คณะกรรมการนักเรียน หมายความว่า คณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยลัย สงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) นักเรียน หมายความว่า นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) หมวดที่ ๒ คุณธรรมส าหรับนักเรียน ข้อ ๖ การปฏิบัติตน นักเรียนต้องเป็นผู้ประพฤติตนให้เหมาะสมแก่การเป็นนักเรียน มีคุณธรรมจริยธรรมอันดีงาม เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติและสังคมโลก ตระหนักในสิทธิหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเอง และ ผู้อื่น อีกทั้งธ ารงไว้ซึ่งชื่อเสียงและเกียรติคุณของโรงเรียน และนักเรียนต้องมีคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการดังนี้ (๑) ขยัน (๕) สุภาพ (๒) ประหยัด (๖) สะอาด (๓) ซื่อสัตย์ (๗) สามัคคี (๔) มีวินัย (๘) มีน้ าใจ หมวดที่ ๓ การปฏิบัติตน ข้อ ๗ การมาโรงเรียน โรงเรียนจัดการเรียนการสอนตามวันเวลาที่โรงเรียนก าหนด นักเรียนทุกคนต้องมาเรียนให้ทัน ก าหนดเวลา ระหว่างอยู่ในโรงเรียนต้องปฏิบัติตนตามระเบียบข้อปฏิบัติของโรงเรียน และนักเรียนต้องออก จากตัวอาคารภายในเวลา ๑๗.๑๕ น.นักเรียนคนใดต้องการใช้อาคารเรียนหลังจากเวลา ๑๗.๑๕ น. ต้องขออนุญาตทางโรงเรียน ข้อ ๘ การเข้าแถวเคารพธงชาติ นักเรียนทุกคนต้องมาเข้าแถวเคารพธงชาติ และท ากิจกรรมหน้าเสาธงตามเวลาที่โรงเรียนก าหนด ข้อ ๙ การลา (๑) ลากิจ ให้ส่งใบลาล่วงหน้าอย่างน้อย ๑ วันท าการ กรณีลากิจเป็นกลุ่มบุคคล มีผลกระทบต่อ การเรียนการสอนและกิจกรรมให้ยื่นใบลาผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาโดยมีผู้อ านวยการเป็นผู้อนุญาต (๒) ลาป่วย ให้ส่งใบลาภายใน ๓ วันท าการหลังการลา หากป่วยเกิน ๓ วันต้องมีใบรับรองแพทย์ จากโรงพยาบาลแนบด้วย ข้อ ๑๐ การเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน นักเรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนตามที่ก าหนดทุกครั้ง /หมวดที่ ๔... 93
หมวดที่ ๔ การท าความเคารพ ข้อ ๑๑ นักเรียนท าความเคารพอาจารย์ โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ (๑) เดินสวนทางกับอาจารย์ ให้นักเรียนหยุดและแสดงความเคารพ ทั้งให้อาจารย์เดินผ่านไปก่อน แล้วค่อยเดินไป (๒) หากอาจารย์นั่งอยู่ นักเรียนเดินผ่าน ให้นักเรียนก้มศีรษะค้อมตัวเดินไป (๓) หากอาจารย์เดินผ่านในขณะที่นักเรียนยืนหรือนั่ง ให้นักเรียนยืนตรง หมวดที่ ๕ การแต่งกาย ข้อ ๑๒ การแต่งกาย (๑) แต่งกายเครื่องแบบนักเรียนในวันราชการ ส่วนวันหยุดราชการถ้ามีการเรียนการสอนชดเชย ให้นักเรียนแต่งกายเครื่องแบบนักเรียน (๒) แต่งกายเครื่องแบบนักเรียนวิชาทหารเต็มยศ ในวันที่เรียนวิชาวิชาทหาร (๓) แต่งกายเครื่องแบบลูกเสือ และ ผู้บ าเพ็ญประโยชน์ในวันที่มีเรียนวิชานั้น ๆ (๔) แต่งกายชุดพลศึกษาของโรงเรียน ในวันที่มีเรียนวิชาพลศึกษา ข้อ ๑๓ เครื่องแบบนักเรียนชาย (๑) เสื้อเชิ้ตคอตั้ง ผ้าขาวเกลี้ยงไม่บาง ตัดตัวตรงไม่รัดรูป ด้านหลังไม่มีจีบ ผ่าอกตลอด สาบกว้าง ๓ - ๔ เซนติเมตร ติดกระดุมสีขาว แขนเสื้อสั้นเหนือข้อศอกเล็กน้อย มีกระเป๋าด้านซ้าย ๑ กระเป๋า ขนาด กว้าง ๘ - ๑๒ เซนติเมตร และมีความลึกของกระเป๋า ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร อกด้านขวาปักตราโรงเรียน ระดับพอเหมาะด้วยไหมสีน้ าเงิน ปักชื่อ-สกุล ใต้ตราโรงเรียน โดยใช้ตัวอักษรความสูง ๐.๘ เซนติเมตร และ ปักทึบทุกตัวอักษรด้วยไหมสีน้ าเงิน เวลาสวมเสื้อให้กลัดกระดุมทุกเม็ดให้เรียบร้อย ยกเว้นกระดุมคอ (๒) กางเกงผ้าสีด าเนื้อเกลี้ยง ด้านหน้าจีบข้างละ ๒ จีบ ขาสั้นเหนือเข่าเล็กน้อย ไม่รัดรูปหรือบาน จนเกินควร มีกระเป๋าที่ตะเข็บข้าง ข้างละ ๑ กระเป๋า (ไม่มีกระเป๋าหลัง) เวลาสวมให้ทับชายเสื้อให้เรียบร้อย และเห็นหัวเข็มขัดตรงเอว (๓) เข็มขัด สายเข็มขัดท าด้วยหนังสีด า ขนาดกว้างเท่าหัวเข็มขัด หัวเข็มขัดท าด้วยโลหะสีเงิน มีตรามหาวิทยาลัย (๔) รองเท้าหุ้มส้น สีด าด้วยหนังหรือผ้าใบสุภาพ ไม่มีลวดลาย วันเรียนพลศึกษาต้องสวมรองเท้า สีขาวไม่มีสีอื่นสลับ (๕) ถุงเท้าสั้นเหนือข้อเท้าอย่างน้อย ๕ เซนติเมตร สีขาวไม่มีลวดลาย /ข้อ ๑๔ เครื่องแบบ... 94
ข้อ ๑๔ เครื่องแบบนักเรียนหญิง (๑) เสื้อ ใช้ผ้าขาวไม่มีลวดลาย และไม่บาง ผ่าอกตลอด สาบในตัว ติดกระดุมสีขาวเล็กน้อย ส่วนยาวของตัวเสื้อให้เลยระดับเอว ปกเสื้อแบบบัวกลมปิดคอ ปกกว้าง ๖ - ๘ เซนติเมตร ความยาวของแขน เสื้อจรดข้อมือ ปลายแขนเสื้อมีผ้าอีกชั้นหนึ่งพับตลบขึ้นส่วนที่ตลบขึ้นกว้าง ๓ - ๔ เซนติเมตร ตรงท้องแขน รวบแนวกับข้อมือ กลัดด้วยกระดุมโลหะสีเงิน มีตรามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๑ เม็ด ที่คอเสื้อติดโบว์สีฟ้า อกด้านขวาปักตราโรงเรียนระดับพอเหมาะด้วยไหมสีน้ าเงิน ให้ปักชื่อ-สกุลใต้ตราโรงเรียนตัวอักษรความสูง ๐.๘ เซนติเมตร ปักทึบทุกตัวอักษรด้วยไหมสีน้ าเงิน และต้องใส่เสื้อซับในสีขาวไม่มีลวดลายไว้ด้านในเสื้อ นักเรียน (๒) กระโปรงผ้าสีกรมท่าหรือน้ าเงินเกลี้ยงธรรมดา ๑๒ เกล็ด โดยช่วงกลางทั้งด้านหน้า และ ด้านหลังกว้าง ๖ - ๘ เซนติเมตร มีเกล็ดข้าง ข้างละ ๓ เกล็ด เกล็ดหันออกและเย็บตามยาว ๕ - ๗ เซนติเมตร กระโปรงยาวคลุมเข่าไม่รัดรูป เวลาสวมให้ทับชายเสื้อให้เรียบร้อยและเห็นหัวเข็มขัดตรง เอว (๓) เข็มขัด สายเข็มขัดท าด้วยหนังสีด า ขนาดกว้างเท่าหัวเข็มขัด หัวเข็มขัดท าด้วยโลหะสีเงิน มีตรามหาวิทยาลัย (๔) รองเท้าหุ้มส้น ชนิดมีสายรัดหลังเท้า ท าด้วยหนังสีด าไม่มีลวดลาย ส้นสูงไม่เกิน ๓ เซนติเมตร วันเรียนพลศึกษาต้องสวมรองเท้าสีขาวไม่มีสีอื่นสลับ (๕) ถุงเท้าสั้นเหนือข้อเท้าอย่างน้อย ๕ เซนติเมตร สีขาวไม่มีลวดลาย ข้อ ๑๕ เครื่องแบบนักเรียนชายมุสลิม (๑) เสื้อเชิ้ตคอตั้ง ผ้าขาวเกลี้ยงไม่บาง ตัดตัวตรงไม่รัดรูป ด้านหลังไม่มีจีบ ผ่าอกตลอด สาบกว้าง ๓ - ๔ เซนติเมตร ติดกระดุมสีขาว แขนเสื้อสั้นเหนือข้อศอกเล็กน้อย อกด้านขวาปักตราโรงเรียนระดับ พอเหมาะด้วยไหมสีน้ าเงิน ปักชื่อ-สกุล ใต้ตราโรงเรียน โดยใช้ตัวอักษรความสูง ๐.๘ เซนติเมตร และปักทึบ ทุกตัวอักษรด้วยไหมสีน้ าเงิน เวลาสวมเสื้อให้กลัดกระดุมทุกเม็ดให้เรียบร้อย ยกเว้นกระดุมคอ (๒) กางเกง ใช้ผ้าสีด าเนื้อเกลี้ยงแบบทรงกระบอกขายาว มีจีบด้านหน้าจีบข้างละ ๒ จีบ หันจีบออก ด้านนอก ขากางเกงยาวระดับตาตุ่ม ปลายขาพับเข้าด้านใน มีกระเป๋าตรงตามแนวตะเข็บด้านข้าง ข้างละ ๑ กระเป๋า ไม่มีกระเป๋าหลัง หูกางเกงมี ๗ หู ส าหรับสอดเข็มขัดได้พอดี แต่ละหูมีขนาดกว้าง ๑ เซนติเมตร เป้ากางเกงให้ยาวพอสมควร เวลาสวมให้ทับชายเสื้อให้เรียบร้อยและเห็นหัวเข็มขัดตรงเอว (๓) เข็มขัด สายเข็มขัดท าด้วยหนังสีด า ขนาดกว้างเท่าหัวเข็มขัด หัวเข็มขัดท าด้วยโลหะสีเงิน มีตรามหาวิทยาลัย (๔) รองเท้าหุ้มส้น สีด าด้วยหนังหรือผ้าใบสุภาพ ไม่มีลวดลาย วันเรียนพลศึกษาต้องสวมรองเท้า สีขาวไม่มีสีอื่นสลับ (๕) ถุงเท้าสั้นเหนือข้อเท้าอย่างน้อย ๕ เซนติเมตร สีขาวไม่มีลวดลาย /ข้อ ๑๖ เครื่องแบบ... 95
ข้อ ๑๖ เครื่องแบบนักเรียนหญิงมุสลิม (๑) ผ้าคลุมผม เป็นผ้าสีขาวไม่มีลวดลายสี่เหลี่ยมจัตุรัสความยาวด้านละ ๑ เมตร เย็บตลอดตั้งแต่ ใต้คางถึงปลายมุม เหนือแนวอกด้านขวาให้ปักตราโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) และปักชื่อ-สกุลใต้ตราโรงเรียน โดยใช้ตัวอักษรความสูง ๐.๘ เซนติเมตร และปักทึบ ทุกตัวอักษรด้วยไหมสีน้ าเงิน (๒) เสื้อใช้ผ้าขาวไม่มีลวดลายและไม่บาง ผ่าอกตลอด สาบในตัว ติดกระดุมสีขาวขนาดเล็ก ความยาวของตัวเสื้อให้เลยระดับเอวคลุมสะโพกบน ชายเสื้อตรงเสมอกัน สวมปล่อยชาย ปกเสื้อเป็น แบบปกบัวกลมปิดคอ ปกกว้าง ๖ - ๘ เซนติเมตร ความยาวของแขนเสื้อจรดข้อมือ ปลายแขนเสื้อมีผ้า อีกชั้นหนึ่งพับตลบขึ้น ส่วนที่ตลบขึ้นกว้าง ๓ - ๔ เซนติเมตร ข้อมือ กลัดด้วยกระดุมโลหะสีเงิน มีตรามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๑ เม็ด และต้องใส่เสื้อซับในสีขาวไม่มีลวดลายไว้ด้านในเสื้อนักเรียน (๓) กระโปรง ผ้าสีกรมท่าหรือน้ าเงินเข้มเกลี้ยงไม่มีลวดลาย ตีเกล็ด 12 เกล็ด โดยช่วงกลาง ทั้งด้านหน้า และด้านหลังกว้าง ๖ - ๘ เซนติเมตร มีเกล็ดข้าง ข้างละ ๓ เกล็ด เกล็ดหันออก และเย็บตามยาว ๕ - ๗ เซนติเมตร กระโปรงยาวคลุมตาตุ่ม (๔) รองเท้าหุ้มส้น ชนิดมีสายรัดหลังเท้า ท าด้วยหนังสีด าไม่มีลวดลาย ส้นสูงไม่เกิน ๓ เซนติเมตร ในวันที่เรียนพลศึกษาต้องสวมรองเท้าสีขาวไม่มีสีอื่นสลับ (๕) ถุงเท้าสั้นเหนือข้อเท้าอย่างน้อย ๕ เซนติเมตร สีขาวไม่มีลวดลาย ข้อ ๑๗ การไว้ทรงผม (๑) นักเรียนชายจะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาว ด้านหลังต้องยาวไม่เลยตีนผม ด้านหน้า และกลางศีรษะให้เป็นไปตามความเหมาะสมและมีความเรียบร้อยผมต้องไม่ยาวลงมาปิดคิ้ว (๒) นักเรียนหญิงจะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวให้เป็นไปตามความเหมาะสม รวบผมให้ เรียบร้อยและผูกริบบิ้นสีฟ้า ผมสั้นห้ามยาวเลยติ่งหูเกิน 5 เซนติเมตร (๓) ห้ามปฏิบัติตน ดังนี้ ดัดผม ย้อมสีผมให้ผิดไปจากเดิม ไว้หนวดเครา และกระท าอื่นใด ซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน เช่น ตัดแต่งทรงผมเป็นรูปทรงสัญลักษณ์หรือลวดลาย (๔) ความในข้อ (๑) ข้อ (๒) และข้อ (๓) มิให้น ามาใช้บังคับแก่นักเรียนที่มีเหตุความจ าเป็น การปฏิบัติตามหลักศาสนาของตนหรือด าเนินกิจกรรมทางสถานศึกษา หมวดที่ ๖ การใช้เครื่องประดับและของมีค่า ข้อ ๑๘ โรงเรียนไม่อนุญาตให้นักเรียนใช้เครื่องประดับใด ๆ ทั้งสิ้น ยกเว้นนาฬิกาข้อมือ นักเรียนหญิง อนุญาตให้เจาะหู 1 รู ให้ใช้ต่างหูที่เป็นห่วงหรือหมุดขนาดเล็ก กรณีจ าเป็นใช้สร้อยซึ่งใช้แขวนสิ่งที่ใช้บูชา ประจ าตัว ต้องสวมให้เรียบร้อยไว้ในเสื้อ และต้องเป็นสร้อยสแตนเลส หรือเงินขนาดเล็กไม่มีลวดลาย ข้อ ๑๙ ไม่อนุญาตให้น าของมีค่ามาโรงเรียน หากสูญหายโรงเรียนจะไม่รับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น ข้อ ๒๐ โรงเรียนอนุญาตให้นักเรียนน าเครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ มาใช้ในโรงเรียน แต่จะต้องไม่เปิดใช้ใน ช่วงเวลาเรียน หรือใช้ท ากิจกรรมโดยไม่เกี่ยวข้องกับการเรียนหรือกิจกรรมนั้น ๆ /หมวดที่ ๗ ... 96
หมวดที่ ๗ ประเภทความผิด ข้อ ๒๑ ความผิดประเภทที่ ๑ (๑) เข้าแถวสาย (๒) ขาดแถว (๓) ขาดประชุมนักเรียน (๔) ไม่เข้าร่วมกิจกรรมตามที่ก าหนด (๕) ไว้ทรงผมหรือแต่งกายผิดระเบียบของโรงเรียน (๖) ก้าวร้าวหรือใช้วาจาหยาบคาย (๗) ปฏิบัติตนไม่เหมาะสมกับบุคคลต่างเพศหรือเพศเดียวกัน (๘) ใช้เครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ ในระหว่างเรียนหรือท ากิจกรรมโดยไม่ได้รับอนุญาต (๙) เปิดใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ติดตั้งในห้องเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต (๑๐) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติ ข้อ ๒๒ ความผิดประเภทที่ ๒ (๑) ฝ่าฝืนความผิดประเภทที่ ๑ (๒) ขาดแถวมากกว่าร้อยละ ๒๐ ในแต่ละเดือน (๓) ทะเลาะวิวาทโดยไม่มีอาวุธ (๔) เผยแพร่สื่อลามกอนาจารทุกประเภท (๕) สูบบุหรี่หรือมีไว้ในครอบครอง (๖) ไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร (๗) กลั่นแกล้งหรือรังแกผู้อื่นทั้งทางตรงและทางสื่อสังคมออนไลน์ (๘) ขีดเขียนบนโต๊ะ ตู้หรือผนังอันเป็นทรัพย์สินของโรงเรียน (๙) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติ ข้อ ๒๓ ความผิดประเภทที่ ๓ (๑) ทะเลาะวิวาทโดยมีอาวุธ (๒) มีหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมแอลกอฮอล์ทุกชนิด (๓) เล่นการพนัน (๔) ใช้สื่อสังคมออนไลน์ไปในทางที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลอื่น (๕) ท าลายทรัพย์สินของโรงเรียนโดยเจตนา (๖) ปลอมแปลงลายมือชื่ออาจารย์ ผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่น (๗) แสดงพฤติกรรมเชิงชู้สาวที่ไม่เหมาะสมระหว่างเพศวิถีในที่สาธารณะ (๘) เป็นผู้สมรู้ร่วมคิด ในการกระท าความผิดข้อ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๙) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติ /ข้อ ๒๔ ความผิด... 97
