบณั ฑิตศกึ ษา ที่แตกตา่ งไปจากทก่ี �ำหนดใน
ระเบียบนี้ ใหแ้ ก่นกั ศกึ ษารายใดหรอื กลมุ่ ใด ใหค้ ณะกรรมการประจำ� คณะมีหนา้ ทีเ่ สนอเร่อื งเพอ่ื ขอรบั การพิจารณา
ตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั เปน็ การเฉพาะกรณี หากคณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั ใหค้ วามเหน็ ชอบ
ใหอ้ ธกิ ารบดมี อี ำ� นาจในการออกประกาศ ลดหยอ่ น หรอื ยกเวน้ หรอื จดั เกบ็ เงนิ คา่ หนว่ ยกติ คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา
หรือ ค่าธรรมเนยี มอ่ืนๆ ของการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี และ บณั ฑติ ศกึ ษา ท่แี ตกต่างไปจากทีก่ �ำหนดในระเบยี บน้ี
ใหแ้ กน่ กั ศึกษาเปน็ การเฉพาะกรณี แลว้ ใหน้ ำ� เสนอสภา
มหาวิทยาลยั เพอ่ื ทราบ
ข้อ 7 การเก็บเงินค่าหน่วยกิตให้นับจ�ำนวนหน่วยกิตสุดท้ายภายหลังจากที่นักศึกษาเพิ่มถอนรายวิชาใน
ก�ำหนดเวลา 15 วนั นบั จากเปดิ ภาคการศกึ ษาปกติ หรือ ในก�ำหนดเวลา 7 วนั นับจากเปดิ
ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน
กรณีนักศึกษาช�ำระเงินค่าหน่วยกิตแล้ว และท�ำการเพิ่มถอนรายวิชาในก�ำหนดเวลา 15 วัน นับจากวัน
เปดิ ภาคการศกึ ษาปกติ หรอื ในกำ� หนดเวลา 7 วัน นับจากวันเปดิ ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น แลว้ มีผลทำ� ให้จ�ำนวนเงนิ 141
คา่ หนว่ ยกติ ทตี่ อ้ งชำ� ระมากกวา่ ทไ่ี ดช้ ำ� ระไวแ้ ลว้ ใหเ้ รยี กเกบ็ เพมิ่ แตห่ ากมผี ลทำ� ใหจ้ ำ� นวนเงนิ คา่ หนว่ ยกติ ทตี่ อ้ งชำ� ระ
นอ้ ยกว่าท่ีได้ชำ� ระไวแ้ ลว้ ใหค้ นื เงินสว่ นเกินแกน่ ักศึกษา
ข้อ 8 นักศึกษาท่ีมีผลการศึกษาต�่ำกว่าเกณฑ์และมหาวิทยาลัยออกประกาศให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
ก่อนภาคเรียนใด แต่ไดล้ งทะเบยี นเรยี นและชำ� ระเงนิ ในภาคเรยี นนัน้ แล้ว ใหน้ กั ศึกษามีสทิ ธิ์
ขอรับเงินคา่ หน่วยกติ ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา และค่าธรรมเนียมอ่นื ๆ ของการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีและ
บณั ฑติ ศึกษา ของภาคเรยี นน้นั คืนได้ โดยให้เสนอเรอ่ื งผ่านงานทะเบียนตน้ สงั กดั และให้อธกิ ารบดีมีอ�ำนาจ
พจิ ารณาอนมุ ัติเป็นราย ๆ ไป
นกั ศกึ ษาทีไ่ ด้ลงทะเบยี นเรยี นและช�ำระเงนิ แลว้ และ ในช่วงกำ� หนดเวลา 15 วัน นบั จากเปิด
ภาคการศึกษาปกติ หรือ ในก�ำหนดเวลา 7 วนั นับจากเปิดภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น ไดป้ ระสบอุบัติเหตรุ ุนแรง
หรอื เจ็บปว่ ย จนได้รับค�ำส่งั แพทย์ใหต้ ้องพักรักษาตัวเป็นเวลาเกินกว่า 4 สัปดาห์ ในช่วงภาคการศึกษาปกติ

