The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการติดตามขับเคลื่อนฯ 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by k251058, 2023-07-12 03:12:54

รายงานการติดตามขับเคลื่อนฯ 2562

รายงานการติดตามขับเคลื่อนฯ 2562

ส ำนักงำนศึกษำธิกำรภำค 5 ส ำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงศึกษำธิกำร เอกสำรล ำดับที่ 11/2562


ก ค ำน ำ รายงานการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาคภายใต้โครงการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส านักงาน ศึกษาธิการภาค 5 ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา สู่การปฏิบัติและติดตามผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของหน่วยงานการศึกษา ในพื้นที่รับผิดชอบของส านักงานศึกษาการภาค 5 ในประเด็นกลไกการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนแผน การแปลงแผนสู่การปฏิบัติและการติดตามและรายงานผลตามประเด็นยุทธศาสตร์ แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60– ๒๕79) ทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง ของสังคมและประเทศชาติ การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ซึ่งผลการวิจัยจะน าไปเป็นข้อมูล พื้นฐานประกอบการตัดสินใจและทบทวนเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในพื้นที่ให้มีความเชื่อมโยง และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มจังหวัด และบริบทอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะผู้วิจัยขอขอบคุณผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษา บุคลากรทางการศึกษาทุกท่านและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามและจัดเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการวิจัยเป็นอย่างดียิ่ง ไว้ ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อกระทรวงศึกษาธิการและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน ประกอบการตัดสินใจและทบทวนเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านการศึกษาในพื้นที่ต่อไป ส านักงานศึกษาธิการภาค 5


ข สารบัญ หน้า ค ำน ำ.............................................................................................................. ................................... ก สำรบัญ.............................................................................................................................................. ข สำรบัญตำรำง.................................................................................................................. .................. ค สำรบัญรูปภำพ.................................................................................................................................. ง บทสรุปผู้บริหำร............................................................................................................. .................... จ บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ........................................................................................ 1 วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย.............................................................................................. 3 ขอบเขตกำรวิจัย........................................................................................................... 3 นิยำมศัพท์.................................................................................................................... กรอบแนวคิดในกำรวิจัย............................................................................................... 4 5 ประโยชน์ที่จะได้รับ...................................................................................................... 5 2 หลักกำร แนวคิด และงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ยุทธศำสตร์................................................................................................................... 6 นโยบำย........................................................................................................................ 28 แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนกำรปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชำติ ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ. 2560 – 2564) และแผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2560-2579....................................................................................................... 39 กำรติดตำมและประเมินผล........................................................................................... 48 ระบบกลไก................................................................................................................ ... 50 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง....................................................................................................... 51 3 วิธีกำรด ำเนินกำรวิจัย วิธีด ำเนินกำรวิจัย......................................................................................................... 56 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง........................................................................................... 56 เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย............................................................................................... 57 กำรสร้ำงและพัฒนำเครื่องมือ....................................................................................... 58 กำรเก็บรวมรวบข้อมูล.................................................................................................. 58 สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล..................................................................................... 59 กำรวิเครำะห์ข้อมูล....................................................................................................... 59


สารบัญ (ต่อ) หน้า 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล แบบสอบถำมชุดที่ 1 แบบสอบถำมกระบวนกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ กำรศึกษำระดับภำค..................................................................................................... 60 แบบสอบถำมชุดที่ 2 สรุปผลกำรติดตำมกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ กำรศึกษำในพื้นที่ของกระทรวงศึกษำธิกำร ตำมประเด็นยุทธศำสตร์แผนกำรศึกษำ แห่งชำติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60–๒๕79)........................................................................ 65 5 บทสรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลกำรศึกษำ.......................................................................................................... 70 อภิปรำยผล................................................................................................................... 77 ข้อเสนอแนะ................................................................................................................. 78 บรรณำนุกรม..................................................................................................................................... 80 ภำคผนวก.......................................................................................................................................... 82 ภำคผนวก ก ภำพติดตำมกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำด้ำนกำรศึกษำ ระดับภำค..................................................................................................................... 83 ภำคผนวก ข แบบสอบถำม.......................................................................................... 86 คณะผู้จัดท ำ..................................................................................................................... .................. 99


ค สารบัญตาราง ตาราง หน้า 1 แสดงจ ำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถำม............................................ 59 2 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนภำพรวม กำรปฏิบัติกระบวนกำร ขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำระดับภำค 4 ด้ำน......................... 60 3 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนด้ำนกลไกกำรขับเคลื่อน ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ..................................................................... 61 4 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนด้ำนกำรขับเคลื่อนแผนยุทธศำสตร์ กำรพัฒนำกำรศึกษำ........................................................................................ 61 5 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนด้ำนกำรแปลงแผนยุทธศำสตร์กำร พัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติ........................................................................... 62 6 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนด้ำนกำรติดตำมและรำยงำนผล กำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ............................................... 62


ง สารบัญรูปภาพ รูปภาพ หน้า 1 กรอบแนวคิดในกำรวิจัย................................................................................... 5 2 แผนภูมิขอบข่ำยกำรติดตำมและประเมินผล.................................................... 49


จ บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร ส ำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร ได้สนับสนุนงบประมำณเพื่อด ำเนินโครงกำรขับเคลื่อน ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติระดับภำค ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ดังนั้น ส ำนักงำน ศึกษำธิกำรภำค 5 จึงได้ด ำเนินกำรจัดท ำโครงกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติ ระดับภำค ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 เพื่อขับเคลื่อนยุทธศำสตร์และบทบำทกำรพัฒนำภำค ให้เชื่อมโยงและสอดคล้องกับทิศทำงกำรพัฒนำประเทศ นโยบำยและยุทธศำสตร์ของกระทรวงศึกษำธิกำร และยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกลุ่มจังหวัด รวมถึงพัฒนำกำรศึกษำแบบร่วมมือและบูรณำกำร กับหน่วยงำน ในกระทรวงศึกษำธิกำร และหน่วยงำนอื่นหรือภำคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ส ำนักงำนศึกษำธิกำรภำค 5 จึงด ำเนินกำรติดตำมกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ โดยได้ท ำกำรศึกษำกระบวนขับเคลื่อน และผลกำรด ำเนินงำนกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำระดับภำค รวมทั้ง ปัญหำ อุปสรรค เพื่อน ำไปประกอบกำรตัดสินใจและทบทวนเชิงนโยบำยและยุทธศำสตร์ด้ำนกำรศึกษำในพื้นที่ให้มีควำม เชื่อมโยงและสอดคล้องกับทิศทำงกำรพัฒนำประเทศ นโยบำยและยุทธศำสตร์ของกระทรวงศึกษำธิกำร ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกลุ่มจังหวัด และบริบทอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีรำยละเอียดกำรด ำเนินงำนศึกษำวิจัย ที่ส ำคัญ ดังนี้ วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพื่อศึกษำกระบวนกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติระดับภำค ๒. เพื่อติดตำมผลกำรด ำเนินงำนกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำระดับภำค ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรวิจัยในครั้งนี้ เป็นผู้บริหำรหน่วยงำนกำรศึกษำ และผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ จำกหน่วยงำนกำรศึกษำในพื้นที่ด ำเนินงำนของ ส ำนักงำนศึกษำธิกำรภำค 5 จ ำนวน 79 คน ดังนี้ 1. ส ำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัด จ ำนวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย 1.1 ศึกษำธิกำรจังหวัด จ ำนวน 5 คน 1.2 ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มนโยบำยและแผน จ ำนวน 5 คน 1.3 ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มนิเทศติดตำมและประเมินผล จ ำนวน 5 คน 1.4 ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มพัฒนำกำรศึกษำ จ ำนวน 5 คน 2. ส ำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย จ ำนวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย 2.1 ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำน กศน. จังหวัด จ ำนวน 5 คน 2.2 หัวหน้ำกลุ่มยุทธศำสตร์และกำรพัฒนำ จ ำนวน 5 คน 3. ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ จ ำนวน 14 เขต ประกอบด้วย 3.1 ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ จ ำนวน 14 คน 3.2 ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มนโยบำยและแผน จ ำนวน 14 คน 4. ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ จ ำนวน 3 เขต ประกอบด้วย 4.1 ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ จ ำนวน 3 คน


