ชั้นที่ 1 - ห้องเรียน จ านวน 1 ห้อง - ห้องแนะแนวและให้ค าปรึกษา 1 ห้อง - ห้องพระพุทธศาสนา - ห้องพยาบาล 2 ห้อง (ชาย - หญิง) - ห้องพักครูกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - ห้องน้ า 2 ห้อง (ชาย - หญิง) ชั้นที่ 2 - ห้องเรียน จ านวน 7 ห้อง - ห้องละหมาด 1 ห้อง (ชาย - หญิง) ชั้นที่ 1 - ห้องเรียน จ านวน 4 ห้อง - ห้องพักครูกลุ่มสาระภาษาไทย - ห้องโครงการ วมว. - ห้อง Co-working space - ห้องน้ า 2 ห้อง (ชาย - หญิง) ชั้นที่ 2 - ห้องเรียน จ านวน 7 ห้อง - ห้องละหมาด 1 ห้อง (ชาย - หญิง) ปัจจุบันโรงเรียนสาธิตโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มีอาคารเรียน 5 หลังดังนี้ อาคารบริหาร อาคาร ๑๑ อาคารที่ใช้ส าหรับการเรียนการสอน อาคาร ๖, 7, ๘ (๒๙ ห้องเรียน) อาคารที่เป็นห้องปฏิบัติการวิชาต่าง ๆ อาคาร ๔๙ จ านวนห้องเรียนทั้งหมด ๒๙ ห้องเรียนแบ่งเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ = ๓ : ๓ : ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ = ๖ : ๖ : ๖ 43
ห้องปฏิบัติการชีววิทยา ชั้นที่ 1 - ห้องเรียน จ านวน 1 ห้อง - ห้องพักครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ - ห้องพักนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอน - ห้อง SMP (Science Math Program) - ห้องปฏิบัติการทางการเกษตร - ห้องคณะกรรมการนักเรียน - ห้องน้ า 2 ห้อง (ชาย - หญิง) ชั้น 2 - ห้องเรียน จ านวน 7 ห้อง - ห้องละหมาด 1 ห้อง (หญิง – ชาย) ชั้นที่ 1 - ห้องผู้อ านวยการ - ส านักงานธุรการ - ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วิจัยฯ - ฝ่ายแผนและประกันคุณภาพฝ่ายกิจการนักเรียน - ห้องน้ า 2 ห้อง (ชาย - หญิง) ชั้นที่ 2 - ฝ่ายวิชาการ - ฝ่ายทะเบียน สถิติ วัดประเมินผล - ห้องเก็บวัสดุส านักงาน - ห้อง Co-Working Space - ห้องประชุม 1 - ห้องเก็บอุปกรณ์ห้องอัดส าเนา 44
ห้องปฏิบัติการชีววิทยา ชั้นที่ 1 - ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ 1-2 - ห้องเตรียมอุปกรณ์ฟิสิกส์ 1-2 - ห้องปฏิบัติการชีววิทยา 1-2 - ห้องปฏิบัติการเคมี 1-2 - ห้อง STEM Lab - ห้องพักครูกลุ่มสาระวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี - ห้องน้ า 4 ห้อง (ชาย – หญิง) ชั้นที่ 2 - ศูนย์ประสานงาน AFS เขตปัตตานี - ห้องปฏิบัติการภาษา 1-2 - ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ม.ต้น 1-2 - ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ม.ปลาย - ห้องปฏิบัติการธุรกิจ - ห้องโสตทัศนศึกษา - ห้องละหมาดบุคลากร - ห้องพักครูกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ - ห้องน้ า 4 ห้อง (ชาย – หญิง) ชั้นที่ 3 - ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 1-2 - ห้องศึกษาด้วยตนเอง - ห้องปฏิบัติการนาฏศิลป์ - ห้องปฏิบัติการดนตรี - ห้องปฏิบัติการคหกรรม - ห้องพักครูกลุ่มสาระการงานอาชีพ - ห้องน้ า 4 ห้อง (ชาย – หญิง) ชั้นที่ 4 - ห้องประชุมใหญ่ - ห้องสมุด - ห้องน้ า 2 ห้อง (ชาย - หญิง) 45
46
การจัดการศึกษา ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นส าคัญด้วยวิธีการที่หลากหลายที่เหมาะสมกับธรรมชาติของนักเรียน เพื่อฝึกให้นักเรียนมีความรู้ รักการศึกษา ค้นคว้า มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ ประหยัด มีความเป็นผู้น า เห็นคุณค่าของตนเอง และผู้อื่นรักความเป็นไทย มีจิตส านึกที่ดีต่อชุมชนและประเทศชาติ มีทักษะการคิด และ การแก้ปัญหา มีความสามารถในการวางแผนและการจัดการ สามารถใช้เทคโนโลยี และมีทักษะ ในการแสวงหาความรู้ มีความสามารถในการสื่อสารสิ่งที่ได้รับจากการเรียนรู้ มีสุขภาพพลานามัย และบุคลิกภาพที่ดี สามารถอยู่ร่วมกันและการท างานกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มีภารกิจในการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อมุ่งพัฒนาเยาวชนในภาคใต้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีปัญญาดี มีคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้ด าเนินการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยจัดการศึกษา ๒ ระดับ คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จัดการเรียนการสอนมุ่งเน้นให้ผู้เรียน มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและพัฒนาตนเอง เพื่อการเตรียมพร้อมในการศึกษาต่อ ในแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการพัฒนาตนเองตามความสามารถของ ผู้เรียน โดยโรงเรียนจัดรายวิชาเลือกต่าง ๆ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนตามความถนัด และ ความสนใจ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร เสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายพุทธศักราช ๒๕๖๕ ซึ่งจัดการศึกษาครอบคลุม ตามเนื้อหาสาระของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ของกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนได้จ าแนกกลุ่มวิชาต่าง ๆ ออกเป็น ๖ กลุ่มวิชาชีพ ดังนี้ ๑) กลุ่มวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ๒) กลุ่มวิชาชีพด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ๓) กลุ่มวิชาชีพด้านเศรษฐศาสตร์และผู้ประกอบการ ๔) กลุ่มวิชาชีพด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๕) กลุ่มวิชาชีพด้านภาษาและการสื่อสาร ๖) กลุ่มวิชาชีพด้านสุนทรียะและการสร้างสรรค์ 47
48
แหล่งเรียนรู้ และบรรยากาศ โ ร ง เ รี ย น ส า ธิ ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการแสวงหาความรู้ ของนักเรียนโดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและจูงใจให้นักเรียน มีความมั่นใจที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเต็มศักยภาพสูงสุด ของแต่ละคน มีการบูรณาการการเรียนรู้แบบสหวิทยาการ โดยมีโครงงานวิชาการเพื่อให้ครูและนักเรียนร่วมกันท างาน เป็นทีมตามความสามารถของแต่ละบุคคล ตลอดจนจัด กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการใช้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ครูยังท าวิจัยในชั้นเรียน เพื่อน าผลการวิจัยมาใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ โดยกลุ่มสาระทั้ง ๘ กลุ่มสาระได้มุ่งเน้นการจัด กิจกรรมเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มีการจัดและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ส าหรับการพัฒนานักเรียนทั้งทางด้านสติปัญญา ทักษะการคิด วิเคราะห์ คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม โดยจัดให้เหมาะสมกับแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละ กลุ่มสาระ เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญและส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีผู้บริหาร ครู นักเรียน บุคลากร ทุกฝ่ายของโรงเรียน เข้ามามีบทบาทในการจัดท าและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่มี ความหลากหลาย เช่น สื่อเทคโนโลยี สื่อบุคคล สื่อ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงการ เรียนรู้อื่น ๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยค านึงถึง ประโยชน์ของนักเรียนเป็นส าคัญ 49
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) สืบเนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นกรอบแนวคิดเพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางด้าน เศรษฐกิจสังคมและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ เพื่อเป็นการสร้างกลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขัน และร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตส านึกความเป็นไทย มีระเบียบวินัย ค านึงถึง ประโยชน์ส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จุดมุ่งหมายหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เป็นหลักสูตรที่ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะดังนี้ ๑. มีความรู้และรักการศึกษาค้นคว้า ๒. มีคุณธรรมจริยธรรม ในด้านความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และประหยัด ๓. มีความเป็นผู้น าเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น ๔. รักความเป็นไทย มีจิตส านึกที่ดีต่อชุมชนและประเทศชาติ ๕. มีทักษะการคิด การแก้ปัญหา และการตัดสินใจ ๖. มีความสามารถในการวางแผน การจัดการ สามารถใช้เทคโนโลยี และมีทักษะในการแสวงหา ความรู้ ๗. มีความสามารถในการสื่อสารสิ่งที่ได้เรียนรู้ ๘. มีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี ๙. สามารถอยู่ร่วมและท างานกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มุ่งเน้นการพัฒนาสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ดัง นี้คือ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 50
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ รวม ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต ๑. ภาษาไทย ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๙.๐ ๒. คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑๕.๐ ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๕ ๑.๐** ๓.๕ ๑.๐** ๓.๕ ๐.๕** ๒.๕ ๐.๕** ๒.๕ ๑.๐** ๒.๕ ๑.๐** ๒๒.๐** - วิทยาศาสตร์ ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๙.๐ - เทคโนโลยี (ออกแบบเทคโนโลยี) 1 ๑.๐ - ๑.๐ - - - - - - - - - ๒.๐ - การออกแบบเทคโนโลยีเพื่อการแก้ปัญหา - - - - ๑.๐ - ๑.๐ - - - - - ๒.๐ - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม - - - - - - - - - - ๑.๐ - ๑.๐ - เทคโนโลยี (วิทยาการค านวณ) - - ๑.๐ - ๑.๐ - - - ๑.๐ - - - ๓.๐ - เสริมทักษะวิทย์ฯ** - - - - - - - - - ๑.๐** - ๑.๐** ๒.๐** - หุ่นยนต์เบื้องต้น** - ๑.๐** - ๑.๐** - - - - - - - - ๒.๐** - หุ่นยนต์** - - - - - ๐.๕** - ๐.๕** - - - - ๑.๐** - ปัญญาประดิษฐ์** - - - - - - - - - ๑.๐** - ๑.๐** ๒.๐** ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒.๐ ๐.๕-๑.๐ ๒.๐ ๐.๕-๑.๐ ๒.๐ ๐.๕-๑.๐ ๒.๐ ๐.๕-๑.๐ ๒.๐ ๐.๕-๑.๐ ๒.๐ ๐.๕-๑.๐ ๑๕.๐ ๑๘.๐ - สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๙.๐ - ประวัติศาสตร์ ๐ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๓.๐ - ศาสนา - ๐.๕* - ๐.๕* - ๐.๕* - ๐.๕* - ๐.๕* - ๐.๕* ๓.๐* - หน้าที่พลเมือง - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ ๓.๐ ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๖.๐ ๖. ศิลปะ ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐** ๑.๐ ๑.๐** ๖.๐-๘.๐** ๗. การงานอาชีพ ๑.๐ - - - - - ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐** ๑.๐ ๑.๐** ๔.๐ -๖.๐** ๘. ภาษาต่างประเทศ ๑.๕ ๑.๐** ๑.๕ ๑.๐** ๑.๕ ๐.๕** ๑.๕ ๐.๕** ๑.๕ ๑.๐** ๑.๕ ๑.๐** ๑๔.๐** รวม ๑๒.๐ ๒.๕-๓.๐ ๑๒.๐ ๒.๕-๓.๐ ๑๒.๐ ๒.๐-๒.๕ ๑๒.๐ ๒.๐-๒.๕ ๑๒.๐ ๒.๕-๓.๐ ๑๒.๐ ๒.๕-๓.๐ รวมหน่วยกิต ๑๔.๕-๑๕.๐ ๑๔.๕-๑๕.๐ ๑๔.๐-๑๕.๐ ๑๔.๐-๑๔.๕ ๑๔.๕-๑๕.๐ ๑๔.๕-๑๕.๐ ๘๖.๐- ๘๙.๐ รวมชั่วโมง ๕๘๐-๖๐๐ ๕๘๐-๖๐๐ ๕๖๐-๕๘๐ ๕๖๐-๕๘๐ ๕๘๐-๖๐๐ ๕๘๐-๖๐๐ ๓,๔๔๐- ๓,๕๖๐- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๕๔๐ รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตาม ความพร้อมและจุดเน้น ๑๕๐ ๑๐๐ ๑๕๐ ๑๐๐ ๑๕๐ ๑๐๐ ๗๕๐ รวมเวลาเรียน ๘๒๐-๘๔๐ ๗๗๐-๗๙๐ ๘๐๐-๘๒๐ ๗๕๐-๗๗๐ ๘๒๐-๘๔๐ ๗๗๐-๗๙๐ รวมเวลาเรียนรายปี ๑,๖๖๐-๑,๕๖๐ ๑,๕๕๐-๑,๕๙๐ ๑,๕๙๐-๑,๖๓๐ รวมตลอดหลักสูตร ๔,๘๐๐-๔,๗๘๐ หมายเหตุ : รายวิชาพื้นฐาน จ านวน ๔๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๑ จ านวน ๓๑.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๒ บังคับ จ านวน ๗ หน่วยกิต *รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) เลือกหรือไม่เลือกก็ได้ **รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) ที่เปิดแบบไม่ระบุภาคเรียน 51
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร เสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่ม วิชาชีพระดับมัธยมศึกษาตอนปลายพุทธศักราช ๒๕๖๕ ซึ่งจัดการศึกษาครอบคลุม ตามเนื้อหาสาระของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ของกระทรวงศึกษาธิการ มีมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดครบถ้วนตามที่หลักสูตรก าหนด ส่วนที่โดดเด่น คือ การจัดรายวิชาเพิ่มเติมในแต่ละกลุ่ม วิชาชีพที่จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ประสบการณ์ และทักษะที่จะน าไปใช้ในการศึกษาต่อและประกอบ อาชีพตามที่ตั้งเป้าหมายในชีวิตไว้ อีกทั้งโอกาสที่หลากหลายในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสรรถนะที่มีแผน ในการพัฒนาผู้เรียนผ่านกิจกรรมเสริมสมรรถนะในแต่ละชั้นปีอย่างชัดเจน มีความหลากหลาย ทั้งรูปแบบแนวทางจัดกิจกรรม รวมถึงประสบการณ์ที่ผู้เรียนจะได้รับ โดยผู้เรียนสามารถเลือกเข้าร่วม กิจกรรมตามแผนที่เสนอไว้ได้ตามความสนใจ โดยกิจกรรมเสริมสมรรถนะจะจัดขึ้นทั้งในช่วงเวลาที่ก าหนดไว้ ในตารางเรียนหรือนอกเวลารวมทั้งจัดขึ้น ในโรงเรียนหรือนอกโรงเรียนก็ได้ โรงเรียนได้จ าแนกกลุ่มวิชาต่าง ๆ ออกเป็น ๖ กลุ่มวิชาชีพ ดังนี้ ๑) กลุ่มวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เสริมสมรรถนะในสาขาวิชาชีพแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ สัตวศาสตร์ สหเวชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ แพทย์ทางเลือก เวชศาสตร์ฉุกเฉิน วิทยาศาสตร์การกีฬา ทัศนมาตรศาสตร์ เป็นต้น ๒) กลุ่มวิชาชีพด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี เสริมสมรรถนะในสาขาวิชาชีพวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เครื่องส าอาง วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีการบิน โลจิสติกส์ เป็นต้น ๓) กลุ่มวิชาชีพด้านเศรษฐศาสตร์และผู้ประกอบการ เสริมสมรรถนะในสาขาวิชาชีพเศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์ บัญชี วิทยาการจัดการ การจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว เป็นต้น ๔) กลุ่มวิชาชีพด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เสริมสมรรถนะในสาขาวิชาชีพนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิเทศศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ จิตวิทยา พัฒนาสังคม ศึกษาศาสตร์ เป็นต้น ๕) กลุ่มวิชาชีพด้านภาษาและการสื่อสาร เสริมสมรรถนะในสาขาวิชาชีพอักษรศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ (กลุ่มวิชาเอกภาษาต่าง ๆ) เป็นต้น ๖) กลุ่มวิชาชีพด้านสุนทรียะและการสร้างสรรค์ เสริมสมรรถนะในสาขาวิชาชีพศิลปกรรมศาสตร์ จิตรกรรม ประติมากรรม นวัตกรรมสื่อสารสังคม ศิลปะภาพยนตร์ ศิลปะการแสดง กราฟิกดีไซน์ เป็นต้น 52