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม หรือ เกินกว่า 2 สัปดาห์ ในช่วงภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น ให้มีสิทธ์ขิ อรบั เงนิ ค่าหน่วยกติ คืน โดยให้ผปู้ กครอง
หรือ ผแู้ ทนนกั ศกึ ษาเสนอเร่อื งผา่ นงานทะเบียนต้นสงั กดั และใหอ้ ธิการบดมี ีอำ� นาจพจิ ารณาอนมุ ตั ิเป็นราย ๆ ไป
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 ขอ้ 9 กรณนี กั ศกึ ษาชาวต่างประเทศที่เขา้ มาศึกษาตามระบบการรบั เขา้ ปกติ ใหเ้ ก็บเงนิ
ค่าหนว่ ยกติ คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา และคา่ ธรรมเนียมอนื่ ๆ ของการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีและบณั ฑิตศึกษา
เช่นเดยี วกับนักศกึ ษาชาวไทย
กรณนี กั ศึกษาชาวต่างประเทศท่เี ข้ามาศกึ ษาตามโครงการแลกเปลี่ยนหรอื ตามขอ้ ตกลงกับ
มหาวทิ ยาลัย ให้เกบ็ เงินค่าหน่วยกิต คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา และคา่ ธรรมเนียมอน่ื ๆ ท่ีก�ำหนดในโครงการฯ
หรือขอ้ ตกลงฯ
ประกาศ ณ วันท่ ี 13 ธนั วาคม พ.ศ. 2562
142

(ศาสตราจารย์ ดร.สนุ ทร บญุ ญาธกิ าร)
นายกสภามหาวทิ ยาลัยนครพนม

บญั ชีแนบท้ายระเบียบมหาวทิ ยาลยั นครพนม

ว่าด้วย การเก็บเงนิ ค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนยี มการศึกษา และคา่ ธรรมเนยี มอนื่ ๆ

ของการศึกษาระดับปริญญาตรแี ละบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2562
.................................
ระดับการศึกษา / คณะ หลกั สตู ร ค่าธรรมเนยี มการศึกษา ค่าหน่วยกิต

ภาคเรยี นปกติ ภาคเรยี นฤดูรอ้ น

ระดับปริญญาเอก

วิชาความรูพ้ ้ืนฐานสำ�หรับนกั ศึกษาระดบั ปริญญาเอก

สถาบนั นวัตกรรมธรุ กจิ และการบญั ชี บญั ชดี ุษฎีบณั ฑติ 50,000 25,000 5,000

ระดับปริญญาโท

วชิ าความรู้พื้นฐานส�ำ หรบั นักศกึ ษาระดับปริญญาโท

คณะครุศาสตร์ ค.ม. (การบริหารและพัฒนาการศึกษา) 10,000 5,000 1,500

คณะวิศวกรรมศาสตร์ วศ.ม. (การบริหารงานก่อสร้างและโครงสรา้ งพื้นฐาน) 25,000 12,500 2,000

สถาบนั นวัตกรรมธุรกจิ และการบัญชี บัญชมี หาบัณฑติ 25,000 15,000 2,000

ระดับปริญญาตรี

วชิ าในหลักสูตรศึกษาทั่วไปส�ำ หรบั นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี - - 400

กลุม่ มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

คณะศลิ ปะศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ ทุกหลักสตู ร 4,000 2,000 400

คณะวทิ ยาการจดั การและเทคโนโลยสี ารสนเทศ บธ.บ. (การจดั การกฬี า) 4,000 2,000 400

นศ.บ. (นเิ ทศศาสตรดิจิทลั ) 4,000 2,000 400

วิทยาลัยการบินนานาชาติ บธ.บ. (การจัดการการบนิ ) 18,000 4,000 400

คณะการทอ่ งเท่ียวและอุตสาหกรรมบริหาร ทกุ หลักสตู ร 4,000 2,000 400

คณะครุศาสตร์ ทกุ หลกั สูตร 4,000 2,000 400

สถาบันนวตั กรรมธรุ กจิ และการบญั ชี ทุกหลักสตู ร 4,000 2,000 400 143

กลุม่ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ทกุ หลักสตู ร 5,000 2,500 400 ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม

คณะเกษตรและเทคโนโลยี ทกุ หลกั สตู ร 4,000 2,000 400 ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564

วิทยาลัยธาตุพนม วศ.บ. (วิศวกรรมพลังงาน) 5,500 2,750 400

คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) 5,000 2,500 400

คณะวิศวกรรมศาสตร์ ทุกหลกั สูตร 5,500 2,750 400

คณะวิทยาศาสตร์ ทกุ หลักสูตร 4,000 2,000 400

กลุม่ วทิ ยาศาสตร์

คณะพยาบาลบรมราชชนนนี ครพนม 15,000 7,500 500

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ค่าธรรมเนียมเรยี กเกบ็ ตามรายการ
1. ค่าประกนั ของเสียหาย 1,000 บาท
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 2. ค่าข้นึ ทะเบยี นนกั ศกึ ษา (เฉพาะระดับบัณฑติ ศึกษา) 500 บาท
3. คา่ คมู่ อื การศกึ ษา 100 บาท
4. ค่าบัตรนักศกึ ษา 400 บาท
5. คา่ เบีย้ ประกนั อุบตั เิ หตุ ปีละ 200 บาท
6. ค่าธรรมเนียมรกั ษาสถานภาพนกั ศกึ ษา
- ระดบั ปริญญาตรี ภาคการศกึ ษาละ 500 บาท
- ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาละ 2,500 บาท
7. ค่าธรรมเนยี มการลาพักการศึกษา
144 - ระดบั ปริญญาตรี ภาคการศึกษาละ 500 บาท
- ระดับบัณฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาละ 2,500 บาท
8. คา่ ธรรมเนียมการคืนสถานภาพนักศกึ ษา
- ระดับปรญิ ญาตรี ครั้งละ 500 บาท
- ระดับบณั ฑติ ศึกษา คร้ังละ 2,500 บาท
9. ค่าธรรมเนยี มย้ายสถานศึกษา-ยา้ ยคณะ
- ระดบั ปรญิ ญาตรี ครง้ั ละ 500 บาท
- ระดับบัณฑติ ศึกษา ครั้งละ 1,000 บาท
10. ค่าธรรมเนยี มยา้ ยสาขาวิชา ครัง้ ละ
- ระดับปรญิ ญาตรี ครง้ั ละ 300 บาท
- ระดับบณั ฑิตศกึ ษา ครั้งละ 500 บาท
11. คา่ ธรรมเนยี มเทยี บโอนรายวชิ า
- ค่ายนื่ คำ� รอ้ ง 100 บาท
- รายวชิ าระดบั ปรญิ ญาตรี หนว่ ยกิตละ 50 บาท
- รายวิชาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา หน่วยกิตละ 200 บาท
12. ค่าธรรมเนยี มออกเอกสารรบั รอง-รายงานสำ� หรบั นักศกึ ษา
- ระดบั ปริญญาตรี ฉบบั ละ 50 บาท
- ระดับบัณฑติ ศกึ ษา ฉบบั ละ 100 บาท
13. ค่าธรรมเนียมออกเอกสารรับรอง-รายงาน
ส�ำหรับผู้สำ� เรจ็ การศึกษาแลว้ ฉบบั ละ 100 บาท
14. คา่ ธรรมเนยี มข้นึ ทะเบยี นปริญญาบัตร 1,000 บาท

ประกาศมหาวิทยาลัยนครพนม
เร่อื ง บัญชีแนบทา้ ยระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม วา่ ดว้ ยการเก็บเงนิ ค่าหนว่ ยกติ ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษา
และค่าธรรมเนยี มอนื่ ๆ ของการศกึ ษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศกึ ษา (ฉบบั แกไ้ ขเพมิ่ เติม) พ.ศ. 2564