4.2 ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มนโยบำยและแผน จ ำนวน 3 คน 5. ส ำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน จ ำนวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย - ประธำนคณะกรรมกำรประสำนและส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน (ปส.กช.) จ ำนวน 5 คน 6. ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำจังหวัด (อศจ.) จ ำนวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย 6.1 ประธำนกรรมกำรอำชีวศึกษำจังหวัด จ ำนวน 5 คน ๖.2 เลขำอำชีวศึกษำจังหวัด จ ำนวน 5 คน สรุปผลการศึกษา แบบสอบถำมชุดที่ 1 แบบสอบถำมกระบวนกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำระดับภำค ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับสถำนภำพของผู้ตอบแบบสอบถำม ผู้ตอบแบบสอบถำมจ ำนวน 79 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ ำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 58.20 และเพศชำย จ ำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 41.80 เมื่อจ ำแนกตำมอำยุของผู้ตอบแบบสอบถำม พบว่ำ ช่วงอำยุ 50 ปีขึ้นไป มีจ ำนวนมำกที่สุด จ ำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 82.30 และช่วงอำยุน้อยกว่ำ 30 ปี มีจ ำนวนน้อยที่สุด จ ำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 จ ำแนกตำมระดับกำรศึกษำ พบว่ำ ระดับปริญญำโท มีจ ำนวนมำกที่สุด 60 คน คิดเป็นร้อยละ 75.90 ระดับต่ ำกว่ำปริญญำตรี น้อยที่สุด 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 จ ำแนกตำมสถำนะของผู้ตอบแบบสอบถำม พบว่ำ ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มหรือหัวหน้ำกลุ่ม มีจ ำนวนมำกที่สุด จ ำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 60.80 ผู้ปฏิบัติงำนอื่น ๆ มีจ ำนวนน้อยที่สุด จ ำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.30 จ ำแนกตำมสังกัด พบว่ำ สังกัดส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ มีจ ำนวนมำกที่สุด จ ำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 35.40 และสังกัดส ำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน มีจ ำนวนน้อย ที่สุด จ ำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.30 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูลแบบสอบถำมเกี่ยวกับกระบวนกำรกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ กำรศึกษำระดับภำค ในภำพรวมมีกำรปฏิบัติอยู่ในระดับมำก ( x =4.06 , S.D.=0.74) เมื่อพิจำรณำเป็นรำยด้ำน 4 ด้ำน คือ ด้ำนกลไกกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ ด้ำนกำรขับเคลื่อนแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ กำรศึกษำ ด้ำนกำรแปลงแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติ และด้ำนกำรติดตำมและรำยงำนผล กำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ พบว่ำ ด้ำนที่มำกที่สุด คือ กำรแปลงแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ กำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติ ( x = ๔.21 , S.D.= 1.60) และด้ำนที่น้อยที่สุด คือ กำรขับเคลื่อนแผนยุทธศำสตร์ กำรพัฒนำกำรศึกษำ ( x = 3.88 , S.D.= 0.72) ด้ำนกลไกกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ มีผลกำรปฏิบัติอยู่ในระดับมำก ( x =4.14 , S.D.=0.63) เมื่อพิจำรณำเป็นรำยข้อ พบว่ำ ข้อที่มำกที่สุด คือ กำรจัดท ำแผนพัฒนำกำรศึกษำ และแผนปฏิบัติกำรที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ( x = 4.28 , S.D.= 0.88) และข้อที่น้อยที่สุด คือ กำรน ำ เทคโนโลยี มำใช้เป็นเครื่องมือหลักในกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ ( x = 4.00 , S.D.= 0.85) ด้ำนกำรขับเคลื่อนแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ มีผลกำรปฏิบัติอยู่ในระดับมำก ( x =3.88 , S.D.=0.72) เมื่อพิจำรณำเป็นรำยข้อ พบว่ำ ข้อที่มำกที่สุด คือ กำรสร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ


เกี่ยวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิดและวิธีปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติงำน ( x =3.99 , S.D.=0.94) และข้อที่น้อยที่สุด คือ กำรแสวงหำ และระดมทรัพยำกรจำกทุกภำคส่วนที่เกี่ยวข้อง ( x =3.72 , S.D.=0.95) ด้ำนกำรแปลงแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติ มีผลกำรปฏิบัติอยู่ในระดับมำก ( x =4.21 , S.D.=1.60) เมื่อพิจำรณำเป็นรำยข้อ พบว่ำ ข้อที่มำกที่สุด คือ กำรด ำเนินงำนโครงกำร/กิจกรรมในรูปแบบ ขององค์คณะบุคคล ( x =4.13 , S.D.=0.76) และข้อที่น้อยที่สุด คือ กำรวำงแผนด ำเนินงำนสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ พัฒนำกำรศึกษำกลุ่มจังหวัด ( x =3.99 , S.D.=0.81) ด้ำนกำรติดตำมและรำยงำนผลกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ มีผลกำรปฏิบัติอยู่ใน ระดับมำก ( x =4.0๙ , S.D.=0.85) เมื่อพิจำรณำเป็นรำยข้อ พบว่ำ ข้อที่มำกที่สุด คือ กำรแต่งตั้งคณะกรรมกำร ในกำรติดตำม ประเมินผล ( x =4.09 , S.D.=0.85) และข้อที่น้อยที่สุด คือ กำรน ำผลกำรประเมินมำปรับปรุง และพัฒนำแผนในปีต่อไป ( x =3.96 , S.D.=0.94) ข้อเสนอแนะต่อกระบวนกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติระดับภำค ด้ำนกลไกกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ ดังนี้ 1) ควรแต่งตั้งคณะกรรมกำรด ำเนินกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ โดยมีองค์ประกอบของ คณะกรรมกำรทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชำติ ระดับภำค ระดับจังหวัด และระดับเขตพื้นที่กำรศึกษำ และด ำเนินกำร อย่ำงต่อเนื่อง 2) กำรจัดท ำแผนมีควำมชัดเจน เน้นกำรมีส่วนร่วม กำรพัฒนำกำรศึกษำแบบบูรณำกำรให้สอดคล้องกับ ยุทธศำสตร์ในระดับต่ำงๆ นโยบำยกระทรวง สพฐ. และเขตพื้นที่ 3) ใช้พระรำชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมกำรศึกษำ พ.ศ.2562 เป็นหลักในกำรขับเคลื่อน 4) ควรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วม สร้ำงควำมเข้ำใจร่วมกับทุกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง บูรณำกำรหน่วยงำน ทำงกำรศึกษำอย่ำงเป็นรูปธรรม เพื่อขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ของภำคไปสู่เป้ำหมำย โดยภำคควรก ำหนดทิศทำงและ กรอบแนวทำงกำรด ำเนินกำรภำยใต้ภำรกิจของแต่ละหน่วยงำนทำงกำรศึกษำให้ชัดเจน อย่ำงเป็นรูปธรรม 5) กำรจัดท ำแผนพัฒนำกำรศึกษำควรน ำข้อมูลพื้นฐำน ควำมต้องกำรของหน่วยงำนทำงกำรศึกษำ เทคโนโลยีเป็นกลไกกำรขับเคลื่อนที่เป็นรูปธรรม 6) ประสำนและสร้ำงควำมร่วมมือในกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำอย่ำงต่อเนื่อง มีกำร ติดตำมเป็นระยะ ด้ำนกำรขับเคลื่อนแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ ดังนี้ 1) กำรขับเคลื่อนแผนพัฒนำกำรศึกษำระดับภำคให้เป็นไปในทิศทำงเดียวกันและสอดคล้องกับระดับ จังหวัด สร้ำงกำรรับรู้ควำมเข้ำใจให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ เน้นกำรมีส่วนร่วม เปิดโอกำสให้แสดงข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะอย่ำงครอบคลุมต่อเนื่อง 2) ควรแต่งตั้งคณะกรรมกำรกลั่นกรองและหลอมรวมกำรจัดกำรศึกษำทุกจังหวัด ตอบสนองยุทธศำสตร์ ชำติ 20 ปี น ำนโยบำยลงสู่กำรปฏิบัติ เพื่อบรรลุเป้ำหมำยที่ก ำหนดไว้ 3) มีข้อมูลสำรสนเทศที่รอบด้ำนทุกมิติ ตรงกับสภำพจริงและบริบทของแต่ละพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูล ในกำรจัดท ำแผนและกำรตัดสินใจเชิงบริหำรในกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ


