1
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เป็นโรงเรียนที่จัดการเรียน ก า ร ส อ น ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ภ า ย ใ ต้ สั ง กั ด คณะศึกษาศาสตร์ ที่มุ่งเน้นเป็นผู้น าในการ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับการพัฒนาวิชาชีพ ศึกษาศาสตร์ และมุ่งสร้างนวัตกรรม สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก โรงเรียนขอขอบคุณผู้ปกครองที่ได้ไว้วางใจ ให้โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จัดการศึกษา และร่วมดูแล บุตรหลานของท่าน และขอต้อนรับนักเรียนทุกคน เข้าสู่รั้วสาธิต ดิฉันหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) แห่งนี้จะเป็นพื้นที่ในการสร้างและหล่อหลอม ให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถค้นหา ความถนัดแ ละความช อบของตน เองให้เจ อ มี ทั ก ษ ะ ชี วิ ต มี จิ ต ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ส า ม า ร ถ น าองค์ความรู้ทั้งหมดไปช่วยเหลือ และพัฒนา สังคมได้ สมดังปรัชญาโรงเรียนที่ว่า “ปัญญาดี มีคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม” ก
การจัดท าคู่มือครู นักเรียน และผู้ปกครอง ปีการศึกษา ๒๕๖7 ฉบับนี้จัดท าขึ้นในรูปแบบ ออนไลน์ ทั้งนี้ได้รับการสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศเพื่อสื่อสารเกี่ยวกับข้อมูลการจัดการศึกษาของโรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จากคณะผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากร เป็นอย่างดีท าให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องและสมบูรณ์ คู่มือครู นักเรียนและผู้ปกครอง โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จัดท าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนใหม่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ปีการศึกษา ๒๕๖7 ได้รับทราบข้อมูล ข่าวสาร ที่เป็นประโยชน์ ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน ยุทธศาสตร์การพัฒนา การจัดการศึกษา โครงสร้างของ หลักสูตรสถานศึกษา โครงการ วมว. รวมถึงกฎระเบียบ แนวปฏิบัติต่าง ๆ ของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) คาดหวังว่าครู ผู้ปกครองและนักเรียนใหม่ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๑ และ ๔ ปีการศึกษา 2567 จะใช้ประโยชน์จากคู่มือเล่มนี้ เพื่อการศึกษาในโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) รวมถึงการส่งเสริมและพัฒนานักเรียนได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ข
ค สารจากผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) ก ค าน า ข สารบัญ ค ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน 1 • ตราสัญลักษณ์ 2 • ปณิธาน 3 • วิสัยทัศน์ 3 • ปรัชญาและอุดมการณ์ 3 • พันธกิจ 4 • ดอกไม้ประจ าโรงเรียน 4 • สีประจ าโรงเรียน 4 • คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4 • ค่านิยม ๑๒ ประการ 4 • ประวัติโรงเรียน 5 • ยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 10 • ท าเนียบผู้บริหาร 12 • โครงสร้างการบริหารงาน 13 • โครงสร้างการบริหารจัดการ 14 • คณะกรรมการบริหารและวิชาการ 15 • คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน 16 • คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 16 • คณะกรรมการพิจารณาความประพฤติ 16 • คณะกรรมการฝ่ายส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม ประจ าปีการศึกษา 2567 17 • คณะกรรมการนักเรียน ปีการศึกษา 2567 17
ค • บุคลากรสายวิชาการ 18 • กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 19 • กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 20 • กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22 • กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 24 • กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 26 • กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 27 • กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 28 • กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 29 • บุคลากรสายอ านวยการ 31 • กลุ่มงานวิชาการ 32 • กลุ่มงานธุรการ 33 • กลุ่มงานกิจการและพัฒนานักเรียน 34 • กลุ่มงานอาคารสถานที่และภูมิทัศน์ 35 • โครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) 38 • โครงการจัดตั้งห้องเรียนพิเศษ Science Mathematics Program (SMP) 39 • อาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้นและผู้ช่วยที่ปรึกษาประจ าชั้น ปีการศึกษา ๒๕๖7 40 • ข้อมูลด้านทรัพยากร 42 • ข้อมูลด้านอาคารเรียน สถานที่ 43 ตอนที่ ๒ การจัดการศึกษา 46 • การจัดการศึกษาภายในโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 47 • แหล่งเรียนรู้และบรรยากาศ 49 • หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 50 • ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 50 • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 52
ค • หลักสูตรห้องเรียนโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการก ากับดูแล ของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) 69 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 76 • การวัดและประเมินผล 80 • ประกาศเรื่อง การปฏิบัติตนของนักเรียนโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ใน โรงเรียน โดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 87 • ประกาศเรื่อง แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลของนักเรียน (โครงการ วมว.) 89 ตอนที่ ๓ ประกาศ ระเบียบ และแนวปฏิบัติ 91 • ประกาศเรื่อง ระเบียบว่าด้วยความประพฤติและการปฏิบัติตนของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖7 92 • ประกาศเรื่อง คุณสมบัติของนักเรียน โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีสิทธิ์ศึกษาต่อในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ 104 • ประกาศเรื่อง คุณสมบัติของนักเรียน โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีสิทธิ์ศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ประเภทนักกีฬา สาธิตสามัคคี 106 • ประกาศเรื่อง แนวปฏิบัติการเข้าสอบกลางภาคและปลายภาค 108 • ประกาศเรื่อง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการนับเวลาเรียนและแก้ผลการเรียน "มส“ 109 • ประกาศเรื่อง แนวปฏิบัติของนักเรียนเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนศึกษาต่อ ในต่างประเทศ 111 • ประกาศเรื่อง ระเบียบว่าด้วยการมอบวุฒิบัตรแก่นักเรียนที่เรียนดีเยี่ยม และเรียนดีมาก 112 • ประกาศเรื่อง ระเบียบว่าด้วยคณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ พ.ศ. 2567 113 • การจัดบริการแนะแนวและให้ค าปรึกษา 119 • การจัดบริการทุนการศึกษา 120 • ประกาศเรื่อง การบริการสุขภาพส าหรับนักศึกษาและนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ 121 • รายละเอียดเกี่ยวกับนักศึกษาวิชาทหาร 125
