พลงั ผ้หู ญงิ แมเ่ มีย และเทพสตร:ี
ความจรงิ และภาพแทน
ศริ ิพจน์ เหลา่ มานะเจริญ พิพฒั น์ กระแจะจนั ทร์
อภิลักษณ ์ เกษมผลกลู บรรณาธกิ าร
ฉววี รรณ ประจวบเหมาะ ผูเ้ ขยี น :
ขนิษฐา คนั ธะวิชัย
ชานปว์ ิชช ์ ทดั แกว้ สจุ ติ ต ์ วงษเ์ ทศ
มนตร ี สริ ะโรจนานันท์ รศั ม ี ชทู รงเดช
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักด์ ิ วศนิ ปัญญาวธุ ตระกลู
ทวริ ัฐ สองเมือง อาชญาสทิ ธิ ์ ศรสี ุวรรณ
ภทั รัตน์ พนั ธุ์ประสทิ ธิ์ คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง
สมพรนุช ตันศรสี ุข
กิตตพิ งศ์ บญุ เกดิ
ศริ วิ รรณ วรชยั ยทุ ธ
ชเนตตี ทินนาม
คงกฤช ไตรยวงค์
ส�านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สา� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
พลังผหู้ ญิง แมเ่ มยี และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน
บรรณาธิการ : พพิ ฒั น ์ กระแจะจันทร์
ผู้เขยี น : สุจิตต ์ วงษเ์ ทศ รศั มี ชูทรงเดช
ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ วศิน ปัญญาวธุ ตระกูล
อภลิ กั ษณ ์ เกษมผลกลู อาชญาสทิ ธ ์ิ ศรีสวุ รรณ
ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ คมกฤช อยุ่ เต็กเค่ง
ขนิษฐา คนั ธะวิชัย สมพรนชุ ตันศรีสุข
ชานป์วชิ ช์ ทดั แกว้ กติ ตพิ งศ ์ บญุ เกิด
มนตร ี สริ ะโรจนานนั ท ์ ศริ ิวรรณ วรชัยยุทธ
สุรสทิ ธ ิ์ อมรวณิชศกั ดิ์ ชเนตต ี ทินนาม
ทวิรัฐ สองเมอื ง คงกฤช ไตรยวงค์
ภทั รัตน์ พนั ธปุ์ ระสิทธิ ์
คณะท�ำงาน : นายการณุ สกุลประดษิ ฐ์
เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
นายบุญรกั ษ ์ ยอดเพชร
ผู้ชว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
นางสุกญั ญา งามบรรจง
ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
นายเฉลมิ ชยั พันธ์เลิศ
ผอู้ ำ� นวยการสถาบันสงั คมศกึ ษา
ประสานงาน : ชัชพร อตุ สาหพงษ์
ภาพปก : เลอ รีร์แมกกาซนี (Le Rire Magazine) ฉบับวันท่ี 14 กรกฎาคม 1900
(ที่มา: http://ocw.mit.edu/ans7870/21f/21f.027/empress_dowager/
gallery/pages/cx222_Rire.htm
แบบปก รูปเล่ม : ธรรมรัตน ์ บญุ แพทย์
พิมพ์คร้งั แรก : สิงหาคม 2559 จ�ำนวนพมิ พ์ 10,000 เลม่
พมิ พท์ ่ี : โรงพิมพส์ �ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
314 - 316 ซอยบ้านบาตร แขวงบ้านบาตร
เขตปอ้ มปราบศตั รูพ่าย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-223-3351
ลิขสิทธเ์ิ ป็นของสำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
คำ� น�ำ
นายการณุ สกุลประดิษฐ์
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
ดว้ ย ปี 2559 เปน็ ปมี หามงคลเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เนอ่ื งในโอกาส
ทรงครองราชยค์ รบ 70 ปี และเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงเจรญิ
พระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สงิ หาคม 2559 ประกอบกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบายเรอ่ื งการพฒั นา
การเรยี นรวู้ ชิ าประวตั ศิ าสตร์ โดยมคี วามมงุ่ หมายในการพฒั นาครแู ละนกั เรยี นใหเ้ ปน็ นกั คดิ ใชก้ ระบวนการ
ทางปญั ญาในการแสวงหาความร ู้ และมคี วามสามารถวพิ ากษอ์ ยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล สตั ยซ์ อื่ ตอ่ ขอ้ มลู
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นคุณสมบัติของพลเมืองท่ีส�ำคัญมาก สมควรปลูกฝังให้เกิดข้ึน
ในตัวผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ
สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ไดว้ เิ คราะหส์ ถานการณก์ ารสอนประวตั ศิ าสตร์
พบว่า นอกจากวิธีการทางประวัติศาสตร์อันเป็นกระบวนการส�ำคัญในการเรียนรู้แล้ว ด้านเน้ือหา
สาระทเี่ ปน็ ขอ้ มลู สำ� คญั ทใี่ ชป้ ระกอบการจดั การเรยี นรใู้ นปจั จบุ นั ยงั มคี อ่ นขา้ งจำ� กดั เนอ่ื งจากชดุ ความร ู้
ดา้ นประวัติศาสตร์มีการศึกษา สืบสอบ และวิพากษ์ จนสามารถลงข้อสรุปได้จ�ำนวนหนึ่งแล้วนั้น
ในการจดั การศกึ ษายงั ไมไ่ ดม้ กี ารประมวลความรดู้ งั กลา่ ว และผนวกนำ� เขา้ มาสกู่ ารจดั การศกึ ษาอยา่ ง
เปน็ ระบบ ซง่ึ กถ็ อื เปน็ อกี ภารกจิ สำ� คญั ทส่ี ำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานตอ้ งดำ� เนนิ การ
ตอ่ ไป โดยทผ่ี า่ นมาไดม้ กี ารศกึ ษาและจดั ทำ� เปน็ เอกสารสำ� หรบั ใชส้ ง่ เสรมิ การเรยี นรโู้ ดยใชข้ า่ ว เหตกุ ารณ์
และวันส�ำคัญเป็นสื่อ ประกอบด้วยเอกสารจ�ำนวน 2 เล่ม คือ “ลอยกระทง เรือพระราชพิธี
วฒั นธรรมนำ้� รว่ มราก” และ “สาดนำ้� สงกรานต์ วฒั นธรรมรว่ มรากเอเชยี ” นำ� มาสกู่ ารดำ� เนนิ การ
บกุ เบกิ พรมแดนความรดู้ า้ นประวตั ศิ าสตรท์ งั้ เนอ้ื หาและกระบวนการศกึ ษา โดยใชป้ ระเดน็ ทเี่ กยี่ วกบั
เหตกุ ารณ์ เทศกาล และวนั สำ� คญั ตา่ งๆ มาใชใ้ นการสรา้ งความรู้ เพอ่ื ใหค้ รผู สู้ อนมขี อ้ มลู และสอ่ื ประกอบ
การจดั การเรยี นรู้ ทจี่ ะไปใชใ้ นการจดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นไดค้ ดิ และอภปิ รายกนั ไดอ้ ยา่ งลมุ่ ลกึ และกวา้ งขวาง
นอกจากน้ี ในสถานการณ์โลกทเี่ ปล่ียนไปอยา่ งรวดเรว็ ทางการศกึ ษาก็ยงั มีประเดน็ ใหม่ ๆ
ทต่ี อ้ งมกี ารศกึ ษาและเตรยี มการไวส้ ำ� หรบั นำ� เขา้ สกู่ ารเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี นดว้ ย เอกสารนจ้ี งึ ไดป้ ระมวล
ความรแู้ ละประสบการณก์ ารศึกษาของผ้เู ชยี่ วชาญด้านประวตั ิศาสตร์ จากหลากหลายสาขามาเขยี น
ในประเดน็ เกยี่ วกบั ผหู้ ญงิ ในมติ ติ า่ งๆ ซง่ึ อาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ ครงั้ แรกทเ่ี รมิ่ มกี ารศกึ ษาเรอ่ื งเกย่ี วกบั สตรี
(Feminism) ในการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตลอดจนเป็นก้าวย่างส�ำคัญของการศึกษาประชาธิปไตย
4 พลงั ผหู้ ญิง แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน
(Democratic Study) ท่เี ปิดพ้ืนทีก่ ารศึกษาเก่ยี วกบั ผู้คนกล่มุ ตา่ งๆ ใหม้ ากขน้ึ รวมทงั้ ขยายไปสู่
การศกึ ษาเกย่ี วกบั ผหู้ ญงิ ในดนิ แดนอน่ื ๆ ซง่ึ เปน็ หวั ใจสา� คญั อกี ประการหนงึ่ ของการเปน็ พลเมอื งของโลก
(Global Citizen) ไดแ้ ก ่ เรือ่ งบทบาทผหู้ ญงิ มุสลิมมลายู บทบาทของผู้หญงิ ในสังคมจีน เทวสตรี
ในอนิ เดยี บทบาทของผูห้ ญิงในสงั คมลาว
นอกจากความรู้และข้อค้นพบต่างๆ แล้ว แบบอย่างของกระบวนการศึกษาที่อยู่เบ้ืองหลัง
การท�างานของผู้เขียนแต่ละคนก็มีประเด็นน่าสนใจอย่างย่ิง เช่น งานเขียนเรื่อง “นางนาค”ของ
สจุ ติ ต ์ วงษเ์ ทศ ทใ่ี หค้ วามสนใจเกยี่ วกบั ประวตั ศิ าสตรส์ งั คม การเชอ่ื มรอ้ ยเอกสารและหลกั ฐานตา่ งๆ
ไม่ว่าจะเป็นภาษา วัฒนธรรม ตา� นาน และวรรณคด ี นา� เสนอเรื่องราวท่ชี วนใหค้ ิดและสืบคน้ ต่อได้
อยา่ งกวา้ งขวาง ซงึ่ เปน็ การศกึ ษาเชงิ สหวทิ ยาการ (Interdisciplinary) การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรผ์ า่ น
การศกึ ษาเกยี่ วกบั สง่ิ ของ (History of Things) ของขนษิ ฐา คนั ธะวชิ ยั สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย การศึกษาประวัติศาสตร์ผ่านงานโบราณคดี (Archaeology) ของรองศาสตราจารย ์
ดร.รศั ม ี ชทู รงเดช ภาควชิ าโบราณคด ี คณะโบราณคด ี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร การศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์
ผา่ นวรรณกรรมของ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย ์ ดร.อภลิ กั ษณ ์ เกษมผลกลู สาขาวชิ าภาษาไทย คณะศลิ ปศาสตร ์
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เปน็ อาท ิ ซง่ึ หากมกี ารศกึ ษากระบวนการเรยี นรทู้ างประวตั ศิ าสตรเ์ หลา่ น ี้ อยา่ งลมุ่ ลกึ
ต่อไป ก็ย่อมได้แนวทางส�าหรับน�ามาปรับใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนด้านประวัติศาสตร์ของ
สา� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานต่อไป
อยา่ งไรกต็ าม พรมแดนความรดู้ า้ นประวตั ศิ าสตรเ์ หลา่ นก้ี อ็ าจยากตอ่ การทา� ความเขา้ ใจอยบู่ า้ ง
ดว้ ยเหตนุ คี้ า� นา� บรรณาธกิ ารจงึ มสี ว่ นชว่ ยสรา้ งความเขา้ ใจใหก้ ระจา่ งชดั มากขนึ้ ซง่ึ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์
พพิ ฒั น ์ กระแจะจนั ทร ์ คณะศลิ ปศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ์ ไดอ้ า่ นบทความทงั้ หมดและเขยี น
อธบิ ายความในหลกั คดิ และขอ้ เรยี นรทู้ ไ่ี ดจ้ ากบทความแตล่ ะเรอ่ื ง ซงึ่ ในอนาคตจะมกี ารศกึ ษาทลี่ มุ่ ลกึ
ต่อไปและเชื่อมโยงความรู้มาสู่การพัฒนาครูผู้สอน ตลอดจนแสวงหาแนวทางการประยุกต์ใช้
เนอ้ื หาสาระและประสบการณจ์ ากการท�าหนังสือ “พลงั ผหู้ ญงิ แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจรงิ
และภาพแทน” น ้ี ไปสกู่ ารประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นในระดบั
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานตอ่ ไป
ขอขอบคณุ คณะผ้เู ขียน ทุกท่านทแี่ บง่ ปันความรทู้ เี่ กิดจากการศึกษา การคดิ และเชอ่ื มโยง
ความร้ตู ่างๆ ซ่งึ จะเปน็ ต้นทนุ ทางปญั ญาทจ่ี ะนา� ไปสูก่ ารจดั การเรียนการสอนได ้
ขอขอบคุณทกุ คน ทุกองคก์ ร ท่ีมสี ว่ นรว่ มในการดา� เนนิ การจนเอกสารนี้ส�าเรจ็ ออกมาเปน็
รปู เลม่ ทงั้ ตา่ งมสี ว่ นรว่ มใหม้ กี ารศกึ ษา วพิ ากษ ์ และตงั้ คา� ถามเพอ่ื การเรยี นร ู้ ซง่ึ จะเปน็ ขอ้ มลู ทมี่ คี ณุ คา่
ในการพัฒนาการจดั การเรยี นรปู้ ระวตั ิศาสตรต์ ่อไป
(นายการุณ สกลุ ประดิษฐ์)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
สารบญั
ค�ำน�ำ 3
คำ� นำ� บรรณาธกิ าร 7
1. นางนาค 23
สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ 39
2. ผผี ู้หญิง: รฐั กับการจดั การความเชือ่
59
ร่องรอยของศาสนาผี รอ่ งรอยอ�ำนาจของผ้หู ญิง 73
ศริ ิพจน ์ เหล่ามานะเจรญิ
3. “ผู้หญงิ ” จากหลกั ฐานทางโบราณคดี 91
รศั ม ี ชทู รงเดช 105
4. แม่ท่ี “มองไมเ่ หน็ ” แต่ชเี้ ปน็ ชต้ี าย: ชีวติ ความเป็นอยู่ของ “แม่ซ้ือ”
124
กบั วธิ คี ดิ ของคนไทย
อภิลกั ษณ ์ เกษมผลกูล
5. “แม”่ คอื แม่ การแสดงบทบาทผหู้ ญงิ ทเ่ี หนอื สถานภาพผหู้ ญงิ ในสงั คมลาว
วศิน ปญั ญาวธุ ตระกลู
6. บทบาทผูห้ ญิงมสุ ลมิ มลาย:ู ในมมุ มองทางประวตั ิศาสตรส์ ังคม
และวัฒนธรรมของสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้
ฉววี รรณ ประจวบเหมาะ
7. สาวนำ�้ เคม็ กลนิ่ อายความเปน็ สาวสมยั ใหม่
กอ่ นเปลย่ี นแปลงการปกครอง พุทธศกั ราช 2475
อาชญาสิทธิ์ ศรสี ุวรรณ
6 พลงั ผู้หญิง แม่ เมยี และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน
8. ผ้าอนามัย ยาคมุ กำ� เนิด นวัตกรรมเปล่ียนบทบาททางสังคมของผหู้ ญิง 141
ขนษิ ฐา คนั ธะวิชัย 153
170
9. เทวี : เทวสตรใี นอินเดีย
คมกฤช อยุ่ เต็กเคง่ 183
199
10. คนธรรพวิวาห์และสยุมพร: เสรภี าพในการเลอื กคคู่ รอง 214
ของสตรอี นิ เดียโบราณ? 229
249
ชานปว์ ชิ ช์ ทดั แก้ว 260
279
11. พลังสาวิกาในพระพุทธศาสนาจากมมุ มองพระไตรปฎิ ก 296
สมพรนุช ตนั ศรีสุข 313
12. ผู้หญิงในพระพทุ ธศาสนา
มนตร ี สริ ะโรจนานันท์
13. “มีราบาอ”ี และ “มหาเทวี วรมา” กวสี ตรภี ารตะผู้ชนะใจผองชน
กติ ตพิ งศ์ บุญเกิด
14. เทพสตรจี นี ในสงั คมไทย : วา่ ด้วยเรอ่ื งชอื่ ของเจา้ แมม่ าจู ่
สุรสิทธ ิ์ อมรวณชิ ศักดิ์
15. “แม่ และ เมีย” บทบาทของผู้หญงิ ในสังคมจีน
ศิริวรรณ วรชยั ยุทธ
16. ซสู ไี ทเฮา: พลงั ผูห้ ญงิ ในราชสำ� นักจนี
ทวริ ัฐ สองเมอื ง
17. ผูห้ ญิงในมมุ มองสตรนี ิยม
ชเนตต ี ทนิ นาม
18. ผหู้ ญิงในมติ ปิ ระวัตศิ าสตร์เพศสภาวะ
ภัทรัตน ์ พันธป์ุ ระสิทธิ์
19. เฟมินิสตก์ ับการเพาะปลูกใน “สวนปรชั ญา”
คงกฤช ไตรยวงค์
ค�ำนำ� บรรณาธิการ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ พพิ ัฒน์ กระแจะจนั ทร์
ภาควชิ าประวตั ิศาสตร์ ปรัชญา วรรณคดอี ังกฤษ คณะศลิ ปศาสตร์
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ค�ำน�ำบรรณาธิการไม่ใช่เพียงการเล่าความในใจและท่ีมาท่ีไปของการจัดท�ำหนังสือขึ้นมา
เทา่ นนั้ แตย่ งั เปน็ การสรปุ ภาพรวมของบทความตา่ งๆ ในหนงั สอื เลม่ นเ้ี พอื่ ใหผ้ อู้ า่ น อา่ นไดเ้ ขา้ ใจงา่ ยขน้ึ
รวมถงึ อธบิ ายความเชอ่ื มโยงของบทความตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั ดงั นน้ั กอ่ นทจ่ี ะลงไปแหวกวา่ ยในสายธาร
ของความรู้ จึงอยากชกั ชวนใหอ้ ่านค�ำนำ� กนั เพ่ือสรา้ งแผนที่ทางความคิดเสียกอ่ น
ในทน่ี ี้ ขอเรมิ่ ตน้ เลา่ ถงึ ทม่ี าของการจดั ทำ� หนงั สอื เลม่ นเ้ี สยี กอ่ น กลา่ วคอื หนงั สอื เลม่ นเ้ี ดมิ ที
ตงั้ ใจจะทำ� ใหท้ นั กบั งานวนั แมแ่ หง่ ชาติ แตด่ ว้ ยเหตผุ ลหลายประการ จึงท�ำให้การด�ำเนินงานล่าช้า
กว่าที่ก�ำหนด แต่น่ันก็ไม่ใช่ปัญหาใหญ่มากนัก เพราะความต้ังใจแต่ด้ังเดิมของการจัดท�ำหนังสือ
เลม่ นก้ี ค็ อื การพฒั นาชดุ ความรทู้ างดา้ นประวตั ศิ าสตร์ สงั คม และวฒั นธรรม เพอ่ื ตอ่ ยอดไปสกู่ ารพฒั นา
ความรู้ในวิชาสังคมศึกษาของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความทันสมัย
ในอนาคต โดยเฉพาะในสว่ นของประวตั ศิ าสตรส์ งั คมและวฒั นธรรม ทแ่ี ทบไมม่ พี นื้ ทใี่ นวชิ าสงั คมศกึ ษา
เท่าใดนกั
ความคิดแต่แรกเริ่มเมื่อจะท�ำหนังสือเร่ืองพลงั ผหู้ ญงิ แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจรงิ
และภาพแทน นน้ั เรม่ิ ตน้ มาจากการมองประเดน็ เรอื่ ง “แม”่ แลว้ ขยายไปสปู่ ระเดน็ ทก่ี วา้ งขน้ึ คอื
“ผหู้ ญงิ ” เพราะเมอ่ื กลา่ วถงึ วนั แมแ่ หง่ ชาตแิ ลว้ หนว่ ยงานราชการและประชาชนทว่ั ไปมกั นกึ ถงึ “แม”่
ใน 2 มติ หิ ลกั คอื แมท่ ห่ี มายถงึ ผหู้ ญงิ ผใู้ หก้ ำ� เนดิ และแมแ่ หง่ ชาตทิ ห่ี มายถงึ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ
พระบรมราชนิ ีนาถ
แตแ่ มไ่ มไ่ ดม้ คี วามหมายตรงไปตรงมาเชน่ นน้ั เพยี งอยา่ งเดยี ว หากแตใ่ นเชงิ ของงานวชิ าการ
ในปจั จบุ ัน ได้มีการถกเถยี งและวิพากษ์วจิ ารณ์การนยิ ามความหมายและบทบาทของแมแ่ ละผหู้ ญิง
ในหลายมติ ิ จนมสี าขาวชิ าหนงึ่ ทเี่ รยี กกนั วา่ “สตรศี กึ ษา” (Women’s Studies) นบั เปน็ สาขาวชิ าทเี่ ตบิ โต
มาในตา่ งประเทศไมน่ อ้ ยกวา่ 50 ปมี าแลว้ และเตบิ โตในไทยเชน่ กนั ซง่ึ การศกึ ษาในสาขานี้ จะให้
ความสนใจตอ่ ผหู้ ญงิ ในหลายแงม่ มุ ทส่ี ำ� คญั คอื ประวตั ศิ าสตรข์ องผหู้ ญงิ (Women’s history) ในมติ ติ า่ งๆ
ท้ังในเชิงสังคม การเมือง และวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังมุ่งวิพากษ์ปัญหาท่ีผู้ชายเป็นใหญ่ในสังคม
จนทำ� ใหไ้ มม่ พี นื้ ทย่ี นื ของผหู้ ญงิ บางกรณเี กดิ การกดทบั และทำ� ใหผ้ หู้ ญงิ ดอ้ ยคา่ หรอื ในสงั คมไทยเรา
เองก็จะเห็นได้ว่าผู้หญิงได้ถูกก�ำหนดบทบาทให้ต้องเป็นแม่ เป็นเมีย ตามความคาดหวังของสังคม
8 พลังผูห้ ญงิ แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน
หรอื ตอ้ งมเี รอื นรา่ ง ความสวย และกรยิ าแบบใดนนั้ กเ็ ปน็ ผลมาจากการกำ� หนดโดยอำ� นาจของผชู้ าย
ภายใตศ้ าสตรข์ องสตรศี กึ ษานม้ี แี นวคดิ สำ� คญั ทผี่ ลกั ดนั คอื แนวคดิ สตรนี ยิ ม (Feminism) (เฟมนิ สิ ต)์
ซง่ึ เปน็ กระบวนการเคลอ่ื นไหวทางการเมอื ง สงั คม และความคดิ เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารสรา้ งความเทา่ เทยี ม
ระหว่างชายหญิงทั้งในมิติทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม สิทธิต่างๆ รวมถึงการเข้าใจผู้หญิง
ในระดับปัจเจกชน ท้ังนี้เพ่ือน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายดังกล่าวจึงท�ำให้มีการพัฒนาแนวคิดทฤษฎี
ขน้ึ หลายระลอกดว้ ยกัน ซึ่งจะมอี ธิบายในบทความในหนงั สือเลม่ น้ีดว้ ย
อนง่ึ หนงั สอื เลม่ นไี้ มไ่ ดต้ อ้ งการใหเ้ ปน็ หนงั สอื ทมี่ เี นอื้ หาหนกั และอา่ นยากจนเกนิ ไป เพราะ
ความต้ังใจในการวางแผนเพื่อจะท�ำหนังสือเล่มน้ี เน้นไปท่ีกลุ่มผู้อ่านท่ีเป็นครูและนักเรียนในระดับ
ชนั้ มธั ยมปลาย รวมถงึ คำ� นงึ ถงึ ประชาชนทวั่ ไปทตี่ อ้ งการเขา้ ถงึ ความรทู้ ผ่ี า่ นการยอ่ ยมาระดบั หนงึ่ แลว้
ดงั นนั้ บทความตา่ งๆ จงึ เปน็ ความรใู้ นระดบั ทว่ั ไป แตก่ ม็ บี า้ งทมี่ เี นอื้ หาในระดบั กลางและเชงิ ลกึ ทงั้ น้ี
เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารตอ่ ยอดทางปญั ญาตอ่ ไปในอนาคต รวมถงึ อาจพฒั นาเปน็ กจิ กรรมทางการศกึ ษา และ
คู่มอื ในการมองปรากฏการณ์ทางสังคมได้ อย่างไรเสีย บทความทัง้ 19 เรือ่ งน้ใี นอนาคตกค็ งจะต้อง
มีการย่อยและถอดความรู้เพื่อให้เหมาะกับครูและนักเรียนต่อไป ทั้งนี้เพื่อน�ำไปสู่การยกระดับและ
พัฒนาวชิ าสังคมศกึ ษา ซึง่ เปน็ ความตัง้ ใจของการท�ำหนังสือเล่มนีส้ ่วนหนึ่ง
เหตผุ ลข้างตน้ ท�ำให้หนงั สือเลม่ นตี้ ัง้ ช่ือว่าพลงั ผ้หู ญงิ เพื่อสอ่ื ให้เห็นวา่ ผหู้ ญิงคือกลุม่ คนที่
เป็นพลังส�ำคัญในการขับเคล่ือนทางการเมือง สังคม และวัฒนธรรมมาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ผา่ นบทบาททคี่ นมกั จะนึกกันถงึ อยเู่ สมอคือ “แม”่ และ “เมยี ” ซึ่งบทความตา่ งๆ ในหนงั สือเล่มน้ี
จะชี้ให้เห็นแม่และเมียที่หลากหลายมิติ นับต้ังแต่สังคมสมัยโบราณที่บูชาผู้หญิงแทบทุกสังคมไม่ว่า
จะเป็นอินเดีย จีน ไทย และเพ่ือนบ้านที่ผู้หญิงเคยเป็นใหญ่มาก่อน ด้วยเหตุนี้เอง หนังสือเล่มน ้ี
จึงมีชอื่ เรอื่ งทใ่ี ช้คำ� วา่ “เทพสตรี” เพ่อื ช้ีให้เห็นร่องรอยของการบูชาผู้หญงิ นน่ั เอง
ตอ่ มาเมอ่ื สงั คมชายเปน็ ใหญไ่ ดพ้ ฒั นาขนึ้ ทำ� ใหบ้ ทบาทหนา้ ทถี่ กู กำ� หนดใหมข่ น้ึ ทงั้ ในอนิ เดยี
จนี ไทย และเพอื่ นบา้ น รวมถงึ ทวั่ โลก ทำ� ใหผ้ ชู้ ายไดส้ ถาปนาตนเองเปน็ ใหญแ่ ละกดทบั ทำ� ใหผ้ หู้ ญงิ
มีบทบาทและสถานภาพด้อยลงไป แต่แล้วในห้วงเวลาไม่ก่ีสิบปีมาน้ีเองที่ได้เกิดความต่ืนตัวของ
แนวคิดสตรีนิยมท่ีค่อยๆ เผยให้เห็นถึงปัญหาของสังคมชายเป็นใหญ่ ท�ำให้เกิดการเรียกร้อง
ความเสมอภาคให้กบั ผหู้ ญงิ มากขึ้น และยงั ตัง้ คำ� ถามด้วยวา่ บทบาทของชายหญงิ นน้ั ไม่ใช่เปน็ สง่ิ ท ่ี
ถกู กำ� หนดมาตามธรรมชาติ หากแตเ่ ปน็ สง่ิ ทเี่ กดิ จากกระบวนการสรา้ ง (construction) คอื ผา่ นบรบิ ท
ทางสังคม การเมือง และวฒั นธรรมที่มมี าอย่างยาวนาน ซึ่งไดค้ อ่ ยๆ ก�ำหนดให้ผูห้ ญงิ ต้องอย่างน้ัน
ทำ� อยา่ งน้ี ไมว่ า่ จะเปน็ ตอ้ งเปน็ แมท่ ด่ี ี เปน็ เมยี ทภี่ กั ดตี อ่ ผวั เปน็ ตน้ ดงั นนั้ ความจรงิ (truth) ตอ่ ผหู้ ญงิ
ท่ีเห็นท่ีรับรู้กันนั้นถ้าพูดให้ถึงที่สุดจึงเป็นเพียงภาพแทน (representation) เท่าน้ันคือไม่ได้เป็น
ความจรงิ ทตี่ ายตวั แตอ่ ยา่ งใด ผหู้ ญงิ จงึ ควรมสี ทิ ธทิ จ่ี ะกำ� หนดบทบาทของตวั ของเขาเอง โดยไมอ่ งิ อยู่
กบั ระบบการกำ� หนดจากคตู่ รงขา้ มทเี่ ปน็ ผชู้ าย และกไ็ มค่ วรถกู กำ� หนดจากเพศทไี่ มใ่ ชผ่ ชู้ ายดว้ ยเชน่ กนั
สำ� หรบั บทความทงั้ 19 เรอื่ งในหนงั สอื เลม่ นส้ี ามารถแบง่ เนอ้ื หาออกไดเ้ ปน็ 5 สว่ นหลกั ดงั น้ี
สว่ นแรกเปน็ เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ผหู้ ญงิ ในสงั คมสมยั โบราณ ไดแ้ กบ่ ทความของสจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ,
ศริ พิ จน์ เหลา่ มานะเจริญ, รัศมี ชูทรงเดช, และ อภิลกั ษณ์ เกษมผลกูล ถึงแม้วา่ เนื้อหาของบทความ
จะวา่ ดว้ ยผหู้ ญงิ ในสมยั โบราณ แตก่ จ็ ะพบวา่ วฒั นธรรมและความเชอ่ื หลายๆ อยา่ งยงั คงสบื วฒั นธรรม
ตกทอดมาจนถงึ ปจั จบุ นั เพยี งแตค่ นโดยทว่ั ไปยงั ขาดความเขา้ ใจตอ่ รากทางวฒั นธรรมและทมี่ าทไี่ ป
จึงอาจไม่ไดส้ งั เกตอย่างถี่ถ้วนนกั
พลังผู้หญิง แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน 9
ส่วนที่สองเป็นผู้หญิงในไทยและเพ่ือนในบ้านในสังคมร่วมสมัย ได้แก่บทความของ
วศนิ ปัญญาวธุ ตระกูล, ฉววี รรณ ประจวบเหมาะ, อาชญาสทิ ธ์ิ ศรีสุวรรณ, และ ขนษิ ฐา คันธะวชิ ยั
สว่ นทสี่ ามเปน็ เรอื่ งราวของผหู้ ญงิ ในสงั คมอนิ เดยี และผหู้ ญงิ ในมติ ศิ าสนาพราหมณแ์ ละพทุ ธ
ไดแ้ กบ่ ทความของคมกฤช อยุ่ เตก็ เคง่ , ชานปว์ ชิ ช์ ทดั แกว้ , สมพรนชุ ตนั ศรสี ขุ , มนตรี สริ ะโรจนานนั ท,์
และ กิตติพงศ์ บุญเกดิ ,
