The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หากท่านใดต้องการ Download file สำหรับอ่านแบบ Offine สามารถคลิกได้ที่นี่

ออกแบบและผลิตรูปเล่มโดย : Natnaree Chouywattana (Email: [email protected])

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pinhathai Nunuan, 2021-02-14 03:04:23

ใบงานที่ 3 เด็กพิเศษในความสนใจของผู้เรียน : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

หากท่านใดต้องการ Download file สำหรับอ่านแบบ Offine สามารถคลิกได้ที่นี่

ออกแบบและผลิตรูปเล่มโดย : Natnaree Chouywattana (Email: [email protected])

ใบงานท่ี 3

เด็กพิเศษในความสนใจของผเู้ รยี น : แลกเปล่ยี นเรยี นรู้รว่ มกนั

วชิ า นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ (ดค.362)

อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ใบงานที่ 3

เด็กพิเศษในความสนใจของผ้เู รยี น : แลกเปลี่ยนเรยี นรู้รว่ มกัน

วชิ า นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ (ดค.362)

อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

สารบัญ

เรือ่ ง หน้า

กลมุ่ เดก็ ท่มี ีความตอ้ งการพิเศษ (Children with Special needs) 1
1
กลมุ่ ท่ี 1 Atypical Learners 1
2
1) Retarded, Slow Learner 2
2
2) Gifted, Academically Talented 2
3
3) Children With Learning Disabilities 4
5-8
กลุ่มท่ี 2 Disturbed 9 - 12
13 - 16
Emotionally & Socially 17 - 20
21 - 23
กล่มุ ท่ี 3 Physical Handicapped 24 - 26
27 -30
ใบงานท่ี 3 เดก็ พิเศษในความสนใจของผูเ้ รยี น:แลกเปล่ยี นเรยี นรูร้ ่วมกนั 31 - 35
36 – 40
1. ธนวรรณ จันทรย์ งค์ 6105490020 41 - 45
46 – 48
2. วณิชญา บญุ วาที 6105490038 49 – 54
55 – 59
3. ธมี า จิตรเพียรค้า 6105610411 60 – 63
64 - 67
4. กุลนันท์ บุญเฉลียว 6105610536 68 – 71
72 – 75
5. ชญานนท์ ครองราชย์ 6105610692 76 – 79
80 – 82
6. ชไมธร จติ ม่นั 6105610700 83 – 86
87 – 90
7. ธวัชชยั กลู หลัก 6105680117 91 – 94
95 - 98
8. ธนปรชั ญ์ เมอื งพวน 6105680166 99 - 110

9. เบญจวรรณ อทุ ธิยา 6105680182

10. ฐติ าพร แอนกําโภชน์ 6105680356

11. ผกามาศ กนั ทรประเสริฐ 6105680406

12. นิชานนั ท์ เปียสัมประทวน 6105680604

13. รม่ ฉัตร โนรี 6105680844

14. ศศิภา แยม้ บุบผา 6105680919

15. ศศิกานต์ โคว้ วลิ ยั แสง 6105680927

16. รตมิ า แก้วจอ้ น 6105681420

17. สุธดิ า หนวู นั 6105681438

18. มนตธ์ ัช จิตกลาง 6105681628

19. จริ ภัทร ไกรนรา 6105681636

20. คธั รินทร์ บัวทอง 6105681644
21. ฟา้ ประดับดาว สุวรรณคร 6105681719

22. ปานตะวนั เฝา้ ด่าน 6105681750

23. ศรตุ า เขียวผวิ 6208680279

รายการอ้างอิง

กลุม่ เด็กท่มี ีความต้องการพิเศษ
(Children with Special needs)

กลมุ่ ท่ี 1 Atypical learners (เด็กทม่ี ีความบกพรอ่ งดา้ นการเรียนร)ู้

1) Retarded, Slow learner (เรียนรูช้ า้ )

สามารถแบง่ ออกเป็น 4 กลมุ่ ใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่
❣ กล่มุ เดก็ เรยี นช้าจากภมู ิหลงั ทางการศึกษา (Culture Facture)
❣ กลุ่มเดก็ ท่มี คี วามผิดปกตทิ างกาย (Physical Defect)
❣ กลมุ่ เด็กท่มี ีพัฒนาการชา้ ในวัยเดก็ แต่เมอ่ื เขา้ สู่วยั ผู้ใหญจ่ ะไมช่ ้า
❣ กลุ่มเด็กทม่ี ี IQ ต่าํ ว่า 70 หรือเด็กทม่ี คี วามปญั ญาออ่ นอยา่ งแท้จริง

2) Gifted , Academically talented

คอื กล่มุ เด็กทม่ี ีพรสวรรค์ ปัญญาเลศิ มีความสามารถพิเศษดา้ นต่าง ๆ ยกตัวอยา่ งเชน่
กล่มุ Savant (อจั ฉรยิ ะปัญญาออ่ น) *ในอดีตจะใชค้ าํ วา่ Idiot Savant คอื คนท่มี รี ะดับพัฒนาการหรอื
สติปัญญาท่ตี ่าํ กวา่ คนทว่ั ไปแตก่ ลบั มีพรสวรรคเ์ ป็นอัจฉริยะระดับสุดยอดในดา้ นแคบ ๆ ด้านใดด้านหน่งึ *

Kim Peek Tony DeBlois Alonzo Clemons Stephen Wiltshire

(Credit of the picture: www.wikipedia.org)

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

กล่มุ เด็กท่มี คี วามตอ้ งการพิเศษ
(Children with Special needs)

คือเด็กท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้ เน่ืองจากมีความผิดปกติของระบบประสาทชนิดถาวร ทําให้สมองถูก
จํากัดความสามารถในการเรียนรู้ การทําความเข้าใจ หรือการจดจํา อาจพบร่วมกับโรคทางจิตเวชอ่ืน ๆ ได้ถึงร้อย
ละ 40 – 50 เช่น โรคสมาธิส้ัน

กลมุ่ ท่ี 2 Disturbed Emotionally & Socially
(เด็กที่ปรับตวั ไม่ดที างพฤตกิ รรมอารมณ์และสังคม)

คือ กลุ่มเด็กท่ีไม่สามารถปรับตัวทางอารมณ์และสังคมได้ ส่งผลให้เกิดพฤติกรรม ซึม เศร้า เครียด
วิตก กังวล ก้าวร้าว เด็กบางคมอาจแสดงออกโดยการ ถอยหนีออกไปจากสังคม หรือบางคนอาจจะแสดง
อาการต่อต้านและกา้ วร้าว
ลักษณะของเดก็ กลุ่มนอ้ี าจแสดงออกมาในรปู แบบของ Perfectionist หรอื ผทู้ ่ยี ดึ ตดิ แตค่ วามสมบูรณ์แบบ

เด็กกลุ่มนอ้ี าจพัฒนาไปสู่ Mal Adjusted จนท้ายท่สี ุดแลว้ ต้องเขา้ คกุ /โรงพยาบาลจติ เวช/โรคทางจิต

2

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

กลุ่มท่ี 3 Physical Handicapped (เด็กท่ีมคี วามบกพร่องทางร่างกาย)

❣ Crippled ❣ Speech Handicapped
(ความบกพรอ่ งทางแขน/ขา) (ความบกพรอ่ งทางดา้ นการไดย้ ิน)

❣ Visually Handicapped ❣ Delicate Health
(ความบกพร่องทางดา้ นการมองเห็น) (ความบกพรอ่ งทางดา้ นสุขภาพ)

3

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ใบงานที่ 3
เด็กพิเศษในความสนใจของผ้เู รยี น: แลกเปลย่ี นความรรู้ ว่ มกนั

4

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ธนวรรณ จันทรย์ งค์ 6105490020

1. กลุม่ เป้าหมายผทู้ ่เี ปน็ "dysgraphia ( บกพรอ่ งทางการเขยี น )"
เน่ืองจากว่าในปัจจุบัน หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานในช้ันต้นได้มีการเปล่ียนของหลักสูตรไป
อย่างมาก ส่วนตัวของดิฉันมีพ่ีสาวเป็นคุณครูสอนเด็กช้ันประถมต้น ซ่ึงเป็นช่วงวัยในการเรียนรู้การ
อ่าน เขียน และพู ด และเน่ืองด้วยจากหลักสูตรการศึกษาวิชา ภาษาไทย ได้มีการเปล่ียนแปลงไป
ซ่ึงก็ไม่มีอะไรเป้นมาตราฐานในการช้ีวัดว่าหลักสูตรน้ีดีท่ีสุดสําหรับเด็กหรือไม่ แต่เป็นเพียงการ
ทดลองกับเด็กแตล่ ะรุ่นไปเร่อื ย ๆ หากเด็กคนใดโชคดี มคี วามฉลาด สามารถเข้าใจโครงสร้างพื้นฐาน
ของการอ่าน เขียนได้ก็รอดตัวไป แต่กลับกัน เด็กท่ีอาจจะมีพัฒนาการล่าช้า แต่ไม่ได้ผิดปกติ
ได้เผชิญกับหลักสูตรการสอน การสะกดคํา การอ่าน การเขียน ท่ีไม่เหมาะสมก็อาจส่งผลให้เด็กคน
นน้ั ตอ้ งกลายเป็นผู้ทม่ี คี วามบกพร่องทางการเขียนและการใชภ้ าษาไดใ้ นอนาคต

2.1. Atypical Learners
LD บกพร่องทางการเรยี นรู้
Dysgraphia ( A specific learning disorder in written expression )

ภาวะบกพร่องทางการเขียน กล่าวถึงอาการท่ีมีความผิดปกติทางด้านการประสานการทํางาน
และการเคล่ือนไหวซ่ึงมีผลต่อการเขียน นําไปสู่การอ่านออกเขียนได้ท่ีผิดปกติ ซ่ึงจุดเด่นของโรคน้ี
คือ อาการท่ีไม่สามารถเข้าใจในเร่ืองของการผสมคํา ความหมาย และโครงสร้างของประโยคได้อย่าง
ชัดแจ้งได้ ซ่ึงก็อาจจะมาจากการท่ีขาดการฝึกฝนการเขียนอย่างสม่ําเสมอหรือการสั่งการของสมอง
ในด้านการเคล่ือนไหวท่ีผิดปกติ และผู้ท่ีมีอาการ Dysgraphia ก็มักจะมีอาการ Dyslexia (บกพร่อง
ด้านการใช้ภาษา) ท่ีเด็กอาจจอ่านหนังสือช้า จับใจความไม่ได้จนถึงไม่สามารถอ่านหนังสือได้
โดยอาการ dysgraphia สามารถทดสอบได้โดยการสะกดคํา(เขียนตามคําบอก) หรือการแสดงให้
เห็นถึงโครงสร้างของคํา เช่น ก + (อํา) = กํา ซ่ึงสาเหตุอาจจะมาได้จากการบาดเจ็บทางสมองท่ีไม่
สามารถทําให้สมองเจริญเติบโตได้อย่างเต็มท่ี กรรมพันธุ์ เช่น ความผิดปกติท่ีโครโมโซมคู่ท่ี 15
(ท่ีส่งผลต่อการพั ฒนาการด้านการเคล่ือนไหว ส่งผลให้เกิดความบกพร่องทางสติปัญญา)
หรอื สิ่งแวดล้อมท่มี ีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค

2.2.1 สถานการณ์ในปจั จบุ นั
ร า ย ง า น จ า ก National Center for learning Disabilities ไ ด้ ต้ั ง ข้ อ สั ง เ ก ต ไ ว้ ว่ า
ในปี 2015-2016 มีโอกาสพบเด็กท่ีมีปัญหาบกพร่องทางการเรียนรู้ ในเด็ก 1 ต่อ 5 คน ซ่ึงน่าเป็น
กังวลและต้องพยามทจ่ี ะหาแนวทางในการแก้ไขปญั หาและรกั ษาดแู ลเดก็ เหล่านใ้ี หไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
รายงานจาก Rochester ,Minnesota พบผู้ท่ีบกพร่องทางด้านการเขียน จาก 6.9%
ถงึ 14.7% ซ่งึ พบในเด็กชายมากกวา่ เด็กหญิงซง่ึ คิดเปน็ 87% ทป่ี ญั หาดา้ นการเขียนอยา่ งเดยี ว
นาวาอากาศตรีนายแพทย์บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์ อธิบดีกรมสุขภาพจิตให้สัมภาษณ์
ว่าไทยพบผู้ท่ีมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาอายุต้ังแต่แรกเกิด - 5 ขวบ ประมาณร้อยละ 2

5

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

ของประชากร คาดว่าท่ัวประเทศมีประมาณ 1.3 ล้านคน สาเหตุเกิดมาจากการทํางานของสมอง
ผดิ ปกติ และมีแนวโน้มทจ่ี ะเพิ่มข้นึ

คู่มือระบบการดูแลนักเรียนกลุ่มเด็กพิเศษท่ีมีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ ปี 2555 ได้ระบุไว้
ถึงจํานวนของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญามีจํานวนถึงร้อยละ 21.76 หรือคิดเป็น 3.3ล้านคน
จากประชากรเด็กไทยท่ีกว่า 18 ปี ท้ังหมดราว 16 ล้านคน ในจํานวนน้ีเป็นเด็ก Autistic ,ADHD ,LD
จาํ นวนราว 2.1 ลา้ นคน

เน้อื หาวิชา ภาษาไทย สอนการอา่ นสะกดคาํ

เดก็ ทม่ี ีปญั หาด้านการสะกดคาํ

6

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

2.2.2. บริการ สวสั ดิการตา่ ง ๆ สําหรบั กลุม่ เปา้ หมาย
1.พ ร บ . ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ค น พิ ก า ร 2550 ม า ต ร า 20 ก ล่ า ว ถึ ง

ผู้บกพร่องทางการเรียนรู้ได้มีสิทธิเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้จากสิ่งอํานวยความสะดวกอันเป็น
สาธารณะตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลืออ่ืนจากรัฐ ท้ังในด้าน การบริการฟ้ นื ฟู สมรรถภาพ
การศึกษา การฟ้ นื ฟูด้านอาชพี

2. มลู นธิ เิ พื่อการศึกษาพิเศษในพระราชปู ถมั ภฯ์ เพื่อสนับสนนุ และส่งเสรมิ งานด้านการศึกษา
ของหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีทํางานเก่ียวกับบุคคลพิการและเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ มุ่งในการพัฒนา
ศั กยภาพทางการศึ กษาแก่เด็กท่ีมีความต้องการพิ เศษให้ได้รับการศึ กษาข้ันพื้ นฐานตามอัตภาพ
โดยมีการมอบทนุ จัดประชุมผูป้ กครองเพื่อแลกเปลย่ี นประสบการณ์ จดั ฝึกอบรมวิชาชพี แกเ่ ยาวชน

3. สวัสดิการ ด้านการใช้เทคโนยี ซอฟต์แวร์ช่วยการเขียน ในโรงเรียนสังกัด สพฐ. เช่น ld
Writing Software Suite หรือ LD Keyboard Application on Android จาก ศูนย์ A-MED

4. คลินิกโรคการเรียนรู้บกพร่อง ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ การทํากิจกรรมร่วมกับเด็ก
มีนักจิตวิทยาในการดูแล ประเมิน และทํากิจกรรม มีการประชุมแลกเปล่ียนประสบการณ์ และแนะนํา
การดูแลเด็กแก่ผู้ปกครอง เช่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาจติ เวชศาสตร์ หรอื ในประเทศออสเตเลยี Literacy & Clinical Services

2.2.3. บทบาทผเู้ กย่ี วข้องในการทาํ งานกับกล่มุ เปา้ หมายในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา
ผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ คุณครู พ่อแม่ ผู้ใกล้ชิดหรือผู้ดูแลเด็ก โดยให้ยึดหัวข้อดังต่อไปน้ีเป็นหลักในการ
ทาํ งาน

- การเยียวยา จะต้องหม่ันสอน แนะนํา ให้ความใส่ใจแก่เด็กท่ีมีอาการ Dysgraphia ในเร่ือง
การสะกดคาํ และ ฝึกเขียน อย่างถูกตอ้ งและสมา่ํ เสมอ

- แนะนําผ่านการพู ดคุย ค่อยๆสอนและทําความรู้จักกับเด็กไปเร่ือย ๆ เป็นการปูพ้ืนฐาน
และสร้างสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างผู้ดูแลและเด็ก ใช้เทคโนโลยีผสมผสานในการสอน อาจจะผ่านคลิปวิดีโอท่ี
มีท้งั ภาพ สี เสียง เพ่ือกระตุ้นความอยากเรยี นรู้ของเด็กใหม้ ากข้นึ

- ลดความกดดันในการท่ีจะต้องให้เด็กสะกดให้ถูกต้องอย่างแม่นยําในระยะเวลาอันส้ันโดย
อาจจะผ่านการทํางานท่ีใช้ระยะนาน แต่เพื่อประสิทธิภาพและผลลัพธ์ในระยะยาวในอนาคต ต้องมีความ
คอ่ ยเป็นคอ่ ยไป ย่งิ เป็นบทบาทผู้ปกครองหรอื ผใู้ กล้ชดิ
ท่สี ามารถใช้เวลาร่วมกับกลมุ่ เป้าหมายไดน้ านทส่ี ุด

- ให้เวลาในการฝึกการเขยี นหรอื แบบฝึกหดั การสะกดคาํ ทถ่ี ูกต้อง
- ใช้เทคโนโลยีในการสะกดคําจากเสียงพู ด เพ่ือลดการเขียนด้วยมือ หรือการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยี โดยในทฤษฎีประมวลสารสนเทศ กล่าวไว้ว่าสมองคนมีการทํางานเหมือนคอมพิวเตอร์
หากนําทฤษฎีน้ีมาใช้ในการสอนเด็กผ่านส่ื อประสมซ่ึงมีการนําเสนอข้อมูลด้วยคอมพิ วเตอร์ท่ีมีท้ัง
ข้อความ ภาพเคล่อื นไหว และเสียง - ใช้รูปแบบโครงสร้างในการเขียนเป็นตัวอย่าง เม่ือเด็กเร่ิมมี
พื้นฐานในการเขียนคําหรือประโยคส้ันๆได้ ก็นําแบบฟอร์มหรือโครงร่างของเอกสารต่าง ๆ มาเป็น
ตัวอย่างให้เด็กได้ศึกษา เพื่อพัฒนาท่ีดีข้ึนและนําไปสู่ระดับท่ียากข้ึนและสามารถเขียนหรือสะกดคําได้
โดยไมต่ ้องมตี ัวอย่าง

7

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

- สอนให้เข้าใจทอ่ งแท้เก่ยี วกับการออกเสียงคํา (phonics) และการสะกดคําทถ่ี ูกต้อง
อีกท้ังคุณครูต้องเป็นเสมือนกาวเช่ือมความเป็นหน่ึงเดียวกันให้กับกลุ่มเด็กพิเศษและเด็กธรรมดา
ให้เขาได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันอย่างเก้ือกูลกันในสังคม และมองเห็นถึงใจเขาใจเรา ลบภาพความ
แตกตา่ งออกไป
และมอบแตส่ ่ิงดี ๆ พลังบวกให้แกก่ ัน

โดยคุณพ่อคุณแม่หรือผู้ใกล้ชิดพวกเขาจะต้องเป็นผู้ดูแล สอดส่อง อบรมให้ความรู้และความ
รกั เพ่ือเยียวยาความบกพรอ่ งทางดา้ นร่างกายและชว่ ยเสริมเตมิ ความรกั ความอบอนุ่ ใหก้ บั จิตใจเด็ก
เหลา่ นม้ี พี ลงั ในการท่จี ะกา้ วต่อและไม่รู้สึกแปลกแยก แตกต่างจากเด็กคนอน่ื ๆ

8

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

วณชิ ญา บุญวาที 6105490038

1. กลุ่มเป้าหมาย
1.1 กลมุ่ เดก็ สมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorder : ADHD)
เหตผุ ลในการเลอื กศึกษากลุ่มเปา้ หมายน้ี เพราะจากการศึกษาคน้ คว้าเกย่ี วกบั ลกั ษณะ
ของเด็กท่ีมีความต้องการพิ เศษกลุ่มต่าง ๆ ทําให้พบว่ากลุ่มเป้าหมายน้ีเป็นอีกหน่ึง
กลุ่มเป้าหมายท่ีควรให้ความน่าสนใจเป็นอย่างมากในมิติทางด้านการศึกษา เด็กกลุ่มน้ีส่วน
ใ ห ญ่ จ ะ พ บ อ ยู่ ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ส ถ า น ก า ร ณ์ ก า ร พ บ เ ด็ ก ส ม า ธิ ส้ั น ก็ มี แ น ว โ น้ ม ท่ี เ พิ่ ม ข้ึ น
และยังคงมีเด็กกลุ่มน้ีท่ียังไม่สามารถเข้าถึงการรักษาได้อย่างท่ัวถึง ซ่ึงหากพิจารณาเพียง
ภายนอกเด็กกลุ่มน้ีอาจจะมีลักษณะท่ีปกติและไม่แตกต่างจากเด็กท่ัว ๆ ไปมากนัก
มีเพียงพฤติกรรมแสดงออกคล้ายกับเด็กท่ีซุกซนไปตามวัย จึงอาจจะทําให้ผู้ปกครองหลายๆ
คนเข้าใจว่าเป็นพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนตามช่วงวัยของเด็ก และไม่ได้ว่ามองว่าเป็นลักษณะของ
พฤติกรรมท่ีมีความผิดปกติ จึงอาจจะทําให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลท่ีอยู่ใกล้ชิดเด็กไม่ได้สังเกต
ลักษณะพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนอย่างละเอียด ซ่ึงในบางครอบครัวอาจเกิดความไม่เข้าใจใน
พฤติกรรมเหล่าน้ัน จนนําไปสู่การใช้ความรุนแรงกับเด็กและมีการปฏิบัติกับเด็กกลุ่มน้ีอย่าง
ไม่เหมาะสม ซ่ึงอาจจะส่งผลให้เด็กกลุ่มน้ีได้รับผลกระทบเป็นปัญหาทางด้านของการเรียนรู้
ทางด้านจิตใจ พัฒนาการตามช่วงวัย และพฤติกรรมอ่ืน ๆ เพ่ิมข้ึนได้อีกในอนาคตหากไม่ได้
เข้ารบั การดแู ลรักษาทถ่ี กู ต้อง

2. หัวข้อการเขยี นงาน
2.1 กลมุ่ เปา้ หมายท่เี ลอื กจัดอยใู่ นกลุม่ “Atypical Learners”

เน่ืองจากอาการสมาธิสั้นเป็นกลุ่มอาการท่ีเกิดข้ึนได้ต้ังแต่วัย ซ่ึงเป็นลักษณะของ
อาการท่ีเกิดจากการทํางานท่ีผิดปกติของสมองในการหล่ังสารท่ีผิดปกติของระบบประสาท
โดยจะความผิดปกติน้ีจะส่งผลต่อลักษณะพฤติกรรม อารมณ์ การเข้าสังคม และพัฒนาการ
เรยี นรูข้ องเด็ก โดยจะมีลกั ษณะท่แี สดงออกสําคัญๆดงั น้ี