ค ตอนที่ ๔ ข้อมูลทั่วไป 134 • คุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ 135 • ข้อบังคับชมรมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 137 • บทเฉพาะกาล 141 • ท าเนียบประธานชมรมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 141 • คณะกรรมการชมรมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) (รักษาการปี ๒๕๖๒ - ปัจจุบัน) 142 • เครื่องแบบนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 146 • คณะกรรมการจัดท าคู่มือครู นักเรียนและผู้ปกครอง 151
1
ใช้ตรามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คือ ตรามหาพิชัยมงกุฎ มหาพิชัยมงกุฎ คือ ศิราภรณ์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ส าคัญ แสดงว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ จักรกับตรีศูล คือ ตราเครื่องหมายประจ าพระบรมราชวงศ์จักรี ม.อ. คือ อักษรย่อจากพระนามเดิม สมเด็จพระบรมราชชนก เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช สงขลานครินทร์ คือ พระอิสริยยศที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯสถาปนา สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช ขึ้นเป็นสมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดย กรมขุนสงขลานครินทร์เพื่อเป็นเกียรติแก่ เมืองสงขลา เสมือนทรงเป็นเจ้าแห่งนครสงขลา เมื่อ พ.ศ. 2446 และเมื่อวันที่ 9 มิ ถุ น า ย น 2 5 1 3 พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว รั ช ก า ล ที่ 9 ท ร ง มี พระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระนามสมเด็จพระราชบิดาว่า "สมเด็จพระมหิต ลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก" ตามราชกิจจานุเบกษา ประกาศเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระบรมราชชนก และสมเด็จพระบรมราชชนนี ฉบับพิเศษ หน้า 1 เล่ม 87 ตอนที่ 52 วันที่ 12 มิถุนายน 2513 โลโก้ PSU ชื่อโรงเรียน Journey Ruote PSU BRAND IDENTITY โลโก้ PSU ประกอบด้วย ตัวอักษร PSU สีน้ าเงิน และ สัญลักษณ์ Navigation Maker สีฟ้า ซึ่งถ่ายทอด เรื่องราวของการเดินทาง โดยมี “จุดหมาย” และ “จุดเริ่ม” เป็นสิ่งยึดมั่น ให้ทิศทางผลักดันให้ลงมือ และ ไม่ย่อท้อกับทุกอุปสรรค ไม่ว่าจะเป็นสังคมแห่งการท างาน วิจัย การคิดค้นนวัตกรรม และการเป็นที่พึ่งสังคม ของมหาวิทยาลัยในการสร้างอนาคตที่ดีขึ้น หรือโลกแห่งการค้นหาความฝัน การค้นพบศักยภาพตัวเอง การเรียนรู้ และการได้รับประสบการณ์จริงของนักศึกษาเพื่อพร้อมเผชิญกับชีวิตจริงของการท างาน 2
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้ตั้งปณิธานที่จะมุ่งมั่นท าภารกิจของโรงเรียนให้สัมฤทธิผล และ ตามรอยเบื้องยุคลบาทของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ดังพระราชด ารัสของพระองค์ท่านที่ว่า “ขอให้ถือผลประโยชน์ส่วนตัวเป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย์และเกียรติยศจะตกแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพไว้ให้บริสุทธิ์” “ปัญญาดี มีคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม” โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เป็นผู้น าในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมพัฒนาวิชาชีพ ศึกษาศาสตร์ และมุ่งสร้างนวัตกรรม สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ๑. เป็นผู้น าในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนานักเรียนให้มีความเป็นเลิศ มีคุณธรรมและจริยธรรม ๒. ร่วมพัฒนาวิชาชีพศึกษาศาสตร์ เพื่อสร้างครูเก่งและดีให้แก่สังคม ๓. สร้างงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการศึกษาและสังคม ๔. บริการวิชาการและให้ความร่วมมือกับสังคม ๕. ท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อรักษาเอกลักษณ์ของชาติ 3
ดอกศรีตรังเป็นดอกไม้ประจ ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ เป็นดอกไม้ประจ าโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มีถิ่นก าเนิดอยู่ในประเทศบราซิล เป็นไม้ใน สกุล Bignoniaceae ภาษาอังกฤษเรียกชื่อว่า Jacaranda มีชื่อทาง พฤ ก ษ ศ าส ต ร์ว่า Jacaranda obtusifolia Bonpl ห รือ Jacaranda filicifolia D.Don) ท่านพระยารัษฎานุประดิษฐ์ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เจ้าเมืองตรังน ามาปลูกครั้งแรกที่เมืองตรัง ท่านก็ให้ชื่อว่า “ศรีตรัง” #FF450 0 สีแสด เป็นสีประจ าคณะศึกษาศาสตร์ ซึ่งโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้ใช้สีแสดเป็นสีประจ าโรงเรียน ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์ สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการท างาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ หนึ่งรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สองซื่อสัตย์ เสียสละ อดทนได้ สามกตัญญูพ่อแม่ สุดหัวใจ สี่มุ่งใฝ่ เล่าเรียน เพียรวิชา ห้ารักษา วัฒนธรรม ประจ าชาติ หกไม่ขาด ศีลธรรม ศาสนา เจ็ดเรียนรู้ อธิปไตย ของประชา แปดรักษา วินัย กฎหมายไทย เก้าปฏิบัติ ตามพระ ราชด ารัส สิบไม่ขาด พอเพียง เลี้ยงชีพได้ สิบเอ็ดต้อง เข้มแข็ง ทั้งกายใจ สิบสองไซร้ คิดอะไร ให้ส่วนรวม 4