ปรัชญาของหลักสูตรเสริมสมรรถนะ หลักสูตรเสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๗) ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จัดท าขึ้นตามแนวทางปรัชญาการศึกษา “พิพัฒนนิยม (Progressivism)” ซึ่งยึดผู้เรียนเป็นส าคัญในการยอมรับ ความแตกต่างของผู้เรียน หลักสูตรจึงมุ่งที่จะจัดสถานการณ์การเรียนรู้และมวลประสบการณ์ ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และมีประสบการณ์ใหม่ ๆ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน เชื่อว่า ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้วางแผน ได้เลือกและร่วมออกแบบ กิจกรรมหรือประสบการณ์ที่ตนเองควรจะได้รับ เน้นการบูรณาการ การท างานเป็นกลุ่มโดยใช้การเรียนรู้แบบ ร่วมมือ ใช้กระบวนการแก้ปัญหาและการคิดแบบมีวิจารณญาณ โดยหลักสูตรเสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๗) นี้ จะสร้างทางเลือกให้ผู้เรียนเลือกกลุ่มเสริมสมรรถนะวิชาชีพอย่างอิสระตามความถนัดและความสนใจ โดยไม่ มีการก าหนดเกณฑ์หรือคุณสมบัติอื่น ๆ มีจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) มีแผนจัดกิจกรรม เสริมสมรรถนะวิชาชีพที่หลากหลาย รวมถึงจัดสิ่งแวดล้อมและบริบทต่าง ๆ ที่ส่งเสริมวิธีคิด การแก้ปัญหา ทักษะการคิดระดับสูง ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง มีอิสระในการคิดและท าสิ่งต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนด้วยตนเอง สามารถน าสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ในอนาคตอย่างเหมาะสม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร หลักสูตรเสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๗) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทั้งด้านวิชาการ เกิดองค์ความรู้ที่สามารถน าไปใช้ได้ในอนาคต ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะที่เกิดจากการปฏิบัติจริง ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้จริง ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เช่น ในหน่วยงาน และ สถานประกอบการต่าง ๆ ตามความถนัด ความสนใจ เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน โดยมุ่งเน้น ความยืดหยุ่น คือ ให้ผู้เรียนเป็นผู้เลือกกลุ่มวิชาชีพอย่างอิสระ เลือกกิจกรรมเสริมสมรรถนะตามแผนที่เสนอ ไว้หลากหลายได้อย่างเหมาะสม ภายใต้การสนับสนุน ส่งเสริมการค้นพบตนเองของผู้เรียน และเมื่อ มีการเปลี่ยนแปลงทางความคิด ความสนใจ เปลี่ยนแปลงแผนในการเลือกอาชีพและศึกษาต่อ มีความประสงค์จะเปลี่ยนกลุ่มวิชาชีพ ก็สามารถกระท าได้ ภายใต้กรอบของเกณฑ์การจบหลักสูตรของแต่ละ กลุ่มวิชาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพและมีความสุข อีกทั้งทุกมวลประสบการณ์ที่จัด ยังมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตในโลกปัจจุบัน และอนาคต เพื่อเป้าหมาย คือ ผู้เรียนมีพลังที่แข็งแกร่งในการมุ่งสู่การศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นหรือ ประกอบอาชีพในอนาคต เป็นผู้สร้างสรรค์และเป็นก าลังในการขับเคลื่อนสังคมที่ดี ตามค าขวัญของโรงเรียน ที่ว่า “ปัญญาดี มีคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม” 53
เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เมื่อผู้เรียนส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๗) ผู้เรียนควรมีคุณลักษณะ ดังนี้ ๑. มีความรู้ทางด้านวิชาการเต็มศักยภาพ เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา หรือ การประกอบอาชีพที่ถนัด และสนใจในอนาคต ๒. มีทักษะที่จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ สามารถอ่านออก สามารถเขียนได้ มีทักษะในการค านวณ มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ภาษากับความคิดและสามารถแก้ปัญหาได้ การคิด อย่างสร้างสรรค์และคิดเชิงนวัตกรรม มีทักษะการสื่อสารและการรู้เท่าทันสื่อ มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ และรู้เท่าทันเทคโนโลยี ความเข้าใจในความแตกต่างของวัฒนธรรมและกระบวนการคิดข้ามวัฒนธรรม ความร่วมมือ การท างานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้น า มีทักษะอาชีพและการเรียนรู้ มีความเมตตากรุณา มีคุณธรรมและมีระเบียบวินัย ๓. มีจิตส านึกความเป็นพลเมืองไทย และพลเมืองโลก ๔. มีความตระหนักรู้ในคุณค่าของตนเอง มีความรับผิดชอบต่อสังคมและเป็นผู้สร้าง การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างหลักสูตรเสริมสมรรถนะ โครงสร้างหลักสูตรเสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๗) ประกอบด้วยรายวิชากลุ่มต่าง ๆ ดังนี้ ๑. รายวิชาพื้นฐาน เป็นรายวิชาที่จัดให้ทุกกลุ่มวิชาชีพเรียนเหมือนกัน ครอบคลุมทุกมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. รายวิชาเพิ่มเติม ๑ เป็นรายวิชาที่จัดขึ้นเพื่อตอบสนองความเป็นกลุ่มวิชาชีพ ๓. รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (บังคับเลือก) เป็นรายวิชาเพิ่มเติมที่จัดให้ทุกกลุ่มวิชาชีพเรียนเหมือนกัน ได้แก่ รายวิชาศาสนา และรายวิชาภาษาอังกฤษ ๔. รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) เป็นรายวิชาที่เปิดให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนได้ตามความสนใจ ผู้เรียนจะต้องลงทะเบียนเรียนและได้หน่วยกิตในรายวิชาพื้นฐาน จ านวน ๔๕ หน่วยกิต และรายวิชา เพิ่มเติม ไม่ต่ ากว่า ๓๖ หน่วยกิต จึงจะผ่านเกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 54
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ ๑. ภาษาไทย ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๖.๐ ๒. คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐* ๑๕.๐+๑.๐* ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๕ ๔.๐ - ๑.๐ ๕.๕ ๑.๐** ๒.๐ ๔.๕ ๑.๐** ๑.๐ ๔.๕ ๑.๐** ๑.๕ ๓.๐ ๓.๐* + ๑.๐** ๓.๐ - ๑.๐** ๓๒.๕+๓.๐*+๑.๐** -ฟิสิกส์ - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๒.๐* ๑.๕ - - ๕.๕+๒.๐* -เคมี - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - ๑.๕ - - ๙.๐ -ชีววิทยา ๑.๕ ๑.๐ - - ๑.๕ ๑.๐** - ๑.๕ ๑.๐** ๑.๕ ๑.๐** - ๑.๕ ๑.๐** - - ๑.๐** ๘.๕+๑.๐** -วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ - - - - - - - - - - - - ๑.๕ - - - - ๑.๕ -เทคโนโลยี ๑.๐ - - ๑.๐ ๑.๐ - ๒.๐ - - ๑.๐ - - - - ๑.๐* - - - ๖.๐+๑.๐* ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒.๐ - ๐.๕ ๑.๐ - ๐.๕ + ๑.๕* ๑.๐ - - ๒.๐ - - ๒.๐ - - - - - ๙.๐+๑.๕* -สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - - - - ๖.๐ -ประวัติศาสตร์ ๑.๐ - - - - - - - - ๑.๐ - - - - - - - - ๒.๐ -ศาสนา - - ๐.๕ - - ๐.๕ + ๑.๕* - - - - - - - - - - - - ๑.๐+๑.๕* ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ - - ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๓.๐ ๖. ศิลปะ ๑.๐ - - ๒.๐ - ๒.๐* - - - - - - - - ๓.๐* - - ๓.๐* ๓.๐+๘.๐* -นาฏศิลป์ ๑.๐ - - - - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๓.๐* -ทัศนศิลป์ - - - ๑.๐ - - - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๒.๐* -ดนตรี - - - ๑.๐ - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๓.๐* ๗. การงานอาชีพ ๐.๕ - - - - ๓.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* - - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๒.๐+๑ ๑.๐* ๘. ภาษาต่างประเทศ ๑.๐ - ๑.๐ ๒.๐ - ๑.๐ + ๔.๐** ๑.๐ - ๑.๐ + ๔.๐** ๒.๐ - ๑.๐ + ๔.๐** - ๑.๐ ๑.๐ + ๑.๐* + ๔.๐** - - ๑.๐+ ๔.๐** ๑๓.๐ + ๑.๐*+๔.๐** รวมหน่วยกิต ๙.๕ ๕.๕ ๑.๕ ๘.๕ ๗.๐ ๑.๕- ๓.๕ ๗.๐ ๖.๐ ๑.๐- ๓.๐ ๘.๐ ๖.๐ ๑.๐– ๓.๐ ๖.๐ ๕.๕ ๑.๐– ๓.๐ ๖.๐ ๑.๕ ๑.๐– ๓.๐ ไม่ต่ ากว่า๘๓.๕ ๑๖.๕ ๑๗.๐ ๑๔.๐+๒ ๑๕.๐+๒ ๑๒.๕+๒ ๘.๕+๒ รวมชั่วโมง ๖๔๐ ๕๖๐-๖๔๐ ๕๖๐-๖๔๐ ๕๖๐-๖๔๐ ๔๔๐-๕๒๐ ๑๖๐-๒๔๐ ๓,๒๔๐ - ๓,๓๒๐ รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเน้น ๒๘๕ ๒๘๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๑,๕๑๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ 420 กิจกรรมเสริมสมรรถนะ ๓๐ ๓๐ ๓๐ 90 รวมเวลาเรียนรายปี ๑,๙๔๐–๒,๐๒๐ ๑,๗๖๐–๑,๙๒๐ ๑,๒๔๐–๑,๔๐๐ รวมตลอดหลักสูตร ๔,๙๔๐-๕,๓๔๐ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ หมายเหตุ : รายวิชาพื้นฐาน จ านวน ๔๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๑ จ านวน ๓๑.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๒ บังคับ จ านวน ๗ หน่วยกิต *รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) เลือกหรือไม่เลือกก็ได้ **รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) ที่เปิดแบบไม่ระบุภาคเรียน 55
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ ๑. ภาษาไทย ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๖.๐ ๒. คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐* ๑๕.๐+๑.๐* ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๕ ๔.๐ - ๑.๐ ๕.๕ - ๒.๐ ๕.๕ ๑.๐* ๑.๐ ๖.๕ ๑.๐* ๑.๕ ๓.๕ ๒.๕* ๓.๐ - ๓.๐* ๓๖.๐+๔.๕* -ฟิสิกส์ - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - ๒.๐ - ๑.๕ ๒.๐ - ๑๑.๕ -เคมี - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - - ๑.๕ - ๑.๕ - - ๙.๐ -ชีววิทยา ๑.๕ ๑.๐ - - ๑.๕ - - ๑.๕ ๑.๕ - - - ๑.๕* - - ๑.๐* ๗+๒.๕* -วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ - - - - - - - - - - - - ๑.๕ - - - - ๑.๕ -เทคโนโลยี ๑.๐ - - ๑.๐ ๑.๐ - ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐* ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐* - - ๑.๐* - - - ๙.๐+๓.๐* ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒.๐ - ๐.๕ ๑.๐ - ๐.๕ + ๑.๕* ๑.๐ - - ๒.๐ - - ๒.๐ - - - - - ๙.๐+๑.๕* -สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๒.๐ - - - - - ๖.๐ -ประวัติศาสตร์ ๑.๐ - - - - - - - - ๑.๐ - - - - - - - - ๒.๐ -ศาสนา - - ๐.๕ - - ๐.๕ + ๑.๕* - - - - - - - - - - - - ๑.๐+๑.๕* ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ - - ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๓.๐ ๖. ศิลปะ ๑.๐ - - ๒.๐ - ๒.๐* - - - - - - - - ๓.๐* - - ๓.๐* ๓.๐+๘.๐* -นาฏศิลป์ ๑.๐ - - - - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๓.๐* -ทัศนศิลป์ - - - ๑.๐ - - - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๒.๐* -ดนตรี - - - ๑.๐ - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๓.๐* ๗. การงานอาชีพ ๐.๕ - - - - ๓.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* - - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๒.๐+๑ ๑.๐* ๘. ภาษาต่างประเทศ ๑.๐ - ๑.๐ ๒.๐ - ๑.๐ + ๔.๐** ๑.๐ - ๑.๐ + ๔.๐** ๒.๐ - ๑.๐ + ๔.๐** - ๑.๐ ๑.๐ + ๔.๐** - - ๑.๐ + ๔.๐** ๑๓.๐ + ๔.๐** รวมหน่วยกิต ๙.๕ ๕.๕ ๑.๕ ๘.๕ ๗.๐ ๑.๕- ๓.๕ ๗.๐ ๖.๐ ๑.๐- ๓.๐ ๘.๐ ๖.๐ ๑.๐– ๓.๐ ๖.๐ ๕.๕ ๑.๐– ๓.๐ ๖.๐ ๑.๕ ๑.๐– ๓.๐ ไม่ต่ ากว่า๘๓.๕ ๑๖.๕ ๑๗.๐ ๑๔.๐+๒ ๑๕.๐+๒ ๑๒.๕+๒ ๘.๕+๒ รวมชั่วโมง ๖๔๐ ๕๖๐-๖๔๐ ๕๖๐-๖๔๐ ๕๖๐-๖๔๐ ๔๔๐-๕๒๐ ๑๖๐-๒๔๐ ๓,๒๔๐ - ๓,๓๒๐ รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเน้น ๒๘๕ ๒๘๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๑,๕๑๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ 420 กิจกรรมเสริมสมรรถนะ ๓๐ ๓๐ ๓๐ 90 รวมเวลาเรียนรายปี ๑,๙๔๐–๒,๐๒๐ ๑,๗๖๐–๑,๙๒๐ ๑,๒๔๐–๑,๔๐๐ รวมตลอดหลักสูตร ๔,๙๔๐-๕,๓๔๐ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มวิชาชีพด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี หมายเหตุ : รายวิชาพื้นฐาน จ านวน ๔๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๑ จ านวน ๓๑.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๒ บังคับ จ านวน ๗ หน่วยกิต *รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) เลือกหรือไม่เลือกก็ได้ **รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) ที่เปิดแบบไม่ระบุภาคเรียน 56
