ให้ประเมินผลตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีกำหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) และ
แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) โดยเปน็ การประเมินเฉพาะบคุ คลไม่ตอ้ งเปรียบเทียบกับเด็กปกติ
๕.๒ กรณีเด็กพิการเรียนร่วมกับเด็กทั่วไปในบางาระการเรียนรู้/รายวิชาใด ให้ใช้
เกณฑ์ประเมินผลในสาระการเรียนรู้น้ันๆ ตามปกติ แต่ต้องพิจารณาปรับวิธีการสอบ การกำหนดเวลาและใน
วิชาทีป่ รับเปล่ียนจะตอ้ งมีการสอนทสี่ อดคลอ้ งในช้นั เรียน
๖) การรายงานผลการสอนน้ัน โรงเรยี นตอ้ งรายงานผลความกา้ วหน้าของนักเรยี นตามท่ี
กำหนดไว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คลและแผนการสอนเฉพาะบุคคลเป็นระยะๆ และใหน้ ำรายงาน
ดังกล่าวแนบผลการเรยี นในแต่ละภาคเรยี น เพอื่ ใหผ้ ้ปู กครอง ผ้ทู ี่เก่ียวข้องรบั ทราบด้วย
๗) การกำหนดเกณฑ์การเลื่อนชน้ั ผเู้ รยี น ใหใ้ ชแ้ นวปฏบิ ตั กิ ารวัดผลของสถานศึกษา
๘) ข้ันตอนหลักเกณฑ์วิธกี ารใดๆ ทีไ่ ม่ไดร้ ะบไุ ว้ในแนวทางการวดั ประเมินผลผู้เรียนให้ปฏิบตั ิตาม
ระเบยี บ การวดั และประเมนิ ผลของสถานศึกษาทใี่ ชก้ บั ผู้เรียนท่วั ไป
๙) ให้สถานศึกษานำผลการประเมินผลผเู้ รยี นไปปรบั ปรุง การจดั การเรียนการสอน ปรับ
แผนจดั ทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ใหเ้ ป็นไปตามหลกั การการจัดการศึกษาพิเศษ และมุ่ง
พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ต็มศกั ยภาพ
๑๐) การสง่ ตอ่ ผเู้ รยี นที่จบการศึกษาแต่ละระดบั หรือยา้ ยสถานศกึ ษาให้ดำเนนิ การตามข้อ ๗
ในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง หลกั เกณฑ์และวิธกี ารจดั ทำจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ระดบั การศกึ ษา
ขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒
๑๑) ให้สถานศกึ ษานำแนวทางการวดั ประเมินผลผ้เู รยี น เสนอต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้
พืน้ ฐานให้ความเหน็ ชอบก่อนประกาศใช้
ตวั อยา่ งแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
แผนการสอนเฉพาะบคุ คล
และการวดั และประเมนิ ผลแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล
แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล
(Individualized Education Program : IEP)
ช่อื สถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นรมิ น้ำน่าน ระดบั ชั้น ป. ๓ สังกัด สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๑
เริ่มใช้แผน วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ สนิ้ สดุ แผน วนั ที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๕๗
๑. ข้อมลู ทั่วไป
ช่ือ-ชอื่ สกุล ด.ญ.ลีลา ขาวใส เพศ ชาย หญงิ
เลขประจำตัวประชาชน ๑- ๑๐๐๑-๐๐๑๐๑ – ๐๐-๑
การจดทะเบียนคนพิการ ไม่จด ยังไมจ่ ด จดแล้ว
วัน/เดือน/ปีเกิด ๑ มิถนุ ายน ๒๕๔๖ อายุ ๙ ปี ๑๑ เดือน ศาสนา พทุ ธ
ประเภทความพกิ าร บคุ คลทีม่ ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้
ลักษณะความพิการ ปญั หาด้านการอา่ น เขียน และคณิตศาสตร์เรื่องการบวก ลบ เลข
ชื่อ – ชอื่ สกลุ บดิ า นายรำพนั ขาวใส
ชอ่ื – ชอ่ื สกุลมารดา นางมาลา ขาวใส
ชื่อ – ชอ่ื สกลุ ผปู้ กครอง นางมาลา ขาวใส เก่ยี วขอ้ งเป็น มารดา
ท่ีอยูผ่ ปู้ กครองทีต่ ิดต่อได้บ้านเลขท่ี ๓ ซอย - หมูท่ ่ี ๑๑ ถนน นา่ น - พะเยา
ตำบลไชยสถาน อำเภอเมือง จังหวัดน่าน รหสั ไปรษณยี ์ ๕๕๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๕๔-๗๗๕๖๙๐
โทรศพั ท์เคลื่อนที่ - โทรสาร - e-mail address -
๒. ข้อมูลดา้ นการแพทยห์ รือดา้ นสขุ ภาพ
โรคประจำตวั (ระบุ) โรคหอบหดื
ประวตั กิ ารแพย้ า (ระบ)ุ ................…..................................................................................
โรคภูมิแพ้ (ระบ)ุ .....................……..................................................................................
ขอ้ จำกัดอนื่ ๆ (ระบ)ุ ............................……........................................................................
ผลการตรวจทางการแพทย์ (ระบุ) แพทยว์ ินิจฉัยวา่ เป็นเด็กทม่ี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้และมี
ภาวะสมาธสิ น้ั รว่ มด้วย
๓. ขอ้ มูลดา้ นการศึกษา
ไมเ่ คยได้รบั การศึกษา / บริการทางการศึกษา
เคยได้รบั การศึกษา / บริการทางการศึกษาจาก
ศนู ย์การศึกษาพิเศษ…………………………….. ระดบั ……………………..พ.ศ…...……..….
โรงเรียนเฉพาะความพกิ าร…………………….. ระดบั ……………………..พ.ศ……………..
โรงเรยี นเรยี นร่วม โรงเรียนบา้ นริมน้ำนา่ น ระดบั ป.๒ พ.ศ. ๒๕๕๕
การศึกษาดา้ นอาชีพ……..………….………….. ระดบั ……………………..พ.ศ……………..
การศึกษานอกระบบ…….………….………….. ระดับ……………………..พ.ศ……………..
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย…...………….……….. ระดบั ……………………..พ.ศ……………..
อื่นๆ……………………...………….…….……….. ระดับ……………………..พ.ศ…………….