ด้ำนกำรแปลงแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติดังนี้ 1) ก ำหนดให้มีกำรประสำนงำน กำรสื่อสำร และชี้แจงสร้ำงควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับแผนพัฒนำกำรศึกษำให้ ทุกฝ่ำยที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นทิศทำงในกำรพัฒนำกำรศึกษำเพื่อให้เกิดกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง มีประสิทธิภำพสูงสุด 2) ควรปรับแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่กำรพัฒนำ แต่ละจังหวัด 3) ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติ จะสำมำรถน ำไปสู่กำรปฏิบัติได้อย่ำงเป็นรูปธรรมและ สำมำรถประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผน ตำมตัวชี้วัดและเป้ำหมำยได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล จ ำเป็นที่ จะต้องมีกระบวนกำรประสำน เพื่อกำรแปลงแผนไปสู่กำรปฏิบัติในระดับพื้นที่ด้วย ด้ำนกำรติดตำมและรำยงำนผลกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ ดังนี้ 1) ควรแต่งตั้งคณะกรรมกำรติดตำมประเมินผลและก ำหนดกรอบระยะเวลำในกำรติดตำมให้ชัดเจน 2) มีกำรรำยงำนผลกำรด ำเนินกำรตำมแผน ผ่ำนระบบ ICT อย่ำงต่อเนื่อง เพื่อควำมสะดวกแก่ผู้เกี่ยวข้อง และสำมำรถรับรู้ผลกำรด ำเนินงำนได้รวดเร็วขึ้น และน ำผลมำพัฒนำปรับปรุงและเป็นแนวทำงในกำรจัดท ำแผนใน ปีต่อไป 3) มีกำรติดตำมเป็นตัวชี้วัดอย่ำงเป็นระบบ ลดควำมซ้ ำซ้อน ชัดเจนในกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำร พัฒนำกำรศึกษำอย่ำงเป็นระยะและต่อเนื่อง แบบสอบถำมชุดที่ 2 สรุปผลกำรติดตำมกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำในพื้นที่ของ กระทรวงศึกษำธิกำร ตำมประเด็นยุทธศำสตร์แผนกำรศึกษำแห่งชำติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60– ๒๕79) ผลกำรติดตำมกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำในพื้นที่ของกระทรวงศึกษำธิกำร ตำมประเด็นยุทธศำสตร์แผนกำรศึกษำแห่งชำติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60– ๒๕79) ทั้ง 6 ยุทธศำสตร์ คือ 1) กำรจัด กำรศึกษำเพื่อควำมมั่นคงของสังคมและประเทศชำติ2) กำรผลิตและพัฒนำก ำลังคน กำรวิจัย และนวัตกรรมเพื่อ สร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ 3) กำรพัฒนำศักยภำพคนทุกช่วงวัย และกำรสร้ำงสังคมแห่งกำร เรียนรู้4) กำรสร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทียมทำงกำรศึกษำ 5) กำรจัดกำรศึกษำเพื่อสร้ำงเสริม คุณภำพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6)กำรพัฒนำประสิทธิภำพของระบบบริหำรจัดกำรศึกษำ จ ำนวน 15 ประเด็นกำรพัฒนำ พบว่ำ หน่วยงำนทำงกำรศึกษำในพื้นที่เขตตรวจรำชกำรที่ 5 (จังหวัดชุมพร สุรำษฎร์ธำนี นครศรีธรรมรำช พัทลุง และสงขลำ) ได้แก่ ส ำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัด 5 หน่วยงำน ส ำนักงำนส่งเสริม กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย จ ำนวน 5 หน่วยงำน ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำ จ ำนวน 14 เขตส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ จ ำนวน 3 เขต ส ำนักงำนคณะกรรมกำร ส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน จ ำนวน 5 หน่วยงำน และส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ จ ำนวน 5 หน่วยงำน รวมทั้งสิ้น 37 หน่วยงำน ได้ด ำเนินกำรจัดท ำโครงกำร/กิจกรรมที่สอดคล้องประเด็นยุทธศำสตร์แผนกำรศึกษำ แห่งชำติ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60– ๒๕79) ทั้ง 6 ยุทธศำสตร์


ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อกำรน ำผลกำรศึกษำไปใช้ 1) กำรจัดท ำยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำระดับภำค ควรแต่งตั้งคณะกรรมกำรด ำเนินกำรขับเคลื่อน ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ โดยมีองค์ประกอบของคณะกรรมกำรทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชำติ ระดับภำค ระดับ จังหวัด และระดับเขตพื้นที่กำรศึกษำ และด ำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่อง 2) กำรจัดท ำแผนควรมีควำมชัดเจน เน้นกำรมีส่วนร่วม กำรพัฒนำกำรศึกษำแบบบูรณำกำรให้สอดคล้อง กับยุทธศำสตร์ในระดับต่ำงๆ ทิศทำงกำรพัฒนำประเทศ นโยบำยและยุทธศำสตร์ของกระทรวงศึกษำธิกำร ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกลุ่มจังหวัด และบริบทอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3) ควรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วม สร้ำงควำมเข้ำใจร่วมกับทุกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง บูรณำกำรหน่วยงำน ทำงกำรศึกษำอย่ำงเป็นรูปธรรม แสวงหำและระดมทรัพยำกรจำกทุกภำคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ ของภำคไปสู่เป้ำหมำย โดยภำคควรก ำหนดทิศทำงและกรอบแนวทำงกำรด ำเนินกำรภำยใต้ภำรกิจของแต่ละ หน่วยงำนทำงกำรศึกษำให้ชัดเจน อย่ำงเป็นรูปธรรม 4) กำรจัดท ำแผนพัฒนำกำรศึกษำควรน ำข้อมูลพื้นฐำน ควำมต้องกำรของหน่วยงำนทำงกำรศึกษำ ข้อมูลสำรสนเทศที่รอบด้ำนทุกมิติ ตรงกับสภำพจริงและบริบทของแต่ละพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในกำรจัดท ำแผน และกำรตัดสินใจเชิงบริหำรในกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ รวมถึงมีกำรใช้เทคโนโลยีเป็นกลไกกำรขับเคลื่อนที่เป็น รูปธรรม 5) ควรมีกำรปรับแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ และสภำวกำรณ์ทำงกำรศึกษำในปัจจุบันทั้งภำยในและภำยนอกประเทศอยู่เสมอ 6) ควรมีกำรจัดระบบกำรก ำกับ ติดตำม และรำยงำนผลกำรด ำเนินกำรตำมแผน ผ่ำนระบบ ICT อย่ำงต่อเนื่อง เพื่อควำมสะดวกแก่ผู้เกี่ยวข้องและสำมำรถรับรู้ผลกำรด ำเนินงำนได้รวดเร็วขึ้น และน ำผลมำพัฒนำ ปรับปรุงและเป็นแนวทำงในกำรจัดท ำแผนในปีต่อไป ข้อเสนอแนะเพื่อกำรศึกษำครั้งต่อไป 1) ในกำรศึกษำผลกำรด ำเนินงำนกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ ยังมีประเด็น ที่น่ำสนใจอีกหลำยอย่ำง เช่น ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์(Outcome) ควำมเพียงพอของงบประมำณ รวมถึง ควำมพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ต่อกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ เป็นต้น 2) ควรมีกำรศึกษำ หรือติดตำมกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำในพื้นที่ของ กระทรวงศึกษำธิกำร ตำมประเด็นยุทธศำสตร์ของแผนระดับอื่นๆ ด้วย เช่น แผนแม่บท.......ภำยใต้ยุทธศำสตร์ ชำติ ด้ำน.....” “แผนปฏิรูปประเทศ ด้ำน..........” “แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ ....” และ “แผนควำมมั่นคง” เป็นต้น 3) ควรศึกษำปัจจัยที่ส่งผลต่อควำมส ำเร็จของกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ ระดับภำคด้วย


บทที่ 1 บทน ำ 1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ การศึกษาเป็นเครื่องมือส าคัญในการสร้างคน สร้างสังคม และสร้างชาติ เป็นกลไกหลัก ในการพัฒนาก าลังคนให้มีคุณภาพ สามารถด ารงชีวิตอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกศตวรรษที่ 21 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักธรรมมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดท าแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพื่อให้ เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว และมาตรา 54 รัฐมีหน้าที่ด าเนินการ ก ากับ ส่งเสริม สนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล การด าเนินการและตรวจสอบ การด าเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วยการศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เชี่ยวชาญตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ1 ประเทศไทยให้ความส าคัญด้านการศึกษาในฐานะกลไกหลักในการพัฒนาประเทศ และได้ก าหนดกรอบแนวทางในการพัฒนาประเทศระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) “ประเทศไทย มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” และก าหนดยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวกับภารกิจของส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 6 ด้าน ได้แก่ 1) ความมั่นคง 2) การสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ 4) การสร้างโอกาส ความเสมอภาคทางสังคม 5) การเสริมสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6) การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ2 แนวนโยบายของนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้ก าหนดวิสัยทัศน์ไว้ให้กระทรวงศึกษาธิการ น าไปก าหนดยุทธศาสตร์เพื่อการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการไว้ว่า “ยกระดับคุณภาพ การศึกษาที่ดีขึ้น มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และลดความเหลื่อมล้ าอย่างทั่วถึง ผลิตและพัฒนาก าลังคน ให้สอดคล้องกับความต้องการและรองรับการพัฒนาประเทศ” นโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการในการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ก าหนดให้องค์กรหลักน าไปก าหนดนโยบายขององค์กร สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติขององค์กร ให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดท าแผนและขับเคลื่อน สู่การปฏิบัติในการจัดการศึกษาในแต่ละจังหวัดให้เป็นรูปธรรม3 กระทรวงศึกษาธิการได้น ายุทธศาสตร์ ชาติ มาเป็นกรอบความคิดในการจัดท าแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) เพื่อเป็นแนวทาง ในการจัดการศึกษาและได้ก าหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษาภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติหลัก ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประกอบด้วย 1) การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคม และประเทศชาติ 2) การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ 3) การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 1 ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก, 6 เมษายน 2560. 2 ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์, ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, แผนปฏิบัติรำชกำรประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ของส ำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร (ฉบับปรับปรุง) ตำมงบประมำณที่ได้รับกำรจัดสรร, กรุงเทพฯ : 2562. 3 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ, นโยบำยและจุดเน้นกำรจัดกำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิกำร ประจ ำปีงบประมำณ 2562.