1. อาการขาดสมาธิ (Inattention) มีอาการเหม่อลอย เม่ือเวลามีคนพู ดด้วยมักจะดู
เหมือนไม่ฟัง ขาดความต้ังใจและไม่สามารถทํางานท่ีต้องใช้ความพยายามได้
สําเร็จเรียบร้อย ไม่รอบคอบ มีอาการวอกแวก สามารถถูกสิ่งเร้ารอบตัวดึงดูด
ออกไปได้ง่ายกว่าเด็กคนอ่ืน ๆมักจะหลงลืมกิจวัตรประจําวันท่ีต้องทําอยู่บ่อย ๆ
รวมไปถึงการทําส่ิงของท่ีจําเป็นต้องใช้หายบ่อย ๆ นอกจากน้ีมักจะมีปัญหา

9

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

เก่ียวกับการจัดการเร่ืองระเบียบและเวลา โดยอาการขาดสมาธิจะสามารถเป็น
ตอ่ เนอ่ื งไดจ้ นถึงวยั ผใู้ หญ่
2. อาการซุกซนมากกว่าปกติและไม่อยู่น่ิง (Hyperactivity) เด็กมักจะซุกซน
ผิดปกติ มักจะเล่นด้วยลักษณะท่ีเสียงดังและรุนแรง ชอบปีนป่าย อยู่ไม่น่ิงและมี
อาการหยุกหยิก ไม่สามารถน่ังน่ิงได้เป็นเวลานาน ๆ มีพฤติกรรมท่ีก่อกวนคนรอบ
ข้าง ซ่ึงมักจะสังเกตได้ในวัยเด็กแต่เม่ือพัฒนาเป็นวัยรุ่นจะมีอาการลดลงเหลือ
เพียงอาการกระสับกระส่าย
3. อาการขาดการย้ังคิดและหุนหันพลันแล่น (Impulsivity) มักจะมีอาการใจร้อน
ขาดการย้ังคิดในการท่ีจะพู ดหรือกระทําสิ่งต่าง ๆ มักจะพู ดแทรกข้ึนมาในระหว่างท่ีมี
การสนทนาอยู่กับคนอ่ืน ๆ เน่ืองจากไม่สามารถควบคุมตนเองได้ทัน โดยมักจะ
แสดงอาการต่อเน่อื งจนถึงวยั รนุ่ หรอื วยั ผ้ใู หญ่

โดยการแสดงออกทางพฤติกรรมเหล่าน้ีจะสามารถสังเกตได้ต้ังแต่ในช่วงวัยอนุบาล
หรือจะสามารถเกิดข้ึนได้ก่อนอายุ 7 ปี และมีอาการต่อเน่ืองไม่น้อยกว่า 6 เดือน ซ่ึงจะต้อง
ปรากฏลักษณะของอาการในสถานการณ์มากกว่าสองแห่ง เช่น มีพฤติกรรมในลักษณะ
เดียวกันท้ังท่ีบ้านและโรงเรียน เป็นต้น ซ่ึงถ้าเด็กไม่ได้รับการดูแลและปรับเปล่ียนพฤติกรรม
อย่างถูกต้องอาจจะทําให้ส่งผลต่อการเรียนรู้และพฤติกรรมการแสดงออกในทิศทางท่ีเสี่ยง
เพิ่มมากขน้ึ ได้

2.2 ขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ เพ่ือทําความเขา้ ใจกลมุ่ เปา้ หมาย
§ ลักษณะท่วั ไป สถานการณ์ หรอื ปญั หาความต้องการ

เด็กสมาธิส้ันจะมีความบกพร่องทางด้านพฤติกรรมการเรียนรู้และการควบคุมสภาวะ
ทางอารมณ์ของตนเอง โดยจะพบได้ต้ังแต่ในช่วงวัยเด็ก โดยเฉพาะในช่วงวัยเรียน ซ่ึงเด็กจะ
มีลักษณะอาการของการขาดสมาธิ (Inattention) มีพฤติกรรมท่ีไม่สามารถอยู่น่ิงและซุกซน
(Hyperactivity) ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร มี ส ภ า ว ะ อ า ร ม ณ์ ท่ี หุ น หั น พ ลั น แ ล่ น (Impulsivity)
ขาดการยับย้ังช่ังใจ ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ พฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนจะทําให้เด็กไม่มีสมาธิ
ไม่สามารถเรียนรู้และจดจ่อกับการเรียนหรือส่ิงท่ีอยู่ตรงหน้าได้เป็นระยะเวลานานอย่าง
ต่อเน่ือง และอาจจะมีพฤติกรรมท่ีซุกซนมากกว่าเด็กคนอ่ืน ๆในช่วงวัยเดียวกัน ซ่ึงอาจส่งผล
ให้มีระดับผลการเรียนท่ีต่ําลงและมีปัญหาในการเข้าสังคมตามมาในระหว่างอยู่ภายในโรงเรียน
พฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนเหล่าน้ีเป็นผลมาจากการทํางานท่ีผิดปกติของสารเคมีในสมองท่ีหล่ัง
ออกมาผิดปกติ โดยการทํางานท่ีผิดปกติของสมองอาจจะมาจากปัจจัยทางด้านพันธุกรรม
ปัจจัยด้านทางสิ่งแวดล้อม หรือปัจจัยทางด้านการเล้ียงดูของครอบครัว อย่างไรก็ตาม

10

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

อาการสมาธิสั้ นเป็นอาการท่ีสามารถรักษาให้หายได้เพี ยงแต่จะต้องเข้ารับการรักษาอย่าง
ถูกต้องตามคําแนะนาํ ของแพทย์ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะ

จากการสํ ารวจสถานการณ์ภายในประเทศไทยจากกลุ่มเด็กวัยเรียนท่ีอยู่ใน
กรุงเทพมหานคร จะพบว่ามีเด็กท่ีอยู่ในกลุ่มสมาธิส้ันร้อยละ 5 คาดเป็นจํานวนประมาณ
500,000 คน หากคํานวณจากเด็กวัยเรียนท่ัวประเทศจํานวน 10 ล้านคน โดยจะสามารถพบ
อาการได้ในเด็กผู้ชายได้มากกว่าในเด็กผู้หญิงในอัตราส่วน 3 : 1 ซ่ึงในประเทศไทยเด็กท่ี
ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง บ ริ ก า ร เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ รั ก ษ า อ า ก า ร ส ม า ธิ ส้ั น ยั ง มี จํ า น ว น น้ อ ย
เน่ืองจากผู้ปกครองมักจะเข้าใจผิดเก่ียวกับพฤติกรรมและคิดว่าจะหายได้เองเม่ือโตข้ึน จึง
ไม่ได้พาไปรับการรักษา

§ บรกิ ารและสวัสดกิ ารต่าง ๆ ท่มี ีสําหรบั กลุ่มเป้าหมายดงั กลา่ ว
เ ข้ า รั บ บ ริ ก า ร ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ วิ นิ จ ฉั ย อ า ก า ร ส ม า ธิ ส้ั น ภ า ย ใ น เ ด็ ก

และเยาวชน รวมไปถึงการรับคําปรึกษาในการดูแลเด็กจากแพทย์ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางเพื่อ
เป็นแนวทางในการดูแลเด็กภายใต้การปกครอง จากโรงพยาบาลท้ังภาครัฐและเอกชน
ภายในประเทศ เช่น สถาบนั ราชานุกูล สถาบนั สุขภาพจติ เด็กและวยั ร่นุ ราชนครนิ ทร์ เป็นต้น

นอกจากน้ี ยาท่ีมีช่ือว่า Methylphenidate ซ่ึงเป็นตัวยาหลักท่ีใช้ในการรักษาอาการ
สมาธิสั้นน้ันได้มีรายช่ืออยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ผู้ปกครองจึงสามารถพาเด็กเข้ารับการ
รักษาและรับยาผ่านการใช้สิทธิหลักประกันท่ีทางภาครัฐจัดไว้ให้ได้ เช่น สิทธิหลักประกัน
สุขภาพถว้ นหน้า (บตั รทอง) เป็นต้น

§ บทบาทผู้เก่ยี วขอ้ งในการทํางานกบั กลมุ่ เปา้ หมาย
บทบาทของแพทย์

- เป็นผู้ประเมินวินิจฉัยกลุ่มเป้าหมายอย่างละเอียดและให้การรักษาแก่กลุ่มเป้าหมาย แพทย์
ผู้เช่ียวชาญจะทําการตรวจประเมินต้ังแต่การเร่ิมซักประวัติเด็กจากผู้ปกครอง ตรวจ
ร่างกายเด็กเพื่อคัดแยกออกจากอาการของโรคอ่ืน ๆ คอยสังเกตพฤติกรรมของเด็กใน
หลายๆสถานการณ์ และแพทย์จะเป็นผู้ทําการประเมินโดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของ
เดก็ และมกี ารตรวจประเมนิ ทางจิตวทิ ยารว่ มดว้ ย

- มีบทบาทในการเป็นผู้ให้คําปรึกษาในการให้ความรู้เก่ียวกับวิธีการปฏิบัติ และการดูแลเด็ก
ให้แก่ครอบครัว โดยจะให้คําแนะนําและความรู้เพื่อให้ผู้ปกครองเกิดความเข้าใจเก่ียวกับ
โรคสมาธิสั้นอย่างถูกต้อง ท้ังในเร่ืองของการปรับเปล่ียนสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็กและ
การให้ความรู้เก่ยี วกบั ยาท่จี ะใชใ้ นการรกั ษาควบคู่ไปกบั การปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม

11

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

บทบาทของครูภายในโรงเรยี น
- ทําความเข้าใจเก่ียวกับปัญหา ความต้องการ และลักษณะพฤติกรรมของเด็ก หากครูมี

ความเข้าใจก็จะทําให้สามารถปฏิบัติตัวได้อย่างเหมาะสมเม่ือจะต้องดูแลเด็กกลุ่มน้ีใน
ระหว่างท่ีเด็กเข้ามาเรียนภายในห้องเรียนร่วมกับคนอ่ืน ๆ ใช้การปฏิบัติท่ีอดทนและใจเย็น
กับเด็กมากย่ิงข้ึน หากครูไม่มีความเข้าใจในพฤติกรรมของเด็กก็อาจจะเกิดความเข้าใจผิด
และมีการปฏิบัติต่อเด็กด้วยการลงโทษท่ีอาจจะส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ของ
เดก็ เพิ่มขน้ึ
- สังเกตพฤติกรรมและปัญหาท่ีเกิดข้ึนของเด็กในระหว่างท่ีเด็กเข้าสังคมกับกลุ่มเพื่อน
และคอยส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาทักษะตามท่ีเด็กให้ความสนใจ และคอยให้คําแนะนํา
เกย่ี วกับทกั ษะทางสังคม เพื่อให้เดก็ สามารถเขา้ กบั เพื่อนไดด้ มี ากขน้ึ
- คอยประสานงานและแจ้งให้ผู้ปกครองทราบเก่ียวกับพฤติกรรมและพัฒนาการทางการ
เรยี นรูอ้ ยา่ งสม่าํ เสมอ

บทบาทของผปู้ กครอง
- เข้าใจในปัญหา ความต้องการ รวมไปพฤติกรรมท่ีของเด็กท่ีแสดงออกมา ผู้ปกครอง

จะต้องเข้าใจในธรรมชาติของพฤติกรรมเหล่าน้ีให้มากกว่าบุคคลอ่ืน ๆ ต้องมีความอดทน
ในพฤติกรรมน้ัน ๆ และปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทย์ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของการให้
รับประทานยาและการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม
- ช่วยเหลือเด็กในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมโดยจัดสภาพแวดล้อมให้เด็กอย่างเหมาะสมให้
ปราศจากส่ิงรบกวนให้ไดม้ ากทส่ี ุด เพื่อเป็นการเพิ่มสมาธใิ ห้แกเ่ ดก็ ในการทํางาน
- เป็นผู้ท่ีคอยสังเกตและประเมินพฤติกรรมของเด็กอย่างสม่ําเสมอ ควรใช้คําพู ดใน
ทางบวก ชัดเจน งา่ ยและส้ัน หากต้องการใหเ้ ดก็ เปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมตามท่ตี ้องการ

12

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

ธมี า จิตรเพียรคา้ 6105610411

กลุ่มเด็กพิการทางด้านการมองเห็น (Visually handicapped) จัดอยู่ในหมวด Physical
Handicapped ภาวะบกพรอ่ งทางการเห็นในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 แบบคอื

1. คํานิยามตามคาํ จํากดั ความขององค์การอนามยั โลก (World Health Organization: WHO)
2. คาํ นยิ ามตามประกาศกระทรงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์

คํานิยามตามคําจํากัดความขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)
ต้ังแต่ปีพ.ศ. 2546องค์กรอนามัยโลกได้แบ่งภาวะบกพร่องทางการเห็น (Visual Impairment: VI)
โดยใช้ระดับสายตาไกลท่ีวัดด้วยตาเปล่าหรือใส่แว่นตาท่ีใช้อยู่ในชีวิตประจําวัน (Presenting
distance visual acuity) ออกเปน็ ระดบั ต่าง ๆ ดงั น้ี

- ระดับ 0 Mild or no visual impairment หมายถึงมีระดับสายตาท่ีระยะ 6 เมตรหรือ 20 ฟุ ตท่ี
สามารถเห็นได้ต้ังแต่ 6 ส่วน 18 เมตร (6/ 18) หรือ 20 ส่วน 70 ฟุ ต (20/70) ไปจนถึง 6 ส่วน
เมตร (6/6) หรือ 20 ส่วน 20 ฟุต (20/20)

- ระดับ 1 Moderate visual impairment หมายถึงมีระดับสายตาที่ระยะ 6 เมตร หรือ 20 ฟุ ตที่
สามารถเห็นได้ต้ังแต่ 6 ส่วน 60 เมตร (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 ฟุต (20/200) หรือมากกว่า แต่
ไมส่ ามารถเห็นท่รี ะดบั 6 ส่วน 18 เมตร (6/18) หรอื 20 ส่วน 70 ฟุต (20/70)

- ระดับ 2 Severe visual impairment หมายถึงมรี ะดบั สายตาทร่ี ะยะ 6 เมตร หรือ 20 ฟุตไมส่ ามารถ
เห็นท่ีระดับ 6 ส่วน 60 เมตร (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 ฟุ ต (20/ 200) แต่สามารถเห็นระดับน้ีได้
ท่รี ะยะ 3-5 เมตร

- ร ะ ดั บ 3 Blindness ร ะ ย ะ ท่ี 1 ห ม า ย ถึ ง มี ร ะ ดั บ ส า ย ต า ท่ี ร ะ ย ะ 3 เ ม ต ร ห รื อ 1 0 ฟุ ต
ไม่สามารถเห็นท่ีระดับ 6 ส่วน 60 เมตร (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 ฟุ ต (20/200) แต่สามารถนับ
นว้ิ ไดท้ ่รี ะยะน้อยกว่า 3 เมตร (finger count: Fc)

- ระดับ 4 Blindness ระยะท่ี 2 หมายถึงมีระดับสายตาท่ีไม่สามารถนับน้ิวได้ แต่ยังสามารถเห็นมือโบก
ไปมาได้ (hand movement: HM) หรือมองเห็นแสง (perception of light: PL) หรือบอกทิศทาง
ของแสงได้ (light projection: Pj)

- ระดับ 5 Blindness ระยะท่ี 3 หมายถึงมีระดับสายตาท่ีไม่เห็นแม้แต่แสงสว่าง (no perception of
light: NPL)

คํานยิ ามตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์
ภาวะบกพร่องทางการเห็นท่ีมีสิทธิรับการช่วยเหลือและความคุ้มครอง รวมท้ังการฟ้ ืนฟู

สมรรถภาพในด้านต่าง ๆ จากรัฐตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
พ.ศ.2550 แบ่งเป็น 2 ลักษณะโดยใช้ระดับสายตาท่ีได้รับการแก้ไขด้วยแว่นตาแล้ว (Best corrected
distance visual acuity) ของตาขา้ งทด่ี กี วา่ ดงั น้ี

13

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

- คนตาบอด หมายถึง คนท่ีมีสายตาข้างท่ีดีกว่า เม่ือได้รับการตรวจแก้ไขด้วยแว่นตาแล้ว (Best
corrected distance visual acuity) สามารถเห็นได้น้อยกว่า 3 ส่วน 60 เมตร (3/60) หรือ 20
ส่วน 400 ฟุต (20/400) จนถงึ มองไมเ่ ห็นแมแ้ ต่แสงสวา่ ง หรือมีลานสายตาแคบกวา่ 10 องศา

- คนตาเห็นเลือนราง หมายถึง คนท่ีมีสายตาข้างท่ีดีกว่า เม่ือได้รับการตรวจแก้ไขด้วยแว่นตาแล้ว
(Best corrected distance visual acuity) สามารถเห็นได้ต้ังแต่ 3 ส่วน 60 เมตร (3/60) หรือ
20 ส่วน 400 ฟุ ต (20/400) ไปจนถึงน้อยกว่า 6 ส่วน 18 เมตร (6/18) หรือ 20 ส่วน 70 ฟุ ต
(20/70) หรือมีลานสายตาแคบกวา่ 30 องศา ลงไปจนถึง 10 องศา

จากการสํารวจในประชากรไทยปี พ.ศ. 2549-2550 พบว่ามีอัตราความชุกของสภาวะตาบอดใน
เด็กไทยร้อยละ 0.11 และมีอัตราความชุกของสภาวะตาเลือนรางในเด็กไทยร้อยละ 0.21 จึงประมาณ
การวา่ มเี ดก็ ไทยเป็นเดก็ ตาบอดจาํ นวน 13, 101 คน และเปน็ เด็กตาเลอื นรางจาํ นวน 26,670 คน

โรคทเ่ี ป็นสาเหตขุ องภาวะตาบอดในเดก็ ไทยจากการสํารวจครง้ั นเ้ี กดิ จาก
1. โรคจอตาในทารกคลอดกอ่ นกําหนด (Retinopathy of Prematurity: ROP) ร้อยละ 66.67
2. ภาวะตามวั (Amblyopia) จากสายตาส้ันมาก (-9.00 Diopter both eyes) ร้อยละ 33:33

โรคท่เี ปน็ สาเหตขุ องภาวะตาเลือนรางเกิดจาก
1. ภาวะตามวั (Amblyopia) จากสายตาสั้นมาก (-6.00 Diopter, 11.00 Diopter) ร้อยละ 28.55
2. โรคของสมองรอ้ ยละ 14.29
3. ต้อกระจกแต่กําเนิด ร้อยละ 14.29
4. ประสาทตาฝ่อ ร้อยละ 14.29
5. ความผิดปกติท่กี ระจกตา รอ้ ยละ 14.29
6. ภาวะตาแกวง่ แตก่ าํ เนดิ ร้อยละ 14.29

พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี
2) พ.ศ.2556 ได้กําหนดให้คนพิการตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนดมีสิทธิท่ีจะได้รับความช่วยเหลือจากรัฐใน
ด้านต่าง ๆ เพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและพึ่งพาตัวเองได้ โดยรัฐได้จัดบริการฟ้ ืนฟู สมรรถภาพ
สําหรับเด็กพิการทางการเห็นในด้านการฟ้ ืนฟู สมรรถภาพทางการแพทย์ การฟ้ ืนฟู สมรรถภาพ
ทางการศึกษาและการฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางสังคม
การบรกิ ารฟ้ นื ฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์

การบริการฟ้ นื ฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
ค่าอุปกรณ์เคร่ืองช่วยความพิการ และสื่อส่งเสริมพัฒนาการ สําหรับคนพิการ พ.ศ.2552 สําหรับคน
พิการทางการเห็นครอบคลมุ บริการ 2 เร่อื งคอื

1. การฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางการเหน็
2. การสร้างความคุ้นเคยกบั สภาพแวดลอ้ มและการเคล่อื นไหว (Orientation and Mobility)

14

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

บทบาทของหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องในการจัดบรกิ ารฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ได้แก่
1. สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รับผิดชอบงบประมาณในการจัดบริการรักษา
ส่งเสริม ป้องกันโรค และฟ้ นื ฟู สมรรถภาพ รวมท้ังจัดหาเคร่ืองช่วยสายตาเลือนราง
อุปกรณ์เพ่ืออํานวยความสะดวกในการเคล่ือนไหวและเดินทางให้ปลอดภัย เช่น ไม้เท้า
ขาว
2. ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟ้ ืนฟู สมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ รับผิดชอบทางด้าน
วิชาการการจัดบริการคลินิกสายตาเลือนราง และการจัดหาเคร่ืองช่วยสายตาเลือน
ราง
3. สถานบรกิ ารของรฐั ทม่ี ีการใหบ้ ริการทางดา้ นโรคตา

การฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
เด็กพิ การทางการเห็นมีสิ ทธิได้รับการศึ กษาโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายต้ังแต่เร่ิมเข้าเรียนจนถึง

ปริญญาตรี พร้อมท้ังการได้รับเทคโนโลยีส่ิงอํานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืน
ใดทางการศึกษา ได้รบั การศึกษาทม่ี มี าตรฐาน และประกนั คณุ ภาพการศึกษา รวมทง้ั การจดั หลักสูตร
กระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษาท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นพิเศษ
ของคนพิการ สถาน ศึกษาทุกระดับ ในทุกสังกัด มีหน้าท่ีรับคนพิการเข้าศึกษาในสัดส่วนหรือจํานวน
ท่ีเหมาะสม อาจจะเป็น สถานศึกษาท่ัวไป สถานศึกษาเฉพาะ การศึกษาทางเลือกหรือการศึกษานอก
ระบบ

บทบาทของหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งในการฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางการศึกษา ไดแ้ ก่
1. วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล สนับสนุนงานด้านวิชาการ หลักสูตรสําหรับ
ผู้ดแู ลคนพิการทางการเห็น หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาสําหรับคนพิการทางการเห็น
2. สํ านักบริหารงานการศึ กษาพิ เศษ สํ านักงานคณะกรรมการการศึ กษาข้ันพ้ื นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ จัดหาสื่อ และส่ิงอํานวยความสะดวกทางด้านการศึกษาเช่น หนังสือ
เสียง หนังสืออักษรเบลล์เคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์ขยายข้อความแบบมือถือ รวมท้ังจัดบริการ
เสริมด้านต่าง ๆ สําหรับคนพิการทางการเห็น เช่น การนําทาง การจดคําบรรยาย การแนะ
แนวการศึกษา พี่เล้ยี งและผ้ชู ว่ ยเหลอื

การฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางสังคม
เด็กพิการทางการเห็นมสี ิทธไิ ด้รบั การบรกิ ารทางสังคมและสวัสดิการต่าง ๆ ไดแ้ ก่
- เบ้ยี คนพิการคนละ 1000 บาทตอ่ เดอื นตลอดชีพ
- เงนิ สงเคราะหค์ นพิการในครอบครัว
- บรกิ ารดูแลในสถานสงเคราะห์ ในกรณีท่ถี กู ทอดท้งิ ไมม่ ผี ู้อปุ การะเล้ยี งดู

15

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

- คู่มือคนพิการ/คู่มือสิทธิของคนพิการ ซ่ึงจะมีข้อมูลรายละเอียดของหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีมีหน้า
ท่แี ละความรับผิดชอบในการจดั บริการด้านตา่ ง ๆ ใหค้ นพิการ

บทบาทของหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องในการฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางสังคม ไดแ้ ก่
- หน่วยงานหลักท่ีรับผิดชอบในการจัดบริการฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางสังคม ได้แก่ สํานักงาน
ส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มน่ั คงของมนุษย์ (ราชวิทยาลยั กมุ ารแพทยแ์ ห่งประเทศไทย, 2558 ออนไลน)์

เด็กท่ีพิการทางด้านมองเห็นมีท้ังแบบท่ี ตาบอดสนิทและบอดเพียงบางส่วนหรือ
สายตาเลือนราง แน่นอนว่าในชีวิตแระจําวันของเราน้ันสายตาเป็นสิ่งท่ีสําคัญท่ีสุดเน่ืองจาก การ
มองเห็นทําให้เราได้รับรู้ถึง สีหน้า ท่าทาง รูปร่าง ลักษณะของส่ิงต่าง ๆ แล้วถ้าหากมองในมุม
ของเด็กท่ีมีความพิการทางด้านการมองเด็กต้ังแต่กําเนิด การจะรับรู้ถึงส่ิงต่าง ๆ ข้างต้นก็แทบ
จะเป้นไปได้ยากทําให้พวกเค้าต้องจินตนาการเอาว่าส่ิงต่าง ๆ มีลักษณะอย่างไร ในการใช้
ชีวิตประจําวันก็เป็นเร่ืองยากเช่นเดียวกัน การเดินทางโดยการขนส่งต่าง ๆ ไม่ได้ออกแบบมาโดย
คํานึงถึงคนพิการมากนัก ดังจะเห็นข่าวหลายหัวข้อท่ีพู ดถึงอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนกับคนพิการ
สิ่ งอํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวันเองก็ไม่ได้ถูกสร้างมาเพ่ื อให้คนท่ีมีความพิ การทางการ
มองเห็นสามารถใช้ได้อย่างสะดวก แต่ในปัจจุบันมีการสร้างห้องเรียนสําหรับเด็กท่ีพิการทางด้าน
การมองเห็นโดยเป็นการส่งเสริมศักยภาพด้านอ่ืน ๆ ท่ีเด็กสามารถรับรู้ได้แทน ข้าพเจ้าคิดว่า
ไอเดยี นส้ี ามารถนําไปต่อยอด
และช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กท่ีพิการทางด้านมองเห็นได้ คือ ห้องเรียน (เด็กตาบอด)
แห่งอนาคต ห้องเรียนโรงเรียนคนตาบอดพระมหาไถ่พัทยาแม้จะไม่มีนวัตกรรมล้ําสมัย แต่ถือเป็น
‘ห้องเรียนแห่งอนาคต’เพราะ ‘บูรณาการ’ ศาสตร์หลายแขนงเข้าด้วยกันในการออกแบบพ้ืนท่ี
การเรียนรู้สําหรับเด็กตาบอด‘Creative Crew’ บริษัทสถาปนิกออกแบบห้องท่ีมีขนาดจํากัด
เพียง 48 ตารางเมตรและระเบียงพ้ืนท่ี 19 ตารางเมตร ให้เป็นห้องเรียนแบบ 360 องศาสําหรับ
เด็กๆ ท่ีมีความบกพร่องทางสายตาในระดับแตกต่างกันใช้งานร่วมกันได้อย่างไม่มีติดขัด ท้ัง
นักเรียนท่ีมองเห็นแบบเลือนราง (Low vision) ไม่สามารถอ่านตัวหนังสือท่ัวไปได้ แต่สามารถ
อา่ นตัวหนงั สือท่มี ขี นาดใหญก่ ว่าปกติ และเด็กตาบอดสนทิ (Blindness) ซ่งึ สูญเสียการมองเหน็
แบบ 100 เปอร์เซ็นต์ (นันทรัตน์ สันติมณีรัตน์, 2561 ออนไลน์) มีใช้หลักสูตรพรีเบรลล์ (Pre-
Braille) เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะต่าง ๆ เกิดจินตนาการ ผ่านการเล่นก่อนเรียนอ่าน
อักษรเบลล์ โดยจะประกอบไปด้วย 4 วิชา ได้แก่ วิชาสัมผัส วิชาลําแสง วิชาเดซิเบล วิชาลม
หายใจ เน่ืองจากเด็กท่ีมีความพิการด้านการมองเห็นไม่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยการใช้สายตาดังน้ัน
การเรียนรูปแบบอ่ืนจึงเป็นส่ิงท่ีมีความสําคัญและความคิดข้างต้นก็สามารถทําให้เด็กพิการทาง
สายตาได้ใช้ทักษะอ่ืน ๆ ท่ีตนสามารถทําได้แทน เช่นการใช้มือสัมผัสสิ่งต่าง ๆ รอบตัว การใช้สี
และแสงมาช่วยเร่ืองการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กท่ีมองเห็นเลือนราง การฟงั ทิศทางของ
เสียง การดมกล่ินเพื่ อสังเกตุสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ซ่ึงสิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ
พัฒนาการการเรียนรขู้ องเด็กทพ่ี ิการทางดา้ นการมองเห็นอยา่ งแนน่ อน

16

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

กลุ นนั ท์ บญุ เฉลยี ว 6105610536

กลุ่มเป้าหมายเด็กพิเศษท่ีสนใจ คือ “กลุ่มเด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย และการ
เคล่ือนไหว” เหตุผลท่ีเลือกในปัจจุบันมีกลุ่มเด็กพิเศษน้ีเพ่ิมมากข้ึนในสังคม และเห็นได้จากภายใน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เองท่ีมีเพื่อน ๆ กลุ่มน้ีอยู่จํานวนมาก และนักศึกษาต้องการท่ีจะศึกษากลุ่ม
เดก็ พิเศษเหลา่ นเ้ี พื่อเป็นแนวทางในการทํางานกบั กลุ่มเดก็ พิเศษในอนาคต

กลุ่มเด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย และการเคล่ือนไหว จัดอยู่ในกลุ่ม “เด็กท่ีมีบกพร่อง
ท า ง ร่ า ง ก า ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ (Physically Handicapped)” แ ล ะ อ ยู่ ใ น ก ลุ่ ม Delicate Health
กลุ่มเด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย หมายถึง ผู้ท่ีมีร่างกายพิการ ผิดปกติทางแขนขาลําตัวรวม
ไปถึงศีรษะหรือผู้ท่ีมีปัญหาทางสุขภาพ ซ่ึงทําให้ต้องได้รับการศึกษาพิเศษรวมถึงการฝึกฝนวัสดุ
อปุ กรณ์ และบรกิ ารตา่ ง ๆ เปน็ พิเศษ (Hallahan & Kauffiman,1994:386)

ความบกพร่องทางร่างกายโดยท่ัวไปแล้วครอบคลุมลักษณะของความบกพร่องทางการ
เคล่ือนไหว ซ่ึงอาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ เด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายอาจมี หรือไม่มี
ความจําเป็นต้องได้รับการศึกษาพิเศษ (Special education) ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับความรุนแรงของปัญหา
ท่พี บ ซ่งึ ความช่วยเหลอื ทเ่ี ด็กควรไดร้ ับ ได้แก่ กายภาพบาํ บดั (Physical therapy) , กิจกรรมบําบัด
(Occupational therapy) หรือการจัดกิจกรรมพลศึกษาให้เหมาะสมกับเด็กท่ีมีความผิดปกติ เป็น
ต้น ส่วนความบกพร่องทางสุขภาพ (Health impairments) เป็นปัจจัยขัดขวางความปกติของ
ร่างกาย จําเป็นต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์ โดยมีสาเหตุจากโรคภัย หรือความผิดปกติท่ี
ส่งผลกระทบต่อระบบภูมิคุ้มกัน อาจลดประสิทธิภาพในการเรียนของเด็กลงได้ ซ่ึงโดยท่ัวไป ความ
บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพจะส่งกระทบต่อเด็กแต่ละรายในระดับท่ีมาก หรือน้อยต่างกันข้ึนอยู่
กับลักษณะของปัญหาท่ีเกิดกับเด็ก ไม่ว่าจะเป็นการลดสมรรถภาพทางร่างกาย สติปัญญา การพู ด
และภาษา ประสาทสัมผัส รวมไปถึงความบกพร่องในการเคล่ือนไหวร่างกายในการประกอบกิจกรรม
ตา่ ง ๆ

• สาเหตทุ ท่ี าํ ให้เกดิ ความบกพรอ่ งทางรา่ งกายหรอื สุขภาพ มีสาเหตตุ ่าง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี
1. ระหว่างมารดาต้ังครรภ์ เป็นช่วงท่ีทารกในครรภ์กําลังมีการพัฒนาโครงสร้างของ

ร่างกาย และอวัยวะต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงคือช่วง 3 เดือนแรก ถ้ามีความผิดปกติของการ
ตง้ั ครรภ์ระยะน้ี อาจทาํ ใหท้ ารกทค่ี ลอดออกมามีความพิการได้

2. โรคทางพันธุกรรม มีการถ่ายทอดความผิดปกติทางสายเลือด เด็กในครรภ์อาจมี
การด้นิ ไม่แรงหรอื ไม่ดน้ิ เนอ่ื งจากมีความผิดปกติทางรา่ งกาย

3. ความผิดปกติระหว่างคลอดหรือหลังคลอด ภาวะแทรกซ้อนระหว่างคลอด เช่น
คลอดยาก คลอดโดยการใช้เคร่ืองมือผ่าตัดคลอด คลอดก่อนกําหนด หรือคลอดหลังกําหนด เด็กมี
ปัญหาเรอ่ื งการหายใจหลังคลอดหรืออาจมีเลือดออกในสมองทําใหม้ คี วามผิดปกตขิ องสมอง

• ความบกพรอ่ งทางร่างกายและสุขภาพจะแตกตา่ งกนั ไปตามลกั ษณะที่ปรากฏ ซ่ึงจําแนกได้
เปน็ 3 ประเภท ได้แก่

17

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

1) ความผิดปกติของระบบประสาท (Neurological conditions) ความผิดปกติทางระบบ
ประสาทมักมีหลายระดับต้ังแต่อาการไม่รุนแรงไปจนถึงอันตราย และอาจส่งผลต่อความ
สมรรถภาพทางร่างกาย สติปัญญา การพูดและภาษา รวมถงึ ประสาทสัมผัส

2) ความผิดปกติของระบบกล้ามเน้ือและกระดูก (Musculoskeletal conditions) ส่งผลกระทบ
ต่อความสามารถในการเคล่ือนไหว เดิน ยืน น่ัง หรือทําให้ไม่สามารถใช้มือและเท้าได้อย่าง
ปกติ

3) ความผิดปกตทิ างสุขภาพ (Health impairments) ซ่งึ เปน็ ความผดิ ปกติทางพันธุกรรม

• อาการบกพร่องทางรา่ งกาย ทม่ี กั พบบอ่ ย ได้แก่

1. ซีพี หรือ ซีรีรัล พัลซี (C.P:Cerebral Passy) หมายถึง การเป็นอัมพาตเน่ืองจาก
ระบบประสาทสมองพิ การหรือเป็นผลมาจากสมองท่ีกําลังพั ฒนาถูกทําลายก่อนคลอด อัน
เน่ืองมาจากการขาดอากาศ ออกซิเจนฯ มีความบกพร่องท่ีเกิดจากส่วนต่าง ๆ ของสมองแตกต่าง
กัน ทพ่ี บส่วนใหญ่ คอื

1.1 อมั พาตเกรง็ ของแขนขา หรอื คร่งึ ซีก (Spastic)
1.2 อัมพาตของลีลาการเคล่ือนไหวผิดปกติ (Athetoid) จะควบคุมการ
เคลอ่ื นไหวและ บงั คับไปในทิศทางทต่ี ้องการไมไ่ ด้
1.3 อมั พาตสูญเสียการทรงตัว (Ataxia) การประสานงานของอวัยวะไมด่ ี
1.4 อัมพาตตึงแข็ง (Rigid) การเคล่ือนไหวแข็งช้า ร่างการมีการสั่นกระตุก
อยา่ งบังคับไม่ได้
1.5 อมั พาตแบบผสม (Mixed)
2. กล้ามเน้ืออ่อนแรง (Muscular Distrophy) เกิดจากประสาทสมองท่ีควบคุมส่วน
ของกล้ามเน้ือส่วนน้ัน ๆ เสื่อมสลายตัว โดยไม่ทราบสาเหตุ ทําให้กล้ามเน้ือแขนขาจะค่อย ๆ
อ่อนกําลงั เดนิ หกล้มบ่อย
3. โรคทางระบบกระดูกกลา้ มเนอ้ื (Orthopedic) ทพ่ี บบ่อย ไดแ้ ก่
3.1 ระบบกระดกู กล้ามเน้อื พิการแตก่ ําเนิด
3.2 ระบบกระดกู กลา้ มเน้อื พิการด้วยโรคตดิ เชอ้ื (Infection)
3.3 กระดูกหัก ข้อเคล่ือน ข้ออักเสบ มีความพิการเน่ืองจากไม่ได้รับการรักษาท่ี
ถูกต้อง
4. โปลิโอ (Poliomyelitis) เกิดจากเช้ือไวรัสชนิดหน่ึงเข้าสู่ร่างกายทางปาก แล้วไป
เจริญต่อมน้ําเหลืองในลําคอ ลําไส้เล็ก และเข้าสู่กระแสเลือดจนถึงระบบประสาทส่วนกลาง เม่ือเซลล์
ประสาทบังคับกลา้ มเนอ้ื ถูกทําลาย แขนหรือขาจะไมม่ กี ําลังในการเคล่อื นไหว
5. แขนขาด้วนแต่กําเนิด (Limb Deficiency) รวมถึงเด็กท่ีเกิดมาด้วยลักษณะของ
อวัยวะท่มี ีความเจริญเตบิ โตผิดปกติ
6. โรคกระดูกอ่อน (Osteogenesis Imperfeta) เป็นผลทําให้เด็กไม่เจริญเติบโต
สมวยั ตวั เต้ยี มลี กั ษณะของกระดูกผดิ ปกติ กระดกู ยาวบิดเบย้ี วเห็นไดจ้ ากกระดูกหนา้ แขง็

18

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

คนพิ การท่ีมีบัตรประจําตัวคนพิ การแล้วสามารถย่ืนคําขอใช้สิ ทธิประโยชน์สิ่ งอํานวยความ
สะดวกท่ีเป็นสาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและความช่วยจากรัฐตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2556
สําหรับกล่มุ เดก็ พิเศษท่คี วามบกพร่องทางร่างกาย และการเคลอ่ื นไหว ได้ดังน้ี

(1) การบริการฟ้ ืนฟู สมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์และค่าใช้จ่ายในการ
รักษาพยาบาลคา่ อุปกรณ์ เครอ่ื งช่วยความพิการ และสื่อส่งเสริมพัฒนาการ

(2) การศึกษาตามกฎหมายตามความเหมาะสมในสถานศึกษาเฉพาะหรือในสถานศึกษาท่ัวไป
หรอื การศึกษาทางเลือก หรือการศึกษานอกระบบโดย

(4) การยอมรับและมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองอย่างเต็มท่ีและมี
ประสิทธภิ าพบนพ้ืนฐานแห่งความเท่าเทยี มกบั บคุ คลทว่ั ไป

(5) การจัดสวัสดิการเบ้ียความพิการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการกําหนดใน
ระเบยี บ

(6) การปรับสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัย การมีผู้ช่วยคนพิการ หรือการจัดให้มีสวัสดิการอ่ืนตาม
หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่คี ณะกรรมการกาํ หนดในระเบยี บ

นอกจากน้ยี งั มีรายการบรกิ ารฟ้ นื ฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์สําหรับกลุ่มเดก็ พิเศษกลมุ่ น้ี คอื
การทํากายภาพบําบัด เป็นการกระทําต่อมนุษย์โดยวิธีทางกายภาพบําบัดเพื่อแก้ไขและฟ้ ืนฟู ความ
เสื่อมสภาพ ความพิการของร่างกาย อันเน่ืองจากภาวะของโรคหรือการเคล่ือนไหวท่ีไม่ปกติ เพ่ือเพ่ิม
สมรรถภาพของร่างกายในการดํารงชีวิตได้ใกล้เคียงปกติ และบริการรูปแบบบริการสาธารณะของ
กลุ่มคนท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย และความเคล่ือนไหว ท้ังการเดินทางโดยรถสาธารณะ การใช้
ลิฟท์สําหรับผู้พิการ ทางลาดขน้ึ -ลงอาคารสําหรบั ผทู้ ใ่ี ช้วิลแชร์

บทบาทผู้เก่ียวข้องในการทํางานกับกลุ่มเด็กพิเศษท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย และการ
เคล่ือนไหว มีผู้ท่ีทํางานกับกลุ่มเด็กพิเศษเหล่าน้ี คือ นักสังคมสงเคราะห์ คุณครู ครอบครัว และ
ทีมสหวิชาชพี เช่น แพทย์ และพยาบาล เปน็ ต้น กลมุ่ คนเหลา่ นท้ี าํ งานกบั กลมุ่ เปา้ หมายในการปอ้ งกนั
ส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหา โดยท่ีนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนท่ีหน้าท่ีในการอธิบายกับครู
ช่วยให้เพ่ือน ผู้ปกครองเข้าใจธรรมชาติของเด็ก ช่วยให้ความเข้าใจกับสังคมวงกว้างให้คนอ่ืนเข้าใจ
มากข้ึน การพู ดคุยกับเด็กพิเศษให้เด็กตระหนักในคุณค่า ศักยภาพของตน ให้เติบโตได้ในสังคมท่ี
เข้าใจเด็กเหล่าน้ี และการทํางานระหว่างนักสังคมสงเคราะห์กับผู้ปกครองน้ันคือ ให้ผู้ปกครองรับรู้
และบ่งช้ีถึงพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันในสังคมของเด็ก และการทํางานกับกลุ่มเด็กพิ เศษกับ
ผู้ปกครอง ควรมีส่วนร่วมในการท่ีเด็กเหล่าน้ีเป็นเด็กท่ีต้องการพื้นฐานในการดํารงชีวิตเช่นเดียวกับ
เด็กปกติ ท่ีสําคัญผู้ปกครองควรมีการฝึกพัฒนาทักษะด้านสังคมเพ่ือให้คนท่ีบกพร่องทางร่างกาย
และสุขภาพ สามารถอยู่ในสังคม ร่วมกับคนท่ัวไปอย่างมีความสุข สามารถมีกิจกรรมเช่นเดียวกับคน
ปกติ ผู้ปกครองควรพาเด็กออกสู่สังคมบ่อยคร้ัง แนะนําพ่ีน้อง ญาติ เพื่อน ให้รู้จักเด็กและความ
พิการของเด็ก ควรพาออกไปสู่ส่ิงแวดล้อมภายนอกให้มากท่ีสุด เพ่ือเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้รู้จัก
ช่วยเหลือตนเอง และเกิดความเช่ือม่ันในตนเอง เปิดโอกาสให้เด็กได้ฝึกฝนกิจกรรมต่าง ๆ ด้วย
ตนเอง ให้ได้ฝึกฝนทําเอง ทําบ่อย ๆ ซ้ํา ๆ เพื่อให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ สามารถพัฒนา

19

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

ศักยภาพในการศึกษา เพ่ือความเพลิดเพลินเพื่อการแข่งขันเช่นเดียวกับผู้ไม่พิการ รวมถึงควรให้
ความร่วมมือกับทีมผู้รักษา และสังเกตการเปล่ียนแปลงของเด็กอย่างสม่ําเสมอและให้ความสนใจต่อ
การเปล่ียนแปลงน้ันเม่ือมีปัญหาหรืออาจมีปัญหาเกิดข้ึนให้ปรึกษาผู้เช่ียวชาญ เพื่อให้การแก้ไขได้
อย่างทันเหตุการณ์และถูกต้องต่อไป ทีมสหวิชาชีพทํางานร่วมกับกลุ่มเด็กพิเศษในการตรวจรักษา
และติดตามการเจริญเติบโตของเด็กกลุ่มน้ี ป้องกันไม่ให้เกิดความพิการเพิ่มมากข้ึนหรือทําให้เกิด
พิการซ้ําซ้อน โดยให้ความรู้แก่บุคคลให้สนใจเอาใจใส่เด็กท่ีมีประวัติการต้ังครรภ์ผิดปกติ คลอด
ผิดปกติหรือมีความผิดปกติหลังคลอด ให้ได้รับการดูแลติดตามจากแพทย์ต้ังแต่เร่ิมต้นเพ่ือให้ได้รับ
การประเมินสภาพ วินิจฉัย ให้คําแนะนําและรักษาอย่างต่อเน่ือง การฟ้ นื ฟู สมรรถภาพทางร่างกาย
ต้ังแต่เร่ิมแรกในด้านต่าง ๆ เช่น การเดินการยืนเพ่ือกระตุ้นให้เคล่ือนไหวร่างกายได้ถูกต้อง การทํา
กายภาพบําบัดจะใช้วิธีการฝึกออกกําลัง เพื่อเพ่ิมกําลังของ กล้ามเน้ือ และเป็นการรักษาบางส่วน
รว่ มดว้ ย

20

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

ชญานนท์ ครองราชย์ 6105610692

1. กลมุ่ เป้าหมายท่สี นใจ : เดก็ ท่มี ีความแปรปรวนทางพฤติกรรมและอารมณ์
เ น่ื อ ง จ า ก ใ น ปั จ จุ บั น สั ง ค ม แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม โ ด ย ร อ บ ตั ว เ ด็ ก น้ั น มี ค ว า ม สํ า คั ญ

อีกประการหน่ึงท่ีส่งผลต่ออารมณ์ความคิด โดยเฉพาะกับเด็กพิเศษกลุ่มน้ีท่ีควรได้รับการดูแลเป็น
พิเศษ เพราะว่าเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษเป็นกลุ่มเด็กท่ีไม่สามารถพัฒนาความสามารถและไม่
สามารถจัดการรับมือต่อปัญหาได้ดีเท่าท่ีควร ซ่ึงแตกต่างจากเด็กท่ัวไป เน่ืองจากเด็กพิเศษกลุ่มน้ีมี
ความบกพร่องหรือมีความแตกต่างทางพฤติกรรมและอารมณ์จากเด็กท่ัวไป ดังเช่น เด็กท่ีมีความ
แปรปรวนทางพฤติกรรมและอารมณ์ท่ีได้รับการข่มขู่จากท่ีบ้านหรือโรงเรียน จนทําให้มีพฤติกรรม
เก็บตัวถอยหนีสังคม ซ่ึงหากเด็กกลุ่มน้ีโดนละเลยต่อปัญหา ไม่ได้รับการดูแลและขาดความใส่ใจใน
ปัญหาดังกล่าวจะส่งผลร้ายแรงในระยะยาวต่อเด็ก อาจทําให้เด็กไม่สามารถควบคุมอารมณ์หรือการ
แสดงออกทางพฤติกรรมต่อสังคมได้ ดังน้ันจึงจําเป็นต้องจัดรูปแบบการศึกษาพิเศษในโรงเรียน
และจัดรูปแบบการดูแลเด็กพิเศษกลุ่มน้ีแก่ผู้ท่ีมีความเก่ียวข้อง ต้องให้ความสําคัญต่อการดูแลเด็กท่ี
มีความแปรปรวนทางพฤติกรรมและอารมณ์ ให้เหมาะสมกับลักษณะและความต้องการของกลุ่มเด็ก
พิเศษดังกลา่ ว