ข้อ ๒๔ ความผิดประเภทที่ ๔ (๑) ทะเลาะวิวาทระหว่างสถาบัน (๒) ลักทรัพย์ (๓) กรรโชกทรัพย์ (๔) ใช้สื่อสังคมออนไลน์ก่อให้เกิดความเสียหายต่อโรงเรียน (๕) เข้าร่วมแข่งขันหรือประกวดความงามที่ขัดต่อวัฒนธรรมและศีลธรรม (๖) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติ ข้อ ๒๕ ความผิดประเภทที่ ๕ (๑) ฝ่าฝืนการลงโทษตามความผิดประเภทที่ ๒, ๓ และ ๔ (๒) มีความสัมพันธ์ชู้สาวระหว่างเพศวิถีจนเป็นที่เสื่อมเสีย (๓) ใช้อาวุธ สิ่งเทียมอาวุธ ข่มขู่ หรือท าร้ายร่างกายผู้อื่น (๔) เสพสิ่งเสพติดร้ายแรง ซื้อขายหรือมีไว้ในครอบครอง (๕) ประพฤติตนเป็นอันธพาล (๖) ทุจริตในการสอบ (๗) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติ ข้อ ๒๖ ความผิดประเภทที่ ๖ (๑) มีวัตถุระเบิด หรือมีอาวุธปืน หรือสารพิษร้ายแรงไว้ในครองครอง (๒) ต้องคดีอาญาและมีการด าเนินคดี (๓) กระท าการใด ๆ ที่ท าให้โรงเรียนเสื่อมเสียชื่อเสียง (๔) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติ หมวดที่ ๘ คะแนนความประพฤติและบทลงโทษ ข้อ ๒๗ นักเรียนมีคะแนนความประพฤติช่วงชั้นละ ๑๐๐ คะแนน (๑) ช่วงชั้นที่ ๓ ม.๑ - ม.๓ (๒) ช่วงชั้นที่ ๔ ม.๔ - ม.๖ ข้อ ๒๘ การตักเตือน ในกรณีที่กระท าความผิดประเภท ๑ ให้ตักเตือน ๑ ครั้ง และแจ้งให้ฝ่ายกิจการนักเรียนเรียนทราบ ข้อ ๒๙ การตัดคะแนนความประพฤติ และแจ้งให้บิดา มารดาหรือผู้ปกครองทราบพร้อมทั้งรับทราบ เป็นลายลักษณ์อักษร (๑) ความผิดประเภทที่ ๒ ตัดคะแนนความประพฤติ ครั้งละ ๕ คะแนน (๒) ความผิดประเภทที่ ๓ ตัดคะแนนความประพฤติ ครั้งละ ๑๐ คะแนน /ข้อ ๓๐ การตัด... 98
ข้อ ๓๐ การตัดคะแนนความประพฤติ โดยเชิญบิดา มารดาหรือผู้ปกครองมาพบพร้อมรับทราบ เป็นลายลักษณ์อักษร ความผิดประเภทที่ ๔ ตัดคะแนนความประพฤติ ครั้งละ ๒๐ คะแนน ข้อ ๓๑ การท าทัณฑ์บน เชิญบิดา มารดาหรือผู้ปกครองมารับทราบความผิดของนักเรียนและลงนามรับรอง การท าทัณฑ์บน (๑) ความผิดประเภท ๕ ตัดคะแนนครั้งละ ๓๐ คะแนน (๒) ถูกตัดคะแนนความประพฤติสะสม ๓๐ คะแนน ข้อ ๓๒ การพักการเรียน เชิญบิดา มารดาหรือผู้ปกครองมารับทราบความผิดและรับทราบการพักการเรียนของนักเรียน โดยลงนามรับทราบเป็นลายลักษณ์อักษร ในกรณีความผิด (๑) ความผิดประเภทที่ ๖ พักการเรียน ๑ สัปดาห์ (๒) ถูกตัดคะแนนสะสม ๕๐ คะแนน พักการเรียน ๑ สัปดาห์ (๓) ถูกตัดคะแนนสะสม ๖๐ คะแนน พักการเรียน ๒ สัปดาห์ (๔) ถูกตัดคะแนนสะสม ๗๐ คะแนน พักการเรียน ๑ เดือน (๕) ถูกตัดคะแนนสะสมมากกว่า ๗๐ คะแนน พักการเรียน ๑ ภาคการเรียน ข้อ ๓๓ การให้ออก เชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมารับทราบความผิดของนักเรียนและรับทราบการให้ออก เป็นลายลักษณ์อักษร ในกรณีที่นักเรียนกระท าความผิดถูกพักการเรียนมาแล้ว ๑ ภาคการเรียน เมื่อกลับมา เรียนแล้วยังประพฤติผิดจนถูกตัดคะแนนความประพฤติจนถึง ๑๐๐ คะแนน ข้อ ๓๔ การคัดชื่อออก กรณีที่นักเรียนขาดเรียนติดต่อกันเกิน ๑๕ วันท าการ โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรและไม่มีการติดต่อ ประสานกับทางโรงเรียน หมวดที่ ๙ การลบล้างคะแนนความประพฤติที่ถูกตัด ข้อ ๓๕ นักเรียนที่ประพฤติผิดสถานเบาเนื่องจาการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ นักเรียนที่กระท าความผิดสถานเบา ขาดเจตนา และมิได้กระท าผิดซ้ า ๆ จนเป็นนิสัย เมื่อถูกตัดคะแนนความประพฤติสามารถขอปฏิบัติกิจกรรม “เพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์” เพื่อลบล้าง คะแนนความประพฤติที่ถูกตัดไปได้ ทั้งนี้เฉพาะกรณีความผิดที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติครั้งละไม่เกิน ๒๐ คะแนน และไม่สามารถน าชั่วโมงท ากิจกรรมดังกล่าว ไปนับตามเกณฑ์การประเมินการท ากิจกรรม เพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ได้ /ข้อ ๓๖ คณะกรรมการ... 99
ข้อ ๓๖ คณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติเป็นผู้ก าหนดกิจกรรม คณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติสามารถก าหนดกิจกรรมให้นักเรียน ปฏิบัติเพื่อลบล้าง คะแนน ความประพฤติที่ถูกตัดได้ไม่เกินครั้งละ ๕ คะแนน ข้อ ๓๗ การขอปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมเพื่อสาธารณประโยชน์เพื่อลบล้างคะแนนความประพฤติ ที่ถูกตัด ให้เป็นหน้าที่ของนักเรียนที่จะร้องขอต่อคณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติ หมวดที่ ๑๐ การก ากับดูแล ข้อ ๓๘ ให้ผู้อ านวยการตั้งคณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติขึ้น ประกอบด้วย (๑) รองผู้อ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียน (๒) ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวินัย (๓) ตัวแทนอาจารย์ (๔) อาจารย์ที่ปรึกษานักเรียนที่ประพฤติผิด (๖) นักวิชการอุดมศึกษาในฝ่ายกิจการนักเรียน (๕) นักแนะแนวการศึกษาและอาชีพ (กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ) ข้อ ๓๙ ให้ผู้อ านวยการเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการด าเนินการตามระเบียบนี้ให้ผู้อ านวยการเป็นผู้วินิจฉัยสั่งการและให้ถือ เป็นที่สิ้นสุด จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๗ (ลงชื่อ) โซเฟีย มะลี (นางโซเฟีย มะลี) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 100
ตารางการตัดคะแนนความประพฤติ ความผิดประเภทที่ ๑ ความผิดประเภทที่ 2 ความผิด บทลงโทษ (ตัดคะแนนความประพฤติ) (๑) เข้าแถวสาย (๒) ขาดแถว (๓) ขาดประชุมนักเรียน (๔) ไม่เข้าร่วมกิจกรรมตามที่ก าหนด (๕) ไว้ทรงผมหรือแต่งกายผิดระเบียบของโรงเรียน (๖) ก้าวร้าวหรือใช้วาจาหยาบคาย (๗) ปฏิบัติตนไม่เหมาะสมกับบุคคลต่างเพศหรือเพศเดียวกัน (๘) ใช้เครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ ในระหว่างเรียนหรือท ากิจกรรมโดยไม่ได้รับอนุญาต (๙) เปิดใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ติดตั้งในห้องเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต (๑๐) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัย และความประพฤติ ตักเตือน ความผิด บทลงโทษ (ตัดคะแนนความประพฤติ) (๑) ฝ่าฝืนความผิดประเภทที่ ๑ (๒) ขาดแถวมากกว่าร้อยละ ๒๐ ในแต่ละเดือน (๓) ทะเลาะวิวาทโดยไม่มีอาวุธ (๔) เผยแพร่สื่อลามกอนาจารทุกประเภท (๕) สูบบุหรี่หรือมีไว้ในครอบครอง (๖) ไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร (๗) กลั่นแกล้งหรือรังแกผู้อื่นทั้งทางตรงและทางสื่อสังคมออนไลน์ (๘) ขีดเขียนบนโต๊ะ ตู้หรือผนังอันเป็นทรัพย์สินของโรงเรียน (๙) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัย และความประพฤติ ๕ คะแนน 101
ตารางการตัดคะแนนความประพฤติ ความผิดประเภทที่ 3 ความผิดประเภทที่ 4 ความผิด บทลงโทษ (ตัดคะแนนความประพฤติ) (๑) ทะเลาะวิวาทโดยมีอาวุธ (๒) มีหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมแอลกอฮอล์ทุกชนิด (๓) เล่นการพนัน (๔) ใช้สื่อสังคมออนไลน์ไปในทางที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลอื่น (๕) ท าลายทรัพย์สินของโรงเรียนโดยเจตนา (๖) ปลอมแปลงลายมือชื่ออาจารย์ ผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่น (๗) แสดงพฤติกรรมเชิงชู้สาวที่ไม่เหมาะสมระหว่างเพศวิถีในที่สาธารณะ (๘) เป็นผู้สมรู้ร่วมคิด ในการกระท าความผิดข้อ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๙) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัย และความประพฤติ ๑๐ คะแนน ความผิด บทลงโทษ (ตัดคะแนนความประพฤติ) (๑) ทะเลาะวิวาทระหว่างสถาบัน (๒) ลักทรัพย์ (๓) กรรโชกทรัพย์ (๔) ใช้สื่อสังคมออนไลน์ก่อให้เกิดความเสียหายต่อโรงเรียน (๕) เข้าร่วมแข่งขันหรือประกวดความงามที่ขัดต่อวัฒนธรรมและศีลธรรม (๖) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัย และความประพฤติ 20 คะแนน 102
ตารางการตัดคะแนนความประพฤติ ความผิดประเภทที่ 5 ความผิดประเภทที่ 6 ความผิด บทลงโทษ (ตัดคะแนนความประพฤติ) (๑) ฝ่าฝืนการลงโทษตามความผิดประเภทที่ ๒, ๓ และ ๔ (๒) มีความสัมพันธ์ชู้สาวระหว่างเพศวิถีจนเป็นที่เสื่อมเสีย (๓) ใช้อาวุธ สิ่งเทียมอาวุธ ข่มขู่ หรือท าร้ายร่างกายผู้อื่น (๔) เสพสิ่งเสพติดร้ายแรง ซื้อขายหรือมีไว้ในครอบครอง (๕) ประพฤติตนเป็นอันธพาล (๖) ทุจริตในการสอบ (๗) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัย และความประพฤติ ๓๐ คะแนนและท าทัณฑ์บน ความผิด บทลงโทษ (ตัดคะแนนความประพฤติ) (๑) มีวัตถุระเบิด หรือมีอาวุธปืน หรือสารพิษร้ายแรงไว้ในครองครอง (๒) ต้องคดีอาญาและมีการด าเนินคดี (๓) กระท าการใด ๆ ที่ท าให้โรงเรียนเสื่อมเสียชื่อเสียง (๔) ความผิดอื่น ๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสร้างวินัยและความประพฤติ ๔๐ คะแนนและ พักการเรียน ๑ สัปดาห์ 103
ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เรื่อง คุณสมบัติของนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีสิทธิ์ศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ................................................................ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มีนโยบายสนับสนุนให้นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดี และมีคุณสมบัติเหมาะสม มีโอกาสศึกษาต่อใน โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ทั้งนี้ เพื่อให้การด าเนินการคัดเลือกนักเรียน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จึงก าหนดคุณสมบัติของนักเรียนโรงเรียนสาธิต ฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีสิทธิ์ศึกษาต่อในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ดังต่อไปนี้ ๑. ต้องจบหลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) ตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา ๒. ต้องได้คะแนนเฉลี่ยสะสมใน ๖ ภาคเรียน ไม่ต่ ากว่า ๓.๐๐ 3. ต้องมีคะแนนการสอบคัดเลือกนักเรียนเพื่อเข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 4. ต้องมีผลการเรียนในรายวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาชีพ ดังนี้ 4.1) กลุ่มวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษไม่ต่ ากว่า 3.00 4.2) กลุ่มวิชาชีพด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษไม่ต่ ากว่า 3.00 4.3) กลุ่มวิชาชีพด้านเศรษฐศาสตร์และผู้ประกอบการ มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคม ไม่ต่ ากว่า 3.00 4.4) กลุ่มวิชาชีพด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคม ไม่ต่ ากว่า 3.00 4.5) กลุ่มวิชาชีพด้านภาษาและการสื่อสารมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคม ไม่ต่ ากว่า 3.00 4.6) กลุ่มวิชาชีพด้านสุนทรียะและการสร้างสรรค์ มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคมไม่ต่ ากว่า 3.00 /5. ต้องมีผลการประเมิน... 104
5. ต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน 6 ภาคเรียนระดับดีขึ้นไป 6. ต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนใน 6 ภาคเรียนระดับดีขึ้นไป 7. ต้องไม่ถูกตัดคะแนนความประพฤติครั้งละ20 คะแนนขึ้นไปและไม่เคยถูกพักการเรียนตาม ระเบียบว่าด้วยคะแนนความประพฤติ 8. หากมีกรณีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาเรื่องคุณสมบัติพื้นฐานให้อยู่ในดุลยพินิจของ ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ทั้งนี้ ให้ใช้ประกาศฉบับนี้ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีสิทธิ์ศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕70 เป็นต้นไป จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖7 (นางโซเฟีย มะลี) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 105
ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เรื่อง คุณสมบัติของนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีสิทธิ์ศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ประเภทนักกีฬาสาธิตสามัคคี ................................................................ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มีนโยบายสนับสนุนให้นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดี และมีคุณสมบัติเหมาะสม และเป็นนักกีฬาของ โรงเรียนมีโอกาสศึกษาต่อในโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ทั้งนี้ เพื่อให้การ ด าเนินการคัดเลือกนักเรียนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จึงก าหนด คุณสมบัติของนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีสิทธิ์ศึกษาต่อในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ประเภทนักกีฬาสาธิตสามัคคี จ านวนปีการศึกษาละไม่เกิน ๕ คน ดังต่อไปนี้ ๑. ต้องจบหลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) ตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา ๒. ต้องได้คะแนนเฉลี่ยสะสมใน ๖ ภาคเรียน ไม่ต่ ากว่า 2.75 3. ต้องมีคะแนนการสอบคัดเลือกนักเรียนเพื่อเข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 4. ต้องเป็นนักกีฬาของโรงเรียนและผ่านการแข่งขันในเกมส์กีฬาสาธิตสามัคคีตลอดหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนต้น โดยมีประวัติเคยได้รับรางวัลในระดับเหรียญทองและเหรียญอื่น ๆ ในประเภทกีฬาที่ท าการแข่งขันประเภทใดประเภทหนึ่งในขณะที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น 5. ต้องมีผลการเรียนในรายวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาชีพ ดังนี้ 5.1) กลุ่มวิชาชีพด้านเศรษฐศาสตร์และผู้ประกอบการ มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคม ไม่ต่ ากว่า 2.75 5.2) กลุ่มวิชาชีพด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคม ไม่ต่ ากว่า 2.75 5.3) กลุ่มวิชาชีพด้านภาษาและการสื่อสาร มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคม ไม่ต่ ากว่า 2.75 5.4) กลุ่มวิชาชีพด้านสุนทรียะและการสร้างสรรค์ มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคมไม่ต่ ากว่า 2.75 /6. ต้องมีผลการประเมิน... 6ต้องมีผลการประเมินคณลักษณะอันพึงประสงค์ใน6ภาคเรียนระดับดีขึ้นไป106
6. ต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน 6 ภาคเรียนระดับดีขึ้นไป 7. ต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนใน 6 ภาคเรียนระดับดีขึ้นไป 8. ต้องไม่ถูกตัดคะแนนความประพฤติครั้งละ20 คะแนนขึ้นไปและไม่เคยถูกพักการเรียนตาม ระเบียบว่าด้วยคะแนนความประพฤติ 9. หากมีกรณีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาเรื่องคุณสมบัติพื้นฐานให้อยู่ในดุลยพินิจของ ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ทั้งนี้ ให้ใช้ประกาศฉบับนี้ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีสิทธิ์ศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๔ ประเภทนักกีฬาสาธิตสามัคคี ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕70 เป็นต้นไป จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖7 (นางโซเฟีย มะลี) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 107
(ส าเนา) ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เรื่อง แนวปฏิบัติการเข้าสอบกลางภาค และปลายภาค .......................................................... เพื่อ ให้การด าเนินก าร จัด สอบ กล าง ภาคแล ะป ลายภ าคเ รีย น ขอ งโร งเ รีย นส าธิ ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จึงก าหนดแนวปฏิบัติส าหรับนักเรียนในการเข้าสอบ กลางภาคและปลายภาค ดังต่อไปนี้ ๑. โรงเรียนจะให้เสียงสัญญานเริ่มท าข้อสอบในรายวิชาแรกของการสอบช่วงเช้า และช่วงบ่าย ๒. นักเรียนต้องมาเข้าห้องสอบตามเวลาที่ก าหนด หากนักเรียนมาเข้าสอบสายให้นักเรียนติดต่อ กรรมการกลางทันทีที่นักเรียนมาถึงห้องสอบ และในกรณีที่นักเรียนมาเข้าสอบสาย ไม่อนุญาตให้นักเรียนเข้า สอบในรายวิชานั้น ๓. นักเรียนที่แต่งกายผิดระเบียบ ทรงผมผิดระเบียบ ไม่อนุญาตให้เข้าห้องสอบ ๔. ห้ามนักเรียนน าโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์สื่อสารทุกชนิดเข้าห้องสอบ ๕. ห้ามน ากล่องดินสอเข้าห้องสอบ อนุญาตให้น าเฉพาะปากกา ดินสอ ยางลบ และน้ ายาลบค าผิด ๖. เมื่อนักเรียนได้รับข้อสอบและได้รับอนุญาตให้ท าข้อสอบ ให้นักเรียนตรวจสอบจ านวนหน้า และ จ านวนข้อให้เรียบร้อยก่อนลงมือท าข้อสอบ ๗. ให้นักเรียนลงลายมือชื่อผู้เข้าสอบในเอกสารที่เตรียมไว้ให้ทุกรายวิชา ๘. ห้ามนักเรียนออกจากห้องสอบก่อนเวลาครึ่งหนึ่งของเวลาสอบ ๙. เมื่อนักเรียนออกจากห้องสอบแล้วให้นักเรียนอยู่ในความสงบ ห้ามส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น ๑๐. กรณีที่นักเรียนท าการทุจริต โรงเรียนจะปรับตกในรายวิชานั้นและนักเรียนต้องลงทะเบียน เรียนซ้ า ๑๑. ถ้านักเรียนท าข้อสอบเสร็จก่อนหมดเวลา ให้ยกมือเพื่อให้กรรมการคุมสอบไปเก็บข้อสอบ และ กระดาษค าตอบที่โต๊ะนักเรียน หลังจากนั้นนักเรียนจึงออกจากห้องสอบได้ ทั้งนี้ให้ยกเลิกประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เรื่อง แนวปฏิบัติการเข้าสอบกลางภาค และปลายภาค ฉบับลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๐ และให้ใช้ประกาศ ฉบับนี้แทน ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๖ เป็นต้นไป จึงเรียนมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๖ (ลงชื่อ) มนฑกาน อรรถสงเคราะห์ (นางมนฑกาน อรรถสงเคราะห์) รองคณบดีและผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ส าเนาถูกต้อง มุกดา (นางสาวมุกดา ธรรมกิรติ) นญาดา ร่าง/พิมพ์ มุกดา ทาน 108
(ส าเนา) ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เรื่อง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการนับเวลาเรียน และการแก้ผลการเรียน “มส” .......................................................... ตามหลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน อ้างอิงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ก าหนดไว้ว่า “การ ประเมินผลระหว่างภาคเรียน นักเรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียน ทั้งหมดในรายวิชานั้นๆ” เพื่อเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนมีเวลาเรียนตามที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรอย่างเต็ม ประสิทธิภาพเพิ่มความเข้มแข็งทางวิชาการ และเพื่อให้การนับเวลาเรียนในรายวิชาต่าง ๆ ตลอดภาคเรียนไม่ น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ และการแก้ผลการเรียน “มส” เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ทางโรงเรียนจึงก าหนดแนว ปฏิบัติดังนี้ ๑. การลากิจ ลาป่วย ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยความประพฤติ และการปฏิบัติตนของ นักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๖ (ข้อ ๙ ) ทั้งนี้การลากิจ และลาป่วยของนักเรียนจะไม่นับเวลาเรียน ๒. กรณีที่นักเรียนได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการและอื่นๆ ทางโรงเรียนจะมี บันทึกแจ้งอาจารย์ประจ าวิชาและผู้เกี่ยวข้องเพื่อขออนุญาตลาโดยไม่ถือว่าขาดเรียน ทั้งนี้ให้นับเวลาเรียน ๓. นักเรียนต้องมีเวลาเรียนในรายวิชาต่างๆ ตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๔. การนับเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ให้ใช้เกณฑ์ดังนี้ คือ รายวิชาใดที่มี จ านวน ๑ หน่วยกิต (๒ คาบ/สัปดาห์) นักเรียนสามารถขาดเรียนในรายวิชาดังกล่าวได้ตลอดภาคเรียนไม่เกิน จ านวน ๘ คาบ/สัปดาห์) ๕. กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ แต่มีเวลาเรียนไม่น้อย กว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น ให้ปฏิบัติดังนี้ ๕.๑ นักเรียนจะต้องเรียนเพิ่มเติมตามที่โรงเรียนก าหนดจนมีเวลาเรียนครบตามที่ก าหนดไว้ ส าหรับรายวิชานั้น และจัดสอบปลายภาคเป็นกรณีพิเศษ ผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” ๕.๒ การแก้ “มส” ให้กระท าให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถ้าผู้เรียนไม่ด าเนินการแก้ “มส”ตามระยะเวลาที่โรงเรียนก าหนดให้เรียนซ้ า ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะ ขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรียน เมื่อพ้นก าหนดนี้แล้ว ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐานให้เรียน ซ้ ารายวิชานั้น ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติมให้เรียนซ้ าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ตามที่โรงเรียนก าหนด /๖. กรณีผู้เรียน... 109
๖. กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียน ทั้งหมด ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน ให้เรียนซ้ ารายวิชานั้น ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติมให้เรียนซ้ าหรือเปลี่ยนรายวิชา เรียนใหม่ตามที่โรงเรียนก าหนด จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ (ลงชื่อ) มนฑกาน อรรถสงเคราะห์ (นางมนฑกาน อรรถสงเคราะห์) รองคณบดีและผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา ส าเนาถูกต้อง มุกดา (นางสาวมุกดา ธรรมกิรติ) นญาดา ร่าง/พิมพ์ มุกดา ทาน 110
(ส าเนา) ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรื่อง แนวปฏิบัติของนักเรียนเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนศึกษาต่อในต่างประเทศ ................................................................. ด้วยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียน เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนศึกษาต่อในต่างประเทศ เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ ทักษะการเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองในต่างประเทศ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาต่อในอนาคต เพื่อให้การด าเนินการดังกล่าว เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โรงเรียนสาธิตฯ จึงก าหนดแนวปฏิบัติของนักเรียนเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน ศึกษาต่อในต่างประเทศ ระยะเวลาแลกเปลี่ยน ๑ ปี ดังต่อไปนี้ ๑. นักเรียนในโครงการแลกเปลี่ยนทุกคนต้องแจ้งการเข้าร่วมโครงการ และก าหนดการทั้งหมด กับฝ่ายวิชาการของโรงเรียนฯ เพื่อด าเนินการตามขั้นตอน และท าสัญญาให้เป็นที่เรียบร้อย ๒. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนจะต้องเรียนซ้ าชั้นเดิม ส าหรับภาคการศึกษาที่นักเรียน จะเข้าร่วมโครงการให้เข้าเรียน ร่วมกิจกรรม สอบประจ าหน่วย และสอบกลางภาคตามปกติ และให้อาจารย์ ผู้สอนเก็บคะแนนประจ าหน่วย การทดสอบประจ าหน่วย และการสอบกลางภาค ให้เป็นที่เรียบร้อย คะแนนของนักเรียนให้ ฝ่ายทะเบียนตามแบบฟอร์มโดยไม่ต้องประเมินผลการเรียน เมื่อสิ้นสุดโครงการฯ ให้นักเรียนกลับเข้าเรียนในชั้นเดิม และให้อาจารย์ผู้สอนน าคะแนนที่ได้จัดเก็บไว้เดิมมาเป็นสัดส่วนเพื่อจัดเก็บ คะแนนให้ครบตามที่ก าหนด และประเมินผลการเรียนตามปกติ ๓. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการจะต้องช าระค่าพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อรักษาสภาพการเป็น นักเรียนทุกภาคเรียนตามวัน เวลาที่ทางโรงเรียนก าหนดไว้ในปฏิทินการศึกษา ๔. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการ ต้องรายงานตัวที่ฝ่ายวิชาการเพื่อเข้าเรียน ต่อไปโดยเร็วที่สุด (ภายใน ๑ สัปดาห์ เมื่อเดินทางกลับถึงประเทศไทย) ๕. อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ที่เกี่ยวข้องให้ถือแนวปฏิบัติในข้อ ๒ โดยฝ่ายวิชาการจะแจ้งชื่อ และรายละเอียดไปยังอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ผู้เกี่ยวข้องทราบโดยตรง จึงประกาศมาเพื่อทราบและถือเป็นแนวปฏิบัติ ประกาศ ณ วันที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ (ลงชื่อ) บัณฑิต ดุลยรักษ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัณฑิต ดุลยรักษ์) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ ส าเนาถูกต้อง (นางธารีรัตน์ เผ่าจินดา) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ช านาญการ ธารีรัตน์ ร่าง/พิมพ์/ตรวจทาน 111