2 4) การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา 5) การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริม คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6) การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา 4 กระทรวงศึกษาธิการได้ขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ ประสานความเชื่อมโยงให้สอดคล้องในการขับเคลื่อน 4 ระดับ ได้แก่ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายของรัฐบาลและยุทธศาสตร์ชาติ (Agenda Based) ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการและ องค์กรหลัก (Function Based) ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด (Cluster Based) และยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด (Area Based) และระดับหน่วยงาน รวมทั้ง น าสภาพปัญหา ความต้องการและ ความเร่งด่วนของกลุ่มจังหวัดมาเป็นจุดเน้นของการพัฒนาการศึกษา โดยมีเป้าหมายส าคัญที่จะต้อง ขับเคลื่อนนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ให้ส าเร็จตามวัตถุประสงค์ มีการทบทวนหรือจัดท าแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของภาค เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาการศึกษาของภาค ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในพื้นที่ ส านักงานศึกษาธิการภาค 1-18 ตามค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความ สงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยในข้อ 5 ให้มีส านักงานศึกษาธิการภาค จ านวนสิบแปดภาค สังกัดส านักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ตามบัญชีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด เพื่อปฏิบัติ ภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพื้นที่ ท าหน้าที่ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยการอ านวยการ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานอื่นหรือภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่นั้น ๆ จากรายงานผลการด าเนินงานตามแผนบูรณาการด้านการศึกษาของภาคใต้ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการ ส านักงานศึกษาธิการภาค 6 (เดิม) ได้รับมอบหมาย ให้ท าหน้าที่หน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนการบูรณาการพื้นที่ระดับภาคใต้พบว่า งบประมาณ ที่หน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่เป็นการขับเคลื่อนการพัฒนาภาคของกระทรวงศึกษาธิการ จ านวน 12 โครงการ รวม 3,437.6104 ล้านบาท โครงการที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการบูรณาการนโยบาย พัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) ที่เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณตามกรอบการจัดท าแผนพัฒนาด้านการศึกษา ระดับภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ตามนโยบายการพัฒนาพื้นที่ระดับภาคประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จ านวน 3 โครงการ รวม 252.7479 ล้านบาท ทั้งนี้ จากผลการด าเนินงานพบว่าได้รับอนุมัติ งบประมาณน้อยมากท าให้ไม่สามารถท าหน้าที่ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคที่ตอบโจทย์ทิศทาง การพัฒนาภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการมีส่วนร่วมของจ านวนหน่วยงานที่บูรณาการการท างาน ร่วมกันยังมีน้อย ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ของส านักงานศึกษาธิการ ภาค 5 ได้ด าเนินการจัดท าและทบทวนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา เพื่อเป็นกรอบในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ แต่อย่างไรก็ตาม ยังขาดกระบวนการติดตามผล การด าเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติหน่วยงานในพื้นที่ได้ด าเนินการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในพื้นที่ให้มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา ประเทศนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดและบริบท 4 ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ, แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560-2579, กรุงเทพฯ : 2560.


3 อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัด ระดับใด ส านักงานศึกษาธิการภาค 5 เป็นหน่วยงานที่ปฏิบัติ ภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่ ท าหน้าที่ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด ก าหนดยุทธศาสตร์และบทบาทการพัฒนาภาคต่าง ๆ ให้เชื่อมโยงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา ประเทศ ทิศทางการด าเนินงานนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับภาคและกลุ่มจังหวัด รวมทั้งการพัฒนา ด้านอื่น ๆ ในพื้นที่รับผิดชอบตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแต่ละพื้นที่ ตลอดจน การก ากับดูแลติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานของส านักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ5 จากสภาพปัญหาดังกล่าว ส านักงานศึกษาธิการภาค 5 เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการ ก าหนดยุทธศาสตร์และการพัฒนาภาคต่าง ๆ ให้เชื่อมโยงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ตามทิศทางการด าเนินงานของคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษารวมทั้งพัฒนาด้านอื่น ๆ ในพื้นที่รับผิดชอบ ได้เล็งเห็นความส าคัญของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค จึงด าเนินการติดตาม การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา โดยท าการศึกษากระบวนขับเคลื่อนและผลการด าเนินงาน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค รวมทั้ง ปัญหา อุปสรรค เพื่อน าไปประกอบ การตัดสินใจและทบทวนเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในพื้นที่ให้มีความเชื่อมโยงและ สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มจังหวัด และบริบทอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 2.1 เพื่อศึกษากระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค 2.2 เพื่อติดตามผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค 3. ขอบเขตกำรวิจัย การติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค มีขอบเขต การวิจัย ด้านเนื้อหา ด้านพื้นที่ และเวลา ดังนี้ 3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา 3.1.1 กระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ประกอบด้วย กลไกการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนแผน การแปลงแผนสู่การปฏิบัติและการติดตามและรายงานผล 3.1.2 ผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ประกอบด้วย 1. ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. ยุทธศาสตร์การผลิตและ พัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 4. ยุทธศาสตร์ การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา 5. ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา เพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประสิทธิภาพ ของระบบบริหารจัดการศึกษา 5 ค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, ที่ 19/2560 การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ, รำชกิจจำนุเบกษำ, เล่ม 133 ตอนที่พิเศษ 68 ง. 3 เมษายน พ.ศ.2560.


4 3.2 ขอบเขตด้านพื้นที่ หน่วยงานทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของส านักงานศึกษาธิการภาค 5 3.3 ขอบเขตด้านเวลา ด าเนินการวิจัย 1 ปี ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 4. นิยำมศัพท์ กระบวนกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ หมำยถึง การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา โดยครอบคลุมประเด็นกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การแปลงแผนสู่การปฏิบัติ การขับเคลื่อน แผนการติดตามและรายงานผล กลไกกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ หมำยถึง ระบบหรือขั้นตอนการด าเนินการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ โดยครอบคลุมประเด็น การจัดท าแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน และเป็นรูปธรรม การน าเทคโนโลยี มาใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การบริหาร จัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมการสร้างเครือข่ายหน่วยงานการศึกษา การพัฒนาการศึกษาแบบบูรณาการ เพื่อให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ บรรลุเป้าหมาย แสวงหาและระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง กำรขับเคลื่อนแผน หมำยถึง การสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิดและวิธีปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติงาน การจัดการความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากประสบการณ์เพื่อให้ผู้ปฏิบัติสามารถออกแบบแผนงาน/โครงการ เปิดโอกาสให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในการจัดท าแผนการพัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศเชิงพื้นที่เพื่อใช้เป็นข้อมูล ในการจัดท าแผนแสวงหาและระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง กำรแปลงแผนสู่กำรปฏิบัติ หมำยถึง การวางแผนด าเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์พัฒนา การศึกษากลุ่มจังหวัด การจัดอันดับความส าคัญของเป้าหมาย ก าหนดแนวทางการด าเนินงานระยะเวลา ผู้รับผิดชอบของแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน การด าเนินการตามแผนงาน/โครงการที่ก าหนดโครงการ/กิจกรรม มีการด าเนินงานในรูปแบบขององค์คณะบุคคล กำรติดตำมและรำยงำนผล หมำยถึง การติดตามผลการด าเนินงานตามแผน โดยมีการแต่งตั้ง คณะกรรมการในการติดตามและรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรม การประเมินผล การด าเนินงานตามแผน การน าผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาแผนในปีต่อไป ผลกำรด ำเนินงำน หมายถึง ผลการด าเนินงานตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการพัฒนา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำ หมายถึง ยุทธศาสตร์ที่ก าหนดไว้ในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง ของสังคมและประเทศชาติ 2. ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้าง สังคมแห่งการเรียนรู้ 4. ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา 5. ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา


5 ระดับภำค หมายถึง พื้นที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบของส านักงานศึกษาธิการภาค 5 ที่จัดตั้งขึ้นตามค าสั่ง หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษา ในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2560 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง สถานที่จัดตั้งส านักงานศึกษาธิการภาค ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2562 ข้อ 5 ส านักงานศึกษาธิการภาค 5 รับผิดชอบด าเนินงานในพื้นที่จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา 5. กรอบแนวคิดในกำรวิจัย 6. ประโยชน์ที่จะได้รับ 6.1 ได้กระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของระดับภาค 6.2 ได้ทราบผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของส านักงาน ศึกษาธิการภาค 6.3 มีข้อมูลประกอบการวางแผนการจัดการศึกษา ของหน่วยงานในระดับภาค 6.4 มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการก าหนดนโยบายของหน่วยงานระดับนโยบาย 6.5 มีเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค การติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค กระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค ติดตามผลการด าเนินงานการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา (ตามยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์) - กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ - การขับเคลื่อนแผน - การแปลงแผนสู่การปฏิบัติ - การติดตามและรายงานผล 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 4. การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา กระบวนการขับเคลื่อนและผลการด าเนินงาน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย


บทที่ 2 หลักการ แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค ในครั้งนี้ เป็นการติดตามเกี่ยวกระบวนการและผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ระดับภาค ของหน่วยงานการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของส านักงานศึกษาธิการภาค 5 ในประเด็นกลไก การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนแผน การแปลงแผนสู่การปฏิบัติและการติดตามและรายงานผล การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัยและ นวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบ บริหารจัดการศึกษา คณะผู้ด าเนินการวิจัยได้ศึกษา ค้นคว้าหลักการ แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง น ามาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการศึกษา ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์ 1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) 1.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 1.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค 1.4 ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 2. นโยบาย 2.1 นโยบายรัฐบาล 2.2 นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 2.3 นโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2562 3. แผนแม่บทและแผนปฏิรูป 3.1 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 3.2 แผนการปฏิรูปประเทศ 3.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) 3.4 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 4. การติดตามและประเมินผล 5. ระบบกลไก 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนา เพื่อให้การด าเนินงานบรรลุวิสัยทัศน์และเป้าหมาย ที่ก าหนดไว้การพัฒนาประเทศมียุทธศาสตร์ในการพัฒนาหลายยุทธศาสตร์ เช่น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ยุทธศาสตร์แผนการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 มีรายละเอียด ดังนี้


๗ 1.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) คณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติได้ด าเนินการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปีโดยก าหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมายและ ยุทธศาสตร์ ดังนี้6 1 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจ าชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ความมั่นคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายใน ประเทศและภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศ มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตยมีการปกครองระบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระ ประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของ ประชาชน มีระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่น าไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตามหลัก ธรรมาภิบาล สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกก าลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมี ความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคง พอเพียงกับการด ารงชีวิต มีการออมส าหรับวัยเกษียณ ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้ า มีที่อยู่อาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและ มีความยั่งยืน จนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้ าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดี มีสุขได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น และมีการพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคส่วน มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่างๆ ทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศเพื่อให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพื่อให้สอดรับกับบริบทการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทที่ส าคัญในเวทีโลก และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟ้น กับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดส าคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุนและการท าธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากนั้น ยังมีความสมบูรณ์ในทุน ที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็น เครื่องมือเครื่องจักรทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของ ประชาชนให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้ การรักษาและ การฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อ สิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภค เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม 6 ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580. พิมพ์ ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: มกราคม 2562.


๘ สมบูรณ์มากขึ้นและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละ เพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายที่มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน และให้ความส าคัญกับการมี ส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการพัฒนาอย่างสมดุล มีเสถียรภาพและยั่งยืน โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของ ประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐ ของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 1) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของ ทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ.2561 - 2580) 6 ยุทธศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจของส านักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้72 1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส าคัญ คือ ประเทศชาติ มั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและ ภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคง ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วน ราชการ ภาคเอกชนประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศทั่วโลก บนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล เพื่อเอื้ออ านวยประโยชน์ต่อการด าเนินการของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านอื่นๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตามทิศทางและเป้าหมายที่ก าหนด 2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา ที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ 2.1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบ เชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่น ๆ น ามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้ สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ 27 ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์, ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. แผนปฏิบัติราชการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร). เอกสารอัดส าเนา. 2562.


๙ 2.2) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของ ประเทศในมิติต่างๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ ดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต 2.3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคน รุ่นใหม่ รวมถึง ปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสาน กับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริม และสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทาง การค้าและการลงทุนใน เวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มขึ้น ของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้ าของคนในประเทศได้ในคราวเดียวกัน 3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส าคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิตสู่การเป็น คนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และ อื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง 4) ยุทธศาสต ร์ช าติด้านก ารสร้ างโอกาสและคว ามเสมอภาคท างสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส าคัญที่ให้ความส าคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชน ในการร่วมคิด ร่วมท าเพื่อส่วนรวม การกระจายอ านาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับ ท้องถิ่น การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของ ประชากรไทยทั้งในมิติ สุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถ พึ่งตนเองและท าประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึง บริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง 5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส าคัญเพื่อน าไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้าน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกัน ทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในการก าหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้โดยเป็นการ ด าเนินการบนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ ความส าคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง 3 ด้าน อันจะน าไปสู่ความยั่งยืนเพื่อคนรุ่นต่อไปอย่างแท้จริง 6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส าคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และ ประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของ รัฐที่ท าหน้าที่ในการก ากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขันมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลัก ธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการท างานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวมมีความทันสมัยและ


๑๐ พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน านวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการท างานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงาน เทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามา มีส่วนร่วม เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วน ในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตส านึกในการปฏิเสธไม่ ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จ าเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และน าไปสู่การลดความเหลื่อมล้ าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอ านวย ความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม 1.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจของ ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 9 ยุทธศาสตร์ ดังนี้83 1.2.1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้ความส าคัญกับการวางรากฐาน การพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์เริ่มตั้งแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยที่ต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีทักษะ ทางสมอง ทักษะการเรียนรู้ และทักษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการพัฒนาคนไทย ในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตส านึกที่ดีต่อสังคม ส่วนรวม มีทักษะความรู้ และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวที่รวดเร็ว บนพื้นฐานของการมีสถาบันทางสังคมที่เข้มแข็งทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนที่ร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกทั้งยังเป็นทุนทางสังคมส าคัญ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ 1.2.2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ าในสังคม ให้ความส าคัญกับการด าเนินการ ยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ทั่วถึงโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษาและสาธารณสุข รวมทั้ง การปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทยซึ่งเป็นการด าเนินงานต่อเนื่องจาก ที่ได้ขับเคลื่อน และผลักดันในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และมุ่งเน้นมากขึ้นในเรื่องการเพิ่มทักษะแรงงานและการใช้ นโยบายแรงงานที่สนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและเสริมสร้างรายได้สูงขึ้น และการสร้างโอกาส ทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนในเรื่องการสร้างอาชีพ รายได้ และให้ความ ช่วยเหลือที่เชื่อมโยง การเพิ่มผลิตภาพส าหรับประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ต่ าสุด ผู้ด้อยโอกาสสตรี และผู้สูงอายุ อาทิ การสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชนและวิสาหกิจ เพื่อสังคมการพัฒนาองค์กรการเงิน ฐานรากและการเข้าถึงเงินทุนเพื่อสร้างอาชีพ และการสนับสนุน การเข้าถึงปัจจัยการผลิตคุณภาพดีที่ราคาเป็นธรรม เป็นต้น และในขณะเดียวกันก็ต้องเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้งบประมาณเชิงพื้นที่และบูรณาการเพื่อการลดความเหลื่อมล้ า 1.2.3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืนเน้นให้เศรษฐกิจเติบโต ได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ ภาคส่งออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเป็นกลไกส าคัญในการ 8 ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์, ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. แผนปฏิบัติราชการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2562. (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร). เอกสารอัดส าเนา. 2562.