2. เด็กท่มี คี วามแปรปรวนทางพฤตกิ รรมและอารมณ์
2.1 จดั อยู่ในกลุ่ม Disturbed เดก็ ท่มี คี วามบกพร่องทางพฤตกิ รรมและอารมณ์
เน่ืองจากกลุ่มเด็กมีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ ไม่สามารถปรับตัวเข้าสังคมได้

ดีและไม่สามารถจัดการต่ออารมณ์ของตนเองได้ เช่น มีปัญหาด้านพฤติกรรมในการใช้กําลังทําร้าย
ผู้อ่ืน ทําลายข้าวของ ลักทรัพย์ ฉุนเฉียวง่ายมีอารมณ์หุนหันพลันแล่น เกร้ียวกราด หลีกเล่ียงการ
ปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน และมักรู้สึกว่าตนเองด้อยกว่าผู้อ่ืน ขาดความม่ันใจ ข้ีอาย ข้ีกลัว ไม่ค่อยแสดง
ความรู้สึกและทําร้ายตัวเอง เป็นต้น ซ่ึงอาการเหล่าน้ีมีความรุนแรงและอันตรายท่ีอาจนําไปสู่
พฤติกรรมท่ีผิดไปจากสังคมและส่งผลต่อเด็กในการจัดการปัญหาทางอารมณ์ มีความเครียด ความ
เศร้าหรือวิตกกังวล หรือในอีกพฤติกรรมท่ีมีความก้าวร้าวรุนแรง หรือถอยหนีสังคม เก็บตัวไม่เข้า
สังคม ผู้คนทไ่ี ม่เข้าใจจะมองว่าเด็กกลมุ่ น้กี า้ วร้าว ตอ่ ตา้ นสังคม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อมรอบขา้ ง

เพ็ญพิศุทธ์ิ ใจสนิท (2544) ได้สรุปความหมายของเด็กบกพร่องทางอารมณ์และพฤติกรรม
ไว้ว่า เด็กท่ีมีปัญหาทางอารมณ์เป็นเด็กท่ีเรียนรู้ท่ีจะแสดงอารมณ์ออกมาในทางท่ีไม่เหมาะสม ทําให้มี
ปัญหาทางอารมณ์มาก จนกระท่ังปรับตัวไม่ได้ ไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ส่วนเด็กท่ีมีปัญหาความประพฤติน้ัน หมายถึง เด็กท่ีไม่สามารถปฏิบัติตามศีลธรรมและค่านิยมของ
สังคมท่ีคนส่วนใหญ่ปฏิบัติเป็นประเพณีสืบเน่ืองต่อกันมา แต่จะเรียนรู้ท่ีจะประพฤติตามค่านิยมและ
กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของกลุ่มท่ีไม่เป็นท่ียอมรับของสังคม เช่น การหนี โรงเรียน การทะเลาะวิวาท การ
ทาํ ในสิ่งท่ที า้ ทายกฎหมาย

จากข้อความข้างต้น แสดงถึงความสําคัญท่ีจะต้องให้ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ และเข้าถึงใน
ปัญหาของเด็กท่ีมีความแปรปรวนทางพฤติกรรมและอารมณ์ โดยหากปัญหาได้รับการตรวจพบย่ิง

21

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

เร็ว ยอ่ มส่งผลใหเ้ ด็กสามารถเขา้ รบั การรกั ษาไดอ้ ยา่ งทันทว่ งที ซง่ึ ย่อมจะเพ่ิมโอกาสของความสําเร็จ
ของเด็กในการหายขาดจากความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ให้มากข้ึนตามไปด้วย ดังน้ัน
พ่อแม่ ผูป้ กครอง ครู และผู้ท่เี กย่ี วขอ้ ง จึงควรหม่นั สังเกตสัญญาณความผดิ ปกตแิ รกเรม่ิ ท่เี ด็กอาจ
แสดงออกมา เพื่อท่ีจะสามารถเข้าใจในปัญหาและทําให้เด็กพิเศษกลุ่มดังกล่าวสามารถปรับตัวและ
ดําเนนิ ชวี ติ ประจาํ วันได้ตามปกติ

2.2 ขอ้ มูลเบ้อื งต้นของกล่มุ เดก็ ท่มี ีความแปรปรวนทางพฤติกรรมและอารมณ์
2.2.1 ลกั ษณะท่วั ไป/สถานการณป์ ัญหา/ความต้องการ

ปัณณ์พัฒน์ จันทร์สว่าง ได้ให้ความหมายว่า เป็นเด็กท่ีแสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม (ต่อต้าน
ตนเองหรือผู้อ่ืน) หรือมีความรู้สึกนึกคิดท่ีผิดไปจากปกติ (แสดงออกถึงความต้องการทําร้ายตนเอง
หรือผู้อ่ืน มีความเช่ือม่ันในตนเองต่ํา) ออกมาอย่างเน่ืองจนถึงระดับท่ีส่งผลกระทบต่อการศึกษาของ
เด็กไม่ว่าจะเพียงลักษณะเดียว หรือหลายลักษณะร่วมกันก็ได้ เช่น มีความยากลําบากในการเรียน
ซ่ึงไม่สามารถอธิบายได้ด้วยเหตุผลทางด้านสติปัญญา ประสาทสัมผัส หรือสุขภาพ มีความ
ยากลําบากในการสร้างหรือคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างเพ่ือนและครู แสดงออกถึงภาวะ
ความเครียดและไม่มีความสุขอย่างเป็นปกติ มีแนวโน้มของอาการทางสุขภาพร่างกาย หรือความกลัว
อันเป็นผลของปัญหาท่ีเกิดกับตัวเด็กเองหรือปัญหาท่ีเกิดในโรงเรียน ซ่ึงปัจจุบันมีผู้ปกครองจํานวน
ไม่น้อยท่ีต้องเผชิญกับปัญหาความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ของลูกคร้ังแล้วคร้ังเล่า ซ่ึง
ปัญหาเหล่าน้ัน ส่วนใหญ่สามารถได้รับการช่วยเหลือหรือแก้ไขได้ หากเด็กได้รับการรักษาท่ีถูกต้อง
อย่างไรก็ตาม ปัญหาของเด็กในบางกรณีอาจจะมีความรุนแรง ซ่ึงเป็นสัญญาณของปัญหาสําคัญท่ี
เด็กกําลังเผชิญอยู่ โดยเฉพาะอย่างย่ิง หากปัญหาความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ของ
เด็กเร้ือรังติดต่อกันเป็นเวลานานจนกระท่ังเด็กโตเป็นผู้ใหญ่แล้ว ผลเสียท่ีตามมาอาจลุกลามไปถึง
การสูญเสียของชีวิตได้ ในปัจจุบัน ประมาณร้อยละ 6 ถึง 10 ของเด็กกําลังประสบภาวะความ
บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Emotional and Behavioral Disorders) โดยเด็กจํานวน
ดังกล่าว จําเป็นต้องได้รับการศึกษาพิเศษ รวมท้ังการรักษาท่ีเหมาะสม เพราะการสอนในห้องเรียน
อย่างเดียวอาจไม่เพียงพอท่ีจะทําลายข้อจํากัดในการเรียนรู้ของเด็กได้อีกท้ังตัวเด็กเองยังมักเป็นผู้
ขัดขวางการเรียนการสอนในห้องเรียนอีกด้วย ท้ังน้ี ความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์น้ัน
ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของเด็ก แม้ว่าในความเป็นจริงเด็กกลุ่มน้ีไม่ได้มีความบกพร่อง
ทางสติปัญญาแต่อย่างใดก็ตาม อีกท้ังยังสามารถมีผลการเรียนดีเย่ียม เพียงแต่จําเป็นต้องได้รับ
การดูแลและช่วยเหลือเป็นพิเศษ ท้ังน้ี ความหมายของความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์น้ัน
ครอบคลุมถึงโรคจิตเภท (Schizophrenia) อย่างไรก็ตามความหมายดังกล่าวไม่สามารถใช้ได้กับ
เด็กท่ีมีปัญหาปรับตัวเข้ากับสังคมได้ยาก เว้นเสียแต่ว่าได้รับการรับรองว่าเป็นผลของความบกพร่อง
ทางพฤติกรรมและอารมณ์

2.2.2 บริการ สวัสดิการต่าง ๆ ท่ีมีสําหรับกลุ่มเด็กท่ีมีความแปรปรวนทางพฤติกรรม
และอารมณ์

ปัจจุบันระบบการศึกษาไทยได้ให้ความสําคัญต่อกลุ่มเด็กพิเศษเป็นอย่างมากในการให้ทุกคน
สามารถเข้าถึงการศึกษา และมีการจัดรูปแบบการสอนพิเศษให้เหมาะสมแก่กลุ่มเด็กพิเศษ เช่น
สําหรับกลุ่มเด็กท่ีมีความแปรปรวนทางพฤติกรรมและอารมณ์ มีการจัดครูแนะแนว รวมถึงบาง

22

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

โรงเรียนมีนักสังคมสงเคราะห์เพ่ือให้เด็กได้ปรึกษาหากมีความเครียด หรือการสนับสนุนให้พบ
จิตแพทย์เม่ือพบว่าตนเองอาจมีปัญหาซึมเศร้า หรือการจัดกิจกรรมดนตรีช่วยเด็กบกพร่องทาง
พฤติกรรมและอารมณ์ท่ีช่วยส่ งเสริมและสนับสนุนในการบําบัดความเครียดของเด็กพิ เศษกลุ่ม
ดังกล่าว การจัดกิจกรรมครอบครัวบําบัด (Family Therapy) ซ่ึงเน้นการพู ดคุยกันของสมาชิกใน
ครอบครวั ในขณะทก่ี ารบําบดั ทางปัญญาพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy) มุ่งไปทก่ี าร
เปล่ียนแบบแผนความคิดของเด็ก นอกจากน้ี การเล่นบําบัด (Play Therapy) จะช่วยให้เด็กเรียนรู้
วิธีการจัดการกบั อารมณแ์ ละความรสู้ ึกได้ เปน็ ตน้

2.2.3 บทบาทของผู้ท่ีเก่ียวข้องในการทํางานกับเด็กท่ีมีความแปรปรวนทางพฤติกรรม
และอารมณ์

-พ่อแม่ ผู้ปกครอง : ควรให้ความร่วมมือในการดูแลให้ความสนใจเป็นพิเศษแก่กลุ่มเด็กท่ีมี
ความแปรปรวนทางพฤติกรรมและอารมณ์ ไม่ละเลยในปัญหาเล็ก ๆ ของลูก เข้าใจและตระหนักถึง
บทบาทของตนเอง และความสําคัญของการแก้ไขปัญหาของลูกในบ้าน โดยการช่วยให้ลูก
เปล่ียนแปลงพฤติกรรมการแสดงออก รวมถึงปรับเปล่ียนทัศนคติ ช้ีให้ลูกเห็นพฤติกรรมท่ีไม่
เหมาะสมท่ีลูกแสดงออก และแสดงตัวอย่างการกระทําท่ีเหมาะสมดูแลลูกด้วยความรัก ความเอาใจใส่
และความอดทน รวมถึงเคารพการตดั สินใจของลูก

-จิตแพทย์ : ควรปรึกษาจิตแพทย์และผู้เช่ียวชาญอย่างสม่ําเสมอเพ่ือให้ม่ันใจว่าเด็กน้ันมี
พัฒนาการท่ีดีข้ึน ทําความเข้าใจเด็กร่วมกับผู้ปกครอง ให้ผู้ปกครองสามารถเข้าใจและตระหนักถึง
ความสําคัญในการรักษา

-โรงเรียน ครู นักสังคมสงเคราะห์ : โรงเรียนก็เป็นส่ิงแวดล้อมท่ีสําคัญต่อตัวเด็กพิเศษ
ดังกล่าว ในการหล่อหลอมพฤติกรรมและอารมณ์ของเด็ก ดังน้ันครูและนักสังคมสงเคราะห์ต้อง
ส่งเสริมให้เด็กเห็นคุณค่าของตนเองและมีความเช่ือม่ันในการกระทําส่ิงต่าง ๆ โดยการหม่ันสังเกต
พฤติกรรมของเด็ก หากเห็นว่าเด็กแสดงพฤติกรรมท่ีเหมาะสม หรือกระทําส่ิงใดได้ดี ครูควรชมเชย
เพ่ือเป็นการกระตุ้นให้เด็กรู้สึกอยากทําดีต่อไป สร้างสรรค์การจัดกิจกรรมเพื่อบําบัดความเครียดแก่
เด็ก จัดห้องเรียนให้มีบรรยากาศเหมาะสมต่อการเรียนรู้ มีการติดต่อกับผู้ปกครอง เพ่ือแจ้งปัญหา
ของเดก็ ทโ่ี รงเรียน และร่วมมอื กบั ผปู้ กครองในการหาวธิ เี พ่ือชว่ ยเหลือเด็กอย่างรอบดา้ น

23

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

ชไมธร จติ ม่นั 6105610700

บคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางสติปัญญา (Intellectual Disabilities)
บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาจัดอยู่ในกลุ่ม Physically Handicapped บุคคลกลุ่ม
น้ีมีความบกพร่องในด้านการทํางานของปัญญา และมีปัญหาในการปรับตัว โดยประเทศไทยได้
กําหนดให้ความบกพร่องทางสติปัญญาเป็นผู้พิการประเภท 5 ตามประกาศของกระทรวงการ
พัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย์ เร่ืองประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.
2555 ซ่ึงออกในพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการพ.ศ. 2555 และประกาศ
จากกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองกําหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษาพ.ศ.
2552 กําหนดไว้ว่าประเภทของคนพิการแบง่ ออกเปน็ 9 ประเภท น่นั คือ
1. บุคคลท่มี คี วามบกพร่องทางการเห็น
2. บุคคลท่มี ีความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ
3. บคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางดา้ นรา่ งกายและการเคลอ่ื นไหว
4. บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้
5. บุคคลท่มี ีความบกพร่องทางสตปิ ญั ญา
6. บคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการสื่อสาร
7. บุคคลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์
8. บุคคลออทสิ ตกิ
9. บุคคลพิการซา้ํ ซอ้ น

ลักษณะทว่ั ไปของบคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางสติปัญญา
หากรู้จักภายนอกจะไม่เหมือนผู้ท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา แต่จะเห็นได้จาก

พฤติกรรมของบุคคลน้ัน โดยจะแสดงออกให้เห็นไม่เพียงก่ีกรณี ซ่ึงท้ังหมดจะมีความเก่ียวข้องกับ
Syndromic mental retardation
บคุ คลท่บี กพร่องทางสติปญั ญาอาจแสดงพฤตกิ รรมดังตอ่ ไปน้ี

1. มีพัฒนาการในการพูดท่ชี า้
2. มีทักษะในดา้ นการจาํ ทไ่ี มด่ ี
3. เรียนรูเ้ กย่ี วกับกฎของสังคมไดย้ าก ไมม่ ีทักษะทางสังคม
4. ไมม่ ที ักษะในการแกป้ ญั หา
5. ไมม่ ีทักษะการชว่ ยเหลือตนเอง
บุคคลเหล่าน้ีจะใช้เวลาในการเรียนรู้นาน ต้องมีการเรียนรู้ซ้ํา ๆ หลายคร้ัง และการเรียนรู้ทักษะต่าง
ๆ น้ัน จะต้องมีการปรับให้เข้ากับระดับการเรียนรู้ของแต่ละคน อย่างไรก็ตามทุกคนสามารถเรียนรู้
และพัฒนาตนเองมสี ่วนร่วมทางสังคมได้

24

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

ระดับความรุนแรง
ความบกพร่องทางสติปัญญาแบ่งความรุนแรงออกเป็นส่ีระดับตามระดับเชาว์ปัญญา

ระดับความสามารถท่วี ัดไดห้ รือทเ่ี รียนว่า IQ
1. ความบกพรอ่ งทางสติปัญญาระดับเล็กน้อย (Mild Mental Retardation)
บุคคลกลุ่มน้ีจะมีระดับไอคิวอยู่ท่ีช่วง 50 ถึง 69 อาจจะไม่แสดงอาการ หรือแสดงล่าช้า
จนกระท่ังเข้าเรียน แต่ถ้าสังเกตอย่างละเอียดจะพบว่าเด็กเหล่าน้ีมีความสามารถต่ํากว่า
เกณฑ์อย่างเห็นได้ชัดต้ังแต่วัยอนุบาล ยกเว้นกลุ่มอาการท่ีมีลักษณะพิเศษท้ังรูปร่าง
หน้าตาปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนซ่ึงจะสามารถวินิจฉัยได้เห็นต้ังแต่วัยทารก บุคคลในกลุ่ม
น้ีสามารถพัฒนาทักษะทางสังคมและการส่ือสารได้เหมือนบุคคลท่ัวไป แต่จะบกพร่อง
ทางด้านประสาทสัมผัสและการเคล่ือนไหวการเรียนรู้ สามารถฝึกทักษะทางด้านสังคมและ
อาชีพเล้ียงตัวเอง สามารถประกอบอาชีพท่ีไม่ต้องใช้ทักษะฝีมือแต่อาจจะต้องการความ
ช่วยเหลอื เม่อื ประสบความเครียด
2. ความบกพร่องทางสตปิ ญั ญาระดับปานกลาง (Moderate Mental Retardation)
บุคคลกลุ่มน้ีจะมีระดับไอคิวท่ีช่วง 35 ถึง 49 ส่วนใหญ่จะเห็นความบกพร่องได้ชัดเจน
ในช่วงอายุ 1 ปี โดยจะสังเกตได้จากมีพัฒนาการทางการพู ดช้า ต้องการความช่วยเหลือ
ท้ังท่ีบ้าน โรงเรียน และในสังคม สามารถเข้าร่วมกิจกรรมง่าย ๆ ได้ สามารถทํางานท่ีไม่
ตอ้ งใช้ทักษะฝีมือแต่ตอ้ งอยู่ภายใต้การกาํ กับดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ
3. ความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญาระดบั รุนแรง (Severe Mental Retardation)
บุคคลกลุ่มน้ีจะมีระดับไอคิวท่ีช่วง 20 ถึง 34 มีการเคล่ือนไหวท่ีล่าช้าอย่างชัดเจน ทักษะ
การสื่อความหมายมีเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลยสามารถดูแลตนเองได้ในเบ้ืองต้นสามารถ
ดํารงชีวิตอยใู่ นสังคมไดแ้ ตต่ ้องมีการควบคมุ ดแู ล

4. ความบกพรอ่ งทางสติปญั ญาระดับรุนแรงมาก (Profound Mental Retardation)
บุคคลกลุ่มน้ีจะมีระดับไอคิวต่ํากว่า 20 มีพัฒนาการอย่างล่าช้าในทุก ๆ ด้าน สามารถ
ช่วยเหลือตนเองได้บ้างแต่มีขีดจํากัดในการเข้าใจ ต้องการความช่วยเหลือดูแลอย่าง
ใกลช้ ิดตลอดเวลา

สวัสดกิ ารสําหรบั บคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา
ปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีสวัสดิการสําหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาย่าง

ชัดเจน ท่ีเห็นได้ในปัจจุบันคือ บัตรประจําตัวคนพิการ ซ่ึงตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 มาตรา 20 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556 ผู้ท่ีถือ
บัตรประจําตัวคนพิการสามารถ ย่ืนขอใช้สิทธ์ิประโยชน์สิ่งอํานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ
ตลอดจนสวัสดิการและความชว่ ยเหลอื จากรฐั เชน่

1. การฟ้ ืนฟู สมรรถภาพโดยกระบวนการทางแพทย์ในเร่ืองการบริการและค่าใช้จ่ายในการ
รักษาพยาบาลสามาถเข้าถึงอุปกรณ์ เคร่ืองช่วยความพิการ คนพิการมีบัตรทองผู้พิการ
สามารถเข้าถึงและใชบ้ รกิ ารสาธารณสุขของรฐั ไดท้ ุกแหง่ โดยไมต่ ้องมใี บส่งต่อ

25

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

2. การคุ้มครองสิทธิคนพิการทางการศึกษา โดยสถานศึกษาต้องให้การสนับสนุนตามความ
จาํ เปน็ และเหมาะสมอย่างทว่ั ถึง

3. ส่งเสริมอาชีพและคุ้มครองการมีงานทําของคนพิการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ี
กําหนด

4. คุ้มครองสิทธิคนพิการทางสังคมและสวัสดิการเพ่ือให้การคุ้มครองเป็นไปอย่างท่ัวถึง เช่น
การช่วยเหลือทางกฎหมายการ ปรับสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัย ช่วยเหลือคนพิการท่ีไม่มี
ผคู้ นคนดแู ล จัดสวัสดกิ ารเบ้ยี ความพิการ

5. จดั ให้มสี ิ่งอํานวยความสะดวกใหค้ นพิการสามารถเข้าถึงและสามารถใช้ประโยชน์ได้
6. บริการให้กู้เงินทุนประกอบอาชีพสําหรับผู้พิการท่ีบรรลุนิติภาวะและผู้ดูแลคนพิการตาม

กฎหมาย
บทบาทของผูเ้ ก่ยี วข้องในการทาํ งานกบั บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางสติปญั ญา

บทบาทของครอบครัว – เรียนรู้ ทําความเข้าใจเก่ียวกับความบกพร่องทางสติปัญญา
สนับสนุนให้เรียนรู้ทักษะการดูแลตนเอง เช่น การรับประทานอาหาร การดูแลเร่ืองเคร่ืองแต่งกาย
ของตนเอง เป็นต้น มอบหมายงานในบ้านโดยอธิบายวิธีการทํางานให้เข้าใจง่าย เป็นข้ันเป็นตอน
สาธิตวิธีการทํางาน พยายามชมบ่อย ๆ เพื่อเป็นการสร้างกําลังใจ หาโอกาสและสนับสนุนให้เข้า
ร่วมกจิ กรรมทางสังคม

บทบาทของครู – จัดหลักสูตรการเรียนการสอน สภาพแวดล้อมให้เหมาะสม สอดคล้อง
กับความต้องการของผู้เรียน ให้ความช่วยเหลือเพื่อให้นักเรียนได้รับประโยชน์จากการศึกษาจน
สามารถให้พัฒนาตนเองได้อยา่ งมศี ักยภาพ