สว่ นทส่ี เ่ี ปน็ เรอื่ งราวของผหู้ ญงิ ในสงั คมจนี และผหู้ ญงิ ในมติ ศิ าสนาของจนี ไดแ้ กบ่ ทความของ
สรุ สิทธ์ิ อมรวณิชศักด์ิ, ศิรวิ รรณ วรชัยยุทธ, และ ทวิรัฐ สองเมอื ง
อนง่ึ การจะเขา้ ใจเร่ืองผหู้ ญิงในสังคมไทยได้นั้นจำ� เปน็ อย่างยง่ิ ท่จี ะตอ้ งมองอย่างรอบดา้ น
และขา้ มภมู ภิ าค ดงั นนั้ หนงั สอื เลม่ นจ้ี งึ ไดน้ ำ� เสนอผหู้ ญงิ ในสงั คมอนิ เดยี และจนี เปน็ เนอ้ื หาหลกั ดว้ ย
เพราะการจะเข้าใจสังคมไทยได้นั้นจ�ำเป็นท่ีจะต้องเข้าใจอารยธรรมใหญ่คืออินเดีย และจีน ซึ่งส่ง
อิทธิพลให้กับสังคมไทยอย่างมาก โดยเนื้อหาที่เกี่ยวกับผู้หญิงทั้งอินเดียและจีนนั้นมีทั้งในแง่มิต ิ
ทางสงั คม วัฒนธรรม และศาสนา ควบคกู่ ัน
สว่ นทหี่ า้ เปน็ สว่ นสดุ ทา้ ยเนน้ แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั ผหู้ ญงิ ไดแ้ กบ่ ทความของชเนตตี ทนิ นาม,
ภัทรตั น์ พนั ธุป์ ระสิทธ,ิ์ และ คงกฤช ไตรยวงค์
ในท่นี ี้ เพ่ือให้ผอู้ า่ นเขา้ ใจบทความต่างๆ ได้งา่ ยขึน้ จะขอสรุปเน้ือหาของบทความท้งั 19
เร่อื ง พรอ้ มแทรกความเห็นลงไปดว้ ย ดังน้ี
ส่วนแรกเร่อื งผ้หู ญิงในสงั คมสมยั โบราณ
ขอเริ่มจากบทความของสุจิตต์ วงษ์เทศ ผู้ท่ีถือได้ว่าเป็นปราชญ์ด้านประวัติศาสตร์และ
วัฒนธรรม ไดใ้ หเ้ กยี รตเิ ขียนบทความเรื่อง นางนาค วิธกี ารศกึ ษาไดใ้ ช้ข้อมูลท้งั จากหลักฐานทาง
โบราณคดี ประวตั ศิ าสตร์ ตำ� นาน และดนตรี จนอาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ การศกึ ษาอยา่ งเปน็ สหวทิ ยาการ
(Interdisciplinary) สำ� หรบั เนื้อหาหลกั อธิบายว่า ในสมยั โบราณอย่างนอ้ ยเม่อื 3,000 ปี มาแลว้
สังคมในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ (อุษาคเนย์) นับถือผหู้ ญิงเปน็ ใหญ่ คำ� วา่ “แม่” แต่เดิมจึงหมายถึง
“เปน็ ใหญ”่ ดังเหน็ ไดจ้ ากช่ือเรยี กสงิ่ ทมี่ คี วามส�ำคญั เช่น แม่นำ�้ แม่ทัพ ฯ นอกจากนี้ทีส่ ำ� คัญร่องรอย
การนบั ถอื ผหู้ ญงิ ปรากฏอยใู่ นความเชอ่ื เรอ่ื งนางนาค มหี ลกั ฐานทงั้ ในกมั พชู าและไทย ในตำ� นานของ
กมั พชู า นางนาคคือปฐมสตรผี ใู้ ห้กำ� เนดิ แผน่ ดนิ และชวี ติ ส่วนในไทยปรากฏเรือ่ งราวคลา้ ยๆ กนั นี้
ในกฏมณเฑยี รบาล แตไ่ มไ่ ดเ้ รยี กวา่ นางนาค หากเปน็ “แมห่ ยวั เมอื ง” อาจเรยี กไดว้ า่ เปน็ “นางนาค
อยุธยา” ทั้งกษัตริย์ของกัมพูชาและอยุธยาต่างต้องมีพิธีเสพสังวาสเชิงสัญลักษณ์กับผู้หญิงท่ีเป็น
นางนาคและแมห่ ยวั เมอื ง ทงั้ นกี้ เ็ พอื่ ความอดุ มสมบรู ณใ์ นพชื พนั ธธ์ุ ญั ญาหารของราชอาณาจกั ร จดุ เดน่
ประการหนง่ึ ของขอ้ เขยี นของสจุ ติ ต์ คอื การเชอ่ื มโยงความรสู้ าขาอนื่ ๆ มารว่ มในการวเิ คราะห์ ตวั อยา่ งเชน่
ในบทความนไี้ ดม้ กี ารชใี้ หเ้ หน็ รอ่ งรอยของการนบั ถอื นางนาคครงั้ อยธุ ยาทปี่ รากฏอยใู่ นเพลงนางนาค
ซงึ่ เปน็ เพลงส�ำคัญในการทำ� ขวัญแต่งงาน ท�ำขวัญนาค เป็นต้น ซ่งึ สะท้อนถึงการนับถอื ผูห้ ญงิ ทีอ่ ยู่
ในรูปของงู อันเป็นสัญลักษณ์ของดินและน�้ำ เพลงนางนาคจึงได้เล่นคู่กับเพลงพระทอง ซ่ึงเป็น
สัญลักษณ์ของผู้ชายและท้องฟ้า การที่ดิน น้�ำ และฟ้า มาสมสู่กันผ่านเพลงน้ันคือสัญลักษณ์ของ
การก�ำเนิดสรรพชีวิตน่ันเอง ในช่วงท้ายของบทความสุจิตต์ได้เช่ือมโยงให้เห็นว่าเม่ือชนพื้นเมือง
ในภูมิภาคอุษาคเนย์รับศาสนาพุทธและพราหมณ์จากอินเดียมา ก็ได้ผนวกความเช่ือด้ังเดิมน ้ี
ดงั ปรากฏอย่ทู ั้งในต�ำนาน พิธีกรรม และสถาปัตยกรรม จนท�ำให้ของตา่ งถิน่ ประสานกลมกลนื ไปกับ
ของทอ้ งถ่ิน
10 พลงั ผหู้ ญิง แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน
บทความถดั มาเรอ่ื ง ผผี หู้ ญงิ : รฐั กบั การจดั การความเชอ่ื รอ่ งรอยของศาสนาผี รอ่ งรอย
อำ� นาจของผหู้ ญงิ โดย ศริ พิ จน์ เหลา่ มานะเจรญิ คอลมั นสิ ตแ์ ละนกั วชิ าการอสิ ระผมู้ ผี ลงานทางดา้ น
ประวัติศาสตร์มากมาย วิธีการศึกษาใช้แนวทางหลักคือมานุษยวิทยา โดยอธิบายผ่านมิติทาง
ประวัตศิ าสตร์ โดยมีหลกั คดิ ในการเขียนบทความอยู่ 2 ประการหลักคอื ประการแรก แม้ว่าเม่ือคน
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อุษาคเนย์) จะนับถือศาสนาจากอินเดียแล้ว ศาสนาพ้ืนเมืองคือผีก็ยัง
คงมีอิทธิพลทั้งในศาสนสถานและวิถีชีวิตของผู้คน ประการท่ีสอง การรับศาสนาจากอินเดียท�ำให้
คนพื้นเมืองต้องจัดระบบความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจระหว่างผีกับศาสนาจากอินเดีย ผีถูกลดสถานะลง
ไปตำ่� กวา่ พระพทุ ธเจา้ และเทพเจา้ ประการสดุ ทา้ ย ผหู้ ญงิ เปน็ เจา้ ของศาสนาผมี าแตด่ ง้ั เดมิ ดงั เหน็ ไดจ้ าก
ในพธิ บี วชนาค ซง่ึ ไมม่ ใี นอนิ เดยี แตม่ เี ฉพาะในอษุ าคเนยเ์ ทา่ นนั้ นาคคอื ลกู ของนางนาคซง่ึ เปน็ ตวั แทน
ของศาสนาผี เมอื่ นาคบวชกก็ ลายเปน็ พระ ความสมั พนั ธเ์ ชน่ นสี้ ะทอ้ นวา่ ศาสนาพทุ ธมอี ทิ ธพิ ลเหนอื
อำ� นาจผี ดงั นน้ั อาจสรปุ อยา่ งรวบรดั ไดว้ า่ ศาสนาจากอนิ เดยี มสี ว่ นสำ� คญั ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ สงั คมทผี่ ชู้ ายเปน็ ใหญ่
ข้นึ มา และผลักใหศ้ าสนาผเี ป็นศาสนาประจำ� ผู้หญิง
ทง้ั บทความของสจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ และศริ พิ จน์ เหลา่ มานะเจรญิ ตา่ งใหค้ วามสำ� คญั กบั ตำ� นาน
เร่ืองนางนาค และพยายามเชื่อมโยงเข้ากับหลักฐานทางโบราณคดี ดังน้ัน เพ่ือให้ภาพของผู้หญิง
ตง้ั แตส่ มยั โบราณเกิดความแจม่ ชัดข้ึน บทความเรื่อง “ผูห้ ญงิ ” จากหลกั ฐานทางโบราณคดี โดย
รศ.ดร.รศั มี ชทู รงเดช ภาควชิ าโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร จงึ นา่ จะชว่ ยทำ� ให้
แนวคดิ ขา้ งตน้ กระจา่ งชดั ขนึ้ วธิ กี ารศกึ ษาเปน็ การตคี วามเรอ่ื งผหู้ ญงิ หลกั ฐานทางตรงเชน่ โครงกระดกู
และหลักฐานทางอ้อมเช่นวัตถุบางชนิดที่เกี่ยวข้องกับผู้หญิง ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึง
สมยั ประวตั ศิ าสตร์ แนวคดิ หลกั ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาคอื “โบราณคดเี พศภาวะ” (Gender in Archaeology)
โดยเนน้ การมองบทบาทความสมั พนั ธเ์ ชงิ อำ� นาจของหญงิ -ชาย การแบง่ งานกนั ทำ� โครงสรา้ งทางสงั คม
สขุ ภาพ สัญลักษณ์ของเพศ เป็นต้น ในสมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ ผ้หู ญิงเปรียบเสมือนกับสญั ลกั ษณ์
ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถเป็นผู้ให้ก�ำเนิดชีวิตคนได้ เป็นไปได้สูงว่าในสมัยโบราณ
มกี ารนบั ถอื ผหู้ ญงิ เปน็ ใหญ่ ดงั เหน็ ไดจ้ ากการคน้ พบโครงกระดกู ผหู้ ญงิ ชราทม่ี ลี กู ปดั จำ� นวนมากเปน็
พิเศษ ซึ่งสะท้อนว่าผู้หญิงผู้มีนี้มีสถานภาพทางสังคมสูง เช่นอาจเป็นผู้น�ำหรือเป็นหมอผี เป็นต้น
ความเช่ือเช่นนี้สืบต่อมาถึงสมัยประวัติศาสตร์ ดังเห็นได้จากการท�ำประติมากรรมรูปสตรีอุ้มเด็ก
ในสมยั ทวารวดี สว่ นในแงข่ องอาชพี พบวา่ ผหู้ ญงิ ตงั้ แตส่ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรถ์ งึ ประวตั ศิ าสตรม์ กั ทำ�
อาชีพปั้นภาชนะดินเผาและทอผ้า เพราะเป็นอาชีพท่ีต้องอยู่กับครัวเรือน นอกจากน้ีจะพบว่า
เมื่อเข้ามีการรับวัฒนธรรมมาจากอินเดีย ในราชส�ำนักได้วางบทบาทให้ผู้หญิงเป็นท้ังช่างฟ้อนและ
นักดนตรีด้วย อาจกลา่ วได้ว่าศาสนาจากอนิ เดียนเี้ องท่ที �ำใหผ้ ู้ชายเปน็ ใหญ่เหนือผู้หญิง
ความเช่ือเรื่องผีผู้หญิงยังพบได้ในสังคมไทยปัจจุบันและเป็นร่องรอยท่ีบ่งบอกว่าผีผู้หญิง
มีอ�ำนาจตอ่ การควบคมุ โชคชะตาชวี ติ อยู่ บทความเร่อื ง แมท่ ี่ “มองไม่เห็น” แตช่ ้เี ปน็ ชต้ี าย: ชีวิต
ความเปน็ อยขู่ อง “แมซ่ อื้ ” กบั วธิ คี ดิ ของคนไทย โดย ผศ.ดร.อภลิ กั ษณ์ เกษมผลกลู จากสาขา
วิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ใช้วิธีการศึกษาใช้แนวทางการศึกษา
ด้านวรรณกรรม และการวิเคราะห์หาความหมายทางวัฒนธรรม อาจกล่าวได้ว่า คนรุ่นใหม่คงรู้จัก
“แม่ซ้ือ” กันน้อยเต็มทีแล้ว ทั้งๆ ท่ีเป็นความเชื่อท่ีปรากฏทุกภูมิภาคของไทย แม่ซื้อถูกนิยาม
ว่าเป็นผีหรือเทวดาท่ีเป็นผู้ดูแลรักษาทารก และยังมีต�ำนานบางท้องท่ีเล่าว่าแม่ซ้ือเป็นเทพธิดา
ที่พระอิศวรส่งลงมา ถ้าใช้แนวเทียบเคียงจากบทความของศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ จะเห็นได้ว่า
พลังผ้หู ญงิ แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน 11
แทจ้ รงิ แลว้ แมซ่ อ้ื กค็ อื ผี ตอ่ เมอ่ื มกี ารนบั ถอื ศาสนาจากอนิ เดยี แลว้ จงึ ไดย้ กระดบั ผใี หก้ ลายเปน็ เทวดา
นน่ั เอง อยา่ งไรกด็ ี สาเหตทุ คี่ นโบราณนบั ถอื แมซ่ อ้ื กนั กเ็ พอ่ื ไมใ่ หเ้ ดก็ เจบ็ ปว่ ยหรอื ตาย เพราะกลวั วา่
ผีอ่ืนจะมาเอาชีวิตไป ดังนั้น ความเชื่อเรื่องแม่ซ้ือจึงสะท้อนถึงวิธีคิดท่ีคนโบราณใช้ผีมา “บริหาร
ความเสยี่ ง” ของชวี ติ ในขณะเดยี วกนั กส็ ะทอ้ นรากความคดิ วา่ ในเมอื่ ผหู้ ญงิ คอื ผใู้ หก้ ำ� เนดิ กย็ อ่ มเปน็
เจ้าชีวิตถึงจะกลายเป็นผีแล้วก็ตาม แต่น่ีก็คือพลังของผู้หญิงที่แฝงอยู่ในระบบความเช่ือของศาสนา
ด้ังเดิม
ส่วนทสี่ องเป็นเรอ่ื งผหู้ ญิงในไทยและเพ่อื นในบ้านในสังคมรว่ มสมัย
เร่มิ จากบทความเรื่อง “แม่” คอื แม่ การแสดงบทบาทผู้หญิงทเ่ี หนือสถานภาพผ้หู ญิง
ในสังคมลาว ของ ผศ.ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร วิธีการศึกษาใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นหลักโดยเน้นการมองพัฒนา
การของแม่ในสังคมลาวแบง่ ออกเป็น 2 ช่วงสมยั คอื สมัยรฐั จารีต และสมยั สงั คมนยิ ม ส�ำหรับในสมัย
จารีต มีร่องรอยชัดว่าผู้หญิงคือพลังที่ศักด์ิสิทธิ์ มีตัวอย่างหน่ึงท่ีน่าสนใจคือต�ำนานของ “สาวสี”
หญงิ สาวทอ้ งทยี่ อมสละชวี ติ ตวั เองลงไปกน้ หลมุ เสาหลกั เมอื งและกลายเปน็ “ผเี มอื ง” ปกปอ้ งรกั ษาเมอื ง
ตดั มาทส่ี มยั สงั คมนยิ ม ผหู้ ญงิ กลายเปน็ พลงั ขบั เคลอื่ นทางการเมอื งทสี่ ำ� คญั ดงั เหน็ ไดจ้ ากการกอ่ ตง้ั
“สหพนั ธแ์ มห่ ญงิ ลาว” โดยไดม้ กี ารยกสถานะผหู้ ญงิ ใหเ้ สมอกบั ผชู้ าย เพราะถอื วา่ เปน็ พลเมอื งของชาติ
ท�ำให้ผหู้ ญงิ ลาวมีบทบาทสูงตอ่ กระบวนการสรา้ งชาติ แต่ถ้าแมต่ ้องเลือกระหวา่ ง “ลกู ” กบั “ชาต”ิ
ชาติถอื เป็นส่ิงท่ีมคี วามส�ำคัญกวา่ ดงั เห็นได้จากกรณขี องนางทองวนิ พมวหิ าน ทีต่ อ้ งสญู เสยี ลกู ไป
เพอื่ ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของชาติ อยา่ งไรกด็ ี ใชว่ า่ ผหู้ ญงิ จะมสี ถานภาพเสมอผชู้ ายอยา่ งแทจ้ รงิ เพราะในชว่ ง
สมัยสังคมนิยมน้ี ผู้หญิงก็ยังถูกคาดหวังให้เป็น “แม่ที่ดี” หรือ “เมียท่ีดี” ซ่ึงนั่นก็หมายความว่า
สุดท้ายแล้วผู้หญิงก็ยังถูกคาดหวังหน้าท่ีทางสังคมและวัฒนธรมจากสังคมผู้ชายเป็นใหญ่เช่นเดิม
กระนั้นก็มีบางช่วงบางตอนในประวัติศาสตร์ของลาวที่ผู้หญิงได้รับการยกย่องในฐานะของผู้น�ำ
ครอบครวั อยา่ งแทจ้ รงิ แตก่ เ็ ปน็ เพราะผชู้ ายไดต้ ายในสนามรบในยคุ สมยั แหง่ ความขดั แยง้ ทางความคดิ
ทางการเมืองนั่นเอง อาจกล่าวได้ว่าบทบาทของผู้หญิงในสังคมสมัยใหม่น้ัน รัฐคือผู้ที่มีส่วนส�ำคัญ
ในการก�ำหนดบทบาทของผหู้ ญิงเพือ่ ใหร้ องรบั ตอ่ อุดมการณข์ องชาติ
แทจ้ รงิ แลว้ ประเทศไทยมคี วามหลากหลายของกลมุ่ คนและวฒั นธรรม หากประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
ยงั ไมไ่ ดใ้ หค้ วามสนใจตอ่ มติ ดิ งั กลา่ ว ยง่ิ เมอื่ กลา่ วถงึ สงั คมทเ่ี ลก็ ลงไปคอื ผหู้ ญงิ ในสงั คมมลายดู ว้ ยแลว้
กแ็ ทบเรยี กไดว้ า่ ไมม่ พี น้ื ทใ่ี หก้ บั ประเดน็ ดงั กลา่ วเลย ซง่ึ สง่ ผลทำ� ใหค้ นในสงั คมขาดความเขา้ ใจตอ่ ปญั หา
ทเี่ กดิ ขึ้นในภาคใต้ไปด้วย ดว้ ยเหตนุ ้ี จงึ ไดเ้ ชิญให้ ผศ.ดร.ฉววี รรณ ประจวบเหมาะ อดตี อาจารย์
ประจ�ำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ผู้เช่ียวชาญด้านมานุษยวิทยา
เขยี นบทความเรอ่ื งบทบาทผหู้ ญงิ มสุ ลมิ มลาย:ู ในมมุ มองทางประวตั ศิ าสตรส์ งั คมและวฒั นธรรม
ของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ วิธีการศึกษาหลักใช้แนวทางด้านมานุษยวิทยาประวัติศาสตร ์
โดยมองพัฒนาของหน่วยความสัมพันธ์ตั้งแต่ระดับครอบครัวไปสู่พ้ืนที่สาธารณะ และขยายไปสู ่
ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ผ่านมิติประวัติศาสตร์ ในแง่ของช่วงเวลา บทความได้แบ่งเน้ือหา
ออกเปน็ 2 ชว่ งหลกั คอื บทบาทของผหู้ ญงิ มสุ ลมิ มลายใู นสงั คมโบราณ และบทบาทของผหู้ ญงิ มสุ ลมิ มลายู
ในสงั คมสมยั ใหม่ สำ� หรบั ในสมยั โบราณพบวา่ ผหู้ ญงิ ในแหลมมลายเู ชน่ รฐั ปตานี (ปาตานี / ปตั ตาน)ี
ผู้หญิงมบี ทบาทสำ� คญั มากทางด้านการค้าในทอ้ งถิ่น และยังมีอ�ำนาจในการปกครองอีกดว้ ย ดงั เช่น
ผู้หญิงได้เป็นกษัตริย์หรือ “รายา” เรื่องนี้นับเป็นเร่ืองที่น่าสนใจเพราะศาสนาอิสลามถือว่าผู้ชาย
12 พลังผ้หู ญิง แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน
เป็นใหญ่ ดังน้ัน สาเหตุที่ผู้หญิงมีบทบาททางการเมืองได้น้ันจึงน่าจะสัมพันธ์กับวัฒนธรรมดั้งเดิม
ของคนในภูมิภาคนี้ และเมื่อเช่ือมโยงกับข้อมูลทางด้านมานุษยวิทยาของสังคมมลายูด้วยแล้ว
จะเห็นได้ว่าผู้ชายต้องออกเรือและท�ำการค้าภายนอก ท�ำให้พื้นที่ระดับครัวเรือนกลายเป็นพื้นท ่ี
ของผหู้ ญงิ ดงั นนั้ ในอดตี อาจกลา่ วไดว้ า่ ผหู้ ญงิ ในภมู ภิ าคนคี้ อื ผทู้ คี่ วบคมุ เรอื่ งบนแผน่ ดนิ และการคา้
(ซ่ึงข้อสังเกตข้างต้นสัมพันธ์กับบทความของศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ ที่มองว่าชุมชนเมืองท่าน้ัน
มีผู้น�ำเป็นผู้หญิงดังเช่นเร่ืองของนางนาคกับโกณฑิณยะ) ส�ำหรับผู้หญิงมุสลิมมลายูในรัฐสมัยใหม่
กลา่ วไดว้ า่ อาชพี เปน็ ตวั กำ� หนดบทบาทของผหู้ ญงิ ตวั อยา่ งเชน่ ในสงั คมประมง ผหู้ ญงิ เปน็ แมค่ า้ และ
ผคู้ วบคมุ เศรษฐกจิ ภายในบา้ น แตไ่ มม่ บี ทบาททางการเมอื งในชมุ ชน ในขณะทกี่ ารทำ� อาชพี สวนยาง
พบว่าบทบาทของผู้ชายกับผู้หญิงจะเสมอกัน อย่างไรก็ดี ในบางครอบครัวพบว่าประเพณีมลายู
มอี ทิ ธพิ ลตอ่ บทบาททางสงั คมของผชู้ ายผหู้ ญงิ มากกวา่ หลกั ของศาสนาอสิ ลาม ทำ� ใหผ้ หู้ ญงิ มอี ทิ ธพิ ล
ต่อการตัดสินใจเรื่องภายในครัวเรือน ย่ิงโดยเฉพาะเมื่อสังคมเปิดเข้าสู่สังคมสมัยใหม่ท�ำให้ผู้หญิง
ได้ค่อยๆ ก้าวเข้ามามีบทบาททางการเมืองและพ้ืนที่สาธารณะมากย่ิงขึ้น ไม่ได้มีบทบาทเฉพาะ
ในระดบั ครอบครวั อกี บทบาทของผหู้ ญงิ ทางการเมอื งยง่ิ ชดั เจนมากขนึ้ อกี เมอื่ เกดิ ปญั หาความรนุ แรง
ในภาคใต้ เพราะท�ำให้ผู้หญิงหลายคนต้องสูญเสียสามีไป ผู้หญิงจึงต้องแสดงบทบาทหรือพลัง
ทงั้ ในพน้ื ทร่ี ะดับครอบครัวและพนื้ ทส่ี าธารณะไปพรอ้ มกัน
มาสเู่ รอื่ งทดี่ มู สี สี นั ของสาวทนั สมยั กนั บา้ งในบทความเรอื่ ง สาวนำ�้ เคม็ : กลนิ่ อายความเปน็
สาวสมยั ใหมก่ อ่ นเปลยี่ นแปลงการปกครอง พทุ ธศกั ราช 2475 โดย อาชญาสทิ ธ์ิ ศรสี ุวรรณ ซึ่ง
ถงึ แมว้ า่ จะเปน็ นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโทภาควชิ าประวตั ศิ าสตร์ ปรชั ญา วรรณคดอี งั กฤษ คณะศลิ ปศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ แตใ่ นแวดวงวรรณกรรมยอ่ มรจู้ กั อาชญาสทิ ธดิ์ ใี นฐานะของกวแี ละนกั เขยี น
มีช่ือ ท�ำให้ภาษาในการเขียนติดส�ำนวนแบบวรรณกรรมชวนให้น่าอ่าน วิธีการศึกษาในบทความนี้
ใช้วิธีการทางด้านประวัติศาสตร์เป็นหลัก แนวคิดหลักของบทความคือการมองว่าภาษาคือกุญแจ
ดอกส�ำคัญในการไขไปสู่การได้รับความรู้และประสบการณ์และการเปล่ียนแปลงโลกทัศน์ขยับไปสู่
ความทนั สมยั แบบตะวนั ตก อกี ทง้ั ยงั ไดก้ ลายเปน็ คา่ นยิ มในการยกสถานภาพทางสงั คมใหส้ งู มากขน้ึ
อกี ดว้ ย บทความเรมิ่ จากการกำ� หนดนยิ ามวา่ “สาวนำ�้ เคม็ ” คอื ใคร โดยคำ� วา่ “พวกนำ้� เคม็ ” เปน็ คำ� เกา่
ทหี่ มายถงึ กลมุ่ คนทไ่ี ดข้ า้ มนำ�้ ขา้ มทะเลไปศกึ ษาตอ่ ยงั ตา่ งประเทศ ดงั นน้ั คำ� วา่ “สาวนำ้� เคม็ ” ในทนี่ ้ี
จึงหมายถงึ ผ้หู ญิงท่ไี ด้มีโอกาสไปเรยี นตอ่ ยงั ต่างประเทศในชว่ งสมยั ก่อน 2475 การเปดิ รับคา่ นยิ ม
และอทิ ธพิ ลทางความคดิ จากตะวนั ตกโดยเฉพาะองั กฤษ ทำ� ใหช้ นชน้ั นำ� สยามนบั แตส่ มยั รชั กาลที่ 5
ส่งเสริมให้ผู้หญิงได้มีโอกาสได้รับการศึกษาเทียบชั้นกับชาวตะวันตกด้วยการส่งลูกหลานไปเรียน
ยงั ต่างประเทศ รวมถงึ การกอ่ ตงั้ โรงเรยี นสตรีใหก้ บั ผหู้ ญิงไทย ปรากฏการณเ์ ช่นน้ีสะทอ้ นว่าสถานะ
ของผู้หญิงน้ันได้เร่ิมมีความเท่าเทียมกับผู้ชาย ดังน้ันคงไม่เกินเลยไปนักที่จะกล่าวว่าความรู้
คือส่ิงที่ช่วยเปล่ยี นแปลงสถานะทางสงั คมของผู้หญิงในรัฐสมัยใหม่ อย่างไรกต็ าม ลึกๆ แลว้ การสง่
ผู้หญิงไปเรียนไม่ว่าจะต่างประเทศหรือโรงเรียนในสยามก็เพ่ือเตรียมตัวส�ำหรับการเป็นแม่บ้าน
แม่เรือนและเป็นหน้าตาทางสังคมให้กับสามี จนกระท่ังหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง 2475
ต่างหากท่ีการส่งเสริมให้ผู้หญิงเรียนยังต่างประเทศ เพราะถือเป็นสิทธิอย่างหนึ่งของความเป็น
พลเมอื งของผหู้ ญิงในระบอบประชาธปิ ไตยจึงได้รบั การส่งเสรมิ อย่างจริงจังจากรฐั บาล
สงั คมสมยั ใหมม่ าพรอ้ มกบั ความเปลยี่ นแปลงทมี่ ตี อ่ ผหู้ ญงิ หลายเรอื่ งดว้ ยกนั บทความเรอื่ ง
ผา้ อนามยั ยาคมุ กำ� เนดิ ยานยนต์ นวตั กรรมเปลยี่ นบทบาททางสงั คมของผหู้ ญงิ โดย ขนษิ ฐา
คนั ธะวชิ ยั สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วธิ กี ารศกึ ษาเปน็ การศกึ ษาภายใตม้ มุ มอง
พลงั ผหู้ ญิง แม่ เมยี และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน 13
แบบประวัติศาสตร์ของส่ิงของ (History of things) คือการพิจารณาจากส่ิงเล็กๆ แล้วขยายเป็น
ภาพกวา้ งเพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจสงั คมมากขนึ้ โดยมกี รอบคดิ หลกั คอื วฒั นธรรมศกึ ษา (Cultural studies) คอื
การเขา้ ใจความหมายระดบั ลกึ ของวฒั นธรรมวา่ มอี ำ� นาจใดทแี่ ฝงเรน้ อยบู่ า้ ง บทความนไี้ ดช้ ใี้ หเ้ หน็ วา่
“นวัตกรรม” หรือสิ่งประดิษฐ์บางอย่างในสังคมได้สร้าง “โอกาส” ให้กับผู้หญิง และสามารถข้าม
ข้อจ�ำกัดทางกายภาพไปได้ ผ้าอนามัยสมัยใหม่ท�ำให้ผู้หญิงไม่ต้องพะวงกับการเดินทางไปท่ีใดอีก
เพราะไม่ต้องเปลี่ยนผ้าบ่อยคร้ัง ท่ีส�ำคัญด้วยคือการพัฒนาข้ึนของความรู้ทางการแพทย์สมัยใหม ่
ไดอ้ ธบิ ายวา่ เลอื ดประจำ� เดอื นเปน็ เรอ่ื งธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ ไมใ่ ชข่ องสกปรกดงั เชน่ ทห่ี ลายๆ ศาสนา
ความเชื่ออธิบายกัน ในขณะท่ียาคุมก�ำเนิดช่วยให้ผู้หญิงสามารถควบคุมเวลาในการต้ังครรภ์ได้
ซง่ึ เหมาะสมกบั ระบบการทำ� งานและการศกึ ษาทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ติ ามเวลา สดุ ทา้ ยเมอื่ เทคโนโลยดี า้ นยานยนต์
ได้พัฒนาขน้ึ ผู้หญิงจงึ สามารถเดนิ ทางไปเรยี นและทำ� งานในพืน้ ที่ท่หี ่างไกลได้สะดวกขน้ึ ซึง่ ก็อาจ
กลา่ วไดว้ า่ สว่ นหนง่ึ แลว้ ผา้ อนามยั และยาคมุ กำ� เนดิ มสี ว่ นสง่ เสรมิ ใหผ้ หู้ ญงิ สามารถออกเดนิ ทางไกล
และทำ� งานอืน่ ๆ ได้เฉกเช่นผู้ชาย
สว่ นทส่ี ามเปน็ เรอื่ งราวของผหู้ ญงิ ในสงั คมอนิ เดยี ในมติ ศิ าสนาพราหมณแ์ ละพทุ ธ
ทงั้ นเ้ี พอ่ื ชใ้ี หเ้ หน็ สง่ิ ทผ่ี คู้ นในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตร้ บั มาจากวฒั นธรรมความเชอื่ ของอนิ เดยี
บทความแรกเริ่มต้นจากบทความเร่อื ง เทวี: เทวสตรใี นอนิ เดยี โดย อาจารยค์ มกฤช อยุ่ เตก็ เค่ง
แหง่ ภาควชิ าปรชั ญา คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร แตค่ นทวั่ ไปมกั รจู้ กั กนั ในชอ่ื “เชฟหม”ี
ถือเป็นอาจารย์ปรัชญาที่มากความสามารถ และเข้าใจรากเหง้าของศาสนาพราหมณ์เป็นอย่างด ี
ด้วยเคยบวชเป็นพราหมณ์มาก่อน แนวคิดในการเขียนบทความเป็นการศึกษาทางด้านเทววิทยา
(Theology) คอื การวเิ คราะหแ์ ละทำ� ความเขา้ ใจตอ่ กำ� เนดิ ความเปน็ มา และหนา้ ทขี่ องเทพเจา้ ดงั นน้ั
ในเบอ้ื งตน้ นอ้ี าจกลา่ วไดว้ า่ การบชู าเทวสตรี เปน็ ความเชอ่ื ดงั้ เดมิ ในอนิ เดยี มาตง้ั แตก่ อ่ นประวตั ศิ าสตร์
แล้ว ถา้ เทยี บกับสงั คมไทย เทวสตรีก็คอื ผผี หู้ ญงิ นน่ั เอง สำ� หรับในอินเดีย สามารถแบ่งคนออกเป็น
2 กลมุ่ อยา่ งงา่ ยๆ คอื กลมุ่ ชาวพนื้ เมอื ง (ฑราวทิ ) มกั นบั ถอื เทพทสี่ มั พนั ธก์ บั แมน่ ำ้� ผนื ดนื และครอบครวั
เพราะเป็นพวกท่ีตั้งถ่ินฐานติดที่ จึงยกย่องบูชาผู้หญิงเป็นใหญ่ ดังเห็นร่องรอยจากการนับถือโยนี