๔. ขอ้ มูลอืน่ ๆท่ีจำเป็น
๑) พ่อแม่แยกกนั อยู่
๒) มคี วามสามารถในการวาดรปู และสนใจดา้ นศลิ ปะเปน็ อย่างมาก
๓) มนี ำ้ ใจ ชอบชว่ ยเหลือครู และเพื่อน
๔) เมอื่ สำเรจ็ การศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา ตอ้ งการศกึ ษาต่อในระดบั มธั ยมศกึ ษา
๕. การกำหนดแนวทางการศึกษาและการวางแผนการจดั การศึกษาพเิ
ระดบั ความสามารถในปจั จบุ ัน เป้าหมายระย
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพือ่
นำไปใช้ตดั สินใจ แก้ปญั หาในการดำเนินชีวติ และมีนสิ ัยรักการอา่ น
ป.๑
ตวั ชว้ี ัด ๑ การอ่านออกเสยี งคำ คำคล้องจองและข้อความสนั้ ๆ
ตวั ช้วี ดั ๒ บอกความหมายของคำและข้อความทอ่ี ่าน
จดุ เด่น
๑.สามารถบอกช่อื พยัญชนะ ก - ฮ โดยใหด้ ูแบบส่มุ ไดถ้ กู ต้อง ๔๔
ตัว
๒.สามารถอา่ นคำพื้นฐานหนงั สอื ภาษาไทยระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑
แม่ ก กา ได้
จดุ ดอ้ ย ภายในวนั ที่ ๓๑
๑. ไมส่ ามารถอ่านคำพนื้ ฐานในระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ทม่ี ีตวั สะกด ๒๕๕๗ เด็กหญงิ
ทง้ั ๘ แม่ ตรงตามมาตราได้ ( แม่ กน กก กม กง กบ อา่ นคำพนื้ ฐานใน
กด เกย เกอว ) ๑ ทม่ี ีตัวสะกดตร
ในแม่ กบ กด
กน ได้ ๑๐๐
เศษ เกณฑแ์ ละวธิ ีการ ผูร้ ับผิดชอบ
ประเมนิ ผล
ยะเวลา ๑ ปี จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
(เปา้ หมายระยะส้ัน)
๑ มีนาคม วธิ ีการ/เครอ่ื งมือการ นางใจดี
งลลี า สามารถ ประเมนิ เมตตา
นระดบั ชนั้ ป. ๑.ภายในวนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม ทดสอบ/แบบทดสอบ ครปู ระจำกลุ่ม
รงตามมาตรา พ.ศ.๒๕๕๖ เม่ือให้อ่านคำ เกณฑก์ ารผ่าน สาระการเรียนรู้
ด กก กม พ้นื ฐานในระดบั ชน้ั ป. ๑ ทม่ี ี ร้อยละ ๗๐ ภาษาไทย
ตัวสะกดตรงตามมาตรา ใน
คำ แม่ กบ จำนวน ๒๐ คำ
ระดับความสามารถในปัจจบุ ัน เปา้ หมายระยะเ
เวลา ๑ ปี จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม เกณฑแ์ ละวิธีการ ผู้รบั ผิดชอบ
(เปา้ หมายระยะส้นั ) ประเมินผล นางใจดี
เมตตา
แบบสุ่ม เดก็ หญงิ ลลี า วิธกี าร/เคร่อื งมือการ ครปู ระจำกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้
สามารถอา่ นได้ถูกต้อง ประเมนิ ภาษาไทย
๒.ภายในวันที่ ๓๐ กนั ยายน ทดสอบ/แบบทดสอบ
พ.ศ.๒๕๕๖เมื่อให้อา่ นคำ เกณฑ์การผ่าน
พ้ืนฐานในระดบั ชนั้ ป. ๑ ท่ี รอ้ ยละ ๗๐
มีตวั สะกดตรงตามมาตรา
ในแม่ กด จำนวน ๒๐
คำ แบบสุ่ม เด็กหญิงลีลา
สามารถอ่านได้ถูกต้อง
๓. ภายในวันท่ี ๓๐ วธิ กี าร/เคร่ืองมือการ นางใจดี
เมตตา
พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๖ ประเมิน ครูประจำกลุ่ม
สาระการเรียนรู้
เมื่อให้อา่ นคำพ้นื ฐานใน ทดสอบ/แบบทดสอบ ภาษาไทย
ระดบั ช้นั ป. ๑ ทม่ี ีตัวสะกด เกณฑ์การผา่ น
ตรงตามมาตรา ในแม่ กก รอ้ ยละ ๗๐
จำนวน ๒๐ คำ แบบส่มุ
เด็กหญงิ ลีลา สามารถอา่ น
ได้ถูกตอ้ งทุกคำ
ระดับความสามารถในปัจจบุ ัน เปา้ หมายระยะเว
วลา ๑ ปี จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เกณฑแ์ ละวิธกี าร ผู้รับผิดชอบ
(เป้าหมายระยะสัน้ ) ประเมินผล นางใจดี
เมตตา
๔.ภายในวนั ท่ี ๓๑ มกราคม วธิ กี าร/เคร่อื งมือการ ครูประจำกลุ่ม
สาระการเรียนรู้
พ.ศ.๒๕๕๗เมื่อให้อ่านคำ ประเมนิ ภาษาไทย
พ้ืนฐานในระดบั ช้นั ป.๑ ที่มี ทดสอบ/แบบทดสอบ
ตัวสะกดตรงตามมาตรา ใน เกณฑ์การผา่ น
แม่ กม จำนวน ๒๐ คำ ร้อยละ ๗๐
แบบสมุ่ เด็กหญิงลลี า
สามารถอ่านได้ถูกต้อง
๕.ภายในวันท่ี ๓๑ มีนาคม วธิ ีการ/เครอ่ื งมือการ นางใจดี
พ.ศ.๒๕๕๗ เม่ือใหอ้ ่านคำ ประเมิน เมตตา
พนื้ ฐานในระดบั ชั้น ป. ๑ ที่ ทดสอบ/แบบทดสอบ ครปู ระจำกลุ่ม
มีตวั สะกดตรงตามมาตรา เกณฑ์การผ่าน สาระการเรียนรู้
ในแม่ กน จำนวน ๒๐ รอ้ ยละ ๗๐ ภาษาไทย
คำ แบบสุ่ม เด็กหญิงลลี า
สามารถอา่ นได้ถูกต้อง
ระดับความสามารถในปัจจบุ ัน เป้าหมายระยะเวล
สาระท่ี ๒ การเขยี น ภายในวันที่ ๓๑ มนี
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขยี น ๒๕๕๖ เดก็ หญงิ ลีลา
เรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียน สามารถเขียนคำพนื้ ฐ
รายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมี ระดับช้นั ป. ๑ ที่มตี
ประสิทธิภาพ ตรงตามมาตราในแม
ป.๑ กด กก กม กน
ตวั ชว้ี ัด ๑.คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด ๑๐๐ คำ
ตวั ชีว้ ัด ๒.เขยี นสื่อสารดว้ ยคำและประโยคง่ายๆ
จุดเดน่
๑.สามารถเขียนพยัญชนะ ก - ฮ ตามคำบอกแบบสมุ่ ได้
๒.สามารถเขยี นคำพ้นื ฐานหนังสือภาษาไทยระดับชน้ั
ประถมศึกษาปที ี่ ๑ แม่ ก กา ได้
จุดอ่อน
๑. ไมส่ ามารถเขยี นคำพืน้ ฐานในระดบั ชน้ั ป. ๑ ท่ีมตี วั สะกดท้งั
๘ แม่ ตรงตามมาตราได้ (แม่ กน กก กม กง กบ
กด เกย เกอว )
ลา ๑ ปี จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม เกณฑแ์ ละวิธกี าร ผรู้ บั ผดิ ชอบ
(เป้าหมายระยะส้ัน) ประเมนิ ผล
นาคม ๑.ภายในวันที่ ๓๑ กรกฎาคม วธิ กี าร/เครื่องมือการ นางใจดี
า ๒๕๕๖ เมอื่ ใหเ้ ขยี นคำพน้ื ฐาน ประเมนิ เมตตา
ฐานใน ในระดับชน้ั ทดสอบ/ ครูประจำกลุ่ม
ตัวสะกด ป. ๑ ทมี่ ตี ัวสะกดตรงตาม แบบทดสอบ สาระการเรยี นรู้
ม่ กบ มาตรา ในแม่ กบ จำนวน เกณฑ์การผา่ น ภาษาไทย
ได้ ๒๐ คำ ตามคำบอกแบบสุ่ม รอ้ ยละ ๗๐
เดก็ หญิงลลี า สามารถเขียนได้
ถกู ต้อง
ระดบั ความสามารถในปจั จบุ ัน เปา้ หมายระยะเวล
ลา ๑ ปี จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เกณฑแ์ ละวิธกี าร ผูร้ บั ผดิ ชอบ
(เปา้ หมายระยะสน้ั ) ประเมินผล
๒. ภายในวันที่ ๓๐
กันยายน ๒๕๕๖ เมอ่ื ให้ วิธกี าร/เครื่องมือการ นางใจดี
เขยี นคำพื้นฐานในระดับช้ัน ประเมิน เมตตา
ป. ๑ ทมี่ ีตวั สะกดตรงตาม ทดสอบ/ ครูประจำกลุ่ม
มาตรา ในแม่ กด จำนวน แบบทดสอบ สาระการเรียนรู้
๒๐ คำ ตามคำบอกแบบสมุ่ เกณฑ์การผ่าน ภาษาไทย
เดก็ หญงิ ลีลา สามารถเขียน รอ้ ยละ ๗๐
ได้ถูกตอ้ ง
๓. ภายในวันท่ี ๓๐ วธิ ีการ/เครอื่ งมือการ นางใจดี
พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เม่ือให้ ประเมนิ เมตตา
เขียนคำพนื้ ฐานในระดับชน้ั ทดสอบ/ ครปู ระจำกลุ่ม
ป. ๑ ที่มีตัวสะกดตรงตาม แบบทดสอบ สาระการเรียนรู้
มาตรา ใน แม่ กก เกณฑ์การผ่าน ภาษาไทย
จำนวน ๒๐ คำ ตามคำบอก ร้อยละ ๗๐
แบบสุ่ม เด็กหญงิ ลลี า
สามารถเขียนได้ถูกต้อง
ระดบั ความสามารถในปจั จบุ ัน เปา้ หมายระยะเวลา
า ๑ ปี จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เกณฑแ์ ละวธิ กี าร ผรู้ ับผิดชอบ
(เปา้ หมายระยะสนั้ ) ประเมนิ ผล
๑.