26

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ธวัชชยั กลู หลัก 6105680117

เด็กด้อยโอกาสทางการศึกษาในประเทศไทยท่ีทางกระทรวงศึกษาธิการกําหนด หมายถึง
บุคคลท่ีมีอายุต่ํากว่า 18 ปีบริบูรณ์ เป็นเด็กท่ีอยู่ในสภาวะยากลําบาก เน่ืองจากประสบปัญหาต่าง ๆ
มีชีวิตความเป็นอยู่ด้อยกว่าเด็กปกติท่ัวไป เด็กไม่มีโอกาสท่ีจะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือได้รับ
การพัฒนาท้ังทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตใจ จําเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ
เป็นกรณีพิเศษเพื่อให้มีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน มีพัฒนาการท่ีถูกต้องเหมาะสมกับวัยและสามารถ
บรรลุถงึ ศักยภาพขน้ั สูงสุดได้ มี 10 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) เดก็ ยากจน (มากเป็นพิเศษ) 2) เด็กท่มี ปี ัญหา
เก่ียวกับยาเสพติด 3) เด็กท่ีถูกทอดท้ิง 4) เด็กท่ีถูกทําร้ายทารุณ ล่วงละเมิดทางเพศ 5) เด็กท่ีได้รับ
ผลกระทบจากโรคเอดส์หรือโรคติดต่อร้ายแรงท่ีสังคมรังเกียจ 6) เด็กในชนกลุ่มน้อย 7) เด็กเร่ร่อน
8) เด็กถูกบังคับให้ขายแรงงาน หรือแรงงานเด็ก 9) เด็กท่ีอยู่ในธุรกิจทางเพศหรือโสเภณีเด็ก และ
10) เด็กในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เด็กกลุ่มเหล่าน้ีเป็นเด็กท่ีอยู่ในวงจรของความ
เหล่ือมล้ําทางการศึกษา มีรูปแบบความด้อยโอกาสท่ีแตกต่างกัน เด็กบางคนก็ได้ประสบกับความ
ด้อยโอกาสน้ีเป็นความด้อยโอกาสซับซ้อน กล่าวคือ เด็กบางคนน้ันเป็นท้ังเด็กด้อยโอกาสยากจน
(มากเป็นพิเศษ) ในขณะเดียวกันก็เป็นเด็กด้อยโอกาสในชนกลุ่มน้อยด้วย เด็กด้อยโอกาสทาง
การศึกษาทุกกลุ่มน้ีมีความจําเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ เพ่ือให้มีพัฒนาการท่ี
เหมาะสม สามารถเตบิ โตในสังคมสามารถมีชีวติ ความเป็นอยู่ทด่ี ี

เด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) เป็นเดก็ กลุม่ หนง่ึ ทอ่ี ยู่ในเด็กดอ้ ยโอกาสทางการศึกษา เน่อื งจาก
ในกลุ่มของเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษามีจํานวนมากถึง 10 กลุ่ม ผู้เขียนได้ศึกษาทบทวนเลือกกลุ่ม
ท่ีเป็นประเด็นหลักท่ีมีความเก่ียวกับกับประเด็นอ่ืน ๆ ให้ได้มากท่ีสุด พบว่าเด็กยากจน (มากเป็น
พิเศษ) เป็นประเด็นท่ีมีความเช่ือมโยงกับและเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นอ่ืน ๆ ในกลุ่มเด็ก
ด้อยโอกาสทางการศึกษา อีกท้ังเด็กกลุ่มน้ีเป็นเด็กท่ีดูเหมือนเด็กปกติ ถ้าหากไม่ทําการศึกษา
สอบถามอาจไม่ทราบได้ว่าเป็นเด็กพิเศษ มีบางส่วนในตกหล่นจากระบบการศึกษาไป และบางส่วนยัง
อยู่ในระบบการศึกษา เป็นกลุ่มท่ีได้รับผลกระทบทางอารมณ์และสังคม ซ่ึงผู้เขียนในฐานะนักศึกษา
สังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มีความคดิ เหน็ วา่ เด็กยากจน (มากเปน็ พิเศษ) มคี วามเก่ยี วขอ้ งกบั งานสังคม
สงเคราะห์มากท่ีสุดด้วยจากกลุ่มของเด็กพิเศษท้ัง 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มทางสติปัญญา การเรียนรู้
(Atypical Learners) 2) กลุ่มทางอารมณ์และสังคม (Disturbed) และ 3) กลุ่มทางร่างกาย
(Physically Handicapped) ผู้เขียนจึงมีความสนใจและได้เลือกศึกษาประเด็นของเด็กด้อยโอกาส
ทางการศึกษา กลุม่ เด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) มาอภปิ รายในงานช้นิ น้ี

เด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) เป็นเด็กกลุ่มหน่ึงท่ีอยู่ในกลุ่มของเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา
ตามคําจัดกัดความของกระทรวงศึกษาธิการ เด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) หมายถึง เด็กซ่ึงเป็นบุตร
หลานของคนยากจนท่ีมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการเล้ียงชีพครอบครัวมีรายได้เฉล่ียไม่เกิน ๒๐,๐๐๐
บาทต่อปี ครอบครัวอยู่รวมกันหลายคนขาดแคลนปัจจัยพื้นฐาน มีชีวิตอยู่อย่างยากลําบากรวมถึง
เด็กในแหล่งชุมชนแออัดหรือบุตรของกรรมกรก่อสร้างหรือเด็กจากครอบครัวท่ีอยู่ในถ่ินทุรกันดาร
ห่างไกลทข่ี าดโอกาสท่จี ะได้รบั การศึกษา และบริการอ่นื ๆ

27

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

จากกลุ่มของเด็กพิเศษท้ัง 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มทางสติปัญญา การเรียนรู้ (Atypical
Learners) 2) กลุ่มทางอารมณ์และสังคม (Disturbed) และ 3) กลุ่มทางร่างกาย (Physically
Handicapped) เด็กยากจน (มากเป็นพิ เศษ) จัดอยู่ในเด็กพิ เศษในกลุ่มอารมณ์และสังคม
(Disturbed) เป็นกลุ่มท่ีสามารถพบเจอได้เหมือนเด็กปกติท่ัวไป โดยส่วนใหญ่แล้วหลาย ๆ คน
รวมถึงผู้เขียนเองก่อนท่ีจะได้ศึกษาในเร่ืองน้ี ก็ไม่ได้ทราบหรือมองว่าเด็กกลุ่มน้ีเป็นเด็กพิเศษ หาก
เด็กกลุ่มน้ีท่ีอยู่ในระบบการศึกษาอาจถูกมองจากเพ่ือน ๆ คุณครู ว่าเป็นเด็กมีปัญหา ด้ือ เกเร มี
พฤติกรรมไม่เหมาะสม โดยไม่ได้รับรู้ถึงสาเหตุภูมิหลังท่ีทําให้เด็กกลุ่มน้ีเป็น “เด็กพิเศษ” จากระบบ
ต่าง ๆ และการคาดหวังของสังคม เป็นกลุ่มเด็กพิ เศษท่ีไม่ได้รับการดูแลบ่อยคร้ัง และได้รับ
ผลกระทบอยู่เสมอ เช่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เด็กกลุ่มน้ี
เป็นเด็กท่ียากจนมาก การเข้าถึงอุปกรณ์การเรียนท่ีต้องปรับตัวเข้ากับสถานการณ์การเรียนออนไลน์
จึงเป็นเร่ืองท่ีใหญ่และยากมากสําหรับเด็กกลุ่มน้ี ไม่มีสมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ หรือไม่มีแม้กระท่ังท่ี
อยู่อาศัยสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับการเรียนออนไลน์ สถานศึกษาอาจไม่ได้รับรู้ถึงปัญหา หรือรับรู้
แต่ไม่สามารถช่วยเหลือเด็กกลุ่มน้ีได้ สถานศึกษาอาจจะยังสอนเหมือนเดิม ประเมินผลแบบเดิม โดย
ไม่ได้มองเห็นผลกระทบของเด็กพิเศษกลุ่มน้ี สุดท้ายเด็กพิเศษกลุ่มน้ีก็อาจถูกมองว่าเป็นเด็กท่ีมี
ปัญหา ไม่มีความพยายามปรับตัวในการเรียนรู้ โดยอาจจะไม่ได้คํานึงถึงความหลากหลายและความ
เปน็ “เดก็ พิเศษ” ของเดก็ ยากจน (มากเป็นพิเศษ) น้ี

ข้ อ มู ล ส ถิ ติ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง สํ า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น
กระทรวงศึกษาธิการ ได้สรุปข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาประจําปี 2563 เป็นข้อมูลแสดงจํานวน
โรงเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสงเคราะห์ โรงเรียนการศึกษาพิเศษ
ประกอบด้วยโรงเรียนจํานวนท้ังส้ิน 29,642 โรงเรียน มีจํานวนนักเรียนจากก่อนระดับช้ัน
ประถมศึกษาถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวนท้ังสิ้น 6,600,745 คน โดยในจํานวนท้ังหมด
น้ันเป็นนักเรียนท่ีมีความยากจน (มากเป็นพิเศษ) จํานวน 3,441,773 คน จากนักเรียนด้อยโอกาสทาง
การศึกษาท้ังหมดจํานวน 3,465,740 คน ซ่ึงเป็นจํานวนท่ีมากท่ีสุดในกลุ่มของนักเรียนด้อยโอกาส
ทางการศึกษา และเป็นจํานวนท่ีมากกว่านักเรียนรวมท้ังหมดถึง 282,801 คน ดังตารางสรุปข้อมูล
จํานวนโรงเรียน จํานวนนักเรียน และจํานวนนักเรียนด้อยโอกาส ประจําปี 2563 ของสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หมายเหตุ. สรปุ ขอ้ มลู จาก
ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ปี 2563, ข้อมูลปีการศึกษา 2563 ในภาพรวม สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐาน, ตารางที่ 6 จํานวนโรงเรียน

นักเรียน ครู/ลูกจ้าง และห้องเรียน จําแนกตามขนาดจํานวนนักเรียน ปีการศึกษา 2563, ตารางที่ 10 จํานวนนักเรียน ห้องเรียน จําแนกเพศ ราย
ชั้น ปีการศึ กษา 2563, ตารางที่ 14 จํานวนนักเรียนด้อยโอกาส จําแนกตามประเภทความด้อยโอกาส รายชั้น ปีการศึ กษา 2563, โดย สํ านักงาน
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร สื บ ค้ น จ า ก https://www.bopp-obec.info/home/?page_id=3 3 7 4 8 ( opens%
20in%20a%20new%20tab

28

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

จากข้อมูลสถานการณ์ท่ีกล่าวไปข้างต้นเป็นเพียงข้อมูลของเด็กยากจน (เป็นพิเศษ) ในส่วนท่ี
ยังคงอยู่ในระบบการศึกษาในสังกัดของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานเท่าน้ันยังไม่
รวมถึงโรงเรียนเอกชนและเด็กท่ีไม่อยู่ในระบบการศึกษา จากข้อมูลของสถาบันวิจัยเพ่ือความเสมอ
ภาคทางการศึกษา (วสศ.) ภายใต้กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) มีผลการศึกษา
ในเร่ืองเด็กยากจน พบว่าการศึกษาคือประตูบานสําคัญสู่โอกาสในชีวิต แต่ไม่ใช่ทุกคนท่ีได้รับโอกาส
ทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม สาเหตุสําคัญคือความยากจน มีเด็กท่ีเผชิญกับปัญหาน้ีมากถึง 4.32
ล้านคน แม้ว่าเด็กวัยเรียนจะได้รับสิทธ์ิเรียนฟรีตามนโยบายของรัฐบาลแต่กลับมีเด็กกลุ่มน้ีท่ีได้เรียน
หรืออยู่นอกระบบการศึกษาจํานวน 4.3 แสนคน หรือ ร้อยละ19.4 ของเด็กวัยเรียน ความยากจนน้ีทํา
ให้เกิดเด็กยากจนและเด็กยากจน (เป็นพิเศษ) จํานวน 1.79 ล้านคน กําลังเสี่ยงหลุดออกจากระบบ
การศึกษาไป กลุ่มท่ีเสี่ยงท่ีสุดคือ เด็กยากจน (เป็นพิเศษ) 8.4 แสนคน ท่ีจนและพร้อมจะหลุดออก
จากระบบการศึกษาทันที หากไม่ได้รับการช่วยเหลือ โดยเด็กกลุ่มน้ีอยู่ในครัวเรือนท่ีสมาชิกรายได้
เฉล่ยี 1,332 บาทต่อคนต่อเดอื น คิดเปน็ วนั ละ 44 บาทเทา่ น้นั ในช่วงชว่ งเปดิ เทอม ครวั เรอื นนกั เรยี น
ยากจน (เป็นพิเศษ) ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายคิดเป็นเกือบท้ังหมดของรายได้ต่อเดือน สภาพครอบครัว
ของเด็กยากจน (เป็นพิเศษ) มักอยู่ในครอบครัวแหว่งกลาง ผู้ปกครองย้ายไปทํางานในพื้นท่ีอ่ืนหรือ
พ่ อแม่แยกทางกัน เด็กบางคนกลายเป็นเสาหลักหารายได้เล้ียงครอบครัวจนไม่ได้ไปเรียน
บางครอบครัวผู้ท่ีทํางานมีรายได้หลักอาจจะตกงาน หรือมีผู้ป่วยเร้ือรัง พิการ ทําให้เด็กต้องสละเวลา
เรียนเพ่ือดูแลคนในครอบครัว ในด้านท่ีอยู่อาศัยการมีท่ีดินของตนเอง ครัวเรือนของเด็กกลุ่มน้ีกว่า 5
แสนคนไม่มีท่ีดินทํากินเป็นของตัวเอง อยู่บ้านเช่า อยู่หอพัก อยู่กับผู้อ่ืน หรืออาศัยตามท่ีสาธารณะ
ท่ีรกร้าง ส่งผลต่อ การถูกไล่ท่ี การย้ายท่ีอยู่และย้ายโรงเรียนการเดินทางจากท่ีอยู่อาศัยท่ีห่างไกล
ไม่มีพาหนะในการเดินทาง นําไปสู่การขาดเรียนและหลุดพ้ นออกจากระบบการศึกษาในท่ีสุด
ซ่ึงนอกจากส่งผลในด้านการศึกษาแล้วยังส่งผลทางด้านอ่ืน ๆ อีกหลายด้ายเป็นประเด็นท่ีซับซ้อน
อาทิ ความปลอดภัยในชีวิต อาหาร น้ําด่ืม ไฟฟา้ ของใช้ในครัวเรือน ท้ังหมดน้ีล้วนส่งผลต่อสุขภาพ
และคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี

“เด็กพิเศษ” ท่ีเป็น “เด็กยากจน (เป็นพิเศษ)” เป็น “ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา” แน่นอนว่า
ส่ิงสําคัญท่ีสามารถทําให้เด็กกลุ่มน้ีได้รับการดูแลก็คือ “การศึกษา” ท่ีจะช่วยให้เด็กด้อยโอกาสเหล่าน้ี
หลุดพ้นจากความยากจน ในปัจจุบันมีการดูแลช่วยเหลือเด็กกลุ่มน้ี โดยรัฐธรรมนูญปี 2540 มาตรา
43 เขียนไว้ชัดเจนว่า บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี
ท่ีรัฐจะต้องจัดให้โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซ่ึงตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 กําหนดไว้ชัดเจน
ว่า “การศึกษาข้ันพื้นฐาน” หมายความว่า การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา ดังน้ันตามรัฐธรรมนูญปี
2550 ทุกคนจึงมีสิทธิเรียนฟรีต้ังแต่ช้ันประถมศึกษา และหากรัฐบาลใดจะจัดการศึกษาฟรีให้มากกว่า
น้ันก็ได้ และได้มีการจัดต้ังกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือลดความเล่ือม
ล้ําทางการศึกษา เพื่อช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ รวมท้ังมีกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา
หรือ กยศ. ท่ีต้ังข้ึนตาม พ.ร.บ.กองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ื อการศึกษาอยู่ด้วย ในระบบการศึกษา
สถานศึกษา มีการสํารวจ การเก็บประวัติ เย่ียมบ้านนักเรียน ผ่านโครงการระบบช่วยเหลือดูแล
นักเรียน และในภาครวมมีเป้าหมายการพั ฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals:
SDGs) องค์การสหประชาชาติ ได้ให้ความสําคัญถึงเร่ืองน้ีในเป้าหมายท่ี 4 คือการสร้างหลักประกัน

29

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ว่าทุกคนมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้
ตลอดชีวิต ประเทศไทยโดยกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ขับเคล่ือนนโยบายจาก
เป้าหมาย SDGs ด้านการศึกษาเท่าเทียมและท่ัวถึง ท่ีจะลดจํานวนเด็กกลุ่มน้ีให้เป็นศูนย์ภายในในปี
พ.ศ.2570 และในปัจจุบันหน่วยงานน้ีเอง เป็นหน่วยงานหลักในการดูแลช่วยเหลือเด็กกลุ่มน้ี โดยการ
สํารวจความต้องการ การช่วยเหลือมอบทุนการศึกษา นอกจากนโยบายรัฐบาลและหน่วยงานราชการ
ยังมีหน่วยงานเอกชน มูลนิธิ อ่ืน ๆ ท่ีทํางานด้านการช่วยเหลือเด็กกลุ่มน้ี เช่น มูลนิธิยุวพัฒน์ มูลนิธิ
โครงการเพ่ือชวี ิต มลู นธิ เิ ดก็ มลู นธิ ิกองทนุ การศึกษาเพื่อการพัฒนา เป็นตน้

จากประเด็นต่าง ๆ ท่ีผู้เขียนได้กล่าวไปข้างต้นท้ังหมดน้ัน ในภาพรวมของการดูแลและ
ช่วยเหลือบทบาทและผู้เก่ียวข้องในการทํางานกับ “เด็กพิเศษ” ท่ีเป็น “เด็กยากจน (เป็นพิเศษ)”
ในภาพรวม ผู้เขียนมีความเห็นว่า บทบาทของภาครัฐถือเป็นภาคส่วนสําคัญในการผลักดันนโยบาย
ช่วยเหลือเด็กพิเศษกลุ่มน้ี ประเด็นสําคัญท่ีผู้เขียนได้เขียนไปในงานช้ินน้ีประเด็นหน่ึงคือ การท่ีเด็ก
พิเศษกลุ่มน้ี เป็นเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา เป็นเด็กยากจน (เป็นพิเศษ) สาเหตุมาจากพ่อแม่
ผู้ปกครอง ครอบครัวประสบปัญหาความยากจนอยู่ก่อนแล้ว ดังน้ัน จึงเป็นของรัฐบาล หน่วยงานท่ี
เก่ียวข้อง และนักสังคมสงเคราะห์ท่ีควรช่วยเหลือพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครอบครัวท่ียากจน พร้อมกับ
ช่วยเด็กไปด้วยพร้อม ๆ กัน ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกันคือ สถานศึกษา หมายรวมถึง ผู้บริหาร
ครู บุคลากรในสถานศึกษน้ัน ๆ รวมท้ังหน่วยงานด้านการศึกษาท่ีกําหนดแนวทางนโยบาย ควรมี
บทบาทในการช่วยเหลือดูแลเด็กกลุ่มน้ี โดยเร่ิมจากการเข้าใจถึง การเป็น “เด็กพิเศษ” ท่ีเป็น
“เด็กยากจน (เป็นพิเศษ)” เข้าใจในบริบทของความไม่พร้อม ความหลากหลาย ในกระบวนการสอน
คํานึงถึงเด็กกลุ่มน้ี ให้ความสําคัญในการเข้าถึงการศึกษา ร่วมกับแนวทางการช่วยเหลือให้เด็กกลุ่มน้ี
สามารถดําเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ส่วนสําคัญท่ีสุดท่ีผู้เขียนสนใจและได้เลือกกลุ่ม “เด็กพิเศษ”
ท่ีเป็น “เด็กยากจน (เป็นพิเศษ)” มาศึกษา เพราะมีความคิดเห็นว่าเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับงานสังคม
สงเคราะห์อย่างมาก น่ันคือการจัดสวัสดิการทางการศึกษา บทบาทนักสังคมสงเคราะห์คือการ
ร่วมกับสถานศึกษาในการทําความเข้าใจ เตรียมความพร้อมเด็กกลุ่มน้ี ร่วมสร้างสรรค์กิจกรรมต่าง
ๆ ท่ีเป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อให้เด็กสามารถปรับตัวได้ รวมถึงสร้างการรับรู้ในวงกว้างเพื่อการ
เข้าใจเด็กพิเศษกลุ่มน้ี ร่วมกับการดูแล ประเมินในมิติสภาพแวดล้อม บ้าน ครอบครัว ผู้ปกครอง
ช่วยเหลือให้ครอบครัวสามารถดูแลเด็กได้อย่างเหมาะสม ผ่านกระบวนการทางสังคมสงเคราะห์
การส่งต่อบริการ และการทํางานร่วมกับทีมสหวิชาชีพ เพราะการช่วยเหลือเด็กกลุ่มน้ีมีความซับซ้อน
และปัญหาท่ีแตกต่างกันไปในละกรณี บทบาทท่ีสําคัญท่ีสุดน้ันคือบทบาทของทุกภาคส่วนในการ
ร่วมกับขับเคล่ือน ดูแล “เด็กพิเศษ” ท่ีเป็น “เด็กยากจน (เป็นพิเศษ)” ให้สามารถหลุดพ้นจากการ
เปน็ เด็กพิเศษน้ี สามารถมีชีวติ เตบิ โตอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีคณุ ภาพและใชช้ วี ติ ไดอ้ ย่างมีความสุข

30

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

ธนปรัชญ์ เมอื งพวน6105680166

1. นกั ศึกษาเลือกกลุ่มเป้าหมายท่สี นใจ 1 กลมุ่ พร้อมเหตผุ ล

กลุ่มเป้าหมายท่ีนักศึกษาสนใจ คือ เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน (Hearing
Impaired Children) เพราะหลังจากท่ีได้ฟงั การบรรยายในรายวิชาดค.362 นโยบายและสวัสดิการ
การศึ กษาสําหรับเด็กพิ เศษ (ณ วันท่ี 8 มกราคม 2564) ท่ีผ่านมาทําให้นักศึ กษาสนใจใน
กลุ่มเป้าหมายกลุ่มน้ีเป็นอย่างมาก ผนวกกับการท่ีนักศึกษามีความสนใจในภาษามือ (Sign
Language) เป็นทุนเดิมอยู่แล้วด้วย นักศึกษาจึงได้เลือกกลุ่มเป้าหมายน้ีเป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีจะศึกษา
นน่ั เอง

2. หวั ขอ้ การเขยี นงาน

2.1 กลุ่มทเ่ี ลอื กจดั อยู่ในกลุ่มใด/อธิบาย

Physically Handicapped หรือกลุ่มเด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายและสุ ขภาพ
โดยกลุ่มเด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ (Physically Handicapped) น้ันสามารถ
จําแนกแยกย่อยลงไปได้อีก ซ่ึงเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินถือว่าจัดอยู่ในกลุ่ม Speech
Handicapped ทว่ี ่าด้วยความบกพร่องเก่ยี วกับการพูด การได้ยิน หหู นวก ได้ยินไมช่ ัดน่นั เอง