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ ๑. ภาษาไทย ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๙.๐ ๒. คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๑.๕ - ๑.๐ ๑.๕ ๒.๐** ๑.๐ ๑.๕ ๒.๐** ๑.๐ ๑.๕ ๒.๐** ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐* + ๒.๐** ๑.๐ ๑.๕ ๒.๐** ๑๒.๐+๑.๐* +๒.๐** ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕.๕ - - ๑.๐ - - ๒.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๕ - ๑.๐* - - - ๑๑.๐+๑.๐* -ฟิสิกส์ ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -เคมี ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -ชีววิทยา ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ - - - - - - - - - - - - ๑.๕ - - - - - ๑.๕ -เทคโนโลยี ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๒.๐ - - ๑.๐ - - - - ๑.๐* - - - ๕.๐+๑.๐* ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒.๐ - ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ + ๑.๕* ๑.๐ - - ๒.๐ ๒.๐ - ๒.๐ ๒.๐ - - - - ๑๔.๐+๑.๕* -สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๐ - - ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ - - ๑.๐ ๒.๐ - ๒.๐ ๒.๐ - - - - ๑๑.๐ -ประวัติศาสตร์ ๑.๐ - - - - - - - ๑.๐ - - - - - - - - ๒.๐ -ศาสนา - - ๐.๕ - - ๐.๕ + ๑.๕* - - - - - - - - - - - ๑.๐+๑.๕* ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ - - ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๓.๕ ๖. ศิลปะ ๑.๐ - - ๒.๐ - ๒.๐* - - - - - - - - ๓.๐* - - ๓.๐* ๓.๐+๘.๐* -นาฏศิลป์ ๑.๐ - - - - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๓.๐* -ทัศนศิลป์ - - - ๑.๐ - - - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๒.๐* -ดนตรี - - - ๑.๐ - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๓.๐* ๗. การงานอาชีพ ๐.๕ - - - - ๓.๐* ๐.๕ ๑.๐ ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* - - ๒.๐* ๐.๕ ๑.๐ ๒.๐* ๔.๐+๑ ๑.๐* ๘. ภาษาต่างประเทศ ๑.๐ - ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ + ๔.๐** ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ + ๔.๐** ๒.๐ ๒.๐ ๑.๐ + ๔.๐** - - ๑.๐ + ๔.๐** - ๑.๐ ๑.๐ + ๔.๐** ๑๗.๐+๔.๐** รวมหน่วยกิต ๑๒.๕ ๒.๕ ๑.๕ ๘.๕ ๔.๕ ๑.๕- ๓.๕ ๗.๐ ๓.๕ ๑.๐- ๓.๐ ๘.๐ ๕.๕ ๑.๐- ๓.๐ ๖.๐ ๔.๕ ๑.๐- ๓.๐ ๓.๐ ๔.๕ ๑.๐ - ๓.๐ ไม่ต่ ากว่า๘๑.๐ ๑๖.๕ ๑๔.๕+๒.๐ ๑๑.๕+๒.๐ ๑๔.๕+๒.๐ ๑๑.๕+๒.๐ ๘.๕+๒.๐ รวมชั่วโมง ๖๔๐ ๕๒๐-๖๐๐ ๕๖๐-๖๔๐ ๕๖๐-๖๔๐ ๓๖๐-๔๔๐ ๒๘๐-๓๖๐ ๓,๒๔๐ - ๓,๓๒๐ รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเน้น ๒๘๕ ๒๘๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๑,๕๑๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๔๒๐ กิจกรรมเสริมสมรรถนะ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๙๐ รวมเวลาเรียนรายปี ๑,๙๐๐–๑,๙๘๐ ๑,๗๖๐–๑,๙๒๐ ๑,๒๘๐-๑,๔๔๐ รวมตลอดหลักสูตร ๔,๙๔๐–๕,๓๔๐ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มวิชาชีพด้านเศรษฐศาสตร์และผู้ประกอบการ หมายเหตุ : รายวิชาพื้นฐาน จ านวน ๔๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๑ จ านวน ๓๑.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๒ บังคับ จ านวน ๗ หน่วยกิต *รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) เลือกหรือไม่เลือกก็ได้ **รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) ที่เปิดแบบไม่ระบุภาคเรียน 57
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ ๑. ภาษาไทย ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑๑.๐ ๒. คณิตศาสตร์ ๑.๐ - - ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๖.๐+๑.๐** ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕.๕ - - ๑.๐ - - ๒.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๕ - ๑.๐* - - - ๑๑.๐+๑.๐* -ฟิสิกส์ ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -เคมี ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -ชีววิทยา ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ - - - - - - - - - - - - ๑.๕ - - - - - ๑.๕ -เทคโนโลยี ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๒.๐ - - ๑.๐ - - - - ๑.๐* - - - ๕.๐+๑.๐* ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒.๐ - ๐.๕ ๑.๐ ๒.๐ ๐.๕+ ๑.๕* ๑.๐ - - ๒.๐ ๒.๐ - ๒.๐ ๒.๐ - - ๑.๐ - ๑๖.๐+๑.๕* -สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๐ - - ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ - - ๑.๐ ๒.๐ - ๒.๐ ๒.๐ - - ๑.๐ - ๑๓.๐ -ประวัติศาสตร์ ๑.๐ - - - - - - - ๑.๐ - - - - - - - - ๒.๐ -ศาสนา - - ๐.๕ - - ๐.๕+ ๑.๕* - - - - - - - - - - - ๑.๐+๑.๕* ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ - - ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๓.๐ ๖. ศิลปะ ๑.๐ - - ๒.๐ - ๒.๐* - ๑.๐ . - - - - - ๓.๐* - - ๓.๐* ๔.๐+๘.๐* -นาฏศิลป์ ๑.๐ - - - - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๓.๐+๑.๐+๘.๐* -ทัศนศิลป์ - - - ๑.๐ - - - ๑.๐ - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* -ดนตรี - - - ๑.๐ - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๗. การงานอาชีพ ๐.๕ - - - - ๓.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* - - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๒.๐+๑๑.๐* ๘. ภาษาต่างประเทศ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐+ ๖.๐* +๔.๐** ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐+ ๕.๐* + ๔.๐** ๒.๐ ๒.๐ ๑.๐+ ๕.๐* + ๔.๐** - ๑.๐- ๒.๐ ๑.๐+ ๕.๐* + ๔.๐** - ๑.๐- ๒.๐ ๑.๐+ ๔.๐* + ๔.๐** ๑๙.๐+๒๕.๐*+ ๔.๐๐** รวมหน่วยกิต ๑๒.๕ ๒.๐ ๑.๕ ๘.๕ ๔.๐ ๑.๕- ๓.๕ ๗.๐ ๔.๐ ๑.๐- ๓.๐ ๘.๐ ๕.๐ ๑.๐- ๓.๐ ๖.๐ ๕.๐ ๑.๐- ๓.๐ ๓.๐ ๔.๐ ๑.๐ - ๓.๐ ไม่ต่ ากว่า๘๑.๐ ๑๖.๐ ๑๔.๐+๒.๐ ๑๒.๐+๒.๐ ๑๔.๐+๒.๐ (๑๑.๐+๑๒.๐)+๒.๐ (๗.๐+๘.๐)+๒.๐ รวมชั่วโมง ๖๔๐ ๕๖๐-๖๔๐ ๕๒๐-๖๐๐ ๕๒๐-๖๐๐ ๔๐๐-๔๘๐ ๒๔๐-๓๒๐ ๓,๒๔๐ - ๓,๒๘๐ รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเน้น ๒๘๕ ๒๘๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๑,๕๑๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๔๒๐ กิจกรรมเสริมสมรรถนะ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๙๐ รวมเวลาเรียนรายปี ๑,๙๔๐–๒.๐๒๐ ๑,๖๘๐–๑,๘๔๐ ๑,๒๘๐-๑,๔๔๐ รวมตลอดหลักสูตร ๔,๙๐๐–๕,๓๐๐ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มวิชาชีพด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หมายเหตุ : รายวิชาพื้นฐาน จ านวน ๔๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๑ จ านวน ๓๑.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๒ บังคับ จ านวน ๗ หน่วยกิต *รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) เลือกหรือไม่เลือกก็ได้ **รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) ที่เปิดแบบไม่ระบุภาคเรียน 58
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ ๑. ภาษาไทย ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑๑.๐ ๒. คณิตศาสตร์ ๑.๐ - - ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๖.๐+๑.๐** ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕.๕ - - ๑.๐ - - ๒.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๕ - ๑.๐* - - - ๑๑.๐+๑.๐* -ฟิสิกส์ ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -เคมี ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -ชีววิทยา ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ - - - - - - - - - - - - ๑.๕ - - - - - ๑.๕ -เทคโนโลยี ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๒.๐ - - ๑.๐ - - - - ๑.๐* - - - ๕.๐+๑.๐* ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒.๐ - ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕+ ๑.๕* ๑.๐ - - ๒.๐ ๒.๐ - ๒.๐ ๒.๐ - - - - ๑๔.๐+๑.๕* -สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๐ - - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ ๒.๐ - ๒.๐ ๒.๐ - - - - ๑๑.๐ -ประวัติศาสตร์ ๑.๐ - - - - - - - - ๑.๐ - - - - - - - - ๒.๐ -ศาสนา - - ๐.๕ - - ๐.๕ + ๑.๕* - - - - - - - - - - - - ๑.๐+๑.๕* ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ - - ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๓.๐ ๖. ศิลปะ ๑.๐ - - ๒.๐ - ๒.๐* - - - - - - - - ๓.๐* - - ๓.๐* ๓.๐+๘.๐* -นาฏศิลป์ ๑.๐ - - - - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๓.๐* -ทัศนศิลป์ - - - ๑.๐ - - - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๒.๐* -ดนตรี - - - ๑.๐ - ๑.๐* - - - - - - - - ๑.๐* - - ๑.๐* ๑.๐+๓.๐* ๗. การงานอาชีพ ๐.๕ - - - - ๓.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* - - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๒.๐+๑ ๑.๐* ๘. ภาษาต่างประเทศ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ + ๖.๐* + ๔.๐** ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ + ๓.๐* + ๔.๐** ๒.๐ ๒.๐ ๑.๐ + ๕.๐* + ๔.๐** - ๓.๐ ๑.๐ + ๓.๐* + ๔.๐** - ๓.๐ ๑.๐ + ๒.๐* + ๔.๐** ๒๓.๐+๑๙.๐*+๔.๐** รวมหน่วยกิต ๑๒.๕ ๒.๐ ๑.๕ ๘.๕ ๓.๐ ๑.๕– ๓.๕ ๗.๐ ๓.๐ ๑.๐ – ๓.๐ ๘.๐ ๕.๐ ๑.๐– ๓.๐ ๖.๐ ๖.๐ ๑.๐– ๓.๐ ๓.๐ ๔.๐ ๑.๐– ๓.๐ ไม่ต่ ากว่า๘๑.๐ ๑๖.๐ ๑๓.๐+๒.๐ ๑๑.๐+๒.๐ ๑๔.๐-๒.๐ ๑๓.๐+๒.๐ ๘.๐+๒.๐ รวมชั่วโมง ๖๔๐ ๕๒๐-๖๐๐ ๔๘๐-๕๖๐ ๕๒๐-๖๐๐ ๔๘๐-๕๖๐ ๒๘๐-๓๖๐ ๓,๒๔๐-๓,๓๒๐ รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเน้น ๒๘๕ ๒๘๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๑,๕๑๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๔๒๐ กิจกรรมเสริมสมรรถนะ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๙๐ รวมเวลาเรียนรายปี ๑,๙๐๐–๑,๙๘๐ ๑,๖๔๐–๑,๘๐๐ ๑,๔๐๐–๑,๕๖๐ รวมตลอดหลักสูตร ๔,๙๔๐ - ๕,๓๔๐ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มวิชาชีพด้านภาษาและการสื่อสาร หมายเหตุ : รายวิชาพื้นฐาน จ านวน ๔๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๑ จ านวน ๓๑.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๒ บังคับ จ านวน ๗ หน่วยกิต *รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) เลือกหรือไม่เลือกก็ได้ **รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) ที่เปิดแบบไม่ระบุภาคเรียน 59
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ พฐ พต.๑ พต.๒ ๑. ภาษาไทย ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ - ๑๑.๐ ๒. คณิตศาสตร์ ๑.๐ - - ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๑.๐ - ๑.๐** ๖.๐+๑.๐** ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.5 - - ๑.๐ - - ๒.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๕ - - - - - ๑๑.๐ -ฟิสิกส์ ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -เคมี ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -ชีววิทยา ๑.๕ - - - - - - - - - - - - - - - - ๑.๕ -วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ - - - - - - - - - - - - ๑.๕ - - - - - ๑.๕ -เทคโนโลยี ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - - - - - - - - - - ๓.๐ ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - - - - - - ๑.๐ - - ๑.๐ - - - - - - - - ๒.๐ -สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ๒.๐ - ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ + ๑.๕* ๑.๐ - - ๒.๐ ๒.๐ - ๒.๐ ๒.๐ - - - - ๑๔.๐+๑.๕* -ประวัติศาสตร์ ๑.๐ - - ๑.๐ ๑.๐ - ๑.๐ - - ๑.๐ ๒.๐ - ๒.๐ ๒.๐ - - - - ๑๑.๐ -ศาสนา ๑.๐ - - - - - - - - ๑.๐ - - - - - - - - ๒.๐ ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา - - ๐.๕ - - ๐.๕ + ๑.๕* - - - - - - - - - - - - ๑.๐+๑.๕* ๖. ศิลปะ ๐.๕ - - ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๐.๕ - ๑.๐** ๓.๐ -นาฏศิลป์ ๑.๐ - - ๒.๐ - ๒.๐* - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ ๓.๐* - ๑.๐ ๓.๐* ๗.๐+๘.๐* -ทัศนศิลป์ ๑.๐ - - - - ๑.๐* - ๑.๐ - - ๑.๐ - - ๑.๐ ๑.๐* - ๑.๐ ๑.๐* ๓.๐+๔.๐+๘.๐* -ดนตรี - - - ๑.๐ - - - - - - - ๑.๐* - ๑.๐* ๗. การงานอาชีพ - - - ๑.๐ - ๑.๐* - - - - - ๑.๐* - ๑.๐* ๘. ภาษาต่างประเทศ ๐.๕ - - - - ๓.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* - - ๒.๐* ๐.๕ - ๒.๐* ๒.๐+๑๑.๐* รวมหน่วยกิต ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ + ๔.๐** ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ + ๔.๐** ๒.๐ ๒.๐ ๑.๐ + ๔.๐** - ๑.๐ ๑.๐ + ๔.๐** - ๑.๐ ๑.๐ + ๔.๐** ๑๙.๐+๔.๐** ๑๒.๕ ๒.๐ ๑.๕ ๘.๕ ๓.๐ ๑.๕– ๓.๕ ๗.๐ ๔.๐ ๑.๐– ๓.๐ ๘.๐ ๖.๐ ๑.๐– ๓.๐ ๖.๐ ๕.๐ ๑.๐- ๓.๐ ๓.๐ ๒.๐ ๑.๐– ๓.๐ ไม่ต่ ากว่า๘๑.๐ รวมชั่วโมง ๑๕.๐ ๑๓.๐+๒.๐ ๑๒.๐+๒.๐ ๑๕.๐+๒.๐ ๑๒.๐+๒.๐ ๗.๐+๒.๐ รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเน้น ๒3๕ ๒3๕ ๒3๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๒๓๕ ๑,๕๑๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๔๒๐ กิจกรรมเสริมสมรรถนะ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๙๐ รวมเวลาเรียนรายปี ๑,๙๐๐–๑,๙๘๐ ๑,๗๒๐–๑,๘๘๐ ๑,๓๒๐–๑,๔๘๐ รวมตลอดหลักสูตร ๔,๙๔๐–๕,๓๔๐ โครงสร้างหลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มวิชาชีพด้านสุนทรียะและการสร้างสรรค์ หมายเหตุ : รายวิชาพื้นฐาน จ านวน ๔๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๑ จ านวน ๓๑.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ๒ บังคับ จ านวน ๗ หน่วยกิต *รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) เลือกหรือไม่เลือกก็ได้ **รายวิชาเพิ่มเติม ๒ (เลือกเสรี) ที่เปิดแบบไม่ระบุภาคเรียน 60
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและกิจกรรมเสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นการจัดกิจกรรมอิงตามกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดอย่างเป็นกระบวนการด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้ ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง มีความหมายและมีคุณค่าในการพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม มุ่งเสริมเจตคติ คุณค่าชีวิต ปลูกฝังคุณธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีกระบวนการคิด มีทักษะในการด าเนินชีวิตที่เหมาะสม สร้างจิตส านึกในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปรับตัวและปฏิบัติตนให้เป็น ประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติและด ารงชีวิตได้อย่างมีความสุข รูปแบบและวิธีการแบ่งเป็น ๓ ลักษณะ คือ ๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่าง บุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตน มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สามารถตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ ในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างเหมาะสม เป็นผู้ที่ประสบความส าเร็จในการศึกษาและการประกอบอาชีพ เป็นก าลัง ส าคัญของสังคมและประเทศชาติ สามารถด ารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยมีลักษณะงานแนะแนว ดังนี้ ๑.๑ จัดคาบกิจกรรมแนะแนวเพื่อให้ครูได้รู้จักผู้เรียนมากขึ้น สามารถส่งเสริมและป้องกัน ปัญหาของผู้เรียนทุกคนให้ได้รับการพัฒนาทักษะการด าเนินชีวิตในด้านต่าง ๆ เช่น การรู้จักรักและเห็นคุณค่า ในตนเองและผู้อื่น มีทักษะการคิดตัดสินใจ ทักษะการปรับตัว การวางแผนชีวิต รวมทั้งการสร้างคุณธรรม จริยธรรมที่ส าคัญ ได้แก่ ความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัดและอดทนอดกลั้น โดยมีฝ่ายแนะแนวร่วมมือกับอาจารย์ ที่ปรึกษาประจ าชั้นในการวางแผนและด าเนินกิจกรรมคาบแนะแนว ๑.๒ การจัดบริการแนะแนวให้ครบทั้ง ๕ งานหลัก คือ งานศึกษารวบรวมข้อมูล งานสารสนเทศ งานให้ค าปรึกษา งานป้องกัน ส่งเสริม พัฒนา ช่วยเหลือ งานติดตามและประเมินผล ๑.๓ ประสานงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้น ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อร่วมมือในการดูแล ช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียน ๑.๔ การบูรณาการการแนะแนวในการเรียนการสอน เป็นการน าเทคนิควิธีการทางจิตวิทยา และการแนะแนวมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติผู้เรียนแต่ละคน แต่ละกลุ่ม โดยเน้นให้ครู ได้รู้จักและเข้าใจผู้เรียนทั้งในด้านพัฒนาการตามวัย พฤติกรรม และสาเหตุของพฤติกรรม วิธีการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ซึ่งจะท าให้ครูมีแนวทางในการช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าในสาระวิชาต่าง ๆ เกิด แรงจูงใจ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเรียนรู้และเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด 61