(ส าเนา) ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรื่อง ระเบียบว่าด้วยการมอบวุฒิบัตรแก่นักเรียนที่เรียนดีเยี่ยมและเรียนดีมาก ................................................................. ด้วยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมความสามารถ ทางด้านวิชาการ และเพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติแก่นักเรียนที่เรียนดีเยี่ยม และเรียนดีมาก ในแต่ละปีการศึกษา และตลอดหลักสูตรในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑- ม.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔- ม.๖) โรงเรียนสาธิตฯ จึงก าหนดระเบียบว่าด้วยการมอบวุฒิบัตรแก่นักเรียนที่เรียนดีเยี่ยม และเรียนดีมาก ดังต่อไปนี้ ประเภทเรียนดีเยี่ยม ๑. ต้องลงทะเบียนเรียนตลอดปีการศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาที่โรงเรียนก าหนด ๒. ได้รับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ ากว่า ๓.๗๕ และไม่มีระดับคะแนน ๐ และ มส. ๓. มีความประพฤติเรียบร้อย ไม่ประพฤติตนเป็นที่เสื่อมเสียแก่โรงเรียน ๔. ต้องได้ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ระดับ “ดีเยี่ยม” ๕. ต้องไม่ถูกตัดคะแนนความประพฤติสะสม ๒๐ คะแนน หรือถูกตัดคะแนนความประพฤติครั้ง ละ ๒๐ คะแนน ๖. ต้องไม่ทุจริตในการสอบ ประเภทเรียนดีมาก ๑. ต้องลงทะเบียนเรียนตลอดปีการศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาที่โรงเรียนก าหนด ๒. ได้รับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ ากว่า ๓.๕๐ และไม่มีระดับคะแนน ๐ และ มส. ๓. มีความประพฤติเรียบร้อย ไม่ประพฤติตนเป็นที่เสื่อมเสียแก่โรงเรียน ๔. ต้องได้ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ระดับ “ดีเยี่ยม” ๕. ต้องไม่ถูกตัดคะแนนความประพฤติสะสม ๒๐ คะแนน หรือถูกตัดคะแนนความประพฤติครั้ง ละ ๒๐ คะแนน ๖. ต้องไม่ทุจริตในการสอบ จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ (ลงชื่อ) บัณฑิต ดุลยรักษ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัณฑิต ดุลยรักษ์) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ ส าเนาถูกต้อง (นางธารีรัตน์ เผ่าจินดา) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ช านาญการ ธารีรัตน์ ร่าง/พิมพ์/ตรวจทาน 112
(ส าเนา) ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เรื่อง ระเบียบว่าด้วยคณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ พ.ศ. ๒๕๖๗ ................................................................. เนื่องจากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีนโยบายให้มีการจัด ตั้งคณะกรรมการ นักเรียน เพื่อสนับสนุนหลักการประชาธิปไตยในโรงเรียน จึงเห็นสมควรให้มีระเบียบว่าด้วยคณะกรรมการ นักเรียนขึ้น เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบว่าด้วยคณะกรรมการนักเรียน โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) พ.ศ. ๒๕๖๗ ข้อ ๒ โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) คณะกรรมการนักเรียน หมายถึง กลุ่มนักเรียนที่ได้รับการเลือกตั้งจาก นักเรียนโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้บริหาร หมายถึง ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) อาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียน หมายถึง คณะอาจารย์ผู้ให้ค าปรึกษา ในการด าเนินงานแก่คณะกรรมการนักเรียนใด ๆ ที่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ วัตถุประสงค์ ข้อ ๔ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งคณะกรรมการนักเรียนเพื่อ ๔.๑ เปิดโอกาสให้นักเรียนฝึกการปกครองของตนเอง มีเสรีภาพ และรู้จักการใช้สิทธิ ตามระบอบประชาธิปไตย ๔.๒ ส่งเสริมกิจกรรมของนักเรียน ทั้งในด้านวิชาการ นันทนาการ และ ประสบการณ์ ด้านอื่น ๆ ๔.๓ ปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรม รักความสามัคคี และรู้จักบ าเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ๔.๔ ให้นักเรียนตระหนักในคุณค่า ธ ารงไว้ และส่งเสริมเอกลักษณ์ และวัฒนธรรมอันดี งามของชาติ ๔.๕ เผยแพร่ชื่อเสียงและเกียรติคุณของโรงเรียนและมหาวิทยาลัย หน้าที่ของคณะกรรมการนักเรียน ข้อ ๕ คณะกรรมการนักเรียนมีหน้าที่ ๕.๑ บริหารและด าเนินการจัดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความสามัคคี สนับสนุนการเรียน การสอน สนับสนุนนโยบายของชาติและโรงเรียน เผยแพร่ชื่อเสียงของโรงเรียน และมหาวิทยาลัย และ กิจกรรมอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ๕.๒ เป็นตัวแทนนักเรียนในการติดต่อประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ ของโรงเรียน และ หน่วยงานอื่น ๆ /๕.๓ รับฟังความ... 113
๕.๓ รับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของนักเรียน เพื่อจัดด าเนินการตามขั้นตอนต่อไป ๕.๔ เสนอความคิดเห็นต่ออาจารย์ที่ปรึกษาในการถอดถอนกรรมการต าแหน่งต่าง ๆ ที่ไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมีความประพฤติไม่เหมาะสม และเสนอแต่งตั้งกรรมการ เพิ่มตามความเหมาะสม ๕.๕ ร่วมมือและช่วยเหลืองานอื่นที่โรงเรียนมอบหมาย ๕.๖ มติใด ๆ ของคณะกรรมการนักเรียน ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา คณะกรรมการนักเรียนจึงด าเนินการได้ ต าแหน่งและคุณสมบัติของคณะกรรมการนักเรียน ข้อ ๖ ต าแหน่งในคณะกรรมการประกอบด้วย ๖.๑ ประธาน ๖.๒ รองประธาน ๖.๓ เลขานุการและสาราณียากร ๖.๔ เหรัญญิก ๖.๕ วิชาการ ๖.๖ สวัสดิการ ๖.๗ ประชาสัมพันธ์ ๖.๘ ปฏิคม ๖.๙ กีฬาและนันทนาการ ๖.๑๐ ฝ่ายสถานที่ ๖.๑๑ ตัวแทนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ๑ คน ๖.๑๒ ตัวแทนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑ คน ข้อ ๗ คุณสมบัตินักเรียนที่ด ารงต าแหน่งในคณะกรรมการนักเรียนต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ ๗.๑ ต าแหน่งที่ ๑ - ๑๐ ไม่ก าหนดชั้นปี ๗.๒ ต าแหน่งที่ ๑๑ - ๑๒ ตัวแทนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย ต้องเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายตามล าดับนักเรียนที่ด ารงต าแหน่งในคณะกรรมการ นักเรียนทุกต าแหน่งต้องมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมทั้งหมดไม่ต่ ากว่า ๒.๐๐ และให้ถือระดับผลการเรียนนี้ เป็นคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้ง และต้องผ่านการเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้น ๗.๓ นักเรียนที่เคยด ารงต าแหน่งในคณะกรรมการชุดเดิมหากประสงค์จะสมัครรับเลือกตั้ง ต้องลาออกจากคณะกรรมการ และผ่านการเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนก่อนวันยื่น ใบสมัครอย่างน้อย ๕ วัน /การเลือกตั้ง... 114
การเลือกตั้ง ข้อ ๘ ในกรณีที่ยังไม่มีคณะกรรมการนักเรียน ให้อาจารย์ที่ปรึกษา คณะกรรมการที่ผู้บริหาร โรงเรียนแต่งตั้งขึ้นจัดกลุ่มนักเรียนจากหัวหน้าทุกห้องหรือนักเรียนอื่นๆ ที่เหมาะสมเป็นคณะกรรมการ ด าเนินการเลือกตั้ง ข้อ ๙ ในกรณีที่มีคณะกรรมการนักเรียน ให้คณะกรรมการนักเรียนเป็นคณะกรรมการ ด าเนินการเลือกตั้งหรืออาจเชิญนักเรียนอื่น ๆ ที่เหมาะสมเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการด้วยก็ได้ แต่ต้องได้รับ ความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียน หากคณะกรรมการนักเรียนชุดเดิมคนหนึ่งคนใดลาออกไป เพื่อการสมัครรับเลือกตั้งในคราวนั้น ให้คณะกรรมการนักเรียนที่เหลือคิดเลือกนักเรียนอื่นที่เหมาะสมเป็นคณะกรรมการด าเนินการเลือกตั้งแทนคน ที่ออกไป ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียน ข้อ ๑๐ คณะกรรมการด าเนินการเลือกตั้งในข้อ ๘ และข้อ ๙ ต้องไม่เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง ในคราวนั้น ข้อ ๑๑ ให้คณะกรรมการด าเนินการเลือกตั้งในข้อ ๘ และข้อ ๙ ปฏิบัติ ดังนี้ ๑๑.๑ วางแผนด าเนินงาน ๑๑.๒ ประกาศรับสมัคร ๑๑.๓ จัดท าบัตรเลือกตั้ง ๑๑.๔ จัดสถานที่และคูหาลงคะแนน ๑๑.๕ ก าหนด วัน เวลา สถานที่ในการหาเสียง ๑๑.๖ ตรวจบัตร นับคะแนน ๑๑.๗ แสดงผลการเลือกตั้งต่ออาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนเพื่อด าเนินการ ต่อไป ๑๑.๘ แสดงผลการเลือกตั้งให้นักเรียนทราบโดยทั่วกัน ๑๑.๙ การด าเนินการทุกประการให้ประสานงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการ นักเรียน ข้อ ๑๒ การรับสมัครรับเลือกตั้ง ให้นักเรียนที่จะสมัครรับเลือกตั้งรวมกันเป็นคณะ ครบทุกต าแหน่งตามระบุไว้ในข้อ ๖ และให้ตัวแทนรวบรวมใบสมัครทั้งหมดยื่นต่อคณะกรรมการด าเนินการ เลือกตั้งตามวันเวลาและสถานที่ที่ก าหนดไว้ในประกาศรับสมัคร ข้อ ๑๓ ก าหนดการเลือกตั้ง ให้คณะกรรมการด าเนินการเลือกตั้ง ด าเนินการเลือกตั้งให้เสร็จสิ้น ภายใน ๓๐ วันก่อนวันสิ้นสุดการเรียนการสอนของภาคเรียนที่ ๒ และมอบหมายงานให้เสร็จสิ้นภายในสัปดาห์ สุดท้ายของภาคเรียนที่ ๒ ของปีการศึกษานั้น ข้อ ๑๔ การหาเสียง การกระท าใด ๆ เพื่อการหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้ง ๑๔.๑ ไม่ขัดต่อข้อก าหนดของคณะกรรมการด าเนินการเลือกตั้งที่ก าหนด ๑๔.๒ ไม่ผิดกฎหมาย ๑๔.๓ ไม่ขัดต่อระเบียบของโรงเรียนและมหาวิทยาลัย ๑๔.๔ ไม่ขัดต่อขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของชาติ 115
๑๔.๕ ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยก ๑๔.๖ ไม่โจมตีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลอื่น ๑๔.๗ ไม่ใช้ค าหยาบ ๑๔.๘ ไม่อนุญาตให้มีการหาเสียงทุกรูปแบบ ในขณะที่มีการเรียนการสอน เว้นแต่ ผู้บริหารอนุญาต ข้อ ๑๕ กรณีที่ต าแหน่งใด ๆ ยกเว้นต าแหน่งประธานในคณะกรรมการนักเรียนว่างลง อันเนื่องจากผู้ที่เคยด ารงต าแหน่งนั้นตาย ลาออก พ้นจากสภาพเป็นนักเรียน ไม่ปฏิบัติตามหน้าที่โดยไม่มี เหตุผลอันควร หรือมีความประพฤติไม่เหมาะสม และอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนมีมติให้พ้น จากต าแหน่ง หากเหลือเวลาถึงวันสิ้นสุดวาระ (วันสุดท้ายการเรียนการสอนภาคเรียนที่ ๒) ๖๐ วันขึ้นไป ให้คณะกรรมการนักเรียนพิจารณาคัดเลือกนักเรียนที่เหมาะสมเข้าด ารงต าแหน่งที่ว่างนั้น โดยได้รับ ความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการนักเรียน หากเหลือเวลาน้อยกว่า ๖๐ วัน ไม่ต้อง ด าเนินการใด ๆ ข้อ ๑๖ กรณีที่ต าแหน่งประธานคณะกรรมการนักเรียนว่างลง อันเนื่องมาจาก สาเหตุหนึ่ง ที่กล่าวไว้ตามในข้อ ๑๕ และไม่ว่าจะเหลือเวลาจนหมดวาระเท่าใดก็ตามให้ปฏิบัติดังนี้ ให้เลื่อนผู้ด ารงต าแหน่งรองประธานขึ้นเป็นประธาน และให้คัดเลือกผู้ด ารงต าแหน่งในข้อ ๖.๓ ถึง ข้อ ๖.๑๒ คนหนึ่งเป็นรองประธาน แล้วจึงให้คณะกรรมการนักเรียนพิจารณาคัดเลือกนักเรียนที่เหมาะสมเข้า ด ารงต าแหน่งที่ว่างลงจากการด าเนินการนั้นโดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา วาระของคณะกรรมการนักเรียน ข้อ ๑๗ คณะกรรมการนักเรียนที่ได้มาจาการเลือกตั้งตามก าหนดการเลือกตั้งในข้อ ๑๓ มีวาระ ๒ ภาคเรียนต่อเนื่องกัน ข้อ ๑๘ คณะกรรมการนักเรียนที่มิใช่ได้มาตามข้อ ๑๓ มีวาระตามเวลาที่เหลือของ คณะกรรมการชุดเดิม การพ้นจากต าแหน่ง ข้อ ๑๙ การพ้นจากต าแหน่งของคณะกรรมการนักเรียน ๑๙.๑ ตาย ๑๙.๒ ลาออก ๑๙.๓ พ้นจากสภาพการเป็นนักเรียน ๑๙.๔ ไม่ปฏิบัติตามหน้าที่โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม และ อาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนมีมติให้พ้นจากต าแหน่ง ๑๙.๕ เป็นผู้ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๒ ครั้งในปีการศึกษาที่ด ารงต าแหน่ง ๑๙.๖ โรงเรียนมีมติให้ยุบคณะกรรมการนักเรียน 116