2.2 ข้อมลู เบ้อื งตน้ เพ่ือทําความเขา้ ใจกล่มุ เปา้ หมายทเ่ี ลอื ก

2.2.1 ลักษณะท่วั ไป สถาการณ์ปญั หา/ความตอ้ งการ

ความหมายของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติ 2530 ได้ให้ความหมายของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินไว้ว่า หมายถึง
เด็กท่ีบกพร่องหรือสูญเสียการได้ยิน ซ่ึงเป็นสาเหตุให้การรับฟงั ไม่ชัดเจน และสามารถแบ่งเด็กท่ีมี
ความบกพร่องทางการได้ยินออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ เด็กหูตึง (Hard of Hearing) และเด็ก
หูหนวก (Deaf) โดยเด็กหูหนวก หมายถึง เด็กท่ีไม่สามารถได้ยินเสียงได้เลยหรือได้ยินเสียงน้อยมาก
และไม่สามารถใช้การได้ยินในชีวิตประจําวันได้ ส่วนเด็กหูตึง หมายถึง เด็กท่ีมีการได้ยินเหลืออยู่บ้าง
และสามารถไดย้ นิ เสียงได้ ไม่ว่าจะใส่เครอ่ื งช่วยฟงั หรือไม่กต็ าม

ลักษณะความบกพร่องทางการได้ยิน ได้แก่ การสูญเสียการได้ยินต้ังแต่ระดับหูตึง
นอ้ ยจนถงึ หูหนวก ซง่ึ แบง่ เป็น 2 ประเภท ดงั น้ี

1) หู ห น ว ก ห ม า ย ถึ ง ก า ร ท่ี บุ ค ค ล มี ข้ อ จํ า กั ด ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ใ น
ชีวิตประจําวันหรือการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องใน
การได้ยินจนไม่สามารถรับข้อมูลผ่านทางการได้ยิน เม่ือตรวจการได้ยิน โดยใช้คล่ืนความถ่ีท่ี 500

31

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

เฮิรตซ์ 1,000 เฮิรตซ์ และ 2,000 เฮิรตซ์ ในหูข้างท่ีได้ยินดีกว่าจะสูญเสียการได้ยินท่ีความดังของ
เสียง 90 เดซิเบลข้นึ ไป

2) หูตึง หมายถึง การท่ีบุคคลมีข้อจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวัน
หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเป็นผลมาจากการ มีความบกพร่องในการได้ยิน
เม่ือตรวจวัดการได้ยิน โดยใช้คล่ืนความถ่ีท่ี 500 เฮิรตซ์ 1,000 เฮิรตซ์ และ 2,000 เฮิรตซ์ ในหูข้าง
ทไ่ี ด้ยนิ ดีกว่าจะสูญเสียการไดย้ นิ ท่คี วามดังของเสียงน้อยกว่า 90 เดซเิ บลลงมาจนถึง 26 เดซิเบล

สาเหตุของความบกพรอ่ งทางการได้ยิน สามารถแบง่ ไดด้ งั น้ี
1) ก ร ร ม พั น ธุ์ เ ป็ น ส า เ ห ตุ สํ า คั ญ ข อ ง ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ก า ร ไ ด้ ยิ น ซ่ึ ง

(Gearheart and Weishahn 1976) ได้ทําการสํารวจเด็กหูหนวกใน 3 มลรัฐในอเมริกา พบว่า 1 ใน
3 ของเด็กหูหนวกท้ังหมดมีสาเหตุมาจากกรรมพันธุ์ ส่วนการสูญเสียการได้ยินจะเกิดข้ึนก่อนคลอด
หลงั คลอด หรือตอนโต

2) สาเหตุก่อนคลอด ซ่ึงอาจเกิดจกระหว่างท่ีอยู่ในครรภ์ได้รับเช้ือโรค หรือไวรัส
บางชนิดจากมารดาเม่ือมารดาป่วย ทําให้เด็กสูญเสียการได้ยิน ไวรัสส่วนใหญ่ คือ หัดเยอรมัน เด็กท่ี
ได้รับเช้ือน้ีจากมารดาท่ีป่วยเป็นหัดเยอรมัน อาจกลายเป็นเด็กพิการซ้ําซ้อน หรือพิการทางกายอย่าง
เดียวก็ได้ เชน่ หหู นวก ตาบอด ปญั ญาอ่อน สมองพิการ เป็นต้น

3) สาเหตุระหว่างคลอด อาจเกิดจากเด็กได้รับบาดเจ็บระหว่างคลอด แต่โอกาส
เป็นไปได้น้อย เพราะการแพทย์ในปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ฉะน้ันการบาดเจ็บ
ระหว่างคลอดท่ที ําให้เด็กหหู นวกนน้ั มจี งึ มจี ํานวนน้อย

4) สาเหตุหลังคลอด ซ่ึงอาจทําให้สูญเสียการได้ยินทุกเม่ือ และเกิดจากหลาย
สาเหตุด้วยกัน เช่น เกิดจากอุบัติหตุเสียงดังมาก ความชราซ่ึงเป็นเหตุให้การได้ยินเสื่อมลง รวมท้ัง
โรคติดเช้ือบางชนิด นอกจากน้ีอาจเกิดจากในกรณีเด็กมีพ่อแม่หูหนวก เด็กจะเร่ิมสูญเสียการได้ยิน
เม่อื ใดกไ็ ด้ (ผดุง อารยะวิญkู 2523 : 10)

พัฒนาการของเด็กทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน

1) พัฒนาการทางด้านร่างกาย เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินจะมีการ
เจริญเติบโตและพัฒนาการทางด้านร่างกายเช่นเดียวกับเด็กปกติ แต่ต่างกันท่ีเด็กกลุ่มน้ีจะมี
ความผดิ ปกติทางดา้ นประสาทหเู ทา่ นน้ั

2) พัฒนาการทางอารมณ์ เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินมีแนวโน้มท่ีจะมี
ปญั หาทางอารมณ์ โมโหง่าย ฉนุ เฉยี ว ดอ้ื รน้ั ขาดความอบอุน่ และกลวั ความมืด

3) พัฒนาการทางสังคม เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินมีแนวโน้มท่ีจะ
แยกตัวออกจากสังคม เพราะเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินขาดการรับรู้กฎเกณฑ์ทางสังคม
จงึ มคี วามลาํ บากในการปรับตวั ในสังคม

4) พัฒนาการทางบุคลิกภาพ เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินมีแนวโน้มท่ีจะ
ยึดความคดิ ของตนเองเปน็ ใหญ่ และมีจิตใจอ่อนไหว โลเล

32

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

5) พัฒนาการทางด้านสติปัญญา เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินเร่ิมแสดง
พัฒนาการท่ีล่าช้าในช่วงปลายของวัยเข้าเรียน เน่ืองจากความบกพร่องทางภาษาของเด็ก จึงส่งผล
การประมวลข้อมูล ก่อให้เกิดการขาดประสบการณ์ ส่งผลต่อการพัฒนาการและการพัฒนาความคิด
รวบยอด (ศรียา นิยมธรรม 25410 : 68-69)

6) พัฒนาการทางภาษา เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินมีแนวโน้มท่ียากแก่
การเรียนเพราะขาดโอกาสได้ยินเสียง ย่อมยากแก่การเรียนรู้ทางภาษาและมีปัญหาทางการเรียนรู้
(Bowley and Gardener 1969 อา้ งถงึ ในดวงเนตร คงปรีพันธ์ุ 2541 : 26)

สรุปได้ว่าเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินมีพั ฒนาการด้านร่างกายท่ี
เหมือนกับเด็กปกติ ส่วนพัฒนาการทางด้านอารมณ์จะรุนแรงกว่าเด็กปกติ พัฒนาการทางด้าน
สังคมและบุคลิกภาพแตกต่างจากเด็กปกติ เน่ืองจากไม่สามารถสื่อสารกับผู้อ่ืน ทําให้มีผลกระทบต่อ
ความสัมพันธก์ ับผ้อู น่ื สําหรบั พัฒนาการทางดา้ นสตปิ ญั ญามีพัฒนาการไมแ่ ตกต่างจากเดก็ ปกติ

2.2.2 บรกิ าร สวัสดิการตา่ ง ๆ ท่มี สี ําหรบั กล่มุ ดังกล่าว

หลังจากการคัดกรองจากโรงพยาบาลแล้วบิดามารดาของเด็กสามารถนําเด็กไปรับ
การช่วยเหลือระยะแรกเร่ิมได้จากศูนย์การศึกษาพิเศษประจําจังหวัดต่าง ๆ และศูนย์การศึกษาพิเศษ
สังกัดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ตลอดจนศูนย์บริการเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินของเอกชน
บริการดังกล่าวจะให้การแนะนําวิธีดูแลและฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางการได้ยิน การสอนภาษามือ ตลอดจน
การเตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ ตามพั ฒนาการของอายุและศักยภาพของเด็กเป็นรายบุคคล
เม่ือเด็กได้รับการเตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ และถึงวัยเรียน เด็กเหล่าน้ีก็จะได้รับการส่งต่อสู่
สถานศึกษาท่ีเหมาะสมตามความเห็นชอบร่วมกันของผู้ปกครองและนักสหวิชาชีพต่อไป อน่ึงศูนย์
การศึกษาพิเศษต่าง ๆ สามารถอํานวยความสะดวกใน การจดทะเบียนคนพิการ เพ่ือให้ได้รับสิทธิทาง
การแพทย์ สาธารณสุข และการศึกษาได้ด้วย โดยเส้นทางการให้บริการทางการศึกษาสําหรับเด็กท่ีมี
ความบกพร่องทางการไดย้ ินช่วงการชว่ ยเหลอื ระยะแรกเรม่ิ ดังน้ี

1. ขน้ั ส่งต่อเพ่ือหาขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ (Referral)
- หากสงสัยวา่ จะมีความพิการ
- ส่งตอ่ เพ่ือการวนิ จิ ฉยั (หากพ่อแมไ่ ม่ขัดขอ้ ง)
- แนะนาํ บรกิ ารชว่ ยเหลือระยะแรกเรม่ิ แกพ่ ่อแม่
- แต่งต้งั ผู้ประสานงาน

2. ผู้ประสานงานบริการช่วยเหลอื ระยะแรกเร่มิ
- ใหข้ ้อมูลข่าวสารเก่ยี วกับบริการชว่ ยเหลอื เด็ก
- แจ้งสิทธติ ่าง ๆ ของเด็ก และผู้ปกครอง
- รวบรวมผลการประเมนิ วินจิ ฉยั ตา่ ง ๆ

3. การประเมิน
- ตรวจวัดการไดย้ ิน
- ให้คําปรกึ ษาผูป้ กครอง

33

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

- เตรียมขอ้ มลู เพื่อจัดทําแผนการบรกิ ารเฉพาะครอบครัว
4. การจัดแผนการบรกิ ารเฉพาะครอบครัว

- ครอบครวั บอกความมงุ่ หวังเกย่ี วกับเดก็
- ผู้ประสานงานแจ้งบรกิ ารท่จี ดั ให้
- พัฒนาแผนการบรกิ ารเฉพาะครอบครวั รว่ มกนั
- ครอบครวั ให้ความเหน็ ชอบ ตดิ ตาม ประเมินผล
5. ชว่ งเช่อื มตอ่ (Transition)
- วางแผนร่วมกับครูและนกั สหวิชาชพี
- จัดทําแผนบริการช่วงเช่ือมต่อทางการศึกษาหรือการเช่ือมต่อสู่โรงพยาบาล

หรอื ศูนย์ฟ้ นื ฟูสมรรถภาพอ่นื ๆ
6. การทบทวนแผนการบริการเฉพาะครอบครัว (อย่างน้อยทุก 6 เดือน) สิ่งท่ีเด็กจะ

ได้รับการพั ฒนาในศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม (หลักสูตรหรือมวล
ประสบการณ์) ได้แก่
- การพัฒนาทางร่างกาย (Physical) (รวมทง้ั การเห็นและการไดย้ นิ )
- การส่ือสาร (Communication)
- การพัฒนาทางอารมณแ์ ละสังคม (Emotional/Social)
- การพัฒนาความคดิ สติปญั ญา (Cognitive)
- การปรับตวั /การชว่ ยเหลือตนเอง (Adaptive development)

ปัจจุบันสถานศึกษาทุกประเภทท่ีรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพเข้า
ศึกษาไม่ว่าจะเป็นสถานศึกษาท่ีจัดเฉพาะความพิการ หรือความศึกษาท่ีจัดการเรียนรวม จะต้องจัดส่ือ
ส่ิงอํานวยความและบริการอ่ืนใดท่ีสอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของด็กทุกคนตามแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคลดังปรากฎในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข พ.ศ. 2545
และพระราชบญั ญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 (ราชกิจจานเุ บกษา เล่มท่ี 125 ตอน
ท่ี 28 ก 2551 หน้า 2)

นอกจากน้ันเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินจะสามารถได้รับบริการส่ือสิ่งอํานวย
ความสะดวกต่าง ๆ และเรียนฟรีจนถึงระดับอุดมศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การ
จดั การศึกษาสําหรบั คนพิการระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 อีกดว้ ย

2.2.3 บทบาทผู้เกย่ี วขอ้ งในการทํางานกับกลมุ่ เปา้ หมายท่เี ลอื ก
สําหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินหรือเด็กท่ีบกพร่องในด้านอ่ืน ๆ ทีมสหวิชาชีพมี
ความสําคัญเป็นอย่างมาก ซ่ึงการท่ีต้องใช้รูปแบบคณะทํางานลักษณะน้ีก็เพราะว่าเด็กท่ีมีความ
บกพร่องน้ันเกือบทุกคนมักจะต้องมีบุคคลในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ ร่วมมือกันฟ้ นื ฟู สมรรถภาพให้กับ
เขา กล่าวคือ เด็กท่ีมีความบกพร่องเช่นน้ีจะมีความยุ่งยากและซับซ้อนค่อนข้างมาก จึงจําเป็นต้องมี
คณะทํางานท่ีมีลักษณะสหวิชาชีพข้ึนมา เพื่อให้ผู้รับผิดชอบเด็กจากหลายสาขาอาชีพได้พบประหรือ
หารือซ่ึงกันและกัน อันมีความสําคัญย่ิงในการกําหนดแผนฟ้ ืนฟู ท้ังทางด้านการแพทย์ การศึกษา

34

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

และสังคม รวมไปถึงการอาชีพ ให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกัน โดยบทบาทผู้เก่ียวข้องหลักสําหรับใน
การทํางานกบั เด็กทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยิน ไดแ้ ก่

1. แพทย์ (Medical Personnel) ได้แก่ แพทย์ท่ัวไป และแพทย์ผู้เช่ียวชาญเฉพาะ
โรค เชน่ กุมารแพทย์ จักษุแพทย์ แพทย์ทางโสต ศอ นาสิก จติ แพทย์ รวมท้งั แพทย์ทางเวชศาสตร์
ฟ้ ืนฟู แพทย์จะทําหน้าท่ีตรวจ ให้การวินิจฉัย และวางแผนการบําบัดรักษาเพื่อปรับสภาพความ
บกพร่อง ฟ้ นื ฟู สมรรถภาพของเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษจนสามารถดํารงชีวิตได้ใกล้เคียงกับคน
ปกติมากท่ีสุด โดยอาศัยความร่วมมือจากเด็ก พยาบาล นักกายภาพบําบัด นักกิจกรรมบําบัด
นกั การพูด และนกั จิตวทิ ยาคลินิก

2. นักโสตสัมผัสวทิ ยา (Audiologist) คือ ผู้ท่ีศึกษามาโดยตรงให้มีความสามารถใน
การตรวจวัดการได้ยินเพ่ือเลือก และแนะนําการใช้เคร่ืองช่วยฟงั ฟ้ นื ฟู สมรรถภาพการได้ยิน ติดตาม
ประเมินผลการใช้เคร่ืองช่วยฟงั อันเป็นงานด้านเทคนิคทางการแพทย์แล้วยังต้องพัฒนาภาษาและ
การพู ด โดยใช้การมองเพื่อสื่อความหมาย และประสานงานกับครูเพ่ือแนะนําเก่ียวกับการช่วยเหลือ
เด็กพิเศษท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน นอกจากน้ียังต้องแนะแนวผู้ปกครองด้านจิตใจ สังคม
และการจดั การศึกษาใหเ้ ดก็ อย่างเหมาะสม

3. นกั การแกไ้ ขการพูด (Speech Therapist) คอื ผูท้ ่มี คี วามรู้ ความสามารถในการ
ทดสอบและประเมินความสามารถในการพูด เพื่อวางแผนการแก้ไขการพูดของเด็กท่ีมีความบกพร่อง
ทางการพู ดเป็นรายบุคคล ตลอดจนดําเนินการฝึก ตามความเหมาะสมเป็นรายกรณี หรือเป็นกลุ่ม
ตามสภาพของความบกพร่อง นอกจากน้ียังต้องส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา ให้เด็กท่ีบกพร่อง
ทางการได้ยิน แนะนําเทคนิควิธีสอนให้ครูสอนพู ด (Speech Teacher) เพ่ือให้พัฒนาและแก้ไขการ
พูดให้เดก็ พิเศษตามความจาํ เปน็

4. นักสังคมสงเคราะห์ (Social Worker) คือ ผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถและได้รับ
มอบหมายให้ทําหน้าท่ี การแนะนํา สงเคราะห์ให้คําปรึกษาแก่เด็กพิเศษท่ีมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ
และครอบครวั โดยทาํ งานประสานกับโรงเรยี น ครอบครัวเดก็ ท่มี ีความต้องการพิเศษแตล่ ะราย รวมทง้ั
การประสานประโยชน์ระหว่างโรงเรียนกับองคก์ รอ่นื ดว้ ย

35

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

เบญจวรรณ อทุ ธยิ า 6105680182

ความบกพรอ่ งดา้ นสติปญั ญา (Atypical Learners)
กลุ่มภาวะปญั ญาอ่อน (Retarded), เรยี นรู้ชา้

สาเหตุท่ีเลือก: เด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาเป็นเด็กท่ีมีลักษณะพิเศษแตกต่างจาก
เด็กประเภทอ่ืน มักมีปัญหาเกือบทุกด้านในชีวิตประจําวัน และปัญหาการเรียน เน่ืองจากเด็กมี
ข้อจํากัดในการเรียนรู้ เช่น ความจําไม่ดี สมาธิส้ัน ช่วงความสนใจสั้น ทําให้ไม่สามารถทําส่ิงต่าง ๆ
ไดเ้ ท่ากบั เพ่ือนในวยั เดยี วกนั

ความสําคัญของกลุ่มภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญา
“ความบกพร่องทางสติปัญญา” เป็นคําท่ีนํามาใช้แทนคําว่า “ปัญญาอ่อน” เน่ืองจากคําเดิม

ถูกนําไปใช้ในทางลบค่อนข้างมาก ทําให้ความรู้สึกในเชิงลบ และไม่ได้รับการยอมรับในภาคสังคม จึง
เปล่ียนการเรียกช่ือใหม่ คําน้ีตรงกับการวินิจฉัยโรคทางจิตเวชเด็กช่ือ “Intellectual Disability”
ห รื อ “ Intellectual Developmental Disorder” (ต า ม เ ก ณ ฑ์ DSM-5 ข อ ง ส ม า ค ม จิ ต แ พ ท ย์
อเมริกัน) หรือ “Mental Retardation” (ตามเกณฑ์ ICD-10 ขององค์การอนามัยโลก รหัส F70-
79) นอกจากน้ี ผู้ท่ีมีลักษณะปัญญาอ่อนถูกจัดเป็นผู้พิการประเภท “ความบกพร่องทางสติปัญญา”
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กําหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา
พ.ศ.2552

ลักษณะอาการ
ความบกพร่องทางสติปัญญาจัดเป็นความบกพร่องท่ีเก่ียวกับพัฒนาการ (Developmental

disabilities) ประเภทหน่ึงโดยทําให้บุคคลมีความสามารถในการใช้สติปัญญาจากัดหรือต่ํากว่า
เกณฑ์มาตรฐานและมีความบกพร่องในการปรับตัวตามพัฒนาการแต่ละข้ัน เป็นอุปสรรคในการเรียน
มีเกณฑส์ ําคัญ 4 ขอ้ คอื

1. ระดับสติปัญญาต่ํากว่าเกณฑ์มาตรฐาน (70-75 หรือต่ํากว่าน้ัน) ตามการทดสอบระดับ
สติปัญญา (IQ test: Intelligence Quotient test)

2. มคี วามบกพร่องในการปรบั ตวั ดา้ นทักษะต่าง ๆ ท่จี าเป็นในการดาํ รงชีวติ ประจาํ วนั
- ด้านความคิดรวบยอด (conceptual domain) หมายถึง ทักษะการใช้ภาษา การอ่าน
การเขียน การคาํ นวณ การใช้เหตผุ ล และความจํา
- ด้านสังคม (social domain) หมายถึง การเข้าใจผู้อ่ืน การตัดสินใจในสถานการณ์ทาง
สังคมตา่ ง ๆ การสื่อสารระหว่างบคุ คล และสัมพันธภาพ
- ด้านทักษะในการดํารงชีวิตและการทํางาน (practical domain) หมายถึง การดูแล
ตนเองเร่ืองต่าง ๆ เช่น สุขอนามัยส่วนตัว ความรับผิดชอบในการเรียนและการทํางาน
รวมไปถึงการจดั การด้านการเงินของตนเอง

3. ความบกพร่องเกดิ ขน้ึ ระหว่างการพัฒนาการซ่งึ จะปรากฏชดั เจนกอ่ นอายุ 18 ปี

36

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

4. ความบกพร่องเปน็ อุปสรรคในการเรียน (Hallahan & Kauffman, 2006)

ระดับความบกพร่องทางการเรยี นรู้

มรี ะดับไอควิ อยใู่ นชว่ ง 50-69 ยกเว้นกลมุ่ อาการทม่ี ลี ักษณะพิเศษทางรปู ร่างหนา้ ตา

ปรากฏให้เหน็ ก็จะทําให้สามารถวนิ จิ ฉัยได้ตง้ั แตแ่ รกเกดิ หรอื ในวัยทารก

ระดบั ความรนุ แรง ระดบั IQ อาการ และ ระดับความ ร้อยละท่พี บ
ชว่ ยเหลือทค่ี วรไดร้ ับ

บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า ร ะ ดั บ น้ อ ย 50 - 70 มกั ไมม่ อี าการแสดงทาง 85

(Mild Mental Retardation) ร่างกาย ทางบุคลิกภาพ หรอื

ทางพฤตกิ รรม

บกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญาระดบั ปานกลาง 35 – 49 พัฒนาการด้านภาษาและดา้ น 10

(Moderate Mental Retardation) การพูดจะล่าช้า ตอ้ งการความ

ช่วยเหลอื เปน็ คร้งั คราว

บกพร่องทางสติปญั ญาระดบั รนุ แรง 20 – 34 ดํารงชวี ิตอยใู่ นสังคมภายใต้ 3-4

(Severe Mental Retardation) การควบคุมดูแลอยา่ งเตม็ ท่ี

ตอ้ งให้ความช่วยเหลอื ทพ่ี ิเศษ

เป็นการเฉพาะ

บกพรอ่ งทางสติปัญญาระดับรุนแรง <20 ต้องการความช่วยเหลือ ดูแล 1-2

มาก (Profound Mental อย่างใกล้ชดิ ตลอดเวลา

Retardation)