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ก่อตั้งขึ้นใน ปี พ.ศ.๒๕๑๒ หลังจากการด าเนินงาน ของคณะศึกษาศาสตร์ ๑ ปี ทั้งนี้ในปีการศึกษา ๒๕๑๒ โรงเรียนสาธิต ฯ ได้เปิดรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตาม หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช ๒๕0๓ เพื่อให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของคณะศึกษาศาสตร์ในขณะนั้น ที่จะผลิตครูเพื่อสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงเตรียมการให้โรงเรียนสาธิตฯ เป็นที่ฝึกทดลองสอนของนักศึกษาคณะ ศึกษาศาสตร์ และมุ่งให้นักเรียนศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา และในปีการศึกษา ๒๕๑๘ คณะศึกษาศาสตร์ได้จัดท าโครงการ พิเศษเพื่อทดลองรับนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามเข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๔ แนวศิลปศาสตร์ ปีการศึกษา ๒๕๑๙ โรงเรียนสาธิตฯ เปิดรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเป็นปีแรกโรงเรียนจึงเปิดสอนเต็ม รูปแบบ ทั้งระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา ๒๕๒๖ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีโดยการประสานงานของ ศูนย์อ านวยกรบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ให้ขยายโครงการเพื่อรับนักเรียนจากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลามเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แนววิทยาศาสตร์และแนวศิลปศาสตร์อย่างละ ๑กลุ่ม โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนไทยมุสลิมได้ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและโอกาสเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษามากขึ้น นอกจากนั้นยังเป็นการกระตุ้นให้โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของตน ซึ่งสอดคล้องกับ นโยบายปรับปรุงโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในปีเดียวกันนั้นทางโรงเรียนได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ขยาย โครงการรับนักเรียนไทยมุสลิมจากโรงเรียนมัธยมสามัญทั่วไป ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้เข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย แนววิทยาศาสตร์ และแนวศิลปศาสตร์ อย่างละ ๑ กลุ่มอีกด้วย และในปี พ.ศ.๒๕๓๓ โรงเรียนสาธิตฯ เปิดสอน หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พ.ศ.๒๕21 (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑,๒,๓) และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.๒๕๒๔ (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔,๕.๖) เต็มรูปแบบทั้ง ๒ หลักสูตร ปีการศึกษา ๒๕๓7 โรงเรียนสาธิตฯ จัดท าโครงการเยาวชนช้างเผือก ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) เพื่อรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ และความประพฤติตีจากโรงเรียนประถมศึกษาใน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวม 10 คน เข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โครงการนี้มีระยะเวลา ๓ ปี ตั้งแต่ ปีการศึกษา ๒๕๓๗-๒๕๓๙ ปีการศึกษา ๒๕๔๙ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้จัดท าโครงการพิเศษ โครงการเรียนดี รับนักเรียนที่มีผลการเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ วิชาภาษาไทย ตั้งแต่ ๔.00 เข้าเรียนในโรงเรียนสาธิตฯ จ านวน 30 คน ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ต่อมาในปีการศึกษา ๒๕52 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้จัดท าโครงการพิเศษโดยรับนักเรียนเรียนตีที่มีระดับผลการเรียนเฉลี่ย ๓.๗๕ ขึ้นไปใน ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และ วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เข้าเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕1 โรงเรียนสาธิตฯ ได้รับการคัดเลือกและผ่านการประเมินจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็น โรงเรียนที่มีการบริหารจัดการตีเด่นได้รับ "รางวัลโรงเรียนพระราชทาน สถานศึกษาขนาดกลาง และนักเรียนรางวัล พระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประจ าปีการศึกษา ๒๕5๑" โดยรับพระราชทาน รางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี 5
ปีการศึกษา ๒๕๕๒ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้รับการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสอง ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ในระดับดีมากทุกมาตรฐาน ปีการศึกษา ๒๕๕3 กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สนับสนุนโครงการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ในโรงเรียนสาธิตฯ โดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (โครงการ วมว.-ม.อ.ปัตตานี) โดยรับนักเรียนที่มีความรู้ความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-6 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ จ านวน ห้องเรียน (พ.ศ. ๒๕๕๓ - พ.ศ. ๒๕๕๕) โดยความร่วมมือระหว่างคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี คณะศึกษาศาสตร์ และโรงเรียนสาธิต ฯ ทั้งนี้เพื่อพัฒนาเยาวชนที่มีความรู้ความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อเป็นก าลังส าคัญในการพัฒนาประเทศในอนาคต ปีการศึกษา ๒๕๕๕ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ในระดับดีมาก ทุกมาตรฐานอีกเช่นกัน รวมทั้งโรงเรียนได้รับความไว้วางใจจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ขยายโครงการ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ (วมว.) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ระยะที่ ๒ด าเนินโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ต่อไปอีก ๘ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๖๓) และในปีเดียวกันนี้โรงเรียนสาธิตฯ ได้เปิดแผนการเรียนภาษาอังกฤษ -ภาษาจีน เพิ่มอีกแผนการเรียนส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่นักเรียนที่มีความถนัดทางด้านภาษาจีน ปีการศึกษา ๒๕๕6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้เปิดแผนการเรียน ด้านศิลปศาสตร์เพิ่มเติมอีก 2 แผนการเรียนส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ คือ แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น และแผนการเรียน ภาษาอังกฤษ-ภาษามลายู ทั้งนี้เพื่อเป็นการพัฒนานักเรียนด้านภาษาต่างประเทศให้เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปีการศึกษา ๒๕๕7 โรงเรียนสาธิตฯ ได้รับการคัดเลือกและผ่านการประเมินจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็น โรงเรียนที่มีการบริหารจัดการตีเด่นได้รับ "รางวัลโรงเรียนพระราชทาน สถานศึกษาขนาดกลาง และนักเรียนรางวัล พระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๗" โดยรับพระราชานรางวัลจากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ปีการศึกษา ๒๕๖0 โรงเรียนสาธิตฯ ได้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นฟื้นฐาน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0 ในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี และกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (สาระภูมิศาสตร์) โดยเริ่มใช้หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖1 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ และในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ และในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ปีการศึกษา ๒๕62 โรงเรียนสาธิตฯ จัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕60 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-ม.