(อวยั วะเพศหญงิ ) และยงั นยิ มบชู าเทวสตรที ดี่ รุ า้ ยเชน่ พระแมก่ าลี เปน็ ตน้ แตกตา่ งไปจากคนอกี กลมุ่ คอื
ชาวอารยนั ซงึ่ อพยพเคลอ่ื นยา้ ยมาจากนอกชมพทู วปี มวี ถิ ชี วี ติ แบบเรร่ อ่ น จงึ ผกู พนั กบั พน้ื ทโ่ี ลง่ และ
ทอ้ งฟา้ อกี ทง้ั ยงั ทำ� ปศสุ ตั ว์ ซงึ่ ถอื เปน็ งานของผชู้ าย จงึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั เทพบรุ ษุ เปน็ หลกั เชน่ พระอนิ ทร์
เปน็ ตน้ แตข่ ณะเดียวกนั ก็มกี ารบชู าเทวสตรดี ้วยเชน่ กนั โดยมกั เป็นเทวสตรที ีแ่ ทนฤดกู าล วฏั จกั ร
ของธรรมชาติ และสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น อษุ าเทวี สรสั วตี เป็นตน้ ทั้งเทวสตรีและเทพบรุ ษุ ของ
ชาวฑราวทิ และอารยัน ต่อมาต่างฝา่ ยต่างแลกเปล่ยี นกันนบั ถือ และมีววิ ฒั นาการเรือ่ ยมาไม่หยุดนิ่ง
จนกระท่ังถึงยุคปุราณะเมื่อราว 2,000 ปีมาแล้ว จึงได้เกิดแนวคิดในการให้เทวสตรีมีคู่ครองเป็น
เทพบรุ ษุ และถกู อธบิ ายในฐานะทเี่ ปน็ “ศกั ต”ิ หรอื พลงั งานของเทพบรุ ษุ ซง่ึ บางครงั้ สำ� คญั กวา่ ผชู้ าย
เสยี อกี เพราะหากปราศจากซึ่งเทวสตรีแล้วเทพบรุ ุษกเ็ ปรียบไดก้ บั “ซากศพ” เท่าน้ัน ในช่วงท้าย
ของบทความ ได้พยายามถอดรหัสลัทธิการบูชาเทวสตรีในเชิงปรัชญาว่าเทวสตรีท้ังหมดสะท้อน
ใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พนั ธเ์ ชงิ อำ� นาจระหวา่ งชายกบั หญงิ ทไี่ มใ่ ชเ่ รอื่ งของเทพเจา้ อน่ื ไกลหากแตเ่ ปน็ ภาพ
สะทอ้ นของสงั คมระดบั ครอบครวั ของชาวอนิ เดยี ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปตามยคุ สมยั นนั่ เอง และยงั เปน็ ตวั แทน
ของพลังของวัฏจักรการเปล่ียนผ่านฤดูกาลอีกด้วย ถ้ากล่าวอย่างไม่เกินเลยก็คือบทความเรื่องนี้
จะชว่ ยทำ� ใหค้ นไทยทนี่ บั ถอื เทพเจา้ ฮนิ ดเู ขา้ ใจความหมายระดบั ลกึ ของการนบั ถอื เทพเจา้ ไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ
14 พลงั ผู้หญงิ แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน
ถงึ แมว้ า่ ในความเชอ่ื ของชาวอนิ เดยี จะเคารพบชู าเทวสตรี แตใ่ นสภาพสงั คมจรงิ แลว้ กลบั พบว่า
ผหู้ ญิงตกเป็นรองในแทบทุกมิติ บทความเรอ่ื ง คนธรรพวิวาหแ์ ละสยุมพร: เสรภี าพในการเลือก
คู่ครองของสตรีอินเดียโบราณ? โดย ผศ.ดร.ชานป์วิชช์ ทัดแก้ว สาขาวิชาภาษาเอเชียใต ้
ภาควชิ าภาษาตะวันออก คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ท�ำใหเ้ ราเขา้ ใจโครงสรา้ ง
ของสังคมอินเดียในระดับครอบครัวท่ีมีส่วนก�ำหนดบทบาทของผู้หญิงมากข้ึน ส�ำหรับวิธีการศึกษา
ผู้หญิงในสังคมอินเดียของงานช้ินนี้คือการทบทวนข้อมูลจากวรรณกรรมทางศาสนา และมองผ่าน
พธิ กี รรมสำ� คญั คอื การแตง่ งาน โดยมคี ำ� ถามหลกั ของบทความคอื ภายใตส้ งั คมอนิ เดยี ทผี่ ชู้ ายเปน็ ใหญ่
ผู้หญิงอินเดียมีสิทธิท่ีจะเลือกคู่ครองได้ด้วยตนเองหรือไม่ บทความฉายภาพให้เราเห็นชัดเจนว่า
สงั คมอินเดยี เปน็ สังคมที่กลมุ่ มอี ทิ ธพิ ลเหนอื ปัจเจกผา่ นระบบที่เรยี กว่าวรรณะ ซึ่งระบบน้เี กิดขนึ้ มา
เพ่ือรักษาความบริสุทธิ์ของสายเลือดและผลประโยชน์ โดยมีศาสนาเป็นตัวก�ำกับความเช่ือ ดังนั้น
สังคมอินเดียจึงใหค้ วามสำ� คญั ต่อพธิ แี ตง่ งานอยา่ งสงู ปัจเจกคือผู้หญิงและผู้ชายจึงไม่ได้รับอนญุ าต
ใหเ้ ลอื กคคู่ รองไดอ้ ยา่ งอสิ ระเหมอื นกบั สงั คมสมยั ใหม่ อยา่ งไรกต็ าม พบวา่ มี 2 เงอ่ื นไขทที่ ำ� ใหผ้ หู้ ญงิ
พอจะมีโอกาสเลือกคู่ครองของตนเองได้คือ เง่ือนไขแรกปรากฏในคัมภีร์ธรรมศาสตร์โดยกล่าวถึง
รูปแบบการแต่งงานแบบคนธรรพ์ โดยเป็นการแต่งงานด้วยความสมัครใจและตกลงกันเองของ
ฝ่ายเจ้าบ่าวและเจ้าสาว ไม่มีการประกอบพิธีกรรมใดๆ และมีจุดมุ่งหมายคือการบรรลุความสุข
ทางกามารมณ์ ซึ่งการแต่งงานแบบน้ีในสมัยโบราณสามารถกระท�ำได้ในทุกวรรณะ แต่สมัยหลัง
จ�ำกัดเฉพาะวรรณะกษัตริย์เท่านั้น เงื่อนไขที่สองคือการด�ำเนินตามพิธีสยุมพรคือ เม่ือผู้หญิงเข้าสู่
วัยสาวแล้วแต่ยังเลือกคู่ไม่ไดภ้ ายใน 3 ปี กจ็ ะปล่อยให้ผหู้ ญงิ มีสทิ ธิในการเลอื กคู่เองได้ แต่เจ้าบ่าว
ของเธอน้ันจะต้องมาจากการประลองฝีมือในการรบ ดังน้ัน จึงจ�ำกัดอยู่เฉพาะคนในวรรณะกษัตริย์
เทา่ นน้ั ในขณะทศ่ี าสนาพทุ ธจะปฏเิ สธหลกั การบางอยา่ งของศาสนาพราหมณโ์ ดยเฉพาะเรอื่ งวรรณะ
แตใ่ นเมอ่ื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของวฒั นธรรมอนิ เดยี จงึ ยอ่ มไดร้ บั อทิ ธพิ ลทางความเชอ่ื ของศาสนาพราหมณ์
เช่นเดียวกัน ดังน้ัน จึงพบรูปแบบการแต่งงานในวรรณคดีพุทธศาสนาอยู่ด้วยกัน 3 แบบ ได้แก่
การแต่งงานแบบจัดแจงของบิดามารดา การสยุมพร และการแต่งงานแบบคนธรรพ์ อย่างไรก็ตาม
อาจสรปุ อย่างรวบรดั ได้วา่ สงั คมอินเดียคอ่ ยๆ ได้สร้างพันธนาการใหก้ ับผู้หญงิ อินเดยี ผ่านความเช่อื
ทางศาสนามานับพันๆ ปี ดังน้ัน จึงไม่แปลกที่ผู้หญิงในอินเดียยังคงประสบปัญหาการถูกริดรอน
สทิ ธิเสรีภาพในการเลอื กชวี ติ คูจ่ นถึงทกุ วนั นี้
ถึงแม้ว่าศาสนาพุทธจะเป็นปฏิกิริยาตอบสนองอย่างหนึ่งต่อศาสนาพราหมณ์ ด้วยเหตุนี้
ศาสนาพทุ ธจงึ เปน็ ศาสนาทพ่ี ยายามเปดิ โอกาสใหก้ บั ผหู้ ญงิ ในการบวช เพอื่ นำ� ไปสคู่ วามเทา่ เทยี มกนั
แตถ่ งึ กระนน้ั จะสงั เกตไดว้ า่ ศาสนาพทุ ธกย็ งั ใหค้ วามสำ� คญั กบั พระสงฆท์ เี่ ปน็ ผชู้ ายทง้ั นเ้ี พราะการศกึ ษา
พระไตรปฎิ กเปน็ ผลผลติ หนงึ่ จากประเพณกี ารศกึ ษาคมั ภรี ใ์ นศาสนาพราหมณ์ ทง้ั นเ้ี นอ่ื งมาจากในสงั คม
อินเดียโบราณก่อนหน้านั้นบทบาทของผู้ชายในฐานะเป็นผู้น�ำทางจิตวิญญาณ บทความเร่ือง
พลงั สาวิกาในพระพทุ ธศาสนาจากมมุ มองพระไตรปฎิ ก โดย อาจารย์ ดร.สมพรนุช ตนั ศรสี ุข
สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงเป็นบทความ
ที่อธิบายถึงผู้หญิงที่ประกาศตนเป็นสาวกของพระพุทธเจ้าซ่ึงเรียกว่า “สาวิกา” นับเป็นบทความ
ที่หาอ่านได้ค่อนข้างน้อย เพราะศาสนาพุทธเป็นศาสนาที่ให้ความส�ำคัญกับผู้ชายค่อนข้างมาก วิธี
การศึกษาของงานช้นิ น้ี ตงั้ อย่บู นแนวทางของการศึกษาวรรณกรรมพระพุทธศาสนาเป็นหลกั ชวี ิต
ของสาวิกาท่ีเป็นท้ังนักบวชและไม่ใช่ ไม่ง่ายอย่างท่ีคิด เพราะนอกจากศีลที่ต้องปฏิบัติมากกว่า
พลงั ผู้หญงิ แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน 15
คอื 310 ขอ้ แลว้ สงั คมอนิ เดยี เองยงั ไมค่ นุ้ เคยกบั นกั บวชผหู้ ญงิ และมที า่ ทตี อ่ ตา้ นอกี ดว้ ย อยา่ งไรกต็ าม
พระพุทธศาสนาไม่เคยปิดก้ันเพศหญิงในการเข้าถึงความรู้ทางธรรมเลย เพราะเช่ือมั่นในพลัง
ของปญั ญามากกว่าพจิ ารณาจากเพศทางกายภาพ ดังเห็นไดว้ ่ามพี ทุ ธสาวกิ าหลายคนทีบ่ รรลุธรรม
เชน่ กรณที ไี่ มไ่ ดเ้ ปน็ นกั บวชคอื นางนนั ทมาตา เปน็ ผทู้ ส่ี ามารถสวดปารยนสตู ร และสามารถเขา้ ฌาน
ได้อย่างคล่องแคล่ว หรือกรณีของภิกษุณีที่ได้รับการยกย่อง เช่น พระเขมาเถรีในด้านปัญญา
พระอุบลวรรณาเถรีในด้านเป็นผู้มีฤทธิ์ พระปฏาจาราในด้านเป็นผู้ทรงวินัย เป็นต้น นอกจากน้ี
ดว้ ยการทศี่ าสนาพทุ ธไมส่ นใจเรอ่ื งชาตกิ ำ� เนดิ หรอื สถานะทางสงั คม ทำ� ใหพ้ บวา่ มพี ทุ ธสาวกิ าบางรปู ท่ี
เปน็ โสเภณมี ากอ่ นเชน่ พระวมิ ลาเถรี ซง่ึ กอ่ นทจ่ี ะบวชนน้ั ไดเ้ คยยว่ั ยวนพระโมคคลั ลานะ เพราะยนิ ดี
ในรปู กายและบคุ ลกิ สงา่ งาม แตเ่ มอื่ ไดฟ้ งั ธรรมจากพระโมคคลั ลานะแลว้ กไ็ ดส้ ตแิ ละออกบวชในวยั ชรา
อยา่ งไรกด็ ี อาจกลา่ วไดด้ ว้ ยวา่ สงั คมอนิ เดยี โบราณมกั สบประมาทผหู้ ญงิ ทไ่ี มส่ ามารถทำ� อะไรอน่ื ทม่ี ี
คณุ คา่ ได ้ ในขณะทคี่ วามทกุ ขจ์ ากการไมม่ ที พี่ งึ่ พงิ ในชวี ติ บบี คน้ั ผหู้ ญงิ รอบดา้ น ภกิ ษณุ จี งึ เปน็ พน้ื ที่
ทางสงั คมทร่ี องรบั ชวี ติ ของผหู้ ญงิ อนิ เดยี ซงึ่ ทำ� ใหผ้ หู้ ญงิ ทเี่ ขา้ บวชไดร้ บั ความเทา่ เทยี มในความเปน็
มนษุ ย์ซ่งึ ไม่มใี นสังคมแบบปกติ
เรอ่ื งทต่ี อ่ เนอื่ งกนั กบั ทความของอาจารย์ ดร.สมพรนชุ คอื บทความเรอ่ื งผหู้ ญงิ ในพระพทุ ธศาสนา
โดย ผศ.ดร.มนตรี สิระโรจนานันท์ ภาควิชาปรชั ญา คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
ในบทความได้กล่าวอย่างชัดเจนว่าชายหรือหญิงก็สามารถท่ีจะกระท�ำดีและช่ัวได้เสมอเหมือนกัน
ไมว่ า่ เพศใดใครทำ� ดยี อ่ มไดด้ ี ใครทำ� ชว่ั ยอ่ มไดช้ ว่ั ไมม่ กี ารเลอื กเพศ หรอื ชนชน้ั และวรรณะ อยา่ งไร
กต็ าม เมอ่ื ส�ำรวจพระไตรปิฎกและชาดกจะพบทัศนะทีม่ ตี ่อผหู้ ญิงท่ไี ม่คอ่ ยดนี กั แต่ ดร.มนตรี กใ็ ห้
เหตุผลไวว้ า่ ท้งั นี้ก็เพือ่ ให้พระภิกษทุ ีเ่ พงิ่ บวชสามารถตัดจากกิเลสซง่ึ เปน็ อุปสรรคต่อพรหมจรรยไ์ ด้
เพราะรวู้ า่ สง่ิ ใดควรหลกี เลยี่ ง แตใ่ นขณะเดยี วกนั มหี ลายเรอื่ งหลายตอนทพี่ ระไตรปฎิ กไดบ้ รรจเุ รอ่ื งราว
ของท้งั ภิกษณุ ี และอุบาสกิ าท่ีเปน็ ตวั อย่างอนั ดใี นการบรรลุธรรมและบำ� รงุ พระพทุ ธศาสนา ตวั อยา่ ง
ที่ส�ำคัญเช่นเรื่องของนางวิสาขาท่ีได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงด้านการถวายทานมากกว่าคนอ่ืน และ
ยังเป็นผู้ท่ีสร้างวัดชื่อบุพผารามถวายไว้ในพระพุทธศาสนาอีกด้วย โดยสรุปก็คือประสบการณ์
ทางสังคมของอินเดียด้ังเดิมและเม่ือเร่ิมมีผู้หญิงเข้ามาเป็นสมาชิกในร่มกาสาวพัสตร์ได้น�ำไปสู ่
การพัฒนาข้อก�ำหนดต่างๆ ขึ้นเพื่อเป็นการป้องกันปัญหาและท�ำให้ผู้หญิงสามารถบวชได้ และ
พระสงฆ์เองก็เข้าใจปฏิสัมพันธ์ของตนเองท่ีต้องมีต่อผู้หญิง อย่างไรก็ดี บทความเรื่องนี้ช่วงท้าย
ของเรอื่ งไดน้ ำ� เสนอประเดน็ ทนี่ า่ สนใจคอื เรอื่ งแมช่ ไี ทย ซง่ึ ตอ้ งเขา้ ใจเบอ้ื งตน้ สกั เลก็ นอ้ ยวา่ แมช่ ไี ทย
ถึงจะเป็นอุบาสิกาแบบหน่ึง แต่ไม่มีพระวินัยรองรับสถานะนักบวช ซ่ึงนั่นหมายความว่าแม่ชีคือ
ผหู้ ญงิ ทนี่ งุ่ ขาวหม่ ขาวและมกี ารโกนผมโกนคว้ิ เปน็ วฒั นธรรมเฉพาะถน่ิ ของคนในภมู ภิ าคอษุ าคเนย์
ในขณะที่ประเทศอน่ื เชน่ อนิ เดียและลังกาจะมภี กิ ษณุ ี สิกขมานา (ผ้เู ตรียมเป็นภิกษณุ )ี และสามเณรี
เท่าน้ัน ดังน้ัน เป็นไปได้ว่าแม่ชีคือรากหนึ่งของวัฒนธรรมการนับถือผู้หญิงที่ผสานเข้ากันไปกับ
พระพทุ ธศาสนา เรอื่ งนจี้ ึงยอ้ นกลบั ไปสู่เรอื่ งของสจุ ิตต์ วงษ์เทศ และศริ พิ จน์ เหลา่ มานะเจริญ คอื
กล่าวถึงเร่ืองนางนาคเอาไว้ และจะสังเกตได้ด้วยว่าถ้าใครไปเที่ยวเมืองพระนครท่ีกัมพูชาจะพบ
แม่ชีเขมรท่ีคล้ายกับของไทย ชาวเขมรเรียกว่า “โดนจี” หรือ “เยืยะจี” (ทงั้ ค�ำว่า โดน และ เยืยะ
แปลวา่ ยาย คำ� วา่ ชี จงึ มาจากคำ� วา่ จี นนั่ เอง) เพม่ิ เตมิ อกี เลก็ นอ้ ย ถงึ แมช่ ไี ทยจะมอี ยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก
แม่ชีไทยกไ็ ม่มสี ถานะทางกฎหมายวา่ เปน็ นกั บวช แตว่ ิถีชวี ติ และแนวปฏบิ ตั ินั้นเท่ากับเป็นนักบวช
แต่การท่ีไม่มีสถานะทางกฏหมายนี้เองท่ีท�ำให้การใช้ชีวิตน้ันสะดวก เพราะสามารถที่จะเรียนเรื่อง
16 พลังผหู้ ญิง แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน
ท้ังทางโลกและทางธรรมได้ นอกจากนี้แม่ชีบางท่านยังสามารถเป็นหลักทางศีลธรรมในการน�ำ
สังคมได้จนมีสถานะเป็นสถาบันอีกด้วย ดังเช่นกรณีของแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต ผู้ก่อตั้งส�ำนัก
ปฏบิ ตั ิธรรมเสถียรธรรมสถาน เปน็ ต้น
ถงึ แมว้ า่ สงั คมอนิ เดยี จะใหค้ า่ นยิ มกบั ภาวะทผ่ี ชู้ ายเปน็ ใหญ่ แตอ่ ยา่ งทเ่ี หน็ ในบทความของ
อาจารยค์ มกฤช ว่าผู้หญิงคือพลงั ที่แฝงและเดนิ ควบคกู่ ันไปกับผชู้ ายในสังคมอินเดยี บทความเรอื่ ง
“มรี าบาอ”ี และ “มหาเทวี วรมา” กวสี ตรภี ารตะผชู้ นะใจผองชน โดย อาจารยก์ ติ ตพิ งศ์ บญุ เกดิ
แห่งสาขาวิชาภาษาเอเชียใต้ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แสดงให้เห็นถึง
พลงั ของผู้หญิงทีเ่ ป็นตวั อยา่ งของการต่อสู้ภายใตส้ งั คมทีก่ ดดนั เช่นอนิ เดีย บทความน้ีเปน็ งานเขยี น
เชิงประวัติศาสตร์โดยมุ่งเน้นไปท่ีอัตชีวประวัติของผู้หญิงชาวอินเดีย และการวิเคราะห์ด้านภาษา
โดยเน้นที่วรรณกรรม ผเู้ ขยี นไดย้ กตวั อย่างผู้หญิง 2 ทา่ นที่สำ� คัญคอื มีราบาอี และ มหาเทวี วรมา
ซงึ่ คนหลงั นีไ้ ด้รบั การขนานนามวา่ เป็นมรี าบาอีแหง่ ยุคใหม่ ทัง้ สองได้รับการยกยอ่ งและเปน็ ขวัญใจ
ให้กับนักเคล่ือนไหวด้านสตรีนิยมของอินเดีย ความจริงแล้วทั้งสองท่านจะเกิดห่างกันถึง 400 ป ี
แตด่ เู หมอื นทง้ั คจู่ ะประสบปญั หาทค่ี ลา้ ยๆ กนั ซง่ึ แสดงวา่ ผหู้ ญงิ ในสงั คมอนิ เดยี ไมว่ า่ เวลาจะผา่ นไป
นานแค่ไหนก็ยังคงประสบปัญหาเช่นเดิม มีราบาอีมีชีวิตดังเช่นผู้หญิงชาวอินเดียท่ัวไปคือถูกจับ
แต่งงานต้ังแต่ยังเด็กกับเจ้าชายโภชราช เมื่อเจ้าชายตาย เธอถูกสังคมกดดันให้เข้าพิธีสตีคือ
การเผาตัวให้ตายตามสามีไป แต่เธอปฏิเสธเพราะถือว่าคนรักท่ีแท้จริงของเธอคือพระกฤษณะ
เรื่องนี้อาจฟังดูเพ้อผันแต่การมีความรักต่อพระเจ้านั้นถือว่าเป็นแนวทางปฏิบัติเพ่ือบรรลุโมกษะ
(ความหลดุ พน้ ) จดุ นเี้ องทท่ี ำ� ใหน้ กั สตรนี ยิ มในปจั จบุ นั ยกยอ่ งเธอ เพราะความกลา้ หาญในการปฏเิ สธ
พธิ สี ตี ซึง่ นี่คือสัญลักษณ์ของการตอ่ ตา้ นพนั ธนาการทางสงั คม ส�ำหรับมหาเทวี วรมา เป็นอกี ผหู้ นง่ึ
ทม่ี บี ทบาทสงู ในการตอ่ ตา้ นประเพณเี กยี่ วกบั สตรที ล่ี า้ หลงั เชน่ พธิ สี ตเี ชน่ กนั และรณรงคเ์ พอื่ ยกระดบั
สิทธขิ องสตรอี นิ เดีย ด้วยเปน็ เพราะเธอมองวา่ “แม้อนิ เดียไดร้ บั อิสรภาพแลว้ แตส่ ตรอี ินเดียยงั เป็น
ทาสในสงั คมอยู่” สาเหตุที่มหาเทวี วรมา มคี วามคดิ เช่นน้นั เพราะอยใู่ นกระแสสงั คมที่อินเดยี กำ� ลัง
ต่อสู้เพ่ือเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษภายใต้การน�ำของมหาตมะคานธี ด้วยแรงบันดาลใจดังกล่าว
ทำ� ใหเ้ ธอมองวา่ อสิ รภาพทแ่ี ทจ้ รงิ ของสตรคี อื การทำ� ใหส้ ตรไี ดม้ ตี วั ตนในสงั คม จากเรอ่ื งราวของสตรี
ท้ังสองท่านจะสังเกตได้ถึงการสวนทางกันทางความคิดของสังคมอินเดียเอง ซ่ึงมหาเทวี วรมา
ไดก้ ลา่ วไวอ้ ยา่ งเขา้ ใจงา่ ยคอื “สตรเี ปน็ ทงั้ พระเทวปี ระธานในเทวาลยั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ และเปน็ ผทู้ ถ่ี กู จองจำ�
ไ ว้ในมมุ สกปรกของบ้านตวั เองดว้ ย”
ส่วนท่สี ่เี ปน็ เร่อื งราวของผ้หู ญิงในสังคมจีน และผ้หู ญิงในมติ ิศาสนาของจนี
สังคมไทยผูกพันกับสังคมจีนสูงมากไม่ว่าจะเป็นในแง่สายเลือด วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์
ความเช่อื กระทงั่ ความบนั เทงิ ผู้หญิงจีนจงึ ปรากฏอยู่ในหลายมิติของสังคมไทย แต่สังคมไทยกก็ ลบั
ไมค่ ่อยใหค้ วามสำ� คัญกับผู้หญิงในวัฒนธรรมจีนมากนกั
บทความเรอื่ งแรกของเนอื้ หาในสว่ นทส่ี นี่ เี้ รม่ิ ตน้ ดว้ ยเรอ่ื ง เทพสตรจี นี ในสงั คมไทย : วา่ ดว้ ย
เรอ่ื งช่อื ของเจ้าแมม่ าจู่ เขียนโดย รศ.ดร.สุรสทิ ธิ์ อมรวณิชศกั ด์ิ สาขาวชิ าภาษาจนี ภาควชิ า
ภาษาไทยและภาษาวัฒนธรรมตะวันออก คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ช่ือเจ้าแม ่
ท่ีเป็นช่ือเร่ืองของบทความนี้อาจฟังไม่คุ้นหู แต่รับประกันได้ว่าคนไทยรู้จักเจ้าแม่มาจู่มานาน โดย
เรียกกันในนามว่า เจ้าแม่สวรรค์ หรือเจ้าแม่ทับทิม บ้าง ซ่ึงช่ือเรียกเหล่าน้ีล้วนมีท่ีมาจากต�ำนาน
ดงั สามารถพบเหน็ ศาลเจา้ ไดห้ ลายจงั หวดั ทเี่ ปน็ ชมุ ชนของชาวจนี โดยเฉพาะชมุ ชนใกลก้ บั ทะเลหรอื
พลังผูห้ ญงิ แม่ เมยี และเทพสตรี: ความจริง และภาพแทน 17
แม่น้�ำ เพราะเจ้าแม่มาจู่คือผู้ที่คุ้มครองคนที่หากินกับแม่น�้ำและทะเล ความเชื่อน้ีมีที่มาจากต�ำนาน
ซงึ่ ขอรวบรดั ดงั นี้ บดิ ามารดาไดไ้ ปวงิ วอนตอ่ พระโพธสิ ตั วก์ วนอมิ ใหช้ ว่ ยประทานบตุ รให้ เจา้ แมม่ าจ ู่
จงึ ไดถ้ อื กำ� เนดิ ขน้ึ มา เมอ่ื เตบิ ใหญไ่ ดเ้ รยี นวชิ าความรจู้ ากเทวดาทำ� ใหส้ ามารถถอดกระแสจติ ได้ กลา่ ววา่
มอี ยวู่ นั หนงึ่ บดิ าและพชี่ ายทงั้ 4 คนของทา่ น ไดน้ ง่ั เรอื ไปทำ� ธรุ ะทเี่ มอื งฝโู จว ปรากฏวา่ เรอื ประสบพายุ
ระหว่างนนั้ เจา้ แม่จงึ ถอดจติ โดยเอามือ เท้า และปากลากเรอื 5 ล�ำ แต่แล้วในชว่ งระหวา่ งถอดจติ น้นั
แม่ของเจ้าแม่ได้เข้ามาเรียกพอดี ท�ำให้นางพลั้งปากพูด ท�ำให้เรือของพ่ีชายล�ำหนึ่งต้องถูกพายุ
พัดหายไป เมื่อบดิ าและพช่ี ายได้กลบั มาจึงเลา่ เหตุการณน์ ีใ้ หฟ้ งั จึงรวู้ า่ คือเจา้ แมม่ าจ่นู ่เี อง ท่ีช่วยให้
ตนรอดชีวิต นับแต่นั้นมาชาวประมงก็ต่างบูชาเจ้าแม่ ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ต�ำนานข้างต้นสะท้อน
ใหเ้ หน็ วา่ ศาสนาพทุ ธไดเ้ ขา้ ไปผสมผสานกบั ความเชอื่ ทอ้ งถนิ่ และยงั คงยกยอ่ งบชู าเทพทอ้ งถนิ่ ทเ่ี ปน็
ผู้หญิงอยู่เช่นเดิม และท่ีส�ำคัญราชส�ำนักจีนทุกยุคทุกสมัยต่างยกย่องเจ้าแม่มาจู่มาโดยตลอด ท้ังน้ี
เพราะเป็นเทพเจ้าท่ีให้ความคุ้มครองด้านการค้าทางเรือน่ันเอง แต่ท่ีน่าสนใจอย่างมากส�ำหรับ
บทความนดี้ ว้ ยกค็ อื ไมเ่ พยี งเฉพาะอธบิ ายความเปน็ มาของเจา้ แมม่ าจเู่ ทา่ นนั้ แตย่ งั ชเี้ หน็ ถงึ พลงั ของ
วฒั นธรรมความเชอ่ื ดงั้ เดมิ ของอษุ าคเนยท์ ไี่ ดเ้ ปลยี่ นเทพตา่ งถน่ิ ใหก้ ลายเปน็ เทพทอ้ งถน่ิ ภายใตก้ รอบคดิ
ของการบูชาเจ้าแม่ ซ่ึงถือเป็นผู้หญิงศักดิ์สิทธิ์ ดังนั้นในบางท้องท่ีเราจึงพบว่าเจ้าแม่มาจู่มีชื่อไทย
เช่นเจ้าแม่ประดู่ แม่ย่านาง เป็นต้น อย่างไรก็ดี ดร.สุรสิทธ์ิ ได้ต้ังข้อสังเกตด้วยว่าเป็นไปได้สูงว่า
แนวคิดเรื่องแม่ย่านางของไทยน้ันอาจได้รับอิทธิพลมาจากจีน เพราะการเดินเรือเพ่ือการค้าในแถบ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับจีนนั้นเป็นไปอย่างคึกคักต้ังแต่สมัยราชวงศ์ซ่งเป็นต้นมา ต่อมาในสมัย
ราชวงศห์ มงิ กองเรอื มหาสมบตั ภิ ายใตก้ ารนำ� ของขนั ทเี จง้ิ เหอนน้ั ตวั เจงิ้ เหอเองกม็ คี วามเชอื่ ในเรอ่ื ง
เจา้ แมม่ าจู่เปน็ อยา่ งมาก ประเดน็ ท่ี ดร.สรุ สิทธิ์ เสนอมานม้ี คี วามเปน็ ไปได้ เพราะถา้ อา่ นกฎหมาย
ตราสามดวงจะพบวา่ ตำ� แหนง่ ของคนเดนิ เรอื /ลกู เรอื ในสมยั อยธุ ยาลว้ นแตเ่ ปน็ ชอื่ จนี แทบทง้ั สนิ้ ดงั นน้ั
จงึ ไมแ่ ปลกอะไรมากนกั ทสี่ ำ� หรบั คนเดนิ เรอื ทะเลจะมกี ารบชู าเจา้ แมม่ าจทู่ ถ่ี กู ผสมผสานเขา้ กบั ความเชอื่
ท้องถนิ่ คือการบชู าแม่ยา่ นาง
จากเรอื่ งของเจา้ แมล่ องมามองเรอื่ งของผหู้ ญงิ ในสงั คมจนี กนั บา้ งวา่ มบี ทบาทเชน่ ไร ในบทความ
เร่อื ง “แม่ และ เมีย” บทบาทของผู้หญิงในสงั คมจนี โดย อาจารย์ ดร.ศิรวิ รรณ วรชัยยุทธ
อาจารย์สาขาวิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วิธีการศกึ ษาในบทความน้ี
คือมีลักษณะใกล้เคียงกับงานทางด้านมานุษยวิทยาคือการศึกษาสภาพสังคมของชาวจีนในเร่ือง
บทบาทของชาย-หญงิ ซงึ่ ไดใ้ หภ้ าพวา่ โครงสรา้ งสงั คมจนี ในอดตี เปน็ สงั คมทถ่ี อื อำ� นาจแมเ่ ปน็ ใหญ่
เพราะเป็นสังคมเกษตรกรรม หมายความว่าผู้หญิงท�ำหน้าท่ีในการควบคุมระบบเศรษฐกิจของคน
ในบ้าน แตเ่ มือ่ สังคมก้าวเขา้ สู่ยุคทร่ี ะบบการปกครองเป็นแบบรัฐ โครงสรา้ งสงั คมไดเ้ ปลยี่ นมาเปน็
ถืออ�ำนาจของพ่อเป็นใหญ่ เพราะเร่ิมเก่ียวข้องกับการท�ำสงครามและการค้าทางไกล ท�ำให้อ�ำนาจ
ในกำ� หนดบทบาททางสงั คมเปน็ ของผชู้ ายไป อกี ทง้ั เมอื่ ลทั ธขิ งจอ้ื ซง่ึ เปน็ หลกั ในการวางความสมั พนั ธ์
และบทบาทของคนในสงั คมถอื กำ� เนดิ ขนึ้ ทำ� ใหผ้ หู้ ญงิ กไ็ ดถ้ กู วางบทบาทในสงั คมจนี ทชี่ ดั เจนอยา่ งมาก
โดยได้มีการวางหลักเรื่องคุณธรรมของสตรีเอาไว้ เช่น เมื่อออกเรือนแล้วต้องเช่ือฟังสามี สตรีต้อง
สงบปากสงบคำ� เกง่ งานบา้ นงานเรอื น ดแู ลงานครวั รจู้ กั การตอ้ นรบั เปน็ ตน้ โดยทง้ั หมดมเี ปา้ หมาย
เพอื่ เปน็ ลกู สาวทก่ี ตญั ญู เปน็ ภรรยาทฉ่ี ลาด และเปน็ มารดาทปี่ ระเสรฐิ นอกจากนตี้ อ่ มายงั มกี ารวางหลกั
พรหมจรรย์ (เจินเจย๋ ) ใหผ้ ู้หญิงอีกเชน่ ผหู้ ญิงต้องรักนวลสงวนตัว และไม่แต่งงานใหมเ่ มอ่ื หยา่ ร้าง
หรอื สามตี าย จนอาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ แนวคดิ ทก่ี ดทบั ผหู้ ญงิ ใหต้ อ้ งมหี นา้ ทแ่ี มแ่ ละเมยี ตามความคาดหวงั
18 พลงั ผู้หญิง แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน
ของสังคม อย่างไรเสีย ฐานะและชาติตระกูลคือปัจจัยส�ำคัญท่ีท�ำให้ผู้หญิงจีนมีความแตกต่างกัน
ผหู้ ญงิ จนี หากมชี าตติ ระกลู ดจี ะไดร้ บั การอบรมสง่ั สอน และไดร้ บั การสง่ เสรมิ ทางดา้ นการศกึ ษา และ
มโี อกาสได้ศกึ ษารำ่� เรยี นในเน้ือหาทีผ่ ู้ชายรำ่� เรยี นเพอ่ื เปน็ ความรตู้ ิดตัวไปเมอ่ื ออกเรอื นดว้ ย ผู้หญิง