สาเหตุของอาการ
1. ปัจจัยทางชีวภาพ มีหลายสาเหตุ อาจเกิดได้ต้ังแต่ขณะต้ังครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอด
มกั พบมีความผดิ ปกติอ่นื ร่วมด้วย สาเหตุไดแ้ ก่
- โรคทางพันธุกรรม
- การติดเช้อื
- การได้รับสารพิษ
- การขาดออกซเิ จน
- การขาดสารอาหาร
- การเกิดอบุ ัตเิ หตตุ า่ ง ๆ
2. ปัจจัยทางจิตสังคม เช่น ขาดการเล้ียงดูท่ีเหมาะสม ถูกทอดท้ิง ครอบครัวแตกแยก ฐานะ
ยากจน อยู่ในภาวะแวดล้อมท่ีไม่เอ้ืออํานวยต่อการเรียนรู้ ขาดความกระตือรือร้น ขาด
แรงจงู ใจทด่ี ี

สถานการณ์ของบุคคลผ้มู คี วามบกพร่องทางสติปัญญา
โดยท่ัวไปพบบุคคลท่ีมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาร้อยละ 1-3 ของประชากร ในประเทศไทย

พบความชุกของภาวะบกพร่องทางสติปัญญาประมาณร้อยละ 0.4-4.7 ซ่ึงมีความแตกต่างกันในแต่

37

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

ละรายงานข้ึนอยู่กับเกณฑ์การวินิจฉัย การออกแบบการวิจัย และวิธีการศึกษา ตัวอย่างเช่น เม่ือการ
วินิจฉัยใช้เกณฑ์ระดับเชาวน์ปัญญา(IQ) อย่างเดียว ความชุกจะพบประมาณร้อยละ 3 แต่เม่ือวินิจฉัย
โดยใช้เกณฑ์ท้ัง 3 ข้อ ตามท่ีกล่าวข้างต้น ความชุกจะพบประมาณร้อยละ 1 (The American
Academy of child & Adolescent Psychiatry : AACAP, 2542) และพบภาวะความบกพร่อง
ทางสตปิ ญั ญาในเพศชายมากกวา่ เพศหญงิ โดยอตั ราชาย : หญงิ ประมาณ 1.5 : 1 (APA, 2543)

ความต้องการพิเศษของบคุ คลทม่ี คี วามบกพร่องทางสตปิ ัญญา
1. ฝึกทักษะการเข้าใจมโนทัศน์ หรือ concept (Conceptual skills) ได้แก่ การรับสารและ
สื่อสาร การอา่ นและการเขยี น การรับรูค้ ่าของเงนิ การรับรู้ทศิ ทาง
2. ฝึกทักษะทางสังคม (Social skills) เช่น การมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน ความรับผิดชอบ
การเคารพในตนเอง การรบั รู้กฎระเบียบ การเช่อื ฟงั คาส่ัง
3. ฝึกทักษะการดูแลตนเองในชีวิตประจําวัน (Practical skills/ daily living skills) เช่น
การรับประทานอาหาร การเคล่ือนไหว การเข้าห้องน้า การประกอบอาหาร การรับประทานยา
การใช้เงิน การเดินทาง การดูแลความปลอดภัยของตนเอง (Hallahan & Kauffman,
2006)

บทบาทผเู้ กย่ี วข้องและแนวทางการดูแลรักษา
1. การส่งเสรมิ ศักยภาพครอบครวั
ครอบครัวเข้มแข็ง คือพลังแห่งความสําเร็จ ครอบครัวควรมีความรู้ ทักษะ และเจตคติท่ีดีใน

การดูแล เห็นความสําคัญของการฝึกฝนทักษะต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง ให้คําปรึกษาสําหรับครอบครัว
เพื่อ ลดความเครยี ดของครอบครัว ให้ข้อมลู และทางเลอื กตา่ ง ๆ ในการตัดสินใจ และให้กาํ ลังใจ

2. การส่งเสริมพัฒนาการ (Early Intervention)
ควรจัดโปรแกรมการฝึกทักษะท่ีจําเป็นในการเรียนรู้ ส่งเสริมพัฒนาการทุก ๆด้านอย่างเป็น

ระบบและต่อเน่ือง เพ่ือนําไปสู่พัฒนาการท่ีเหมาะสมตามวัยในทุก ๆ ด้าน เด็กท่ีได้รับการฝึกแต่
เยาวว์ ัย จะสามารถเรยี นรูไ้ ดด้ กี วา่ การฝกึ เม่อื โตแลว้

3. การฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
มักมีความต้องการแตกต่างกันตามสภาพปัญหา และความจําเป็นของเด็กแต่ละคนท่ีแตกต่าง

กนั โดยมแี นวทางช่วยเหลอื เฉพาะทาง ในพัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น ดงั น้ี
- กายภาพบําบัด (Physical Therapy) เน้นพัฒนาการด้านกล้ามเน้ือมัดใหญ่ การเคล่ือนไหว
แกไ้ ขการเดิน และลดการเกรง็ ตัวของกล้ามเนอ้ื
- กิจกรรมบําบัด (Occupational Therapy) เน้นพัฒนาการด้านกล้ามเน้ือมัดเล็ก การหยิบ
จบั สมาธิ และการรับรู้สัมผัส
- แก้ไขการพูด (Speech Therapy) เนน้ พัฒนาการดา้ นภาษาและการส่ือสาร
- ฝกึ ทกั ษะในชีวิตประจาํ วัน (Activity of Daily Living Training) เน้นพัฒนาการด้านสังคม
และการดแู ลตนเองในชีวิตประจําวัน

38

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

4. การฟ้ นื ฟูสมรรถภาพด้านการศึกษา
ส่งเสริมการจัดการเรียนร่วมให้มากท่ีสุด โดยทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP -

Individualized Educational Program) การจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล จําเป็นต้องออกแบบการ
สอนให้เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อย และความสนใจของเด็กแต่ละคน เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ท่ีง่ายไม่
สับสน มุ่งหมายท่ีจะให้เด็กสามารถนําทักษะท่ีได้จากช้ันเรียนไปใช้ในชีวิตจริง ๆ นอกห้องเรียน ข้อ
สําคัญคือควรให้เด็กมีโอกาสทาํ กิจกรรมตา่ ง ๆ ร่วมกับเด็กปกติ

5. การฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางสังคม
การส่งเสริมให้เด็กสามารถใช้ชีวิตในสังคม และชุมชนได้ปกติตามศักยภาพ โดยการเปิด

โอกาสให้เด็กได้แสดงออกอย่างเท่าเทียม เพื่อลดความรู้สึกแปลกแยกจากสังคม สามารถดํารงชีวิต
ตามปกติในสังคมได้ มคี วามนบั ถือตนเองสูงขน้ึ และมีความมุง่ ม่นั ท่จี ะพัฒนาทกั ษะด้านอน่ื ตอ่ ไป

6. การฟ้ นื ฟูสมรรถภาพทางอาชีพ
การเตรียมพร้อมด้านอาชีพ ได้แก่ การฝึกทักษะพ้ืนฐานทางอาชีพเฉพาะด้าน และฝึกลักษณะ

นิสัยในการทํางานท่ีเหมาะสม เช่น การตรงต่อเวลา รู้จักรับคําสั่ง สามารถปฏิบัติตนต่อผู้ร่วมงาน
อย่างเหมาะสม และเขา้ ใจมารยาททางสังคม

7. การใชย้ า
การใช้ยา ไม่ได้มีเป้าหมายเพื่อทําให้ความบกพร่องทางสติปัญญาหายไป หรือช่วยให้สมองดี

ข้ึน แต่ใช้เพ่ือบรรเทาความรุนแรงของปัญหา หรืออาการท่ีเกิดร่วมด้วย เช่น ลมชัก พฤติกรรม
รนุ แรง ปญั หาดา้ นอารมณ์ ปญั หาด้านสมาธิ เปน็ ต้น

การปอ้ งกันภาวะบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา
ควรหลีกเล่ียงปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเป็นสาเหตุ การตรวจคัดกรองในกลุ่มเสี่ยง และการดูแลรักษา

แต่เร่ิมแรก จะช่วยลดความรุนแรงของปัญหา ภาวะแทรกซ้อน และผลกระทบต่าง ๆ ท่ีตามมา โดยมี
แนวทางดงั น้ี

1. คูส่ มรสควรมีการวางแผนครอบครวั ล่วงหนา้
2. ดแู ลสุขภาพให้แขง็ แรงอยู่เสมอ ตรวจสุขภาพกอ่ นตง้ั ครรภ์
3. ในระหว่างต้ังครรภ์ ควรฝากครรภ์อย่างสม่ําเสมอ ดูแลสุขภาพและหลีกเล่ียงปัจจัยเสี่ยงต่าง

ๆ เชน่ ไมส่ ูบบหุ ร่ี ไมด่ ่มื เหลา้ ไม่ซ้อื ยาทานเอง
4. กลมุ่ ทม่ี ีความเส่ียงควรรับการตรวจเพิ่มเตมิ เช่น มารดาทม่ี ีอายุ 35 ปขี ้นึ ไป
5. หลังคลอด ควรติดตามประเมินพัฒนาการตามวัย ถ้ามีปัญหาพัฒนาการล่าช้า ควรรับการ

ตรวจ ประเมนิ เพิ่มเตมิ และส่งเสริมพัฒนาการแต่แรกเรม่ิ ทส่ี งสัย
6. เอาใจใส่ดูแลเด็กอย่างเหมาะสม ให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรงท้ังร่างกายและจิตใจ มีโอกาสได้

เรยี นรอู้ ย่างเหมาะสมตามวยั

39

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

สวสั ดกิ าร และสิทธปิ ระโยชน์ด้านการดแู ลสุขภาพของคนพิการ
1. เบ้ียความพิการ คนพิการทุกคนท่ีมีสมุด/บัตรประจําตัวคนพิการมีสิทธิลงทะเบียนขอรับ
“เบ้ียความพิการ” คนละ 500 บาท/เดือนได้ ซ่ึงแต่เดิม เฉพาะคนพิการท่ีไม่มีรายได้เท่าน้ัน
จึงจะมีสิทธิได้รับ “เบ้ียยังชีพ” เดือนละ 500 บาท นอกจากน้ัน คนพิการท่ีสูงอายุ หรืออายุ
ต้ังแต่ 60 ปีข้ึนไปมีสิทธิได้รับท้ัง “เบ้ียความพิการ” และ”เบ้ียผู้สูงอายุ” รวมเดือนละ 1,000
บาท
2. บรกิ ารฟ้ นื ฟูสมรรถภาพ โดยกระบวนการทางการแพทย์ รวม 26 รายการ
3. บริการจัดการศึกษา คนพิการทุกคนมีสิทธิเรียนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ท้ังการศึกษาข้ันพื้นฐาน
15 ปี รวมถงึ การศึกษาระดบั อาชีวศึกษา ประกาศนียบตั รชน้ั สูง และระดับปรญิ ญาตรี
4. บริการจ้างงานคนพิการ ตามระเบียบใหม่ของกระทรวงแรงงาน ซ่ึงเตรียมจะประกาศใช้
กําหนดให้สถานประกอบการของเอกชน และหน่วยงานของรัฐต้องรับคนพิการเข้าทํางาน
ในอัตราส่วนจํานวนลกู จ้างทง้ั หมด คาดว่า นา่ จะเปน็ 50 คน ต่อคนพิการ 1 คน
5. บริการส่ิงอํานวยความสะดวก หน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนจะต้องจัดสิ่งอํานวยความ
สะดวกตามความเหมาะสม เพื่ อให้คนพิ การสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากบริการ
เช่น บริการข้อมูลข่าวสาร บริการในการเดินทาง บริการขนส่งสาธารณะ และบริการให้สัตว์
นาํ ทางเดนิ ทางกับคนพิการ เปน็ ต้น
6. บริการเงินกู้ คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการมีสิทธิขอกู้เงินกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
ชวี ิตคนพิการเพ่ือการประกอบอาชพี อสิ ระได้ โดยกู้เปน็ รายบุคคล คนละ ไมเ่ กนิ 40,000 บาท
ส่งภายใน 5 ปี
7. บริการสวัสดิการสังคม คนพิการมีสิทธิได้รับสวัสดิการตามความเหมาะสมอย่างสมเหตุสมผล
เช่น ผู้ช่วยคนพิการ (สําหรับคนพิการระดับรุนแรง), ค่าใช้จ่ายสําหรับจัดทําส่ิงอํานวยความ
สะดวกทบ่ี า้ น หรอื สถานท่พี ัก และสถานท่เี ล้ยี งดสู ําหรับคนพิการไรท้ ่พี ่ึง เปน็ ต้น
8. การลดหย่อนภาษีเงินได้ ผู้ดูแลคนพิการท่ีมีรายได้ และต้องเสียภาษีเงินได้ มีสิทธิได้รับการ
ลดหย่อนภาษีเงินได้คนละ 60,000 บาท เร่มิ ตง้ั แตร่ ายได้ของปี 2552

40

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ฐิตาพร แอนกาํ โภชน์ 6105680356

เด็กท่มี คี วามบกพร่องทางการไดย้ นิ

เคยมีคนกล่าวไว้ว่า “หากตาบอดจะตัดเราออกจากสรรพสิ่งต่าง ๆ แต่การท่ีหูหนวกน่ันจะตัด
เราออกจากผู้คน” เพราะมนุษย์เราเช่ือมต่อกันได้จากการได้ยิน ท่ีเป็นการติดต่อสื่อสารกันโดยท่ีไม่
ต้องพึ่งประสาทสัมผัสอ่ืน ๆ การได้ยินไม่เพียงแค่ช่วยในการสื่อสาร พูดคุยเพียงเท่าน้ัน แต่ยังช่วยให้
มนุษย์เราได้ยินเสียงต่าง ๆ รอบตัว ท่ีนําเราไปสู่ความสุข ความปลอดภัยในการใช้ชีวิต การทํางานหา
เล้ียงชีพตลอดจนการใช้ชีวิตท่ัวไป แต่เป็นเร่ืองท่ีน่าเศร้าเม่ือเด็กท่ีเกิดมาเพียงไม่นาน ต้องได้
สูญเสียการได้ยินไป ซ่ึงการท่ีต้องสูญเสียการได้ยินไปน่ันย่อมส่งผลกระทบมากมายตามมา ไม่ว่าจะ
เป็นพัฒนาการด้านการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ เช่น การพู ด การเข้าสังคม เป็นต้น การขาดความม่ันใจ
ในตัวเอง การมีความปลอดภัยในชีวิต และสาเหตุของการบกพร่องทางการได้ยินของเด็ก ๆ น้ัน
สามารถเกิดได้ต้ังแต่ตอนอยู่ในครรภ์ของมารดาและสามารถเป็นได้หลังจากการคลอด แต่ไม่ว่า
สาเหตุจะมาจากกรณีใดแต่เม่ือผู้ปกครองทราบและทําการรักษาท่ีมีประสิทธิภาพ เด็ก ๆ ท่ีมีความ
บกพร่องทางการได้ยินก็จะมีโอกาสได้รับการพัฒนาท่ีดีและเหมาะสม ท่ีจะช่วยให้เขาได้เติบโตมาอย่าง
สมบูรณ์และเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต ท้ังหมดท่ีกล่าวมาน้ันจะเห็นได้ว่ามีหลากหลายประเด็นท่ีน่าสนใจ
สําหรบั การศึกษาเด็กพิเศษในกลุม่ ของ Physically Handicapped

เด็กพิเศษจะมีด้วยกันท้ังหมด 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มท่ี 1 คือ Atypical Learners กลุ่มท่ี 2
คือ Disturbed และกลุ่มท่ี 3 คือ Physically Handicapped โดยเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการ
ได้ยิน จะจัดอยู่ในกลุ่มของ Physically Handicapped หรือก็คือ “ผู้พิ การทางด้านร่างกาย”
ซ่งึ เด็กทม่ี คี วามบกพร่องทางการได้ยนิ เปน็ เดก็ ท่มี ีการได้ยินไม่สมบูรณ์ สามารถจําแนกสาเหตุไดเ้ ปน็
2 กลุ่ม ในกลุ่มแรกคือ ปัจจัยอันเกิด แต่กําเนิด กล่าวคือเกิดได้ต้ังแต่ยังอยู่ในครรภ์มารดา จากการ
ติดเช้ือ ยาท่ีมารดาได้รับขณะต้ังครรภ์ ความผิดปกติทางพันธุกรรม การเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่าง
คลอดลูก เช่น คลอดก่อนกําหนด ภาวะขาดออกซิเจนแรกคลอด และกลุ่มท่ีสอง คือ ปัจจัยท่ีได้รับมา
หลังกําเนิด กล่าวคือเกิดจากหลังจากคลอดออกมาแล้วสามารถเกิดภาวะการได้ยินบกพร่องได้ในทุก
ช่วงวยั ไม่ว่าจะมาจากการไมส่ บายและได้รบั เช้อื ไวรัส เชน่ โรคหูนา้ํ หนวก หรือมาจากการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ
ท่ีส่งผลให้เกิดความเสียหายหรือมีความเก่ียวข้องกับประสาทรับเสียง ไม่ว่าจะเป็น เส้นประสาท สมอง
อวัยวะตา่ ง ๆ ภายในหู จากปัจจยั สาเหตตุ ่าง ๆ ทไ่ี ด้กลา่ วไปในขา้ งต้นทง้ั ปัจจัยอนั เกิด แตก่ าํ เนดิ หรือ
ปัจจัยท่ีได้รับมาหลังกําเนิด ทําให้เกิดภาวะความบกพร่องทางการได้ยิน 3 ประเภท ได้แก่การนําเสียง
บกพร่อง (Conductive hearing loss), การรับเสียงบกพร่อง (Sensorineural hearing loss),
ความบกพร่องแบบผสม (Mixed hearing loss)

- ประเภทท่ี 1 การนําเสียงบกพร่อง เกิดจากเสียงไม่สามารถผ่านหูช้ันนอกเข้าสู่หูช้ันในได้
ซ่ึงมักเป็นผลมาจากช่องหูถูกกีดขวางด้วยข้ีหู หรือของเหลวอันเกิดจากการติดเช้ือ เช่น
เลือดและหนอง นอกจากน้ี อาจเกิดจากแก้วหูทะลุ รวมไปถึงความผิดปกติของกระดูกหูด้วย
เช่นกนั

41

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรับเดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

- ประเภทท่ี 2 การรับเสียงบกพร่อง เกิดจากการท่ีเซลล์ขนในอวัยวะรูปหอยโข่งในหูช้ันในหรือ
เส้นประสาทการได้ยนิ เสียหาย ท้งั ท่เี สื่อมไปตามอายแุ ละเป็นผลมาจากการบาดเจ็บ

- ประเภทท่ี 3 ความบกพร่องแบบผสม เป็นลักษณะความผิดปกติร่วมกันระหว่างการนําเสียง
บกพร่องและการรบั เสียงบกพร่อง

จากข้อมูลในข้างต้นยังสามารถจําแนกกลุ่มเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน ออกเป็น 2 กลุ่ม
ไดแ้ ก่

1. เด็กหูตึง หมายถึง เด็กท่ีมีการได้ยินเหลืออยู่บ้าง สามารถได้ยินเสียงได้ท้ังใส่หรือไม่ใส่เคร่ืองช่วยฟงั
ตาม โดยเด็กท่ีมีอาการหูตึงจะมีระดับการได้ยินในหูอยู่ระหว่าง 26 - 89 เดซิเบล ซ่ึงคนปกติจะมีระดับ
การได้ยนิ อยู่ระหว่าง 0 - 25 เดซเิ บล

2. เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กท่ีสูญเสียการได้ยินมากต้ังแต่ 90 เดซิเบลข้ึนไป โดยจะไม่ได้ยิน
เสียงพู ดดัง ๆ แต่อาจรับรู้เสียงบางเสียงจากการส่ันสะเทือน การสูญเสียการได้ยินระดับน้ี
หากเป็นมาต้ังแต่กําเนิดจะพู ดไม่ได้หากไม่ได้รับการสอนแบบพิเศษ โดยส่วนมากน้ันจะนิยมใช้
ภาษามอื ในการติดต่อส่ือสาร พูดคยุ สื่อความหมายระหวา่ งกนั

ในปัจจุบันสังคมไทยมีผู้พิการอยู่มากมายกระจายอยู่ในทุกพื้นท่ี ทุกภูมิภาคด้วยโดยมีความ
หลากหลายทางประเภทความพิการท่ีแตกต่างกันออกไป กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์, กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (2563) ได้แสดงรายงานสถานการณ์
ข้อมูลคนพิการในประเทศไทย ปี2563 โดยคนพิการภายในประเทศมีจํานวนท้ังส้ิน 2,076,313 คน คิด
เป็นร้อยละ 3.12 ของประชากรท้ังประเทศ และแบ่งประเภทความพิการออกเป็น 9 ประเภท โดยแบ่ง
เกณฑ์การวิเคราะห์เป็นช่วงวัย ในวัยเด็กจะมีท้ังหมด 3 ช่วงวัย เร่ิมจากช่วงปฐมวัย อายุ 0 – 5 ปี
พบว่ามีจํานวนผู้พิการทางการได้ยินจํานวน 968 คน ช่วงวัยเรียน อายุ 6 – 14 ปี พบว่ามีจํานวนผู้
พิการทางการได้ยินจํานวน 5,032 คน และช่วงวัยรุ่น อายุ 15 – 21 ปี พบว่ามีจํานวนผู้พิการทางการ
ได้ยินจํานวน 5,937 คน สรุปได้ว่าคนพิการทางการได้ยิน มีจํานวนท้ังส้ิน 391,785 คน คิดเป็นร้อยละ
18.87 ซ่ึงมีจํานวนมากเป็นอันดับท่ี 2 จากคนพิการท้ังหมดภายในประเทศ จะเห็นได้ว่าจํานวนเด็กท่ีมี
ความบกพร่องหรือพิการทางการได้ยินมีจํานวนไม่น้อย และเด็ก ๆ เหล่าน้ีท่ีต้องเป็นผู้บกพร่อง
ทางการได้ยินย่อมได้รับผลจากความพิการดังกล่าวท้ังในเร่ืองของการมีการศึกษา โรงเรียนต่าง ๆ ท่ี
ไม่เอ้ืออํานวยต่อการเรียนของผู้พิการทางการได้ยิน การมีพัฒนาการทางด้านภาษา การสื่อสารท่ีช้า
ลงและมีข้อจํากัด การมีปัญหาในเร่ืองของการฟัง การขาดแคลนล่ามภาษามือท่ีจะมาช่วยในการ
ส่ือสารหรือแม้แต่การรู้ภาษามือของคนท่ัวไปอาจทําให้เด็กเหล่าน้ีไม่สามารถเล่นหรือเข้ากับเพ่ือน ๆ
ได้ จนอาจขาดความม่ันใจในตัวเองและทักษะการเข้าสังคมของเด็ก มากไปกว่าน้ันส่ือข่าวสาร ละคร
ภาพยนตร์ทางโทรทัศน์ภายในประเทศของเรา ยังขาดตัวอักษรท่ีใช้บรรยายด้านล่างของจอโทรทัศน์
ท่ีเด็ก ๆ จะสามารถอ่านเพื่อทําความเข้าใจ รวมถึงไม่มีล่ามภาษามือ ซ่ึงสื่อบางช่องก็มีบ้างแต่ยังมี
จํานวนท่ีน้อยและไม่หลากหลาย ไม่เอ้ือต่อความต้องการ นอกจากน้ียังมีเร่ืองความปลอดภัยท่ีน่าเป็น
ห่วงเน่ืองจากเขาเหล่าน้ีไม่ได้ยินเสียง ไม่สามารถรับรู้ถึงสัญญาอันตรายได้จึงค่อนข้างอันตรายใน
การใช้ชีวิต ต้องอาศัยความระมัดระวังเป็นอย่างมาก เช่น การเดินข้ามถนน ตลอดจน เม่ือเด็ก ๆ
เหล่าน้ีท่ีเป็นผู้พิการทางการได้ยินได้โตข้ึนเป็นผู้ใหญ่ก็ต้องเผชิญต่อปัญหาการทํางานท่ีส่วนใหญ่แล้ว