๒. ๔ . ภายในวันที่ ๓๑ วิธีการ/เครอ่ื งมือการ นางใจดี
มกราคม ๒๕๕๗ เมื่อให้ ประเมิน เมตตา
เขยี นคำพ้นื ฐานในระดับชน้ั ทดสอบ/แบบทดสอบ ครูประจำกลุ่ม
ป. ๑ ท่มี ีตัวสะกดตรงตาม เกณฑ์การผา่ น สาระการเรียนรู้
มาตรา ในแม่ กม รอ้ ยละ ๗๐ ภาษาไทย
จำนวน ๒๐ คำ ตามคำ
บอกแบบสุ่ม เดก็ หญิงลลี า
สามารถเขยี นได้ถูกต้อง
๕.ภายในวนั ท่ี ๓๑ มีนาคม
๒๕๕๗ เมื่อให้เขยี นคำ วธิ ีการ/เครอ่ื งมือการ นางใจดี
เมตตา
พืน้ ฐานในระดับชั้น ป. ๑ ท่ี ประเมินทดสอบ/ ครูประจำกลุ่ม
สาระการเรียนรู้
มตี วั สะกดตรงตามมาตรา แบบทดสอบ ภาษาไทย
ในแม่ กน จำนวน ๒๐ คำ เกณฑ์การผ่าน
ตามคำบอกแบบสมุ่ รอ้ ยละ ๗๐
เด็กหญงิ ลีลา สามารถเขียน
ไดถ้ ูกตอ้ ง
๓.
ระดบั ความสามารถในปัจจบุ ัน เปา้ หมายระยะเวลา
สาระท่ี ๓ การฟัง กำหนดตามสาระ มาตรฐา
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษา การเรียนรู้ตามระดบั ชั้นขอ
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม (ป.๓)
สามารถเรียนได้ตามสาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ตาม
ระดับชั้น ป. ๓
า ๑ ปี จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เกณฑ์และวธิ ีการ ผู้รับผดิ ชอบ
(เปา้ หมายระยะส้ัน)
าน ประเมินผล
องผู้เรียน กำหนดตามตวั ช้วี ดั และ
สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิธีการ/เคร่อื งมือการ นางใจดี
ตามระดบั ชั้นของผเู้ รยี น(ป.
๓) ประเมิน เมตตา
๑. ทำช้นิ งาน,โครงงาน/ ครูประจำกลุ่ม
แบบประเมนิ ชน้ิ งาน, สาระการเรียนรู้
แบบประเมนิ โครงงาน ภาษาไทย
๒. ทดสอบ/แบบทดสอบ
- ขยายเวลาในการสอบ
ใหม้ ีเวลามากขึน้
-จัดแยกหอ้ งสอบที่
เหมาะสม
-อา่ นขอ้ สอบให้ฟงั
-คำที่ใช้ในการสรา้ ง
แบบทดสอบ ควรเป็นคำ
พืน้ ฐานท่กี ำหนดไว้ใน
สาระท่ี ๑
เกณฑ์การผา่ น
เหมอื นนักเรียน
ระดับชน้ั เดียวกนั
ระดบั ความสามารถในปัจจบุ ัน เป้าหมายระยะเวลา ๑ ป
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์
สาระที่ ๑ จำนวนและการดำเนนิ การ
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจถงึ ผลทเี่ กดิ ข้นึ จากการดำเนนิ การของ
จำนวนและความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการดำเนนิ การตา่ งๆ และ
สามารถใช้การดำเนนิ การในการแกป้ ญั หา
ป.๑
ตวั ชี้วัดที่ ๑ บวก ลบ ระคนของจำนวนนบั ไม่เกนิ หนง่ึ ร้อย
และศูนย์ พรอ้ มท้งั ตระหนกั ถงึ ความสมเหตุ สมผลของ
คำตอบ
จุดเด่น
๑. รู้ความหมายของการบวกและการใช้
เครอ่ื งหมายบวก
๒. สามารถบวกเลข โดยไมม่ ีการทด ผลลัพธ์ไมเ่ กิน
๑๐๐
จดุ ด้อย ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม
๑. ไมส่ ามารถบวกเลขทมี่ กี ารทด และมผี ลลพั ธไ์ ม่ ๒๕๕๗ เด็กหญงิ ลีลา สามารถ
เกนิ ๑๐๐ บวกเลขท่มี ีการทดและมผี ลลพั
ไม่เกิน ๑๐๐ ได้
ปี จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เกณฑ์และวธิ กี าร ผูร้ ับผิดชอบ
(เปา้ หมายระยะสน้ั ) ประเมินผล
นายการณุ ย์
วธิ กี าร/เครอื่ งมือการ เอื้อเฟอ้ื
๑) ภายในวนั ท่ี ๓๐กนั ยายน ประเมิน ครปู ระจำกลุ่ม
ถ พ.ศ.๒๕๕๖ เมื่อใหบ้ วกเลขที่มีการทด การทดสอบ/แบบทดสอบ สาระการ
พธ์ ผลลัพธไ์ มเ่ กนิ ๕๐ เดก็ หญงิ ลลี า เกณฑ์การผา่ น เรียนรู้
สามารถทำได้ถกู ตอ้ ง ร้อยละ ๘๐ คณิตศาสตร์
ระดับความสามารถในปัจจุบัน เปา้ หมายระยะเวลา ๑
สาระท่ี ๒ การวัด นักเรยี นเรียนร้ตู ามสาระ มา
สาระที่ ๓ เรขาคณิต การเรยี นรตู้ ามระดับชนั้ ป.๓
สาระท่ี ๔ พีชคณิต
สาระท่ี ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ ๖ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
สามารถเรยี นได้ตามสาระ มาตรฐานการเรียนรตู้ าม
ระดบั ช้นั ป. ๓
๑ ปี จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เกณฑ์และวิธกี าร ผูร้ ับผิดชอบ
(เปา้ หมายระยะส้ัน) ประเมินผล
าตรฐาน นายการุณย์
๓ ๒) ภายในวันท่ี ๓๑ มนี าคม วิธีการ/เครอ่ื งมือการ เออ้ื เฟื้อ
พ.ศ.๒๕๕๗เมื่อให้บวกเลขที่มี ประเมินการทดสอบ/
การทด ผลลพั ธ์ไม่เกิน ๑๐๐ แบบทดสอบ ครปู ระจำกลมุ่
เดก็ หญงิ ลลี าสามารถทำได้ สาระการเรยี นรู้
ถกู ต้อง เกณฑ์การผ่าน คณติ ศาสตร์
นกั เรียนเรยี นร้ตู ามตัวชี้วดั และ ร้อยละ ๘๐
สาระการเรยี นรู้แกนกลางตาม นายการุณย์
ระดับช้ัน ป.๓ วิธีการ/เคร่อื งมอื การประเมนิ เออ้ื เฟ้ือ
๑. ทำชนิ้ งาน,โครงงาน/แบบ
ประเมินชิน้ งาน,แบบประเมิน ครูประจำกลมุ่
โครงงาน สาระการเรยี นรู้
๒. ทดสอบ/แบบทดสอบ คณิตศาสตร์
- ขยายเวลาในการสอบให้มีเวลา
มากขึน้
-จัดแยกห้องสอบท่เี หมาะสม
-อา่ นขอ้ สอบให้ฟัง
-จำนวนทใี่ ชใ้ นการทดสอบมี
ผลลัพธ์ไม่เกิน ๑๐๐
เกณฑ์การผา่ น
-เหมอื นนกั เรยี นระดบั ช้ัน
เดียวกนั
ระดบั ความสามารถในปจั จบุ ัน เป้าหมายระยะเวลา ๑
สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ นกั เรียนเรียนรตู้ ามสาระ มา