๑๑ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพิ่มขึ้น การลงทุนภาครัฐและเอกชนมีการขยายตัว อย่างต่อเนื่องและมาจากความร่วมมือกันมากขึ้น ประชาชนและผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบภาษีมากขึ้น และประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงขึ้น นอกจากนี้ ยังเน้นให้เศรษฐกิจราย สาขามีการเติบโตอย่างเข้มแข็ง ภาคการเกษตรเน้นเกษตรกรรมยั่งยืนและให้เกษตรกร มีรายได้เพิ่มขึ้น มีการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมนิเวศ การท่องเที่ยวสามารถทารายได้และแข่งขันได้มากขึ้น วิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมมีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจมากขึ้น ภาคการเงินมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และใช้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นก้าวหน้าที่เข้มข้นมากขึ้น การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล การพัฒนา และยกระดับคุณภาพของก าลังคน และความคิดสร้างสรรค์ในการขยายฐานเศรษฐกิจ การพัฒนาพื้นที่ เศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ การผสมผสานภาคบริการเข้ากับการค้าและ การเตรียมความพร้อมของภาคบริการ ให้สามารถรองรับการแข่งขันที่เสรีขึ้น 1.2.4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นท้าทาย ที่ต้องเร่งด าเนินการในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้แก่ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร ธรรมชาติและยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและคุณภาพ ชีวิตของประชาชน เร่งแก้ไขปัญหาวิกฤติสิ่งแวดล้อมเพื่อลดมลพิษที่เกิดจากการผลิต และการบริโภค พัฒนาระบบบริหารจัดการที่โปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นวงกว้างมากขึ้นต้องเร่งเตรียมความพร้อมในลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพิ่มขีดความสามารถ ในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ 1.2.5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคั่งและยั่งยืน ให้ความส าคัญต่อการฟื้นฟูพื้นฐานด้านความมั่นคงที่เป็นปัจจัยส าคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเห็นต่างทางความคิดและ อุดมการณ์บนพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและ การเตรียมการรับมือกับภัยคุกคามข้ามชาติซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยยะส าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศในระยะ 20 ปีข้างหน้า 1.2.6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย เป็นช่วงเวลาส าคัญที่ต้องเร่งปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจัง เพื่อให้เป็นปัจจัยสนับสนุนส าคัญที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้านให้ประสบผลส าเร็จบรรลุ เป้าหมาย ทั้งการบริหารจัดการภาครัฐให้โปร่งใส มีประสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจายอ านาจ และแบ่งภารกิจรับผิดชอบที่เหมาะสม ระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น และวางพื้นฐานเพื่อให้บรรลุตามกรอบเป้าหมายอนาคตในปี 2579 1.2.7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ มุ่งเน้นการขยาย ขีดความสามารถ และพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจหลัก และส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุ่มในสังคม สนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาคและในอาเซียน อย่างเป็นระบบ โดยมีโครงข่ายเชื่อมโยงภายในประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ตามแนวระเบียง เศรษฐกิจต่าง ๆ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการก ากับดูแลให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มประสิทฺธิภาพการด าเนินการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการพื้นฐาน และการคุ้มครอง


๑๒ ผู้บริโภค การพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ และการพัฒนา ผู้ประกอบการ ในสาขาโลจิสติกส์และหน่วยงานที่มีศักยภาพเพื่อไปท าธุรกิจในต่างประเทศ 1.2.8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้ความส าคัญกับการใช้องค์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิด สร้างสรรค์อย่างเข้มข้นทั้งในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม รวมทั้งให้ความส าคัญกับการพัฒนา สภาวะแวดล้อมหรือปัจจัยพื้นฐานที่เอื้ออ านวยทั้งการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร วิจัย โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ เพื่อช่วยขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศให้ก้าวสู่เป้าหมาย 1.2.9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ประเทศไทยต้องใช้ประโยชน์จากศักยภาพ และภูมิสังคมเฉพาะของพื้นที่ และการด าเนินยุทธศาสตร์เชิงรุกเพื่อเสริมจุดเด่นในระดับภาคและจังหวัด ในการเป็นฐานการผลิตและบริการที่ส าคัญ ประกอบกับการขยายตัวของประชากรในเขตเมืองจะเป็น โอกาสในการกระจายความเจริญและยกระดับรายได้ของประชาชนโดยการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่ และมีศักยภาพในการรองรับการค้าการลงทุน รวมทั้งลดแรงกดดันจากการกระจุกตัวของการพัฒนา ในกรุงเทพฯ และภาคกลางไปสู่ภูมิภาค นอกจากนี้ การเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ยังเป็นโอกาสในการเปิดพื้นที่เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดนเชื่อมโยงการค้าการลงทุนในภูมิภาคของไทย กับประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย 1.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค มี 6 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ ภาคใต้ชายแดน โดยที่ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้รับงบประมาณ ในแผนงานบูรณาการพื้นที่ระดับภาคในประเด็นยุทธศาสตร์ดังนี้ 1.3.1 ทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ94 1.3.1.1 บริหารจัดการน้ าให้เพียงพอต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตอย่าง ยั่งยืน 1.3.1.2 แก้ปัญหาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีรายได้น้อยเพื่อลดความ เหลื่อมล้ าทางสังคม 1.3.1.3 สร้างความเข้มแข็งของฐานเศรษฐกิจภายในควบคู่กับการแก้ปัญหา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1.3.1.4 พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ 1.3.1.5 ใช้โอกาสจากการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งที่เชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจ หลักภาคกลางและพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) เพื่อพัฒนาเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ๆ ของภาค 1.3.1.6 พัฒนาความร่วมมือและใช้ประโยชน์จากข้อตกลงกับประเทศเพื่อนบ้าน ในการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจตามแนวชายแดนและแนวระเบียงเศรษฐกิจ 9 ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาภาค ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ได้รับความเห็นชอบ จากที่ประชุม ก.บ.ภ. ครั้งที่ 1/2561 วันที่ 26 มี.ค.61), ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ( 2560–2564), 2561.


๑๓ 1.3.2 ทิศทางการพัฒนาภาคเหนือ105 1.3.2.1 พัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจบริการต่อเนื่องให้มีคุณภาพ สามารถสร้าง มูลค่าเพิ่มอย่างยั่งยืน และกระจายประโยชน์อย่างทั่วถึง รวมทั้งต่อยอดการผลิตสินค้าและบริการที่มี ศักยภาพสูงด้วยภูมิปัญญาและนวัตกรรม 1.3.2.2 ใช้โอกาสจากเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการเชื่อมโยงกับอนุภูมิภาค GMS BIMSTEC และ AEC เพื่อขยายฐานเศรษฐกิจของภาค 1.3.2.3 ยกระดับเป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เชื่อมโยงสู่ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่สร้างมูลค่าเพิ่มสูง 1.3.2.4 พัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาระบบดูแล ผู้สูงอายุ อย่างมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ยกระดับทักษะฝีมือแรงงานภาคบริการ 1.3.2.5 อนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้ าให้คงความสมบูรณ์ จัดระบบบริหาร จัดการน้ า อย่างเหมาะสมและเชื่อมโยงพื้นที่เกษตรให้ทั่วถึง ป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษหมอกควันอย่างยั่งยืน 1.3.3 ทิศทางการพัฒนาภาคกลางและพื้นที่กรุงเทพมหานคร116 3.1.3.1 พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเมือง 3.1.3.2 พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติและสร้างความ เชื่อมโยงเพื่อกระจายการท่องเที่ยวทั่วทั้งภาค 3.1.3.3 ยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้นวัตกรรมเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 3.1.3.4 บริหารจัดการน้ าและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อแก้ไขปัญหาน้ าท่วมภัยแล้ง และคงความสมดุลของระบบนิเวศอย่างยั่งยืน 3.1.3.5 เปิดประตูการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว เชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทวาย-ภาคกลาง-ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก 3.1.3.6 พัฒนาความเชื่อมโยงเศรษฐกิจและสังคมกับทุกภาคเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพ และลดความเหลื่อมล้ าภายในประเทศ 1.3.4 ทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออก127 10 ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาภาค ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ได้รับความเห็นชอบ จากที่ประชุม ก.บ.ภ. ครั้งที่ 1/2561 วันที่ 26 มี.ค.61), แผนพัฒนาภาคเหนือในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564), 2561. 11 ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาภาค ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ได้รับความเห็นชอบ จากที่ประชุม ก.บ.ภ. ครั้งที่ 1/2561 วันที่ 26 มี.ค.61), แผนพัฒนาภาคกลางและพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564), 2561. 12 ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาภาค ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ได้รับความเห็นชอบ จากที่ประชุม ก.บ.ภ. ครั้งที่ 1/2561 วันที่ 26 มี.ค.61), แผนพัฒนาภาคตะวันออกในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564), 2561.