การลาออก ข้อ ๒๐ การลาออกเป็นรายบุคล หรือทั้งคณะกรรมการนักเรียนต้องมีเหตุผลอันควร และได้รับ ความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียน ข้อ ๒๑ กรณีลาออกทั้งคณะ และอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนมีมติอนุญาตแล้วให้ อาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนด าเนินการดังนี้ ๒๑.๑ หากเหลือเวลาก่อนสิ้นสุดวาระมากกว่า ๑๒๐ วัน นับตั้งแต่วันอนุญาต ให้ลาออกให้จัดตั้งคณะกรรมการด าเนินการเลือกตั้งโดยอนุโลมตามข้อ ๘ ด าเนินการเลือกตั้งคณะกรรมการ นักเรียนขึ้นแทนโดยให้เสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วัน ๒๑.๒ หากเหลือเวลาก่อนสิ้นสุดวาระน้อยกว่า ๑๒๐ วัน นับตั้งแต่วันอนุญาต ให้ลาออก ให้จัดตั้งกลุ่มนักเรียนจากหัวหน้าห้องขึ้นเป็นคณะกรรมการนักเรียนแทนโดยให้เสร็จสิ้นภายใน ๑๕ วัน ๒๑.๓ ให้ที่ประชุมคณะกรรมการนักเรียนในข้อ ๒๑.๒ เลือกหัวหน้าห้องเรียนคนใด คนหนึ่งเป็นประธานคณะกรรมการ และต าแหน่งอื่น ๆ โดยไม่ก าหนดชั้นปี ๒๑.๔ คณะกรรมการนักเรียนที่ตั้งขึ้นตามข้อ ๒๑.๑ และข้อ ๒๑.๒ มีวาระในการด ารง ต าแหน่งตามเวลาที่เหลือของคณะกรรมการชุดเดิม อาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียน ข้อ ๒๒ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนประกอบด้วยคณะอาจารย์โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จ านวน ๕ คน ประกอบด้วย รองผู้อ านวยการฝ่ายกิจการ นักเรียน ผู้ช่วยผู้อ านวยการฝ่ายกิจกรรม และอาจารย์หรือบุคคลากรอื่นอีก ๗ ท่าน โดยมีรองผู้อ านวยการ ฝ่ายกิจการนักเรียนเป็นประธานโดยต าแหน่ง ข้อ ๒๓ ให้ที่ประชุมอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียน คัดเลือกกรรมการเป็นเลขานุการ ๑ ต าแหน่ง ข้อ ๒๔ อาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนมีหน้าที่ให้ค าปรึกษา และดูแลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการนักเรียนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปด้วยวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ข้อ ๒๕ โรงเรียนจะแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียนก่อนการเลือกตั้ง คณะกรรมการนักเรียน และการด ารงต าแหน่งของอาจารย์ที่ปรึกษาคณะกรรมการนักเรียน มีวาระ ๒ ภาคเรียนต่อเนื่องกัน การแก้ไข ข้อ ๒๖ การแก้ไขระเบียบว่าด้วยคณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนสาธิตให้ปฏิบัติดังนี้ /๒๖.๑ การแก้ไข... 117
๒๖.๑ การแก้ไขครั้งแรก กระท าได้หลังจากประกาศใช้ระเบียบนี้ครบวาระของการ เลือกตั้งปกติ ส าหรับการแก้ไขครั้งต่อไปให้เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ทั้งโรงเรียนในวาระการประชุมที่เหมาะสม โดยปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการจัดกิจกรรมโดยไม่อนุโลม และให้รองผู้อ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียน เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ทั้งโรงเรียนเพื่อพิจารณาลงมติ ๒๖.๒ กรณีนักเรียนต้องการแก้ไขให้เสนอในนามคณะกรรมการนักเรียนเท่านั้น ๒๖.๓ กรณีที่อาจารย์ต้องแก้ไข ต้องมีเสียงรับรองการขอแก้ไขกึ่งหนึ่งของจ านวน อาจารย์ในโรงเรียนที่ปฏิบัติงานอยู่ในขณะนั้น และเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ ให้รองผู้อ านวยการฝ่ายกิจการ นักเรียนเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ทั้งโรงเรียนเพื่อพิจารณาลงมติ ๒๖.๔ การแก้ไขระเบียบนี้ต้องได้รับคะแนนมากกว่า ๒ ใน ๓ ของผู้ร่วมประชุมในคราวประชุมอาจารย์ ทั้งโรงเรียน ข้อ ๒๗ ให้รองผู้อ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียน รักษาให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อ ๒๘ ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ (ลงชื่อ) นางโซเฟีย มะลี (นางโซเฟีย มะลี) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ส าเนาถูกต้อง มุกดา (นางสาวมุกดา ธรรมกิรติ) นญาดา ร่าง/พิมพ์ มุกดา ทาน 118
การจัดบริการแนะแนวและให้ค าปรึกษา งานแนะแนวโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มุ่งเน้นการให้บริการ ผู้เรียนทุกคน ครอบคลุม ด้านการศึกษา การงานและอาชีพชีวิตและสังคม โดยยึดหลักการที่ว่าต้องจัดให้ ตรงตามสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจ และธรรมชาติของผู้เรียน เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญให้ผู้เรียน มีอิสระในการตัดสินใจ โดยสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา ตอบสนองจุดมุ่งหมาย ดังนี้ ๑. เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบความถนัด ความสามารถ ความสนใจของตนเอง เห็นคุณค่าในตนเอง และผู้อื่น ๒. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักการแสวงหาความรู้จากข้อมูล ข่าวสาร แหล่งการเรียนรู้ ทั้งด้านการศึกษา อาชีพ การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อน าไปใช้วางแผนเลือกแนวทางการศึกษาอาชีพ ได้เหมาะสมสอดคล้องกับ ศักยภาพของตนเอง ๓. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาบุคลิกภาพและปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ๔. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ในงานอาชีพ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ สุจริต ๕. เพื่อให้ผู้เรียนมีค่านิยมที่ดีงามในการด าเนินชีวิต เสริมสร้างวินัย คุณธรรม และจริยธรรม แก่ผู้เรียน ๖. เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตส านึกในการรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ โดยมีบริการต่าง ๆ ดังนี้ ๑. บริการในการปรึกษา ช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจตนเอง รู้ปัญหา หาวิธีแก้ไขปัญหา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ๒. บริการสารสนเทศ เป็นบริการให้ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ที่จ าเป็นในการตัดสินใจ ประกอบด้วย ๓ ด้าน คือ สารสนเทศด้านการศึกษา สารสนเทศด้านอาชีพ และสารสนเทศเพื่อการพัฒนา บุคลิกภาพ ๓. งานป้องกัน ส่งเสริม พัฒนา ช่วยเหลือ โดยจัดกิจกรรมด้วยรูปแบบที่หลากหลาย รวมถึง ประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ ในการด าเนินงาน 119
การจัดบริการทุนการศึกษา โรงเรียนสาธิตฯได้มอบหมายให้ฝ่ายแนะแนวเป็นผู้ด าเนินงานเกี่ยวข้องกับการบริการทุนการศึกษา ให้แก่นักเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ มีฐานะทางการเงิน ของครอบครัวสมควรที่จะได้รับความช่วยเหลือ ขาดแคลนอุปกรณ์การเรียนและหนังสือเรียน ค่าใช้จ่ายในการท ากิจกรรมต่าง ๆ มีความประพฤติดี เพื่อช่วยเหลือให้โอกาสทางการเรียนของนักเรียนมากขึ้น โดยแบ่งเป็น ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. ทุนการศึกษาแบบให้เปล่า เป็นทุนที่ผู้มีจิตศรัทธา เช่น มูลนิธิ สมาคม หน่วยงานภายใน ภายนอก มหาวิทยาลัย บุคคลทั่วไป มอบเงินให้เพื่อจัดสรรเป็นทุนการศึกษา และโรงเรียนน ามาพิจารณาจัดสรร ทุนการศึกษาดังกล่าวให้แก่นักเรียน เช่น - ทุนมูลนิธิมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - ทุนกองทุนคุณพ่อลั่งเจี๊ยะ แซ่ปึง และคุณแม่ศรีน้อย พึ่งรัศมี - ทุนคุณสมยศ - คุณชมชนก ทิพย์วโรรส - ทุนคุณสังวร - คุณวรรณี คล้ายดวง - ทุนคุณนัฏฺฐิกา กาญจนโสภา - ทุนมูลนิธิชูเกียรติ ปิติเจริญกิจ - มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อการพัฒนา (EDF) - ทุนอุดหนุนการศึกษานักเรียนมุสลิมมัธยมศึกษา - ทุนชมรมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ๒. ทุนการทางาน เป็นทุนที่มอบให้แก่นักเรียนโดยให้นักเรียนช่วยเหลืองานต่าง ๆ ภายในโรงเรียน ๓. กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) 120
(ส าเนา) ประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เรื่อง การบริการสุขภาพส าหรับนักศึกษาและนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ ................................................................. เพื่อให้การบริการสุขภาพส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และ นักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงขอยกเลิกประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา เขตปัตตานี เรื่องการบริการสุขภาพส าหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ และนักศึกษาวิทยาเขตปัตตานี ลงวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๓๖ และก าหนดหลักเกณฑ์การบริการสุขภาพนักศึกษาและนักเรียนใหม่ ดังนี้ หมวดที่ ๑ สิทธิในการเข้ารับการบริการสุขภาพ ข้อ ๑. ผู้ที่มีสิทธิเข้ารับบริการสุขภาพได้แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี และนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา หรือนักเรียนตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และยังมีสภาพเป็นนักเรียนอยู่ ข้อ ๒. สิทธิในการเข้ารับบริการสุขภาพได้แก่ สิทธิขอรับการตรวจรักษาสิทธิขอรับการ รักษาพยาบาล สิทธิขอรับทันตบริการจากสถานพยาบาล ต่อไปนี้ (๑) หน่วยพยาบาล กองกิจการนักศึกษา วิทยาเขตปัตตานี (๒) โรงพยาบาลจังหวัดปัตตานี (๓) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (๔) โรงพยาบาลยะลา (๕) โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (๖) สถานพยาบาลของทางราชการอื่นๆ เฉพาะกรณีนักศึกษาฝึกงานที่ประสบอุบัติเหตุหรือ เจ็บป่วยขณะออกฝึกงานที่จะได้รับสิทธิ จะต้องเป็นการฝึกงานตามโปรแกรมการเรียนการสอนของคณะ/ วิทยาลัย และไม่อาจเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่ก าหนดไว้ได้ ทั้งนี้ต้องให้คณะ/วิทยาลัยรับรองการใช้ สิทธิด้วย ข้อ ๓. ผู้มีสิทธิตามข้อ ๑. ที่ได้รับช าระค่าบริการสุขภาพ ตามอัตราที่มหาวิทยาลัย ก าหนดแล้วมี สิทธิเข้ารับบริการสุขภาพตามประกาศนี้ เฉพาะในภาคการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนเท่านั้น ไม่ครอบคลุมถึงช่วง ปิดภาคการศึกษา เว้นแต่การศึกษาในลักษณะคนไข้ในที่ต่อเนื่องมาจากภาคการศึกษาปกติ ข้อ ๔. สิทธิในการเข้ารับการบริการสุขภาพตามประกาศนี้ไม่ครอบคลุมถึงการบริการสุขภาพซึ่ง จะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆ ดังต่อไปนี้ (๑) อวัยวะเทียม (๒) พยาบาลพิเศษ (๓) ห้องพิเศษและอาหารที่โรงพยาบาลไม่ได้จัดไว้ให้ /(๔) ค่าใช้จ่าย... 121
(๔) ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในกรณีนักเรียน นักศึกษา ประวิงไม่ออกจากโรงพยาบาลหลังจากแพทย์ เจ้าของไข้สั่งจ าหน่ายออกจากโรงพยาบาลแล้ว (๕) ค่าใช้จ่ายกรณีที่ได้รักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาลแห่งอื่นๆ (๖) การบริการเพิ่มเสริมความงามต่างๆ รวมทั้งการศึกษา สิว ฝ้า (๗) โรคเรื้อรังประจ าตัวที่นักเรียน นักศึกษา เป็นมาก่อนเข้ามหาวิทยาลัยหรือโรงเรียน ซึ่งแพทย์ เป็นผู้วินิจฉัย (๘) โรคและภาวะที่นักศึกษาแสวงหามาเอง เช่น กามโรค เอดส์ (๙) ค่าใบรับรองแพทย์ (๑๐) การตรวจสุขภาพในสภาวะปกติ (๑๑) อุบัติเหตุ ภัยอันตรายที่บังเกิดขึ้นโดย ๑๑.๑ ความประมาทเลินเล่อ ขาดสติหรือครองสติไม่ได้เนื่องจากเสพสุราหรือสิ่งมึนเมา รวมทั้งสารเสพติด ๑๑.๒ อุบัติเหตุที่เกิดจากยานพาหนะที่ไม่มีประกันภัยตามกฎหมาย หรือการขับขี่ ยานพาหนะโดยไม่มี ใบอนุญาต หรือการขับขี่ที่ฝ่าฝืนกฎหมายจราจร ๑๑.๓ จงใจยอมรับให้ผู้อื่น หรือตัวเองท าให้ตนประสบอันตราย ๑๑.๔ ผู้อื่นล่วงละเมิดท าให้เสียหาย และสามารถเรียกค่าเสียหายจากผู้ละเมิด ข้อ ๕. นักเรียนนักศึกษามีสิทธิเข้ารับการรักษาในหน่วยพยาบาล กองกิจการนักศึกษา วิทยาเขต ปัตตานี และสถานพยาบาลที่ก าหนดตามเกณฑ์ ดังนี้ (๑) การเข้ารับการรักษาพยาบาล ณ หน่วยพยาบาลกองกิจการนักศึกษา วิทยาเขตปัตตานี ไม่จ ากัดจ านวนครั้ง (๒) การรักษาในลักษณะคนไข้นอกของโรงพยาบาล ไม่จ ากัดจ านวนครั้ง ครั้งละไม่เกิน ๕๐๐บาท ในวงเงินตลอดทั้งปีไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท (๓) การรักษาในลักษณะคนไข้ในของโรงพยาบาล ไม่จ ากัดจ านวนครั้ง แต่รวมแล้วไม่เกิน ๓๐ วัน ต่อปีการศึกษา และในวงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หากมีความจ าเป็นเข้ารับการรักษากว่า ๓๐ วัน หรือเกิน วงเงินดังกล่าว นักเรียน นักศึกษาต้องช าระค่ารักษาพยาบาลในส่วนที่เกินนั้นเอง ข้อ ๖. นักเรียนนักศึกษาที่รักษาหรือย้ายเข้าสถานพยาบาล จะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการ เดินทาง หรือการย้ายสถานพยาบาลเอง /หมวดที่ ๒... 122