สามารถเรยี นได้ตามสาระ มาตรฐานการเรยี นรตู้ าม ระดบั ชัน้ ป.๓
ระดับชน้ั ป. ๓
๑ ปี จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม เกณฑแ์ ละวิธกี าร ผรู้ บั ผดิ ชอบ
(เป้าหมายระยะสน้ั ) ประเมินผล
าตรฐาน นกั เรียนเรยี นร้ตู ามตัวช้วี ัดและ วธิ ีการ/เครอ่ื งมอื การ นางสมสวย
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางตาม ประเมนิ สดุ ตา
ระดบั ช้ัน ป.๓ ๑. ทำช้ินงาน,โครงงาน/ ครูประจำกลุ่ม
แบบประเมนิ ชนิ้ งาน, สาระการ
แบบประเมนิ โครงงาน เรยี นรู้
๒. ทดสอบแบบทดสอบ วทิ ยาศาสตร์
- ขยายเวลาในการสอบ
ใหม้ เี วลามากข้ึน
-จดั แยกห้องสอบท่ี
เหมาะสม
-อ่านขอ้ สอบใหฟ้ งั
เกณฑ์การผ่าน
เหมอื นนกั เรยี นระดับชั้น
เดียวกัน
ระดบั ความสามารถในปจั จบุ ัน เปา้ หมายระยะเวลา ๑
สาระการเรียนร้สู งั คม ศาสนาและวฒั นธรรม นกั เรยี นเรียนรู้ตามสาระ มา
สามารถเรยี นได้ตามสาระ มาตรฐานการเรยี นรูต้ าม การเรยี นรตู้ ามระดบั ช้นั ป.๓
ระดบั ช้ัน ป. ๓
๑ ปี จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เกณฑแ์ ละวธิ ีการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
(เป้าหมายระยะสัน้ ) ประเมนิ ผล
าตรฐาน นักเรยี นเรยี นรูต้ ามตัวชว้ี ัดและ วธิ กี าร/เครอ่ื งมอื การ นางใจบญุ
๓ สาระการเรียนรู้แกนกลางตาม
ระดับชนั้ ป.๓ ประเมิน สดุ ดี
๑. ทำชิ้นงาน,โครงงาน/ ครปู ระจำกลุ่ม
แบบประเมนิ ชนิ้ งาน, สาระการเรยี นรู้
แบบประเมนิ โครงงาน สังคม ศาสนา
๒. ทดสอบ/แบบทดสอบ และวฒั นธรรม
- ขยายเวลาในการสอบ
ให้มเี วลามากข้นึ
-จดั แยกห้องสอบที่
เหมาะสม
-อ่านขอ้ สอบใหฟ้ งั
เกณฑก์ ารผ่าน
เหมอื นนักเรียน
ระดับชัน้ เดยี วกนั
ระดับความสามารถในปจั จบุ นั เปา้ หมายระยะเวลา ๑
สาระการเรียนรู้ศิลปะ นกั เรยี นเรยี นรู้ตามสาระ มา
สามารถเรยี นไดต้ ามสาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ตาม การเรยี นร้ตู ามระดับชัน้ ป.๓
ระดบั ชน้ั ป. ๓
สาระการเรยี นรูส้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา นักเรยี นเรียนรตู้ ามสาระ ม
สามารถเรยี นได้ตามสาระ มาตรฐานการเรียนรตู้ าม การเรยี นรตู้ ามระดบั ชน้ั ป
ระดับชั้น ป. ๓
๑ ปี จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เกณฑแ์ ละวิธกี าร ผู้รบั ผดิ ชอบ
(เป้าหมายระยะส้ัน) ประเมินผล
าตรฐาน นกั เรยี นเรยี นรูต้ ามตวั ช้วี ดั และ วิธีการ/เคร่ืองมอื การ นายอาทติ ย์
๓ สาระการเรียนรู้แกนกลางตาม ประเมนิ สแี ดง
ระดับชน้ั ป.๓ ประเมนิ ผลจากแฟม้ ครูประจำกลมุ่
สะสมงาน สาระการเรียนรู้
เกณฑ์การผา่ น ศลิ ปะ
เหมือนนกั เรยี นระดับชัน้
เดยี วกนั
มาตรฐาน นกั เรยี นเรยี นรตู้ ามตวั ช้วี ดั วิธีการ/เครอ่ื งมือการ นายประเทศ
ป.๓ และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ประเมนิ ขอบเขต
ตามระดับช้นั ๑. ประเมินแฟม้ สะสมงาน/ ครูประจำกลุม่
ป.๓ แบบประเมนิ แฟม้ สะสมงาน สาระการเรียนรู้
๒.ทดสอบ/แบบทดสอบ สุขศกึ ษาและ
- ขยายเวลาในการสอบใหม้ ี พลศึกษา
เวลามากข้นึ
-จดั แยกห้องสอบท่ี
เหมาะสม
- อ่านข้อสอบให้ฟงั
เกณฑก์ ารผา่ น
เหมือนนกั เรยี นระดบั ชนั้
เดียวกัน
ระดับความสามารถในปจั จบุ ัน เป้าหมายระยะเวลา ๑ ปี
สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ/เทคโนโลยี นกั เรียนเรียนรู้ตามสาระ มาตรฐา
สามารถเรยี นไดต้ ามสาระ มาตรฐานการเรยี นรตู้ าม การเรียนรตู้ ามระดับช้ัน ป.๓
ระดับชน้ั ป. ๓
สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
สามารถเรียนไดต้ ามสาระ มาตรฐานการเรียนรตู้ าม นักเรยี นเรียนรตู้ ามสาระ มาตรฐา
ระดบั ชน้ั ป. ๓ การเรยี นร้ตู ามระดบั ชนั้ ป.๓
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เกณฑแ์ ละวธิ กี าร ผรู้ ับผดิ ชอบ
(เป้าหมายระยะสัน้ ) ประเมินผล
าน นกั เรียนเรยี นรตู้ ามตวั ชี้วดั และ วธิ กี าร/เคร่ืองมอื การประเมิน นายงานดี
สาระการเรียนรู้แกนกลางตาม ๑. ประเมนิ ชิ้นงาน/แบบ ขยนั
ระดบั ชน้ั ป.๓ ประเมินชนิ้ งาน ครูประจำกล่มุ
๒. ประเมนิ แฟ้มสะสมงาน/ สาระการเรียนรู้
าน นักเรยี นเรยี นรู้ตามตัวชว้ี ดั และ แบบประเมนิ แฟม้ สะสมงาน
สาระการเรียนร้แู กนกลางตาม เกณฑ์การผา่ น นายองั กฤษ
ระดบั ชนั้ ป.๓ เหมอื นนกั เรียนระดบั ชัน้ ตา่ งประเทศ
เดียวกัน ครูประจำกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้
วธิ ีการ/เครือ่ งมอื การประเมิน
๑. ประเมินแฟ้มสะสมงาน/
แบบประเมนิ แฟ้มสะสมงาน
๒. ทดสอบ/แบบทดสอบ
-จัดแยกหอ้ งสอบที่เหมาะสม
-อ่านข้อสอบใหฟ้ งั
เกณฑ์การประเมิน
เหมือนนกั เรียนระดับช้ัน
เดยี วกนั
๖. ความต้องการด้านส่งิ อำนวยความสะดวก เทคโนโลยีสิง่ อำนวยความสะดวก ส่ือ บริกา
สิ่งที่มีอย่แู ล้ว
ท่ี รายการ รหัส ผู้จัดหา วธิ ีการ
(๑) (๒) (๓) (๑) (๒) (๓) (๑)