๑๔ 1.3.4.1 พัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกให้เป็นเขตเศรษฐกิจ พิเศษที่มีความทันสมัยที่สุดในภูมิภาคอาเซียน 1.3.4.2 พัฒนาภาคตะวันออกให้เป็นแหล่งผลิตอาหารที่มีคุณภาพและได้ มาตรฐานสากล 1.3.4.3 ปรับปรุงมาตรฐานสินค้าและธุรกิจบริการด้านการท่องเที่ยว 1.3.4.4 พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนให้เป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับประเทศ เพื่อนบ้านให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน 1.3.4.5 แก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและจัดระบบการบริหารจัดการ มลพิษให้มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 1.3.5 ทิศทางการพัฒนาภาคใต้138 1.3.5.1 พัฒนาการท่องเที่ยวของภาคให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นน าของโลก 1.3.5.2 พัฒนาอุตสาหกรรมการแปรรูปยางพาราและปาล์มน้ ามันแห่งใหม่ของ ประเทศ 1.3.5.3 พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรหลักของภาคและสร้างความเข้มแข็งสถาบัน เกษตรกร 1.3.5.4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุนการท่องเที่ยว การพัฒนาเขตอุตสาหกรรม และการเชื่อมโยงการค้าโลก 1.3.6 ทิศทางการพัฒนาภาคใต้ชายแดน149 1.3.6.1 พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร เพื่อความ มั่นคงให้กับภาคการผลิต 1.3.6.2 พัฒนาเมืองสุไหงโก-ลก และเมืองเบตง ให้เป็นเมืองการค้าและเมือง ท่องเที่ยวชายแดน 1.3.7.3 เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน 1.4 ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ได้ก าหนดยุทธศาสตร์ไว้ 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจของส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้1510 1.4.1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 1.4.1.1 เป้าหมายและตัวชี้วัด 13 ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาภาค ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ได้รับความเห็นชอบ จากที่ประชุม ก.บ.ภ. ครั้งที่ 1/2561 วันที่ 26 มี.ค.61), แผนพัฒนาภาคใต้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564), 2561. 14 ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาภาค ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (ได้รับความเห็นชอบ จากที่ประชุม ก.บ.ภ. ครั้งที่ 1/2561 วันที่ 26 มี.ค.61), แผนพัฒนาภาคใต้ชายแดน ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564), 2561. 15ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. พิมพ์ครั้ง ที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จ ากัด. 2560.


๑๕ 1) คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด 1.1) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่สะท้อนความรักและการธ ารงรักษาสถาบันหลักของชาติและการยึดมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเพิ่มขึ้น 1.2) ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการอบรมลูกเสือ เนตรนารีเพิ่มขึ้น 1.3) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพื่อ เสริมสร้างความเป็นพลเมือง (Civic Education) เพิ่มขึ้น 1.4) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมที่สร้าง ภูมิคุ้มกันหรือป้องปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นเพิ่มขึ้น 1.5) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น 2) คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ พิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัด 2.1) ร้อยละของนักเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต้และพื้นที่พิเศษที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์ คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น 2.2) ร้อยละของผู้เรียน เยาวชนและประชาชนในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพหรือทักษะด้านอาชีพ สามารถมีงานท าหรือน าไปประกอบอาชีพในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น 2.3) ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต้และพื้นที่พิเศษที่จัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการหลักสูตรให้สอดคล้องกับสังคม วัฒนธรรมและ ภาษาถิ่นเพิ่มขึ้น 2.4) ร้อยละของผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต้และพื้นที่พิเศษที่เข้าร่วมโครงการด้านการพัฒนาศักยภาพหรือความสามารถพิเศษเฉพาะด้าน เพิ่มขึ้น 2.5) จ านวนสถานศึกษาที่จัดการศึกษาส าหรับกลุ่มชนต่างเชื้อชาติศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าวเพิ่มขึ้น 2.6) จ านวนสถานศึกษาในพื้นที่พิเศษที่จัดอยู่ในมาตรการจูงใจ มีระบบ เงินเดือนค่าตอบแทนที่สูงกว่าระบบปกติเพิ่มขึ้น 3) คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิต รูปแบบใหม่


๑๖ ตัวชี้วัด 3.1) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดกระบวนการเรียนรู้และปลูกฝังแนว ทางการจัดการความขัดแย้งโดยแนวทางสันติวิธีเพิ่มขึ้น 3.2) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับภัยคุกคามในรูปแบบใหม่เพิ่มขึ้น 3.3) มีระบบ กลไก และมาตรการที่เข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไข ภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ 3.4) ร้อยละของสถานศึกษาที่ปลอดยาเสพติดเพิ่มขึ้น 3.5) สัดส่วนผู้เรียนในสถานศึกษาที่มีคดีทะเลาะวิวาทลดลง 1.4.1.2 แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของ ชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3) ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูงพื้นที่ตามแนวตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชน-ชายขอบ และแรงงานต่างด้าว) 4) พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคาม ในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม่ภัยจากไซเบอร์ เป็นต้น 1.4.2 การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ 1.4.2.1 เป้าหมายและตัวชี้วัด 1) ก าลังคนมีทักษะที่ส าคัญจ าเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ตัวชี้วัด 1.1) มีฐานข้อมูลความต้องการก าลังคน (Demand) จ าแนกตามกลุ่ม อุตสาหกรรมอย่างครบถ้วน 1.2)สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาสูงขึ้น เมื่อเทียบกับผู้เรียนสามัญศึกษา 1.3) สัดส่วนผู้เรียนวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงขึ้นเมื่อเทียบกับผู้เรียนสังคมศาสตร์ 1.4)ร้อยละของผู้เรียนที่เรียนในระบบทวิภาคี/สหกิจศึกษาในสถาน ประกอบการที่มีมาตรฐานเพิ่มขึ้น 102 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 1.5)ร้อยละของผู้ได้รับเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาในสาขาที่สอดคล้องกับ ความต้องการของประเทศเพิ่มขึ้น 1.6) ร้อยละของผู้ส าเร็จการศึกษามีสมรรถนะที่ตรงกับความต้องการ ของตลาดงานและการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น


๑๗ 1.7)ระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษเฉลี่ยของผู้ส าเร็จ การศึกษาในแต่ละระดับ เมื่อทดสอบตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR) สูงขึ้น (ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น /ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ระดับปริญญาตรี) 1.8) จ านวนผู้ส าเร็จการศึกษาในสาขาตามกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ที่ตรงตามข้อมูลความต้องการก าลังคน (Demand) ในกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น 1.9) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) มีจ านวนปีการศึกษาเฉลี่ย เพิ่มขึ้น 1.10) ร้อยละของประชากรวัยแรงงาน (15 - 59 ปี) ที่มีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้นไปเพิ่มขึ้น 1.11) ร้อยละของก าลังแรงงานในสาขาอาชีพต่าง ๆ ที่ได้รับการ ยกระดับคุณวุฒิวิชาชีพเพิ่มขึ้น 1.12) อัตราการได้งานท า/ประกอบอาชีพอิสระของผู้ส าเร็จการศึกษา ระดับอาชีวศึกษา (ไม่นับศึกษาต่อ) ภายในระยะเวลา 1 ปีเพิ่มขึ้น 1.13) อัตราการได้งานท า/ประกอบอาชีพอิสระของผู้ส าเร็จการศึกษา ระดับอุดมศึกษาภายในระยะเวลา 1 ปีเพิ่มขึ้น 1.14) ร้อยละของผู้ส าเร็จการศึกษาที่ผ่านการประเมินสมรรถนะตาม มาตรฐานอาชีพเพิ่มขึ้น 1.15) ร้อยละของผู้ส าเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา มีสมรรถนะเป็นที่พอใจของสถานประกอบการเพิ่มขึ้น 1.16) อันดับความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อผู้จบอุดมศึกษา เพิ่มขึ้น (IMD) 2) สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญ และเป็นเลิศเฉพาะด้าน ตัวชี้วัด 2.1) ร้อยละของสถาบันอุดมศึกษาที่มีการผลิตบัณฑิตและวิจัยตามความ เชี่ยวชาญและความเป็นเลิศเฉพาะด้านเพิ่มขึ้น 2.2) สัดส่วนการผลิตก าลังคนระดับกลางและระดับสูงจ าแนกตาม ระดับ/ประเภทการศึกษาในสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ เพิ่มขึ้น 2.3) ร้อยละของสถาบันการศึกษาที่จัดการศึกษารูปแบบทวิภาคี/สหกิจ ศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนในโรงงานตามมาตรฐานที่ก าหนดเพิ่มขึ้น 2.4) จ านวนหลักสูตรของสถานศึกษาที่จัดการศึกษาทวิวุฒิ (Dual Degree) ร่วมกับต่างประเทศเพิ่มขึ้น 2.5) จ านวนหลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขาที่ตรงกับความต้องการของ ตลาดงานและการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น 2.6) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการศึกษาเน้นด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการวิจัยเพิ่มขึ้น