ชนชั้นกลาง และสาวชาวบ้านจะได้รับความรู้ในครอบครัว และการประกอบวิชาชีพของครอบครัว
แสดงวา่ ผหู้ ญงิ ในตระกลู สงู ของจนี ถา้ ไดร้ บั การสง่ เสรมิ ทดี่ กี ส็ ามารถทจ่ี ะกา้ วขน้ึ ไปมอี ำ� นาจไดเ้ ชน่ กนั
ตัวอย่างเชน่ “หล่วี โ์ ฮว่ ” กษตั รียอ์ งคแ์ รกในประวัตศิ าสตรจ์ นี แหง่ ราชวงศฮ์ ัน่ “พระนางบูเช็กเทยี น”
(อู่เจ๋อเทียน) องค์จักรพรรดินีแห่งราชวงศ์ถัง และ “พระนางซูสีไทเฮา” แห่งราชวงศ์ชิง ต่างเป็น
ผู้หญงิ ทีม่ ีความสามารถ แต่ด้วยสังคมที่กำ� หนดว่าผชู้ ายเปน็ เพศที่ไดร้ บั สิทธ์ใิ นการปกครอง และยงั
เช่ือว่าเรื่องการบ้านการเมืองหากปล่อยให้ผู้หญิงจะมีแต่ความวุ่นวาย ดังน้ันจึงเป็นเหตุท่ีมาในการ
ใหค้ �ำนยิ ามของผหู้ ญงิ ท่ีมีความสามารถว่าเป็นผูห้ ญงิ ท่รี ้ายกาจ หรอื ไมใ่ ช่ผูห้ ญิงทด่ี ี ทง้ั นีก้ เ็ พอื่ เป็น
การกดี กนั ทางสงั คม แตท่ ผ่ี หู้ ญงิ เหลา่ นตี้ อ้ งรา้ ยกาจกเ็ พราะตอ้ งปกครองผชู้ ายทรี่ า้ ยกาจเชน่ กนั นน่ั เอง
เมอ่ื พดู ถงึ ผหู้ ญิงท่ีรา้ ยกาจ เพือ่ ใหเ้ กดิ ภาพท่ชี ดั เจน บทความเรอ่ื งซสู ีไทเฮา: พลังผู้หญงิ
ในราชส�ำนักจีน เขียนโดย ทวริ ัฐ สองเมือง นักศึกษาปริญญาเอกสาขาประวตั ิศาสตร์ทวี่ ิทยาลัย
โรยลั ฮอลโลเวย์ มหาวทิ ยาลยั ลอนดอน ประเทศองั กฤษ จะชว่ ยทำ� ใหเ้ ราเหน็ วธิ กี ารศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์
จากชวี ประวตั ทิ เี่ รม่ิ จากการศกึ ษาคนๆ หนงึ่ แลว้ ขยายไปสกู่ ารเขา้ ใจประวตั ศิ าสตรจ์ นี ในชว่ งหวั เลย้ี ว
หัวต่อทส่ี ำ� คญั ได้อย่างน่าสนใจ ซูสไี ทเฮา ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2404-2451 โดยเปน็ ผูก้ ุมอำ� นาจ
การปกครองในปลายสมยั ราชวงศช์ งิ ซงึ่ ชวี ติ ของนางเรม่ิ ตน้ จากการมตี ำ� แหนง่ เปน็ เพยี งพระสนมเลก็ ๆ
ของจกั รพรรดเิ สียนเฟิงเทา่ นนั้ แตท่ ่ีพระนางสามารถก้าวขน้ึ มามอี �ำนาจไดน้ นั้ ส่วนหนึ่งก็เปน็ เพราะ
เปน็ แมข่ องจกั รพรรดถิ งจอื้ ทำ� ใหม้ สี ถานะเสมอื นแมข่ องแผน่ ดนิ ไปดว้ ย ซสู ไี ทเฮาเปน็ ผมู้ องเหน็ ปญั หา
ของสงั คมจนี ทมี่ ปี ระเพณที กี่ ดทบั ผหู้ ญงิ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ดงั เหน็ ไดจ้ ากซสู ไี ทเฮามกั กลา่ ววา่ เธอเกลยี ด
การรดั เทา้ เพราะรบั รถู้ งึ ความทรมานของการรดั เทา้ ของผหู้ ญงิ ชาวฮนั่ นอกจากน้ี ยงั พบวา่ ซสู ไี ทเฮา
ตอ้ งการแสดงใหเ้ หน็ วา่ ผหู้ ญงิ กเ็ ปน็ เพศทม่ี คี วามสามารถในการทำ� สงครามเทา่ เทยี มกบั ผชู้ ายเชน่ กนั
ดงั เหน็ ไดจ้ ากในสงครามจนี -ญปี่ นุ่ ครง้ั ท่ี 1 ไดม้ ผี หู้ ญงิ เขา้ รว่ มทำ� สงครามดว้ ย สงครามนไี้ ดร้ บั การถา่ ยทอด
ลงในภาพแกะไมว้ า่ ทหารญปี่ นุ่ ตอ้ งแตกทพั ไปเมอื่ สตรจี นี รว่ มตอ่ สใู้ นสงคราม ดว้ ยความรสู้ กึ ทอ่ี ยาก
ส่งเสริมให้ผู้หญิงมีบทบาทในการปกป้องบ้านเมืองท�ำให้พระนางมีแรงบันดาลใจในการมีส่วนร่วม
ในการเขียนนิยายเร่ืองขุนศึกตระกูลหยาง ซึ่งเป็นเรื่องราวของผู้หญิงท่ีได้ออกรบป้องกันเมืองจีน
เมอ่ื พนั ปกี อ่ น นอกจากนแ้ี ลว้ เพอื่ ตอ้ งการควบคมุ ราชสำ� นกั ทวี่ ฒั นธรรมชายเปน็ ใหญ่ พระนางซสู ไี ทเฮา
จงึ มคี วามปรารถนาทจ่ี ะแสดงตนเปน็ บรุ ษุ โดยมกี ารสง่ั ใหท้ กุ คนกลา่ วกบั เธอเหมอื นเปน็ ผชู้ าย ซง่ึ เรอื่ งน้ี
เขา้ ใจไดง้ า่ ยเพราะโดยโครงสรา้ งทางสงั คมของจนี ทว่ี างพนื้ ฐานดว้ ยลทั ธขิ งจอ้ื นน้ั อำ� นาจการปกครองรัฐ
ถอื วา่ เปน็ ของเพศชาย ทำ� ใหซ้ สู ไี ทเฮาเชอ่ื วา่ ถา้ ทำ� ตวั ใหม้ คี วามเปน็ ชายจะทำ� ใหต้ วั เองมอี ำ� นาจขนึ้ มา
ทงั้ นกี้ ส็ ามารถทำ� ความเขา้ ใจไดง้ า่ ยเมอ่ื มองโครงสรา้ งของสงั คมจนี ดงั เชน่ ในบทความของ ดร.ศริ วิ รรณ
จงึ ทำ� ใหซ้ สู ไี ทเฮาตอ้ งกลายเปน็ คนเขม้ งวดและเปน็ จอมวางแผนเพอื่ ใหอ้ ยรู่ อดในราชสำ� นกั ทสี่ งั คมชาย
เปน็ ใหญ่ นอกจากนแ้ี ลว้ ในระยะเวลาทซ่ี สู ไี ทเฮามอี ำ� นาจนย้ี งั เปน็ ชว่ งเวลาทต่ี อ้ งตอ่ สกู้ บั ภยั จากอาณานคิ ม
โดยเฉพาะอังกฤษ ดังนั้น จึงท�ำให้ภาพลักษณ์ของเธอในสายตาของชาวตะวันตกนั้นค่อนข้างแย ่
ในสายตาชาวโลกคอื คลา้ ยกบั ทรราช เป็นแม่มด หรือบา้ งก็เป็นฆาตกรหน้าตาบดู เบีย้ วในมือถอื มีด
แต่พระนางก็ได้พยายามสร้างภาพลักษณ์ต่อสายตาของชาวโลกด้วยการสานสัมพันธ์กับภริยาทูต
จากชาตมิ หาอำ� นาจ และไดพ้ ยายามปฏริ ปู ประเทศขนานใหญใ่ หท้ นั สมยั แบบตะวนั ตก การปะทะกนั
พลังผ้หู ญงิ แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน 19
ระหว่างโลกตะวันตกและตะวันออกน้ีได้นำ� ไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบความคิดขนานใหญ่ ส่งผลให ้
ซูสีไทเฮาได้ยกเลิกประเพณีเก่ียวกับผู้หญิงหลายอย่างเช่นการยกเลิกการรัดเท้า ยกเลิกข้อห้าม
ของการห้ามพบปะกันระหว่างหญิงชาย ซ่ึงเป็นหลักค�ำสอนของขงจื้อ และพระนางยังส่งเสริม
ความคดิ เรื่องความรักชาตใิ นหมสู่ ตรี อีกทงั้ มีสร้างโรงเรยี นสำ� หรับสตรี มีการให้ทนุ การศกึ ษาผูห้ ญงิ
ไปเรยี นยงั ตา่ งประเทศ ซงึ่ จะเหน็ ไดว้ า่ เรอื่ งนเี้ ปน็ แนวโนม้ ทสี่ อดคลอ้ งกนั กบั บทความเรอื่ งสายนำ้� เคม็
โ ดยอาชญาสทิ ธิ์ ศรีสุวรรณ
สว่ นทหี่ า้ เปน็ สว่ นสดุ ทา้ ยเนน้ แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั ผหู้ ญงิ
หลงั จากทอี่ า่ นกรณศี กึ ษาตา่ งๆ จากบทความทง้ั 16 บทความขา้ งตน้ มาแลว้ อาจเกดิ คำ� ถามวา่
ทำ� ไมเราจงึ ตอ้ งสนใจเรอ่ื งของผหู้ ญงิ กนั จนกลายมาเปน็ หนงั สอื เลม่ นี้ มบี ทความ 3 เรอื่ งทจ่ี ะสามารถ
ชว่ ยทำ� ใหเ้ กดิ ความกระจา่ งขนึ้ ถงึ กระแสแนวคดิ เกยี่ วกบั การเตบิ โตขนึ้ ของสาขาวชิ าสตรศี กึ ษา โดยมี
ฐานคดิ ทเ่ี รยี กวา่ เฟมนิ สิ ต์ (Feminism) หรอื แปลเปน็ ไทยวา่ สตรนี ยิ ม ซง่ึ เปน็ แนวคดิ พนื้ ฐานทศ่ี กึ ษา
ปัญหาโครงสร้างทางสังคมท่ีจัดวางความสัมพันธ์ระหว่างชายหญิงท่ีไม่เท่าเทียมกัน แล้วพยายาม
ส่งเสริมความเท่าเทียมของผู้หญิงให้เกิดขึ้นด้วยกระบวนการต่างๆ ทั้งการเคล่ือนไหวทางความคิด
และการเคล่อื นไหวทางสงั คม
บทความแรกของส่วนท่หี า้ นเ้ี รม่ิ ต้นท่ีบทความเชงิ ทฤษฎีเรือ่ ง ผหู้ ญงิ ในมมุ มองสตรนี ิยม
เขยี นโดย อาจารย์ ดร.ชเนตตี ทนิ นาม ศนู ยจ์ ติ ตปญั ญาศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ไดอ้ ธบิ ายไวช้ ดั เจนวา่
ความเป็นหญิงและความเป็นชายไม่ได้ถูกก�ำหนดจากปัจจัยทางชีววิทยาหรือปัจจัยทางธรรมชาติ
อยา่ งทเี่ ขา้ ใจกนั ทวา่ มาจากปจั จยั ทางสงั คมและวฒั นธรรม ทที่ ำ� ใหส้ งั คมคาดหวงั ตอ่ บทบาทความเปน็ หญงิ
และความเป็นชายในลักษณะที่มีความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจที่ไม่เท่าเทียม ผ่านการก�ำหนด ความเช่ือ
ทศั นคติ มายาคติ แบบแผนประเพณปี ฏบิ ตั ิ บรรทดั ฐานตา่ งๆ เชน่ ผหู้ ญงิ ไมใ่ ชผ่ นู้ ำ� แตเ่ ปน็ ผตู้ าม ผหู้ ญงิ
ทกุ คนตอ้ งเปน็ แม่ ผหู้ ญงิ ไมค่ วรแสดงความปรารถนาในเรอื่ งเพศ ผหู้ ญงิ เปน็ เพศทใ่ี ชอ้ ารมณม์ ากกวา่ เหตผุ ล
ส�ำหรบั โครงสรา้ งของตัวบทความนนั้ ได้ทำ� การแจกแจงพฒั นาการของแนวคิดทฤษฎเี ก่ยี วกับผู้หญงิ
ออกเปน็ สายๆ ไดแ้ ก่ ผหู้ ญงิ ในแบบสตรนี ยิ มสายเสรนี ยิ ม ซงึ่ มองวา่ การพจิ ารณาเรอื่ งผหู้ ญงิ นน้ั ควรแบง่
เรอ่ื งกายภาพออกจากจติ ใจ สง่ิ ท่ีท�ำใหช้ ีวิตมีความเปน็ มนุษยค์ ือความสามารถในการใชเ้ หตุผลไมใ่ ช่
รปู รา่ งทางสรรี ะ ดงั นนั้ จงึ สง่ เสรมิ ความเปน็ อสิ ระ และโอกาสทเ่ี ทา่ เทยี มกนั ของปจั เจกบคุ คล สายตอ่ มา
คือผู้หญิงในแบบสตรีนิยมสายถอนรากถอนโคน มีแนวคิดที่เน้นการต่อสู้การกดข่ีและกีดกันผู้หญิง
และการวพิ ากษว์ จิ ารณอ์ ยา่ งตรงไปตรงมา เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารเรยี กรอ้ งสทิ ธสิ ตรที เี่ ทา่ เทยี มกบั บรุ ษุ พรอ้ มชี้
ให้เห็นว่าระบบชายเป็นใหญ่คือสาเหตุส�ำคัญท่ีสุดในการกดขี่ผู้หญิง ซึ่งผ่านการหล่อหลอมจาก
อดุ มการณท์ างสงั คมจนทำ� ใหค้ นในสงั คมไมย่ อมตง้ั คำ� ถามกบั มนั ถดั มาอกี สายคอื ผหู้ ญงิ ในแบบสตรี
นิยมสายสงั คมนิยม ไดอ้ ธบิ ายวา่ การกดข่ีระหว่างเพศและการกดขี่ทางชนช้นั น้นั เกดิ ขนึ้ พร้อมๆ กัน
และเมื่อระบบทุนนิยมได้เกิดขึ้นเพ่ือต้องการขูดรีดแรงงานแสวงหาก�ำไรได้กลายมาเป็นรากฐาน
ของการกดขที่ างเพศในยุคทุนนิยมทผ่ี ู้ชายเปน็ ใหญ่ สายสุดทา้ ยคอื ผู้หญิงในแบบสตรนี ยิ มสายหลงั
สมัยใหม่ เป็นแนวคิดที่มองว่าความเป็นหญิงความเป็นชายล้วนเป็นการประกอบสร้างความหมาย
ทางวฒั นธรรม โดยมีความรู้ชดุ หนง่ึ ที่เรยี กว่าวาทกรรมนัน้ รองรบั ซงึ่ วาทกรรมที่เปรยี บดงั ความเชื่อ
ดังกล่าวนที้ ำ� ให้ผ้หู ญงิ ตกเป็นรองทางการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม อกี ท้ังในสังคมยังมกั จะมภี าพ
ตายตัวต่อผู้หญิงเช่นการเป็นแม่ การเมีย แต่เพียงเท่านั้น ซึ่งอัตลักษณ์ (ตัวตน) ที่ถูกสร้างขึ้นน ้ี
ถือว่าเป็นอันตราย เพราะกลายเป็นเหตุผลที่ท�ำให้ผู้ชายสถาปนาอ�ำนาจของตัวเองเป็นใหญ่ข้ึน
20 พลังผ้หู ญงิ แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน
(ตวั อยา่ งเชน่ ในชวี ติ ประจำ� วนั ทผ่ี หู้ ญงิ ถกู คาดหวงั วา่ ตอ้ งเลย้ี งลกู และทำ� งานบา้ นโดยมองวา่ งานพวกน้ี
ไมใ่ ชง่ านของผู้ชาย หรือกระทงั่ ในละครท่ีนางเอกถูกข่มขนื โดยพระเอก เปน็ ตน้ )
บทความถดั มาคอื เรอ่ื ง ผหู้ ญงิ ในมติ ปิ ระวตั ศิ าสตรเ์ พศสภาวะ โดย ภทั รตั น์ พนั ธป์ุ ระสทิ ธิ์
นักศึกษาปริญญาโทสาขาประวัติศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยเอดินเบอระ ประเทศอังกฤษ ถึงจะม ี
ความคล้ายกันกับบทความแรกอยู่บ้าง แต่บทความนี้ได้พยายามยกตัวอย่างขบวนการเคลื่อนไหว
ของผหู้ ญงิ ตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ทำ� ใหอ้ า่ นเขา้ ใจไดง้ า่ ย โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ระลอก
ทางความคดิ ไดแ้ ก่ สตรนี ิยมคล่ืนลูกท่หี นง่ึ สตรนี ยิ มคลน่ื ลูกท่ีสอง สตรนี ิยมคล่ืนลกู ท่สี าม สำ� หรับ
สตรีนิยมคลื่นลูกท่ีหน่ึงเกิดขึ้นเม่ือสองร้อยกว่าปีก่อนโดยมีหมุดหมายส�ำคัญที่เสนออยู่ในหนังสือ
ของแมร่ี วูลล์สโตนคราฟ ท่ีเขยี นข้ึนเม่อื พ.ศ. 2335 โดยได้น�ำเสนอปัญหาภายในครอบครวั กบั ภาระ
หนา้ ท่ีของภรรยาและมารดา และเป็นครง้ั แรกของการเร่ิมใช้ค�ำว่า "นกั สตรีนิยม" (Feminist) และ
"สตรศี ึกษา" (Feminism) ไมน่ านนักกไ็ ด้เกดิ กระแสขน้ึ ในอเมริกาสนับสนนุ ใหเ้ ลกิ อคติทางเพศตอ่
ผู้หญิง ท�ำให้ช่วงน้ันเกิดวรรณกรรมหลายเรื่องท่ีระบายความทุกข์ของผู้หญิงท่ีถูกท�ำให้ไม่มีตัวตน
เพราะพวกเธอต้องมีชีวิตอยู่เพื่อสามีและลูกเท่านั้น ต่อมาในราว 60-70 ปีมาแล้วได้เกิดสตรีนิยม
คลื่นลูกที่สองข้ึน แนวคิดน้ีมองว่าอ�ำนาจของผู้ชายนั้นฝังอยู่สถาบันครอบครัว การแต่งงาน หรือ
กระทงั่ ความสวยความงาม สงั คมแบบนเ้ี องทห่ี ลอ่ หลอมใหผ้ หู้ ญงิ เชอ่ื วา่ ตนเองตอ้ งแตง่ กายใหส้ วยงาม
โดยขับเน้นเรือนร่าง แต่ท้ังหมดเป็นไปเพ่ือรองรับต่อความต้องการของผู้ชายเท่าน้ัน ซ่ึงจะเห็นได้
จากเวทีการประกวดนางงาม เป็นตน้ สดุ ท้ายสตรีนิยมคลน่ื ลกู ทสี่ ามคอื ยุคหลงั สตรีศึกษา ซ่งึ ไดร้ บั
อทิ ธพิ ลทางความคดิ จากแนวคดิ หลงั สมยั ใหม่ ซงึ่ แนวคดิ นม้ี ศี นู ยก์ ลางของความคดิ ตอ่ การตง้ั คำ� ถาม
ในเร่ืองความจริงจึงมองว่าความเป็นหญิงเป็นเพียงส่ิงที่ถูกสร้างข้ึนมา ภายใต้คลื่นทางความคิด
ทงั้ สามลกู นเี้ องทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ความสนใจตอ่ การศกึ ษาผหู้ ญงิ ในมติ ปิ ระวตั ศิ าสตรข์ น้ึ มา เพราะเชอื่ วา่ ชาย
และหญิงล้วนมีประวัติศาสตร์ในแง่มุมของตนเอง อย่างไรก็ดี รากทางความคิดท่ีก�ำหนดให้ผู้ชาย
ผหู้ ญงิ มคี วามแตกตา่ งกนั จนดเู หมอื นเปน็ ภาวะตามธรรมชาตทิ พี่ ระเจา้ มอบมาใหน้ นั้ กเ็ ปน็ ผลมาจาก
ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ และความเชอื่ ทางศาสนา (ท้ังศาสนาคริสต์ พทุ ธ ฮินดู อิสลาม) นอกจากนี้
แลว้ ในบทความนย้ี ังได้กล่าวถงึ ประเดน็ ท่นี ่าสนใจดว้ ยวา่ แมแ้ ตใ่ นสังคมท่เี ป็นสมยั ใหม่แลว้ ผหู้ ญิง
ยังถูกก�ำหนดบทบาทตามความคาดหวังของชาติภายใต้กระแสของชาตินิยมอีกด้วย (กรณีน้ีเราจะ
เหน็ ไดใ้ นสมยั จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม ทมี่ กี ารรณรงคว์ า่ แมท่ ดี่ ขี องชาตคิ วรมรี ปู รา่ งและนสิ ยั อยา่ งไร)
บทความสดุ ทา้ ยคอื เรอื่ ง เฟมนิ สิ ตก์ บั การเพาะปลกู ใน “สวนปรชั ญา” โดยอาจารย์ คงกฤช
ไตรยวงค์ ภาควิชาปรัชญา คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร บทความนเ้ี ป็นการตง้ั คำ� ถาม
อกี แบบหน่งึ คือแทนที่จะมองวา่ พฒั นาการทางความคดิ ของสตรีนิยม (เฟมินิสต)์ นั้นมีความเป็นมา
อย่างไร แต่กลับมองท่ีตัวปรัชญาว่า ความรู้ทางปรัชญาแทบทั้งหมดตกอยู่ในปริมณฑลทางอ�ำนาจ
ของผชู้ าย ดงั นน้ั ตวั ความคดิ ทางปรชั ญามคี วามบรสิ ทุ ธโ์ิ ดยตวั ของมนั เองหรอื ไม่ หรอื มนั ไมส่ ามารถ
แยกขาดจากบรบิ ทคอื ความเปน็ ชายออกไปได้ ดงั เราจะเหน็ ไดจ้ ากนกั ปรชั ญาหลายคนในโลกทเ่ี ปน็
ผู้ชายได้แสดงท่าทตี ่อผู้หญิงในลกั ษณะทด่ี อ้ ยกว่าเอาไว้ ตวั อยา่ งเช่นอรสิ โตเตลิ นักปรชั ญาชาวกรกี
มองวา่ ผหู้ ญงิ ดอ้ ยกวา่ ผชู้ าย เปน็ มนษุ ยท์ ผี่ ดิ รปู ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากรา่ งกายผหู้ ญงิ ทไี่ มง่ ามเทา่ กบั ผชู้ าย
เพราะผหู้ ญงิ มฟี นั นอ้ ยซก่ี วา่ กระทง่ั นกั ปรชั ญาสมยั ใหมช่ นั้ นำ� ของโลกคอื อมิ มานเู อล คา้ นท์ กม็ องวา่
ผหู้ ญงิ ดอ้ ยกวา่ ผชู้ าย เพราะพวกเธอออ่ นแอโดยธรรมชาติ ทำ� ใหห้ วน่ั เกรงตอ่ ภยนั ตราย และอยไู่ มไ่ ด้
พลังผูห้ ญิง แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน 21
ถ้าไม่พึ่งพาผู้ชาย ที่ส�ำคัญโลกแห่งปัญญาความคิดนั้นไม่มีท่ีทางไปได้กับผู้หญิง เป็นต้น ดังนั้น
เพ่ือเปน็ แกป้ ญั หาท่ีพน้ื ทข่ี องปรัชญาทีถ่ ูกยึดกมุ โดยผ้ชู าย อาจารยค์ งกฤช จึงไดเ้ สนอกระบวนการ
ในการแก้ปัญหาข้างต้นโดยเปรียบเหมือนกับว่า ต้นไม้ต้นหนึ่งในสวนขณะนี้ได้ติดเชื้อโรคร้ายคือ
โรคทน่ี กั ปรชั ญาผชู้ ายมที ศั นคตทิ ไี่ มด่ ตี อ่ ผหู้ ญงิ ซงึ่ สง่ ผลทำ� ใหผ้ หู้ ญงิ ไมม่ พี นื้ ทย่ี นื ในสวนแหง่ ปรชั ญา
ดงั น้นั เพื่อไม่ใหต้ ้นไม้ติดโรคไปมากกว่านี้ จงึ ตอ้ งมีวธิ ีการในการแก้ปัญหาขา้ งต้น โดยผา่ นข้นั ตอน
ส�ำคัญ 4 ขั้นตอน (ซึ่งในบทความเรียกว่าแม่แบบ) ได้แก่ ข้ันตอนแรกคือการวินิจฉัยโรคพืชคือ
การทน่ี กั ปรชั ญาเฟมนิ สิ ตเ์ ขา้ ไปวเิ คราะหใ์ หเ้ หน็ วา่ ปญั หาของประวตั ปิ รชั ญามรี ากเหงา้ มาจากโรคพชื
ท่ีเรียกว่าการรังเกียจผู้หญิง ขั้นตอนที่สองคือ การขจัดแมลงศัตรูพืชและตามมาด้วยการดูแลรักษา
กง่ิ กา้ นคอื การชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ผหู้ ญงิ นนั้ มคี วามสำ� คญั ตอ่ กจิ กรรมทางปญั ญาในกระบวนการพฒั นาความรู้
ทางดา้ นปรชั ญา หรอื เปน็ เจา้ ของสวนรว่ มกบั ผชู้ ายเชน่ กนั ขนั้ ตอนทสี่ ามคอื การเกบ็ เกย่ี ว เปน็ กระบวนการ
ท่เี มื่อเขา้ ใจที่ยนื ของปรชั ญาของผู้หญงิ แล้วก็ท�ำการเกบ็ เกย่ี วและขยายองคค์ วามรู้นนั้ ดงั เช่นการใช้
แนวคดิ เรอื่ งอารมณแ์ ละความรสู้ กึ มาเปน็ จดุ เดน่ ของพฒั นาปรชั ญาของผหู้ ญงิ เปน็ ตน้ ขนั้ ตอนสดุ ทา้ ย
คือ การรื้อถอนปรชั ญาทยี่ ดึ ผู้ชายเป็นศูนยก์ ลาง คอื เม่อื ร้วู า่ ต้นไม้นน้ั ติดโรคร้ายจนเกนิ เยียวยา และ
อาจเบยี ดบงั จนไม่มพี ้ืนท่ยี ืนของผูห้ ญิง เกษตรกรกค็ วรจะถอนตน้ ไมน้ นั้ ท้งิ เสีย เพือ่ เปดิ พน้ื ทใี่ ห้กบั
ผหู้ ญงิ เปน็ คนปลกู ตน้ ไมแ้ ทนที่ เพอ่ื ไมใ่ หต้ น้ ไมท้ ต่ี ดิ โรคนนั้ กดทบั อตั ลกั ษณแ์ ละความคดิ ของเพศหญงิ
อีกต่อไป ทั้งหมดนี้ผู้เขียนเหมือนพยายามบอกเป็นนัยว่าไม่ได้ต้องการให้ผู้หญิงร้ือถอนต้นไม ้
แห่งปรัชญาของผชู้ ายจนหมดสวน แต่ต้องการให้ร่วมกันปลกู และบำ� รุงต้นไมท้ างปัญญาให้งอกงาม
ยง่ิ ขน้ึ
สดุ ทา้ ย ความรทู้ บี่ รรจอุ ยใู่ นหนงั สอื เลม่ นจ้ี ะไมส่ ามารถลลุ ว่ งไดเ้ ลยหากไมไ่ ดร้ บั ความกรณุ า
จากนกั วชิ าการทง้ั 19 ทา่ นทก่ี ลา่ วมา ซงึ่ ทา่ นทงั้ หลายไดท้ มุ่ เทเวลาและความสามารถในการเขยี นบทความ
เพ่ือร่วมกันปลูกต้นไม้แห่งความรู้ นอกจากนี้แล้ว ต้องขอขอบพระคุณนายการุณ สกุลประดิษฐ์
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ท่ีเล็งเห็นคุณค่าในการพัฒนา
องค์ความรใู้ หม่เพือ่ สังคมไทย ทา่ นถัดมาคือ ดร.เฉลิมชัย พันธเ์ ลิศ ผู้อำ� นวยการสถาบนั สังคมศึกษา
สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ทม่ี คี วามตงั้ ใจจะพฒั นาพลเมอื งทมี่ คี ณุ ภาพและเขา้ ใจ
ความซบั ซอ้ นของสังคมดว้ ยความรู้ที่ทนั สมัย
หวังว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่านไม่มากก็น้อย และเป็นเชื้อแห่งเมล็ดพันธุ ์
ที่รอวนั เติบโตเปน็ ตน้ ไมแ้ หง่ ความรู้ท่ีหย่ังรากลกึ และม่นั คงในอนาคต
22 พลังผหู้ ญิง แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน
นางนาค
สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ
มติชน
นางนาคเป็นผีบรรพชน เพศหญิง ทงั้ ของไทยและของผู้คนสวุ รรณภมู ิในอุษาคเนยไ์ ม่นอ้ ย
กว่า 3,000 ปมี าแล้ว และมสี ืบเนื่องจนปัจจบุ นั
พบหลกั ฐานและรอ่ งรอยจำ� นวนมากอยใู่ นตำ� นานนทิ านและเพลงดนตรตี ามประเพณซี งึ่ เปน็
พยานวา่ คนไทยไมไ่ ดม้ าจากไหน? แตอ่ ยทู่ นี่ ี่ โดยมพี ฒั นาการรว่ มกบั ชาตพิ นั ธก์ุ ลมุ่ ตา่ งๆ ทอ่ี ษุ าคเนย์
(ซา้ ย) เจา้ แมโ่ คกพนมดี โครงกระดกู เพศหญงิ ราว 3,000 ปมี าแลว้ ประดบั ประดาดว้ ยลกู ปดั เปลอื กหอยราว 120,000
เม็ด แล้วยังมีสิ่งของอ่นื ๆ อีกมาก (ขุดพบท่บี า้ นโคกพนมดี อ. พนัสนิคม จ. ชลบรุ )ี
(ขวา) แม่หญิงช่างฟ้อนกับช่างแคนเป็นใหญ่ในพิธีกรรม ราว 2,500 ปีมาแล้ว มีการละเล่นฟ้อนแคนขับล�ำน�ำ
ค�ำคลอ้ งจองเป็นทำ� นองง่ายๆ (ลายเส้นคดั ลอกจากเครื่องมือส�ำริดทีพ่ บในเวยี ดนาม)
24 พลงั ผ้หู ญิง แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน
1. ยุคดกึ ดำ� บรรพ์ ก่อนตดิ ต่ออินเดยี
เม่ือยังมีชีวิต นางนาคนับถือศาสนาผี เป็นหมอมดหมอผีหัวหน้าเผ่าพันธ์ุ คนสมัยนั้นอาจ
เรียกวา่ แม่ แปลว่าผเู้ ป็นใหญ่ เชน่ แมส่ ี มีหลกั ฐานส�ำ คญั อยา่ งนอ้ ย 3 ชุด ไดแ้ ก่
1. โครงกระดกู เพศหญงิ ราว 3,000 ปมี าแลว้ ประดบั ประดาดว้ ยลกู ปดั เปลอื กหอยนบั แสนเมด็
[นกั โบราณคดขี ดุ พบทบี่ า้ นโคกพนมดี อ.พนสั นคิ ม จ.ชลบรุ ี แลว้ สมมตุ ชิ อ่ื เรยี กอยา่ งยกยอ่ งวา่
“เจ้าแม่โคกพนมด”ี ]
2. ลายเสน้ แสดงชา่ งฟอ้ นกบั ชา่ งแคนเพศหญงิ ฟอ้ นแคนเลย้ี งผี ราว 2,500 ปมี าแลว้ บนหัว
ประดบั ขนนกหรอื ใบไม้ นุง่ ผ้าปลอ่ ยชายสองข้าง (สลกั บนเครือ่ งมอื สำ� รดิ พบที่เวยี ดนาม) คนฟอ้ น
นำ� หน้าควรเปน็ หมอมดหมอผี
3. มือแดง หมายถึงมือสีแดงที่ประทับบนหน้าผาหรือผนังถ�้ำ ในพิธีกรรมทางศาสนาผ ี
ราว 2,500 ปมี าแล้ว เปน็ มอื ของผู้หญงิ (ไมไ่ ด้วาดเพอ่ื ประดับตกแต่ง) พบท่วั ไปในดินแดนไทยและ
อุษาคเนย์ อาจเรียกมอื แดงของนางนาคก็ได้
มงี านวจิ ัยของนักวชิ าการโบราณคดอี เมริกันเกยี่ วกับรอยฝา่ มือประทบั พบทางตอนใต้ของ
ฝรั่งเศส วา่ ส่วนมากหรอื เกอื บทงั้ หมดเปน็ มอื ของผ้หู ญงิ
[สรปุ จากขอ้ เขยี นรอยฝ่ามือของผูห้ ญงิ โดย ศิรพิ จน์ เหลา่ มานะเจรญิ ในมติชนสดุ สปั ดาห์
ฉบบั ประจ�ำ วนั ท่ี 8–14 มกราคม พ.ศ. 2559 หน้า 82]
คร้ันตายไปก็รวมพลังศักดิ์สิทธ์ิอยู่กับบรรพชนท่ีตายไปยุคก่อนๆ แต่คนสมัยหลังๆ เรียก
นางนาค เพราะสืบค้นไม่พบหลักฐานวา่ ยุคแรกๆ เรียกอะไร?
นางนาค เป็นช่ือเรียกสมยั หลังๆ เม่ือรับภาษาและวฒั นธรรมอ่ืนๆ แลว้ จากอนิ เดยี ก่อนหนา้
น้นั อาจเรียกแม่ เช่น แมส่ ี
ความเปน็ หญงิ ของนางนาคยคุ ดกึ ดำ� บรรพ์ แสดงออกหลายอยา่ ง เชน่ สแี ดง (ประจำ� เดอื น),
ความเยน็ , ดนิ , สสาร, การเปน็ ไปตามธรรมชาต,ิ การสร้างสรรค์ (โดยธรรมชาต)ิ
งานในอำ� นาจของหญงิ รวมทกุ อยา่ งเกย่ี วกบั ดำ� นา, เกบ็ เกยี่ ว, ปลกู ผกั , เตรยี มอาหาร, ทอผา้ ,
เคร่ืองป้นั ดินเผา, คา้ ขาย, ศาสนาผี
(สรปุ จากหนังสือเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตใ้ นยุคการคา้ ค.ศ. 1450-1680 เล่ม 1 ดินแดนใต้ลม
โดย แอนโทนี รีด (พงษศ์ รี เลขะวัฒนะ แปล) สำ� นกั พมิ พ์ซลิ คเ์ วอรม์ เชียงใหม่ พมิ พ์คร้งั แรก พ.ศ.