บญั ชี ก
๑. คอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะ AC๐๕๐๑
บัญชี ข
๒ กระดาษโปสเตอรส์ ี BM๐๑๐๒
๓ กระดาษ A ๔ BM๐๑๐๑
๔ แผน่ ฟิวเจอร์บอร์ด ๒ มม. BM๐๑๐๙
๖๕ X ๖๑ซ.ม.
๕ แผน่ สติ๊กเกอรใ์ ส BM๐๑๐๖
บญั ชี ค
๖ บริการสอนเสริม CS๐๑๐๑
รวมรายการท่ีขอรบั การอุดหนนุ ๖ รายก
๒,๐๐๐บา
รวมจำนวนเงินท่ีขอรับการ
(๑) ผปู้ กครอง
อุดหนุน (๑) ขอรับการอุดหนนุ
หมายเหตุ ผูจ้ ดั หา
วธิ ีการ
าร และความช่วยเหลอื อื่นใดทางการศึกษา
สิ่งท่ีต้องการ จำนวนเงนิ
ผจู้ ดั หา วิธีการ ท่ีขอ เหตผุ ลและความจำเปน็ ผู้ประเมิน
) (๒) (๓) (๑) (๒) (๓) อุดหนุน
เด็กหญิงลีลามที กั ษะ นางใจดี
✓✓ ภาษาไทยและ เมตตา
คณิตศาสตร์ ครผู ู้สอน
✓✓ ๒๐๐บาท ต่ำกว่าระดบั ชัน้ ท่ีเรยี น
✓✓ ๒๔๐บาท อย่ปู ัจจุบนั ๒ ชน้ั เรียน
✓✓
๓๖๐บาท ทำให้มีผลกระทบต่อ
การเรียนรู้สาระอ่ืนๆ
✓✓ ๒๐๐บาท และมผี ลสัมฤทธิท์ างการ
เรยี นตำ่ จำเป็นตอ้ งได้รับ
✓✓ ๑,๐๐๐ การแก้ไขและพัฒนา
บาท อย่างเร่งด่วน
การ
าท ( สองพันบาทถ้วน )
(๒) สถานศกึ ษา (๓) สถานพยาบาล/อื่นๆ
(๒) ขอยืม (๓) ขอยืมเงิน
๗. คณะกรรมการจดั ทำแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล
ชื่อ ตำแหน่ง ลายมือชื่อ
๗.๑ นายอำนวย การศึกษา ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นรมิ น้ำนา่ น …….…………
๗.๒ นางมาลา ขาวใส มารดา …………………
๗.๓ นางใจดี เมตตา ครปู ระจำชัน้ /ครปู ระจำกลมุ่ สาระฯภาษาไทย ……….…………
๗.๔ นายการณุ ย์ เอือ้ เฟอื้ ครปู ระจำกลมุ่ สาระฯคณิตศาสตร์ ……….…………
ประชมุ เมื่อวันท่ี ๑๕ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
๘. ความเหน็ ของบดิ า มารดา ผู้ปกครองหรือผู้เรยี น
การจัดทำแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล ฉบับนี้
ข้าพเจา้ เหน็ ด้วย ไมเ่ หน็ ดว้ ย
ลงชื่อ……………………………………
(นางมาลา ขาวใส )
ผปู้ กครอง
วันท่ี ๑๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
แผนการสอนเฉพาะบคุ คล
(Individual Implementation Plan : IIP)
ช่ือ-ช่ือสกลุ ด.ญ.ลลี า ขาวใส ระดบั ชนั้ ป. ๓ ประเภทความพิการ บุคคลท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้
ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ผู้รับผดิ ชอบ นางใจดี เมตตา
สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สาระท่ี ๑ การอ่าน เร่อื ง อา่ นคำพ้ืนฐานในระดบั ชั้น ป. ๑
เป้าหมายระยะยาว ๑ปี ภายในวนั ท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๕๗ ด.ญ.ลลี าสามารถอา่ นคำพื้นฐานในระดับชน้ั ป. ๑
ทม่ี ีตัวสะกดตรงมาตราในแม่ กบ กด กก กม กน ได้ ๑๐๐ คำ
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม (เป้าหมายระยะสนั้ )
๑. ภายในวนั ที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เมื่อใหอ้ ่านคำพ้นื ฐานในระดับชัน้ ป.๑ ที่มตี วั สะกดตรงตามมาตราใน
แม่ กบ จำนวน ๒๐ คำแบบสุ่ม ด.ญ.ลลี า สามารถอา่ นได้ถูกต้อง
เกณฑ์และวิธีประเมินผล วธิ กี าร/เครื่องมือการประเมนิ ทดสอบ/แบบทดสอบ เกณฑ์การผา่ น ร้อยละ ๗๐
แผนที่ ๑ วนั ที่ใช้แผน ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ถงึ วนั ท่ี ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๖๐ นาที
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมท่ี ๑.๑
เมื่อให้อ่านคำพื้นฐานในระดับช้นั ป.๑ ทีม่ ตี ัวสะกดตรงตามมาตราในแม่ กบ จำนวน ๑ คำ คือ อาบน้ำ
ด.ญ.ลีลาสามารถอา่ นได้ถกู ต้องรอ้ ยละ ๗๐
เน้อื หา
คำพืน้ ฐานในระดับช้นั ป.๑ มาตราสะกด แม่ กบ ตรงมาตรา ได้แก่ คำวา่ “อาบน้ำ”
กิจกรรมการเรียนการสอน
ข้นั นำ
นักเรยี นดูภาพเดก็ อาบน้ำ และร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั การทำความสะอาดรา่ งกาย
ขนั้ สอน
ครใู ชว้ ธิ สี อนโดยใชป้ ระสาทสัมผสั หลายด้าน (Multi Sensory Approach) และการฝกึ ทกั ษะย่อย
( Skill Training ) หมายถงึ วิธสี อนอ่านและเขยี นเปน็ คำ โดยมกี ระบวนการสอนตามลำดบั ดังน้ี
๑. ครสู ร้างบตั รคำ คำวา่ อาบนำ้ โดยใชว้ ัสดุท่ีมอื สัมผัสไดล้ งบนกระดาษแล้วใหเ้ ด็กดูคำและ
อา่ นใหน้ กั เรยี นฟัง พรอ้ มทั้งใหน้ กั เรยี นอ่านตาม
๒. นักเรยี นใช้น้ิวลากไปตามตัวอกั ษรทลี ะตัวท่ีประกอบข้ึนเป็นคำ อาบนำ้ พร้อม
ทัง้ ออกเสยี งชื่อช่อื ตวั พยัญชนะและสระน้ัน และอ่านคำว่า อาบนำ้ เม่อื ลากครบทุกตัวอักษร( ใบงานท่ี ๑ )
๓. นักเรียนทำใบงาน จบั คภู่ าพกับคำ ( ภาพอาบนำ้ กับคำว่าอาบนำ้ ) พรอ้ มทั้งระบายสภี าพใหส้ วยงามและอ่าน
คำ ที่กำหนดให้เรยี นรู้ ( ใบงานท่ี ๒ )
๔. นักเรียนทำใบงาน ระบายสคี ำด้วยสที ่ีกำหนดและนบั จำนวนคำอาบน้ำท่ีนกั เรยี นระบายสีพรอ้ มทง้ั อ่านใหค้ รูฟัง
( ใบงานที่ ๓ )
๕. ใหน้ ักเรยี นอา่ นคำว่าอาบน้ำตามใบงานทก่ี ำหนด และร่วมตรวจสอบกับครูวา่ อ่านถกู ต้องก่ีคำ
๖. ( ใบงานที่ ๔ )
ข้ันสรุป
นักเรยี นนำใบงานที่ทำทัง้ หมดตามแผนการสอนมาร่วมจดั ทำเปน็ หนงั สือของฉันและอ่านใหค้ รูฟงั
สอ่ื /อุปกรณ์/ส่ิงอำนวยความสะดวก/บริการ
๑)ภาพเด็กอาบนำ้
๒) กระดาษทราย
๓) ใบงาน
๔) สีไม้
๕) กระดาษกาวย่น
การวดั ผลและประเมนิ ผล
๑. วธิ ีการ
- ทดสอบ
- สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้
๒. เครือ่ งมอื
- แบบทดสอบ
- แบบสังเกตการเรยี นรู้
๓. เกณฑก์ ารผา่ น
อา่ นคำวา่ อาบนำ้ ได้ร้อยละ ๗๐
การเสรมิ แรง
๑. คำชม
๒. สตกิ๊ เกอร์
ความคิดเหน็ ของผู้บริหารหรือผูท้ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย
เหน็ ชอบใหใ้ ชแ้ ผนน้ีในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนได้ โดยในสว่ นของบตั รคำควรมีการเพมิ่ รหสั สีในส่วนของตัว
“บ” เพ่ือเพ่ิมความสนใจและนำทางแก่ผเู้ รียน
ลงช่อื ..........อำนาจ บารมี ............
( นายอำนาจ บารมี )
ตำแหน่ง..ผอู้ ำนวยการบา้ นรมิ น้ำน่าน
๑๕ /พฤษภาคม./๒๕๕๖
บันทึกหลังการสอน
วนั เดอื น ปี ผลการสอน ระดับคุณภาพการเรยี นรู้
๐๑ ๒ ๓ ๔
๑๖ ผ้เู รยี นสามารถทำกจิ กรรมตามใบงานที่ ๑ อยู่ในระดบั ดี โดยในการทำ ✓
พฤษภาคม กิจกรรมครูต้องกระตนุ้ เตือนทางวาจากับผูเ้ รียน ✓
๒๕๕๖ ใบงานท่๒ี ผู้เรียนสามารถจบั คภู่ าพกบั คำอยู่ในระดับพอใช้ครูตอ้ งกระต้นุ
เตือนทางวาจากบั ผู้เรียนเป็นระยะ
๑๗ - ผู้เรียนสามารถทำกจิ กรรมตามใบงานที่ ๓ ได้อย่างรวดเร็ว ✓
พฤษภาคม และมีคุณภาพอยู่ในระดบั ดีเยี่ยม โดยผู้เรียนให้ความร่วมมือและใหค้ วาม
๒๕๕๖ สนใจมากข้นึ
- ผู้เรียนสามารถทำกิจกรรมตามใบงานท่ี ๔ ได้อย่างรวดเรว็ และมคี ุณภาพ ✓
อย่ใู นระดบั ดเี ยี่ยม โดยผูเ้ รยี นให้ความรว่ มมือและให้ความสนใจมากขึ้น
ระดับคุณภาพการเรียนรู้ การแปลความหมาย ไม่ผ่าน
๐ หมายถึง ผู้เรยี นทำไดถ้ ูกตอ้ งรอ้ ยละ ๐ - ๔๙ การแปลความหมาย ปรบั ปรุง
๑ หมายถงึ ผเู้ รยี นทำได้ถูกตอ้ งรอ้ ยละ ๕๐ – ๕๙ การแปลความหมาย พอใช้
๒ หมายถงึ ผู้เรยี นทำได้ถูกตอ้ งร้อยละ ๖๐ - ๖๙ การแปลความหมาย ดี
๓ หมายถึง ผเู้ รียนทำไดถ้ ูกต้องรอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙ การแปลความหมาย ดเี ย่ียม
๔ หมายถึง ผเู้ รยี นทำไดถ้ ูกตอ้ งร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป
ลงชอื่ ...........ใจดี เมตตา...........