หมวดที่ ๒ การบริการรักษาพยาบาล ข้อ ๗. นักเรียนนักศึกษาที่เข้ารับการตรวจ และการรักษาพยาบาลต้องปฏิบัติตามระเบียบการ รักษาพยาบาลของโรงพยาบาลอย่างเคร่งครัด ข้อ ๘. นักเรียนนักศึกษาจะต้องแสดงบัตรประจ าตัวนักเรียนนักศึกษา ทุกครั้งที่เข้ารับการ รักษาพยาบาล ข้อ ๙. การช าระค่ารักษาพยาบาล ท าได้ดังนี้ (๑) การขอรับบริการ ณ หน่วยพยาบาล กองกิจการนักศึกษา วิทยาเขตปัตตานี ไม่คิดค่าบริการ (๒) การขอรับบริการ ณ โรงพยาบาล มีรายละเอียดดังนี้ ๒.๑ คนไข้นอก นักเรียนนักศึกษาต้องช าระค่ารักษาพยาบาลล่วงหน้าก่อน และน าหลักฐาน ใบหน้า สรุปค่ารักษาโรงพยาบาลนั้น หรือใบเสร็จรับเงินพร้อมใบรับรองแพทย์มาขอเบิกเงินคืนจากทาง มหาวิทยาลัยโดยแสดงความจ านงด้วยตัวเอง พร้อมทั้งแสดงใบเสร็จรับเงินการลงทะเบียนของแต่ละภาค และ บัตรประจ าตัวผู้ป่วยโรงพยาบาล ๒.๒ คนไข้ใน นักเรียนนักศึกษา อาจจะช าระค่ารักษาพยาบาลล่วงหน้าก่อน และน าหลักฐาน ใบหน้า สรุปค่ารักษาของโรงพยาบาลนั้นๆ พร้อมใบรับรองแพทย์ มาขอเบิกเงินคืนจากมหาวิทยาลัย หรือ นักเรียนนักศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้องมาแจ้งกับ ทางมหาวิทยาลัย ซึ่งทางมหาวิทยาลัยจะพิจารณาว่านักเรียน นักศึกษาเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลเป็นไปตามประกาศนี้หรือไม่ ถ้าเป็นไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยจะออกหนังสือรับรองสิทธิการเข้ารักษาพยาบาลให้โรงพยาบาล โดยต้องไม่เกิน จ านวนวันและวงเงินที่ระบุไว้ในประกาศนี้ ส่วนที่เกินนักเรียนหรือนักศึกษาต้องรับผิดชอบเอง ๒.๓ นักเรียนนักศึกษาที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล โดยไม่เป็นไปตามประกาศนี้ หรือ ทาง มหาวิทยาลัยไม่ได้ออกหนังสือรับรองสิทธิการเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล นักเรียน นักศึกษาต้องช าระค่า รักษาพยาบาลเองทั้งหมด ข้อ ๑๐. การรับทันตบริการจากหน่วยทันตกรรมของโรงพยาบาล จ ากัด เฉพาะการรักษาเพื่อ บรรเทาอาการเจ็บปวด เช่น การอุดฟัน การถอนฟัน ทันตศัลยกรรม การรักษาโรคเหงือก และการเอ็กเรย์ฟัน เพื่อการดังกล่าวโดยนักศึกษาสามารถเบิกคืนได้จากมหาวิทยาลัยได้ครึ่งหนึ่ง แต่ทั้งนี้ไม่เกินจ านวนเงินที่ระบุไว้ ใน ข้อ ๕. ข้อ ๑๑. หากมหาวิทยาลัย หรือโรงพยาบาลตรวจพบว่านักเรียนนักศึกษา ให้ผู้อื่นใช้สิทธิแทน หรือใช้สิทธิโดยมิชอบ นักเรียนนักศึกษาจะต้องชดใช้ค่ารักษาพยาบาลในส่วนนั้น และจะถูกพิจารณาโทษทาง วินัยของนักเรียนนักศึกษา / ข้อ ๑๒. ให้รอง... 123
ข้อ ๑๒. ให้รองอธิการบดีวิทยาเขตปัตตานี เป็นผู้รักษาให้เป็นไปตามระเบียบนี้ หากมีความ จ าเป็นที่จะต้องวินิจฉัยประการใดก็ให้ด าเนินการได้เป็นกรณีๆ ไป และถือเป็นข้อยุติ ข้อ ๑๓. ประกาศฉบับนี้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ (ลงชื่อ) ผดุงยศ ดวงมาลา (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ผดุงยศ ดวงมาลา) รองอธิการบดีวิทยาเขตปัตตานี ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส าเนาถูกต้อง (ลงชื่อ) บัณฑิต ดุลยรักษ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัณฑิต ดุลยรักษ์) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 124
รายละเอียดเกี่ยวกับการศึกษาวิชาทหาร ............................................... โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้การส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่สนใจสมัครเข้าศึกษาวิชาทหาร โดยมีผู้ก ากับนักศึกษาวิชาทหารพิเศษ สังกัดฝ่ายกิจการนักเรียน โรงเรียนสาธิตฯ รับผิดชอบดูแลและประสานงานกับหน่วยฝึกนักศึกษาวิชาทหาร จังหวัดปัตตานีโดยมีรายละเอียด ดังนี้ ๑. หน่วยที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการรับสมัคร-รับรายงานตัว นศท. ในเขตพื้นที่ จ.ปัตตานี ยะลา และ นราธิวาส ได้แก่ จทบ.ป.น โดยมีหน่วยฝึก นศท.จทบ.ป.น. เป็นหน่วยด าเนินการ ๒. การรับสมัครเป็น นศท. ชั้นปีที่ ๑ ๒.๑ ผู้สมัครต้องส าเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หรือเทียบเท่าขึ้นไป และก าลังศึกษาอยู่ในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ หรือ ปวช. ของสถานศึกษา ๒.๒ ผู้สมัครแบ่งเป็น ๒ เพศ - เพศชาย - เพศหญิง ๒.๓ ประเภทของผู้สมัครเป็น นศท. - ไม่เคยสมัครมาก่อน - เคยรายงานตัวขอผ่าน ผ่อนผันไว้เฉพาะของผู้สมัครเมื่อ ปี ๒๕๔๕ แตคุณลักษณะร่างกาย ไม่ได้ขนาดตามที่ก าหนด โดยสถานศึกษาวิชาทหารส่งรายชื่อกับ กอ. รับสมัครไว้ตั้งแต่เดือน มิ.ย. ๒๕๔๕ ๓. คุณลักษณะและคุณสมบัติ เข้ารับการฝึกวิชาทหาร บุคคลที่มีสิทธิ์สมัครเข้ารับการฝึกวิชาทหาร ต้องมี คุณลักษณะและคุณสมบัติ ดังนี้ ๓.๑ คุณลักษณะ - ชายหรือหญิง มีสัญชาติไทย - มีอายุไม่เกิน ๒๒ ปีบริบูรณ์ ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการ ส าหรับผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติ ภาวะ ต้องได้รับค ายินยอมจากบิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง - ไม่พิการทุพพลภาพ หรือมีโรค ซึ่งไม่สามารถรับราชการได้ ตามกฎหมายว่าด้วยการรับ ราชการ - มีความประพฤติเรียบร้อย - ไม่เป็นทหารประจ าการ - มีขนาดรอบตัว น้ าหนัก และความสูง ตามส่วนสัมพันธ์ที่ก าหนด 125
ตารางขนาดร่างกาย ความสูง น้ าหนัก อายุ ๓.๒ คุณสมบัติ - ก าลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษา ที่ นสร. เปิดเป็นสถานศึกษาวิชาทหาร - ส าเร็จการศึกษาตั้งแต่อนุปริญญาตรี หรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือส าเร็จการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และส าเร็จการศึกษาวิชาทหารไม่ต่ า กว่า ชั้นปีที่ ๓ แล้วสมัครเข้ารับการฝึกวิชาทหาร ต่อให้จบหลักการฝึกวิชาทหารตามที่กระทรวงกลาโหม ก าหนดได้ โดยไม่ต้องสังกัด สถานศึกษาวิชาทหาร (ต่อ ปี ๔,๕) ๓.๓ เงื่อนไขข้อบังคับต้องปฏิบัติตามระเบียบ นสร. ดังนี้ - ต้องไว้ผมสั้น ขอให้ ผกท. กรุณาให้นักเรียนที่สมัครรายงานตัวได้ ตัดผมสั้น ให้ถูกต้องตาม ระเบียบ - นศท. ชั้นปีที่ ๑-๓ ไว้ทรงผมแบบรองทรงสูง ความยาวด้านหน้าไม่เกิน ๔ ซม. ด้านข้างเกรียน - นศท. ชั้นปีที่ ๔-๕ ไว้ทรงผมแบบรองทรงสูง ความยาวด้านหน้าไม่เกิน ๗ ซม. วันที่รับสมัคร และรับรายงานตัวนักเรียนสมัครชั้นปีที่ ๑ ให้แต่งชุดวอมร์ของโรงเรียน นศท. ชั้นปีที่ ๒-๕ ให้แต่งเครื่องแบบ นศท. และขอให้ผกท. ตรวจสอบเอกสารให้เรียบร้อยโดยเฉพาะประทับตราของสถานศึกษา - ผู้สมัครใหม่ชั้นปีที่ ๑ (ชาย,หญิง) ต้องผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกายตามก าหนดดังนี้ อายุ ความขยายของอก ชาย หญิง หายใจเข้า หายใจออก น้ าหนัก (กก.) ความสูง (ซ.ม.) น้ าหนัก (กก.) ความสูง (ซ.ม.) ไม่เกิน ๑๕ ๗๕ ๗๒ ๔๒ ๑๕๒ ๔๑ ๑๔๘ ๑๖ ๗๖ ๗๓ ๔๔ ๑๕๔ ๔๒ ๑๔๙ ๑๗ ๗๗ ๗๔ ๔๖ ๑๕๖ ๔๓ ๑๕๐ ๑๘ ๗๘ ๗๕ ๔๘ ๑๕๘ ๔๔ ๑๕๑ ๑๙ ถึง ๒๐ ๘๐ ๗๗ ๕๐ ๑๖๐ ๔๕ ๑๕๒ 126
ตารางขนาดร่างกาย ความสูง น้ าหนัก อายุ ๓.๒ คุณสมบัติ - ก าลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษา ที่ นสร. เปิดเป็นสถานศึกษาวิชาทหาร - ส าเร็จการศึกษาตั้งแต่อนุปริญญาตรี หรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือส าเร็จการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และส าเร็จการศึกษาวิชาทหารไม่ต่ า กว่า ชั้นปีที่ ๓ แล้วสมัครเข้ารับการฝึกวิชาทหาร ต่อให้จบหลักการฝึกวิชาทหารตามที่กระทรวงกลาโหม ก าหนดได้ โดยไม่ต้องสังกัด สถานศึกษาวิชาทหาร (ต่อ ปี ๔,๕) ๓.๓ เงื่อนไขข้อบังคับต้องปฏิบัติตามระเบียบ นสร. ดังนี้ - ต้องไว้ผมสั้น ขอให้ ผกท. กรุณาให้นักเรียนที่สมัครรายงานตัวได้ ตัดผมสั้น ให้ถูกต้องตาม ระเบียบ - นศท. ชั้นปีที่ ๑-๓ ไว้ทรงผมแบบรองทรงสูง ความยาวด้านหน้าไม่เกิน ๔ ซม. ด้านข้างเกรียน - นศท. ชั้นปีที่ ๔-๕ ไว้ทรงผมแบบรองทรงสูง ความยาวด้านหน้าไม่เกิน ๗ ซม. วันที่รับสมัคร และรับรายงานตัวนักเรียนสมัครชั้นปีที่ ๑ ให้แต่งชุดวอมร์ของโรงเรียน นศท. ชั้นปีที่ ๒-๕ ให้แต่งเครื่องแบบ นศท. และขอให้ผกท. ตรวจสอบเอกสารให้เรียบร้อยโดยเฉพาะประทับตราของสถานศึกษา - ผู้สมัครใหม่ชั้นปีที่ ๑ (ชาย,หญิง) ต้องผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกายตามก าหนดดังนี้ อายุ ความขยายของอก ชาย หญิง หายใจเข้า หายใจออก น้ าหนัก (กก.) ความสูง (ซ.ม.) น้ าหนัก (กก.) ความสูง (ซ.ม.) ไม่เกิน ๑๕ ๗๕ ๗๒ ๔๒ ๑๕๒ ๔๑ ๑๔๘ ๑๖ ๗๖ ๗๓ ๔๔ ๑๕๔ ๔๒ ๑๔๙ ๑๗ ๗๗ ๗๔ ๔๖ ๑๕๖ ๔๓ ๑๕๐ ๑๘ ๗๘ ๗๕ ๔๘ ๑๕๘ ๔๔ ๑๕๑ ๑๙ ถึง ๒๐ ๘๐ ๗๗ ๕๐ ๑๖๐ ๔๕ ๑๕๒ ล ำดับ กำรทดสอบ นักศึกษำชำย นักศึกษำหญิง จ ำนวน เวลำ จ ำนวน เวลำ ๑ ลุกนั่ง ๓๔ ครั้ง ภำยใน ๒ นำที ๒๐ ครั้ง ภำยใน ๒ นำที ๒ ดันพื้น ๒๒ ครั้ง ไม่จ ำกัดเวลำ ๑๐ ครั้ง ไม่จ ำกัดเวลำ ๓ วิ่ง ๘๐๐ เมตร ภำยใน ๓ นำที ๘๐๐ เมตร ภำยใน ๕ นำที 127
ช่วงเวลาในการสมัคร-รับรายงานตัว การก าหนดวัน/เวลา ท าการรับสมัคร -รับรายงานตัว ด าเนินการตามวันเวลาที่เหมาะสมตามที่ จมบ. ก าหนด การมอบเงินบ ารุง - นศท. ชั้นปีที่ ๑ ช าระเงินบ ารุง ๕๐๐ ค่าท าบัตรประจ าตัว ๓๐ บาท รวม ๕๓๐ บาท - นศท. ชั้นปีที่ ๒ ช าระเงินบ ารุง ๕๐๐ บาท - นศท. ชั้นปีที่ ๓ ช าระเงินบ ารุง ๕๐๐ บาท - นศท. ชั้นปีที่ ๔,๕ ไม่ต้องช าระเงินบ ารุง การท าบัตร - ผู้สมัครใหม่ นศท. ชั้นปีที่ ๑ ต้องท าบัตรประจ าตัวทุกคน - นศท. ชั้นปีที่ ๒ -๕ เฉพาะผู้ที่โอนย้ายสถานศึกษาต้องท าบัตรใหม่ - การส่งรายชื่อให้ส่งรายชื่อ นศท. ชั้นปีละ ๖ ชุด ให้กับ นฝ.นศท.จทบ.ป.น ก่อนรับรายงานตัวรับ สมัคร ๕ วัน หากมีภารกิจไม่สามารถด าเนินการได้ทัน ให้น ามามอบในวันรายงานตัว - หลักฐานการรายงานตัว นศท. ชั้นปีที่ ๒,๓,๔ และ ๕ - ซ้ าชั้น, เลื่อนชั้น สถานศึกษาเดิม ใบรายงานตัวสีขาว (รด.๓) - ซ้ าชั้น, เลื่อนชั้น โอนย้ายสถานศึกษาใช้ใบรายงานสีเขียว (รด.๓) - หลักฐานในการสมัครเป็น นศท. ชั้นปีที่ ๑ - หลักฐานการศึกษา รบ.๑ต. ส าเร็จ ม.๓ หรือเทียบเท่ามีคะแนนเฉลี่ย ๒ ภาคเรียน ไม่น้อยกว่า ๘ วิชา และต้องมีคะแนนเฉลี่ย ม.๓ ไม่ต่ ากว่า ๑.๐๐ - หัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้มอบอ านาจจากหัวหน้าสถานศึกษาปัจจุบันรับรองความประพฤติ - ในวันท าการรับสมัคร - รับรายงานตัว ผกท. หรือผู้แทนสถานศึกษาต้องน านักเรียน, นศท. ไปสมัครตามวัน เวลา และ สถานที่ก าหนด และ ผกท. จะต้องอยู่เพื่อแก้ปัญหาในเรื่องที่อาจจะเกิดในระหว่างการสมัคร รับรายงานตัว จนกว่าจะเสร็จสิ้น การผ่อนผัน - ในกรณีนักเรียน นักศึกษาไม่ผ่านการตรวจร่างกาย และเป็นโรคหรือไม่ผ่านการทดสอบ สมรรถภาพร่างกาย ผกท. หรือผู้แทนสถานศึกษาต้องรายงานขอผ่อนผัน เพื่อให้นักศึกษาผู้นั้นมีสิทธิ์ในการ เข้าสมัครในปีถัดไป 128
การรอรับสิทธิ์ - ถ้า นศท. ไม่สามารถเข้ารับการฝึกได้ปีนั้น จะด้วยในกรณีใดก็ตาม ผกท. หรือผู้แทนสถานศึกษา จะต้องท ารายงานตัวรอรับสิทธิ์ไว้ เพื่อรายงานตัวรับการฝึกในปีถัดปี - การขอผ่อนผัน และการรอรับสิทธิ์ จะติดต่อกันเกิน ๒ ปี ไม่ได้ - โอกาสสมัครเป็น นศท. และรายงานตัวเข้ารับการฝึก นศท. - นักศึกษาก าลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาวิชาทหาร จะต้องสมัครเข้ารับการฝึกวิชาทหารในปี การศึกษาแรกที่ตนมีสิทธิ์สมัคร หากไม่สมัครจะไม่มีสิทธิ์สมัครเข้ารับการฝึกวิชาทหาร ทั้งในสังกัดสถานศึกษา นั้น หรือสถานศึกษาอื่น - นักศึกษาซึ่งได้ศึกษาในสภาพศึกษาที่ยังมิได้เปิดเป็นสถานศึกษาวิชาทหาร เมื่อย้ายไปศึกษาวิชา ทหาร ให้มีสิทธิ์ในปีแรกที่เข้ารับการศึกษา - การพ้นสภาพโดยการถูกถอนสภาพ จากกรณี - หลักฐานประกอบการรับสมัคร และรายงานตัวไม่เป็นความจริง - มีความผิด ถูกสถานศึกษาไล่ออก หรือต้องค าพิพากษาของศาลให้จ าคุก - ไม่ได้เลื่อนชั้น ๒ ปี ติดต่อกัน เนื่องจากสอบตก หรือไม่มีสิทธิ์สอบ - ผู้มีอ านาจตัดคะแนน นศท. - ผกท.(พิเศษ) ,ผกท, หรือผช.ผกท. มีอ านาจตัดคะแนนความประพฤติตามล าดับ ซึ่งรายละเอียด ตามเอกสารคู่มือที่แจกไปแล้ว ส าหรับรายละเอียดอื่นๆ ขอความกรุณาให้ ผกท. หรือผู้แทนสถานศึกษาได้ไปศึกษาท าความเข้าใจใน รายละเอียด หากสงสัยกรุณาสอบถามที่สวนธุรการ หน่วยฝึกฯ หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๗๓๓๔ ๐๑๕๘ หรือ ศูนย์ในค่ายหมายเลขโทรศัพท์ ๐๗๓๓๔ ๐๑๔๑-๕ ต่อ ๔๓๒๖ หรือกรุณาสละเวลามาประสานด้วยตัวท่าน เอง เพื่อให้งานกิจการ นศท. ได้เป็นไปอย่างถูกต้อง ทันเวลา ตามที่นสร. ก าหนด ปัญหาข้อขัดข้อง ๑. ผู้ก ากับแต่ละสถานศึกษา ยืนยันให้ทราบด้วยว่า ผู้ก ากับผู้ใดได้ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ก ากับ นักศึกษาวิชาทหารมาแล้ว ให้ส าเนาค าสั่งให้ จนท.หน่วยฝึก นศท.จทบ.ป.น. ด้วย เพื่อส่งให้กับหน่วย บัญชาการก าลังส ารอง จะได้จัดท าท าเนียบ ผกท. ๒. ให้ส่งหลักฐานการขอยกเว้นการตรวจเลือกเกณฑ์ทหารให้หน่วยฝึก นศท.จทบ.ป.น. ภายในเดือน กรกฎาคม ของทุกปี เพื่อ จนท. จะได้รวบรวมสั่งให้หน่วยบัญชาการก าลังส ารองได้ทันตามเวลาที่ก าหนดและ การพิมพ์รายชื่อ นศท.ใน ทบ. ๓๔๙-๐๐๔ ชั้นปี ๑ และ ๒ ให้พิมพ์รวมกัน แต่ให้ระบุชั้นปีที่ ๓ ให้แยกพิมพ์ ต่างหาก ๓. รด.๑ รด.๒ และ รด.๓ ให้ทางสถานศึกษาถ่ายเอกสารในการเขียนข้อมูลในการรับสมัครและรับ รายงานตัวของ นศท. เนื่องจากหน่วยฝึก นศท.จทบ.ป.น. ไม่ได้รับแจกจ่ายจาก นสร. ๔. นศท. ที่รับสมัคร และรับรายงานตัว ให้ถ่ายเอกสารส าเนาทะเบียนของตัวเองแนบมากับใบสมัคร หรือใบรายงานตัว ๕. ผู้ที่สมัครเข้าเรียน นศท. ชั้นปีที่ ๑ การตรวจโรคให้มีการประทับตราของสถานพยาบาลด้วย 129