2548 หน้า 152)
แมส่ ี
แมส่ ี เป็นผีบรรพชนเพศหญงิ ท่ีคนแตก่ อ่ นเรยี กอีกชอ่ื หน่ึงว่า นางนาค
แมส่ ี แปลว่าแมห่ ญิงผูเ้ ป็นใหญ่ มาจากค�ำเขมร วา่ เมสรี (อ่านวา่ เม-เซร็ย)
แม่ ตรงกับคำ� เขมรวา่ เม หมายถึง หัวหนา้ หรอื ผเู้ ปน็ ใหญ่
สรี เปน็ ค�ำเขมรวา่ สรฺ ี อ่าน เซรฺ ็ย กลายมาจากคำ� วา่ สฺตฺรี หมายถงึ ผ้หู ญิง
คนแตก่ อ่ นจงึ ตอ้ งทำ� พธิ เี ลย้ี งผบี รรพชนในหนา้ แลง้ ซง่ึ เปน็ ชว่ งหลงั ฤดเู กบ็ เกยี่ วราวเดอื น 5
วา่ งจากทำ� นาแลว้ ดว้ ยการเชญิ ผมี าลงทรง หรอื เขา้ ทรง เพอื่ ขอคำ� ทำ� นายทายทกั วา่ พชื พนั ธธ์ุ ญั ญาหาร
ในฤดูตอ่ ไปทจี่ ะมาถงึ จะอุดมสมบูรณ์หรือลม่ แลง้ แห้งตายจะได้เตรียมตัวรบั สถานการณไ์ ด้ถกู ตอ้ ง
[แตท่ ว่ั ไปเขียนคลาดเคลือ่ นเปน็ แม่ศรี (ค�ำว่า ศรี มาจากภาษาบาลี-สันสฤต)]
พลงั ผ้หู ญิง แม่ เมยี และเทพสตรี: ความจริง และภาพแทน 25
สมัยตอ่ มาอีกนาน (ราวหลงั พ.ศ. 1000) รบั ศาสนาพราหมณจ์ ากอนิ เดยี แลว้ รบั สงกรานต์
ข้นึ ราศีใหม่เดอื นเมษายน ซง่ึ เปน็ พิธีพราหมณ์ ท�ำ ในราชสำ� นัก จากนั้นค่อยๆ แพร่หลายเป็นท่ีรับรู้
ถึงชาวบ้านชั้นล่างๆ ราวยุคต้นกรงุ รตั นโกสินทร์ ว่าสงกรานต์ เดือน 5 หนา้ แล้ง จงึ ผนวกเข้าดว้ ยกัน
เป็นการละเล่นเขา้ ทรงแม่สใี นสงกรานต์
แม่ คอื ผเู้ ป็นใหญ่
แม่ หมายถึง ผู้เป็นใหญ,่ หัวหน้า (เมยี ก็นา่ จะเลอ่ื นเสยี งจากค�ำวา่ แม)่
เป็นค�ำร่วมมีในเกือบทุกภาษาของคนเผ่าพันธุ์ต่างๆ ในอุษาคเนย์ แล้วมีความหมายอย่าง
เดียวกนั หรือใกลเ้ คยี งกนั
เม่ือจะเรียกสงิ่ ท่เี ป็นใหญ่ เปน็ หวั หนา้ เปน็ ส�ำคญั จงึ มคี ำ� ว่าแม่นำ� หน้า เชน่ แมน่ ้ำ� , แมท่ ัพ,
แมเ่ หล็ก, ฯลฯ
ผู้หญิงสุวรรณภูมิในอุษาคเนย์ยุคดึกด�ำบรรพ์ราว 3,000 ปีมาแล้ว มีสถานะและบทบาท
ทางสังคมสูงกว่าผู้ชาย ได้แก่เป็นหมอมดหมอผีหัวหน้าเผ่าพันธุ์ เท่ากับเป็นใหญ่ในพิธีกรรม,
เปน็ ผู้สรา้ งสรรค์และสบื ทอดวัฒนธรรม (ตัง้ แตอ่ ดตี แลว้ ยงั ท�ำอย่จู นปจั จุบัน)
ผู้หญิงจึงเป็นเจ้าของเครื่องมืองานช่างทุกอย่าง รวมท้ังเป็นช่างฟ้อน (ร�ำ), ช่างขับ(ร้อง),
ช่างป่ี (แคน), ฯลฯ ผู้ชายไมม่ สี ิทธ์ทิ �ำสง่ิ สำ� คญั เหลา่ นน้ั
2. ยุคหลงั รบั อารยธรรมอนิ เดีย
นางนาค เป็นสัญลักษณ์ของบรรพชนคนพื้นเมืองเพศหญิง เริ่มรับอารยธรรมที่มา
ทางทะเลสมทุ รจากดนิ แดนมเี ทคโนโลยกี ้าวหน้า ตงั้ แต่ราวหลงั พ.ศ. 1000
นาค หมายถึงคนพื้นเมืองเปลือยเปล่า มีรากมาจากภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน
แปลวา่ เปลอื ย คำ� นมี้ แี พรห่ ลายในหมชู่ นชาวชมพทู วปี ตง้ั แตย่ คุ ดกึ ดำ� บรรพ์ (คำ� วา่ นาคไมใ่ ชต่ ระกลู
ภาษาไทย-ลาว)
ชาวสวุ รรณภมู ิ ราว 2,500 ปมี าแลว้ นงุ่ หม่ ใบไม้ เชน่ ใบมะพรา้ ว ฯลฯ ถา้ จะมผี า้ นงุ่ บา้ งกเ็ ปน็
ผืนเล็กๆ แคบๆ เชน่ เตย่ี ว ใช้ปดิ หุ้มรดั อวยั วะเพศเทา่ นั้น
พ่อค้าใช้เรือเลียบชายฝั่งไปค้าขายกบั สวุ รรณภูมิในอษุ าคเนย์ มรี ปู เรืออยใู่ นตราดนิ เผา ราวหลงั พ.ศ. 1000
พบที่เมอื งหลงั่ ยะสิว (นครปฐมโบราณ) จ.นครปฐม (ปจั จบุ นั อยใู่ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร)
26 พลังผู้หญงิ แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน
เมื่อชาวชมพูทวีปเดินทางมาค้าขายแลกเปลี่ยนกับกลุ่มชนชาวสุวรรณภูมิที่ยังล้าหลังทาง
เทคโนโลยี จึงพบว่าไม่มีผ้าผืนใหญ่ใช้นุ่งและห่มเหมือนชาวชมพูทวีป ก็เรียกชาวสุวรรณภูมิอย่าง
เหยยี ดหยามดูถกู ด้วยถอ้ ยคำ� ของตนว่า นาค แปลว่า คนเปลือย, คนแก้ผ้า
[ต่อมาชาวชมพูทวีปชักชวนคนพื้นเมืองให้เลื่อมใสพุทธศาสนา เม่ือจะบรรพชาเป็นภิกษุ
จงึ เรียกพิธีบวชนาค จึงไมม่ ีในอินเดยี , ลังกา มีแต่ทสี่ ุวรรณภมู ]ิ
นางนาคจามปา
ศิลาจารึกภาษาสันสกฤตของรัฐจามปา (ในเวียดนาม) ว่าคนในตระกูลพราหมณ์(พ่อค้า)
สมรสกับนางนาค ซงึ่ เป็นธิดาพระยานาค มีความโดยยอ่ ดังนี้
พราหมณ์โกณฑินยะผู้ได้รับหอกมาจากพราหมณ์อัศวัตถามันบุตรแห่งพราหมณ์
โทรณะ ได้พุ่งหอกน้ันไปเพื่อสร้างราชธานี
ตอ่ จากนั้นจงึ ได้สมรสกับธดิ าพระยานาคผมู้ นี ามวา่ โสมา และไดส้ บื เชือ้ วงศต์ ่อมา
ศาสตราจารยย์ อร์ช เซเดส์ อธบิ ายว่า นิทานเรือ่ งนี้คลา้ ยคลึงกบั นทิ านปฐมวงศข์ องกษัตรยิ ์
ราชวงศ์ปัลลวะแห่งอินเดียใต้ (ทมฬิ ) และเล่าส่กู ันฟังมาแล้วตั้งแต่ราวหลงั พ.ศ. 500
นางนาคฟนู นั
ตอ่ มาราชทูตจนี ชื่อคังไถและจยู งิ ซึ่งเข้าไปรฐั ฟูนันในราวหลัง พ.ศ. 700 ไดด้ ัดแปลงขยาย
นทิ านเรอ่ื งนางนาคในศลิ าจารกึ จามปาใหย้ าวออกไปเปน็ เรอื่ งของฟูนนั ว่า
พระราชาองค์แรกของฟูนันเป็นชาวอินเดียทรงพระนามว่าฮุนเถียน คือโกณฑินยะท่านผู้น้ี
ไดม้ าจากประเทศอนิ เดยี หรอื แหลมมลายหู รอื หมเู่ กาะอนิ โดนเี ซยี โดยฝนั ไปวา่ เทวดาประจำ� ตระกลู
ไดม้ อบศรให้ และส่ังให้ลงเรอื ไป
นางนาคยกไพร่พลกองทัพสตรีต่อสู้กับกองทัพโกณฑินยะจากอินเดีย เป็นข้อสันนิษฐานของผู้รู้เกย่ี วกบั เรอ่ื งราว
ในภาพสลกั แตย่ งั มนี กั คน้ ควา้ อนื่ ๆ สงสยั วา่ อาจเปน็ ตำ� นานนทิ านเรอ่ื งอนื่ ทยี่ งั ไมร่ วู้ า่ อะไร ? (ภาพสลกั หนา้ บนั ปราสาท
นครวดั กมั พชู า อายรุ าวหลงั พ.ศ. 1650 จากหนงั สอื Khmer mythology: Secrets of Angkor. Vittorio Roveda.
Bangkok :River Books, 1997.)
พลังผ้หู ญงิ แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจริง และภาพแทน 27
คร้ันตอนเช้าโกณฑินยะได้พบศรวางอยู่ที่โคนต้นไม้ในเทวาลัย จึงได้ลงเรือมาจนถึงฟูนัน
นางพญาแห่งน้ันทรงนามวา่ ลวิ เย หรอื นางใบมะพร้าว ต้องการที่จะปลน้ สะดมและยึดเรือล�ำนน้ั
โกณฑนิ ยะจงึ แผลงศรไปทะลเุ รือนางลวิ เย นางกต็ กใจกลัว จงึ ยอมออ่ นน้อมเป็นภรรยาของ
โกณฑินยะ
ขณะนั้นนางมไิ ดส้ วมเสือ้ ผา้ โกณฑนิ ยะจึงพบั ผ้าเข้าและสวมลงไปบนศรี ษะของนางต่อจาก
นนั้ เขากข็ ้ึนปกครองประเทศและสืบเชื้อพระวงศ์ต่อมา
นางนาคกัมพูชา
ต�ำนานเมืองพระนครหลวง (นครธม) ในกัมพูชา มีค�ำบอกเล่าว่าทุกคืนนางนาคแปลงร่าง
เป็นสาว เพื่อร่วมเพศสมพาสกับพระราชาบนปราสาท (เช่ือกันว่าหมายถึงปราสาทพิมานอากาศ
ในนครธม) ถ้าคืนใดพระราชาไม่ร่วมเพศสมพาสกับนางนาค คราวน้ันพระราชาก็จะถึงกาลวิบัต ิ
และบา้ นเมอื งจะลม่ จม ดงั น้ี
“ปราสาททองคำ� ภายในพระราชวงั นนั้ พระเจา้ แผน่ ดนิ เขา้ ทพ่ี ระบรรทมในยามราตรบี นยอด
ปราสาท
พวกชาวพนื้ เมืองพากันกลา่ วว่าในปราสาทนนั้ มผี ภี ตู งูเกา้ ศรี ษะซึง่ เปน็ พระภูมิเจา้ ทท่ี ั่วทงั้
ประเทศ ภตู ตนน้ีเป็นร่างของสตั รแี ละจะปรากฏกายทกุ คืน พระเจา้ แผ่นดนิ จะเข้าท่พี ระบรรทมและ
ทรงรว่ มสมพาสดว้ ยก่อน
แมแ้ ตบ่ รรดามเหสที งั้ หลายของพระเจา้ แผน่ ดนิ กไ็ มก่ ลา้ เขา้ ไปในปราสาทนี้ พระเจา้ แผน่ ดนิ
จะเสด็จออกจากปราสาทนั้นเม่ือเพลายามที่ 2 แล้วจึงจะเข้าท่ีพระบรรทมร่วมกับพระมเหสีและ
พระสนมได้
ถา้ หากราตรใี ดภตู ตนนไ้ี มป่ รากฏกาย กห็ มายความวา่ เวลาสวรรคตของพระเจา้ แผน่ ดนิ ของ
ชาวปา่ เถอ่ื นพระองคน์ นั้ ใกลเ้ ขา้ มาแลว้ ถา้ พระเจา้ แผน่ ดนิ ของชาวปา่ เถอ่ื นมไิ ดเ้ สดจ็ ไปเพยี งราตรเี ดยี ว
ก็จะต้องทรงได้รบั ภยั อนั ตราย”
[จากหนงั สอื บนั ทกึ วา่ ดว้ ยขนบธรรมเนยี มประเพณขี องเจนิ ละ ของ โจวตา้ กวาน แปลเปน็ ไทย
โดยเฉลมิ ยงบญุ เกดิ (พมิ พค์ รง้ั แรก พ.ศ. 2510) สำ� นกั พมิ พม์ ตชิ น พมิ พค์ รงั้ ทสี่ อง 2543 หนา้ 12-13]
นางนาคอยุธยา
กฎมณเฑยี รบาล ยุคต้นอยุธยา ระบพุ ระราชพิธีเบาะพก วา่ พระเจ้าแผน่ ดินตอ้ งเสด็จเขา้ ใน
พระตำ� หนกั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ แลว้ บรรทมกบั แมห่ ยวั เมอื ง (กฎมณเฑยี รบาลเรยี กแมห่ ยวั พระพ)่ี
หมายถึงพระเจ้าแผน่ ดนิ ต้องทรงร่วมเพศสมพาสกับนางนาค ซ่งึ เป็นแบบแผนด้ังเดิม ที่รับ
ตกทอดจากกมั พูชา
เบาะพก เปน็ คำ� เขมร หมายถงึ มบี างอยา่ ง (เชน่ อวยั วะเพศชาย) ทมิ่ ๆ ตำ� ๆ บรเิ วณใตช้ ายพก
(ของหญิง)
แมห่ ยัวเมือง เปน็ ค�ำดั้งเดมิ (บางทเี ขียนวา่ แมอ่ ยัวเมือง) กร่อนจาก “แมอ่ ยู่หัวของเมอื ง”
หมายถงึ หญงิ เปน็ ใหญส่ ดุ (ในพธิ กี รรม) ของเมอื ง หรอื ราชอาณาจกั ร ในทน่ี คี้ อื ผบี รรพชนทเ่ี ปน็
แมห่ ญงิ ไดแ้ ก่ นางนาค
ร.5 มพี ระราชนพิ นธ์ วา่ “...พธิ เี บาะพกวา่ พสิ ดารยดื ยาว แตม่ ดื รวมอยา่ งยงิ่ จนไมร่ วู้ า่ ทำ� อะไร”
(หนังสือพระราชพิธสี ิบสองเดอื น)
28 พลงั ผหู้ ญิง แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน
สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ มีพระนิพนธ์ ว่า”การถือผีในเมืองไทยแต่โบราณ
ก็อาจจะมีพิธีรีตองเป็นการใหญ่ ข้อน้ีมีเค้าเงื่อนอยู่ในกฎมณเฑียรบาล ตอนว่าด้วย “พิธีเบาะพก”
วตั ถทุ ฉ่ี ลองในการทำ� พธิ นี น้ั เรยี กวา่ “แมย่ วั่ พระพ”ี่ ดทู ำ� นองเปน็ เจวด็ ผเี ชญิ ขน้ึ ราเชนทรยานแหแ่ หน
เปน็ การใหญ่...” (หนงั สอื เท่ียวเมอื งพม่า)
นางนาคอยธุ ยายงั มขี อ้ ขอ้ งใจสงสยั อกี มาก จะคดั มาใหพ้ จิ ารณาโดยไมต่ ดั ทอนจากขอ้ ความ
ในกฎมณเฑยี รบาล (สะกดการนั ตต์ ามตน้ ฉบบั เดมิ จดั ยอ่ หนา้ ใหมใ่ หอ้ า่ นสะดวก) ดงั นี้
ข้อความในกฎมณเฑยี รบาล
“การพระราชพทิ ธเี บาะพก
ต้ังโรงพทิ ธกี ลางตัง้ กนุ ธราชครทู ัง 4 แลบหลดั ทัง 4 โหราแพทยา สมหุ ประธารนั่งในชมรม
นอกนัน้ มรี าชวัต
ต้ังเทพดานพเคราะห์อัษฐอุบาท อทุ กราชอย่พู ายพั ย
ต้งั ฉตั รเงินฉตั รทองฉัตรนาคฉตั รเบญจรงคราชวตั นอกนัน้ ชัน้ หนง่ึ
มีรั้วไกต่ ัง้ จรเหวดเงีนทองนาคเบญจรงคนอกน้ันชน้ั หนึ่ง
มีรัว้ ทบึ นอกรวั้ ทึบชา้ งยนื ท่ี ทบั ขุนดาบขนุ เรอื ขนุ ตำ� รวจอยตู่ ามขบวน
ท่ีพระดำ� หนักมีพระโรงแลหอพระดำ� หนกั แม่หยัวพระพี่ อนง่ึ ดำ� หนกั สมเดจพ์ ระอรรคมเหษี
พระภรรยา อนึง่ ด�ำหนกั แม่หยวั เจ้าเมอื ง ทัง 2 อนึ่งเรอื นหลงั ลกู เธอ หลังหลานเธอพระสนมอยู่
เดือนแรม 11 ค�่ำ ลูกขุนแต่นา 10000 ลงมาถึงนา 1000 ถวายบังคมสมโพธแม่หยัว
พระพี่ 3 วนั
แรม 14 ค�่ำ เอาราชยานแลพรหม 16 มารับแมห่ ยวั พระพี่เจ้าไปในปราสาท
รงุ่ แล้ว 2 นาลิกาเรียกพระราเชนทรยานเทวยี านทพิ ยานพระยานมุ าศ พระราเชนทรเสวตร
ฉตั ร 9 ชั้นแล 7 ชัน้ 5 ชน้ั 4 ชัน้ 3 ชั้น กลงึ้ แลพรหม 16 เมยี นา 5000 แลออกเจา้ เดริ หนา้ แม่หยวั
เจา้ เมอื งซา้ ยขวา 2 ชนั้ แลบวั หงายกลง้ึ แลพรหม 8 เมยี นา 3000 แลช แมแ่ กเ่ ดรี หนา้ แมห่ ยวั เจา้ พระพี่
เมยี พระบโรหติ ถอื เทยี นทอง เมยี พระพริ ามถอื สงั ข เมยี พระมเหธรถอื ปลาทอง เมยี พระพเิ ชด
ถอื เตา่ ทอง เมยี พระเทพราชถือตระพัง เมยี พระจักรปาณีถือพานเข้าตอก เมยี พระอาทยาถอื มดี ไพล
เมียพระโหรปรายเข้าสาน
ครนั้ ถงึ มณฎปแมห่ ยวั พระพี่ แลว้ จง่ึ หยดุ พระราชเชนทรหนา้ พระราเชนทร พระศรอี รรคราช
ถอื พระขรรค จงึ่ สนองพระโอษฐจง่ึ ลกู เธอหลานเธอ จง่ึ พระมาตรุ าชพระมาตฉุ า พระอธกิ ารยมหาธบิ ดี
หลังพระราเชนทร สมเดจ์พระอรรคมเหษีเจ้าแล้ว จ่ึงพระภรรยาเจ้า จ่ึงแม่หยัวเจ้าเมืองซ้ายขวา
จง่ึ 12 ก�ำนลั
นายแวงสนมรับแต่ตีนปราสาทออกมา นายแวงหน้ารับแต่ประตูมกอกน�้ำออกมา แตรสังข
สเดาะผูห้ ญิง
คร้ันเสดจถ์ งึ เข้าพระผทมด้วยแมห่ ยัวพระพี่
ผทมตน่ื สรงเสวยธรงพระสคุ นธสำ� อางราโชประโภก เสดจห์ อพระแลว้ ลงพระราเชนทรเสดจ์
ไปเวยี ร 9 รอบ
คร้ันไปถึงอุทกราชสศซัดแหวนซัดทองซัดเงีน เทพดาแลองคมีคุณทแลอันมีพราหมณอยู่
บชู า แลคนปรายเงีนให้ทกุ คน
พลงั ผู้หญงิ แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน 29
คร้ันเวียรจรดสมิทธแล้วทังห้าพระองค เสดจ์ด้วยรองพระบาทเข้าในโรงกุนธนั่งเตียงทอง
ทัง 5 พระองคแลว้ วังแบกพานสนานยนื พลเทพนำ� บโรหติ พริ ามให้นำ้� สงั ข มเหธรพเิ ชดใหน้ �ำ้ กลด
ฝ่ายพระภรรยาเจ้าแม่หยัวเจ้าเมือง ขุนอินทรขุนจันทรตามซ้ายตามขวาแบกพานสนาน
พระเทพราชพระจกั รปานีให้น�้ำสงั ข พระธรรมสาตรพระอาทยาใหน้ �ำ้ กลด
ครนั้ เสรจก์ ารเสดจข์ นึ้ พระธนี่ ง่ั เลยี้ งลกู ขนุ มหี มง่ ครมุ่ ซา้ ยขวา คลุ าตไี มใ้ ตเ่ ชอี กหนงั เลน่ แพน
พุ่งหอกยิงธนู
พระราชกมุ ารสมเดจพ์ ระอรรคมเหษเี จา้ ขวา พระราชบตุ รซี า้ ย ลกู เธอหลานเธอแมเ่ จา้ พระสนม
ออกเจ้ากำ� นลั ซ้ายนักเทศขวาขันทซี า้ ย”
ค�ำอธบิ ายพระราชพธิ ีเบาะพก
1. พระราชพธิ เี บาะพกเรมิ่ มตี อนเดอื นมดื ขา้ งแรม 11 คำ่� สมโภชแมห่ ยวั พระพเี่ จา้ 3 วนั จนถงึ
แรม 14 คำ่� แต่ไมไ่ ดร้ ะบุเดอื น
2. แหแ่ ม่หยัวพระพี่เจา้ จากโรงพิธไี ปในปราสาทแล้วเชิญไปทีม่ ณฑป
3. ขบวนแหเ่ ตม็ ไปดว้ ยสตรสี งู ศกั ดเิ์ ชญิ สญั ลกั ษณข์ องความอดุ มสมบรู ณ์ เชน่ ปลาทอง เตา่ ทอง
ตระพงั พานข้าวตอก ฯลฯ
4. พระเจ้าแผน่ ดินเสดจ็ เขา้ บรรทมกับแมห่ ยัวพระพีเ่ จา้
5. เสร็จแลว้ ถวายเคร่ืองสงั เวยต่อเทพยดาและสิง่ ศกั ด์ิสิทธิ์
6. พระราชทานเลยี้ ง แลว้ มีการละเล่นด้วย
ทงั้ หมดนเี้ ปน็ บรรยากาศของพธิ กี รรมทน่ี า่ จะเกยี่ วขอ้ งกบั ความอดุ มสมบรู ณใ์ นพชื พนั ธธ์ุ ญั ญาหาร
ของราชอาณาจกั ร
เบาะพก เพีย้ นจากภาษาเขมร หมายถึงการเสพสังวาส
บะุ (อา่ นวา่ โบะห)์ แปลวา่ กระแทก, ทมิ่ , กระทงุ้ , ตำ� ใหเ้ ปน็ หลมุ , แดก, ยดั , และมอี กี คำ� หนงึ่
คอื โบะ (อา่ นวา่ บอะห)์ แปลวา่ โยน, ตอก, ประทบั , ตอกหลัก (ผกู ววั ควาย)
จะเหน็ วา่ บะุ กบั โบะแปลไดใ้ กลเ้ คยี งกนั คอื ประเภททม่ิ ๆ ตำ� ๆ และอาจเพย้ี นเสยี งเปน็ ไทยๆ
ว่า เบาะ ได้
โพะ (อา่ นวา่ ปวั ะห)์ แปลวา่ ทอ้ ง, พงุ , ไส,้ กระเพาะ, มลี กู , มที อ้ ง, มคี รรภเ์ พยี้ นเสยี งเปน็ ไทยวา่
พก มคี �ำว่าชายพก, พกพา ฯลฯ เปน็ ตัวอย่าง
ถ้าเอาสองค�ำนีม้ ารวมกันเปน็ บะุ โพะหรอื โบะโพะกอ็ าจเพี้ยนเสียงเป็นไทยๆ วา่ เบาะพกได้
และน่าจะหมายถงึ กิริยาทม่ิ ๆ ต�ำ ๆ แลว้ ท�ำใหม้ ีท้อง คอื การร่วมเพศ หรอื เสพสมัครสังวาส
หากเป็นจริงก็สอดคล้องกับพระราชพิธีที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จไปบรรทมแล้วเสพสังวาสกับ
แมห่ ยัวพระพ่เี จา้
แสดงวา่ นางนาคจากราชสำ� นกั กมั พชู าเขา้ ไปอยใู่ นราชสำ� นกั อยธุ ยา ถกู แปลงใหเ้ ปน็ ผที เี่ รยี ก
อยา่ งยกยอ่ งวา่ “แมห่ ยวั พระพเี่ จา้ ” และตอ้ งไดร้ บั การบวงสรวงสงั เวยตามประเพณเี ดมิ คอื พธิ กี รรม
เสพสงั วาส
ชื่อ “แม่หยัว” มีอยู่ในกฎมณเฑียรบาล ส่วนในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาก�ำหนด
ตำ� แหนง่ “แมห่ ยวั เมอื ง” ไวเ้ ปน็ อนั ดบั 2 รองจากตำ� แหนง่ พระอคั รมเหสี และใหพ้ ระราชกมุ ารทเ่ี กดิ จาก
แมห่ ยัวเมืองไดเ้ ป็นทพี่ ระมหาอปุ ราช
30 พลังผ้หู ญิง แม่ เมยี และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน
คำ� วา่ “หยวั ” หรอื “ยวั่ ” เปน็ ภาษาโบราณ ไมไ่ ดม้ คี วามหมายไปในทางดาวยวั่ หรอื ดาวโป๊
ตามภาษาปจั จบุ นั เพราะ “แมห่ ยวั เมอื ง” อาจกรอ่ นมาจากคำ� วา่ “แมอ่ ยหู่ วั เมอื ง (ทำ� นองเดยี วกบั คำ� วา่
“แม่ศรเี มือง” ของลาว) หมายถงึ สนมเอกคบู่ ลั ลงั ก์ท่ีมีราชกุมาร
ในกฎมณเฑยี รบาลบางตอนยงั ใชค้ ำ� วา่ แมห่ ยวั เจา้ เมอื ง ตอ่ มากรอ่ นเสยี งเปน็ แมย่ วั่ เมอื ง
สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ทรงสนั นษิ ฐานวา่ ชอื่ แมห่ ยวั เมอื งมาจากแมอ่ ยเู่ มอื ง
ดว้ ย อู กลายเปน็ อวั เชน่ ตู เปน็ ตวั และ ผู้ เปน็ ผวั (เชน่ ตวั ผตู้ วั เมยี , คผู่ วั ตวั เมยี )
แม่หยวั เมืองอาจมีหลายคน เพราะพระเจ้าแผ่นดินยคุ ต้นกรุงศรอี ยธุ ยามีสนมเอกถึง 4 คน
สนมเอกคนไหนมลี กู ชายกไ็ ดเ้ ปน็ แมห่ ยวั เมอื ง ฉะนนั้ นางนาคซง่ึ เปน็ ผที ปี่ กปอ้ งคมุ้ ครองราชอาณาจกั ร
ใหม้ คี วามมั่นคงและม่ังคัง่ จงึ ตอ้ งไดร้ ับยกยอ่ งเป็นแมห่ ยวั พระพเ่ี จา้ คอื เปน็ ใหญ่กว่าแม่หยัวท้งั มวล
พระราชพธิ ีเบาะพกมสี ตรีสูงศักดิท์ ่ีเปน็ เมีย เขา้ รว่ มพิธีกรรมมากกว่าพิธอี น่ื ๆ ดังมชี ื่ออย่ใู น
กฎมณเฑยี รบาลวา่ มสี มเดจ็ พระอรรคมเหส,ี พระภรรยาเจา้ , แมห่ ยวั เจา้ เมอื ง, เมยี ปโุ รหติ , เมยี พระพริ าม,
เมยี พระมเหธร, เมยี พระพเิ ชต, เมยี พระเทพราช, เมยี พระจกั รปาณ,ี เมยี พระอาทยา, เมยี พระโหรา, รวมทง้ั
บรรดาพระราชบตุ รแี ละลกู เธอหลานเธอทเี่ ปน็ ราชนารที ง้ั สนิ้ นา่ จะเปน็ สญั ลกั ษณข์ องความอดุ มสมบรู ณ์
อย่างแทจ้ รงิ
ถา้ พจิ ารณาดูถ้อยพรรณนาในกฎมณเฑยี รบาลแล้ว แม่หยัวพระพเ่ี จา้ เป็นผี ไมม่ ีตัวตนจรงิ
อาจเป็นอะไรสักอย่าง เช่น เทวรูปสตรี หรือเจว็ดผี สังเกตจากขอ้ ความพรรณนาทว่ี ่า “ท่พี ระดำ� หนกั
มพี ระโรงแลหอพระดำ� หนกั แมห่ ยวั พระพ.ี่ ..” แสดงวา่ แมห่ ยวั พระพเ่ี จา้ สถติ อยใู่ นพระโรง หรอื หอพระ
ซ่ึงเป็นที่สถิตและประดิษฐานส่ิงศักดิ์สิทธิ์ของราชอาณาจักรเมื่อถึงก�ำหนดก็เชิญออกมาสมโภชแล้ว
แห่ไปยังสถานท่ีที่ก�ำหนดคือมณฑปในปราสาทเพื่อให้พระเจ้าแผ่นดินเสด็จไปบรรทมด้วย อันเป็น
สญั ลักษณข์ องการเสพสังวาส แตไ่ มไ่ ดส้ งั วาสจริงๆ
กฎมณเฑียรบาลไม่ได้ระบุว่าพิธีกรรมนี้ท�ำในเดือนไหน บอกแต่ว่ามีในข้างแรมเดือนมืด
คอื ตง้ั แตแ่ รม 11-15 คำ่�
ถ้าเทียบกับเขมรที่ต้องบรรทมกับนางนาคทุกคืน ไม่เช่นนั้นบ้านเมืองจะเป็นอันตรายแล้ว
ก็ชวนให้คิดไปได้ว่าพระเจ้าแผ่นดินกรุงศรีอยุธยาจะต้องบรรทมด้วยแม่หยัวพระพ่ีทุกเดือนเมื่อถึง
ข้างแรม 15 ค�ำ่
แตเ่ รอื่ งนไี้ มม่ อี ะไรยนื ยนั ได้ อาจทำ� เฉพาะเมอื่ เกดิ เหตเุ ภทภยั เชน่ เจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยหรอื มปี ญั หา
ในราชอาณาจักร ท�ำนองเดยี วกบั ชาวบ้านรว่ มกนั ทำ� พิธเี ลี้ยงผีเมื่อมคี นป่วยเป็นตน้
3. นางนาคในเพลงดนตรี
เพลงนางนาค ใชใ้ นพธิ กี รรมทางศาสนาผี เกยี่ วกับผีบรรพชนซ่งึ เปน็ หญงิ
นางนาค เปน็ ชอ่ื ทำ� นองเพลงประโคมสำ� หรบั ปพ่ี าทย์ (ไมม่ รี อ้ ง) ขนาดสนั้ ๆ เรยี กกนั ทวั่ ไปวา่
เพลงนางนาค ใชป้ ระโคมในพธิ เี วยี นเทยี นทำ� ขวญั เชน่ ทำ� ขวญั แตง่ งาน, ทำ� ขวญั นาค ในฤดบู วชนาค
สมัยแรกๆ ประโคมเพลงนางนาคซ�้ำไปซ้�ำมาเพลงเดียว จนกว่าจะเสร็จพิธีท่ีมีคนร่วมพิธ ี
ไมม่ าก
ครน้ั สังคมขยายตวั มีผรู้ ่วมพธิ ีมากข้ึน จำ� เป็นตอ้ งประโคมเพลงนานมาก จะท�ำซ้�ำไปซ้ำ� มา
เพลงเดยี วกเ็ บอ่ื เลยเพม่ิ เพลงอน่ื ลลี าเดยี วกนั ใหต้ อ่ เนอื่ ง เรยี กเพลงเรอื่ งทำ� ขวญั แตข่ อ้ กำ� หนดสำ� คญั
มอี ยา่ งเดยี วคือต้องเริ่มเพลงแรกดว้ ยนางนาค
พลังผหู้ ญงิ แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน 31
ตามปกติขนบของวงดนตรีไทย โดยเฉพาะวงปี่พาทย์ ไม่ว่าจะบรรเลงเพลงเร่ืองหรือเพลง
ชุดใดๆท่ีเกี่ยวกับพิธีกรรมอันศักด์ิสิทธิ์ จะต้องบรรเลงเพลงสาธุการเป็นเพลงแรกเพราะเป็นเพลง
สญั ลกั ษณ์ทางพระพุทธศาสนา
มแี ตเ่ พลงชุดท�ำขวัญชุดเดียวเท่านน้ั ไม่เริม่ ดว้ ยเพลงสาธกุ าร แตเ่ รม่ิ ด้วยเพลงนางนาคเป็น
เพลงแรก ซงึ่ เก่ยี วขอ้ งกับผีบรรพชนเปน็ หญิง ท่ียังสบื เน่อื งมาจนถึงทกุ วันน้ี
ท�ำขวัญ เป็นพิธีกรรมส�ำคัญในศาสนาผี อันเป็นระบบความเชื่อดั้งเดิมดึกด�ำบรรพ์ต้องม ี
ทุกคร้ังทม่ี ีเหตดุ แี ละเหตรุ ้าย