(นางใจดี เมตตา )
ครูผู้รับผิดชอบ
๑๗/พฤษภาคม/๒๕๕๖
ภาคผนวก
ใบงานท่ี 1
คำสั่ง ใหน้ ักเรยี นดูภาพ ดคู ำและอ่านตามครู
อาบน้ำ
๐ หมายถึง ผ้เู รยี นทำได้ถูกตอ้ งร้อยละ ๐ - ๔๙ ขอ้ คิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ
๑ หมายถงึ ผเู้ รยี นทำได้ถกู ต้องร้อยละ ๕๐ – ๕๙ ...........................................................................
๒ หมายถงึ ผเู้ รยี นทำไดถ้ ูกตอ้ งรอ้ ยละ ๖๐ - ๖๙ ...........................................................................
๓ หมายถึง ผู้เรยี นทำไดถ้ กู ตอ้ งร้อยละ ๗๐ - ๗๙
๔ หมายถึง ผูเ้ รยี นทำไดถ้ กู ต้องร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ลงชอ่ื ................................................ผูส้ อน
............./................../...............................
ใบงานที่ 2 เลน่ นำ้
คำสั่ง ใหน้ กั เรียนจบั คูภ่ าพกับคำ อาบนำ้
อาบนำ้ อาบน้ำ
เลน่ น้ำ
อาบน้ำ อาบน้ำ
อาบน้ำ ภาพอาบนา้ กนิ น้ำ
สนี ำ้ อาบน้ำ อาบน้ำ
๐ หมายถงึ ผ้เู รยี นทำไดถ้ กู ตอ้ งรอ้ ยละ ๐ - ๔๙ ข้อคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะ
๑ หมายถึง ผเู้ รยี นทำไดถ้ กู ตอ้ งรอ้ ยละ ๕๐ – ๕๙ ...........................................................................
๒ หมายถึง ผเู้ รยี นทำไดถ้ ูกต้องรอ้ ยละ ๖๐ - ๖๙ ...........................................................................
๓ หมายถึง ผูเ้ รยี นทำไดถ้ กู ตอ้ งรอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙
๔ หมายถงึ ผู้เรยี นทำไดถ้ ูกตอ้ งร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ลงชอื่ ................................................ผสู้ อน
............./................../...............................
ใบงานที่ 3
คำส่งั ใหน้ ักเรยี นระบายสคี ำวา่ อาบนำ้ ด้วยสีแดง
อาบน้ำ เลน่ น้ำ
สีนำ้ อาบนำ้
อาบนำ้
เล่นนำ้
อาบนำ้ กินนำ้
อาบนำ้ อาบน้ำ
๐ หมายถึง ผูเ้ รยี นทำได้ถกู ต้องร้อยละ ๐ - ๔๙ ข้อคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะ
๑ หมายถงึ ผเู้ รยี นทำไดถ้ กู ต้องรอ้ ยละ ๕๐ – ๕๙ ...........................................................................
๒ หมายถึง ผเู้ รยี นทำได้ถกู ตอ้ งรอ้ ยละ ๖๐ - ๖๙ ...........................................................................
๓ หมายถึง ผูเ้ รยี นทำไดถ้ ูกต้องรอ้ ยละ ๗๐ - ๗๙
๔ หมายถึง ผเู้ รยี นทำไดถ้ กู ต้องร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ลงช่ือ................................................ผสู้ อน
............./................../...............................
ใบงานท่ี 4
คำสง่ั ให้นกั เรยี นอ่านคำ
อาบน้ำ อาบน้ำ
อาบน้ำ อาบน้ำ
อาบน้ำ อาบน้ำ
อาบน้ำ อาบน้ำ
๐ หมายถงึ ผ้เู รยี นทำไดถ้ ูกต้องรอ้ ยละ ๐ - ๔๙ ขอ้ คิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ
๑ หมายถงึ ผเู้ รยี นทำได้ถูกต้องร้อยละ ๕๐ – ๕๙ ...........................................................................
๒ หมายถงึ ผ้เู รยี นทำได้ถกู ต้องรอ้ ยละ ๖๐ - ๖๙ ...........................................................................
๓ หมายถึง ผู้เรยี นทำไดถ้ ูกตอ้ งร้อยละ ๗๐ - ๗๙
๔ หมายถึง ผเู้ รยี นทำไดถ้ ูกต้องรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ลงชื่อ................................................ผสู้ อน
............./................../...............................
ตวั อยา่ ง
บนั ทึกผลการประเมินจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมของ เดก็ หญงิ ลีลา ขาวใส
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๖ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม : ๑. ภายในวันที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เมอื่ ให้อ่านคำพน้ื ฐานในระดับช้ัน
ป.๑ ท่ีมตี ัวสะกดตรงตามมาตราในแม่ กบ จำนวน ๒๐ คำแบบสุ่ม ด.ญ.ลลี า สามารถอา่ นได้ถูกตอ้ ง
ลำดับ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ผลการทดสอบ
คะแนน ผ่าน ไมผ่ า่ น
๑.๑ เด็กหญิงลลี าสามารถอ่านคำว่า อาบน้ำ ได้ถูกต้องอย่างน้อยร้อยละ ๗๐
๑.๒ เดก็ หญงิ ลีลาสามารถอ่านคำวา่ ดาบ ไดถ้ ูกต้องอย่างนอ้ ยร้อยละ ๗๐ ๗✓
๑.๓ เด็กหญงิ ลลี าสามารถอ่านคำว่า คาบ ไดถ้ ูกตอ้ งอยา่ งน้อยร้อยละ ๗๐ ๘✓
๑.๔ เดก็ หญงิ ลีลาสามารถอ่านคำว่า ตอบ ได้ถูกต้องอยา่ งน้อยร้อยละ ๗๐ ๗✓
๑.๕ เดก็ หญิงลีลาสามารถอา่ นคำว่า ชอบ ได้ถูกต้องอยา่ งนอ้ ยร้อยละ ๗๐ ๙✓
๑.๖ เดก็ หญิงลลี าสามารถอ่านคำวา่ รอบ ได้ถูกต้องอย่างน้อยร้อยละ ๗๐ ๗✓
๑.๗ เด็กหญงิ ลลี าสามารถอา่ นคำวา่ แคบ ได้ถูกต้องอยา่ งน้อยร้อยละ ๗๐ ๖✓
๑.๘ เดก็ หญิงลลี าสามารถอา่ นคำวา่ รบี ได้ถูกต้องอย่างน้อยรอ้ ยละ ๗๐ ๖✓
๑.๙ เดก็ หญงิ ลลี าสามารถอา่ นคำวา่ ยางลบไดถ้ ูกตอ้ งอย่างน้อยร้อยละ ๗๐ ๙✓
๑.๑๐ เด็กหญิงลีลาสามารถอา่ นคำว่า ตะเกียบ ได้ถูกต้องอยา่ งน้อยรอ้ ยละ ๗๐ ๑๐ ✓
๑.๑๑ เด็กหญงิ ลลี าสามารถอา่ นคำวา่ กบ ไดถ้ ูกต้องอย่างนอ้ ยร้อยละ ๗๐ ๗✓
๑.๑๒ เด็กหญิงลลี าสามารถอา่ นคำว่า เกบ็ ไดถ้ ูกต้องอย่างนอ้ ยร้อยละ ๗๐ ๑๐ ✓
๑.๑๓ เดก็ หญิงลีลาสามารถอา่ นคำวา่ กลบั ไดถ้ ูกต้องอย่างนอ้ ยร้อยละ ๗๐ ๗✓
๑.๑๔ เด็กหญงิ ลีลาสามารถอา่ นคำวา่ กับ ไดถ้ กู ตอ้ งอยา่ งน้อยร้อยละ ๗๐ ๗✓
๑.๑๕ เด็กหญงิ ลลี าสามารถอา่ นคำว่า จับ ไดถ้ กู ต้องอย่างน้อยร้อยละ ๗๐ ๗✓
๑.๑๖ เด็กหญิงลีลาสามารถอ่านคำวา่ กราบ ไดถ้ ูกต้องอย่างน้อยร้อยละ ๗๐ ๘✓