๖. ให้นายทะเบียนรับรองเกรดของผู้สมัครเข้าเรียน นศท. ชั้นปีที่ ๑ และให้ผู้ก ากับนักศึกษาวิชา ทหารรับรองส าเนาใน รบ.๑ ต ด้วย การปกครองบังคับบัญชาของ นศท. ผู้บังคับบัญชาของ นศท. มีตามล าดับดังนี้ - ผู้ช่วยผู้ก ากับ - ผู้ก ากับ - ผู้ก ากับพิเศษ ในระหว่างท าการฝึก ผู้บังคับบัญชาของ นศท. ได้แก่ - ครูฝึก - ผอ.กอง - ผช.หน่วยฝึก - ผบ.ศฝ.รด. - หน.แผนกการฝึก - เจ้ากรม รด. - ผบ.ทบ. คะแนนความประพฤติของ นศท. ในรอบปีการฝึก นศท. จะมีคะแนนความประพฤติ ๑๐๐ คะแนน เมื่อนศท. กระท าความผิด ผู้บังคับบัญชามีอ านาจตัดคะแนนความประพฤติ ตามลักษณะความผิด คือ - ความผิดสถานหนัก ตัดตั้งแต่ ๕๐ คะแนน ขึ้นไป - ความผิดสถานกลาง ตัดตั้งแต่ ๒๐ คะแนน แต่ไม่เกิน ๕๐ คะแนน - ความผิดสถานเบา คือความผิดที่ไม่เข้าลักษณะความผิดสถานหนักและสถานกลางตัดครั้งละ ๒๐ คะแนน ผู้มีอ านาจตัดคะแนนความประพฤติของ นศท. - จาก รด. หรือแม่ทัพ มทบ. ตัดได้ ๑๐๐ คะแนน - ผบ.ศฝ.รด.ผบ.มทบ.จทบ. ตัดได้ ๖๐ คะแนน - ผบ.นฝ. ตัดได้ ๕๐ คะแนน - หน.การฝึก หน.ชุดฝึก ตัดได้ ๔๐ คะแนน - ผบ.หน่วยฝึกทหาร ตัดได้ ๓๐ คะแนน - ครูฝึก ตัดได้ ๒๐ คะแนน - ผกท. (พิเศษ) ผกท. และ ผช. ผกท. มีอ านาจตัดคะแนนความประพฤติได้ ๓๐, ๒๐, ๑๐ คะแนน ตามล าดับ การส่งเสริมเกียรติคุณ นศท. ในกรณี นศท. ประกอบคุณความดีเป็นผู้มีวินัย มีความประพฤติดี และบ าเพ็ญตนอันเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม นสร. จะพิจารณาผลงาน และคุณความดีโดย - มอบเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ -ประกาศเกียรติคุณ -ให้รางวัลตอบแทน 130
นศท. ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็น หน.หมู่ หมวด และ หน.กองร้อย เพื่อช่วยเหลือ ผบ.ขว. ควบคุมระเบียบ วินัยระหว่าง นศท. ด้วยกัน จะได้ผลตอบแทน โดยเพิ่มคะแนนให้ (คิดจากคะแนนทฤษฏีและปฏิบัติ) - หน. กองร้อย เพิ่มร้อยละ ๕ - หน. หมวด สารวัตร นศท. เพิ่มร้อยละ ๔ - หน. หมู่ เพิ่มร้อยละ ๓ หน.นศท. ที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรพิเศษ เช่น - หลักสูตร นศท. จราจร - หลักสูตร นศท. บรรเทาสาธารณภัย - หลักสูตร นศท. พยาบาล และได้ออกปฏิบัติหน้าที่ตามค าสั่งของผู้บังคับบัญชา หรือร่วมกิจกรรม เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ให้ เพิ่มคะแนนได้ร้อยละ ๓ ผู้พิจารณาออกค าสั่งฯ - ส่วนกลาง รด. - ส่วนภูมิภาค มทบ., จทบ. สิทธิที่ นศท. ได้รับจากการฝึกวิชาทหาร คือ ๑. สิทธิในการแต่งเครื่องแบบ ๒. สิทธิในการเพิ่มคะแนนพิเศษ ๓. สิทธิในการขอยกเว้นไม่มาเรียกรับการตรวจเลือก ๔. สิทธิในการลดวันรับราชการทหารกองประจ าการ ๕. สิทธิในการขึ้นทะเบียนกองประจ าการ ๖. สิทธิในการขอแต่งยศ ๑. สิทธิในการแต่งเครื่องแบบ หลังจากนักเรียนได้ฝึกวิชาทหารไม่น้อยกว่า ๑๖ ชม. มีสิทธิแต่ง เครื่องแบบนศท. ได้ตาม พ.ร.บ. เครื่องแบบ นศท. และเครื่องแบบ ผกท. พ.ศ. ๒๕๒๑ ๒. สิทธิในการเพิ่มคะแนนพิเศษ นศท. ที่ส าเร็จการฝึกจะได้คะแนนเพิ่ม ดังนี้ ๒.๑ ส าเร็จการฝึกชั้นปีที่ ๑ เพิ่มให้ ๓/๑๐๐ ของคะแนนรวมทั้งสิ้น ๒.๒ ส าเร็จการฝึกชั้นปีที่ ๒ เพิ่มให้ ๔/๑๐๐ ของคะแนนรวมทั้งสิ้น ๒.๓ ส าเร็จการฝึกชั้นปีที่ ๓ เพิ่มให้ ๕/๑๐๐ ของคะแนนรวมทั้งสิ้น ๒.๔ ส าเร็จการฝึกชั้นปีที่ ๔ เพิ่มให้ ๖/๑๐๐ ของคะแนนรวมทั้งสิ้น ๒.๕ ส าเร็จการฝึกชั้นปีที่ ๕ เพิ่มให้ ๗/๑๐๐ ของคะแนนรวมทั้งสิ้น ๓. สิทธิในการยกเว้นไม่มาเรียกรับการตรวจเลือก นศท. ที่อยู่ระหว่างการฝึกวิชาทหาร ได้รับสิทธิในการยกเว้นไม่เรียก มาตรวจเลือกเข้า รับราชการทหารกองประจ าการในยามปกติ พ.ร.บ. พ.ศ. ๒๕๐๓ ที่มีอายุครบ ๒๐ ปี ทุกคน หรือ นศท. โอนย้ายมาจากสถานศึกษาอื่น โดยสถานศึกษา จะต้องท าบัญชีรายชื่อ นศท. ซึ่งอยู่ในก าหนดเรียกมาตรวจ เลือกเข้ารับราชการทหาร ในยามปกติในปีถัดไป ส่งไปยัง ปล.กห. และ รด. ในเดือนตุลาคมทุกปี 131
๔. สิทธิในการลดวันรับราชการทหารกองประจ าการ ๕. สิทธิในการขึ้นทะเบียนกองประจ าการและน าปลด ผู้ส าเร็จการฝึกวิชาทหารตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการฝึกวิชาการ พ.ศ. ๒๕๐๓ ก าหนดให้ขึ้นทะเบียนกองประจ าการ และน าปลดเป็นทหารกองหนุน ประเภทที่ ๑ โดยมิต้องเข้ารับราชการ ทหารในกองประจ าการ ๖. สิทธิในการขอแต่งตั้งยศ ผู้ส าเร็จการฝึกวิชาทหารจะได้รับการแต่งตั้งยศตามระเบียบ กห. ว่าด้วยการแต่งตั้งยศ ส าเร็จการฝึกวิชาทหารตามหลักสูตร กห. ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการฝึกวิชา ทหาร พ.ศ. ๒๕๐๓ การแต่งตั้ง ส าเร็จ รับราชการทหารกองประจ าการ ร้องขอได้สิทธ์ ชั้นปีที่ ๑ ๑/๖ ปี ๑ ปี ชั้นปีที่ ๒ ๑ ปี ๑ เดือน ชั้นปีที่ ๓ ขึ้นทะเบียนกองประจ าการ แล้วน าปลดเป็นทหารกองหนุน โดยมิต้องเข้ารับ ราชการทหารในกองประจ าการ ส าเร็จการฝึก ส าเร็จการศึกษา หลักสูตร รับราชการกองประจ าการ ขอยศเป็น ส าเร็จ รด. ปี ๑ ม.ปลาย หรือวิชาชีพ ปริญญา, อนุปริญญา หรือประกาศวิชาชีพ เทียบได้อนุปริญญา ๒ ปี เมื่อได้รับราชการในกองประจ าการ ครบก าหนด และปลดเป็นทหารกองหนุนตามกฎหมาย สิบโท ส าเร็จ รด. ปี ๒ ม.ปลาย หรือวิชาชีพหรือ เทียบเท่าปริญญา, อนุปริญญาหรือเทียบเท่า ๒ ปี ,, ,, สิบโท สิบเอก ส าเร็จ รด. ปี ๓ ม.ปลาย หรือวิชาชีพหรือ เทียบเท่าปริญญา, อนุปริญญา หรือวิชาชีพ ไม่ต่ ากว่าปริญญาตรี ๓ ปี ,, ขึ้นทะเบียนน าปลดเป็น ทหารกองหนุน ,, สิบเอก จ่าสิบตรี 132
การแต่งตั้ง ส าเร็จการฝึก ส าเร็จการศึกษา หลักสูตร รับราชการกองประจ าการ ขอยศเป็น ส าเร็จ รด. ปี ๔ อนุปริญญาหรือวิชาชีพ เทียบเท่าอนุปริญญา ปริญญาตรีหรือ วิชาชีพเทียบเท่า - ,, จ่าสิบเอก ส าเร็จ รด. ปี ๕ ปริญญา, อนุปริญญา ๓ ปี ขึ้นทะเบียนน าปลดเป็น ทหารกองหนุน ว่าที่ ร.ต. ส าเร็จ รด. ปี ๒ ไม่ส าเร็จ ม.ปลาย วิชาชีพไม่น้อยกว่า ๒ ปี - เมื่อได้รับราชการในกองประจ าการ ครบก าหนด และปลดเป็นทหารกองหนุนตามกฎหมาย ส าเร็จ รด. ปี ๓ ไม่ส าเร็จ ม.ปลาย หรือ วิชาชีพไม่น้อยกว่า ๒ ปี - ,, สิบโท ส าเร็จ รด. ปี ๔ ไม่ส าเร็จในหลักสูตร ปริญญาอนุปริญญาหรือ เทียบเท่า - ,, จ่าสิบตรี 133
134
คุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบายเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยยึดคุณธรรมน าความรู้ สร้าง ความตระหนักส านึกในคุณค่าของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย และ พัฒนาคน โดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความร่วมมือของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา และสถานศึกษา โดยมีจุดเน้นเพื่อพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดี มีความรู้ อยู่ดีมีสุข ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนดังกล่าว มีความชัดเจนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถน าไปสู่ การปฏิบัติได้อย่างเป็นธรรม "คุณธรรมพื้นฐาน" ที่ควรเร่งปลูกฝังประกอบด้วย ๑. ขยัน ๒. ประหยัด ๓. ซื่อสัตย์ 4.มีวินัย 5. สุภาพ ๖. สะอาด ๗. สามัคคี ๘. มีน้ าใจ ขยัน คือ ความตั้งใจ เพียรพยายาม ท าหน้าที่การงานอย่างต่อเนื่อง สม่ าเสมอ อดทน ความขยัน ต้องปฏิบัติควบคู่กับการใช้สติปัญญา แก้ปัญหาจนเกิดผลส าเร็จ ผู้ที่มีความขยัน คือ ผู้ที่ตั้งใจท าอย่างจริงจังต่อเนื่องในเรื่องที่ถูกที่ควรเป็นคนสู้งาน มีความพยายาม ไม่ท้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค รักงานที่ท า ตั้งใจท า อย่างจริงจัง ประหยัด คือ การรู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สินสิ่งของแต่พอควร พอประมาณให้เกิดประโยชน์ คุ้มค่าไม่ฟุ่มเฟือยผู้ที่มีความประหยัด คือ ผู้ที่ด าเนินชีวิตมีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย รู้จักฐานะ การเงินของตน คิดก่อนใช้ คิดก่อนซื้อเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สินสิ่งของอย่างคุ้มค่า รู้จักท าบัญชีรายรับ-รายจ่ายการออม ของตนเองอยู่เสมอ ซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรง ไม่เอนเอียง ไม่มีเล่ห์เลี่ยม มีความจริงใจ ปลอดจากความรู้สึกล าเอียง หรืออคติผู้ที่มีความซื่อสัตย์ คือ ผู้ที่มีความประพฤติตรง ทั้งต่อหน้าที่ ต่อวิชาชีพ ตรงต่อเวลา ไม่ใช่เล่ห์ กลคดโกง ทั้งทางตรง และทางอ้อม รับรู้หน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติอย่างเต็มที่ถูกต้อง มีวินัย คือ การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ และข้อปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัยต่อสังคม ผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถานศึกษา สถาบัน/ องค์กร/ สังคม และ ประเทศ โดยที่ตนเองยินดีปฏิบัติตามอย่างเต็มใจ และตั้งใจ สุภาพ คือ เรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริยามารยาทที่ดีงาม มีสัมมาคารวะ ผู้ที่มีความสุภาพ คือ ผู้ที่อ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานภาพ และกาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รุนแรง วางอ านาจ ข่มขู่ผู้อื่น ทั้งโดยวาจา และท่าทาง แต่ในเวลาเดียวกัน ยังคงมีความมั่นใจในตนเอง เป็นผู้ที่มีมารยาท รู้จักวาง ตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมอง ทั้งกาย ใจ และสภาพแวดล้อม ความผ่องใส เป็นที่เจริญตา ท าให้เกิดความสบายใจแก่ผู้พบเห็น ผู้ที่มีความสะอาด คือ ผู้รักษาร่างกาย ที่อาศัย สิ่งแวดล้อมถูกต้องตามสุขลักษณะ ฝึกฝนจิตใจมิให้ ขุ่นมัว จึงมีความแจ่มใสอยู่เสมอ 135
สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดอง ร่วมใจกัน ปฏิบัติงานให้ บรรลุผลตามที่ต้องการ เกิดงานการ อย่างสร้างสรรค์ปราศจากกรทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผลยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความหลากหลายในเรื่องเชื้อ ชาติ ความกลมเกลียวกันในลักษณะเช่นนี้ เรียกอีกอย่างว่า ความสมานฉันท์ ผู้ที่มีความสามัคคี คือ ผู้ที่เปิดใจกว้างรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รู้บทบาท ของตนเอง ทั้งในฐานะ ผู้น าและผู้ตามที่ดี มีความมุ่งมั่นต่อการรวมพลัง ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เพื่อให้การงานส าเร็จลุล่วง แก้ปัญหา และขจัดความขัดแย้งได้ เป็นผู้มีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อ พร้อมที่จะปรับตัว เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีน้ าใจ คือ ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวหรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจ เห็นคุณค่าในเพื่อน มนุษย์ มีความเอื้ออาทร เอาใจใส่ ให้ความสนใจในความต้องการความจ าเป็น ความทุกข์สุขของผู้อื่น และ พร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน ผู้ที่มีน้ าใจ คือ ผู้ให้ และผู้อาสา ช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละความสุขส่วนตัว เพื่อท าประโยชน์แก่ผู้อื่น เข้าใจเห็นใจ ผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคมด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติการ เพื่อบรรเทาปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์ สิ่งดีงามให้เกิดขึ้นในชุมชน 136