บางท้องถิ่นเรียกสู่ขวัญ เรียกขวัญ เล้ียงขวัญ เป็นพิธีกรรมเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตคน
ทุกข้ันตอน เพราะขวัญเป็นศูนย์รวมของทุกอย่าง ดังนั้นงานพิธีกรรมทุกอย่างต้องเร่ิมท่ีท�ำขวัญ
(ไมเ่ ว้นแมก้ ระทงั่ งานศพ)
ขวัญ คือ อำ� นาจเหนอื ธรรมชาติ หรอื ผีส่วนท่ีไมเ่ ปน็ ตวั ตน ซ่ึงมีพลงั มหาศาลบนั ดาลให้เกิด
ส่งิ ดแี ละไมด่ ี
คนจะวงิ วอนรอ้ งขอขมาเพอื่ ใหไ้ ดแ้ ละไมไ่ ดส้ ง่ิ ใดๆ กเ็ รมิ่ ตน้ ทท่ี ำ� ขวญั สขู่ วญั เรยี กขวญั เล้ียง
ขวัญ เชน่ ประเพณี 12 เดือน เพ่อื การทำ� มาหากนิ
เพลงมโหรชี ดุ ท�ำขวัญ
เพลงมโหรชี ดุ ทำ� ขวญั ยคุ อยธุ ยาใชใ้ นพธิ แี ตง่ งาน ซง่ึ เปน็ ไปตามประเพณดี ง้ั เดมิ ดกึ ดำ� บรรพ์
ทต่ี ้องเร่มิ พิธีทุกอยา่ งดว้ ยทำ� ขวญั แลว้ พิธอี ืน่ ๆ ตามมาทหี ลงั
พธิ ที ำ� ขวญั ทกุ อยา่ งตอ้ งขนึ้ ตน้ ดว้ ยเพลงนางนาค สญั ลกั ษณผ์ บี รรพชน เชญิ มาอวยชยั ใหพ้ ร
เท่ากบั สืบเนือ่ งความเชือ่ ผู้หญิงเปน็ ใหญใ่ นพธิ ีกรรมยคุ แรกเริ่ม
เพลงมโหรีเป็นเพลงสังวาสของผู้ดีคนช้ันสูงยุคอยุธยา แล้วอาจต่อเนื่องมาถึงยุคธนบุรี,
รตั นโกสนิ ทร์ และไมใ่ ชป่ ระเพณขี องสามญั ชนชาวบา้ น แตช่ าวบา้ นสามญั ชนสมยั หลงั ๆ อาจเลยี นแบบ
ไปทำ� ก็ได้
[คำ� รอ้ งเพลงมโหรชี ดุ ทำ� ขวญั มี 72 บท เปน็ ของเกา่ ทที่ ำ� สบื มาแตย่ คุ อยธุ ยา คดั จากหนงั สอื
ประชมุ บทมโหรี (สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ สภานายกหอสมุดส�ำหรับพระนคร โปรดให้
รวบรวมบทมโหรีนี้เมื่อ พ.ศ. 2460) รวบรวมพิมพ์ครั้งแรกจ�ำหน่ายในงานฤดูหนาว สวนจิตรลดา
พ.ศ. 2463]
จะคัดตัวอยา่ งบางบทมาดงั นี้
๏ เจา้ เอยเทียนทอง ปิดเขา้ ที่หน้าแทน่ ทอง
ท�ำขวัญเจ้าท้ังสอง ให้เจ้าอยู่ดกี ินดี
ให้อยจู่ นเฒ่าชรา ใหเ้ จ้าเปน็ มหาเศรษฐี
อายยุ นื ได้รอ้ ยปี เลีย้ งพระบิดามารดา
[ค�ำร้องว่า “เจ้าเอยเทียนทอง” เทียนทองตรงนี้เป็นสัญลักษณ์อวัยวะเพศชายมีร่องรอย
บอกในนทิ านของกมั พชู าวา่ ท�ำขนึ้ ในพธิ แี ต่งงาน]
32 พลังผูห้ ญงิ แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจริง และภาพแทน
นางนาค กบั พระทอง
นางนาคกบั พระทอง เปน็ เพลงคกู่ นั สญั ลกั ษณข์ องพธิ แี ตง่ งานยคุ อยธุ ยา มเี นอื้ หาพรรณนา
การร่วมเพศ
นางนาค เป็นสัญลักษณ์คนพื้นเมืองสุวรรณภูมิในอุษาคเนย์ท่ียกย่องผู้หญิงเป็นหมอมด
หมอผี หัวหน้าเผ่า
พระทอง เป็นสัญลักษณ์ของชายพ่อค้าต่างชาติมาทางทะเลสมุทร ผู้น�ำวัฒนธรรมจาก
ภายนอกสูค่ นพนื้ เมือง
นางนาคกับพระทอง เป็นต�ำนานบอกความเป็นมาของบรรพชนคนด้ังเดิมดึกด�ำบรรพ์
สวุ รรณภูมิ กอ่ น พ.ศ. 1000 กลา่ วถึงนางนาคกบั พระทองเม่ือเป็นวยั รนุ่ มีเซก็ ซก์ อ่ นแตง่ งาน
พบร่องรอยเป็นพยานอยู่ในค�ำร้องบทมโหรี ยุคอยุธยา พรรณนาว่าหลังมีเซ็กซ์กันแล้ว
พระทองจะลากลบั นางนาคร�ำพึงรำ� พันว่าเมื่อไรจะไดน้ อนมเี ซ็กซ์ดว้ ยกนั อกี ขอผา้ หม่ ไวด้ ตู ่างหนา้
ดังน้ี
ร้องนางนาค เจา้ คิดแต่เทา่ นั้นแล้ว
๏ เจา้ เอยนางนาค แลว้ เจา้ มาแซมดอกไมไ้ หว
เจา้ ปกั ปนิ่ แก้ว สร้อยสังวาลแลมาลัย
จำ� ปาสองหหู ้อย เจา้ หอ้ ยสองบา่ สง่างาม
ชมพผู ้าสไบ
ร้องพระทอง หลอ่ ดว้ ยสวุ รรณก�ำภู
๏ พระทองเทพรังสรรค์ โฉมตรขู ้าร้อยชั่งเอย
เจ้างามบรบิ รู ณไ์ มม่ ีคู่ หนกั เลา่ กไ็ ดร้ อ้ ยช่ัง
๏ พระทองขา้ รปู หลอ่ เหลา ทัง้ เมืองไมม่ ีเหมือนเอย
รศั มนี นั้ งามอย่เู ปลง่ ปลงั่
รอ้ งคพู่ ระทอง นอ้ งจะไดใ้ ครมานอนเพ่ือน
๏ พระทองเจา้ จะไป เจ้าเพือิ่ นท่นี อนของน้องเอย
อนั ใจเจ้าดไี มม่ เี หมือน คอ่ ยอยู่จงดีกว่าจะมา
๏ เจ้าเอยเจา้ พ่ี จะพลนั มาเป็นเพอื่ นนอนเอย
จะไปก็ไมช่ า้ จะให้อะไรไวน้ ้องชม
๏ พระทองเจ้าจะไป จะชมต่างหน้าพระทองเอย
ขอแต่ผ้าลายทีช่ ายห่ม
เพลงแม่สี
แม่สี คอื ผีบรรพชนเพศหญิงของคนลมุ่ นํ้าเจา้ พระยา
[โดยท่ัวไปมักเขียนแม่สีเป็นแม่ศรีเพราะเข้าใจคลาดเคล่ือนว่ามาจากค�ำ บาลี-สันสกฤต
แตไ่ มใ่ ช่]
พลังผหู้ ญงิ แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน 33
เข้าทรงแม่สี เป็นการละเล่นส�ำคัญท่ีสุดของพิธีเลี้ยงผีบรรพชนช่วงหลังเก็บเก่ียวเช่น
สงกรานต์
เร่ิมด้วยเชิญแม่สีผีบรรพชนมาลงทรงหญิงคนหนึ่งมีผ้าปิดตา (เข้าทรง) แล้วร่ายร�ำท�ำท่า
ต่างจากอาการปกติในชีวิตประจ�ำวัน โดยมีชาวบ้านร่วมร้องเพลงและปรบมือเข้าจังหวะพร้อมกัน
บางทีมเี คาะโกรง่ , เกราะ, กรับ (กระบอกไมไ้ ผ่ขนาดตา่ งกัน)
ค�ำร้องได้จากความทรงจำ� ของชาวบ้านแตก่ อ่ นมหี ลายสำ� นวน ดังน้ี
๏ แม่สีเอย แมส่ สี าวสะ
ยกมอื ไหวพ้ ระ วา่ จะมีคนชม
ขนคิ้วเจ้าต่อ ขนคอเจ้ากลม
ชกั ผ้าปิดนม ชมแมส่ ีเอย
๏ แมส่ เี อย แม่สีสาวสด
ใส่แหวนมรกต ใสแ่ ลว้ ผดั หนา้
ดอกไม้ห้อยหู สีชมพหู ้อยบ่า
นํา้ อบชบุ ผ้า ห่มเวลาเยน็ เอย
๏ แมส่ เี อย แมส่ ีสาคร
นมยานหน้าอ่อน ผัวร้างเจา้ ไว้
กระดกิ ช้างนอ้ ย เปน็ ทองค�ำเปลว
เชญิ มาเร็วเรว็ เถดิ แมท่ องสีเอย
4. ร่วมเพศเปน็ พิธีกรรมศกั ดิส์ ทิ ธิ์
นางนาค (สญั ลกั ษณข์ องดนิ นำ�้ ) ตอ้ งรว่ มเพศกบั พระทอง (สญั ลกั ษณข์ องฟา้ ) ถงึ จะบนั ดาล
การเกิดและเจริญเผ่าพันธุ์ ใหข้ า้ วปลาอาหารเจริญพชื พันธุม์ ง่ั คัง่ อุดมสมบรู ณ์
ชายหญิงร่วมเพศ (ซ้าย) วางขวาง (ขวา) วางต้ัง ลายเส้นจากประติมากรรมประดับบนฝาภาชนะส�ำริดบรรจุศพ
พบที่หมู่บ้านเด่าติง (Dao Thinh) จ.เอียนบ๋าย (Yen Bai) ทางตอนเหนือของเวียดนาม ราว 2,500 ปีมาแล้ว
จัดแสดงใน Vietnam National Museum of History
34 พลงั ผ้หู ญิง แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน
รว่ มเพศยคุ ดกึ ดำ� บรรพ์ เป็นพธิ ีกรรมศกั ดส์ิ ทิ ธเิ์ พอื่ เจริญเผา่ พนั ธุ์กบั เจรญิ พืชพันธุ์
คนดกึ ดำ� บรรพร์ าว 3,000 ปมี าแลว้ มพี ธิ รี ว่ มเพศขอความอดุ มสมบรู ณใ์ หพ้ ชื พนั ธธ์ุ ญั ญาหาร
เพือ่ ความอยู่รอดของเผ่าพนั ธุ์ เชน่ ขอฝน เปน็ ตน้
มหี ลกั ฐานโบราณคดจี ำ� นวนไมน่ อ้ ยแสดงพธิ รี ว่ มเพศ เชน่ ภาพเขยี นสบี นเพงิ ผาหรอื ผนงั ถำ้� ,
รูปหลอ่ สำ� ริดหญิงชายหนั หนา้ ประกบกัน ใชป้ ระดบั บนฝาปิดภาชนะส�ำริด, เปน็ ตน้
นอกจากนน้ั ยงั ทำ� รปู อวยั วะเพศทงั้ ของหญงิ และชายในพธิ กี รรมขอฝน เรยี กปน้ั เมฆ, เซง้ิ บง้ั ไฟ,
แหน่ างแมว, ฯลฯ
ค�ำขับบอกเล่าเร่ืองราวบรรพชนในพิธีเลี้ยงผี มีพรรณนาการร่วมเพศเพื่อขอฝนด้วยเช่น
คำ� เลา่ ความเมืองของผ้ไู ทในเวียดนาม เปน็ ตน้
ศาสนาผขี องผูห้ ญิง ไม่รงั เกยี จเซก็ ซ์
เรือ่ งเพศ ไมเ่ ป็นสิ่งน่ารังเกียจในศาสนาผี ซง่ึ เปน็ ศาสนาของผ้หู ญิง เพราะเรอื่ งเพศผูกพัน
เกี่ยวดองกับความอดุ มสมบูรณโ์ ดยตรงในขา้ วปลาอาหารยคุ ดึกดำ� บรรพ์
ฟ้ากับดินไมส่ มส่กู ัน กไ็ ม่มนี ำ�้ หล่อเล้ยี งชวี ติ คน, สัตว์, และพชื
สตั ว์ พืช ถา้ ไมส่ มสู่กันเองก็ไมม่ ีชวี ติ ใหมเ่ กดิ แล้วไมม่ ขี า้ วปลาอาหารเลี้ยงคน
คนกต็ อ้ งสมสู่เชน่ เดยี วกัน จงึ จะมคี นเกดิ ใหม่
ผใู้ หก้ ำ� เนดิ คนใหม่คือหญงิ กบั ชายตอ้ งสมสู่กนั การตกไข่ และมีประจำ� เดือนของหญิงที่เกดิ
ขนึ้ เปน็ ประจ�ำ ยอ่ มสมั พนั ธ์กบั อารมณ์และความรสู้ กึ ทางเพศ การร่วมเพศและการก�ำเนิด
[สรุปจากข้อเขียนเร่ืองศาสนาผู้หญิงศาสนาผู้ชาย ของ คมกฤช อุ่ยเต็กเค่งในมติชนสุด
สปั ดาห์ ฉบับวันท่ี 30 ตลุ าคม-5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2558 หน้า 88]
วงกลมหนา้ กลองทองสำ� รดิ (มโหระทึก) มปี มุ่
นนู รศั มเี ปน็ แฉกอยตู่ รงกลาง หมายถงึ ฟา้ สว่ น
ขอบนอกปุ่มนูนสลักเป็นรูปกิจกรรมของคน,
สตั ว,์ พืช หมายถึงดิน
(ภาพจากหนงั สอื DONG SON DRUMSIN
VIET NAM, The Viet Nam Social Sci-
ence Publishing House, 1990, pp. 8-9. คดั
ลอกลายเสน้ โดยนติ ยสารศลิ ปวฒั นธรรม พมิ พ์
ครงั้ แรกในหนงั สอื ชาตพิ นั ธส์ุ วุ รรณภมู ิ บรรพชน
คนไทยในอษุ าคเนย์ พ.ศ. 2547 หน้า 54)
พลงั ผู้หญงิ แม่ เมยี และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน 35
ดนิ เพศหญิง, ฟา้ เพศชาย
ฟา้ เป็นเพศชาย ดนิ เป็นเพศหญิง
ฟ้ากับดนิ เสพสังวาสสมสู่กนั ท�ำ ให้เกิดสรรพชวี ิต เชน่ คน, สตั ว,์ พชื
กิริยาอาการท่ฟี า้ สมส่ดู นิ คือหยาดฝนหล่นลงเปน็ น้�ำ หมายถึงอสจุ ขิ องฟ้าพ่งุ เข้ามดลูกของ
ดิน แล้วดนิ ก็ตง้ั ท้อง จนคลอดชวี ิตใหม่ๆ ออกมา
เพศชาย เสมือนเจา้ พ่อฟา้ หรือ เจา้ ฟา้ ได้แก่ ผีฟา้
เพศหญิง เสมือนเจา้ แม่ดิน หรือ เจ้าดิน ไดแ้ ก่ ผีดนิ เป็นแหล่งผลติ ส่งิ มชี วี ิตใหมจ่ งึ เปน็ ผี
เจริญพชื พนั ธ์ุ บนั ดาลความอดุ มสมบรู ณ์
เพศหญงิ จึงเป็นเจ้าของทด่ี ิน ที่รบั มรดกตกทอดจากบรรพชน เพศชายเป็นผู้อาศยั
5. นางนาคอุษาคเนย์
ในโลกของความเป็นจริง นาคอาจเป็นเรอ่ื งเหลวไหลไรส้ าระ
แต่ในโลกของความเชือ่ นาคเปน็ เรอื่ งศกั ดิ์สิทธ์ิ ขลงั และมีอำ� นาจน่าเกรงขาม
ยง่ิ ยอ้ นหลงั กลบั ไปยคุ ดกึ ดำ� บรรพ์ นาคยงิ่ มคี วามสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ตอ่ ชมุ ชนบา้ นเมอื งและไพร่
ฟา้ ประชากรในภมู ภิ าคอุษาคเนย์ ดังพบรอ่ งรอยของต�ำนานนทิ านปรมั ปราเรือ่ งนาคมีอยูใ่ นกล่มุ ชน
หลายเผา่ พันธุ์ท่ัวทัง้ ภมู ภิ าคอษุ าคเนย์ โดยเฉพาะบนผนื แผน่ ดนิ ใหญ่ เชน่ มอญ เขมร ลาว ญวน
และไทย ล้วนเชื่อเปน็ เรอื่ งจรงิ
นาค มรี ากคำ� จากตระกูลภาษาอินโด-ยุโรป ว่า Nog แปลวา่ เปลือย แมไ้ ม่แปลวา่ งูแต่งูเป็น
สัตว์เปลือย เพราะไม่มขี น ก็เท่ากบั Nog หมายถงึ งูกไ็ ด้
Nog สง่ เปน็ รปู ภาษาตา่ งๆ ดงั นี้ Nudus (ละตนิ ), Naked (องั กฤษ), Nanga (สนั สกฤต),
Nanga (ฮินด)ี ฯลฯ
[จากบทความของ ไมเคลิ ไรท์ ในศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 23 ฉบบั ท่ี 10 (สิงหาคม 2545)]
นาค ก็คืองู ผู้คนในภูมิภาคอุษาคเนย์ยกย่องนับถืองูมาแต่ดึกด�ำบรรพ์เม่ือไม่น้อยกว่า
3,000 ปีมาแล้ว เพราะพบหม้อลายเขียนสีบางใบในวัฒนธรรมบ้านเชียง เขียนลวดลายพันรอบ
เปน็ รปู งู แสดงวา่ มนษุ ยส์ มยั นนั้ มลี ทั ธบิ ชู างู คอื ยกยอ่ งนบั ถอื งเู ปน็ สตั วศ์ กั ดส์ิ ทิ ธเ์ิ ชน่ เดยี วกบั กลมุ่ ชน
สว่ นอืน่ ๆ ในโลก
ต่อมาก็รับเอาค�ำว่านาคจากภาษาของชาวชมพูทวีปมาเรียกงูให้ฟังขลังขึ้น เพราะยกย่อง
นบั ถอื ว่าเปน็ ภาษาศักด์สิ ทิ ธ์ิ
นาคในอุษาคเนย์มีที่อยู่ใต้ดิน เรียกบาดาล (หรือนาคพิภพ) หลังติดต่อและรับแบบแผน
อินเดยี แลว้ มนี าคชดุ ใหม่อยู่บนฟา้ (ตามคตอิ ินเดยี )
นานเขา้ นาคอษุ าคเนยก์ บั นาคอนิ เดยี กผ็ สมปนเปกนั จนแยกไมอ่ อก วา่ ตรงไหนนาคพน้ื เมอื ง
ตรงไหนนาคอินเดีย (มีรายละเอียดอธิบายอีกมากในปาฐกถาของ นิธิ เอียวศรีวงศ์พ.ศ. 2548
ดใู นภาคผนวกทา้ ยเลม่ นาคมาจากไหน? ของ สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ พมิ พค์ รงั้ ทสี่ าม พ.ศ. 2554 หนา้ 303-
323)
36 พลงั ผหู้ ญงิ แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน
ในบรรดาชุมชนบ้านเมืองทัว่ ภูมภิ าคอษุ าคเนย ์ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ บริเวณสองฝั่งแมน่ ้า� โขง
ต้งั แต่ตอนใต้มณฑลยูนนานของจนี ลงมา จนถึงปากแม่น�้าโขง ลว้ นเล่ือมใสลทั ธิบูชานาค เพราะเช่อื
กันว่านาคเป็นผู้บันดาลให้เกิดธรรมชาติ เกิดความมั่งค่ังและมั่นคง ในขณะเดียวกันก็อาจบันดาล
ใหเ้ กิดภยั พบิ ัตถิ ึงขน้ั บา้ นเมอื งลม่ จมได้ นอกจากนน้ั ยงั ยกย่องนับถอื นาคเปน็ บรรพชนด้วย
เหตุน้ีเอง ผู้คนในภูมิภาคนี้จึงมีค�าบอกเล่าในลักษณะของนิทานปรัมปราเกี่ยวกับนาค
มากมายหลากหลายส�านวนจนนับไมถ่ ว้ น แล้วเชอื่ กันว่าเป็นเรอ่ื งจรงิ ทั้งนั้น
แตถ่ า้ พจิ ารณาจา� แนกแยกแยะสญั ลกั ษณใ์ นนทิ านปรมั ปราเกอื บทงั้ หมดแลว้ จะพบวา่ มอี ยา่ งนอ้ ย
3 ลักษณะ คือ สัญลักษณ์ของกลุ่มชนดั้งเดิม, สัญลักษณ์ของดินและน�้า, และลัทธิทางศาสนา
(แอง่ อารยธรรมอสี านของ ศรีศักร วัลลโิ ภดม, ศิลปวฒั นธรรมฉบบั พเิ ศษ, พมิ พ์คร้งั แรก ธันวาคม
2533) ดงั นี้
1. นาคเปน็ สัญลักษณข์ องกลมุ่ ชนดง้ั เดมิ
นาค หมายถงึ คนพนื้ เมอื งดง้ั เดมิ เปน็ คา� ดถู กู ทชี่ าวชมพทู วปี (อนิ เดยี ) ใชเ้ รยี กคนทไ่ี มน่ งุ่ ผา้
เหมือนพวกตน
มีในหนังสือต�านานอุรังคธาตุ (ต�านานพระธาตุพนม) ว่านาคหมายถึงคนพื้นเมืองทั่วไป
ทัว่ ทัง้ ภมู ภิ าค ดังมีบอกตอนตน้ เรือ่ งวา่ “เมอื งสุวรรณภมู นิ ีเ้ ป็นที่อยู่แหง่ นาคท้งั หลาย...”
(ซา้ ย) คนดกึ ดา� บรรพ ์ 2,500 ปมี าแลว้ บรเิ วณหนองหานหลวง แอง่ สกลนครเคลอื่ นไหวแขนขาแสดงทา่ ทางศกั ดสิ์ ทิ ธิ์
ในพธิ กี รรม [คดั ลอกจากภาพเขยี นสใี นถา้� ผาผกั หวาน ต.ทา่ ศลิ า อ.สอ่ งดาว จ.สกลนคร จากหนงั สอื ศลิ ปะถา�้ สกลนคร
กรมศิลปากร พมิ พ์ครง้ั แรก พ.ศ. 2532 หนา้ 79-80]
(กลาง) หมาศกั ดส์ิ ทิ ธใ์ิ หก้ า� เนดิ คน มรี ปู อยทู่ า่ มกลางบคุ คลสา� คญั ของเผา่ พนั ธ ์ุ ราว 2,500 ปมี าแลว้ [ลายเสน้ คดั ลอก
จากภาพเขยี นสที ี่หนา้ ผาบนเขาจนั ทร์งาม อ.สีคิว้ จ.นครราชสมี า]
(ขวา) ม้อย ชนเผา่ พ้ืนเมอื งดง้ั เดมิ บริเวณสองฝงั่ โขง
พลังผู้หญงิ แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจริง และภาพแทน 3719 19
2. น2า.คนเาป2ค.น็ เนสปาัญน็ คลสเแปักญละ็นษยลังหสณักมญัาษ์ขยถลณอึงกักงลข์ ุ่มดษชอนินณงดแ้ังด์ขเดลนิิมอะแมงนีถดล่ินำ้าฐนิะานนแอย้ำาลู่ในะเขนตหา้ำ นองแสทางตอนใต้ของมณฑลยูนนาน
ลกั ษลณมนกั ีหาะษคเมชณมนอ้ หน่ลีหาละกันมคเามษชาเี้ ยสตลหอ้ยหน่ณงออ่มนเลไมมขงถนมปีหาฝาะาอืียึงจไาั่เี้คงยมดนหแแนชนยเ้ถมเก้อคผหน่มกขสถงึา่นลลรน่อ่ือืนัียมบ้�ำจึงเานโค.แดนนอขากเ้ีายยลหบุงผยงนิา้อ่ืกสบั จเลยนใมขถ่นนแนัีบรเภบยปาถอืียงึดลา้กาชน็าึงพยแนนธะกงนิแชบัขาลผกบนใกอสนแนม่ภุ่งบง่นท้ำาีนัีบๆลลกะาพ่ีผลดี่บกเะาดชเหีเมุ่ บปปนงิบั้านิลช็นใา่นนท็นา้ำแภเๆบะททผลเเี่บดี่สาลม่ีเพชพาุดะปงาช้านิ มียจยบนศน็นนาาเเงคุพตกทาำ้หผเเะาหรชกพา่ีบมญดาเนจียะลอ่ยปศอ้านิ.กำ�ิงงงนคุแน็นหาแเมอรผกปสเเญขน่จชุดพาอุ่ดรำค้� .โงิียรลยงะนศขเ�ำธขวงงคอุนหปดา้าตั�ุ้ดำกไว้ญรนขปจยศิรอ่ะอตส.ีิงธางวงาน้ั เพหเสาอตัหขปลวนตตุดศิกัียกรตุ แีรนรานะา่ หท์าเงธสวลขลคๆาบ่ีง่ตัลวียกอนงา้ศิรยนัดมนต่ีูนทต์ าาลางั้ถเสเบ่ีมแขาึวงกตลตแยา้ีดม่เุ่า่กขรนเนนลต่งปท์จำ้�ลเจาลตกี่ผ..น็บี่หา่ยวีเา่งกนปรา้เๆดอ็นูปานจงลททญคง.น็เี่สา่ีอากูพกุดยยจรยา่ ูู่ปานันเปญจงบอูพ.น็ยจรุ กรีนันู่ ูปาบอญงยรุ ูพ
แสดงแวส่าดมงนวแุษ่าสมดยตน์สง�ำ่ วจุษมา่ากัยมนน์สัน้นม้ันลุษงัยไยปนกจ์ส้ันยนมอ่อยอัยงกกนอย่าั้นบ่อวไยถงทนกยือคยับงงูเ่อจถปะงเือป็นงน็ สับูเแปัตหถล็นวือ่ง์ศทสง่ีอักตูเยปดวขู่ ็นอ์ศิสงสิทักชนัตดธกวิ์ทสล์ศุ่มิที่เอปักธ่ืน็นดิ์ท์ิสเี่เจปิท้า็นธแิ์ทเหจี่เง้าปดแ็นินหเแ่จงดล้าแะินนหแ้ำา่งลดะเนิ พ้ำแารลาเะพนร้ำาาะเ
งทอู เ่ี ปยู่กน็ งทบัูออี่เปยาดห่กู็นินาบังทอแรูอาดลเี่ ขปยหะินอู่ก็นนาแงรับอำา้ ลมขอาดะนอหนั ิ ุษม2นงาเ้ำาแ.ีหามปรยอคนลมนขน็์า้อันะหคลอษุสมนเาเงปาิง่ปยย้ำายมเสน็็นอขถ์ สนำาียึงนัสแญันคษุ ิ่งผเสลัญป่นสีบยักดาน็ำาษ์ทงินคใณสแก่ีบลัญข์่ิงพ่อะอสบนทใงทำ�้ำาหด ีก่ี่บคเนิ้เป้าอ่กัญแน็นใลเดิเชหพทะียพศน้เกี่งหกำ้�ชื ่อญจดิพ.ใิงพหอันุดชื้เธรกธพธ์ุ ิดาญันนพี ธญเืชขธุ์ ียาพญันหลันญวาธดราลธ์ุ าหัญยแาเลปญร็นะารกูปแหุ้งงลูพาะันรหกออยุ้งแู่ลยลกั หษะปณอกะูยงุ้ ปหปลาอู ยปลปา
ขอฝนขนตอ่ออทฝมกาำ นตนาใจขหเ่ออาทรอบ้มกียฝำาสสเง้ัานกใจชนง่ิมตนไหเ่นสา้ังนัยรฟ่อน�ำอ้บนูทวกียคนี้เกั้มนกห่า้งััญนำากยามลนไาตทใจกั้งนือคอ่ฟหเาี่กยาาูวนมรอ่ยน่อยบ้กคกากี่ยาใงเเหัันางรลนง้ัตนนกปยี้เกสัคบไกาากั้งับนน็ถฟิดิยงงยมคูภวือพวูงนสเกังาาง่่าภตืชหูปูเนชาถสลพปนาานร็นค็นนัคาิตงะามษอื สธตงดยยสคอุธ์ัตนภาิหูนาเัญมังถวตยเปศาา์ภศรผญสิตาคู่นักษาัาอืกน็ าิงษยดมอทหนาดงาุคา์ิสสาภศยูหคบ่ีิทศกา์ิสรถกั่อธคู่านรพักันิทแด์ิทนิตษอืลทสิ์าดดี่เปิธภะทปิอนาคร่บีกิ์สาธ็นพะยงุ้ศาิ์ลพเันนวิทจนคหู่นัตหักน้าาดาิธภอิศแทคาด้าำรคยาิ์หยพคสบี่ฝือิ์สล่งงัยนปตดผนพหัูเิทังรากินูปม์ทมผตดำา้แรลิธคภี่บืดอิลาฝือาู์ิกยท้อะาพงใลนนนนเยีเ่ตังหปบมก�้ำ่หูเนมผาก ิด็นบัม้ือาเ่้าำารคอูบกพอานดฝืองง้ัใยรจตหยไหาบุษ.นาเฟาังกะิดู่กมร้มลทงาาผยขูออับญม่ีือนดอา์ูกยนยจงบงซู่กใษุาษุมนตู่หกับบั้งยนลบึ่งยิดดจ์ับษุไ้มุราอินดุ์ีอฟยนบดแไซแย์ปยลสทุษาั้งู่ใึงขะดู่กนตไอลี่มอยงฝั�้บำฟว้ด นย์น่าบอซทมินูุ่ษใันทนั้งตึ่ี่งมเอ�ำยุษปไใอ้ดนันห็นย์จฟย ้ ์ินุษดเทู่ใปอไยตี่ม็ปนั์จ้ดนุดเินุษปไอ็ปยนัน
แกห้ือลกเแ่งลูกกหช้อื ำาลีวกเ่งนติ ูลแเกกมิดชหำาอ้ืนวีนเลแบกนติุษำ้า่งล้งั ูลมิดะไยกคฟชแนน์ดำามุ้กวีลคษุเล้ำา้วรนิตนาะยอยอคมิดงแเกด์แปุ้มนจนลม็น้วาน่คษุะงำ้ากยำ�้หู นคร ยรลน้ั อแุ้มือำ�์ดนน งลคคา้วาคและครยยอทมคองัง่บีสุ่้นมงเันงิชแสค้ำาดน่ ถาลมรคติลำามอุ้่นอนคยค้�ำง้ำารนู่ฝแลอนางคมอมำาแพามงค่นใภิ น่หลพ้ำาำ้�ม้เโหลอชขนรงำาุษง่อนือยคเนัม์ เเลอืปชคงอน็ บ่นุ้มสงาาคดยาครนเลชำ้�อุ้มทซ่นงคเ่ีง่ึกแอรอ้ื ยมคกอใู่ ลูตุ่้นมงชด้ แวีค้ำานิ ติ อโมรมนัขอน่นเงปษุ ง้ำาน็อยแโแด์ันขมหว้ ยลเง่นปง่ อก้ำา็นำ�ั โเนสขเดิปางนยอ็นำ้� นัสำ้าเปทย็น่ี ส้ำาาทย
3. นาคเป็นลัทธิศาสนา
จ.เปอน็ดุ รส(จงซธตัู.เาา้วปอนยศ์ น็ดุ ี)กั รส(ภดซธตั งจาสิ์าา้วูช.นทิยเศ์ ปนอี)ธกั น็ุดะข์ิภดท(ดรส(อซาสิ์�ำซธนิตั้งาชเทิาปา้เยบวนผนธย็)นศ์ระาข์ิี)รรกัดภมูปอพภดนิารีคงชาชสิ์ปูเบลชผนนทิ้อารนาะยคธวรดมงะนข์ิพยั ิูน ดรี อวด ชเปูนิ ะผงงกึนอูเเบาดผพคเวมรปาำานยัศีรร็นบมูปวคดพสรรีอะลกึชัตรปูเวา้ดพวพนัยอย์ศาำวคศใ์วงบักนะคนยัู เด(รไพลวดกิ์สรทะา้ศกึิลทพเยยคาดธพใ์ งลง์ิขนราำ ศู้า)อา(บไคยกงวภทรงบลราู ย2รา้ พ ช,รยง 5รพนใ์)งา0(นชะกูว0ภ(ไดนลกาท2ปคานิ ลช,งยนมีเ5า)นผด0างระาึกภแ)0าดมดลาวภปนิ�ำลีชว้ าบ2มีาเนชผม,รยาะ5รนาดใีแเ0พขนมะินล0์ใยีดลีภเว้นผปนานิาไามยรมีทชเมผใีปูเยานขีลนางแาะยีภมูรลยเ(นาคลีาขว้เวขรชารวียมปูยอื่นา2นใีงเง),ะข5นรูปเ(ท0ูปยีคภขน้ั0พังนรวาดู อื่รพปชา นิปูง)ีมน(ดี เปขงาทผะนิ วูแน้ัเ(พัาเาคลขผดว)พ้วรวานิฒั อื่ทาดี มเทนง)ัพผนิ ีใปาำธนทพาเเผน้ัรภวีปพดั ราฒัดาินน็พมชนิเทนรบนผดี เปูาำธาะผนิา้ เ รคนปาเรผลวเน็มชา้าฒั รบยยี ปูทนงา้งคาำธูนเลรเปชรา้ น็มยยี รบงง
เครอ่ื งปั้นดนิ เผาวัฒนธรรมบา้ นเชยี ง จ.อุดรธานี
38 พลงั ผ้หู ญิง แม ่ เมีย และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน
ลัทธิบูชานาคเป็นความเชื่อด้ังเดิมของกลุ่มชนที่อยู่บริเวณลุ่มแม่น�้าโขง ตั้งแต่ตอนใต้ของ
มณฑลยูนนานลงไปถงึ ทะเลสมทุ ร
นาคเป็นส่ิงนอกเหนือธรรมชาติ อาจบันดาลให้เกิดธรรมชาติ เช่น แม่น�้า หนอง บึงภูเขา
ฯลฯ และแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั
หลงั รบั ศาสนาพราหมณแ์ ละพทุ ธจากอนิ เดยี ลทั ธบิ ชู านาคกถ็ กู ปราบปราม จนตอ้ งยอมเปน็
ส่วนหน่ึงของศาสนาที่เข้ามาใหม่ ดังมีในต�านานอุรังคธาตุเรื่องพระพุทธเจ้าทรงทรมานนาค เรื่อง
พระอศิ วรและพระนารายณ์รบกบั พญานาค ฯลฯ