๑.๑๗ เด็กหญิงลลี าสามารถอ่านคำวา่ พบ ไดถ้ ูกต้องอยา่ งน้อยร้อยละ ๗๐ ๗✓
๑.๑๘ เดก็ หญงิ ลีลาสามารถอ่านคำว่า พับ ไดถ้ ูกต้องอยา่ งนอ้ ยร้อยละ ๗๐ ๘✓
๙✓
ลำดบั จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ผลการทดสอบ
คะแนน ผ่าน ไมผ่ า่ น
๑.๑๙ เด็กหญงิ ลลี าสามารถอา่ นคำว่า ทบั ไดถ้ ูกตอ้ งอยา่ งนอ้ ยร้อยละ ๗๐
๑.๒๐ เด็กหญิงลีลาสามารถอ่านคำว่า ตะขาบ ไดถ้ ูกตอ้ งอยา่ งน้อยรอ้ ยละ ๗๐ ๙✓
รอ้ ยละของการผา่ นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม(เปา้ หมายระยะส้ัน) ๙✓
ระดับคณุ ภาพ
๙๐.๐๐
ดีเยยี่ ม
ตัวอย่าง
แบบสรุปการประเมนิ ผลตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP)
ชอ่ื ……เด็กหญงิ ลีลา ขาวใส .ประเภทความพิการ บกพร่องทางการเรียนรู้ ปีการศกึ ษา…๒๕๕๕…
เปา้ หมายระยะยาว ๑ ปี สรุปผลการจัดการศกึ ษา
ตามแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล
กลมุ่ สาระ จำนวน จำนวน จำนวน
การเรยี นรู้ (IEP) จดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์ จุดประสงค์
เชงิ พฤติกรรม เชงิ พฤติกรรม เชิงพฤติกรรม
ภาษาไทย ภายในวันที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๕๗ ทง้ั หมด (ข้อ) ท่ผี ่าน (ข้อ) ที่ ไม่ผา่ น (ข้อ)
เดก็ หญิงลีลา สามารถอ่านคำพน้ื ฐานใน
ระดับชนั้ ป. ๑ ที่มตี วั สะกดตรงตาม ๕๕ -
มาตราในแม่ กบ กด กก กม กน
ได้ ๑๐๐ คำ
ภายในวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖ ๔ ๕ -
เด็กหญิงลีลา สามารถเขียนคำพ้ืนฐานใน ๒ -
ระดับชั้น ป. ๑ ท่ีมีตัวสะกดตรงตาม ๒
มาตราในแม่ กบ กด กก กม กน
ได้ ๑๐๐ คำ ๑๒
คณติ ศาสตร์ ภายในวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ๑๐๐
เด็กหญงิ ลลี า สามารถบวกเลขที่มีการทด ๔
และมผี ลลพั ธ์ไมเ่ กนิ ๑๐๐ ได้
รวมจำนวนจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมทผี่ า่ น
จำนวนจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมทผ่ี ่านคิดเปน็ รอ้ ยละ
ระดับคณุ ภาพมาตรฐานดา้ นผูเ้ รียน
ระดับคุณภาพการเรยี นรู้ ๐ - ๔๙ การแปลความหมาย ไมผ่ า่ น
๐ หมายถึง ผูเ้ รยี นทำได้ถูกตอ้ งรอ้ ยละ ๕๐ – ๕๙ การแปลความหมาย ปรับปรงุ
๑ หมายถึง ผเู้ รียนทำไดถ้ ูกตอ้ งร้อยละ ๖๐ - ๖๙ การแปลความหมาย พอใช้
๒ หมายถึง ผู้เรยี นทำไดถ้ ูกต้องร้อยละ ๗๐ - ๗๙ การแปลความหมาย ดี
๓ หมายถงึ ผเู้ รยี นทำได้ถูกตอ้ งร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป การแปลความหมาย ดเี ย่ียม
๔ หมายถึง ผ้เู รยี นทำไดถ้ ูกตอ้ งร้อยละ
บรรณานุกรม
ประคอง ผลพชิ ญานนั ท.์ (2552).แนวทางการแกป้ ญั หาการดำเนนิ การจัดการศกึ ษาตามแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบคุ คลในโรงเรยี นพิเศษเฉพาะความพิการ. วทิ ยานิพนธห์ ลักสูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาการศึกษาพเิ ศษ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม.
สุทธพิ ร วิจติ รพันธุ์ (2549).การนิเทศแบบคลินกิ เพอื่ พัฒนาสมรรถภาพในการจดั การเรยี นร้เู ฉพาะบุคคลของ
ครผู ู้สอนนักเรียนเรียนรวมระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษา โรงเรยี นนวมนิ ทราชินทู ศิ สตรวี ิทยา พทุ ธมณฑล.
วิทยานิพนธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.
สำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ.
(2550). แนวทางการใหบ้ รกิ ารช่วยเหลือระยะแรกเร่ิมและการพฒั นาศกั ยภาพ สำหรับบุคคลทมี่ ี
ความบกพรอ่ งทางสติปัญญาของศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตร
แห่งประเทศไทยจำกัด.
สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551).
แนวทางการใหบ้ ริการช่วยเหลอื ระยะแรกเร่ิมและการพฒั นาศกั ยภาพ สำหรับบุคคลท่ี
มคี วามบกพร่องทางการเหน็ ของศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทยจำกดั .
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
(2553). แนวทางการจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551.
สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551).
แนวทางการให้บรกิ ารชว่ ยเหลือระยะแรกเร่มิ และการพัฒนาศักยภาพ สำหรบั บุคคล ออทิสติกของศนู ย์
การศกึ ษาพิเศษ.กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ ไทยจำกดั .
สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2550).
แนวทางการให้บริการชว่ ยเหลือระยะแรกเริม่ และการพัฒนาศกั ยภาพ สำหรับบุคคลที่
มคี วามบกพร่องทางการได้ยนิ ของศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ.โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทยจำกัด.
สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร.
(2556). หลกั สูตรการให้บรกิ ารช่วยเหลือระยะแรกเรม่ิ สำหรบั เด็กพิการ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ
พุทธศกั ราช ๒๕๕๖
ศรยี า นยิ มธรรม. (2546).การศกึ ษาพิเศษ. กรงุ เทพฯ : บริษทั ธนธชั การพมิ พจ์ ำกดั .
หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ กรมสามญั ศึกษา. (2535) สมุดบันทกึ พฒั นาการ การประเมินทกั ษะเพ่ือสำรวจ
พัฒนาการสำหรับเด็กร่างกายพกิ ารเน่อื งจากสมองและเดก็ ท่ีบกพร่องทางสตปิ ัญญาในระดบั อายุ
ทางพฒั นาการ( 0-7 ปี).
David F. Bateman…..(et al).(2007). The special education program administrator’ s handbook –
printed in the united states of America
Heward, William L. (2006).Exceptional Children: An Introduction to Special Education. Upper
Saddle River, New Jersey: Pearson Merrill Prentice Hall.