ข้อบังคับชมรมผู้ปกครองและครู โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) หมวดที่ ๑ บททั่วไป ข้อ ๑. ชมรมนี้ชื่อ "ชมรมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา)" ข้อ ๒. ส านักงานตั้งอยู่ที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ถนนเจริญประดิษฐ์ ต าบลรูสะมิแล อ าเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ข้อ ๓. วัตถุประสงค์ของชมรม ๓.1 เพื่อส่งเสริมการศึกษา กิจกรรม เผยแพร่วิทยาการ เกียรติคุณ และด้านพัฒนาการ ในทุก ๆ ด้านของโรงเรียน ๓.๒ เพื่อส่งเสริมความสามัคคี มิตรภาพ และความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างสมาชิก ๓.๓ เพื่อให้ค าปรึกษา แนะน า ช่วยเหลือ ให้บริการ จัดสวัสดิการให้แก่ สมาชิกครู นักเรียนปัจจุบัน ตลอดจนการด าเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียน ๓.๔ ร่วมมือกับรัฐบาล และองค์กรต่าง ๆ ในด้านการศึกษา การกีฬา ศาสนา สังคมสงเคราะห์ และการบ าเพ็ญสาธารณประโยชน์ใด ๆ ที่คณะกรรมการเห็นชอบ ข้อ ๔. รายได้ของชมรม ชมรมนี้อยู่ในความอุปถัมภ์ของสมาชิก และมีรายได้จากแหล่งต่าง ๆ ดังนี้ ๔.๑ ค่าธรรมเนียม และค่าบ ารุงจากสมาชิก ๔.๒ การจัดกิจกรรมของชมรม ๔.๓ เงินบริจาค ๔.4 เงินอุดหนุนของรัฐ ๔.๕ ดอกผลของเงินฝาก หมวดที่ ๒ สมาชิกภาพ ข้อ ๕. สมาชิกแบ่งเป็น ๓ ประเภท 5.1 สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ บุคคลที่คณะกรรมการชมรม ฯ ลงมติเชิญเข้าเป็นสมาชิก โดยบุคคลนั้นได้กระท าสิ่งที่มีคุณประโยชน์ในกิจกรรมของชมรม ฯ 5.๒ สมาชิกสามัญ ได้แก่ บิดา มารดา ผู้ปกครอง ของนักเรียนที่ก าลังศึกษา หรือเคยศึกษาอยู่ ในโรงเรียน คณะกรรมการ ครู อาจารย์ และบุคลากรของโรงเรียน ๕.๓ สมาชิกวิสามัญ ได้แก่ ศิษย์เก่า หรือผู้สนใจทั่วไปที่ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ ข้อ ๖. ค่าธรรมเนียม และค่าบ ารุง ๖.๑ ผู้สมัครสมาชิกสามัญ และวิสามัญต้องช าระค่าธรรมเนียมครั้งแรก ๕o บาท ๖.๒ ค่าบ ารุงชมรม 137
๖.๒.๑ สมาชิกกิตติมศักดิ์ และสมาชิกวิสามัญ ไม่ต้องเสียค่าบ ารุง ๖.๒.๒ สมาชิกสามัญ ช าระค่าบ ารุงปีละ ๓๐๐ บาท ๖.๒.๓ ครู อาจารย์ และบุคลากรของโรงเรียนช าระครั้งเดียว ๕00 บาท ข้อ ๗. สิทธิของสมาชิก ๗.1 สมาชิกสามัญมีสิทธิขอตรวจสอบกิจการ ทรัพย์สิน และบัญชีงบดุลของชมรมฯ ตลอดจน การเลือกตั้ง และสมัครรับเลือกแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารชมรมฯ ได้ สมาชิกทุกประเภทมีสิทธิเข้าร่วม กิจกรรมมีสิทธิใช้บริการและสถานที่ และอื่นๆ ของชมรม ฯ ๗.๒ สมาชิกทุกประเภทมีสิทธิที่จะเสนอความคิดเห็น เข้าร่วมประชุม อภิปราย แสดง ความคิดเห็น ซักถามกรรมการ เสนอญัตติในที่ประชุมใหญ่ และเสนอชื่อหรือรับรองสมาชิกสามัญผู้เข้ารับ การลือกตั้งเป็นกรรมการได้ ๗.๓ สมาชิกสามัญเท่านั้นเป็นผู้มีสิทธิในการออกเสียง ข้อ ๘. หน้าที่ของสมาชิก ๘. ๑ ด ารงรักษาเกียรติและผลประโยชน์ของชมรมฯ 8.๒ เคารพ ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมใหญ่ และมติของคณะกรรมการ 8.๓ ส่งเสริม เผยแพร่ ช่วยเหลือ ร่วมมือ สนับสนุนกิจกรรมของชมรมฯ 8.4 ช าระค่าธรรมเนียม ค่าบ ารุงตามกฎของชมรมฯ ข้อ ๙. การสิ้นสุดแห่งสมาชิกภาพ ๙.๑ ลาออก ๙.๒ คณะกรรมการลงมติให้ลบชื่อออกจากทะเบียนสมาชิก ๙.๓ ขาดการจ่ายค่าบ ารุงชมรมเป็นเวลา ๒ ปี ๙.๔ ตาย หมวดที่ ๓ การบริหาร และคณะกรรมการการบริหาร ข้อ ๑0. คณะกรรมการมีอ านาจและหน้าที่ในการบริหารกิจกรรมชมรม ฯ ไปตามวัตถุประสงค์ของ ชมรม ฯ และตามนโยบายที่ได้แถลงต่อที่ประชุมใหญ่ โดยให้ถือเสียงข้างมากเป็นมติในที่ประชุม ข้อ ๑๑. คณะกรรมการมีอ านาจแต่งตั้งอนุกรรมการคนหนึ่ง หรือคณะหนึ่ง หรือหลายคณะ เพื่อด าเนินกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง ข้อ ๑๒. คณะกรรมการมีอ านาจออกระเบียบ และแก้ไขระเบียบของชมรมได้ โดยไม่ขัดต่อข้อบังคับ ของชมรม ฯ โดยผ่านความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ คณะกรรมการ ข้อ ๑๓. ให้ที่ประชุมใหญ่ก าหนดจ านวนกรรมการขึ้น ไม่น้อยกว่า ๙ คน และไม่เกิน ๓0 คน และ ให้เลือกประธานกรรมการชมรม ฯ ขึ้นจากสมาชิกสามัญ ๑ คน 138
ข้อ ๑๔. คณะกรรมการชมรมฯ มี ๓ ประเภท ๑๔.1 มาจากการเลือกตั้ง โดยที่ประชุมใหญ่ จากสมาชิกสามัญจ านวน ๑ ใน ๒ ๑๔.2 มาจากการคัดเลือกของประธานกรรมการ จากสมาชิกสามัญหรือวิสามัญ จ านวน ๑ ใน ๔ ๑๔.๓ มาจากบุคลากรซึ่งเป็นตัวแทนของโรงเรียน จ านวน ๑ ใน ๔ ของจ านวนกรรมการ ทั้งหมด ข้อ ๑5. ให้คณะกรรมการเลือกตั้งต าแหน่งบริหารจากคณะกรรมการในข้อ ๑4. ซึ่งประกอบด้วย รองประธานอย่างน้อย 2 คน เลขานุการ เหรัญญิก ประชาสัมพันธ์ นายทะเบียน และกรรมการอื่น ตามที่ประชุม คณะกรรมการเห็นชอบ ข้อ ๑๖. ให้มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อยภาคเรียนละ ๒ ครั้ง ข้อ ๑๗. องค์ประชุมในการประชุมคณะกรรมการ อย่างน้อยครึ่งหนึ่งของจ านวนคณะกรรมการ ทั้งหมด ในกรณีประธานกรรมการวินิจฉัยว่าการประชุมครั้งนั้นมีความจ าเป็นเร่งด่วนต้องขอมติจากกรรมการ ให้ถือว่ากรรมการที่มานั้นเป็นองค์ประชุม ข้อ ๑8. มติที่ประชุมคณะกรรมการ ให้ถือเอาเสียงข้างมาก ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานชี้ขาด ข้อ ๑๙. กรรมการชมรมด ารงต าแหน่งคราวละ ๒ ปี ข้อ ๒0. ถ้าต าแหน่งประธานว่างลง ให้รองประธานรักษาการแทน ถ้ากรรมการว่างลงก่อนถึง ก าหนดเลือกตั้งให้ประธานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมกรการเลือกตั้งสมาชิกเข้าด ารงต าแหน่งแทนได้ และให้อยู่ในต าแหน่งเท่าเวลาที่เหลือของกรรมการชุดนั้น หมวดที่ ๔ การประชุมใหญ่ ข้อ ๒๑. ให้คณะกรรมกรจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญปีละหนึ่งครั้ง ภายใน -วัน นับตั้งแต่วัน ครบรอบปีการปิดบัญชี ข้อ ๒๒. ให้คณะกรรมการแจ้งวันนัดประชุมใหญ่ให้สมาชิกทราบเป็นหนังสือ โดยแจ้งระเบียบวาระ การประชุม ก าหนดเวลา สถานที่ให้สมาชิกทราบก่อนการประชุมอย่างน้อย ๗ วัน ข้อ ๒๓. การประชุมใหญ่วิสามัญให้ประธานเรียกประชุมเมื่อมีความจ าเป็นจะต้อง โดยจ าเป็นต้องใช้ มติที่ประชุม หรือเมื่อสมาชิกสามัญจ านวนไม่น้อยกว่า ๕0 คน ร้องขอเป็นหนังสือให้เปิดประชุม ให้คณะกรรมการ จัดประชุมภายในก าหนด ๑5 วัน นับแต่วันที่ได้รับค าร้อง โดยให้น าบทบัญญัติในการ ประชุมใหญ่สามัญมาใช้บังคับด้วย ข้อ ๒4. ประธานในที่ประชุม ให้ประธานชมรม ฯ เป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานไม่อยู่ ให้รองประธานท าหน้าที่ประธานแทน และหากประธาน หรือรองประธานไม่อยู่ ให้ที่ประชุมเลือกสมาชิก ที่มาประชุมคนใดคนหนึ่ง ขึ้นเป็นประธานในการประชุมแทนได้ ข้อ ๒๕. กิจกรรมพึงกระท าในที่ประชุมใหญ่ ๒๕.๑ รับรองรายงานการประชุมใหญ่ก่อน ๒๕.๒ พิจารณารายงานประจ าปี แถลงกิจการ ผลการปฏิบัติงานของชมรม ฯ ๒๕.๓ พิจารณารับรองรายรับ รายจ่าย และงบดุลประจ าปี 139
๒5.4 จัดให้มีการเลือกตั้งคณะกรรมการชมรมใหม่เมื่อคณะกรรมการชุดเติมหมดวาระ ข้อ ๒๖. องค์ประชุมใหญ่ ต้องมีสมาชิกสามัญเข้าร่วมอย่างน้อย ใน ๔ ของจ านวนสมาชิกทั้งหมด หรือเมื่อเวลาผ่านไป ๑ ชั่วโมงแล้ว ถือว่าสมาชิกที่มานั้นเป็นองค์ประชุม หมวดที่ ๕ การเงิน ข้อ ๒๗. การเงินอยู่ในความรับผิดชอบร่วมกันของคณะกรรมการ และจัดให้มี ๒๗.๑ บัญชีแสดงจ านวนเงินที่ชมรมฯ ได้รับและจ่าย ทั้งรายการอันเป็นเหตุให้ได้รับ หรือจ่ายเงิน ทุกรายการ ๒๗.๒ บัญชีแสดงจ านวนและมูลค่าของทรัพย์สินและหนี้สินของชมรมฯ ๒๗.๓ ให้มีทุนส ารองของชมรมฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑ ของรายได้ประจ าปี ข้อ ๒8. ให้เหรัญญิกเป็นผู้จัดท าบัญชีการเงินและสินทรัพย์ของชมรมฯ ให้ถูกต้องตามหลักการทาง บัญชีโดยให้คณะกรรมการวางระเบียบทางการเงิน หรือทรัพย์สินของชมรมฯ ให้เหมาะสมรัดกุม ทั้งนี้เหรัญญิก จะเก็บเงินสดได้ไม่เกิน ๕,00๐ บาท ส่วนที่เหลือต้องน าฝากธนาคารที่กรรมการก าหนดในนามของชมรม และ ให้เหรัญญิกท าหลักฐานแสดงการรับ - จ่ายเงิน ท างบแสดงฐานะการเงินเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ จัดท างบดุลเสนอต่อที่ประชุมใหญ่ประจ าปีบัญชีรายจ่ายของชมรมที่เหรัญญิกเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ ทุกเดือน ให้ประกาศไว้อย่างเปิดเผย ณ ส านักงานของชมรมฯ ทุกเดือน ข้อ ๒๙. โดยให้เปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารพาณิชย์ การเบิกจ่ายเงินให้ประธาน เลขานุการ และ เหรัญญิกมีอ านาจลงนามการเบิกจ่าย และก าหนดจ่ายเงินได้ครั้งละไม่เกิน ๑00,000 บาท หากเกินนี้ต้อง ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้ปกครองและครูฯ ข้อ ๓๐. การซื้อหรือจ าหน่ายทรัพย์สินของชมรมฯ ให้ขออนุมัติ ดังต่อไปนี้ ๓๐.๑ ซื้อหรือจ าหน่ายทรัพย์สินเกินกว่า 500,000 บาท ต้องได้รับอนุญาตจากที่ประชุมใหญ่ ๓๐.๒ ซื้อหรือจ าหน่ายทรัพย์สินเกินกว่า 100,000 บาท ต้องได้รับอนุญาตจากที่ประชุม คณะกรรมการ ประธานมีสิทธิซื้อหรือจ าหน่ายทรัพย์สินไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท ข้อ ๓๑. ให้ถือเอาวันที่ ๓๑ มีนาคม เป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีประจ าปีของชมรมฯ หมวดที่ ๖ การแก้ไขข้อบังคับและเลิกชมรม ข้อ ๓๒. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับ ท าได้โดยมีมติที่ประชุมใหญ่ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของจ านวนสมาชิกที่เข้าร่วมประชุม ข้อ ๓๓. การเลิกชมรมฯ ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง ดังนี้ ๓๓.๑ ศาลมีค าสั่งให้เลิก ๓๓.๒ ที่ประชุมใหญ่ลงมติให้เลิกด้วยคะแนนเสียงไม่น้อย ๓ ใน 4 ของจ านวนสมาชิกที่เข้าร่วม ประชุม ข้อ ๓4. หากชมรมฯ ต้องเลิก และมีทรัพย์สินของชมรมฯ คงเหลืออยู่ หลังจากได้ช าระบัญชี ให้ยกให้แก่โรงเรียนสาธิตฯ และให้ผู้ช าระบัญชีและโอนมอบทรัพย์สินดังกล่าวให้เสร็จ ภายในก าหนด – เดือน นับตั้งแต่วันเลิกชมรมฯ 140
บทเฉพาะกาล ให้คณะกรรมการชุดปัจจุบันเป็นผู้รักษาการในต าแหน่งไปจนกว่าจะมีการเลือกตั้งคณะกรรมการ ตามก าหนดในข้อบังคับ ท าเนียบประธานชมรมผู้ปกครองและครู โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ๑. นายวิโรจน์ จันทนิมิ พ.ศ.๒๕๔๓ - พ.ศ.๒๕๔๖ ๒. นายประยูรเดช คณานุรักษ์ พ.ศ.๒๕๔๗ - พ.ศ.๒๕๔๘ ๓. นายประเสริฐ คณานุรักษ์ พ.ศ.๒๕๔๙ - พ.ศ.๒๕๕๐ ๔. นายประเสริฐ คณานุรักษ์ พ.ศ.๒๕๕๑ - พ.ศ.๒๕๕๒ ๕. นายอดิลัน อาลีฮิสเฮาะ พ.ศ.๒๕๕๒ - พ.ศ.๒๕๕๓ ๖. นายอดิลัน อาลีฮิสเฮาะ พ.ศ.๒๕๕3 - พ.ศ.๒๕๕4 ๙. นางสาวเสาวลักษณ์ แหละบัง พ.ศ.๒๕๕๕ - พ.ศ.๒๕๕7 ๘. นายพิศิษฐ์ สงสว่าง พ.ศ.๒๕๕7 - พ.ศ.๒๕๕๙ 9. นายพิศิษฐ์ สงสว่าง พ.ศ.๒๕๕๙ - พ.ศ.๒๕๖๑ ๑๐. ทันตแพทย์สุริยา ภูยุทธานนท์ พ.ศ.๒๕๖๑ - พ.ศ.๒๕๖๓ ๑๑. ทันตแพทย์สุริยา ภูยุทธานนท์ พ.ศ.๒๕๖๓ - พ.ศ.ปัจจุบัน 141
คณะกรรมการชมรมผู้ปกครองและครู โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1. ทันตแพทย์สุริยา ภูยุทธานนท์ ประธานชมรม 2. นายนที เมฆพิรุณ รองประธานชมรม 3. นายนภพล รตนัตยาธิกุล รองประธานชมรม 4. นายจีรวัฒน์ รัตนมณี เหรัญญิก 5. แพทย์หญิงปิยวรรณ สุวรรณวงศ์ ผู้ช่วยเหรัญญิก 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธิศักดิ์ ดือเระ กรรมการฝ่ายวิชาการ 7. ดร.มูอัสซัล บินแสละ กรรมการฝ่ายวิชาการ 8. เภสัชกรอิทธิพล แวมิง กรรมการฝ่ายวิชาการ 9. รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ กรรมการฝ่ายวิชาการ 10. รองผู้อ านวยการฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ กรรมการฝ่ายวิชาการ วิจัย และโครงการในก ากับ 11. ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานวิชาการ กรรมการฝ่ายวิชาการ 12. นางสาวญาณญา เสาวิไล กรรมการฝ่ายวิชาการ 13. พันเอกศรัญญู สังรี กรรมการฝ่ายกิจกรรม 14. นางสาวพัชนีย์ ธรรมธร กรรมการฝ่ายกิจกรรม 15. นางสาวนันทรัตน์ คงเขียว กรรมการฝ่ายกิจกรรม 16. นางสาวอาวาติ๊ฟ ไชยลาภ กรรมการฝ่ายกิจกรรม 17. นายสุริย์พงษ์ ทักษิณสัมพันธ์ กรรมการฝ่ายกิจกรรม 18. นางสาวศิริวรรณ จันทนะทรัพย์ กรรมการฝ่ายกิจกรรม 19. นางกฤตชญา สัจพันธ์ กรรมการฝ่ายกิจกรรม 20. นายคมสัน คงบุญ กรรมการฝ่ายกิจกรรม 21. รองผู้อ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียน กรรมการฝ่ายกิจกรรม 22. รองผู้อ านวยการฝ่ายแผนและประกันคุณภาพ กรรมการฝ่ายกิจกรรม 23. รองผู้อ านวยการฝ่ายบริหาร กรรมการฝ่ายกิจกรรม 24. ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานกิจกรรม กรรมการฝ่ายกิจกรรม 25. ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานสื่อสารองค์กรและชุมชนสัมพันธ์ กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 26. นางสาววรรณา อาลีตระกูล กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 27. นายนิอดุลย์ ดายะ กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 28. นายสาอุดี เบ็ญราซัค กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 29. รองคณบดีและผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ กรรมการและเลขานุการ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) 30. นางสาวปริฉัตร สองประสม ผู้ช่วยเลขานุการ 142