๒) และระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย (ม.๔-ม.6) ส าหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๓) และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) ยังคงใช้หลักสูตร สถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นปีสุดท้าย ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางของ ประเทศ มีความเหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่นสอดคล้องกับปรัชญาและอุดมการณ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจของโรงเรียน และ ตอบสนองภารกิจและนโยบายของคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการใช้โรงเรียนสาธิตฯ เป็นฐาน ในการพัฒนาวิชาชีพศึกษาศาสตร์ เป็นที่ทดลองวิธีสอนรูปแบบต่าง ๆ การทดลองจัดหลักสูตร การวิจัยทางการศึกษา และพฤติกรรมการเรียนการสอน เพื่อผลิตบัณฑิตศึกษาศาสตร์ที่มีคุณภาพสู่สังคม 6
และในปีพุทธศักราช ๒๕62 นี้ เป็นโอกาสพิเศษที่โรงเรียนสาธิตฯ ก่อตั้งมาครบรอบ ๕0 ปี ได้สร้างชื่อเสียง และ ก่อประโยชน์ทางการศึกษาให้กับสังคมภาคใต้ และประเทศมากมาย ทางโรงเรียนเห็นสมควรให้มีการจัดโครงการกิจกรรมเพื่อ การเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ ๕0 ปี โรงเรียนสาธิตฯ เพื่อร าลึกถึงประวัติความเป็นมา และเผยแพร่ชื่อเสียง ความเจริญก้าวหน้าของโรงเรียนสาธิตฯ ต่อคณาจารย์ บุคลากร นักเรียน ศิษย์เก่า ผู้ปกครอง สถาบันการศึกษา องค์กรส่วน ราชการ องค์กรภาคเอกชน ได้มีส่วนร่วมรับทราบข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมหลักในการเฉลิมฉลองได้แก่ (๑) การเป็นเจ้าภาพจัด ประชุมวิชาการระดับชาติ "สาธิตวิชาการ ครั้งที่ ๗" (๒) การจัดกิจกรรมเดินวิ่งการกุศล ๕0 ปีสาธิตมินิมาราธอน (๓) การจัด งานคืนสู่เหย้า ๕0 ปีโรงเรียนสาธิตฯ และ(๔) กิจกรรมเพื่อสังคม เป็นต้น ปีการศึกษา ๒๕๖๓ คณะศึกษาศาสตร์มีการปรับโครงสร้างการบริหารใหม่ที่สอดคล้องกับนโยบายการปรับ โครงสร้างมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีการปรับเปลี่ยนชื่อโรงเรียนตามโครงสร้างใหม่เป็น "โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา)" โดยมีรองคณบดีและผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เป็นผู้บริหารโรงเรียน และมีรองผู้อ านวยการ และผู้ช่วยผู้อ านวยการ คือ (๑) ฝ่ายวางแผนและพัฒนา องค์กร (๒) ฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ (๓) ฝ่ายพัฒนาวิชาชีพครู วิจัย และวิเทศสัมพันธ์ (๔) ฝ่ายกิจการนักเรียน และ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ นี้ โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) โดยความร่วมมือกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้ด าเนินการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโครงกรสนับสนุนการจัดตั้ง ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) ให้สอดคล้องและเหมาะสมยิ่งขึ้นกับ การเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมปัจจุบัน ทั้งนี้ จะเริ่มใช้หลักสูตรฉบับปรังปรุงใหม่ส าหรับนักเรียนโครงการ วมว. ชั้น ม.๔ ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้ด าเนินการเตรียม ความพร้อมในการจัดท าหลักสูตรใหม่คือ "หลักสูตรฐานสมรรถนะ" ที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ ในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ที่จะน าร่องหลักสูตรฐานสมรรถะ ในสถานศึกษาที่มีความพร้อม คาดว่าจะเริ่มด าเนินการได้ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ ทั้งนี้โรงเรียนสาธิต ฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้จัดท าโครงสร้างหลักสูตรฐานสมรรถะทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และในปีการศึกษา ๒๕๖๓ นี้โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้พัฒนาห้องปฏิบัติการ "STEM LAB" ให้ได้มาตรฐาน เพื่อจัดการเรียนรู้ "สะเต็มศึกษา" บูรณาการความรู้ใน ๔ สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร์ โดยเน้นการน าความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง ช่วยให้นักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาวิชาทั้งกับ ชีวิตประจ าวันและอาชีพ เน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ท้าทายความคิดของนักเรียน และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ แสดงความคิดเห็น และความเข้าใจที่สอดคล้องกับเนื้อหาทั้ง 4 วิชา จุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาคือ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักและเห็นคุณค่าของการเรียนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา ๒๕๖4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้จัดท าแผนพัฒนาโรงเรียน ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - พ.ศ.๒๕๖๘) ทั้งนี้เพื่อก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนให้บรรลุเป้าหมายร่วมกันในอนาคต แผนพัฒนาโรงเรียนประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ – พ.ศ.๒๕๖๘ มีความส าคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาโรงเรียนให้สามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามวิสัยทัศน์ และพันธกิจของ โรงเรียน ทั้งนี้ กิจกรรมในการก ากับ ติดตาม และประเมินผลแผนปฏิบัติการจะช่วยให้สามารถน าข้อมูลมาวิเคราะห์ วางแผนงาน และเป็นข้อมูลส าคัญส าหรับผู้บริหารใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจเพื่อการบริหารไต้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการบริหารของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เป็นอย่างดี 7
ปีการศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เริ่มใช้หลักสูตรเป็นปีแรก และผ่านมติความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา คือ "หลักสูตรเสริมสมรรถนะ 6 กลุ่มวิชาชีพ" ประกอบด้วย ๑) กลุ่มวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ๒) กลุ่มวิชาชีพ ด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ๓) กลุ่มวิชาชีพด้านเศรษฐศาสตร์และผู้ประกอบการ ๔) กลุ่มวิชาชีพด้านมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 5) กลุ่มวิชาชีพด้านภาษา และการสื่อสาร ๖) กลุ่มวิชาชีพด้านสุนทรียะและการสร้างสรรค์ หลักสูตร ดังกล่าวสามารถตอบสนองความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน ผู้เรียนได้ค้นพบตนเองผ่านกิจกรรมการเรียนการสอน และ กิจกรรมเสริมสมรรถะแต่ละสาขาวิชาชีพ และเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา และการประกอบอาชีพ ในอนาคตโครงสร้างหลักสูตรสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖0ประกอบด้วยรายวิชาพื้นฐาน ๔๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า ๓6 หน่วยกิต รวมทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า ๘๑ หน่วยกิต และโครงการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนสาธิตฯ โดยการก ากับ ดูแลของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (โครงการ วมว.-ม.อ.ปัตตานี) ได้ผ่านการประเมินและคัดเลือกให้เข้า ร่วมโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) ระยะที่ ๓ โดย คณะกรรมการก าหนดนโยบาย และก ากับดูแลโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัย ส านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้รับการประเมินการประกัน คุณภาพภายนอก จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ในระดับดีเยี่ยม และได้จัดท าหลักสูตร เสริมสมรรถนะ 6 กลุ่มวิชาชีพระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2565 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2567) เป็นหลักสูตรที่พัฒนาจากหลักสูตรเสริมสมรรถนะ 6 กลุ่มวิชาชีพระดับมัธยมศึกษาปลาย พุทธศักราช 2565 โดยปรับปรุง โครงสร้างหลักสูตรของแต่ละกลุ่มวิชาชีพ และได้มีการปรับเปลี่ยนโยกย้ายรายวิชาให้มีความเหมาะสมต่อการน าองค์ความรู้ ไปใช้ในการสอบเข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษา การน าองค์ความรู้ไปเป็นฐานในการศึกษาต่อ และสอดคล้องกับสังคมโลก ในปัจจุบัน 8
ปีการศึกษา 2567 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้จัดการเรียนการสอน และประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มุ่งเน้นการเสริมสร้างสมรรถนะผู้เรียนเพื่อให้ ผู้เรียนได้ค้นพบความถนัด ความสนใจ และ มีทักษะที่เพียงพอในการตัดสินใจในอนาคต แยกกลุ่มวิชาชีพ เพื่อเปิดโอกาส ให้นักเรียนได้ค้นพบศักยภาพ ความถนัด ความสนใจ และเลือก ก ลุ่ ม วิ ช า ชี พ ต า ม ห ลั ก สู ต ร เสริมสมรรถนะ 6 กลุ่มวิชาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2565 (ฉบัปรับปรุง พุทธศักราช 2567) มีมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดครบถ้วนตามที่หลักสูตรก าหนด ส่วนที่โดดเด่น คือ การจัดรายวิชาเพิ่มเติม ในแต่ละกลุ่มวิชาชีพที่จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ประสบการณ์ และทักษะที่จะน าไปใช้ในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพตามที่ตั้งเป้าหมายในชีวิตไว้ อีกทั้งโอกาสที่หลากหลายในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม สรรถนะ ที่มีแผนในการพัฒนาผู้เรียนผ่านกิจกรรมเสริมสมรรถนะในแต่ละชั้นปีอย่างชัดเจน มีความ หลากหลายทั้งรูปแบบแนวทางจัดกิจกรรม รวมถึงประสบการณ์ที่ผู้เรียนจะได้รับโดยผู้เรียนสามารถเลือก เข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่เสนอไว้ได้ตามความสนใจ นักเรียนในแต่ละกลุ่มวิชาชีพจะได้รับการพัฒนา กระบวนทัศน์เพื่อเป็นฐานในการสร้างความรู้ ความสามารถที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานในอาชีพหรือศึกษาต่อ ระดับอุดมศึกษา 9
การก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘ เปิดโอกาสให้บุคลากรเข้ามามีส่วนร่วม และยึดกรอบการพิจารณาจาก ข้อมูลต่าง ๆ จ านวน ๖ แหล่งข้อมูลประกอบด้วย ๑. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๒. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระยะยาว ๒๐ ปี พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๓. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ ๔. แผนพัฒนาคณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๖ ๕. การประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ๖. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOTAnalysis) โดยการน าข้อมูลทั้งหมดมาสังเคราะห์เพื่อก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกันในอนาคต ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง (Our Soul is for the Benefit of Mankind) ๑) ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับมัธยมศึกษา ๒) ความเชี่ยวชาญในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพศึกษาศาสตร์ ปัญญาดี มีคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม โรงเรียนต้นแบบ 10
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.2 เป็นผู้น าในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.2 พัฒนานักเรียนให้มีความเป็นเลิศ มีคุณธรรม จริยธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2.1 มีความเป็นเลิศในด้านการจัดการเรียนรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2.2 หน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (Lab school) ที่มีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.๑ พัฒนางานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4.1 การบริการวิชาการและการเป็นที่พึ่งด้านวิชาการของสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5.1 บ่มเพาะเอกลักษณ์ความเป็นไทยบนฐานสังคมพหุวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6.1 บริหารจัดการบนพื้นฐานของธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6.2 การบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 11
ท าเนียบผู้บริหารโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) ๑. ศาสตราจารย์จ าเริญ เจตนเสน พ.ศ.๒๕๑๒ - พ.ศ.๒๕๑๕ ๒. อาจารย์ไพฑูรย์ บุญยะเวศ พ.ศ.๒๕๑๕ - พ.ศ.๒๕๑๖ ๓. อาจารย์ไสว เลี่ยมแก้ว พ.ศ.๒๕๑๖ - พ.ศ.๒๕๑๗ ๔. อาจารย์วิรัช บุญสมบัติ พ.ศ.๒๕๑๗ - พ.ศ.๒๕๒๑ ๕. ผู้ช่วยศาตราจารย์วิรัช บุญสมบัติ พ.ศ.๒๕๒๑ - พ.ศ.๒๕๒๖ ๖. อาจารย์ปราณี ทองค า พ.ศ.๒๕๒๖ - พ.ศ.๒๕๒๘ ๗. อาจารย์สมปอง ทองผ่อง พ.ศ.๒๕๒๘ - พ.ศ.๒๕๓๐ ๘. อาจารย์จรีรัตน์ สาครินทร์ พ.ศ.๒๕๓๐ - พ.ศ.๒๕๓๒ ๙. อาจารย์บรรจง ฟ้ารุ่งสาง พ.ศ.๒๕๓๒ - พ.ศ.๒๕๓๔ ๑๐. อาจารย์จรีรัตน์ สาครินทร์ พ.ศ.๒๕๓๔ - พ.ศ.๒๕๓๘ ๑๑. อาจารย์บัณฑิต ดุลยรักษ์ พ.ศ.๒๕๓๘ - พ.ศ.๒๕๔๐ ๑๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณงณาถ สถาวโรดม พ.ศ.๒๕๔๐ - พ.ศ.๒๕๔๔ ๑๓. อาจารย์อุบลรัตน์ ซื่อสัตตบงกช พ.ศ.๒๕๔๔ - พ.ศ.๒๕๔๖ ๑๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์กนก จันทร์ทอง พ.ศ.๒๕๔๖ - พ.ศ.๒๕๕๐ ๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัณฑิต ดุลยรักษ์ พ.ศ.๒๕๕๐ - พ.ศ.๒๔๕๔ ๑๖. ผู้ช่วยศาสตราจารย์กนก จันทร์ทอง พ.ศ.๒๕๕๕ - พ.ศ.๒๕๕๙ ๑๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัณฑิต ดุลยรักษ์ พ.ศ.๒๕๕๙ - พ.ศ.๒๕๖๓ ๑๘. ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัณฑิต ดุลยรักษ์ พ.ศ.๒๕๖๓ - พ.ศ.๒๕๖๕ ๑๙. อาจารย์มนฑกาน อรรถสงเคราะห์ พ.ศ.๒๕๖๖ - พ.ศ.๒๕๖๖ ๒๐. อาจารย์โซเฟีย มะลี พ.ศ.๒๕๖๖ - ปัจจุบัน 12