.................................
โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์และเง่ือนไขการเก็บเงินค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนียมการศึกษา
และค่าธรรมเนียมอนื่ ๆ ของการศึกษาระดับปริญญาตรแี ละบณั ฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั นครพนม กรณที ่มี หี ลักสูตร
ใหม่เกิดขึ้นภายหลังระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม ว่าด้วยการเก็บเงินค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนียมการศึกษา
และคา่ ธรรมเนียมอ่นื ๆ ของการศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2562

อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา 25 มาตรา 30 และมาตรา 31 แห่งพระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลยั นครพนม
พ.ศ. 2548 ประกอบกับข้อ 6 ของระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม ว่าด้วย การเก็บเงินค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนียม
การศกึ ษา และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ของการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรแี ละบณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2562 และมตทิ ีป่ ระชมุ
คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยนครพนม ในคราวประชุมคร้ังที่ 6/2564 เม่ือวันท่ี 9 มิถุนายน พ.ศ. 2564
จึงให้ออกประกาศไวด้ ังน้ี
ขอ้ 1 ประกาศนเี้ รยี กวา่ “ประกาศมหาวทิ ยาลยั นครพนม เรอื่ ง บญั ชแี นบทา้ ยระเบยี บมหาวทิ ยาลยั
นครพนม วา่ ดว้ ยการเกบ็ เงนิ คา่ หนว่ ยกติ คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา และคา่ ธรรมเนยี มอน่ื ๆ ของการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญา
ตรีและบัณฑิตศึกษา (ฉบบั แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ) พ.ศ. 2564”
ข้อ 2 ประกาศนี้มีผลบงั คับใชต้ ้งั แตป่ ีการศกึ ษา 2564 เปน็ ต้นไป
ข้อ 3 การเก็บเงินค่าหน่วยกิต และค่าธรรมเนียมการศึกษาของการศึกษาระดับปริญญาตรีและ
บณั ฑติ ศึกษา ให้เปน็ ไปตามบัญชีแนบทา้ ยประกาศนี้

ประกาศ ณ วันท ี่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2564 145

(รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธิภัทร ศรสี ขุ ) ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
รักษาราชการแทนรองอธิการบดี ปฏบิ ตั ิราชการแทน
อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยนครพนม ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม บญั ชแี นบทา้ ยระเบยี บมหาวทิ ยาลัยนครพนม
ว่าด้วย การเก็บเงนิ ค่าหน่วยกิต คา่ ธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนยี มอนื่ ๆ
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 ของการศกึ ษาระดับปริญญาตรีและบณั ฑติ ศึกษา (ฉบบั แกไ้ ขเพ่ิมเติม) พ.ศ. 2564

ระดับการศกึ ษา / คณะ หลักสตู ร คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา คา่ หนว่ ยกิต
ภาคเรยี นปกติ ภาคเรียนฤดรู อ้ น
3,000
ระดับปริญญาเอก 2,000
5,000
วชิ าความรูพ้ ้ืนฐานสำ�หรบั นักศึกษาระดับปรญิ ญาเอก - - 5,000
30,000 15,000
คณะครุศาสตร์ ปรัชญาดษุ ฎีบัณฑิต 1,500
(หลกั สูตรและการสอน) 50,000 25,000 1,500
1,000
146 คณะวทิ ยาการจัดการและ บรหิ ารธรุ กจิ ดษุ ฎีบัณฑิต (นวัตกรรมการ 50,000 25,000 2,000
เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลาด) 2,000
2,000
บญั ชีดุษฎีบณั ฑิต 2,000
1,500
ระดบั ปริญญาโท
400
วชิ าความร้พู ้ืนฐานส�ำ หรับนักศึกษาระดับปริญญาโท - -
10,000 5,000 400
คณะครศุ าสตร์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต 400
(นวตั กรรมการจัดการเรียนรปู้ ระถมศกึ ษา) 12,000 10,000 400
400
ครศุ าสตรมหาบัณฑติ 25,000 -
(หลักสตู รและการสอน)
25,000 15,000
วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ
นครพนม (การพยาบาลผใู้ หญ่และผ้สู ูงอาย)ุ 25,000 15,000

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ 25,000 15,000
(การพยาบาลเวชปฏบิ ตั ิชุมชน) 12,000 6,000