42

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

ในสังคมมักเลือกจากผู้ท่ีไม่มีความผิดปกติหรือไม่พิการเข้าทํางานก่อน จนทําให้ผู้พิการไม่งานทําหรือ
ถ้ามีงานก็จะเป็นงานท่ีค่อนข้างจํากัด ไม่หลากหลาย อาจกล่าวได้ว่าความบกพร่องทางการได้ยินท่ี
เกิดข้ึนน้ัน สามารถนําไปสู่การขาดโอกาสในการพัฒนาชีวิต เกิดปัญหาทางด้านพฤติกรรม สังคม
อารมณ์ และการเรียนรู้ของเด็ก รวมท้ังในการใช้ชีวิตประจําวันท่ัวไป อีกท้ังยังสามรถส่งผลกระทบใน
ระยะยาว เพราะอาจเป็นอุปสรรคต่อชีวิตการทํางานในอนาคต จากสถานการณ์ท้ังหมดท่ีได้กล่าวไป
น้ันจึงทําให้บริการ สวัสดิการต่าง ๆ เพ่ือเร่งช่วยเหลือกลุ่มเด็กผู้มีความบกพร่องทางการได้ยิน
ให้มคี ณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี ใช้ชวี ิตอย่ใู นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

ในด้านของการช่วยเหลือ บริการ สวัสดิการต่าง ๆ สําหรับกลุ่มเด็กท่ีมีความบกพร่อง
ทางการได้ยินน้ันเร่ิมจากการท่ีผู้ปกครองจะต้องรีบดําเนินการการจดทะเบียนคนพิการ ออกเอกสาร
รับรองความพิการ เพ่ือให้ได้รับสิทธิเบิกเคร่ืองช่วยฟังจากสํานักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สปสช.) โดยเม่ือได้รับเคร่ืองช่วยฟังไปแล้วผู้ปกครองต้องดูแลให้เด็กใส่เคร่ืองช่วยฟังอย่าง
สม่ําเสมอ ให้ถูกวิธีและดูแลเคร่ืองช่วยฟงั ตามท่ีได้รับคําแนะนํามา นอกจากน้ียังต้องพาเด็กมาตรวจ
ติดตามผล ฟ้ นื ฟู สมรรถภาพทางการได้ยินและการพู ดอย่างต่อเน่ืองและต้องฝึกฝนอย่างสม่ําเสมอ
ตามท่ีนักอรรถบําบัดแนะนํา ผู้ปกครองต้องเอาใจใส่ดูแลสุขภาพอนามัยเด็กด้านความเจ็บป่วย การ
ฉีดวัคซีนป้องกันโรค เม่ือเด็กเจ็บป่วยต้องรีบรักษาและแจ้งให้แพทย์ทราบถึงปัญหาด้านการได้ยิน
เพื่อระมัดระวังในการให้ยา และถ้าหากใส่เคร่ืองช่วยฟงั แล้วไม่ได้ผลดีใน 6 เดือน อาจพิจารณาผ่าตัด
ประสาทหูเทียม สําหรับเด็กท่ีมีหูช้ันกลางอักเสบชนิดน้ําใสเร้ือรังท่ีอาจมีผลต่อการได้ยิน ทําให้
พัฒนาการด้านการพู ดล่าช้า มีผลต่อการเรียน ถ้าเป็นหูช้ันกลางอักเสบชนิดน้ําใสนานกว่า 3 เดือน
ควรได้รับการผ่าตัดเจาะแก้วหู และใส่ท่อระบายอากาศ เพื่ อดูดน้ําจากหูช้ันกลาง ในด้านของ
การศึกษาถ้าหากเด็กได้รับการฟ้ นื ฟู สมรรถภาพทางการได้ยินและการพู ดจนสามารถพู ดได้จามวัย
ก็จะสามารถไปเรียนร่วมกับเด็กคนอ่ืนได้ถ้าเด็กสามารถพู ดได้บ้าง แต่ไม่ชัด และไม่สมกับช่วงมวัย
เด็กควรเรียนในโรงเรียนท่ีมีครูการศึกษาพิเศษคอยช่วยเหลือดูแลหรือเรียนในช้ันเรียนพิเศษ เด็กท่ีหู
หนวกไม่สามารถพู ดได้ ฟ้ นื ฟู สมรรถภาพทางการได้ยินไม่ได้ผล เด็กต้องเข้าโรงเรียนโสตศึกษาเพ่ือ
เรยี นภาษามอื

นอกจากน้ียังได้รับสิทธิในการรักษาพยาบาลโดยการบริการฟ้ นื ฟู สมรรถภาพทางการแพทย์
กล่าวคือจะไม่เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล รวมค่ากายอุปกรณ์ เคร่ืองช่วยความพิ การ
มีส่ือส่งเสริมพัฒนาการ เพื่อปรับสภาพทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม พฤติกรรม สติปัญญา
การเรียนรู้ หรือเสริมสร้างสมรรถภาพให้ดีข้ึน ตามประกาศของสํานักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ สปสช. คนพิ การสามารถเข้าถึงสิ ทธิตามระบบหลักประกันสุ ขภาพ โดย สปสช.
เป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายครอบคลุมทุกประเภทความพิ การ และทุกพ้ื นท่ีได้ท่ี สถานีอนามัย
ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลท่ัวไป และโรงพยาบาลศูนย์ในด้านของการศึกษา
น้ันจะได้รับการศึกษาฟรี เป็นการศึกษาข้ันพื้นฐาน และมีแนวทางการจัดรูปแบการศึกษา 4 รูปแบบ
ได้แก่ การเรียนร่วม, การเรียนร่วมบางเวลา, การเรียนร่วมแบบคู่ขนาน และการเรียนแบบเฉพาะทาง
ต่อมาในด้านของการทํางาน จะมีระบบการจ้างงานคนพิการแบบระบบโควตา ท้ังในภาครัฐและเอกชน

43

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เดก็ พิเศษ Section 810001
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

เพื่อให้คนพิการได้มีอิสระในการทํางานมากข้ึน นอกจากน้ียังมีสิทธิในการกู้เงินเพ่ือประกอบอาชีพท่ีจะ
ไม่คิดดอกเบ้ียสําหรับคนพิการแต่จะต้องชําระรายงวดภายในระยะเวลา 5 ปี เพ่ือให้คนพิการสามารถ
ทําอาชีพเล้ียงตนเองและอยู่ได้ในสั งคม นอกจากน้ีการช่วยเหลือในด้านสวัสดิการสั งคม
จะมีท้ังสวัสดิการเบ้ียคนพิการ 500 บาทต่อเดือน มีบริการล่ามภาษามือ เพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาในการ
ติดต่อสื่อสาร 5 กรณี ได้แก่ 1. การใช้บริการทางการแพทย์และการสาธารณสุข 2. การสมัครงาน
หรือการติดต่อประสานงานด้านการประกอบอาชีพ 3. การร้องทุกข์ การกล่าวโทษ หรือเป็นพยานใน
ช้ันพนักงานสอบสวนหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามกฎหมายอ่ืน 4. การเข้าร่วมประชุม สัมมนา
หรือฝึกอบรม รวมท้ังเป็นผู้บรรยายโดยหน่วยงานภาครัฐ หรือองค์กรภาคเอกชนเป็นผู้จัดซ่ึงมีคน
พิการทางการได้ยินเข้าร่วมด้วย 5.บริการอ่ืนใดตามท่ีคณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาล่ามภาษา
มือประกาศกําหนด และยังมีบริการปรับปรุงท่ีอยู่อาศัยให้เอ้ืออํานวย มีความสะดวกในการอยู่อาศัย
ปลอดภัยและถูกหลักอนามัย ซ่ึงถ้าหากว่ามีฐานะท่ียากจนมากจะได้รับการพิจารณาการให้บริการเป็น
อันดับแรกอีกด้วย เช่น กร่ิงท่ีกดเรียกปกติมีเม่ือมีการกดกร่ิงจะเกิดเป็นเสียงท่ีดังข้ึน สําหรับผู้
บกพร่องทางการได้ยิน จะกลายเป็นกร่ิงไฟแทน ซ่ึงจะเป็นการส่องแสงเพื่อให้ผู้ท่ีไม่ได้ได้รับทราบเม่ือ
มีคนมากดกร่งิ เรียก

จะเห็นได้ว่ามีท้ังสิทธิ สวัสดิการและบริการต่าง ๆ ท่ีมีเพ่ือช่วยเหลือเหล่าเด็ก ๆ ผู้มีความ
บกพร่องทางการได้ยินท้ังในปัจจุบันและอนาคตเม่ือพวกเขาโตเป็นผู้ใหญ่ ไม่เพียงแค่ช่วยเหลือเด็กท่ี
บกพร่องหรือพิการทางการได้ยินเพียงเท่าน้ัน แต่ยังครอบคลุมความพิการประเภทอ่ืน ๆ ท่ีไม่ได้
กล่าวถึง ให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีพวกเขาต้องเผชิญ
แต่ไม่ได้มีเพียงแค่สวัสดิการ บริการต่าง ๆ ท่ีสร้างมาเพ่ือช่วยเหลือเด็กผู้มีความบกพร่องทางการได้
ยินเพียงเท่าน้ัน ยังมีผู้ท่ีทํางานกับเด็ก ๆ เหล่าน้ีในการช่วยแก้ไขปัญหา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ต่าง
ๆ เพ่ือป้องกันและปกป้องเด็ก ๆ น่ันคือ นักสังคมสงเคราะห์และคุณครู โดยบทบาทของนักสังคม
สงเคราะห์จะให้คําปรึกษาเยียวยาจิตใจ รับฟังและช่วยเหลือแนะนําเด็กและครอบครัวเร่ืองความ
บกพร่องทางด้านการได้ยิน ให้ครอบครัว รวมถึงตัวของเด็กรู้เร่ืองและเข้าใจเพ่ือให้เกิดการยอมรับ
เร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนและพร้อมท่ีจะให้ความช่วยเหลือเด็กต่อไป แนะนําสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ท่ีเด็กท่ีมี
ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ก า ร ไ ด้ ยิ น พึ ง ไ ด้ รั บ จ า ก รั ฐ โ ด ย ไ ม่ เ สี ย ค่ า ใ ช้ จ่ า ย จ า ก ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ค น พิ ก า ร
ตลอดจนช่วยเหลือให้คําแนะนําเก่ียวกับการจดทะเบียนคนพิการ วิธีการขอรับบริการการช่วยเหลือ
หรือฟ้ นื ฟู สมรรถภาพการส่ือสารจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอีกท้ังยังคอยช่วยเหลือประสานงานการ
ขอรับบริการช่วยเหลือด้านการแพทย์ รวมไปถึงการเรียนในสถานศึกษาท่ีมีความเฉพาะด้านสําหรับ
เด็กพิการทางการได้ยินหรือแม้แต่การเรียนในโรงเรียนปกติท่ัวไปหากมีความประสงค์ หรือสามารถ
เรียนได้โดยไม่ขัดต่อพัฒนาการ นอกจากน้ียังสามารถช่วยแนะนํา ติดต่อการเรียนภาษามือให้แก่
ครอบครัวและตัวของเด็กเพื่อใช้ในการสื่อสาร เน่ืองจากภาษามือมีความอย่างย่ิงสําหรับผู้ท่ีมีความ
บกพร่องทางการได้ยิน และในบทบาทของครูจะเกิดข้ึนเม่ือเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินอยู่ท่ี
โรงเรียน ในทีน้ีจะกล่าวในบบริบทท่ีเด็กดังกล่าว สามารถเข้าเรียนในโรงเรียนปกติได้ โดยคุณครูจะ
เป็นผู้ท่ีคอยช่วยเหลือดูแลอย่างใกล้ชิด โดยอาศัยความเข้าใจและใส่ใจ คํานึงศักยภาพท่ีเขามีรวมไป
ถึงข้อจํากัดบางอย่างท่ีคุณครูจะต้องไม่ละเลย บทบาทของคุณครูนอกจากจะช่วยพัฒนาด้านการ

44

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสาํ หรบั เด็กพิเศษ Section 810001
อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

เรียนรู้ ทางด้านภาษา การส่ือสารแล้ว คุณครูยังช่วยในเร่ืองของการพัฒนาทักษะการใช้ชีวิตใน
สังคม การเข้าสังคม การมีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือน ๆ ได้ให้แก่เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน
โดยการสร้างโอกาสให้เขาได้ทํางานกลุ่มร่วมกันกับเพื่อน ๆ และปรับเปล่ียนรูปแบบการเข้ากลุ่มไป
เร่ือย ๆ ไม่ซ้ํากันเพ่ือให้ได้พบกันเพ่ือนหลาย ๆ คน จะได้รู้จักกับคนใหม่ ๆ และรู้จักคนเยอะข้ึน
หรือการจัดท่ีน่ังในห้องเรียน ให้เขาได้น่ังคู่กับเพื่อนท่ีสามารถช่วยเหลือเร่ือการเรียนหรือเร่ืองต่าง ๆ
กับเขาได้ ผ่านการสนับสนุนให้เพ่ือนช่วยเพื่อน นอกจากน้ียังให้เขาได้ทํากิจกรรมท่ีเด็กท่ีมีความ
บกพร่องทางการได้ยินถนัด หรือสนใจเพ่ือพัฒนาความม่ันใจ เช่ือม่ันในศักยภาพของตน ท้ายท่ีสุด
คือการท่ีคุณครูเป็นแบบอย่างให้กับเพ่ือนนักเรียนคนอ่ืน ๆ ในการเข้าใจเพ่ือนท่ีมีความบกพร่อง
ทางการได้ยิน เพื่อลดการล้อเลียนหรือกล่ันแกล้งท่ีอาจจะเกิดข้ึนได้ จะเห็นได้ว่าการเข้าใจ ใส่ใจและ
เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน ไม่ว่าจะบทบาทนักสังคมสงเคราะห์หรือคุณครู ย่อมส่งผลท่ีดีต่อตัวเด็กท่ีมี
ความบกพรอ่ งในการไดย้ ินใหใ้ ชช้ วี ิตในสังคมอย่างดแี ละมีคณุ ภาพได้

45

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

ผกามาศ กนั ทรประเสรฐิ 6105680406

ความบกพร่องทางการมองเหน็ (Visual Impairment)
กลุม่ เปา้ หมาย เดก็ ท่มี คี วามบกพร่องทางการมองเหน็

สาเหตทุ เ่ี ลือก
จากการได้ศึกษาถึงกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ แล้วนํามาสู่การเลือกกลุ่มเป้าหมายเด็กท่ีมีความ

บกพร่องทางการมองเห็น เพราะว่ากลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมีความน่าสนใจท่ีจะนํามาวิเคราะห์และศึกษา
เก่ยี วกบั สาเหตุท่นี ํามาสู่ความบกพร่องหรือความพิการทางการมองเห็น

ความบกพร่องทางการมองเห็น(Visual Impairment)คือการสูญเสียการมองเห็น (Vision
Loss) จนถึงระดับหน่ึง อันเป็นผลสืบเน่ืองมาจากความสามารถในการมองเห็นท่ีมีอยู่อย่างจํากัด ซ่ึง
อาจเกิดจากโรค (Disease) การบาดเจ็บ (Trauma) รวมถึงความผิดปกติท่ีมีมาต้ังแต่กําเนิด
(Congenital conditions) หรอื เสื่อมสภาพในภายหลงั (Degenerative conditions)

จดั อย่ใู นกลุม่ ท่ี 3 ร่างกาย (Physically Handicapped)

เด็กท่ีมีความบกพร่องทางด้านการมองเห็นจัดอยู่ในกลุ่มท่ี 3 ด้านร่างกาย (Physically
Handicapped) ซง่ึ กลมุ่ ดังกล่าวประกอบดว้ ยความบกพรอ่ ง 4 ประการ ไดแ้ ก่

1. Crippled (แขน/ขา)
2. Speech handicapped (การพูด การไดย้ นิ หหู นวก ไดย้ ินไม่ชดั )
3. Visually handicapped (สายตา)
4. Delicate health (ปญั หาสุขภาพ)

โ ด ย เ ด็ ก ท่ี มี ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ด้ า น ก า ร ม อ ง เ ห็ น จั ด อ ยู่ ใ น ป ร ะ ก า ร ท่ี 3 Visually
handicapped (สายตา) ซง่ึ กลา่ วได้ว่าเด็กกลุม่ ดงั กลา่ วนน้ั มคี วามบกพรอ่ งหรือมีการลดลงของการ
มองเหน็ ดว้ ยตาเปล่า

ขอ้ มูลเบอ้ื งตน้
ในปัจจุบันเด็กจํานวน 1 ใน 5 ประสบปัญหาเก่ียวกับความบกพร่องในการมองเห็น อย่างไรก็

ตามเด็กมักไม่รู้ว่าตนเองมีความบกพร่องทางการมองเห็นเน่ืองจากเด็กท่ีมีปัญหาส่วนใหญ่เติบโต
ข้ึนมากับอาการดังกล่าวโดยไม่รู้ว่าการมองเห็นท่ีปกติน้ันเป็นอย่างไร อีกท้ังยังมักเข้าใจว่าคนอ่ืนก็
เห็นโลกในลักษณะท่ีไม่ต่างไปจากท่ีเขาเห็นเช่นกัน ปัญหาในการมองเห็นของเด็กอาจติดตัวมาต้ังแต่
กําเนิด แต่ส่วนใหญ่มักเร่ิมเม่ือเด็กอายุ 18 เดือนถึง 4 ขวบ อย่างไรก็ตาม เม่ือเด็กโตข้ึนจนถึงวัย
เรียนและสายตาพัฒนาอย่างเต็มท่ีเม่ืออายุ 10 ปีหรือแม้กระท่ังโตข้ึนเป็นผู้ใหญ่แล้ว ปัจจัยด้านอ่ืน ๆ
เช่น อุบัติเหตุและส่ิงแวดล้อมรอบตัวก็อาจเป็นสาเหตุของปัญหาความบกพร่องทางการมองเห็นได้

46

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศกึ ษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001
อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ความบกพร่องทางการมองเห็นย่อมส่งผลกระทบต่อเด็กท้ังในทางตรงและทางอ้อมเน่ืองจากการ
เรียนรู้พัฒนาการทางด้านต่าง ๆ และทักษะการใช้ชีวิตของเด็กล้วนเช่ือมโยงกับการมองเห็นดังน้ัน
เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการมองเห็นจึงอาจมีพัฒนาการท่ีไม่ปกติหรือไม่สมบูรณ์พร้อม อีกท้ังยังมี
พฤติกรรมต่าง ๆ ตามมา เช่น นิสัยข้ีหงุดหงิด หรือ อารมณ์และพฤติกรรมท่ีเกร้ียวกราด อันเกิดมา
จากความไม่ไดด้ ่งั ใจในข้อจาํ กัดทางดา้ นร่างกายของตนเอง

ลกั ษณะความบกพรอ่ งทางการมองเหน็

ตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงมนุษย์ได้ให้คํานิยามเก่ียวกับภาวะบกพร่อง
ทางการมองเหน็ คือ

ภาวะบกพร่องทางการมองเห็นท่ีมีสิทธิรับการช่วยเหลือและความคุ้มครอง รวมท้ังการฟ้ นื ฟู
สมรรถภาพในด้านต่าง ๆ จากรัฐตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
พ.ศ.2550 แบ่งเป็น 2 ลักษณะ โดยใช้ระดับสายตาท่ีได้รับการแก้ไขด้วยแว่นตาแล้ว (Best
corrected distance visual acuity) ของตาขา้ งท่ดี กี วา่ ดงั น้ี

1. คนตาบอด หมายถึง คนท่ีมีสายตาข้างท่ีดีกว่า เม่ือได้รับการตรวจแก้ไขด้วยแว้นตาแล้ว
สามารถเห็นได้น้อยกว่า 3 ส่วน 60 เมตร (3/60) หรือ 20 ส่วน 400 ฟุต (20/400) จนถึง
มองไมเ่ หน็ แม้แต่แสงสวา่ ง หรือมีลานสายตาแคบกวา่ 10 องศา

2. คนตาเห็นเลือนราง หมายถึง คนท่ีมีสายตาข้างท่ีดีกว่า เม่ือได้รับการตรวจแก้ไขด้วยแว่นตา
แล้ว สามารถเห็นได้ต้ังแต่ 3 ส่วน 60 เมตร (3/60) หรือ 20 ส่วน 400 ฟุ ต (20/400) ไป
จนน้อยกว่า 6 ส่วน ค เมตร (6/18) หรือ 20 ส่วน 70 ฟุ ต (20/70) หรือมีลานสายตาแคบ
กว่า 30 องศา ลงไปจนถงึ 10 องศา

สิทธแิ ละสวัสดิการ
สิทธิและสวสั ดิการท่ผี มู้ ีความบกพร่องทางการมองเห็นพึงไดร้ ับ คือ

บัตรประจําตัวคนพิการ (ในกรณีท่ีได้รับการวินิจฉัยว่ามีความพิการ) บัตรประจําตัวคนพิการ
ถือเป็นเอกสารใช้ยืนยันตัวตนและเป็นเอกสารสําคัญในการขอรับสิทธ์ิสวัสดิการต่าง ๆ จากภาครัฐ
และเอกชน

สิทธิทางการศึกษา เด็กท่ีมีความบกพร่องวรจะได้รับสิทธิทางการศึกษาเทียบเท่ากับเด็กท่ีไม่มี
ความบกพร่องทางด้านร่างกาย อีกท้ังควรจัดทําหลักสูตรสําหรับเด็กท่ีมีควาบกพร่องทางด้านการ
มองเห็นเป้นไปในลักษณะท่ีมีความใกล้เคียงหรือสอดคล้องกับเด็กท่ีไม่มีความบกพร่องทางด้านกร
มองเห็นหรือร่างกาย หากแต่จะต้องมีการปรับวิธีการเรียน การสอน สื่อ และอุปกรณ์ต่าง ๆ เพ่ือให้
เกิดความสอดคล้องกับความต้องการและความเหมาะสมของผู้เรียน โดยการเรียนอาจจัดเป็นการ
เรียนในรปู แบบ เรยี นรดู้ ว้ ยการลงมือปฏบิ ัติ (Leaning by doing)

การช่วยเหลือทางกฎหมายและการจัดหาทนายว่าต่างคดี โดยผู้ท่ีมีความบกพร่องหรือพิการ
จะได้รับการช่วยเหลือทางกฎหมายในเร่ืองต่าง ๆ ซ่ึงจะเป็นการให้คําปรึกษาหารือทางกฎหมาย การ

47


Click to View FlipBook Version