ผู้อ านวยการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) โครงสร้างการบริหารงาน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) 1. การบริหารหลักสูตร 2. การจัดการเรียนการสอน 3. การวัดและประเมินผล 4. การนิเทศภายใน 5. ห้องสมุด และแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวิชาการ • นายทะเบียน ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานวัดผลและประเมินผล • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานเสริมสร้าง ทักษะทางวิชาการ รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ 1. งานแผนยุทธศาสตร์ 2. งานแผนงบประมาณ 3. งานทรัพยากรบุคคล 4. แผนปฏิบัติงาน และปฏิทินประจ าปี 5. งานประกันคุณภาพ 6. งานสื่อสารองค์กร และชุมชนสัมพันธ์ 7. งานอาคารสถานที่ และภูมิทัศน์ 8. งานระดมทุน ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานประกันคุณภาพ รองผู้อ านวยการฝ่ายแผน และประกันคุณภาพ 1. งานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2. งานฝึกประสบการณ์ผู้เรียน 3. งานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมบุคลากร 4. งานส่งเสริมการท าวิจัยของ นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอน 5. โครงการวมว.- ม.อ. ปัตตานี 6. โครงการในก ากับอื่น • ผู้ช่วยผู้อ านวยการโครงการวมว. • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ(นักศึกษา) • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานฝึกประสบการณ์ • นักเรียน) • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวิจัย รองผู้อ านวยการฝ่ายฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ วิจัยและโครงการในก ากับ 1. งานส่งเสริมวินัย และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2. งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และกิจกรรมชุมนุม 3. งานท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม และส่งเสริมศาสนา 4. งานแนะแนว ส่งเสริมสุขภาพจิต และจัดสรร ทุนการศึกษา 5. งานพัฒนากีฬา และวิทยาศาสตร์การกีฬา 6. งานจิตอาสาเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ 7. งานส่งเสริมสุขอนามัย ความปลอดภัย และ ห้องพยาบาล 8. กิจกรรมลูกเสือ ผู้บ าเพ็ญประโยชน์ และ ประสานงานนักศึกษาวิชาทหาร • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรม • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานกิจกรรม • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวินัย • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานกิจการพิเศษ • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานพัฒนากีฬา รองผู้อ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียน 1. งานสารบรรณ 2. งานการเจ้าหน้าที่ 3. งานการเงินและบัญชี 4. งานพัสดุ ครุภัณฑ์และการจัดซื้อจัดจ้าง 5. การจัดประชุมและพิธีการ 6. งานประสานชมรมผู้ปกครองและครู 7. งานบริหารโครงการ SMP และโครงการ พิเศษอื่น ๆ 8. งานวิเทศสัมพันธ์ 9. ศูนย์ประสานงาน AFS • ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวิเทศสัมพันธ์ • ผู้ประสานงาน AFS ผู้อ านวยการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) 13
อ.โซเฟีย มะล ี ผู้อ ำนวยกำรโรงเรียนสำธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) อ.มุกดำ ธรรมกิรต ิ รองผู้อ านวยการ ฝ่ายว ิชาการ อ.สุไรยำ ลำมะทำ ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานวิชาการ อ.รอสเมำะห์น ิสะน ิ นายทะเบียนผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานวัดผลและประเมินผล อ.อัสหมะ หะยียูโซะ ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานเสริมสร้าง ทักษะทางวิชาการ อ.ศิร ิขวัญ ชิณศร ี รองผู้อ านวยการ ฝ่ายแผน และประกันคุณภาพ อ.วัสลีณำ หำไม ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานประกันคุภาพ อ.น ิลุบล เกตุแก้ว รองผู้อ านวยการ ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วิจัยและโครงการในก ากับ อ.นูรอำซีก ีน ยีสมัน ผู้ช่วยผู้อ านวยการ โครงการวมว. อ.สุภำภรณ์คงทน ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ (นักศ ึกษา) อ.ต่วนตัซนีมย์โตะกูบำฮำ ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานฝึกประสบการณ์ (นักเรียน) อ.อรรถพล ล ิวัญ ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานวิจัย อ.ยุทธศำสตร์นวลเจร ิญ รองผู้อ านวยการ ฝ่ายกิจการนักเรียน อ.ปัณฑำร ีย์เก ียรต ิฐำนันท์ ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานท านุบ ารุงศ ิลปวัฒนธรรม อ.สนั่น รัตนพรหม ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานกิจกรรม อ.ฟำต ีหม๊ะ แววันจ ิต ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานวินัย อ.น ิสมำน มะสีละ ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานกิจการพิเศษ อ.ธีระดนัยษ์สำระภ ี ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานพัฒนากีฬา โครงสร้างการบริหารจัดการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) อ.สุลัยญำ หะย ีหำมะ ผู้ช่วยผู้อ านวยการ งานวิเทศสัมพันธ ์ 14
คณะกรรมการบริหารและวิชาการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) รองผู้อ านวยการฝ่ายแผนและประกันคุณภาพ รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ รองผู้อ านวยการฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วิจัย และโครงการในก ากับ รองผู้อ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียน ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวิเทศสัมพันธ์ ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวิชาการ ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานเสริมสร้างทักษะทางวิชาการ ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานประกันคุณภาพ ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานโครงการ วมว. ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (นักศึกษา) ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (นักเรียน) ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวิจัย ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานกิจกรรม ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวินัย ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานกิจการพิเศษ ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานพัฒนากีฬา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์ หัวหน้ากลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ หัวหน้ากลุ่มสาระภาษาไทย หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวหน้ากลุ่มสาระการงานอาชีพ หัวหน้ากลุ่มสาระศิลปะ หัวหน้ากลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา หัวหน้างานแนะแนวฯ หัวหน้างานอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อม นางสาวไซนะ ลาเตะ นางสาวกัณฐมณี รัตนรามศรี นางสาวปริฉัตร สองประสม ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖. ๒๗. ๒๘. ๒๙. ๓๐. 31. ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้ช่วยเลขานุการ เลขานุการ 15
คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) คณะกรรมการพิจารณาความประพฤติ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) 1. นายยุทธศาสตร์ นวลเจริญ ประธานกรรมการ 2. นางสาวจันทร์จรัส เพชรรัตนโมรา รองประธานกรรมการ 3. นางสาวอัสหมะ หะยียูโซะ กรรมการ 4. นายรณกร รักษ์วงศ์ กรรมการ 5. นางสุไรยา ลามะทา กรรมการ 6. นายไพรสัญ แสงศิลา กรรมการ 7. นางสาววัชราวลี ไทยเจริญ กรรมการ 8. นางสาวนูรฟาติณ เจะยะ กรรมการ 9. นางสาวฟาตีหม๊ะ แววันจิต กรรมการและเลขานุการ 10. นายเฉลิมเกียรติ บัวดง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 1. นายยุทธศาสตร์ นวลเจริญ ประธานกรรมการ 2. นางสาวฟาตีหม๊ะ แววันจิต กรรมการ 3. นางสาววัชราวลี ไทยเจริญ กรรมการและเลขานุการ 1. นางโซเฟีย มะลี ประธานกรรมการ 2. นางสาวมุกดา ธรรมกิรติ กรรมการ 3. นางนูรอาซีกีน ยีสมัน กรรมการ 4. นางสาวนิลุบล เกตุแก้ว กรรมการ 5. นางสาวสุภาภรณ์ คงทน กรรมการ 6. นางสาวจันทร์จรัส เพชรรัตนโมรา กรรมการ 7. นายรณกร รักษ์วงศ์ กรรมการ 8. นางสาวปราณีต ศิริพงค์ กรรมการ 9. นางสุไรยา ลามะทา กรรมการ 10. นางสาวนญาดา ขวัญทอง กรรมการและเลขานุการ 16
คณะกรรมการฝ่ายส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖7 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) คณะกรรมการนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖7 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ฝ่ายมัธยมศึกษา) 1. อาจารย์ยุทธศาสตร์ นวลเจริญ ประธานกรรมการ 2. อาจารย์สนั่น รัตนพรหม รองประธานกรรมการ 3. อาจารย์ฟาตีหม๊ะ แววันจิต กรรมการ 4. อาจารย์ปัญฑารีย์ เกียรติฐานันท์ กรรมการ 5. อาจารย์ธีระดนัยษ์ สาระภี กรรมการ 6. นายนิสมาน มะสีละ กรรมการ 7. นายเฉลิมเกียรติ บัวดง กรรมการ 8. นางสาวจันทร์จรัส เพชรรัตนโมรา กรรมการ 9. นางสาววัชราวลี ไทยเจริญ กรรมการและเลขานุการ 1. นางสาวนิศรา นิลหกุล ประธานนักเรียน 2. นางสาวนารีมาน อุณาตระการ รองประธานนักเรียน 3. นายปริชญ์ ภูยุทธานนท์ เลขานุการและสาราณียกร 4. นายวรพล สมภักดี เหรัญญิก 5. นางสาวโซเฟีย บือซา ประชาสัมพันธ์ 6. นางสาวจิรวดี วงศ์นราสิน วิชาการ 7. นางสาวนาฎา กองบก ปฏิคม 8. นายปภังกร แสงสุวรรณ สวัสดิการ 9. นางสาวนาตาชา เบญจดารา กีฬาและนันทนาการ 10. นายฟัฮมานณ์ ยีเจะดือราแม อาคารและสถานที่ 11. นายฟัยฎี หมุดหวัน ตัวแทนนักเรียนม.ปลาย 12. เด็กหญิงชินชนิสศา ปัตตศิริเสนีย์ ตัวแทนม.ต้น 17
26 18
อาจารย์สุภาภรณ์คงทน ศศ.ม. (ภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต์ ) อาจารย์โซเฟีย มะลี ค.ม. (การสอนภาษาไทย) อาจารย์วิมลมณี นิลมณี ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) อาจารย์พิเศษ อาจารย์รุซัยนีย์ ยะแซ ศษ.บ. (ภาษาไทย) อาจารย์พิเศษ อาจารย์นิลุบล เกตุแก้ว ค.ม. (การสอนภาษาไทย) หัวหน้ากลุ่มสาระ 19
หัวหน้ากลุ่มสาระ อาจารย์ขจรพงษ์หนูทอง ศษ.ม. (การวัดผลและวิจัยการศึกษา) อาจารย์เต็มเดือน เต้าแก้ว ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) อาจารย์สุธาทิพย์นิลฉิม ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) ผศ.บุญสนอง วิเศษสาธร วท.ม. (วิธีวิทยาการวิจัย) อาจารย์รอสเมาะห์นิสะนิ วท.ม. (คณิตศาสตร์ประยุกต์) อาจารย์วัสลีณา หาไม ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) อาจารย์มูฮัมหมัดอาลาวี บูกุ ลาศึกษาต่อ 20
อาจารย์นูรฮูดา สะลาเม๊าะ วท.บ. (ศึกษาศาสตร์) อาจารย์พิเศษ อาจารย์ฟาดีลา ดอเลาะ วท.บ. (ศึกษาศาสตร์) อาจารย์พิเศษ 21
หัวหน้ากลุ่มสาระ อาจารย์มนฑกาน อรรถสงเคราะห์ กศ.ม. (ฟิสิกส์) อาจารย์ธเนศ สุขมาตย์ วท.ม. (ฟิสิกส์) อาจารย์มุกดา ธรรมกิรติ วท.ม. (ฟิสิกส์) อาจารย์นูรอาซีกีน ยีสมัน M.Sc. (Biotechnology) อาจารย์ทรงธรรม แก้วประถม วท.ม. (เคมีศึกษา) อาจารย์จันทร์ดา พิทักษ์สาลี ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา) อำจำรย์นวินดำ คงภักดี วท.ม. (ฟิสิกส์ประยุกต์) 22
อาจารย์อรรถพล ลิวัญ ศษ.ม. (การวิจัยและประเมินผลการศึกษา) อาจารย์การีมะห์ สาและ วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทั่วไป) อาจารย์พิเศษ อาจารย์สุรินทร์ บินมะดีเยาะ ศษ.บ (เทคโนโลยีและการประเมิน) อาจารย์พิเศษ อาจารย์อันวาร์อิบราฮิม วท.บ. (ชีววิทยา) อาจารย์พิเศษ อาจารย์นูรยัสมินทร์ สหสันติวรกุล วท.บ. (ชีววิทยา) อาจารย์พิเศษ อาจารย์อามีเร๊าะ วานิ วท.บ. (ฟิสิกส์) อาจารย์พิเศษ ผศ.ดร.แวฮาซัน แวหะมะ ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) ผศ. ไกรรัตน์นิลฉิม วท.ม. (วิธีวิทยาการวิจัย) 23
หัวหน้ากลุ่มสาระ อาจารย์อัสหมะ หะยียูโซะ ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) อาจารย์ฟาตีหม๊ะ แววันจิต รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) อาจารย์นูรฮายาตี สะอิ ศษ.ม. (อิสลามศึกษา) ผศ.กาญจนา ศิริมุสิกะ กศ.ม. (ภูมิศาสตร) ์ อาจารย์ศิริขวัญ ชิณศรี ค.ม. (การสอนสังคมศึกษา) อาจารย์ดร.ฉัตรธิดา หยูคง ปร.ด. การศึกษา (สังคมศึกษา) อาจารย์รณกร รักษ์วงศ์ ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา) 24
นางสาวต่วนอารีนา นิยามาร์ ร.บ. (การปกครอง) อาจารย์พิเศษ นางสาววันนูรมีย์โตะนาฮุน ค.บ. (สังคมศึกษา) อาจารย์พิเศษ 25