บทบาทที่ส าคัญของกิจกรรมแนะแนวในหลักสูตรหลักสูตรเสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๖๕ คือ นอกจากจะจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ค้นพบความชอบ ความถนัด ความสนใจ รวมถึงศักยภาพของตนเองของผู้เรียนแต่ละคนแล้วนั้น การให้ความรู้ความเข้าใจเรื่อง โลกของอาชีพเป็นเรื่องที่มีความส าคัญ ถ้าผู้เรียนสามารถเข้าใจโลกของตนเอง โลกของการศึกษา และโลกของอาชีพได้เร็วเท่าไหร่ การตัดสินใจเลือกเข้าสู่กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพต่าง ๆ ก็จะเร็วและถูกต้อง เหมาะสมกับผู้เรียนเท่านั้น นอกจากนั้นแล้ว ฝ่ายแนะแนวจะต้องประสานความร่วมมือกับอาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้น ในการดูแลให้การปรึกษา ให้ค าแนะน าแก่ผู้เรียน ในการเลือกลงทะเบียนรายวิชาต่าง ๆ เลือกกิจกรรม เสริมสมรรถนะ ให้มีความเหมาะสมลงตัวกับกลุ่มวิชาชีพที่เรียน ความถนัด ความสนใจ ของผู้เรียน และ ครบถ้วนตามหลักสูตรก าหนด ๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองอย่างครบวงจร ตั้งแต่ ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและการปรับปรุงการท างาน โดยเน้นการท างานร่วมกัน เป็นกลุ่ม ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้ ๒.๑ กิจกรรมชุมนุม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถจัดกลุ่มเพื่อเสนอตั้งชุมนุมต่าง ๆ ได้ตาม ความเหมาะสม โดยให้กิจกรรมในแต่ละชุมนุมมีความสอดคล้องกับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของโรงเรียน เช่น ชุมนุมวิชาการ ชุมนุมรักการอ่าน ชุมนุมออกก าลังกาย ชุมนุมศิลปะการแสดง เป็นต้น ๒.๒ กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นการปลูกฝังระเบียบวินัย กฎเกณฑ์ และ การอยู่ร่วมกัน ๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบ าเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชนและท้องถิ่นตามความสนใจ ในลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์ สังคม เป็นต้น นอกจากกิจกรรมดังกล่าวแล้ว ฝ่ายกิจการนักเรียนยังได้จัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย เช่น การอบรมวินัยช่วงกิจกรรมหน้าเสาธง การเชิญวิทยากรอบรมความรู้ ในเรื่องต่าง ๆ เช่น กฎจราจร การคบเพื่อนต่างเพศ การป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด รวมทั้งกิจกรรม ตามโครงการที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองและบ าเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม เช่น โครงการเนื่องในโอกาส วันส าคัญต่าง ๆ โครงการสาธารณประโยชน์ ผู้เรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมและด าเนินกิจกรรมในหน้าที่ตามความสนใจและความถนัด เมื่อสิ้นสุดโครงการจะมีการประเมินผลผู้เรียนและประเมินผลโครงการ โดยผู้ประเมินจะประกอบด้วยผู้เรียน ครูและผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ ประเมินตามแบบประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแล้วสรุปเป็นรายงาน เสนอโรงเรียน ในส่วนของคาบกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมลูกเสือและผู้บ าเพ็ญประโยชน์ ผู้เรียน จะต้องเข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนและประเมินผลตามจุดประสงค์ของแต่ละกิจกรรม จึงจะประเมินผลรวมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนว่า ผ่าน หรือ ไม่ผ่าน 62
ส าหรับกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เพื่อพิจารณาจิตสาธารณะนั้น ผู้เรียนจะต้อง เข้าร่วมกิจกรรมให้ครบถ้วนตามจ านวนชั่วโมงที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก าหนด คือ ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น (๓ ปี) จ านวน ๔๕ ชั่วโมง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (๓ ปี) จ านวน ๖๐ ชั่วโมง กิจกรรมเสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ กิจกรรมเสริมสมรรถนะ ๖ กลุ่มวิชาชีพ มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรักมีศักยภาพ และเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพที่ตนถนัดและสนใจ เพื่อเป็นก าลังส าคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติในอนาคต ลักษณะกิจกรรมเสริมสมรรถนะประกอบด้วย ๑. การฟังบรรยายพิเศษจากวิทยากร ๒. การเยี่ยมชมสถานประกอบการ ๓. การเข้าร่วม หรือจัดโครงการ/ค่ายทางวิชาการ หรือโครงการ/ค่ายทางวิชาชีพ หรือโครงการ พัฒนาทักษะอื่น ๆ ๔. การฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ หน่วยงาน องค์กร ๕. การทัศนศึกษาดูงาน ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสมรรถนะ ไม่น้อยกว่า ๔ กิจกรรมต่อปีหรือ ๑๒ กิจกรรมตลอด หลักสูตร และไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อปีหรือ ๙๐ ชั่วโมงตลอดหลักสูตร ชั้น จุดมุ่งหมาย ลักษณะกิจกรรม ม.๔-๖ - เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แหล่งประกอบการในสายวิชาชีพที่ หลากหลาย การฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ หน่วยงาน องค์กร - เพื่อเปิดโลกทัศน์ผู้เรียนในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ จากการเยี่ยมชม สถานที่ประกอบการ พบเห็นสภาพการท างานในสาขาวิชาชีพ นั้น ๆ - เพื่อค้นพบวิชาชีพที่สนใจ การเยี่ยมชมสถานประกอบการ - เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะของผู้เรียนตามสาขา วิชาชีพนั้น ๆ การเข้าร่วมหรือจัด - โครงการ/ค่ายทางวิชาการ หรือ - โครงการ/ค่ายทางวิชาชีพ หรือ - โครงการพัฒนาทักษะอื่น ๆ - เพื่อให้ผู้เรียนได้สัมผัสบรรยากาศและลงมือปฏิบัติจริงในสถาน ประกอบการ การฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ หน่วยงาน องค์กร - เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แหล่งประกอบการในสายวิชาชีพที่ หลากหลาย การทัศนศึกษา - เพื่อให้ผู้เรียนเตรียมความพร้อมทุกด้านในการศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษา การเตรียมความพร้อมในการเข้า ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย 63
กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและกิจกรรมเสริมสมรรถนะ จากเป้าหมายการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ที่มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานที่เข้มแข็งในการเรียนรู้ต่อไปในระดับที่สูงขึ้นในสาขาวิชาชีพที่ถนัด และ สนใจ มีทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตในอนาคต เช่น มีทักษะการเรียนรู้ที่ตลอดชีวิต มีทักษะการคิดและ แก้ปัญหา มีทักษะการสื่อสารและการท างานร่วมกับผู้อื่น กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะแห่งอนาคต เกิดสมรรถนะ ทั้ง ๖ ด้าน อันได้แก่ การจัดการตนเอง การคิดขั้นสูง การสื่อสาร การรวมพลังท างานเป็นทีม การเป็นพลเมือง ที่เข้มแข็ง การอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน เป็นผู้เรียนที่คิดได้ ท าเป็น เห็นคุณค่า ผ่านการเรียนรู้เนื้อหาสาระต่าง ๆ ผ่านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ดีของครู นอกจากนี้ในการส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความสมบูรณ์ทั้งด้านสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ สังคม มีคุณธรรมจริยธรรม มีความกตัญญูกตเวที มีความรักชาติ ภูมิใจในความเป็นไทย และมีจิตมุ่งที่จะตอบแทน ประเทศชาติ การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนซึ่งจัดให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนรายวิชาต่าง ๆ และ กิจกรรมเสริมสมรรถนะในสาขาวิชาชีพที่ถนัดและสนใจโดยอาศัยความร่วมมือของคณาจารย์ในโรงเรียน คณาจารย์ในมหาวิทยาลัย ชุมชน ศิษย์เก่า และผู้ปกครอง มุ่งเน้นการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสถานการณ์จริง ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน 64
การวัดผลและการประเมินผล การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินผู้เรียนทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลด้วยวิธีการ ที่มีความหลากหลาย และมีการให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง การวัดและประเมินผลการเรียนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มีจุดมุ่งหมาย ๓ ประการ คือ ๑. เพื่อน าผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียน ๒. เพื่อใช้ในการปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ๓. เพื่อใช้ในการตัดสินความส าเร็จในการเรียนของผู้เรียนด้วยวิธีการและเครื่องมือวัดที่หลากหลาย เหมาะสมกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังตามสภาพจริง ภารกิจด้านการวัดและประเมินผลของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ครอบคลุมการประเมินผล ๔ ด้าน โดยมีแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ ๑. การประเมินความรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ ๑.๑ ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ ๑.๒ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก าหนด ๑.๓ ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา ๑.๔ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก าหนด ในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในการตัดสินผลการเรียนแต่ละรายวิชา ใช้ตัวเลขแสดงผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ ๔ ดีเยี่ยม ๘๐.๐๐-๑๐๐.๐๐ ๓.๕ ดีมาก ๗๕.๐๐-๗๙.๙๙ ๓ ดี ๗๐.๐๐-๗๔.๙๙ ๒.๕ ค่อนข้างดี ๖๕.๐๐-๖๙.๙๙ ๒ ปานกลาง ๖๐.๐๐-๖๔.๙๙ ๑.๕ พอใช้ ๕๕.๐๐-๕๙.๙๙ ๑ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ า ๕๐.๐๐-๕๔.๙๙ ๐ ต่ ากว่าเกณฑ์ ๐๐.๐๐-๔๙.๙๙ 65
๒. การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน มีระดับผลการประเมินเป็นดีเยี่ยม ดี ผ่าน และ ไม่ผ่าน โดยใช้ฐานนิยม ๓. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีระดับผลการประเมินเป็นดีเยี่ยม ดี ผ่าน และ ไม่ผ่าน โดยใช้ฐานนิยม ๔. การประเมินกิจกรรม ๔.๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก าหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไม่ผ่าน ๔.๒ กิจกรรมเสริมสมรรถนะ จะต้องเข้าร่วมไม่น้อยกว่า ๔ กิจกรรมต่อปีหรือ ๑๒ กิจกรรม ตลอดหลักสูตร และไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อปีหรือ ๙๐ ชั่วโมงตลอดหลักสูตร และให้ผลการเข้าร่วม กิจกรรมเป็นผ่าน และไม่ผ่าน การเทียบโอนผลการเรียน/การเปลี่ยนกลุ่มวิชาชีพ โรงเรียนสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนได้ในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคัน การขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อจาก การศึกษาในต่างประเทศ และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศหรือการเทียบโอนความรู้ทักษะประสบการณ์จาก แหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษา โดยครอบครัว เป็นต้น การเทียบโอนผลการเรียน ควรด าเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนหรือต้นภาคเรียน การพิจารณาการเทียบโอน/การเปลี่ยนแปลงกลุ่มวิชาชีพ สามารถด าเนินการได้ ดังนี้ ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอื่น ๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ความสามารถของ ผู้เรียน ๒. พิจารณาจากความรู้ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้ และภาคทฤษฎี ๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง 66
โดยมีแนวทางการเทียบโอน/การเปลี่ยนแปลงกลุ่มวิชาชีพ ดังนี้ ๑. กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ให้น ารายวิชาหรือหน่วยกิตที่มีมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/เนื้อหา ที่สอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ มาเทียบโอนผล การเรียนและพิจารณาให้ระดับผลการเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่รับเทียบโอน ๒. กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ให้พิจารณาจากเอกสารหลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มีการประเมินด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและให้ระดับผลการเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่รับ เทียบโอน ๓. กรณีการเทียบโอนผู้เรียนที่เข้าโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศให้ด าเนินการตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักการและแนวปฏิบัติการเทียบชั้นการศึกษาส าหรับผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ แลกเปลี่ยน ๔. กรณีผู้เรียนขอเปลี่ยนกลุ่มวิชาชีพต้องได้รับการอนุญาตจากผู้ปกครองและผ่านความเห็นชอบ จากอาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้น ๕. ผู้เรียนที่มีความประสงค์จะขอเปลี่ยนกลุ่มวิชาชีพต้องผ่านการลงทะเบียนเรียนในกลุ่มวิชาชีพที่ เลือกเรียนก่อนหน้านี้อย่างน้อย ๑ ภาคเรียน จึงจะสามารถขอเปลี่ยนกลุ่มวิชาชีพใหม่ ๖. การยื่นค าร้องขอเปลี่ยนกลุ่มวิชาชีพ สามารถยื่นค าร้องได้ไม่เกิน ๒ ครั้ง ตลอดหลักสูตร โดย สามารถยื่นค าร้องในสัปดาห์แรกของภาคเรียนที่ ๒ ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ หรือสัปดาห์แรกของภาคเรียนที่ ๑ ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เท่านั้น ๗. ผู้เรียนในกลุ่มวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและกลุ่มวิชาชีพด้านวิศวกรรมศาสตร์และ เทคโนโลยี สามารถขอเปลี่ยนไปกลุ่มวิชาชีพอื่นได้ทุกกลุ่ม ๘. ผู้เรียนในกลุ่มวิชาชีพด้านเศรษฐศาสตร์และผู้ประกอบการ กลุ่มวิชาชีพด้านมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ กลุ่มวิชาชีพด้านภาษาและการสื่อสาร และกลุ่มวิชาชีพด้านสุนทรียะและการสร้างสรรค์ สามารถขอเปลี่ยนกลุ่มวิชาชีพระหว่างกันได้เท่านั้น ๙. การเข้าเรียนในกลุ่มวิชาชีพใหม่สามารถนับหน่วยกิตรายวิชาเพิ่มเติม ๑ จากกลุ่มวิชาชีพเดิมได้ ๑๐. การค านวณคะแนนเฉลี่ยจะน าผลการเรียนเดิมและผลการเรียนในกลุ่มวิชาชีพใหม่มาใช้ในการ ค านวณ ๑๑. ผู้เรียนที่เปลี่ยนกลุ่มวิชาชีพต้องมีหน่วยกิตในรายวิชาพื้นฐานจ านวน ๔๕ หน่วยกิต และรายวิชา เพิ่มเติมไม่ต่ ากว่า ๓๖ หน่วยกิต จึงจะจบหลักสูตร วิธีการเทียบโอนผลการเรียนหรือการเปลี่ยนกลุ่มวิชาชีพของผู้เรียนให้เป็นไปตามหลักการและ แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเทียบโอนผลการเรียน การศึกษาขั้นพื้นฐาน และให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารและวิชาการโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบ 67
เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ผู้เรียนจะส าเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จะต้องลงทะเบียนเรียน และได้หน่วยกิตในรายวิชาต่าง ๆ ตลอดจนผ่านการประเมินคุณลักษณะและเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ลงทะเบียนเรียนและได้หน่วยกิตในรายวิชาพื้นฐานจ านวน ๔๕.๐ หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติม จ านวนไม่ต่ ากว่า ๓๖.๐ หน่วยกิตรวมทั้งสิ้นไม่ต่ ากว่า ๘๑.๐ หน่วยกิต ๒. ผ่านการประเมินความสามารถด้านการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก าหนด ๓. ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทั้งการมีจิตสาธารณะที่รับใช้สังคมตามเกณฑ์ที่ โรงเรียนก าหนด ๔. ผ่านการประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและกิจกรรมเสริมสมรรถนะตามเกณฑ์ที่ โรงเรียนก าหนด 68
หลักสูตรโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๖๗ หลักการของหลักสูตร มุ่งเน้น ๑. การพัฒนานักเรียนด้านทักษะความรู้ สติปัญญา และคุณธรรมจริยธรรม ๒. การจัดสาระการเรียนรู้ให้ครอบคลุมหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ. ศ. ๒๕๕๑ และ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ. ศ. ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ของกระทรวงศึกษาธิการ ๓. การจัดสาระการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมให้หลากหลาย สอดคล้องกับศักยภาพ ความถนัด และ ความสนใจของนักเรียนเป็นรายบุคคล ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้นักเรียนเลือกเรียนรายวิชาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากสถานศึกษา สถาบัน อุดมศึกษา ศูนย์วิจัยและสถานประกอบการทั้งในและต่างประเทศ ๔. การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลาย ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อพัฒนานักเรียน ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามอุดมการณ์และเป้าหมายในการพัฒนานักเรียน ๕. ส่งเสริมการประดิษฐ์ คิดค้น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และการท าโครงงาน โดยก่อนส าเร็จ การศึกษาตามหลักสูตร นักเรียนต้องน าเสนอผลการท าโครงงานอย่างน้อย ๑ เรื่อง ทั้งนี้ โรงเรียนจัดให้ นักเรียนได้เรียนรู้และท าโครงงานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับบริบทของ ท้องถิ่น เป็นความโดดเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้แก่ ด้านเทคโนโลยียาง อาหารฟังก์ชั่น เกษตรและประมง เทคโนโลยีดิจิทัล เชื้อเพลิงและเคมีชีวภาพ โดยอาจารย์/บุคลากร จากคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะศึกษาศาสตร์ สนับสนุนในด้านการพัฒนาครูผู้สอนของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) และท าหน้าที่เป็นอาจารย์พี่เลี้ยงแก่นักเรียนในการฝึก ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังเป็นที่ปรึกษาหลักในรายวิชาโครงงานของนักเรียนอีกด้วย เพื่อสร้าง เสริมความอดทน มุ่งมั่นในการเรียนรู้ในสิ่งรอบตัวท าให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และทักษะทาง วิทยาศาสตร์ มีความมั่นใจในตนเองจนสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นผู้น าในสังคม โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีความฉลาดในการเข้าสังคม สามารถน าพาประเทศสู่สังคมโลก อย่างภาคภูมิ เป็นไปตามอัตลักษณ์ของคู่ศูนย์ที่ว่า “วมว. สาธิต หล่อหลอมกระบวนการคิด นักวิทย์จิตอาสา” โครงสร้างหลักสูตร การจัดสาระการเรียนรู้และหน่วยกิตในห้องเรียนวิทยาศาสตร์ให้เป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ของกระทรวงศึกษาธิการ และออกแบบรายวิชาเพิ่มเติมเป็นวิชาเลือกตามศักยภาพ ความถนัดและความสนใจโดยเน้นด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี และสอดคล้องกับความโดดเด่น ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งนี้เพื่อให้มีความสอดคล้องกับหลักการและเหตุผลในการจัดตั้งห้องเรียน วิทยาศาสตร์ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมทั้งเพิ่มเติมวิชาภาษาอังกฤษให้เข้มข้นมากขึ้น 69
รายวิชาพื้นฐาน นักเรียนจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาพื้นฐานของกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ให้ ครบ จ านวน ๔๕ หน่วยกิต ครอบคลุมสาระการเรียนรู้วิชาพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๖๐) ของกระทรวงศึกษาธิการ โดยนักเรียนต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาพื้นฐานของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ครบทุกรายวิชา และต้องได้รับการประเมินผลการเรียนแต่ละรายวิชาตั้งแต่ ๒.๐๐ ขึ้นไป ดังแสดงในตาราง ๑ ตาราง จ านวนหน่วยกิตรายวิชาพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จ านวนหน่วยกิต ๑) ภาษาไทย ๖.๐ ๒) คณิตศาสตร์ ๖.๐ ๓) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๑.๐ - ฟิสิกส์ (๑.๕) -เคมี (๑.๕) -ชีววิทยา (๑.๕) -วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (๑.๕) -เทคโนโลยี (๕.๐) ๔) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘.๐ ๕) สุขศึกษาและพลศึกษา ๓.๐ ๖) ศิลปะ ๓.๐ ๗) การงานอาชีพ ๒.๐ ๘) ภาษาต่างประเทศ ๖.๐ รวม ๔๕.๐ 70
รายวิชาเพิ่มเติมกลุ่มที่ ๑ เป็นรายวิชาที่เสริมรายวิชาพื้นฐาน โดยเพิ่มเติมสาระการเรียนรู้ให้สูงขึ้นตามศักยภาพ ความถนัด และความสนใจ เพื่อให้นักเรียนได้เพิ่มพูนความรู้พื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ ฝึกทักษะกระบวนการแก้ปัญหา การเตรียมความพร้อมการเป็นนักวิจัย นักเรียนได้รับการ พัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ ตามอุดมการณ์ และเป้าหมาย การพัฒนานักเรียน จึงก าหนดรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มที่ ๑ ให้นักเรียนได้ศึกษาจ านวน ๔๕.๕ หน่วยกิต ในจ านวนนี้ เป็นรายวิชาในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์ และ ภาษาต่างประเทศ ดังแสดงในตาราง ตาราง จ านวนหน่วยกิตรายวิชาเพิ่มเติมกลุ่มที่ ๑ ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ /สาขาวิชา จ านวนหน่วยกิต ๑) คณิตศาสตร์ ๙.๐ ๒) วิทยาศาสตร์ ๒๗.๕ - ฟิสิกส์ (๘.๐) -เคมี (๗.๕) -ชีววิทยา (๘.๐) -เทคโนโลยี (๔.๐) ๓) ภาษาต่างประเทศ ๙.๐ - ภาษาอังกฤษ (๗.๐) - ภาษาต่างประเทศที่ ๒ (เลือก ๑ ภาษา) (๒.๐) รวม ๔๕.๕ 71
รายวิชาเพิ่มเติมกลุ่มที่ 2 เป็นรายวิชาที่เสริมการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมกลุ่มที่ ๑ เปิดโอกาสให้นักเรียนเลือก เรียนตามศักยภาพ ความถนัดและความสนใจ นักเรียนต้องเลือกลงทะเบียนเรียนรายวิชาในกลุ่มนี้ ไม่ต่ ากว่า ๗.๕ หน่วยกิต จากวิชาต่าง ๆ ซึ่งเป็นความโดดเด่นของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบด้วยรายวิชาในกลุ่ม สาขาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาขาเทคโนโลยียาง และพอลิเมอร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ กลุ่มสาขาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม และการศึกษา ค้นคว้าอิสระ รวมถึงรายวิชาการเรียนล่วงหน้า (Advance Placement Program : AP) ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ดังแสดงในตาราง ตาราง จ านวนหน่วยกิตรายวิชาเพิ่มเติมกลุ่มที่ ๒ ล าดับที่ รายวิชา หน่วยกิต ๑ เทคโนโลยีดิจิทัล 1 ๐.๕ ๒ ทรัพยากรทางน้ าและชายฝั่งทะเล ๐.๕ ๓ เทคโนโลยีดิจิทัล 2 ๐.๕ ๔ โครงร่างวิจัย ๐.๕ ๕ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร ๐.๕ ๖ เทคโนโลยีชีวภาพ ๐.๕ ๗ การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 1 ๑.๐ ๘ วัสดุยางและพอลิเมอร์ในอนาคต ๐.๕ ๙ การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 2 ๑.๐ ๑๐ อาหารฟังก์ชั่นและโภชนเภสัชภัณฑ์ ๐.๕ ๑๑ เชื้อเพลิงและพลังงาน ๐.๕ ๑๒ นวัตกรรม ๑.๐ รวม ๗.๕ 72
ตาราง การจัดหน่วยกิตรายวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติมในการเรียนภาคเรียนต่าง ๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต รายวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติมกลุ่มที่ ๑ ๑. ภาษาไทย ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๖.๐ ๒. คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๕ ๑๕.๐ ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๕ ๔ ๑.๐ ๕.๕ ๒.๐ ๕.๕ ๑.๐ ๕.๕ ๑.๕ ๕.๐ ๓.๐ ๒.๐ ๓๘.๕ - ฟิสิกส์ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๒.๐ ๑.๕ - ๙.๕ - เคมี - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ ๑.๕ - ๙.๐ - ชีววิทยา ๑.๕ ๑.๐ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๕ - ๑.๐ ๙.๕ - วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ - - - - - - - - ๑.๕ - - - ๑.๕ - เทคโนโลยี ๑.๐ - ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ - - - ๑.๐ ๙.๐ ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ๒.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๒.๐ - ๒.๐ - - - ๘.๐ - สังคมศึกษา ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๑.๐ - ๒.๐ - - - 6.0 - ประวัติศาสตร์ ๑.๐ - - - - - ๑.๐ - - - - - ๒.๐ ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๐.๕ - ๓.๐ ๖. ศิลปะ ๑.๐ - ๒.๐ - - - - - - - - - ๓.๐ ๗. การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ๐.๕ - - - ๐.๕ - ๐.๕ - - - ๐.๕ - ๒.๐ ๘. ภาษาต่างประเทศ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ - ๓.๐ - ๒.๐ ๑๕.๐ - ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ - ๒.๐ - ๑.๐ ๑๓.๐ - ภาษาต่างประเทศที่ ๓ - - - - - - - - - ๑.๐ - ๑.๐ ๒.๐ 73
ตาราง การจัดหน่วยกิตรายวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติมในการเรียนภาคเรียนต่าง ๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รวม ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต - ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๑.๐ - ๒.๐ - ๑.๐ ๑๓.๐ - ภาษาต่างประเทศที่ ๓ - - - - - - - - - ๑.๐ - ๑.๐ ๒.๐ รายวิชาเพิ่มเติมกลุ่มที่ ๒ / AP ๑. วัสดุยางและพอลิเมอร์ใน อนาคต - - - - - - - ๐.๕ - - - - ๐.๕ ๒. อาหารฟังก์ชั่น และโภชนเภสัช ภัณฑ์ - - - - - - - - - ๐.๕ - - ๐.๕ ๓. เทคโนโลยีดิจิทัล 1 - ๐.๕ - - - - - - - - - - ๐.๕ ๔. เทคโนโลยีดิจิทัล 2 - - - ๐.๕ - - - - - - - - ๐.๕ ๕. เชื้อเพลิงและพลังงาน - - - - - - - - - ๐.๕ - - ๐.๕ ๖. เทคโนโลยีชีวภาพ - - - - - ๐.๕ - - - - - - ๐.๕ ๗. ทรัพยากรทางน้ าและชายฝั่ง ทะเล - ๐.๕ - - - - - - - - - - ๐.๕ ๘. การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ๑ - - - - - ๑.๐ - - - - - - ๑.๐ ๙. การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ๒ - - - - - - - ๑.๐ - - - - ๑.๐ ๑๐. โครงร่างวิจัย - - - ๐.๕ - - - - - - - - ๐.๕ ๑๑. นวัตกรรม - - - - - - - - - - - ๑.๐ ๑.๐ ๗. การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ๐.๕ - - - ๐.๕ - ๐.๕ - - - ๐.๕ - ๒.๐ ๑๒.เทคโนโลยีและนวัตกรรม การเกษตร - - - ๐.๕ - - - - - - - - ๐.๕ ๑๓. รายวิชาการเรียนล่วงหน้า(AP) ลงทะเบียนเรียนร่วมกับนักศึกษา ตามความสนใจ รวม ๙.๕ ๗.๕ ๘.๕ ๙.๕ ๗.๐ ๙.๕ ๘.๐ ๙.๕ ๖.๐ ๑๐.๕ ๖.๐ ๖.๕ ๙๘ รวมหน่วยกิต ๑๗.๐ ๑๘.๐ ๑๖.๕ ๑๗.๕ ๑๖.๕ ๑๒.5 98 74
75
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีเป้าหมายในการพัฒนานักเรียน โครงการ วมว. โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีความสามารถพิเศษ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รักการเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะพื้นฐานการด ารงชีวิต มี คุณธรรม จริยธรรม มีจิตส านึกในความเป็นไทยมีจิตสาธารณะหรือจิตอาสา สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข แบ่งออกเป็น ๔ กิจกรรมย่อย คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมบ าเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมเสริมประสบการณ์พิเศษ ๑. กิจกรรมแนะแนว 1.1 กิจกรรม Home room เป็นกิจกรรมที่จัดให้นักเรียนได้พบปะอาจารย์ที่ปรึกษาประจ าชั้น สัปดาห์ละ 1 คาบ เพื่อปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแจ้งข้อมูลข่าวสาร การตักเตือน ดูแลความ ประพฤติของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อแก้ไขปรับพฤติกรรมและพัฒนาตนเอง กิจกรรมนี้ท าให้เกิด ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับศิษย์ 1.2 กิจกรรมแนะแนวอาชีพและการศึกษาต่อ เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นโดยฝ่ายแนะแนว นักเรียนจะได้พบอาจารย์ฝ่ายแนะแนว สัปดาห์ละ ๑ คาบ เพื่อท ากิจกรรมแนะแนวที่มุ่งเน้นส่งเสริมทักษะใน การเรียน รวมถึงการแก้ปัญหาความเครียดในการเรียน แนวทางการศึกษาต่อ การเสริมสร้างเจตคติต่อการ เรียนวิทยาศาสตร์ เป็นต้น 1.3 กิจกรรมการพัฒนาบุคลิกภาพและความฉลาดทางอารมณ์ เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้น เพื่อ เสริมสร้างการพัฒนาบุคลิกภาพและความฉลาดทางอารมณ์ ให้กับนักเรียนห้องเรียนวิทยาศาสตร์ โครงการ วมว. จัดโดยฝ่ายแนะแนว โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) รูปแบบกิจกรรมเน้นการพัฒนาด้าน EQ เช่น กิจกรรมรวมพลังสู่เป้าหมาย เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นเรื่องการปรับตัวในเรื่องการเรียน การท างาน ร่วมกับผู้อื่น ความสามัคคีในหมู่คณะ เป็นต้น 76