คณะวทิ ยาการจดั การและ บรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑติ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ (นวัตกรรมการตลาด)

บัญชมี หาบัณฑิต

คณะศิลปศาสตร์และ ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ
วทิ ยาศาสตร์ (การจดั การภาครัฐและภาคเอกชน)

ระดับปรญิ ญาตรี

วิชาในหลกั สูตรศึกษาท่ัวไปส�ำ หรบั นักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี --

กลุม่ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 4,000 2,000

วิทยาลยั การท่องเที่ยวและ ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต 4,000 2,000
อุตสาหกรรมบรกิ าร 4,000 2,000
4,000 2,000
วทิ ยาลัยธาตุพนม บญั ชบี ัณฑติ

คณะวทิ ยาการจัดการและ บรหิ ารธุรกิจบัณฑติ (ทุกหลกั สตู ร)
เทคโนโลยสี ารสนเทศ บัญชบี ณั ฑติ

ระดับการศึกษา / คณะ หลักสูตร คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา คา่ หน่วยกิต
ภาคเรยี นปกติ ภาคเรยี นฤดูรอ้ น

ระดับปรญิ ญาตรี

วิชาในหลกั สตู รศึกษาท่วั ไปสำ�หรบั นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี - - 400

กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาลยั ธาตพุ นม อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑติ 5,000 2,500 400
(ไฟฟา้ เครือ่ งกลการผลติ ) 5,000 2,500 400
5,000 2,500 400
คณะวิทยาการจัดการและ วิทยาศาสตรบัณฑิต
เทคโนโลยีสารสนเทศ (วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา)

วทิ ยาลยั เทคโนโลยี อตุ สาหกรรมศาสตรบัณฑติ
อุตสาหกรรมศรสี งคราม (หุน่ ยนตอ์ ุตสาหกรรมและระบบอัตโนมตั ิ)

กลุ่มวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พยาบาลศาสตรบัณฑติ 15,000 7,500 500
นครพนม

147

ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ประกาศมหาวิทยาลยั นครพนม
เร่ือง ก�ำหนดอัตราค่าบ�ำรุงและคา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.)
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 และประกาศนียบตั รวชิ าชีพชัน้ สงู (ปวส.)
.................................
โดยอาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 31(9) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548
148 และระเบียบมหาวิทยาลัยนครพนม ว่าด้วยการบริหารงบประมาณและการเงินจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2549 ข้อ 8 และโดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัยนครพนมในคราวประชุมครั้งที่ 2/2551
เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ประกอบกับมติคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยนครพนม ในการประชุม
คร้งั ที่ 3/2551 เม่อื วันที่ 12 มีนาคม 2551 และขอยกเลิกประกาศมหาวทิ ยาลยั นครพนม ลงวันท่ี 12 มนี าคม 2551
ประกาศมหาวิทยาลัยนครพนม ลงวนั ที่ 8 มิถนุ ายน 2553 และใหใ้ ช้ประกาศนแี้ ทน ดังน้ี
1. คา่ ธรรมเนียมเรียกเก็บเมื่อแรกรบั เข้าศกึ ษา
1.1 คา่ ข้ึนทะเบยี นเป็นนักศกึ ษา
1.1.1 ระดับ ปวช. 50 บาท
1.1.2 ระดบั ปวส. 100 บาท
1.2 คา่ สมคั ร
1.2.1 ระดบั ปวช. 50 บาท
1.2.2 ระดับ ปวส. 100 บาท
1.3 คา่ คู่มือนกั ศึกษา 100 บาท
2. ค่าธรรมเนยี มเรียกเกบ็ เป็นรายภาคเรยี น
2.1 คา่ บำ� รงุ ห้องสมดุ 100 บาท
2.2 ค่าบ�ำรงุ สุขภาพ 100 บาท
2.3 ค่าบ�ำรงุ กจิ กรรม 200 บาท
2.4 ค่าศนู ย์การเรียนร ู้ 250 บาท
3. คา่ ธรรมเนยี มเรยี กเกบ็ เป็นรายปี
3.1 คา่ ประกันอุบัตเิ หต ุ 140 บาท
4. คา่ ธรรมเนยี มการลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ า
4.1 ค่าลงทะเบียนเรยี นรายวิชา ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) ภาคปกติ
4.1.1 รายวิชาภาคบรรยาย หน่วยกติ ละ - บาท
4.1.2 รายวิชาภาคปฏิบัติการ หนว่ ยกิตละ - บาท
4.2 คา่ ลงทะเบียนเรยี นรายวิชา ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) ภาคฤดรู ้อน
4.2.1 รายวชิ าภาคบรรยาย หน่วยกติ ละ 100 บาท
4.2.2 รายวชิ าภาคปฏบิ ัติการ หนว่ ยกติ ละ 150 บาท