แต่ไม่ได้หมายความว่าระบบความเชื่อด้ังเดิมจะสลายตัวไป ในทางตรงข้ามกลับถูกผนวก
เข้ามาเป็นสว่ นหนึ่งของศาสนาใหมด่ ว้ ย ดังจะเหน็ วา่ บรรดานาคไดก้ ลายเปน็ ผ้พู ิทักษ์ศาสนา
(ซ้าย) บันไดนาคข้ึนมณฑปพระพุทธบาท จ.สระบุรี (ขวา) ช่อฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของนาค ประดับตาม
สถาปัตยกรรมในพทุ ธศาสนา เช่น ทอ่ี โุ บสถวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม กรงุ เทพฯ ฯลฯ
กษตั รยิ ์ หรอื เจา้ เมอื งองคใ์ ดยดึ มน่ั ในศาสนากม็ กั ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากนาคเชน่ กอ่ บา้ น
สรา้ งเมือง และบันดาลความม่ังคงั่ และมนั่ คง หรอื ความอดุ มสมบรู ณใ์ หบ้ า้ นเมืองนั้น แต่ถ้ากษตั รยิ ์
หรือไพรฟ่ ้าประชาชนไมย่ ดึ มนั่ ในศาสนา คอื ขาดศลี ธรรม นาคก็จะกลายเปน็ อา� นาจเหนือธรรมชาติ
ทีบ่ นั ดาลความวิบัตใิ ห้บ้านเมืองนนั้ ๆ ล่มจม เช่น เมอื งหนองหานหลวง เปน็ ต้น
นอกจากนั้นพุทธศาสนายอมให้มีพิธีท�าขวัญนาคตามความเช่ือเดิมในศาสนาผี
ศาสนาผจี งึ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ปฏปิ กั ษต์ อ่ ศาสนาพทุ ธ แตผ่ สมผสานกลมกลนื และอยรู่ ว่ มกนั ทสี่ า� คญั
ไดท้ งิ้ ร่อยรอยความสัมพันธท์ ี่หญิงเคยเป็นใหญเ่ หนอื ชายไวอ้ กี ด้วย
ผผี หู้ ญงิ : รฐั กบั การจดั การความเชอื่
รอ่ งรอยของศาสนาผี รอ่ งรอยอำ� นาจของผหู้ ญงิ
ศริ ิพจน์ เหล่ามานะเจริญ
นกั วิชาการอิสระ
พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตสถานฉบับออนไลน์ จำ� กดั ความค�ำว่า “ผี” ไว้ว่า
“น. ส่ิงท่ีมนุษย์เช่ือว่าเป็นสภาพลึกลับ มองไม่เห็นตัว แต่อาจจะปรากฏเหมือนมีตวั ตนได้
อาจใหค้ ณุ หรอื โทษได้ มที งั้ ดแี ละรา้ ย เชน่ ผปี ยู่ า่ ตายาย ผเี รอื น ผหี า่ เรยี กคนทตี่ ายไปแลว้
(โบ) เทวดา
(ปาก) โดยปริยายหมายความว่า เลว เชน่ คนผี
เรยี กบคุ คลทห่ี มกม่นุ ในการพนัน เชน่ ผกี ารพนันเขา้ สิง”
จะเหน็ ไดว้ า่ “ผ”ี มที งั้ ทดี่ ี และไมด่ ี และยงิ่ นา่ สนใจดว้ ยวา่ ในสมยั โบราณ (คำ� วา่ โบ ในวงเลบ็
หมายถึง ศพั ทโ์ บราณ) ค�ำว่า ผี หมายความถึง “เทวดา” กไ็ ด้
เกี่ยวกับเร่ืองน้ีปราชญ์ผู้เช่ียวชาญทางด้านวัฒนธรรมประเพณีชนิดหาตัวจับยากอย่าง
พระยาอนุมานราชธน ได้กล่าวไว้ในงานเขียนของท่านช่ือ “สารคดีและประเพณีน่ารู้เก่ียวกับ
เมืองสวรรคแ์ ละผสี างเทวดา” ทเี่ ขียนขึ้นในนามปากกา เสฐียรโกเศศ ดังมใี จความว่า (เสฐียรโกเศศ,
2503: 280-281)
“...ผีนั้นแบง่ อย่างใหญม่ ีสองพวกคอื ผดี ีและผรี า้ ย ผีดีนั้นตามปกตมิ ใี จเปน็ กลางๆ ไมใ่ ห้ดี
ให้รา้ ยแก่ใคร เวน้ ไวจ้ ะท�ำให้โกรธ ถา้ มคี วามกลวั เกรงแสดงความเคารพนบนอบ ขอความคมุ้ ครอง
หรือขออะไรจากท่าน ก็ถือกันว่าท่านก็ให้ ถ้าท�ำพิธีขอตามที่ก�ำหนดไว้และท�ำถูกตามต�ำราท่ีมีไว้
ถงึ ท่านไมอ่ ยากให้ตามท่ขี อ แต่ท่านกต็ ้องให้ ขดั ไม่ได้ ผดี ีนี้ แตเ่ ดมิ เราเรียกวา่ ผฟี ้า เพราะทา่ น
อยบู่ นฟา้ ภายหลงั เราเอาคำ� วา่ เทวดามาจากอนิ เดยี เรากใ็ ชค้ ำ� นแ้ี ทน...” (เนน้ ความโดยผเู้ ขยี น)
หากเชอ่ื ตามพระยาอนมุ านราชธน “ผดี ”ี หรอื “ผฟี า้ ” กค็ อื เทวดาในคตคิ วามเชอื่ หรอื ศาสนา
พื้นเมืองด้ังเดิมของไทย แต่ไทยท่ีว่าย่อมไม่ได้หมายถึงเฉพาะประเทศไทยเท่าน้ัน อย่างน้อยที่สุด
กลุ่มคนที่พูดภาษาตระกลู ไท (หรือจะออกเสียงวา่ ไต กไ็ ม่ผิด) กลุ่มอน่ื ๆ เชน่ ไทด�ำ ไทขาว ไทนุง
จว้ ง ฯลฯ ท่แี พร่กระจายตั้งแตท่ างตอนใต้ในเขตมณฑลกวางสี ของประเทศจนี ปัจจุบนั เรอ่ื ยมาจน
เขา้ สู่ทางตอนเหนอื ของประเทศเวียดนาม ประเทศลาว บางส่วนของประเทศพม่า โดยเฉพาะในเขต
รัฐฉาน และประเทศไทย ต่างก็ใช้ค�ำว่า “ผี” ในความหมายเดียวกับคนไทยในประเทศไทยด้วย
(Thomas John Hudak, 2008: 163)
40 พลังผ้หู ญิง แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน
คนกลมุ่ อน่ื ๆ ในภมู ิภาคอุษาคเนย์ท่ีไมไ่ ดพ้ ูดภาษาตระกลู ไท ก็ดจู ะมคี วามเชอ่ื เรอื่ ง “ผดี ี”
ไปในทำ� นองเดยี วกัน เชน่ ความเชื่อเรอ่ื ง “โขฺมจเมบา” และ “เนียะตา” ของกลมุ่ คนท่พี ูดภาษาเขมร
(ชาญชัย คงเพยี รธรรม, 2558: 51-64) หรอื ความเชอื่ เรอ่ื ง “ฮนั ตู” ในโลกของคนท่พี ดู ภาษตระกลู
มลายู (กัณหา แสงรายา, 2558: 130-133) เป็นตน้
แต่อันท่ีจริงแล้ว “ผี” ในภูมิภาคอุษาคเนย์ ท่ีอาจจะไม่ได้ “ดี” ตามความหมายอย่างท ี่
พระยาอนมุ านราชธนหมายถงึ (และออกจะดโู หดเหย้ี มสำ� หรบั โลกทศั นแ์ บบสมยั ใหมเ่ กนิ ไปดว้ ยซำ้� )
กม็ พี ลังอำ� นาจท่จี ะสามารถให้คณุ ให้โทษ ในลกั ษณะเดียวกบั “ผฟี า้ ” ได้ด้วยเชน่ กนั ตัวอย่างทีเ่ หน็
ไดช้ ดั คอื กรณขี องความเชอื่ เรอื่ งผที ตี่ ายรา้ ยอยา่ งผี “นตั ” (Nat) ซง่ึ มบี ทบาทอยา่ งมากในสงั คมพมา่
และถอื เป็นตัวอย่างทส่ี �ำคัญท่สี ุดตวั อยา่ งหนึ่งในกรณีน้ี
แน่นอนว่าในปัจจุบัน “ผี” ถูกลดสถานะให้กลายเป็นส่ิงศักด์ิสิทธ์ิชั้นรอง อย่างน้อยกไ็ ม่
ศกั ดส์ิ ทิ ธเ์ิ ทา่ พระพทุ ธเจา้ กบั สารพดั เทพเจา้ ในศาสนาฮนิ ดู หรอื พระอลั เลาะห์ กบั พระยะโฮวาห์ (ซ่ึงอันที่
จริงแล้วสององค์หลังน่ีก็คือองค์เดียวกัน แต่เรียกต่างกันไปตามแต่ศาสนาของตนเองจะเรียก) และ
ในหลายครงั้ กด็ จู ะเปน็ ปฏปิ กั ษก์ บั สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธใ์ิ นศาสนาสากลเหลา่ น้ี ซำ�้ ยงั เปน็ ปฏปิ กั ษท์ ม่ี ฐี านะเปน็
เพียง “ลูกไล่” เสียจนถ้าใครถูกผีเข้าหรือผีอ�ำ ก็สามารถแก้ไขหรือแม้กระท่ังก�ำราบได้ด้วยอ�ำนาจ
ของพระพทุ ธมนต์ ทงั้ ทแ่ี ตเ่ ดมิ ผกี บั พทุ ธนนั้ มาจากคนละจกั รวาลวทิ ยา (Cosmology) ไมไ่ ดเ้ กยี่ วขอ้ ง
กันเลยสักนดิ
สงิ่ ทนี่ า่ สนใจเปน็ อยา่ งยง่ิ กค็ อื ทำ� ไมผที มี่ อี ำ� นาจบรรดาศกั ด์ิ และสามารถใหค้ ณุ ใหโ้ ทษ
กบั คนไดม้ ากอ่ น จงึ กลายเปน็ เพยี งสง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธชิ์ น้ั รอง หรอื กระทงั่ ปฏปิ กั ษต์ อ่ ความศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ
ในพระศาสนาทีน่ ำ� เข้ามาจากภายนอกของภูมภิ าคอยา่ งท่ีเปน็ อยใู่ นปัจจุบันน?้ี
ศาสนาใหมก่ บั การจัดระเบียบผีในพกุ าม
“พุกาม” เป็นเมืองเก่าแก่ของชาวพม่า ที่มีหลักฐานมาตั้งแต่ช่วงราว พ.ศ. 650 มาแล้ว
แตค่ วามรงุ่ เรอื งของอาณาจกั รพกุ ามกเ็ พงิ่ จะเดน่ ชดั เมอ่ื พระเจา้ อโนรธา หรอื ทหี่ ลกั ฐานขา้ งไทยเรยี กวา่
พระเจา้ อนริ ุทธิ์ (ครองราชย์ระหวา่ ง พ.ศ. 1589-1620) มหาราชองคแ์ รกของชาวพมา่ ไดไ้ ปอญั เชญิ
พระพทุ ธศาสนาอยา่ งเถรวาท มาจากเมอื งมอญทางตอนใตข้ องพมา่ จนเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ใหอ้ าณาจกั รพกุ าม
กลายเปน็ ศนู ยก์ ลางของพทุ ธศาสนาทส่ี ำ� คญั แหง่ หนง่ึ ของพระพุทธศาสนาในโลกสมยั นัน้
แตก่ ารยอมรบั นบั ถอื ศาสนาใหมข่ องชาวพมา่ ในครง้ั นนั้ ใชว่ า่ จะเปน็ ไปดว้ ยความราบรน่ื เพราะ
นบั ต้งั แตก่ ่อนการสถาปนาอาณาจักรพุกาม ชาวพม่าต่างกน็ ับถือ “ผีนัต” มาตัง้ แตด่ ั้งเดิม
ผนี ตั คอื อำ� นาจเหนอื ธรรมชาติ เปน็ วญิ ญาณศกั ดส์ิ ทิ ธขิ์ องผตู้ ายรา้ ยหรอื พดู งา่ ยๆ วา่ “ตายโหง”
ตามความเขา้ ใจแบบปจั จบุ นั นตั จงึ เปน็ กง่ึ เทพกงึ่ ผี แตม่ ฐี านะสงู กวา่ ผที วั่ ไป การถอื ผนี ตั กเ็ ชน่ เดยี วกบั
พทุ ธศาสนา เปน็ ระบบความเชอื่ ทซ่ี บั ซอ้ น มพี ธิ กี รรมการปฏบิ ตั แิ ละการดแู ลตง้ั แตร่ ะดบั ของครวั เรอื น
ไปจนถงึ ที่สาธารณะ
ดงั นนั้ เมอื่ พระเจา้ อโนรธาไดน้ ำ� ศาสนาพทุ ธเขา้ มาประดษิ ฐานในอาณาจกั รพกุ าม ระบบความเชอื่
แบบใหมใ่ นพระพทุ ธศาสนาจงึ ตอ้ งปะทะเขา้ กบั ระบบความเชอ่ื แบบเกา่ คอื ระบบผนี ตั อยา่ งหลกี เลยี่ ง
ไม่ได้ โดยเฉพาะเมือ่ แต่ละทอ้ งถนิ่ ตา่ งกม็ นี ัตประจ�ำเป็นของตนเอง กย็ ิง่ ทำ� ให้เรื่องดยู ุ่งยากขนึ้
และวิธีจัดการกับปัญหาที่ดังกล่าว ท่ีพระเจ้าอโนรธาทรงเลือกท่ีจะกระท�ำก็คือ
“การจัดระเบยี บผีนตั ”
พลงั ผู้หญิง แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน 41
“เขาโปปา” ศนู ย์กลางการนับถอื ผนี ตั ของชาวพมา่ (ท่ีมา: www.wikipedia.com)
ตามตำ� นานเลา่ วา่ พระเจา้ อโนรธาทรงรวบรวมผนี ตั ในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ รวมทงั้ สน้ิ 32 ตน จากนนั้
จงึ ทรงแตง่ ตง้ั “ทา้ วสกั กะ” (Sakka) ขนึ้ เปน็ หวั หนา้ ของนตั ทง้ั 32 ตนนน้ั เรยี กไดว้ า่ เปน็ นตั ทงั้ (32+1
รวมเปน็ ) 33 ตนน้ี เปน็ “ผ”ี ท่ีไดก้ ารรบั รอง และสถาปนาข้นึ โดยรัฐ (ฉลาดชาย รมติ านนท,์ 2526:
11-12)
แตน่ ตั ท้ัง 33 ตนท่ีพระเจา้ อโนรธาสถาปนาข้นึ มาน้ี ก็อาจจะไม่ใชน่ ตั ตนเดียวหรอื กลุ่มเดียว
กบั ชาวพม่านบั ถือในปัจจบุ ัน เชน่ เดียวกันกบั ทีน่ ัตทงั้ 33 ตนนี้ กอ็ าจจะไม่ใช่ผีทช่ี าวพมา่ ในยคุ กอ่ น
พระเจา้ อโนรธานบั ถอื ดว้ ยเชน่ กนั เพราะอยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ หวั หนา้ คณะผนี ตั คือ “ท้าวสักกะ” ก็เป็น
สิ่งศักดส์ิ ทิ ธใ์ิ นศาสนาพทุ ธมากอ่ น
ตามขอ้ มลู ในวรรณคดีฝา่ ยพุทธศาสนาเถรวาท “ทา้ วสกั กะ” คือชอ่ื หนึง่ ของ “พระอนิ ทร”์
เทพเจ้าองคส์ �ำคญั ในพุทธศาสนา โดยนัยยะหนึง่ พระเจ้าอโนรธาจึงใชศ้ าสนาพุทธในการควบคุมผี
เพราะนอกจากพระองคจ์ ะทรงมอบหมายให้ ท้าวสกั กะเป็นหัวหนา้ ของคณะผนี ตั ทง้ั หลายแลว้ ยงั เชอื่
กนั ว่าจ�ำนวน 33 ตนนน้ั ก็ไดร้ ับอทิ ธิพลมาจากแนวคิดเรือ่ งภพภมู ิ หรือจักรวาลวิทยาจากอินเดีย
เพราะสวรรค์ของพระอินทร์ คือสวรรค์ช้ันที่เรียกว่า “ดาวดึงส์” นั้น เป็นท่ีประทับของพระอินทร ์
และเทพเจา้ อกี 32 พระองค์ รวมเป็น 33 นนั่ เอง
และกโ็ ดยนยั ยะหนงึ่ อกี เชน่ กนั การสถาปนานตั ทงั้ 33 ตน ของพระเจา้ อโนรธา จงึ เปรยี บได้
กบั การควบคมุ อำ� นาจของกลมุ่ เมอื ง หรอื สงั คมตา่ งๆ ทม่ี มี าแตเ่ ดมิ ผา่ นทางความเชอ่ื เพราะแตล่ ะทอ้ งถนิ่
ตา่ งกม็ นี ตั ประจำ� เปน็ ของตนเอง และแนน่ อนดว้ ยวา่ กระบวนการสถาปนาในครง้ั นนั้ ยอ่ มมที งั้ การคดั เลอื ก
ตดั ทอน หรอื แมก้ ระทงั่ สรา้ งนตั ขนึ้ มาใหม่ (ในทำ� นองเดยี วกบั ทท่ี า้ วสกั กะ ไมใ่ ชน่ ตั พน้ื เมอื งของพมา่
มาแตเ่ ดมิ )
โครงขา่ ยของนตั ทต่ี า่ งกท็ ำ� หนา้ ทเี่ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของอำ� นาจทถ่ี กู สถาปนาไวภ้ ายใต้ทา้ วสกั กะ
ทง้ั หลาย จงึ เปรยี บไดไ้ มต่ า่ งกบั ปรมิ ณฑลภายใตอ้ ำ� นาจเมอื งพกุ าม ทม่ี พี ระเจา้ อโนรธาเป็นผ้นู �ำ โดย
เฉพาะเมื่อค�ำนึงถึงความเช่ือในพุทธศาสนาท่ีว่า พระอินทร์หรือท้าวสักกะ คือราชาเหนือเทวดา
42 พลงั ผ้หู ญงิ แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน
ทงั้ ปวงแลว้ ปรมิ ณฑลของพระราชอำ� นาจในพระเจา้ อโนรธา กค็ งจะไมต่ า่ งไปจากอำ� นาจของทา้ วสกั กะ
ทมี่ ตี ่อผีนัตอีกทงั้ 32 ตนเท่าไรนกั
กษตั รยิ พ์ มา่ หลายพระองคท์ คี่ รองราชยต์ อ่ มาจากพระเจา้ อโนรธา นบั ตง้ั แตร่ าชวงศพ์ กุ ามเรอ่ื ยมา
จนถงึ ราชวงศค์ องบอง (ราชวงศค์ องบองมอี ำ� นาจอยรู่ ะหวา่ ง พ.ศ. 2295-2428) ตา่ งกท็ รงพยายามจำ� กดั
ขอบเขตของความเช่ือ ความศรัทธา และพิธกี รรมบูชานัต เพ่ือให้ประชาชนหนั ไปใหค้ วามสำ� คญั กบั
พทุ ธศาสนามากขนึ้ มาโดยตลอด (อา้ งถงึ ใน ลลติ า หาญวงษ,์ 2558: 113.)
จงึ ไมน่ า่ ประหลาดใจเทา่ ไหรน่ กั ทร่ี ายชอ่ื ของนตั ทถี่ กู สถาปนาจะไมต่ อ้ งตรงกนั ทกุ สมยั
(ฉลาดชาย รมติ านนท,์ 2526: 11-12) เพราะปรมิ ณฑลในเครอื ขา่ ยอำ� นาจสามารถปรบั เปลยี่ น
ไดต้ ลอดนน่ั เอง1
ปราสาทบายน: ศนู ยก์ ลางของแผนทีท่ างจติ วิญญาณ
เรือ่ งราวของการบริหารจัดการ “ผี” ในทำ� นองคลา้ ยๆ กันนไี้ มไ่ ด้ปรากฏอย่เู ฉพาะในพม่า
แต่พบอยู่ในวัฒนธรรมอ่ืนๆ ในภูมิภาคแห่งนี้ รวมท้ังในอารยธรรมขอมหรือเขมร ในสมัยโบราณ
ทีม่ กั จะสรา้ งปราสาทหินขนาดมหมึ าด้วย หนึง่ ในนัน้ คือ ปราสาทบายน
“ปราสาทบายน” สร้างข้ึนในช่วงระหว่าง พ.ศ. 1724-1763 อันเป็นช่วงเวลาที่พระเจ้า
ชยั วรมนั ที่ 7 แหง่ กมั พชู า ครองราชยอ์ ยทู่ ่ี “นครธม” ราชธานแี หง่ ใหมท่ พ่ี ระองคส์ ถาปนาขนึ้ ทบั อยบู่ น
ราชธานเี ดมิ ของพวกขอม หรอื เขมร ซง่ึ ถกู ทพั ของพระเจา้ ชยั อนิ ทรวรมนั ที่ 6 กษตั ริย์ของชาวจามปา
ท่ีอยู่ทางตอนกลางของเวียดนาม บุกเข้ายึดครองอยู่ 4 ปี ก่อนพระองค์จะกรีฑาทัพมาขับไล่ชาว
จามใหอ้ อกไป แลว้ ปราบดาภเิ ษกข้นึ เป็นพระมหากษตั ริย์ แห่งกมั พชู า เม่ือเรอื น พ.ศ. 1724
พระพักตร์ของสิง่ ศกั ดส์ิ ิทธทิ์ ง้ั หลายที่ยอดปราสาทบายน
(ที่มา: http://www.meros.org/en/wonder/view?id=368)
1ในท้ายที่สุดจ�ำนวนของนัตที่ได้รับการรับรองและสถาปนาโดยรัฐเพิ่มจาก 33 ตนในสมัยของพระเจ้าอโนรธา
มาเปน็ 37 ตนอยา่ งทน่ี ับถอื กนั ในปัจจุบัน ซง่ึ จำ� นวน 37 ตนน้ีกย็ ังสมั พันธ์กับการครอบง�ำโดยใช้คติของพุทธศาสนา
อยู่นั่นเอง ดังที่มีนักวิชาการพม่าอธิบายไว้ว่าจ�ำนวนเทวดา 33 องค์ บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์นั้น เม่ือบวกเข้ากับ
เทพประจ�ำทิศทงั้ 4 พระองค์กจ็ ะเท่ากับจำ� นวนของผนี ัตทพี่ ระองคส์ ถาปนาข้ึน 37 ตน พอดบิ พอดี (อา้ งใน ลลติ า
หาญวงษ์, 2558: 114-115)
พลังผ้หู ญิง แม่ เมยี และเทพสตรี: ความจรงิ และภาพแทน 43
นครธม หรอื ราชธานใี หมท่ พี่ ระองคส์ รา้ งขนึ้ ทบั ราชธานเี ดมิ นนั้ สรา้ งขน้ึ ในผงั รปู สเ่ี หลยี่ มจตรุ สั
มปี ราสาทบายน ตง้ั อยทู่ จี่ ดุ ศนู ยก์ ลางของเมอื ง จงึ เปรยี บไดก้ บั เปน็ ประธานของเมอื งแหง่ น้ี ลกั ษณะเดน่
ของปราสาทแหง่ นกี้ ค็ อื ยอดปราสาททงั้ หมดสลกั เปน็ รปู “พระพกั ตร”์ ของสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธท์ิ ง้ั หลายอยบู่ น
ทกุ ยอด และทกุ ดา้ นของปราสาท นบั รวมไดท้ ง้ั หมด 216 พระพกั ตร์
นับแต่อดีตมีข้อถกเถียงมากมายว่า พระพักตร์จ�ำนวนมากมายเหล่าน้ีหมายถึงอะไร? และ
เป็นของพระพกั ตรข์ องสิ่งศกั ดสิ์ ทิ ธพ์ิ ระองคใ์ ดแน่? (ดรู ายละเอยี ดใน Peter D. Sharrock, 2007:
230-281) อยา่ งไรก็ตาม พระพักตร์เหล่าน้ีย่อมไม่ใชข่ องสง่ิ ศักด์ิสิทธ์ิองคใ์ ดองคห์ นึง่ เพราะผลการ
สำ� รวจรปู แบบของพระพกั ตรเ์ หลา่ นพ้ี บวา่ มลี กั ษณะทแี่ ตกตา่ งจากกนั โดยเปน็ ทย่ี อมรบั กนั ในวงการ
เขมรศกึ ษา (Khmer study) ปจั จุบันว่า อาจจะจ�ำแนกกว้างๆ ไดเ้ ปน็ สามรปู แบบ ไดแ้ ก่ 1. เทพเจ้า
(Deva) 2. เทวดา (Devata) และ 3. อสูร (Asura, แนน่ อนวา่ อสรู ซงึ่ สามารถใหค้ ณุ ใหโ้ ทษได ้
กย็ อ่ มเปน็ สง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธส์ิ ำ� หรบั มนษุ ยด์ ว้ ย ไมต่ า่ งไปจากเทพเทวดาทง้ั หลาย) ดงั นน้ั พระพักตร์เหล่านี้
จงึ ควรท่ีจะไม่ได้หมายถึงสิ่งศกั ดิ์สทิ ธิอ์ งคใ์ ดองค์หนง่ึ
ที่น่าสนใจย่ิงกว่านั้นคือ ท่ีปราสาทแห่งนี้ได้มีการค้นพบตัวอักษรจารึกข้อความสั้นๆ
กระจดั กระจายอยู่ในบริเวณปราสาท จารึกเหล่านร้ี ะบุพระนามของสง่ิ ศักด์ิสิทธิต์ า่ งๆ จ�ำนวนนับรอ้ ย
พระนามขนึ้ มาโดดๆ โดยไมไ่ ดบ้ อกวา่ ระบขุ น้ึ มาท�ำไม? หรือเพอ่ื อะไรแน?่
ในบรรดาจารกึ เหล่าน้ี มจี �ำนวนมากเลยทีเดียวท่เี ปน็ พระนามของสง่ิ ศักด์ิสิทธจ์ิ ากสถานที่
ตา่ งๆ ท่อี ยใู่ นปริมณฑลอ�ำนาจของนครธม ตัวอย่างเช่น “กมรเตง ชคต วิมาย” หรือพระผ้เู ป็นเจา้
แห่งเมอื งพิมาย ในจารึกปราสาทบายน 25 (18) เป็นตน้ (Maxwell, 2007: 130)
แนน่ อนวา่ สงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธทิ์ ค่ี มุ้ ครองเมอื งพมิ าย และเมอื งอนื่ ๆ ทถ่ี กู เอย่ ถงึ ในจารกึ เหลา่ น้ี ยอ่ มเปน็
“ผเี จา้ ท”ี่ หรอื ทชี่ าวกมั พชู าเรยี กวา่ “เนยี ะตา” มากอ่ นทจี่ ะถกู จบั บวชเขา้ เปน็ สว่ นหนงึ่ ในศาสนาพุทธ
หรือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ภายหลังจากที่รัฐได้น�ำความเช่ือในศาสนาใหม่เหล่าน้ีเข้ามามีบทบาท
ในการปกครอง ไมต่ ่างอะไรกบั ผนี ัตทถ่ี กู พระเจา้ อโนรธา แหง่ พุกามจดั ระเบียบ
นกั วชิ าการชาวฝรง่ั เศส ผคู้ รำ�่ หวอดในวงการเขมรศกึ ษาอยา่ ง บรโู น ดาแชง (Bruno Dagen)
จงึ นยิ ามถงึ ปราสาทบายนในทำ� นองทวี่ า่ “เปน็ ศนู ยก์ ลางของแผนทที่ างจติ วญิ ญาณ ทถี่ กู ปกปอ้ งโดย
สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธท์ิ งั้ หลายในจกั รวรรดแิ หง่ น้ี ซง่ึ กม็ ที ง้ั เนยี ะตา และสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธทิ์ งั้ หลายตามคตจิ ากอนิ เดยี
ในจำ� นวนพอๆ กนั ” (อา้ งถงึ ใน Sharrock, 2007: 244)
ไม่แน่ว่าบางที “พระพักตร์” ท้ังหลายบนยอดปราสาทแห่งน้ีก็มีวิญญาณศักดิ์สิทธ์ิ หรือ
“ผเี จา้ ทเ่ี จา้ ทาง” ปะปนอยใู่ นจำ� นวนครง่ึ ตอ่ ครงึ่ ไมต่ า่ งอะไรกบั จารกึ ทร่ี ะบชุ อื่ พวกทา่ นไวใ้ นปราสาท
หลงั น?้ี
โองการแชง่ น้�ำกบั จกั รวาลวิทยาใหม่ของผี ทไ่ี ม่มีผูห้ ญงิ
หลักฐานข้างไทยเองก็มีการจัดระเบียบ “ผี” เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในจักรวาลวิทยาของ
ศาสนาใหม่จากชมพทู วีป ในทำ� นองทไ่ี ม่ต่างกันจากในพุกาม และกมั พชู าโบราณมากนกั
ในหนงั สอื โองการแชง่ นำ�้ พระพทั ธ2์ มกี ารกลา่ วอญั เชญิ “พยาน” มารว่ มในพธิ แี ชง่ นำ�้ พระพทั ธ์
หลงั จากอา้ งถงึ เหตกุ ารณส์ รา้ งโลก และสทิ ธธิ รรมในการปกครองมนษุ ยข์ องกษตั รยิ ์
โดยบรรดาสิ่งศักด์ิสิทธิ์ที่ได้รับการอัญเชิญล�ำดับมาตั้งแต่ อัญเชิญ “พระก�ำปู่เจ้า” มาเป็น
ล�ำดับแรก จากน้ันจงึ คอ่ ยอัญเชญิ “พระพทุ ธ, พระธรรม, พระสงฆ”์ ถดั มาเปน็ การอา้ งชอื่ เทพยดา
ท้ังหลายในโลก ตัง้ แต่พระพรหม ซ่ึงมคี วามหมายโดยนยั สอ่ื ถึงพรหมโลก และ “ฟา้ ชรแรง่ หกคลอง”
44 พลงั ผู้หญิง แม่ เมยี และเทพสตรี: ความจริง และภาพแทน
คอื ฉกามพจรภพทงั้ หก โดยเนน้ ถงึ เทพเจา้ ทส่ี ำ� คญั คอื “ฟา้ ฟดั พรใี จยงั ” คอื พระอนิ ทรผ์ คู้ รองดาวดงึ ส์
พิภพ และ “สี่ปวงผีหาว” ที่หมายถึงท้าวจตุโลกบาลทั้งส่ีแห่งสวรรค์ช้ันแรกคือจาตุมหาราชิกา
ออกมาเปน็ พิเศษ
จากนนั้ จึงมาถงึ ส่วนของเจ้า “ผา” ตา่ งๆ ก่อนที่จะอัญเชิญ “ยมราช” ผปู้ กครองนรกภมู ิ
แลว้ คอ่ ยเอ่ยเชญิ เทพ หรือ ส่งิ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ ท่ไี ม่ไดท้ ำ� หน้าท่ีในการสร้างจินตกรรมเก่ียวกบั ภมู ิศาสตร์
ของ “จกั รวาลวทิ ยา” แบบปรมั ปราคตทิ ส่ี มั พนั ธอ์ ยใู่ นอษุ าคเนยโ์ ดยตรง ไมว่ า่ จะเปน็ “ขนุ กลา้ แกลว้
ขี่ยูง” (พระขันธกมุ าร) “สบิ หน้าเจา้ อสูร” (ทศกัณฐ)์ “พระรามพระลักษณ์ชวกั อร” เป็นตน้
เห็นได้ชัดว่าในบรรดารายช่ือของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ถูกอัญเชิญมาเหล่านี้ มีการประสมประสาน
อำ� นาจเหนอื ธรรมชาตจิ ากความเชอ่ื หลายแหลง่ ปะปนกนั ทง้ั พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ในศาสนาพทุ ธ,
เทพพราหมณ์-ฮินด,ู “พระกำ� ปูเ่ จา้ ”3 รวมถึง “ผ”ี พน้ื เมอื งอนื่ ทง้ั ผีพราย ป่เู จ้าสมงิ พราย เป็นตน้