หัวหน้ากลุ่มสาระ อาจารย์สิริชัย พลับช่วย ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอนพลศึกษา) อาจารย์นิสมาน มะสีละ ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอนพลศึกษา) อาจารย์ธีระดนัยษ์สาระภี ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอนพลศึกษา) 26
หัวหน้ากลุ่มสาระ อาจารย์ยุทธศาสตร์นวลเจริญ ศป.ม. (มานุษยดุริยางควิทยา) อาจารย์ภูริทัต ปาธะรัตน์ ศษ.บ. (ศิลปศึกษา) อาจารย์พิเศษ อาจารย์ปัญฑารีย์เกียรติฐานันท์ ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) 27
หัวหน้ากลุ่มสาระ อาจารย์ปาจรีย์หละต า คศ.ม. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม) อาจารย์วรรณิดา เฮงปิยา บธ.บ. (บริหารธุรกิจ) อาจารย์พิเศษ อาจารย์สนั่น รัตนพรหม วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร) 28
หัวหน้ากลุ่มสาระ ดร.อับดุลรอพา สาแล ปร.ด. (หลักสูตรและการสอน) อาจารย์ต่วนยามีลา อัลอิดรุส ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) อาจารย์สมพร นุทผล ศษ.ม. (บริหารการศึกษา) อาจารย์ปราณีต ศิริพงค์ กศ.ม. (ภาษาอังกฤษ) อำจำรย์สุลัยญำ หะย ีหำมะ M.A. (Teaching English as a Second Language) อำจำรย์ต่วนตัซนีมย์โตะกูบำฮำ M.Ed.( Teaching Chinese to Speakers of Other Languages) อาจารย์มารีกี มะเด็ง ศศ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษ) 29
อาจารย์สุไรยา ลามะทา M.A. (Malay Studies) อำจำรย์อำนิษำ เด็งระแม ศศ.บ. (ภาษาญี่ปุ่น) อาจารย์พิเศษ Mr. Craig Hewitt Murray B.A.Bachelor of Arts อาจารย์ชาวต่างชาติ อาจารย์ปานใจ แสงศิลา ศศ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษ) อาจารย์พิเศษ อำจำรย์ศิรินภำ บุญผ่องศรี ลาศึกษาต่อ 30
39 31
งานวิชาการ นางสาวนญาดา ขวัญทอง วท.ม. (เทคโนโลยีการ ประมง) งานทะเบียน สถิติ วัดและประเมินผล นางสาวซูไรดา เจ๊ะอูมา ศษ.บ. (เทคโนโลยี สารสนเทศ งานห้องสมุด นางสาวฮัสลีนา แมทาลง ศษ.บ. (สารสนเทศศาสตร์) งานห้องสมุด นายเอกชัย ทองปล้องโต ศศ.บ. (บรรณรักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร) ์ เจ้าหน้าที่อัดส าเนา นายสุวัฒน์ กมลศักดิ์ ปว.ท (การเงินและการธนาคาร) 32
งานการเงิน นางสาวไซนะ ลาเตะ บช.บ. (การบัญชี) งานพัสดุ นางสาวไอลดา หนูตะพงค์ บช.ม. (บัญชี) งานสารบรรณ นางสาวกัณฐมณี รัตนรามศรี วท.บ. (จุลชีววิทยา) งานบริหารงานบุคคล นางสาวปริฉัตร สองประสม ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) งานยานยนต์ นายวีรพล ฆังคัสโร งานสื่อสารองค์กร และประชาสัมพันธ์ นายอับดุลฮาซัน บือแน ศศ.บ. (สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา) งานโสตทัศนูปกรณ์ และห้องปฏิบัติการ นายนิรันดร์ โทบุรี ทล.บ. (เทคโนโลยีไฟฟ้า) 33
งานแนะแนว และให้ค าปรึกษา นางสาวนูรฟาติณ เจะยะ ศษ.บ. (จิตวิทยาการศึกษา การแนะแนว) งานกิจการนักเรียน นางสาววัชราวลี ไทยเจริญ ศศ.บ. (การจัดการชุมชน) งานกิจการนักเรียน นายไพรสัญ แสงศิลา ศศ.บ. (พลศึกษา) งานกิจการนักเรียน นายเฉลิมเกียรติ บัวดง คบ. (พลศึกษา) งานแนะแนว และให้ค าปรึกษา นางสาวจันทร์จรัส เพชรรัตนโมรา ศษ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา) 34
อาจารย์ขจรพงษ์หนูทอง หัวหน้าอาคาร ๘ นางสาวจันทร์จรัส เพชรรัตนโมรา หัวหน้าอาคาร ๖ ผศ.ไกรรัตน์นิลฉิม หัวหน้าอาคาร ๗ หัวหน้าประจ าอาคาร นายนิรันดร์ โทบุรี หัวหน้าอาคาร ๔๙ อาจารย์ศิริขวัญ ชิณศรี หัวหน้าอาคาร ๑๑ 35
คนงานสวน นายธีระพัฒน์ ฆังคัสโร คนงานสวน นายสุรเชษฐ์ สังข์ทอง คนงานซ่อม และบ ารุง นายพรชัย แวนิ คนงานอาคาร ๖ นางเสาวลักชษ์ ทองดี คนงานอาคาร ๑๑ นางชนนินาถ บุญรักษา คนงานอาคาร 7 นางสาวนพรัตน์ ทรงนพรัตน์ คนงานอาคาร 8 นางสาวสมผิว ปักษีสิงห์ 36
คนงานอาคาร ๔๙ นางรัชดา มะเอียด คนงานอาคาร ๔๙ นายประยูร บัวสิน 37
นายรัตนาภักดี มือกะ วท.บ.(ศึกษาศาสตร์ ฟิสิกส์) นางสาวอาณีซะห์ เจะนิ บธ.บ. (การบัญชี) โครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) นางสาวบุนยานีย์ กามะ วท.บ. (เคมี) นางสาวสุวนันท์ แดงวิไล วท.ม. (ฟิสิกส์ประยุกต์) นางสาวกานต์พิชชา ขาวสังข์ วท.บ. (ชีววิทยา) นายมะดาโอะ สแลแม วท.บ. (เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์) 38
โครงการจัดตั้งห้องเรียนพิเศษ Science Mathematics Program (SMP) นางสาวคอลีเปาะ อาแว วท.บ. (เคมี-ชีววิทยา) นายมารุต มหัตธีระ อส.บ. (เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์) 39
อาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้น และผู้ช่วยอาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้น ปีการศึกษา ๒๕๖7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ อาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้น ผู้ช่วยอาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้น ๑/๑ นางสาวประณีต ศิริพงค์ นายวิทยา อัยราคม ๑/๒ นายสิริชัย พลับช่วย นายเอกรินทร์ รอดศิริ ๑/๓ นางมนฑกาน อรรถสงเคราะห์ นายศิริกร สมเกษร ๒/๑ นางสาวสุภาภรณ์ คงทน - ๒/๒ นางสาวอัสหมะ หะยียูโซะ - ๒/๓ นางสาวฟาตีหม๊ะ แววันจิต - ๓/๑ นายขจรพงษ์ หนูทอง - ๓/๒ นางสุธาทิพย์ นิลฉิม - ๓/๓ นางสุไรยา ลามะทา - ๔/๑ นางสาวนวินดา คงภักดี นางสาวอัสมา มะสัน ๔/๒ นายธีระดนัยษ์ สาระภี นางสาวสุไรยา หมัดบินสา ๔/๓ นางสาวนูรฮายาตี สะอิ นายนนธสิทธิ์ ศรีสุขใส ๔/๔ ผศ.ไกรรัตน์ นิลฉิม นางสาววรรณิดา แปะคุ่ ๔/๕ นายนิสมาน มะสีละ นายอับดุลฟัตตะห์ ซอและ ๔/๖ นายอรรถพล ลิวัญ นางสาวอัสมา มะสัน ๕/๑ นางวัสลีณา หาไม นางสาวบุนยานีย์ กามะ ๕/๒ ดร.ฉัตรธิดา หยูคง - ๕/๓ นายสมพร นุทผล - ๕/๔ นางเต็มเดือน เต้าแก้ว - ๕/๕ นายรณกร รักษ์วงศ์ - ๕/๖ ผศ.บุญสนอง วิเศษสาธร นายมะดาโอะ สแลแม ๖/๑ ดร.อับดุลรอพา สาแล - ๖/๒ นางสุลัยญา หะยีหามะ - ๖/๓ นางสาวต่วนตัซนีมย์ โตะกูบาฮา - ๖/๔ นายสนั่น รัตนพรหม - ๖/๕ นายยุทธศาสตร์ นวลเจริญ - ๖/๖ ผศ.ดร.แวฮาซัน แวหะมะ นายรัตนาภักดี มือกะ 40
41
ข้อมูลทรัพยากร ข้อมูลทรัพยากรที่จ าเป็น ๑. คอมพิวเตอร์ - ใช้เพื่อการเรียนการสอน ๓๐๙ เครื่อง - ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ๒๔๙ เครื่อง - ใช้ในงานบริหาร 7๑ เครื่อง ๒.ปริมาณสื่ออุปกรณ์และสื่อที่เอื้อต่อการเรียนการสอน อุปกรณ์งานบริหารและส านักงานที่ใช้ ประจ ามีดังนี้ - เครื่องฉายทึบแสง ๕0 เครื่อง - เครื่องเลเซอร์พริ้นขาวด า ๒๓ เครื่อง - เครื่องพริ้นสี ๓๙ เครื่อง - โทรทัศน์ประจ าห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และส านักงาน ๗๐ เครื่อง - เครื่องอัดส าเนา (Copy Print) ๒ เครื่อง - เครื่องถ่ายเอกสาร ๓ เครื่อง - เครื่องตัดกระดาษ 1 เครื่อง - IT Zone มีเครื่องคอมพิวเตอร์ 67 เครื่อง - เครื่องเรียงและเย็บเอกสาร 1 เครื่อง 42