4.3 คา่ ลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ า ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สงู (ปวส.) ภาคปกติ ค่มู อื การศกึ ษา มหาวิทยาลัยนครพนม
4.3.1 รายวชิ าภาคบรรยาย หนว่ ยกิตละ 50 บาท
4.3.2 รายวชิ าภาคปฏิบตั ิการ หนว่ ยกิตละ 100 บาท ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564
4.4 ค่าลงทะเบยี นเรยี นรายวิชา ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สูง (ปวส.) ภาคฤดรู ้อน
4.4.1 รายวิชาภาคบรรยาย หนว่ ยกิตละ 150 บาท
4.4.2 รายวิชาภาคปฏบิ ตั ิการ หน่วยกติ ละ 200 บาท
4.5 ค่าลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในการจัดการศึกษานอกแผน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชนั้ สูง (ปวส.) 9,000 บาท/ปี
5. คา่ ธรรมเนยี มเรียกเก็บตามรายการ
5.1 คา่ ข้นึ ทะเบยี นรกั ษาสถานภาพนักศกึ ษา 100 บาท/ภาคเรียน
5.2 คา่ ปรับการลงทะเบียนรายวชิ าชา้ กว่าก�ำหนด 100 บาท/ภาคเรยี น
5.3 คา่ ลงทะเบียนแก้กิจกรรม 100 บาท/ภาคเรยี น
5.4 ค่าธรรมเนียมการคนื สถานภาพนักศึกษา 100 บาท
5.5 คา่ ใบรายงานผลการเรยี น/ใบรับรองผลการเรียน ฉบับละ 20 บาท
5.6 ค่าบตั รนกั ศึกษาในรปู แบบ บัตร ATM บวกค่าธรรมเนยี มปีแรก รวม 150 บาท
6. คา่ ธรรมเนยี มหอพักนกั ศกึ ษาวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครพนม
ภาคปกติ คนละ 1,500 บาท/ภาคเรยี น และคา่ ไฟฟา้ หอพกั นกั ศกึ ษาวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี
นครพนม 200 บาท/ภาคเรยี น
อน่ึง คา่ ธรรมเนียมทก่ี ำ� หนดไวใ้ นประกาศนีจ้ ะขอรบั คนื ไมไ่ ด้ นอกจากกรณตี ่อไปนี้
1. ค่าธรรมเนียมเรียกเกบ็ เป็นรายภาคเรยี น จะขอคนื ได้เม่อื นักศึกษาได้ขอลาออกหรอื ลาพกั การ
ศึกษาภายในวนั สดุ ท้ายของการเพม่ิ รายวชิ าเรยี น
2. ค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนรายวิชาน้นั จะขอรบั คนื ได้เมอื่ นักศึกษาขอลาออกหรือลาพกั การ
ศกึ ษาหรอื ขอถอนรายวชิ านนั้ ภายในวนั สดุ ทา้ ยของการเพมิ่ รายวชิ าเรยี นในภาคเรยี นหรอื ในกรณที มี่ หาวทิ ยาลยั งด
สอนรายวชิ าน้ัน ๆ
3. คา่ บ�ำรุงหอพกั นักศึกษา จะขอรับคนื ได้เม่ือนกั ศกึ ษาไดข้ อลาออกหรอื ลาพักการศกึ ษาภายใน
วนั สดุ ท้ายของการเพม่ิ รายวชิ าเรียน หรอื ไม่สมัครใจเข้าพักในหอพักภายใน 5 วนั นับต้งั แตว่ นั เปิด ภาคเรียน หรอื 149
นับต้ังแตว่ นั ท่ีก�ำหนดให้เข้าอยใู่ นหอพกั
ให้ใชป้ ระกาศนี้ตั้งแต่บดั น้เี ปน็ ต้นไปจนกวา่ จะมปี ระกาศเปล่ยี นแปลง
จงึ ประกาศมาใหท้ ราบโดยทว่ั กนั
ประกาศ ณ วนั ที่ 16 มนี าคม พ.ศ. 2554
(รองศาสตราจารย์ ดร.สวุ ทิ ย ์ เลาหศริ วิ งศ)์
อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยนครพนม

คู่มือการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม ประกาศมหาวทิ ยาลัยนครพนม
เรอ่ื ง การเกบ็ เงินค่าธรรมเนียมการศึกษาอ่ืนๆของหลกั สูตรปริญญาตรี พ.ศ. 2554
ประจำ�ปีการศึกษา 2564 .................................
ดว้ ยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร วทิ ยาลัยการทอ่ งเทยี่ วและอุตสาหกรรมบรกิ าร มหาวทิ ยาลัยนครพนม
เห็นสมควรก�ำหนดค่าธรรมเนียมการศึกษาอ่ืนๆ หลักสูตรปริญญาตรีของวิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม
150 บริการ มหาวิทยาลัยนครพนม ให้เหมาะสมกับสภาวการณ์และสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

มคี วามสะดวกคลอ่ งตวั และเพอ่ื ใหก้ ารบรหิ ารจดั การการศกึ ษาของวทิ ยาลยั ฯเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารผลติ บณั ฑติ
ด้านการท่องเท่ียวและอุตสาหกรรมบริการให้เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและเช่ียวชาญในสายอาชีพการท่อง
เทย่ี วและอตุ สาหกรรมบรกิ าร อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 17 (2) แหง่ พระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลยั นครพนม
พ.ศ. 2548 ระเบียบมหาวิทยาลยั นครพนม ว่าด้วย การเกบ็ เงินค่าธรรมเนียมการศึกษาอื่นๆ หลกั สูตรปรญิ ญาตรี
พ.ศ. 2551 และมติคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม
ในคราวประชมุ ครั้งท่ี 3/2553 เมอ่ื วนั ที่ 27 ตุลาคม 2553 จงึ กำ� หนดค่าธรรมเนยี มการศกึ ษาอืน่ ๆไว้ดังนี้
ขอ้ 1 คา่ ธรรมเนยี มอ่นื ๆ ส�ำหรบั หลกั สตู รการท่องเทีย่ วและอุตสาหกรรมบรกิ าร
ข้อ 2 คา่ ธรรมเนียมอ่นื ๆ ส�ำหรบั หลักสูตรการโรงแรมและภตั ตาคาร
โดยวิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการจะเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมการศึกษาอื่นๆ
ถัวเฉล่ยี ทกุ ภาคการศึกษา ภาคการศกึ ษาละ 4,500 บาท รวม 8 ภาคการศกึ ษา โดยให้ประกาศนี้มีผลกับนกั ศึกษา
ทกุ ชน้ั ปตี ั้งแตภ่ าคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2554 เป็นต้นไป
ทงั้ นใี้ หค้ ณบดเี ปน็ ผวู้ นิ จิ ฉยั ชข้ี าดในกรณที เ่ี กดิ ปญั หาจากการใชป้ ระกาศนี้ และมอี ำ� นาจจดั ทำ� ประกาศเกยี่ ว
กบั วิธปี ฏบิ ตั ิซ่ึงไมข่ ดั หรอื แยง้ กบั ประกาศน้ี

ประกาศ ณ วนั ที่ 11 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2554

(รองศาสตราจารย์ ดร.สุวทิ ย ์ เลาหศริ วิ งศ์)
อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยนครพนม


Click to View FlipBook Version