การยกชอ่ื “พระกำ� ปเู่ จา้ ” ขน้ึ ตน้ กอ่ นจะอาราธนาเชญิ “พระรตั นตรยั ” มาเปน็ พยานนนั้
อาจจะแปรง่ แปลกในส�ำนกึ ของคนยุคหลงั แต่กแ็ สดงใหเ้ ห็นถงึ เค้าความคิดเกา่ วา่ ประเพณี
แชง่ นำ้� เปน็ เรื่องในศาสนา “พ้นื เมอื ง” มาแตเ่ ดิม ไม่ใช่ “พราหมณ์” ย่งิ ไมใ่ ช่ “พุทธ” จงึ ตอ้ ง
ให้เกียรติ พระกำ� ปูเ่ จ้า คือ “ผปี ะก�ำ” ข้นึ เปน็ ประธานของพยานทง้ั หลายในพธิ ี
ดังน้ัน หากจะว่ากันตามหลักฐานแล้ว ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิในศาสนาพุทธ และพราหมณ์ต่างหาก
ที่ถกู เชญิ เขา้ มารว่ มพิธนี ีใ้ นภายหลงั หมายความวา่ “จกั รวาลวิทยา” หลายชดุ ก�ำลงั สวมทบั กนั อยู่
ทั้งจักรวาลวทิ ยาของพราหมณ์ ยุคปรุ าณะ (เชน่ พระพรหมมีองค์เดียว พระอนิ ทรไ์ มม่ บี ทบาทนกั )
จกั รวาลวทิ ยาของพทุ ธ (ทใี่ หค้ วามสำ� คญั กบั พระอนิ ทร์ และพรหมมหี ลายองค์ มพี รหมโลก 16 และอรปู
พรหม 4) และจักรวาลวิทยาแบบพ้ืนเมืองอุษาคเนย์ (ท่ีให้ความส�ำคัญกับ ผีบรรพบุรุษ และ
เจ้าป่าเจา้ เขาต่างๆ)
“โองการแช่งน�้ำพระพัทธ์” โดยเฉพาะส่วนการอัญเชิญพยาน ได้ท�ำการล�ำดับสิ่งศักด์ิสิทธิ์
จากจักรวาลวิทยาหลายๆ ชุดที่ว่าน้ันเข้าด้วยกันเสียใหม่ ในจักรวาลวิทยาชุดใหม่น้ี “พระพรหม”
ผูม้ ีสีพ่ กั ตรอ์ ยา่ งพราหมณ์ กป็ ระทบั อยใู่ น “พรหมโลก” ของฝา่ ยพทุ ธ ทีพ่ ระพรหมมพี ระพักตร์เดยี ว
เช่นเดียวกับ “ปู่สมิงพราย” ของอุษาคเนย์ที่ก้าวล่วงเข้าไปในโลกแห่งปรัมปราคติชุดใหม่ที่ท่าน
ไมเ่ คยพบเหน็ โลกของปสู่ มงิ พรายเคยอยู่ มถี ำ�้ มผี า มนี ำ�้ ไมต่ า่ งจากผพี ราย หรอื ผชี รมนื่ ดำ� แตไ่ มม่ ี
เขาพระสุเมรุ ไมม่ พี รหมโลก และหากจะกล่าวให้ถงึ ทสี่ ุดแลว้ คอื ไม่มแี มแ้ ตส่ วรรค์ หรอื เทวดาต่างๆ
ที่ถกู อญั เชิญเขา้ มาเป็นพยานรว่ มกับท่านเสียดว้ ยซ�้ำ
ควรสงั เกตดว้ ยวา่ หนงั สอื แชง่ นำ�้ ฯ เปน็ โองการทใ่ี ชใ้ นพธิ ถี อื นำ�้ พระพทั ธ์ คอื การถวายคำ� สตั ย์
สาบานต่อกษตั รยิ ์ ท่ตี ามขอ้ สนั นิษฐานของปราชญ์อย่าง จติ ร ภูมิศกั ด์ิ เช่ือว่าเขยี นข้ึนในชว่ งปลาย
พุทธศตวรรษท่ี 19 แต่เขียนขึ้นก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาโดยพระรามาธิบดีท่ี 1 เมื่อเรือน
พ.ศ. 1893 (จติ ร ภูมศิ กั ด์,ิ 2547: 9-29) ซึง่ เปน็ ที่รู้กนั ดีในหมผู่ สู้ นใจประวตั ศิ าสตรว์ า่ ราชสำ� นกั
2ปราชญ์คนส�ำคัญอีกท่านหน่ึงของประเทศไทยคือ จิตร ภูมิศักด์ิ ได้เคยอธิบายเอาไว้ว่า ค�ำว่า “พิธีถือน�้ำ
พระพพิ ัฒน”์ หรอื “โองการแช่งน้ำ� พระพพิ ัฒน์สัตยา” เป็นคำ� ในยคุ หลังทใี่ ช้ผดิ ท่ีจริงควรใช้ว่า “พิธีถอื น�ำ้ พระพทั ธ์”
หรือ “โองการแชง่ น้ำ� พระพทั ธ”์ จึงจะถกู ตอ้ ง เพราะคำ� ว่า “พทั ธ” เป็นภาษาสันสกฤตแปลวา่ “ผกู มัด” ในจารกึ เขมร
สมัยโบราณหลักหนึ่ง ท่ีเช่ือกันว่าเป็นต้นเค้าของพิธีถือน�้ำพระพัทธ์ มีระบุค�ำว่า “วฺระ วทฺธปฺรติชฺญา” (พระพัทธ
ประติชญา) คือมีค�ำว่า “พระพัทธ์” อยู่ก่อนแล้ว ส่วนค�ำว่า “ประติชญา”ที่ต่อท้ายแปลว่า “สาบาน” ส่วนค�ำว่า
“พพิ ฒั น์” ทมี่ กั ใช้กนั แปลวา่ “เจริญงอกงาม”ซง่ึ ดูจะไม่เกย่ี วกบั พิธีแชง่ นำ้� ฯ นกั (ดใู น จติ ร ภมู ิศกั ด์ิ, 2547: 4-6)
พลงั ผ้หู ญงิ แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน 45
อยธุ ยาในระยะตน้ และรวมถงึ ยคุ กอ่ นหนา้ จะสถาปนากรงุ ฯ ขนึ้ ประกอบไปดว้ ยอำ� นาจสองกระแสหลกั
คอื สายสุพรรณภูมิ และสายอู่ทอง
ลกั ษณะอยา่ งนย้ี อ่ มทำ� การปะทะสงั สรรคท์ างวฒั นธรรม และยอ่ มหมายถงึ การปะทะกนั ระหวา่ ง
จักรวาลวทิ ยาสองชุดท่อี าจจะมีบางส่วนเหมือนกัน บางสว่ นคลา้ ยกนั หรอื บางส่วนตา่ งกนั แตไ่ มไ่ ด้
เข้าใจตรงกนั ไปเสยี ท้งั หมด
หลักฐานทางโบราณคดียืนยันว่า สายสุพรรณภูมิ มีศูนย์กลางอ�ำนาจอยู่ที่สุพรรณบุร ี
ท่ีต่อเน่ืองศูนย์กลางอ�ำนาจเดิมบริเวณลุ่มน�้ำจรเข้สามพัน ตรงกับ เมืองโบราณอู่ทอง อ.อู่ทอง
จ.สพุ รรณบรุ ี ในปจั จบุ ัน วงศว์ านวา่ นเครอื ของอำ� นาจในกลมุ่ น้สี ัมพนั ธก์ ับกลมุ่ คนพดู ภาษาไท-ลาว
ทม่ี คี วามเชอ่ื เรอ่ื งผบี รรพบรุ ษุ มากอ่ นทจ่ี ะยอมรบั นบั ถอื ในศาสนาพทุ ธเถรวาท ในขณะทสี่ ายอู่ทอง
มีศูนย์กลางอยู่ท่ีละโว้ คือลพบุรี มีความสัมพันธ์แนบชิดกับขอมในเมืองพระนคร-พระนครหลวง
ทน่ี บั ถือศาสนาพราหมณแ์ ละพทุ ธศาสนาแบบมหายาน
การ “กลา่ วแชง่ ผ”ี นนั้ แคร่ วบรวมเอา “ผ”ี จากจกั รวาลวทิ ยาทกุ ระบบเทา่ ทรี่ จู้ กั กนั
มารวบรวมไว้จึงยังไม่พอ เพราะต้อง “หลอมรวม” และ “ปรับแต่ง” ให้ผีท้ังหลายอยู่ร่วม
ในจกั รวาลวิทยาเดียวกนั เพือ่ รองรับสทิ ธธิ รรมของ “กษัตริย”์ พระองคท์ ีป่ ระกอบพิธีถือนำ�้
พระพัทธ์ด้วย จึงจะขลังศักดิ์สิทธิ์ และได้รับการยอมรับจากทุกฝ่ายภายในอาณาจักรของ
พระองค์
ลักษณะเช่นน้ีย่อมเป็นค�ำตอบของเร่ืองราวท�ำนองเดียวกันในพุกาม ท่ีผีพื้นเมืองอยา่ งพวก
นตั ตอ้ งตกอยใู่ ตอ้ ำ� นาจของทา้ วสกั กะ ดว้ ยรม่ พระบารมขี องพระเจา้ อโนรธา เชน่ เดยี วกบั บรรดาผีเจ้าท ี่
และผีบรรพบุรุษทั้งหลาย ท่ีถูกแปลงช่ือให้เป็นตามอย่างขนบอินเดีย แล้วอัญเชิญมารวบรวมไว้
ทป่ี ราสาทบายน ศูนย์กลางพระนครธมของพระเจ้าชยั วรมนั ท่ี 7
ในทางกลับกันการที่พระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 สร้างปราสาทบายนข้ึนที่ศูนย์กลางของพระนคร
ธม พระราชธานที ่ีพระองคส์ ถาปนาข้นึ ใหม่ แลว้ มีจารกึ เอย่ ถงึ พระนามของสงิ่ ศักด์สิ ทิ ธิ์ โดยเฉพาะ
พระนามของสิง่ ศักดสิ์ ิทธิป์ ระเภท “เจ้าท่ี” อยา่ งเจ้าท่จี ากพมิ าย ฯลฯ เรียกไดว้ า่ ปริมณฑลอ�ำนาจ
ในทางโลกของกษัตริย์ ผูกพันอยู่กับปริมณฑลอ�ำนาจของสิ่งศักด์ิสิทธ์ิในจักรวาลวิทยาเชิงอุดมคติ
อย่างแยกกันไมข่ าดเลยสกั นดิ
การจัดระเบียบผีในโองการแช่งน�้ำฯจึงไม่ต่างไปจากการสถาปนาผีนัตของพระเจ้าอโนรธา
และการชุมนุมส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท่ีปราสาทบายนของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เพราะย่อมมีทั้งการคัดเลือก
ตดั ทอน หรือแม้กระทั่งการสร้างผีขึ้นมาใหม่ เพ่ือสร้างแบบแผนโครงข่ายของอ�ำนาจในเชิงอุดมคติ
ซง่ึ ทจ่ี ริงแล้วกค็ อื แบบจำ� ลองของโครงข่ายปรมิ ณฑลอำ� นาจของผู้จดั ระเบยี บผดี ังกลา่ ว
แตส่ ่งิ ที่ในโองการแชง่ น�้ำฯ ซง่ึ มอี ายุออ่ นที่สดุ แตกตา่ งไปจากการจดั ระเบยี บผนี ัตในพุกาม
และการชมุ นมุ สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธท์ิ ปี่ ราสาทบายนของขอมกค็ อื การทไ่ี มม่ ชี อ่ื “ผผี หู้ ญงิ ” อยใู่ นโองการแชง่ นำ�้ ฯ
ในขณะทร่ี ายชอ่ื ผนี ตั ในพกุ าม และสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธทิ์ งั้ หลายทป่ี ราสาทบายนนนั้ มผี หู้ ญงิ รวมอยดู่ ว้ ย
นา่ สนใจวา่ อะไรทท่ี ำ� ให้ “ผหู้ ญงิ ” โดยเฉพาะ “ผผี หู้ ญงิ ” ถกู เลอื นออกไปจากปรมิ ณฑล
ของอ�ำนาจ?
3ขอ้ ความในจารึกฐานพระอิศวรสำ� รดิ จากกำ� แพงเพชรบอกใหท้ ราบวา่ อยธุ ยาในยคุ ถดั จากสมัยท่ีเขยี นหนงั สือ
แช่งนำ้� ฯ ไม่นานนกั กลา่ วถึงศาสนาพระเทวกรรม คือศาสนาทนี่ ับถือพระเทวกรรม หรอื พระก�ำป่เู จา้ เป็นใหญ่ โดยถือ
เป็นศาสนาสำ� คัญคกู่ บั ศาสนาพทุ ธและพราหมณ์ (ดูรายละเอียดเพ่ิมเตมิ ในศริ พิ จน์ เหล่ามานะเจริญ, 2551: 34-39)
46 พลงั ผูห้ ญิง แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจรงิ และภาพแทน
ศาสนาผีในอุษาคเนย์ เดมิ มี “ผู้หญิง” เปน็ ใหญ่?: ตัวอยา่ งจากพมา่
นยิ ามของคำ� วา่ ศาสนา ในยคุ สมยั ใหม่ (modernity) ทำ� ใหใ้ นปจั จบุ นั ชาวพมา่ ถอื วา่ “ผนี ตั ”
ไม่ใช่ “ศาสนา” แนน่ อนว่าเปน็ เพราะระบบความเชื่อเร่ืองผีนัต ไมม่ ีทง้ั ศาสดา หรอื นกั บวชทแี่ นน่ อน
คมั ภรี ท์ เี่ ปรยี บไดก้ บั ไบเบลิ ของผนู้ บั ถอื ผนี ตั หรอื แมก้ ระทง่ั สาวกทปี่ ระกาศตนชัดเจนว่า ไม่นับถือ
ส่ิงศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ในศาสนาอ่นื ควบคไู่ ปพรอ้ มกนั ดว้ ยซ้ำ�
แต่ในความเป็นจริงผีนัต ก็นับเป็นระบบความเชื่อหนึ่งที่ซับซ้อน มีพิธีกรรมการปฏิบัต ิ
และการดูแลต้ังแต่ระดับของครัวเรือนไปจนถึงที่สาธารณะ ของชาวพม่า เช่นเดียวกับศาสนาพุทธ
ซำ�้ ยงั มรี อ่ งรอยความขดั แยง้ กนั ระหวา่ งทงั้ สองความเชอื่ นี้ เพราะในขณะทพี่ ทุ ธศาสนายอมรบั การมอี ยู่
ของภูติผีปีศาจ ดังจะเห็นไดจ้ ากเร่อื งเล่าในทำ� นองทีเ่ ปน็ นทิ านชาดก หรือพทุ ธประวตั ิจ�ำนวนมาก
ดงั นน้ั จงึ สามารถพบรปู เคารพของผนี ตั ตนตา่ งๆ อยใู่ นวดั หรอื สถานทศ่ี กั ดส์ิ ทิ ธข์ิ องพระพทุ ธ
ศาสนาในพม่าได้เป็นเร่ืองปกติ ท้ังๆ ที่ในขณะเดียวกันก็มีหลักฐานถึงการปฏิเสธอ�ำนาจของผีนัต
จากผู้ทน่ี บั ถือพระพทุ ธศาสนาในดินแดนแห่งนนั้ ด้วย
ผ้หู ญงิ กับการปรนนิบตั ิผนี ัต ท่ีศาสนสถานเล็กๆ แห่งหนึ่งในเมืองพกุ าม
(ที่มา: https://www.pinterest.com/pin/499758889870686787/)
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2504-2505 นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกันท่านหน่ึงคือ เมล์ฟอร์ด
สไปโร (Melford Spiro, พ.ศ. 2463-2558) ไดท้ �ำการวจิ ัยความเชื่อเร่อื งเก่ียวกบั “ผีนัต” โดยมี
พน้ื ทสี่ ำ� รวจเปน็ ชมุ ชนชนบททห่ี า่ งออกไปทางตอนเหนอื ราว 10 ไมล์ จากเมอื งมณั ฑะเลย์ ประเทศพมา่
(อ้างใน ปรานี วงษ์เทศ, 2549: 108-111)
ผลจากการส�ำรวจภาคสนามของสไปโรในคร้ังนั้น พบส่ิงที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่งว่าในชุมชน
แหง่ นนั้ มี “ผชู้ าย” เกอื บครงึ่ หนงึ่ ทไี่ มเ่ ชอื่ ใน “ผนี ตั ” ในขณะที่ “ผหู้ ญงิ ” ทง้ั ชมุ ชนเชอื่ อยา่ งเอาเปน็ เอาตาย
พลังผู้หญงิ แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจริง และภาพแทน 47
ทั้งชายและหญิงต่างก็ยอมรับว่า ผู้หญิงจะเกี่ยวข้องกับการนับถือผีนัตมากกว่า กลัวมากกว่า และ
ประกอบพธิ ีกรรมมากกว่าผชู้ าย
ผู้หญงิ มักจะเปน็ ผดู้ แู ลผนี ตั ประจำ� หมบู่ า้ น และมีผู้หญิงท้งั หมบู่ ้านมารว่ มประกอบพธิ กี รรม
คนทรงกเ็ ปน็ ผหู้ ญงิ เกอื บทงั้ หมด ผหู้ ญงิ มกั มาบนบานตอ่ ผนี ตั ในขณะทผ่ี ชู้ ายมกั จะไมเ่ ชอ่ื ในพธิ ฉี ลอง
ผนี ัตทกุ บา้ นจะเอาของมาถวายหรือเซ่นผีนตั ทัง้ ทส่ี ืบสายมาทางแมแ่ ละทางพ่อ แตถ่ า้ หากพ่อแม่ถอื
ผีนัตคนละตนกันก็มักจะเลอื กสืบสายทางแม่มากกวา่
ผู้หญิงมีหน้าที่ต้องจัดหาอาหารมาถวายผี ส่วนผู้ชายจะเก่ียวข้องกับศาสนาพุทธเต็มตัว
อย่างเห็นได้ชัด แถมมักจะเลิกนับถือผีนัตไปเลยกันอยู่บ่อยๆ ลักษณะอย่างนี้ของชุมชนดังกล่าว
ยงั สามารถเปน็ ภาพแสดงแทนของชมุ ชนชาวพมา่ ไดเ้ กอื บทง้ั ประเทศ เพราะชมุ ชนไหนๆ ในประเทศพมา่
ก็มกั จะเป็นอยา่ งนีน้ ่นั เอง
สำ� หรับกรณีของพมา่ แลว้ “ผนี ัต” จงึ คล้ายกับเป็นศาสนาของ “ผหู้ ญงิ ” ในขณะที่
“พทุ ธ” เปน็ ศาสนาของ “ผชู้ าย” พทุ ธศาสนาถกู มองวา่ มอี ำ� นาจเหนอื กวา่ พระสงฆ์ (ซงึ่ เปน็
ผชู้ ายแน)่ ไดร้ บั การเคารพยกยอ่ ง ในทางตรงกันข้าม คนทรง (ซงึ่ มกั จะเป็นผหู้ ญงิ ) จะถูก
ดถู กู วพิ ากษว์ ิจารณอ์ ยู่เสมอ
“นางนาค” กับเสอ้ื ผา้ จากพราหมณ์ผมู้ าจากแดนไกล
ลกั ษณะการทศี่ าสนา “ผ”ี เกย่ี วขอ้ งกบั “ผหู้ ญงิ ” มากกวา่ ผชู้ าย คงจะไมไ่ ดเ้ พง่ิ ปรากฏขึ้น
หลงั จากทศี่ าสนาใหมจ่ ากชมพทู วปี ไดแ้ พรห่ ลายเขา้ มาในอษุ าคเนยแ์ ลว้ เทา่ นน้ั หากแตเ่ ปน็ มาตงั้ แต่
ด้ังเดิม นิทานการก�ำเนิดของรัฐที่เก่าแก่ที่สุดในอุษาคเนย์แห่งหนึ่ง ซ่ึงนับเป็นต้นกระแสธารของ
อารยธรรมขอมโบราณคือ “ฝหู นาน” (หรอื ทใ่ี นเอกสารไทยเก่าๆ มักเรียกว่า “ฟนู นั ”) เป็นตัวอยา่ ง
ของร่องรอยที่สำ� คญั ประการหนึง่ ในกรณนี ้ี
เอกสารของราชฑตู จนี ทช่ี อื่ วา่ คงั ไถ และจยู งิ ในยคุ สามกก๊ มเี นอื้ ความบางสว่ นระบถุ งึ นทิ าน
การกำ� เนดิ “ฝหู นาน” รฐั เรมิ่ แรกของอษุ าคเนยเ์ อาไวว้ า่ “ฮวนเตยี น” (ซง่ึ เปน็ คำ� ทบั ศพั ทข์ องคำ� วา่
“โกณฑณิ ยะ” ในภาษาสนั สกฤต) จากชมพทู วปี เดนิ ทางขา้ มสมทุ รแลว้ ปราบปรามชนเผ่าพื้นเมืองที่มี
หวั หน้าเป็นผหู้ ญงิ เอกสารจนี เรยี ก “หลิวเย”่ แปลว่านางใบมะพรา้ ว (ทจ่ี รงิ ควรแปลว่า ใบหลิว?)
หมายความว่า ไม่นุ่งผ้า แต่เอาใบมะพร้าวมาห่อหุ้มร่างกายเท่าน้ัน ผลจากชัยชนะในคร้ังน้ัน
ทำ� ให้โกณฑณิ ยะไดเ้ สดจ็ ขึ้นครองราชยเ์ ปน็ ปฐมกษัตริย์ของฝหู นาน (อ้างใน ม.จ. สภุ ทั รดิศ ดิศกลุ ,
2535: 12)
ปราชญห์ ลายทา่ นไดล้ งความเหน็ วา่ นทิ านเรอ่ื งนจ้ี ะเปน็ เรอ่ื งทด่ี ดั แปลงมาจากนทิ านการกำ� เนดิ
ราชวงศป์ ลั ลวะ ทปี่ รากฏอยใู่ นศลิ าจารกึ ของเมอื งกาญจปี รุ มั ทางตอนใตข้ องประเทศอนิ เดยี และมเี รอื่ ง
ที่คล้ายคลึงกันจารึกไว้อยู่ในศิลาจารึกภาษาสันสกฤตของอาณาจักรจามปา ที่ตั้งอยู่ทางตอนกลาง
ของประเทศเวียดนามด้วย ดังความท่ีวา่ พรามหณ์โกณฑิณยะไดซ้ ดั หอกวเิ ศษ ไปเพื่อสร้างราชธานี
ต่อจากนัน้ จึงได้เสกสมรสกับ “ธิดาพญานาค” ท่ีชอื่ ว่า “โสมา” และไดส้ บื ลูกหลานเป็นเชื้อพระวงศ์
ตอ่ มา (อา้ งใน ม.จ.สภุ ัทรดิศ ดศิ กุล, 2535: 12)
48 พลังผู้หญงิ แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจริง และภาพแทน
โกณฑณิ ยะ รบกบั นางหลวิ เย่ (นางนาคโสมา)? ภาพสลักท่ปี ราสาทนครวดั
ดูข้อสนั นษิ ฐานเก่ียวกับเรือ่ งน้ไี ด้ใน (Vittorio Roveda, 1997: 125.)
(ท่มี า: http://www.angkorguide.net/mythology/naga/naga.html)
ดงั นนั้ “นางหลวิ เย”่ กค็ อื “นางโสมา” หรอื “นางนาค” เพราะหมายถงึ “นางเปลอื ย” นางแกผ้ า้
ตามทศั นะของคนนอก คอื พวกพราหมณจ์ ากชมพทู วปี คำ� วา่ “นาค” อยใู่ นภาษาตระกลู อนิ โด-ยโุ รป
มรี ากเดมิ มาจากคำ� วา่ “นอค” (Nog) แปลวา่ “เปลอื ย”, “แกผ้ า้ ” ภาษาองั กฤษรบั มาใชก้ ลายเปน็ คำ� วา่
Naked ทแ่ี ปลวา่ เปลือยเหมอื นกนั (สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ, 2554: 20-22)
นาค จงึ ไมใ่ ชท่ งั้ คำ� ไทย-ลาว และไมใ่ ชค่ ำ� มอญ-เขมร แตท่ งั้ ตระกลู ไทย-ลาว กบั มอญ-เขมร
รับมาใชใ้ นความหมายว่า “ง”ู เพราะงูเป็นสตั ว์เปลือยไมม่ ีขนปกปิด แล้วสร้างจนิ ตนาการเพิม่ เติม
ตอ่ มาว่า หัวหน้างูท้งั หลายคอื พญานาค มีถิน่ ทอ่ี ยใู่ ตด้ ินเรียกวา่ บาดาล
เมอ่ื “นาค” มาจาก “นอค” หมายถึงเปลือย หรือแกผ้ ้า ปราชญ์หรอื นักวชิ าการหลายท่าน
จึงอา้ งวา่ ค�ำวา่ นาค เปน็ คำ� ของพวกมวี ัฒนธรรมสงู กว่าที่ร้จู ักทอผ้านุง่ ห่มแลว้ ใชเ้ รยี กผมู้ วี ฒั นธรรม
ตำ่� กวา่ คอื ยงั ไมร่ จู้ กั ทอผา้ นงุ่ หม่ ยงั เปน็ “คนเปลอื ย” หรอื คนแกผ้ า้ อยา่ งดกี ็เอาใบไม้มามัดผูกเป็น
เครื่องนุง่ ห่ม
คำ� วา่ “เปลือย” นีน้ า่ สนใจ เพราะวฒั นธรรมต่างๆ ในอุษาคเนยร์ ูจ้ กั การใชผ้ ้าผ่อน มาแต่
สมยั กอ่ นรจู้ กั กบั อนิ เดยี แน่ ซง่ึ กม็ กี ารใชผ้ า้ หลายชนดิ มที ง้ั ทผ่ี ลติ เอง และนำ� เขา้ จากภายนอกภมู ภิ าค
แน่นอนว่าการแต่งกายในวัฒนธรรมอุษาคเนย์ ก็มีที่แต่งอย่างที่เรียกว่า “เต่ียวผืนเดียว
เกี่ยวพันกายา” แต่วัฒนธรรมอ่ืนๆ แม้แต่ในอินเดียเองก็มีเหมือนกัน ซ้�ำยังมีอย่างที่ไม่นุ่งผ้าเลย
เสยี ดว้ ยซำ้� ไป ยง่ิ การแตง่ กายอยา่ งเตม็ ยศกใ็ ชว่ า่ จะกระทำ� อยเู่ สมอ เพราะในทกุ วฒั นธรรม “การแตง่ กาย
อย่างเตม็ ยศ” จะกระท�ำเฉพาะเมื่อประกอบใน “พิธกี รรม” ทสี่ �ำคญั เทา่ นนั้
พลงั ผู้หญิง แม่ เมีย และเทพสตร:ี ความจริง และภาพแทน 49
“เปลือย” ในทนี่ ี้คือจึงหมายถงึ การดูถูกว่าอีกฝ่ายมวี ัฒนธรรมท่ีต่ำ� กว่า ดงั น้ัน “นาค” คือ
คนพ้ืนเมืองจึงไม่ได้เปลือยตนเอง แต่ถูกคนนอกจากชมพทู วปี ทน่ี ับถือศาสนาพทุ ธ หรือพราหมณ์
ฮินดู จับเปลอื ยเปลา่ ทางวฒั นธรรม โดยอ้างวา่ ฝา่ ยตนมีวัฒนธรรมท่ีสงู กว่าตา่ งหาก
ควรสังเกตด้วยว่า นางนาค เป็นผู้น�ำของชุมชน และก็เป็นคนแรกที่พราหมณ์
น�ำเส้ือผ้าคือ “วัฒนธรรม” มาสวมใส่ให้ ซ่ึงต่อมาก็ท�ำให้เกิดรัฐฝูหนาน และมีการสร้าง
ส่ิงก่อสร้างขนาดใหญ่ ตามความเช่ือในวัฒนธรรมอินเดีย รวมถึงมีพิธีที่โอ่อ่าในราชส�ำนัก
ตามมาด้วย
บวชนาค เปน็ ร่องรอยของศาสนาผี ท่มี ี “ผหู้ ญงิ ” เป็นใหญ่?
“นาค” ยงั เป็นค�ำใชเ้ รยี ก “คน” ผชู้ ายที่จะขออุปสมบท คอื บวชเปน็ พระภกิ ษุ คนไทยนยิ ม
บวชกันในช่วงเข้าพรรษา ก่อนบวชพระต้องนุ่งขาวห่มขาว ถือศีล เรียกว่า นาค ถือเป็นประเพณี
โบราณนานมาแล้ว ไม่เรยี กพธิ ีอุปสมบทวา่ บวช “คน” ให้เป็น “พระ” แตเ่ รยี กบวช “นาค” ใหเ้ ป็น
“พระ” เพราะเล่าต่อๆ กันมาโดยไม่รู้ว่าใครเป็นคนเริ่มเล่าว่า มีนาคแอบมาบวชเป็นพระ แล้ว
พระพทุ ธเจา้ จับได้จึงให้สกึ และด้วยน�้ำพระทยั อนั เมตตาของพระพุทธองค์ จงึ ไดม้ พี ระพุทธบญั ญัติ
ให้เรียกคนท่เี ตรยี มจะบวชเป็นพระวา่ นาค เพอื่ ร�ำลึกถงึ นาค ตามค�ำที่นาคตนนั้นขอร้อง
แต่ถึงแม้ว่าเรื่อง “นาค” ปลอมเป็น “มนุษย์” มาบวชเป็นมนุษย์แล้วถูกจับได้น้ัน มีใน
พระวนิ ัยปฎิ ก มหาวรรค ภาค 1 ซ่ึงเปน็ ส่วนหนงึ่ ในพระไตรปิฎก แตข่ อ้ ความในพระไตรปฎิ กจบลง
ท่ีพระพุทธเจ้าทรงตัดสินให้ “สึก” เพียงเท่าน้ัน ไม่ได้มีการให้ “บวชนาค” เพ่ือเป็นการระลึกถึง
อย่างที่เราเขา้ ใจ พิธีบวชนาคจงึ เปน็ เรือ่ งพนื้ เมืองของเรานเ่ี อง ไม่มใี นอินเดีย
ในพระวินยั ของพระพุทธเจา้ จงึ ไมม่ ีเรือ่ ง “บวชนาค” เพราะมีแต่ “สึกนาค” ต่างหาก
พิธีบวชนาคจึงไม่มีในชมพูทวีปคือ ไม่มีร่องรอยในอินเดียสมัยโบราณ แต่เป็นประเพณ ี
พ้ืนเมอื งของสุวรรณภูมิ ในความหมายของอุษาคเนย์ภาคพ้ืนแผ่นดินใหญ่ โดยเฉพาะบริเวณท่ีเป็น
ประเทศพมา่ เขมร ลาว และไทยในปัจจุบนั
ทลี่ งั กากม็ ีการบวชนาค แต่ชาวลงั กาเพิง่ จะเกิดขึ้นใหมโ่ ดยรบั ไปมาจากกรงุ ศรีอยุธยา เมอ่ื
คราวพระอบุ าลี จากวดั ธรรมาราม อยธุ ยา รบั นมิ นตไ์ ปประดษิ ฐานพระพทุ ธศาสนาอยา่ ง “สยามวงศ”์
ทลี่ งั กาทวีปเมอื่ พ.ศ. 2295
เรอื่ งราวความขดั แยง้ ระหวา่ งพทุ ธกบั ผสี มยั แรกๆ คงไมง่ า่ ยอยา่ งในนทิ านปราบนาค เพราะยงั
มนี ทิ านสำ� คญั อกี เรอื่ งหนง่ึ เกย่ี วขอ้ งกบั พธิ บี วชนาค ซงึ่ ปราชญอ์ ยา่ ง จติ ร ภมู ศิ กั ด์ิ เคยใหค้ ำ� อธบิ ายไวว้ า่
ในการบวชมีระเบียบอยู่ว่า พระคู่สวดสององค์จะต้องพาผู้บวชออกไปสอบสวนนอกประตู
พระอโุ บสถ ในคำ� สอบสวนนน้ั มคี ำ� ถามหนงึ่ ถามวา่ “มนสุ โฺ ส ส?ิ ” แปลวา่ “เจา้ เปน็ คนหรือเปล่า?”
ซึ่ง จติ ร ภูมิศักด์ิ ใหค้ วามเหน็ ว่า สงั คมยคุ นนั้ มีการเหยยี ดหยามคนบางเผ่า ท่ีระดับสงั คมล้าหลงั ให้
เปน็ ผี เป็นลงิ คา่ งบา่ งชะนี เปน็ สัตว์ เปน็ ยกั ษ์, ไม่ยอมรับวา่ เป็นคนหรือเปน็ มนุษย์ (จิตร ภูมศิ ักด์,ิ
2524: 398-401)
หากเชอ่ื ตามที่ จติ ร สนั นษิ ฐานไว้ “การบวชนาค” กเ็ ปน็ การเปลย่ี นผา่ น “คนพน้ื เมอื ง”
จาก “คนเปลอื ย” มาเปน็ “มนุษย์” ท่ีสวมเสอื้ ผา้ อาภรณ์แหง่ อารยะของศาสนาสากล จาก
ชมพทู วปี เอาไว้ นา่ สนใจทก่ี ระบวนการเปลย่ี นผา่ นดงั กลา่ วนอกเหนอื จากการบวชแลว้ ยงั ตอ้ ง
มกี ารท�ำขวัญ ทีเ่ รียกว่า “ท�ำขวัญนาค” อกี ด้วย