Siegel, M Lawrence” (2002).The Complete IEP Guide How to Advocate for Your Special
Education Child. 2nd.ed., Berkeley : Consolidated Printers inc
ภาคผนวก
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เร่ือง กำหนดประเภทและหลกั เกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๒1[๑]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓ และมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคน
พกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๑ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงออกประกาศกำหนดประเภทและหลกั เกณฑข์ อง
คนพิการทางการศึกษา ไว้ดังตอ่ ไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กำหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคน
พิการทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒”
ขอ้ ๒ ประเภทของคนพิการ มีดงั ต่อไปนี้
(๑) บคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางการเห็น
(๒) บุคคลทมี่ ีความบกพร่องทางการได้ยนิ
(๓) บคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางสติปัญญา
(๔) บุคคลที่มคี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย หรอื การเคลอ่ื นไหว หรือสุขภาพ
(๕) บุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางการเรียนรู้
(๖) บุคคลที่มคี วามบกพร่องทางการพดู และภาษา
(๗) บุคคลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรม หรืออารมณ์
(๘) บคุ คลออทสิ ติก
(๙) บุคคลพิการซ้อน
ขอ้ ๓ การพิจารณาบคุ คลท่ีมีความบกพร่องเพ่ือจดั ประเภทของคนพิการ ใหม้ หี ลักเกณฑ์ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น ได้แก่ บุคคลท่ีสูญเสียการเห็นตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนถึง
ตาบอดสนิท ซึ่งแบ่งเป็น ๒ ประเภทดังน้ี
(๑.๑) คนตาบอด หมายถึง บุคคลท่ีสูญเสียการเหน็ มาก จนตอ้ งใชส้ ่ือสมั ผัสและสือ่ เสยี ง หาก
ตรวจวัดความชัดของสายตาขา้ งดเี มอื่ แก้ไขแลว้ อย่ใู นระดบั ๖ ส่วน ๖๐ (๖/๖๐) หรือ ๒๐ สว่ น ๒๐๐ (๒๐/
๒๐๐) จนถึงไม่สามารถรบั รเู้ รอ่ื งแสง
(๑.๒) คนเห็นเลอื นราง หมายถงึ บุคคลทส่ี ูญเสียการเห็น แต่ยงั สามารถอา่ นอักษร ตวั พมิ พ์
ขยายใหญ่ด้วยอปุ กรณเ์ ครื่องช่วยความพิการ หรือเทคโนโลยสี ่งิ อำนวยความสะดวก หากวัดความชดั เจนของ
สายตาข้างดเี มื่อแก้ไขแล้วอยใู่ นระดบั ๖ สว่ น ๑๘ (๖/๑๘) หรือ ๒๐ สว่ น ๗๐ (๒๐/๗๐)
(๒) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน ได้แก่ บุคคลที่สูญเสียการได้ยินต้ังแต่ระดับหูตึงน้อยจนถึงหู
หนวก ซง่ึ แบง่ เป็น ๒ ประเภท ดงั นี้
(๒.๑) คนหูหนวก หมายถงึ บคุ คลที่สญู เสยี การไดย้ ินมากจนไมส่ ามารถเข้าใจการพูดผ่าน
ทางการไดย้ ินไมว่ า่ จะใส่หรือไม่ใส่เครื่องชว่ ยฟัง ซึ่งโดยทวั่ ไปหากตรวจการไดย้ นิ จะมีการสญู เสยี การไดย้ ิน ๙๐
เดซเิ บลขึ้นไป
(๒.๒) คนหูตงึ หมายถงึ บคุ คลท่ีมกี ารได้ยินเหลอื อยู่เพยี งพอทจี่ ะไดย้ นิ การพูดผา่ นทางการได้
ยนิ โดยทั่วไปจะใส่เคร่อื งช่วยฟัง ซ่ึงหากตรวจวัดการไดย้ ินจะมีการสญู เสียการได้ยินน้อยกว่า ๙๐ เดซิเบล
ลงมาถึง ๒๖ เดซิเบล
(๓) บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางสตปิ ัญญา ไดแ้ ก่ บคุ คลทม่ี ีความจำกัดอยา่ งชดั เจนในการปฏบิ ัติตน
(Functioning) ในปจั จุบัน ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉล่ียอย่างมีนัยสำคัญ
ร่วมกับความจำกัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย ๒ ทักษะจาก ๑๐ ทักษะ ได้แก่ การสื่อความหมาย การ
ดูแลตนเอง การดำรงชีวิตภายในบ้านทักษะทางสังคม/การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การรู้จักใช้ทรัพยากรในชุมชน
การรู้จักดูแลควบคุมตนเอง การนำความรู้มาใช้ในชีวิตประจำวัน การทำงาน การใช้เวลาว่าง การรักษาสุขภาพ
อนามัยและความปลอดภัย ทัง้ น้ี ได้แสดงอาการดงั กล่าวก่อนอายุ ๑๘ ปี
(๔) บุคคลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกาย หรอื การเคลื่อนไหว หรือสขุ ภาพ ซงึ่ แบง่ เปน็ ๒ ประเภท ดังน้ี
(๔.๑) บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคล่ือนไหว ได้แก่ บุคคลที่มีอวัยวะไม่สมส่วนหรือ
ขาดหายไป กระดูกหรือกล้ามเน้ือผิดปกติ มีอุปสรรคในการเคล่ือนไหว ความบกพร่องดังกล่าวอาจเกิดจากโรค
ทางระบบประสาท โรคของระบบกลา้ มเน้ือและกระดกู การไมส่ มประกอบ มาแตก่ ำเนดิ อุบตั ิเหตุและโรคติดตอ่
(๔.๒) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางสุขภาพ ได้แก่ บุคคลท่ีมีความเจ็บป่วยเร้ือรังหรือมีโรคประจำตัวซึ่ง
จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเน่ือง และเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ซึ่งมีผลทำให้เกิดความจำเป็นต้องได้รับ
การศกึ ษาพเิ ศษ
(๕) บคุ คลที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ บุคคลท่ีมีความผิดปกติในการทำงานของสมอง
บางส่วนที่แสดงถึงความบกพร่องในกระบวนการเรียนรู้ท่ีอาจเกิดข้ึนเฉพาะความสามารถด้านใดด้านหน่ึงหรือ
หลายด้าน คือ การอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ซ่ึงไม่สามารถเรียนรู้ในด้านที่บกพร่องได้ ท้ังท่ีมีระดับ
สตปิ ญั ญาปกติ
(๖) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา ได้แก่ บุคคลที่มีความบกพร่องในการเปล่งเสียงพูด
เชน่ เสยี งผิดปกติ อัตราความเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติ หรือบุคคลที่มีความบกพร่อง ในเรื่องความเข้าใจหรือ
การใช้ภาษาพูด การเขียนหรือระบบสัญลักษณ์อ่ืนที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งอาจเก่ียวกับรูปแบบ เน้ือหาและ
หน้าท่ขี องภาษา
(๗) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ ได้แก่ บุคคลที่มีพฤติกรรมเบ่ียงเบนไปจาก
ปกติเป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมนั้นเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นผลจากความบกพร่องหรือความ
ผิดปกติทางจิตใจหรือสมองในส่วนของการรับรู้ อารมณ์หรือความคิด เช่น โรคจิตเภท โรคซึมเศร้า โรคสมอง
เสื่อม เปน็ ต้น
(๘) บุคคลออทิสติก ได้แก่ บุคคลท่ีมีความผิดปกติของระบบการทำงานของสมองบางส่วน ซ่ึงส่งผลต่อ
ความบกพร่องทางพัฒนาการด้านภาษา ด้านสังคมและการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และมีข้อจำกัดด้านพฤติกรรม
หรือมคี วามสนใจจำกดั เฉพาะเรื่องใดเรอ่ื งหนึง่ โดยความผิดปกตินั้นคน้ พบไดก้ ่อนอายุ ๓๐ เดือน
(๙) บุคคลพิการซ้อน ได้แก่ บุคคลท่ีมีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่าหนึ่งประเภทใน
บุคคลเดยี วกนั
ประกาศ ณ วนั ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
จรุ ินทร์ ลกั ษณวศิ ิษฏ์
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ
เรอื่ ง หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดทำแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล
ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
พ.ศ. ๒๕๕๒
อาศัยอำนาจตามมาตรา ๔ และมาตรา ๘ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษา
สำหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์และ
วิธีการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล ระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐานไว้ ดังต่อไปน้ี
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำ
แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒”
ข้อ ๒ การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ให้มีองค์ประกอบของแผนตามข้อ ๓ และ
กระบวนการจดั ทำแผนตามขอ้ ๔
ขอ้ ๓ องค์ประกอบของแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล ประกอบดว้ ยข้อมลู ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ข้อมูลท่ัวไป เช่น วัน เดือน ปีเกิด ประเภทความพิการ ชื่อตัว ชื่อสกุล และที่อยู่ของผู้เรียน บิดา
มารดา ผ้ปู กครอง เป็นตน้
(๒) ข้อมลู ด้านการแพทย์ หรือด้านสขุ ภาพ
(๓) ข้อมลู ดา้ นการศกึ ษา
(๔) การกำหนดแนวทางการศึกษาและการวางแผนการจัดการศึกษาพเิ ศษ
(๕) ความต้องการด้านสิ่งอำนวยความสะดวก เทคโนโลยีส่ิงอำนวยความสะดวก ส่ือ บริการ
และความช่วยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษา
(๖) คณะกรรมการจัดทำแผน
(๗) ความเห็นของบิดา มารดา ผ้ปู กครอง หรอื ผ้เู รียน
(๘) ขอ้ มลู อนื่ ๆ ท่จี ำเป็น
ขอ้ ๔ กระบวนการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล อยา่ งนอ้ ยตอ้ งประกอบด้วย
(๑) จดั ประเมินระดบั ความสามารถและความตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษของผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคล
(๒) กำหนดเป้าหมายระยะยาว ๑ ปี เป้าหมายระยะส้ัน หรือจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
(๓) ประเมินความต้องการจำเป็นของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ในด้านส่ิงอำนวยความสะดวก
เทคโนโลยีสง่ิ อำนวยความสะดวก ส่อื บรกิ ารและความชว่ ยเหลืออน่ื ใดทางการศึกษา
(๔) กำหนดกระบวนการเรียนรู้และปจั จยั ที่มคี วามต้องการจำเป็นทางการศึกษา
(๕) กำหนดรูปแบบ หลักเกณฑแ์ ละวิธีการประเมินผลการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น
ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล สำหรบั ผู้เรียน
แต่ละคนโดยมีกรรมการไม่น้อยกวา่ ๓ คน ซ่งึ ประกอบดว้ ย
(๑) ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผู้แทน
(๒) บิดา หรือมารดา หรือผ้ปู กครอง หรอื ผ้ดู ูแลคนพกิ าร