๒. กิจกรรมนักเรียน 2.1 กิจกรรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมพื้นฐานแก่นักเรียน ให้สามารถปรับตัวและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมี ความสุข 2.2 กิจกรรมกีฬาและนันทนาการ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีลักษณะนิสัยในการดู และสุขภาพอนามัยของตัวเอง ทั้งยังให้สุขภาพแข็งแรงอยู่เสมอ 2.3 กิจกรรมวันส าคัญ เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ตระหนักถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ ธ ารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย ศรัทธาและยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 2.4 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนรู้จักเลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่า ส่งเสริมจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาบุคลิกภาพและความฉลาดทาง อารมณ์ 2.5 กิจกรรมชุมนุม เป็นกิจกรรมที่เกิดจากการสร้างสรรค์ และออกแบบกิจกรรมของนักเรียน ตามความสมัครใจ นักเรียนร่วมกันท างานเป็นทีม ช่วยกันคิดช่วยกันท า และช่วยกันแก้ปัญหา ส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพของนักเรียน ๓. กิจกรรมบ าเพ็ญประโยชน์ 3.1 กิจกรรมบ าเพ็ญประโยชน์ให้กับโรงเรียน เป็นกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนสามารถน า ความรู้ความสามารถ ตามศักยภาพของตนเอง บ าเพ็ญประโยชน์ให้กับโรงเรียนในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อ ช่วยขัดเกลาจิตใจของนักเรียนให้มีความเมตตากรุณา มีความเสียสละ มีน้ าใจ และมีจิตสาธารณะเพื่อช่วย สร้างสรรค์สังคมในโรงเรียน ให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 3.2 กิจกรรมบ าเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม เป็นกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนสามารถ น าความรู้ความสามารถตามศักยภาพของตนเอง บ าเพ็ญประโยชน์ให้กับสังคม ในลักษณะอาสาสมัครเพื่อช่วย ขัดเกลาจิตใจของนักเรียนให้มีความเมตตา มีความเสียสละ มีน้ าใจ และมีจิตสาธารณะ เพื่อช่วยสร้างสรรค์ สังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ๔. กิจกรรมเสริมประสบการณ์พิเศษ 4.1 การเข้าค่ายคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นกิจกรรมที่ก าหนดให้นักเรียน ในโครงการ วมว. ต้องเข้าร่วมกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเสริมประสบการณ์ และส่งเสริมศักยภาพโดยจะได้รับการปลูกฝังทักษะกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งเจตคติ วิทยาศาสตร์ ซึ่งกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นกิจกรรมส่งเสริมวิชาการที่มีส่วน ส าคัญอย่างยิ่งในการกระตุ้นความอยากรู้ อยากเห็นของนักเรียนได้เป็นอย่างดี ภายในค่ายจะมีการสร้าง บรรยากาศแห่งการเรียนรู้ที่ท้าทาย มีความหลากหลาย ในการกระตุ้นความอยากรู้ อยากเห็นของนักเรียนได้ เป็นอย่างดี ภายในค่ายจะมีการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ที่ท้าทาย มีความหลากหลาย โดยเฉพาะการ เชิญนักวิทยาศาสตร์มาเป็นพี่เลี้ยงเพื่อเป็นต้นแบบแห่งการเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ดี และให้การซึมซับเจตคติ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี 77
4.2 การน าเสนอผลงานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นกิจกรรมหลัก อีกกิจกรรมหนึ่งของนักเรียนในโครงการ โดยก าหนดให้นักเรียนได้จัดนิทรรศการน าเสนอผลงานทางด้าน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ได้จากการสืบค้นงานวิจัย เพื่อเป็นเวทีในการฝึกการน าเสนอ ผลงาน รวมทั้งโปสเตอร์ โดยมีอาจารย์พี่เลี้ยงให้ค าปรึกษาแนะน า และให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้นักเรียนได้ฝึก ปฏิบัติอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพพร้อมทั้งให้เป็นเวทีทางวิชาการ โต้ตอบเชิงเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างผู้น าเสนอและผู้เข้าชมโดยมีนักเรียนเป็นผู้ซักถาม โต้ตอบความรู้ทาง วิชาการ 4.3 การสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ เป็นกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่ส าคัญอีกกิจกรรมหนึ่งของนักเรียน โครงการ วมว. ที่บรรจุเข้าไปในค่ายวิทยาศาสตร์ทุกครั้ง เป็นหนึ่งกิจกรรมที่ท้าทายความสามารถของนักเรียน อย่างสร้างสรรค์ เนื่องจากการประมวลความรู้สู่การจินตนาการเพื่อผลิตชิ้นงานอย่างสร้างสรรค์และมี ความหมาย โดยจัดกิจกรรมเป็นกลุ่ม แจกอุปกรณ์เท่าที่จ าเป็นให้สร้างชิ้นงาน กระตุ้นให้เกิดการแข่งขันทักษะ กระบวนการท างานกลุ่ม 4.4 การทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ นักเรียนในโครงการ วมว. จะได้รับการเพิ่มพูน ประสบการณ์ทางวิชาการทุกปีการศึกษาทั้งกิจกรรมทัศนศึกษาในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้ได้รับ ประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้จริง ทั้งระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ได้เรียนรู้เพื่อเปิดโลกกว้างด้าน สังคมวิทยาศาสตร์ และสามารถแข่งขันได้ในเวทีระดับโลก รูปแบบการจัดกิจกรรม ได้แก่ ๑) การทัศนศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง โดยมีรูปแบบการทัศนศึกษาดูงานจากสถานที่จริงเชื่อมโยงกับความรู้ที่ได้เรียนในห้องเรียน เพื่อให้นักเรียน ได้รับความรู้อย่างเต็มที่ ทั้งการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ด้าน สังคมศึกษา ภาษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ๒) การศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน เป็นอีกกิจกรรมที่มุ่งเน้นส่งเสริมการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมโดยจัดกิจกรรมศึกษาธรรมชาติ เพื่อเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน บริเวณพื้นที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และชุมชนใกล้เคียง ๓) การเข้าร่วมการประชุมทางวิชาการ การสนับสนุนการเข้าร่วมการประชุมทางวิชาการทั้งใน และต่างประเทศ เช่น กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์ การประชุมทางวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย การอบรม ทางวิชาการ กิจกรรมส่งเสริมให้มีการท าวิจัย การได้มีโอกาสพบปะและท างานร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ และ เข้าร่วมประกวดแข่งขันโครงงานระดับประเทศ กิจกรรมการประชุมน าเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับ นานาชาติ การเข้าร่วมกิจกรรมประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในต่างประเทศ ๔) การฝึกงานกับอาจารย์พี่เลี้ยง นักเรียนในโครงการฯ จะได้รับการพัฒนาศักยภาพการเป็น นักวิจัย ได้อย่างเหมาะสม โดยนักเรียนมีโอกาสไปฝึกงานกับนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย หรืออาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์หรือหน่วยงานเอกชนที่มีองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยี หรือโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่หรือหน่วยงานราชการที่ท าวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในระหว่างปิดภาคเรียน หรือวันเสาร์-อาทิตย์ โดยมีการก าหนดเวลาการฝึกงานที่เหมาะสม 78
ตาราง เกณฑ์การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แนวปฏิบัติตลอดหลักสูตร ๑. ค่ายพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ไม่น้อยกว่า ๒ ครั้ง ๒. การทัศนศึกษา ไม่น้อยกว่า ๒ ครั้ง ๓. การฟังบรรยายพิเศษจากวิทยากร ไม่น้อยกว่า ๕ ครั้ง ๔. การพัฒนาบุคลิกภาพและความฉลาดทางอารมณ์ ไม่น้อยกว่า ๔ ครั้ง ๕. การพัฒนาการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ด าเนินการในคาบโฮมรูม เดือนละ ๑ ครั้ง ในลักษณะรายบุคคล/คู่/ กลุ่ม โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการการอ่านเป็นผู้ประเมิน ๖. กิจกรรมแนะแนว ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียน ๗. กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า ๔ ครั้ง ๘. กิจกรรมชุมนุม ๓ ชุมนุม ๙. โครงงาน การน าเสนอผลการท าโครงงานอย่างน้อย ๑ เรื่อง และต้องได้รับผล การประเมิน “ผ่าน” ๑๐. กิจกรรมบ าเพ็ญประโยชน์ให้กับโรงเรียน ไม่น้อยกว่า ๔๐ ชั่วโมง ๑๑. กิจกรรมบ าเพ็ญสาธารณประโยชน์ให้กับสังคม ไม่น้อยกว่า ๔๐ ชั่วโมง ๑๒.เข้าค่ายวิชาการหรือการเข้าร่วมแข่งขันทักษะทาง วิชาการระดับภูมิภาคขึ้นไป นักเรียนต้องเข้าร่วมโครงการ สอวน. หรือได้รับรางวัลการแข่งขันใน ระดับภูมิภาคขึ้นไป หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่เทียบเท่าโดยความเห็นชอบ ของกรรมการ ๑๓. กิจกรรมออกก าลังกายและเล่นกีฬา ไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ชั่วโมง ๑๔. กิจกรรมวันส าคัญ ไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง 79
การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรห้องเรียนวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) โดยก ากับดูแลของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี พุทธศักราช ๒๕๖๕ มีหลักเกณฑ์ดังนี้ ๑. การประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน ๑.๑ ครูผู้สอน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. เป็นผู้ก าหนดวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ผลการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ซึ่งโดยทั่วไปจะมีทั้ง การประเมินระหว่างเรียนและการประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนในแต่ละรายวิชา ๑.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน จะต้องใช้เครื่องมือที่หลากหลาย สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ / ตัวชี้วัดที่ก าหนดไว้ โดยทั่วไปจะต้องมีการประเมินตลอดภาคเรียน คือการประเมินกลางภาค ปลายภาค การ ประเมินจากผลงาน แฟ้มสะสมผลงาน การสอบปากเปล่า การสัมภาษณ์ การสอบปฏิบัติ รวมถึงการประเมิน โดยใช้แบบสังเกตและแบบบันทึกต่างๆแล้วปรับผลการประเมินจากเครื่องมือและวิธีการประเมินรูปแบบต่างๆ ให้เป็นคะแนนโดยทั่วไปจะปรับคะแนนเต็มให้เป็น ๑๐๐ คะแนน ๑.๓ การให้ระดับผลการเรียน ของแต่ละรายวิชา จะใช้วิธีอิงเกณฑ์ หรืออิงผลการเรียนรู้ที่ ก าหนด /ตัวชี้วัด โดยจะให้ระดับผลการเรียนตามคะแนนผลการสอบและการประเมิน ดังแสดงในตารางแสดง ระดับผลการเรียนตามคะแนนผลการสอบ ตาราง ระดับผลการเรียนตามคะแนนผลการสอบ ๑.๔ นักเรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด จึงจะมีสิทธิ์สอบ กลางภาคหรือสอบปลายภาค ถ้านักเรียนคนใดมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด นักเรียน ต้องเข้าเรียนหรือปฏิบัติกิจกรรมเพิ่มเติมตามที่ครูผู้สอนก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. แล้วขอสอบกลางภาค หรือปลายภาคใหม่ ช่วงคะแนน ระดับผลการเรียน ความหมาย ๘๐-๑๐๐ ๔ ผลการเรียนดีเยี่ยม ๗๕-๗๙ ๓.๕ ผลการเรียนดีมาก ๗๐-๗๔ ๓ ผลการเรียนดี ๖๕-๖๙ ๒.๕ ผลการเรียนค่อนข้างดี ๖๐-๖๔ ๒ ผลการเรียนปานกลาง ๕๕-๕๙ ๑.๕ ผลการเรียนพอใช้ ๕๐-๕๔ ๑ ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ขั้นต่ า ๐-๔๙ ๐ ผลการเรียนต่ ากว่าเกณฑ์ 80
๑.๕ นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนรายวิชาใดวิชาหนึ่งเป็น “๐” “๑.๐” หรือ“๑.๕” จะต้องท า กิจกรรม หรือเรียนเสริมตามที่ครูผู้สอนก าหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ วิชาการ ของโครงการ วมว. จากนั้นจึงสอบแก้ตัว ๒ ครั้ง แล้วยังได้ระดับผลการเรียน “๐” “๑.๐” หรือ “๑.๕” ให้นักเรียนลงทะเบียนเรียนซ้ าในรายวิชานั้น ๆ ๑.๖ นักเรียนที่ขาดส่งผลงาน หรือส่งงานไม่ครบตามที่ได้รับมอบหมายจากครูผู้สอน ให้ได้ผล การเรียน “ร” และเมื่อส่งงานครบเรียบร้อยแล้ว ครูผู้สอนจึงให้ระดับผลการเรียนได้ ๑.๗ นักเรียนที่ไม่สามารถมาสอบ หรือท ากิจกรรมประเมินผลตามก าหนดเวลาเพราะป่วยหรือมี เหตุสุดวิสัยอื่นให้ยื่นค าร้องต่อคณะกรรมการ บริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว.เพื่อขอสอบ/ท า กิจกรรมประเมินผลใหม่ ๑.๘ รายวิชาใดที่ผู้เรียนมีหลักฐานเด่นชัด แสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถตาม ข้อก าหนดรายวิชานั้นๆ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. นักเรียนสามารถลงทะเบียนเรียนโดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียนตามปกติได้ แต่ต้องเข้ารับการประเมินผลตามปกติของ โครงการฯ ในบางกรณีนักเรียนอาจน าผลงานที่แสดงว่านักเรียนมีความสามารถตามข้อก าหนดของรายวิชานั้น เสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. เพื่อพิจารณาการให้ระดับคะแนนโดยไม่ต้อง เข้ารับการประเมินผลตามปกติของโรงเรียนก็ได้ ทั้งนี้ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. น าเสนอโรงเรียนเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบเป็นราย ๆ ๑.๙ นักเรียนสามารถขอลงทะเบียนเรียนซ้ ารายวิชาในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้ โดยความเห็นชอบของ โรงเรียน การประเมินผลรายวิชาที่เรียนซ้ าให้เป็นไปในแนวทางเดียวกับการประเมินผลรายวิชาที่ลงทะเบียน ปกติ ๑.๑๐ ในแต่ละภาคเรียนนักเรียนต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาพื้นฐานตามที่โรงเรียนก าหนด ใน กรณีที่มีความจ าเป็น นักเรียนไม่สามารถเรียนได้ตลอดภาคเรียน นักเรียนสามารถยื่นค าร้องขอระงับการเรียน และนักเรียนต้องลงทะเบียนเรียนใหม่ตามก าหนดเวลา และวิธีการที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ วิชาการ โครงการ วมว. เห็นสมควรโดยความเห็นชอบของโรงเรียน ๑.๑๑ การประเมินผลการเรียนรายวิชาต่างๆ ถ้าจะด าเนินการ แตกต่างไปจากที่กล่าวมาข้างต้น ให้ครู อาจารย์ผู้สอนน าเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. เพื่อพิจารณาเป็น ราย ๆ ไป ๒. การประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๑ เงื่อนไขการวัดและประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมให้เป็นไปในท านองเดียวกับรายวิชา พื้นฐาน ๒.๒ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพิ่มเติมในแต่ละภาคเรียน ต้องได้รับความเห็นชอบจาก อาจารย์ที่ปรึกษา และครูผู้สอนประจ าวิชาด้วย เมื่อลงทะเบียนเรียนนักเรียนสามารถขอระงับการเรียนรายวิชา ภายในเวลาไม่เกิน ๖ สัปดาห์ หากเรียนไปแล้ว ๖ สัปดาห์นักเรียนไม่สามารถเรียนต่อด้วยเหตุผลใด ๆ นักเรียน สามารถขอระงับการเรียนรายวิชานั้นในภาคเรียนนั้นได้ แต่จะต้องมาเรียนซ้ ารายวิชานั้นใหม่ ตามก าหนดเวลา และวิธีการที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการโครงการ วมว. เห็นสมควรโดย ความเห็นชอบของโรงเรียน 81
๓. การประเมินผลโครงงาน ๓.๑ การท าโครงงานเริ่มต้นโดยนักเรียนคิดหัวข้อโครงงาน แล้วน าไปปรึกษากับครู อาจารย์ของ โรงเรียน/โครงการ วมว. หรือผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก เพื่อให้ทางโรงเรียนเรียนเชิญเป็นกรรมการที่ปรึกษา โครงงาน คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงงานจะต้องมีอย่างน้อย ๑ คน โดยต้องเป็นครูอาจารย์ของโรงเรียนและ สามารถเชิญครู อาจารย์ของโรงเรียน หรือผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมาเป็นกรรมการที่ปรึกษาโครงงานเพิ่ม ได้ แต่รวมแล้วแต่ละโครงงานต้องมีที่ปรึกษาไม่เกิน ๓ คนจากนั้นให้นักเรียนจัดท าเค้าโครงของโครงงาน น าเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาโครงงานพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนน าเสนอคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. เพื่อเสนอโรงเรียนให้ความเห็นชอบ และแต่งตั้งกรรมการที่ปรึกษา โครงงาน ๓.๒ ให้นักเรียนท าโครงงานภายใต้การดูแลของคณะกรรมการที่ปรึกษาโครงงาน เมื่อนักเรียนท า โครงงานส าเร็จแล้ว คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงงานจะเป็นผู้ประเมินผล การท าโครงงานว่า “ผ่าน” “ผ่านระดับดี” “ผ่านระดับดีเยี่ยม” หรือ “ ไม่ผ่าน ” ส่งผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ วิชาการ โครงการ วมว. เพื่อรวบรวมน าส่งงานทะเบียนโรงเรียน กรณีที่ประเมินแล้ว “ไม่ผ่าน” ให้คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงงานมอบหมายให้นักเรียนไปแก้ไข แล้วท าการประเมินใหม่ นักเรียนต้องได้รับ การประเมิน ขั้นต่ า “ผ่าน” จึงจะถือว่าส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ๓.๓ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. อาจจัดให้มีการแสดงโครงงาน ในรูปแบบของนิทรรศการ โปสเตอร์หรือน าเสนอต่อที่ประชุมเพื่อเผยแพร่ผลงานด้วยก็ได้ ๔. การประเมินความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ๔.๑ ผู้เรียนต้องผ่านการตรวจสอบหรือประเมินผู้เรียนในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน สื่อความในเชิงคุณภาพ ได้คะแนนไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๗๐ จึงถือว่า ”ผ่าน” โดยมีเกณฑ์การพิจารณาดังนี้ ๔.๑.๑ ด้านเนื้อหาสาระของเรื่องที่อ่าน เป็นความรู้ ความเข้าใจของตนเอง ๔.๑.๒ ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ แก้ปัญหา และสร้างสรรค์ จินตนาการอย่างเหมาะสม และมีคุณค่า ๔.๑.๓ ด้านการแสดงความคิดเห็นของตนเอง ๔.๑.๔ การถ่ายทอดด้วยการเขียนสื่อความ ๔.๑.๕ ด้านการล าดับขั้นตอนการน าเสนอเรื่องราวที่เขียนสื่อความ ๕. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๑ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. เป็นผู้ก าหนดคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ด้านต่าง ๆ เพื่อใช้ประเมินและจัดท าเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินขึ้น โดยใช้เกณฑ์ประเมิน ๓ ระดับ (๑ ,๒, ๓ เมื่อ ๑ หมายถึง ผู้เรียนไม่เคยปฏิบัติคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒ หมายถึงผู้เรียนได้ปฏิบัติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านนี้พอประมาณ และ ๓ หมายถึงผู้เรียนได้ปฏิบัติคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน ด้านนี้ประจ าอยู่เสมอ) ในแต่ละภาคเรียนคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. จะมอบหมายให้ครูผู้สอนเป็นผู้ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนแต่ละคนโดยใช้เครื่องมือ ดังกล่าว นักเรียนจะต้องได้รับผลการประเมินเฉลี่ยในระดับ ๑.๕๐- ๒.๔๙ จึงจะถือว่า ผ่านการประเมิน 82
๕.๒ ในกรณีที่ประเมินแล้ว “ไม่ผ่าน” ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ โครงการ วมว. ก าหนดแนวทาง หรือกิจกรรมให้นักเรียนน าไปปฏิบัติเพื่อปรับปรุงแก้ไข คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการ โครงการ วมว. จะเป็นผู้ติดตาม และประเมินผลนักเรียนต่อไป เมื่อประเมินผ่านแล้วจึงน าเสนอ ให้โรงเรียนปรับแก้ผลการประเมินจาก “ไม่ผ่าน” เป็น “ผ่าน” ๖. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโครงการ วมว. 6.๑ นักเรียนที่สามารถรักษาสภาพการเป็นนักเรียนในโครงการ วมว. ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคการศึกษาที่ ๑ จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคการศึกษาที่ ๒ 6.๒ ผ่านการประเมินเกี่ยวกับการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียน ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก าหนด 6.๓ ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทั้งการมีจิตสาธารณะที่รับใช้สังคมตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนก าหนด 6.๔ ท าโครงงานและเสนอผลการท าโครงงานอย่างน้อย ๑ เรื่อง และต้องได้รับผลการประเมิน ขั้นต่ า “ผ่าน” 6.๕ เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลายตามความถนัดและความสนใจตามเกณฑ์ขั้นต่ า ที่โรงเรียนก าหนด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อเพิ่มศักยภาพความเป็นผู้น าที่ดีมีคุณธรรม และจริยธรรมของสังคม 6.๖ เข้าร่วมกิจกรรมเข้าแถวเคารพธงชาติและพบครูที่ปรึกษาประจ าชั้นตามที่โรงเรียนก าหนด 6.๗ สามารถพักอยู่ในโรงเรียนหรือสถานที่ที่โรงเรียนจัดไว้ให้ในลักษณะโรงเรียนประจ าได้ และ ยินดีปฏิบัติตามระเบียบของโรงเรียนในปัจจุบัน หรือที่จะได้มีการก าหนดในอนาคต 6.๘ ส าหรับกรณีที่นอกเหนือจากหลักเกณฑ์ในข้อ ๖.๑-๖.๗ ให้เสนอคณะกรรมการบริหาร โครงการ วมว. พิจารณาเป็นราย ๆ ไป ๗. เกณฑ์การรักษาสภาพการเป็นนักเรียนในโครงการ วมว. ๗.๑ นักเรียนต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ ตามข้อ ๑ ๗.๒ มีผลการศึกษา ดังนี้ “นักเรียนในโครงการ วมว. จะผ่านเกณฑ์การรักษาสภาพการเป็น นักเรียนในโครงการ วมว. ได้ต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมรวมทุกวิชา ไม่ต่ ากว่า ๒.๕๐ รวมทั้งคะแนนเฉลี่ย สะสมรวมในรายวิชาวิทยาศาสตร์และรายวิชาคณิตศาสตร์ ไม่ต่ ากว่า ๓.๐๐ ในแต่ละภาคการศึกษา หากนักเรียนคนใดมีผลระดับคะแนนการเรียนต่ ากว่าเกณฑ์ที่ก าหนดจะมีสภาพรอพินิจที่ต้องแก้ไขภายใน ๑ ภาคการศึกษา” กรณีนักเรียนไม่สามารถรักษาสภาพการเป็นนักเรียนในโครงการ วมว. ตามเกณฑ์ ฯ ข้อ ๑.๒ ที่ก าหนดได้ นักเรียนผู้นั้นสามารถเรียนอยู่ในห้องวิทยาศาสตร์ของโครงการ วมว. เช่นเดิมได้ โดยไม่ได้รับเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายส่วนบุคคลจากโครงการตามที่คู่มหาวิทยาลัย-โรงเรียนก าหนด และไม่มี สิทธิ์รับใบประกาศนียบัตรของโครงการ วมว. แต่โรงเรียนสามารถออกใบรับรองจากโรงเรียนหรือระบุใน ใบ ปพ. ว่านักเรียนส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของโครงการ วมว. ทดแทนได้ ซึ่งมิได้หมายความรวมถึงการ ส าเร็จการศึกษาในสถานะการเป็นนักเรียนโครงการ วมว. และให้โรงเรียนท าความตกลงกับผู้ปกครองของ นักเรียน เพื่อแสดงความยินยอมให้นักเรียนเรียนต่อไปโดยผู้ปกครองจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายส่วน บุคคลของนักเรียน 83
๘. การพ้นสภาพการเป็นนักเรียนในโครงการ วมว. ๘.๑ นักเรียนไม่ส าเร็จการศึกษา และ/หรือไม่ปฏิบัติตามเกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโครงการ วมว. ๘.๒ นักเรียนไม่สามารถรักษาสภาพการเป็นนักเรียนตามเกณฑ์การรักษาสภาพการเป็นนักเรียน ในโครงการ วมว. ๘.๓ นักเรียนที่ได้รับการคัดเลือกในโครงการ วมว. และ/หรือ ก าลังศึกษาอยู่จะต้องไม่ไปสมัคร สอบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอื่นใดทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยไม่ได้รับความเห็นชอบของโครงการ วมว. แล้วแต่กรณี มิฉะนั้นจะถูกถอนสิทธิ์ หรือให้พ้นสภาพการเป็นนักเรียน เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจาก โครงการ วมว.นักเรียนขอลาออก ๘.๔ นักเรียนถูกให้ออก ๘.๕ นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์/แนวปฏิบัติของโครงการ วมว. ได้ด้วยเหตุสุดวิสัย หรือเจ็บป่วยร้ายแรงที่ได้รับการรับรองจากแพทย์ ๙. การลาพักการศึกษาของนักเรียนในโครงการ วมว. ๙.๑ นักเรียนสามารถลาพักการศึกษาได้ด้วยเหตุต่อไปนี้ ๑) เจ็บป่วย ๒) ได้ทุนแลกเปลี่ยนนักเรียนของโครงการอื่น ๓) เหตุจ าเป็นอื่นๆ ที่ได้รับอนุมัติจากโครงการ วมว. ของมหาวิทยาลัยร่วมกับโรงเรียนใน การลาพักการศึกษาของนักเรียนให้มีเอกสาร/หลักฐาน เพื่อประกอบการพิจารณา ดังนี้ ๑) ความเห็นของแพทย์ (ใบรับรองแพทย์) ๒) ความเห็นของผู้ปกครอง ๓) ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษา ๙.๒ ระยะเวลาการลาพักการศึกษาให้ลาได้ตามความจ าเป็นและเหมาะสม แต่ต้องไม่เกิน ๑ ปี ๙.๓ เมื่อนักเรียนได้รับอนุมัติพักการเรียนแล้ว ให้ด าเนินการ ๑) ลงทะเบียนรักษาสภาพการเป็นนักเรียน (ถ้ามี) ๒) ก่อนครบก าหนดระยะเวลาพักการศึกษาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน ให้นักเรียนยื่น ค าขอกลับเข้าเรียน และเมื่อได้รับอนุมัติแล้วให้สามารถกลับเข้าเรียนได้ ทั้งนี้ หากนักเรียนไม่ติดต่อ สถานศึกษาภายในก าหนดเวลา ๑๕ วัน นับจากวันที่ครบก าหนดให้พักการเรียน ให้ถือว่าเป็นการพ้นสภาพ การเป็นนักเรียนโครงการ วมว. ๑๐. การเทียบโอนผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้ ก าหนดให้โรงเรียนสามารถเทียบโอนผลการเรียนได้ โดยการน าความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้จาก การศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ หรือจากการประกอบอาชีพมาเทียบโอนเป็นผลการเรียนของหลักสูตรใดหลักสูตร หนึ่งในระดับที่ก าลังศึกษาอยู่ 84
การพิจารณาการเทียบโอนผลการเรียน โรงเรียนสามารถด าเนินการได้ดังนี้ ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา ซึ่งจะให้ข้อมูลที่แสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรียนในด้าน ต่าง ๆ ๒. พิจารณาจากความรู้ และประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง การทดสอบ การสัมภาษณ์ หรือ วิธีการอื่น ๆ ที่เหมาะสม ๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติได้จริง ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงและระเบียบที่ กระทรวงศึกษาธิการก าหนดขึ้น ๑๑. เกณฑ์การแสดงถึงศักยภาพและความสามารถของนักเรียนด้านภาษาอังกฤษ การแสดงถึงศักยภาพและความสามารถของนักเรียนโครงการ วมว. ด้านภาษาอังกฤษ จะใช้ คะแนนเทียบเท่า TOEFL หรือระบบอื่น เช่น TOEIC IBT หรือ IELS เป็นต้น โดยให้ศูนย์ภาษาของแต่ละ มหาวิทยาลัยเป็นผู้ด าเนินการทดสอบ ซึ่งมีเกณฑ์การผ่านการทดสอบ ดังนี้ - มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ควรมีระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ ๔๕๐ คะแนนขึ้นไป - มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ควรมีระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ ๔๘๐ คะแนนขึ้นไป - มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ควรมีระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ ๕๐๐ คะแนนขึ้นไป ทั้งนี้ไม่ใช่เกณฑ์การส าเร็จการศึกษา ๑๒. แนวปฏิบัติส าหรับการบังคับใช้กับนักเรียนโครงการ วมว. ๑๒.๑ กรณีนักเรียนไม่สามารถรักษาสภาพการเป็นนักเรียนในโครงการ วมว. ตามเกณฑ์ที่ ก าหนด ให้อยู่ในดุลยพินิจของมหาวิทยาลัยร่วมกับโรงเรียนในการพิจารณาด าเนินการแนวทางใดแนวทางหนึ่ง ดังนี้ ๑) ยังคงให้นักเรียนผู้นั้นเรียนอยู่ในห้องเรียนวิทยาศาสตร์ของโครงการ วมว. เช่นเดิม โดย ไม่ได้รับเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายส่วนบุคคลจากโครงการ ทั้งนี้ให้โรงเรียนเจรจาท าความตกลงกับผู้ปกครองของ นักเรียนเพื่อแสดงความยินยอมให้นักเรียนเรียนต่อไป โดยเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายส่วนบุคคลของนักเรียน หรือ 2) ให้ย้ายนักเรียนไปเรียนในห้องคู่ขนาน / ห้องเงา ของห้องเรียนวิทยาศาสตร์ โครงการ วมว. โดยนักเรียนเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเรียนทั้งหมด ๑๒.๒ กรณีนักเรียนโครงการ วมว. ขอลาออกในกรณีใด ๆ ก็ตาม ให้อยู่ในดุลยพินิจของ มหาวิทยาลัยร่วมกับโรงเรียนพิจารณาเรียกเงินสนับสนุนคืน หรือพิจารณาปรับเงินภายใต้วงเงินไม่เกิน ๑.๕ เท่า ของเงินที่สนับสนุนนักเรียนไปแล้ว 85
๑๓. การเรียกเงินสนับสนุนคืนมีหลักเกณฑ์ดังนี้ ๑๓.๑ กรณีนักเรียนโครงการ วมว. ขอลาออกในกรณีใด ๆ ก็ตาม หรือนักเรียนพ้นสภาพการเป็น นักเรียนในโครงการ วมว. ตามข้อ ๘.๑ และ ๘.๓ มหาวิทยาลัยและโรงเรียนจะพิจารณาเรียกเงินสนับสนุนคืน ตามที่มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนให้นักเรียนเป็นการเฉพาะบุคคลไป หรือจะพิจารณาเรียกเงินสนับสนุนเต็ม จ านวนตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมได้สนับสนุนเป็นรายบุคคล แล้วแต่ กรณี ทั้งนี้ นักเรียนและผู้ปกครองผู้รับเงินสนับสนุน และ/หรือผู้ค้ าประกันจะต้องช าระเงินสนับสนุนคืนให้ ครบถ้วนตามจ านวนตามที่มหาวิทยาลัยและโรงเรียนก าหนดภายในก าหนด ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจาก มหาวิทยาลัยร่วมกับโรงเรียนในโครงการ วมว. หากไม่ช าระเงินดังกล่าวหรือช าระไม่ครบภายในก าหนดเวลา ดังกล่าว นักเรียนและผู้ปกครองผู้รับเงินสนับสนุน และ/หรือผู้ค้ าประกันยินยอมให้คิดดอกเบี้ยจากเงินที่ค้าง ช าระในอัตราดอกเบี้ยสูงสุดต่อปีตามที่กฎหมายก าหนด นับแต่วันครบก าหนดช าระจนถึงวันที่ช าระหนี้เสร็จสิ้น ครบถ้วนแล้ว ๑๓.๒ นักเรียนผู้รับเงินสนับสนุนไม่ต้องชดใช้เงินสนับสนุนคืน หากได้รับความเห็นชอบเป็นลาย ลักษณ์อักษรตามดุลยพินิจของมหาวิทยาลัยร่วมกับโรงเรียน ในกรณีต่อไปนี้ ๑) นักเรียนเสียชีวิต ทุพพลภาพ ตกเป็นผู้ไร้ความสามารถหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ๒) นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์/แนวปฏิบัติของโครงการ วมว. ได้ด้วยเหตุ สุดวิสัยหรือเจ็บป่วยร้ายแรงที่ได้รับการรับรองจากแพทย์ ๓) นักเรียนพ้นสภาพการเป็นนักเรียนในโครงการ วมว. เนื่องจากผลการเรียนมีคะแนนเฉลี่ย สะสม (GPAX) ทุกวิชา ต่ ากว่า ๒.๕๐ หรือคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ในรายวิชาวิทยาศาสตร์และรายวิชา คณิตศาสตร์ต่ ากว่า ๓.๐๐ ในแต่ละภาคการศึกษา โดยนักเรียนคนใดมีผลระดับคะแนนการเรียนต่ ากว่าเกณฑ์ ที่ก าหนดจะมีสภาพรอพินิจที่ต้องแก้ไขภายใน ๑ ภาคการศึกษา 86
(ส าเนา) ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เรื่อง การปฏิบัติตนของนักเรียนโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยการก ากับดูแลของ มหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ใน โรงเรียน โดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัย ครั้งที่ ๕/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๒, ครั้งที่ ๑/๒๕๖ เมื่อวันที่ ๒๗กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ และครั้งที่ ๗/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๕ คณะอนุกรรมการรับ สมัครและสอบคัดเลือก (เฉพาะกิจ) ครั้งที่ ๒/๒๕๖๗ เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ได้ก าหนดหลักเกณฑ์/ แนวทางปฏิบัติในการเป็นนักเรียนในโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยการก ากับดูแลของ มหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) ระยะที่ ๓ แล้วนั้น ทางโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จึงขอก าหนดแนวทางการปฏิบัติ ตนของนักเรียนโครงการ วมว. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ดังนี้ ๑. ความประพฤติและการปฏิบัติตนของนักเรียน ความประพฤติและการปฏิบัติตนของนักเรียนโครงการ วมว. ให้เป็นไปตามระเบียบโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว่าด้วยความประพฤติและการปฏิบัติตนของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒. การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรโครงการ วมว. นักเรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรโครงการ วมว. โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ครบตามเกณฑ์การจบหลักสูตร กรณีที่นักเรียนไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้เนื่องจากเหตุสุดวิสัย เช่น เจ็บป่วย นักเรียนต้องท า กิจกรรมอื่นทดแทนที่เทียบเคียงกันได้ โดยอยู่ภายใต้ดุลพินิจของคณะอนุกรรมการด าเนินงาน โครงการ วมว. โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) กรณีที่นักเรียนไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ เนื่องจากไม่ใช่เหตุสุดวิสัย นักเรียนต้องเข้าร่วม กิจกรรมชดเชยในครั้งต่อไปหรือปีการศึกษาถัดไปและต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้น หากนักเรียนเข้า ร่วมกิจกรรมไม่ครบตามหลักสูตร ถือว่านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ในการจบหลักสูตรของนักเรียนโครงการ วมว. ทั้งนี้ทางโครงการฯ จะแจ้งให้บิดามารดา หรือผู้ปกครองมารับทราบ ๓. การอยู่หอพัก นักเรียนต้องเข้าพักอยู่ในหอพักตามที่ได้ระบุในสัญญามอบตัว ตลอดระยะเวลาของการเปิดภาค เรียนในทุกปีการศึกษา และต้องปฏิบัติดังนี้ ๑) นักเรียนต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบหอพักนักศึกษาในก ากับฯ - สหกรณ์บริการ มอ. จ ากัด อย่างเคร่งครัด ๒) นักเรียนต้องกลับถึงห้องพักก่อนเวลา ๒๑.๐๐ น. และไม่อนุญาตให้นักเรียนออกจากหอพัก ตั้งแต่เวลา ๒๑.๐๐ น. จนถึง ๐๖.๐๐ น. ของวันรุ่งขึ้น หากมีความจ าเป็น ให้ขออนุญาตเป็นกรณีพิเศษ เป็นราย ๆ ไป 87
๓) โครงการ วมว. โรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) อนุญาตให้นักเรียนกลับบ้านได้ในวันที่ก าหนด ในปฏิทิน โดยนักเรียนสามารถกลับบ้านตั้งแต่เวลา ๑๗.๐๐ น. ของวันศุกร์ และกลับเข้าหอพักในวันอาทิตย์ ก่อนเวลา ๒๑.๐๐ น. หรือเช้าวันจันทร์ ก่อนเวลา ๐๗.๓๐ น. ๔) กรณีวันหยุดอื่น ๆ เช่น วันหยุดนักขัตฤกษ์ โรงเรียนจัดกิจกรรมทัศนศึกษาของบุคลากร ฯลฯ เจ้าหน้าที่ โครงการ วมว. จะเป็นผู้แจ้งให้บิดามารดา หรือผู้ปกครองทราบล่วงหน้า โดยนักเรียนสามารถกลับ บ้านได้ตั้งแต่เวลา ๑๗.๐๐ น. ในวันก่อนวันหยุดหนึ่งวัน และกลับเข้าหอพักในวันสุดท้ายของวันหยุด ก่อนเวลา ๒๑.๐๐ น. หรือเช้าวันถัดไป ก่อนเวลา ๐๗.๓๐ น. ๕) กรณีที่นักเรียนมีความจ าเป็นต้องกลับบ้าน เช่น เจ็บป่วย หรือมีความจ าเป็นอื่น ๆ นักเรียน จะต้องส่งใบขออนุญาตออกนอกบริเวณหอพักผ่านระบบการลาออนไลน์ พร้อมแนบหลักฐานความจ าเป็น ๖) กรณีนักเรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมตามที่โรงเรียนหรือโครงการ วมว. ก าหนดในวันเสาร์-อาทิตย์ หรือวันหยุดตามประกาศของโรงเรียน นักเรียนจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมและไม่อนุญาตให้นักเรียนกลับบ้าน ๗) กรณีที่เป็นช่วงปิดภาคเรียน หรือเป็นวันหยุดหลายวันติดต่อกัน ไม่อนุญาตให้นักเรียนอยู่หอพัก โดยโรงเรียนจะแจ้งให้บิดามารดา หรือผู้ปกครองรับทราบล่วงหน้าเป็นวาระไป เพื่อให้นักเรียนกลับบ้านไปอยู่ กับผู้ปกครอง ยกเว้น ในกรณีที่นักเรียนประสงค์จะพักตามความจ าเป็น เช่น การเข้าร่วมกิจกรรม ต้องได้รับ อนุญาตจากโรงเรียนและได้รับความเห็นชอบจากผู้ปกครอง ทั้งนี้ นักเรียนต้องปฏิบัติตามระเบียบการอยู่ หอพัก ๘) ในกรณีที่นักเรียนไม่ปฏิบัติตนตามประกาศฯ ถือว่ามีความผิดและมีบทลงโทษ ดังนี้ ๘.๑) นักเรียนไม่อยู่หอพักครั้งที่ ๓ ว่ากล่าวตักเตือนนักเรียนด้วยวาจาและให้นักเรียนรับทราบ เป็นลายลักษณ์อักษรพร้อมทั้งให้นักเรียนแจ้งบิดา มารดา หรือผู้ปกครองรับทราบ ๘.๒) นักเรียนไม่อยู่หอพักครั้งที่ ๔ แจ้งให้บิดา มารดา หรือผู้ปกครองรับทราบและเชิญมาพบ พร้อมทั้งรับทราบเป็นลายลักษณ์อักษร ๘.๓) นักเรียนไม่อยู่หอพักครั้งที่ ๕ เชิญบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมารับทราบความผิดของ นักเรียนและท าทัณฑ์บนไว้เป็นหลักฐาน ๘.๔) นักเรียนไม่อยู่หอพักครั้งที่ ๖ ถือว่านักเรียนขาดคุณสมบัติของการเป็นนักเรียนโครงการ วมว. โดยความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการ โครงการ วมว. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) และเชิญบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มารับทราบ ทั้งนี้ทางโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) จึงขอประกาศใช้แนวทางการปฏิบัติตนของนักเรียนโครงการ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการก ากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ลงชื่อ โซเฟีย มะลี (นางโซเฟีย มะลี) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ส าเนาถูกต้อง (นางนูรอาซีกีน ยีสมัน) นิลุบล ร่าง /พิมพ์ ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานโครงการ วมว. นูรอาซีกีน/ทาน ( 88
(ส าเนา) ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เรื่อง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล (โครงการ วมว.) อ้างอิงจากแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพ.ศ. ๒๕๕๑ ก าหนดจุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานหลัก ๒ ประการ ประการแรก คือ การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment) เกิดขึ้น ในห้องเรียน เป็นการประเมินเพื่อให้รู้จุดเด่น จุดที่ต้องปรับปรุง เป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ของ ผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องแล้วน ามาใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของ ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ประการที่สอง คือ การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน (Summative Assessment) ใช้เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียน จบรายวิชา เพื่อตัดสินให้คะแนน หรือให้ระดับผลการเรียน รวมถึงหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ได้ให้ความส าคัญกับการ ประเมินผลเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน จึงก าหนดแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ดังนี้ ๑. การประเมินผู้เรียน พิจารณาจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ พัฒนาการของผู้เรียน การ ร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ ๒. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอน และ ด าเนินการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านทั้งด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ธรรมชาติของรายวิชา ธรรมชาติ ของผู้เรียนตามช่วงวัย และระดับชั้นของผู้เรียน ๓. การก าหนดวิธีการวัดและเครื่องมือวัดและประเมินผลให้มีความครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) จิตพิสัย (Affective domain) และทักษะพิสัย (Psychomotor domain) โดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของเครื่องมือในการวัดและประเมินผลทางการศึกษาที่ดีที่มีความเที่ยงตรง ความยากง่าย ยุติธรรม และ เชื่อถือได้ ๔. การก าหนดสัดส่วนคะแนนในแต่ละรายวิชาเป็นคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนปลายภาค โดยให้ ความส าคัญของคะแนนระหว่างเรียนมากกว่าคะแนนปลายภาค คือ ๖๐ : ๒๐ : ๒๐ (คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนสอบกลางภาค : คะแนนสอบปลายภาค) หรือ ๘๐ : ๒๐ (คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนสอบปลายภาค) ๕. การด าเนินการจัดสอบกลางภาคและปลายภาค ก าหนดให้มีการจัดสอบในตารางทั้งรายวิชา พื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับช่วงการจัดสอบกลางภาค/ปลายภาคของโรงเรียน หากมีการจัด สอบนอกตารางให้ด าเนินการจัดสอบตามที่ได้วางแผนไว้ในประมวลการสอน 89
๖. การก าหนดระยะเวลาในการสอบรายวิชาต่าง ๆ ควรสอดคล้องกับแนวทางของโรงเรียนสาธิต ฯ โดยอิงกับจ านวนหน่วยกิต ดังนี้ รายวิชาที่มีหน่วยกิต ๐.๕ หน่วยกิต ก าหนดระยะเวลาในการสอบ ๓๐ นาที รายวิชาที่มีหน่วยกิต ๑.๐ หน่วยกิต ก าหนดระยะเวลาในการสอบ ๓๐-๖๐ นาที รายวิชาที่มีหน่วยกิต ๑.๕ หน่วยกิต ก าหนดระยะเวลาในการสอบ ๖๐-๙๐ นาที รายวิชาที่มีหน่วยกิต ๒.๐ หน่วยกิต ก าหนดระยะเวลาในการสอบ ๙๐-๑๒๐ นาที ๗. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้ตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ จึงประกาศมาเพื่อทราบและปฏิบัติโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๗ ลงชื่อ โซเฟีย มะลี (นางโซเฟีย มะลี) ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตฯ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ส าเนาถูกต้อง (นางนูรอาซีกีน ยีสมัน) นิลุบล ร่าง /พิมพ์ ผู้ช่วยผู้อ านวยการงานโครงการ วมว. นูรอาซีกีน/ทาน 90
91
ประกาศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) เรื่อง ระเบียบว่าด้วยความประพฤติและการปฏิบัติตนของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๗ ….………………………………………………………………………………………… โดยที่เห็นสมควรให้มีระเบียบโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ว่าด้วย ระเบียบว่าด้วยความประพฤติและการปฏิบัติตนของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๗ อาศัยอ านาจตามข้อ ๙ แห่ง ระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการจัดการศึกษาในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยความเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างคณะกรรมการบริหารและวิชาการโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) คณะกรรมการนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา และ ความเห็นของ คณะกรรมการประจ าคณะศึกษาศาสตร์ ในการประชุมคณะกรรมการประจ าคณะ ศึกษาศาสตร์ ครั้งที่ 406 (4/2567) วันที่ 30 เมษายน ๒๕๖๗ จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้ เรียกว่า ระเบียบโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ว่าด้วยความประพฤติ และการปฏิบัติของนักเรียน พ.ศ.๒๕๖๗ ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๗ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบว่าด้วยวินัยของนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่าย มัธยมศึกษา) พ.ศ. ๒๕๖๖ ข้อ ๔ บรรดาระเบียบหรือค าสั่งอื่นใดในส่วนที่ได้ก าหนดไว้แล้วซึ่งขัดแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้ แทน หมวดที่ ๑ ข้อความทั่วไป ข้อ ๕ ในระเบียบนี้ โรงเรียนหมายความว่า โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) ผู้อ านวยการ หมายความว่า ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) อาจารย์ หมายความว่า อาจารย์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา) อาจารย์ที่ปรึกษา หมายความว่า อาจารย์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากโรงเรียนให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา คณะกรรมการฝ่ายสร้างวินัยและความประพฤติ หมายความว่า กรรมการที่โรงเรียนตั้งขึ้น เพื่อท าหน้าที่สร้างวินัย และความพฤติรวมถึงก ากับดูแลความพฤติของนักเรียนให้เป็นไปตามระเบียบ คณะกรรมการฝ่ายส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม หมายความว่า กรรมการที่โรงเรียนตั้งขึ้นเพื่อท า หน้าที่ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ อันจะน าไปสู่ ๕ สมรรถนะ และ ๘ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ /คณะกรรมการนักเรียน... 92