๑๘ 2.7) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการองค์ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวิศวกรรม และคณิตศาสตร์หรือสะเต็มศึกษาเพิ่มขึ้น 2.8) จ านวนหลักสูตรหรือสาขาวิชาที่ผู้เรียนสามารถโอนย้ายหรือศึกษา ต่อเนื่องเพิ่มขึ้น 2.9) จ านวนสถาบันอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่จัดหลักสูตรส าหรับผู้มี ความสามารถพิเศษเพิ่มขึ้น 2.10) จ านวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาที่มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น 2.11) ร้อยละของครูอาชีวศึกษาที่ผ่านการประเมินสมรรถนะตาม มาตรฐานอาชีพเพิ่มขึ้น 2.12) ร้อยละของสถานประกอบการที่จัดการศึกษา เพื่อพัฒนาก าลังคน ตามความต้องการของตลาดงานเพิ่มขึ้น 2.13) ร้อยละของภาคีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างรัฐ เอกชน สถาน ประกอบการสมาคมวิชาชีพและหน่วยงานที่จัดการศึกษาเพิ่มขึ้น 3) การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ตัวชี้วัด 3.1) สัดส่วนเงินลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนเมื่อเทียบกับ ภาครัฐเพิ่มขึ้น 3.2) สัดส่วนค่าใช้จ่ายการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาเมื่อเทียบกับ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) เพิ่มขึ้น 3.3) จ านวนโครงการ/งานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้/นวัตกรรมที่น าไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น 3.4) จ านวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาต่อประชากร 10,000 คน เพิ่มขึ้น 3.5) จ านวนนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ ที่ได้จดสิทธิบัตรและทรัพย์สินทาง ปัญญาเพิ่มขึ้น 3.6) ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น 1.4.2.2 แนวทางการพัฒนา 1) ผลิตและพัฒนาก าลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของ ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาก าลังคนที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3) ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิต และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ


๑๙ 1.4.3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 1.4.3.1 เป้าหมายและตัวชี้วัด 1) ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและ คุณลักษณะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 ตัวชี้วัด 1.1) ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มขึ้น 1.2) ร้อยละของผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออกถึง ความมีวินัยและมีจิตสาธารณะเพิ่มขึ้น - ร้อยละของจ านวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อประโยชน์สาธารณะ และช่วยเหลือสังคมเพิ่มขึ้น - ร้อยละของจ านวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีวินัย เพิ่มขึ้น 1.3) ร้อยละของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่าขึ้น ไป ที่จัดกิจกรรมสะท้อนการสร้างวินัย จิตสาธารณะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น 2) คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ ตัวชี้วัด 2.1) ร้อยละของเด็กแรกเกิด – 5 ปีมีพัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น 2.2)ครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลเด็กที่ถูกต้อง จัดการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักการพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างรอบด้านตามวัยเพิ่มขึ้น 2.3) ร้อยละการอ่านของคนไทย (อายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป) เพิ่มขึ้น 2.4)ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น 2.5) จ านวนผู้เรียนในสาขาเฉพาะที่ต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญ ระดับสูงในศาสตร์/สาขาต่าง ๆ เพิ่มขึ้น 2.6) ประชากรวัยแรงงาน (15 - 59 ปี) มีจ านวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 2.7) ร้อยละของแรงงานที่ขอเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เพื่อ ยกระดับคุณวุฒิการศึกษาเพิ่มขึ้น 2.8) จ านวนผู้สูงวัยที่ได้รับบริการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและ ทักษะชีวิตเพิ่มขึ้น 2.9) จ านวนสาขาและวิชาชีพที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงวัยได้รับการส่งเสริมให้ ท างานและถ่ายทอดความรู้/ประสบการณ์เพิ่มขึ้น 3) สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสูตรได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน


๒๐ ตัวชี้วัด 3.1) ร้อยละของศูนย์เด็กเล็ก/สถานศึกษาระดับปฐมวัยที่จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ได้คุณภาพและมาตรฐานเพิ่มขึ้น 3.2) จ านวนสถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจัดกิจกรรม ที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย และสมรรถนะของเด็กที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานคุณภาพเด็กปฐมวัย ของอาเซียนเพิ่มขึ้น 3.3) จ านวนสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดการศึกษา ตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มขึ้น 3.4) จ านวนสถาบันการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่จัด การศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 เพิ่มขึ้น 3.5) จ านวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนภาษา ของประเทศสมาชิกอาเซียน (+3) เพิ่มขึ้น 3.6) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดกระบวนการเรียนรู้ เชิงบูรณาการเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น 4) แหล่งเรียนรู้ สื่อต าราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้ มีคุณภาพและ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จ ากัดเวลาและสถานที่ ตัวชี้วัด 4.1) จ านวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น 4.2) จ านวนแหล่งเรียนรู้ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ที่ได้รับการสนับสนุนจาก ภาคเอกชนสถานประกอบการ สถาบันศาสนา มูลนิธิสถาบัน/องค์กรต่าง ๆ ในสังคมเพิ่มขึ้น 4.3) จ านวนสื่อสารมวลชนที่เผยแพร่องค์ความรู้หรือจัดรายการเพื่อ การศึกษาเพิ่มขึ้น 4.4) ร้อยละของชุมชนที่มีการจัดการแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น 4.5) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย สนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ 4.6) จ านวนสื่อต าราเรียน และสื่อการเรียนรู้ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน คุณภาพจากหน่วยงานที่รับผิดชอบเพิ่มขึ้น 4.7) จ านวนสื่อต าราเรียน และสื่อการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนา โดยการมี ส่วนร่วมจากภาครัฐและเอกชนเพิ่มขึ้น 4.8) จ านวนรายการ/ประเภทสื่อที่ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพจาก หน่วยงานที่รับผิดชอบ เผยแพร่ผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัล จ าแนกตามระดับ/ประเภทการศึกษาเพิ่มขึ้น 4.9) มีระบบคลังข้อมูลเกี่ยวกับสื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสามารถให้บริการคนทุกช่วงวัยและใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานได้ 5) ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ


๒๑ ตัวชี้วัด 5.1) มีระบบและกลไกการทดสอบ การวัดและประเมินความรู้ทักษะ และสมรรถนะของผู้เรียนทุกระดับการศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมายที่มีประสิทธิภาพ 5.2) มีระบบติดตามประชากรวัยเรียนที่ขาดโอกาสหรือไม่ได้รับ การศึกษา และผู้เรียนที่มีแนวโน้มจะออกกลางคัน 5.3) จ านวนการเข้าใช้บริการคลังข้อสอบเพื่อการวัดผลการเรียนรู้ตาม มาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐานวิชาชีพ จ าแนกตามหลักสูตรและระดับชั้นเรียนเพิ่มขึ้น 5.4) จ านวนผู้เรียนที่ศึกษา/เรียนรู้/อบรมทั้งด้านวิชาการและด้านอาชีพ ตามหลักสูตรและเข้ารับการทดสอบและประเมินผลผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพิ่มขึ้น 6) ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับ สากล ตัวชี้วัด 6.1) มีฐานข้อมูลความต้องการใช้ครูแผนการผลิตครูอาจารย์และ บุคลากรทางการศึกษาในระยะ 10 ปี(พ.ศ. 2560 – 2569) จ าแนกตามสาขาวิชา ขนาดสถานศึกษา และจังหวัด 6.2) สัดส่วนของการบรรจุครูที่มาจากการผลิตครูในระบบปิดเพิ่มขึ้น 6.3) มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เอื้อให้ผู้ส าเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาอื่น และพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อเข้าสู่วิชาชีพครู 7) ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม มาตรฐาน ตัวชี้วัด 7.1) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ/ประเภท การศึกษาได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น 7.2) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนา ให้สอดคล้องกับความต้องการและยุทธศาสตร์ของหน่วยงานเพิ่มขึ้น 7.3) ระดับความพึงพอใจของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาที่มี ต่อการพัฒนาสมรรถนะและการใช้ประโยชน์จากการพัฒนาเพิ่มขึ้น 7.4) มีระบบการคัดเลือกบุคคลเพื่อเป็นอาจารย์ในสถาบันผลิตครูและ การพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาและเทคนิคการสอน 1.4.3.2 แนวทางการพัฒนา 1) ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการ พัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย 2) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อต าราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ให้มี คุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จ ากัดเวลาและสถานที่ 3) สร้างเสริมและปรับเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยให้มีวินัย จิตสาธารณะ และ พฤติกรรมที่พึงประสงค์


๒๒ 4. พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมินผลผู้เรียนให้มี ประสิทธิภาพ 5) พัฒนาคลังข้อมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 6) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 7) พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 1.4.4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา 1.4.4.1 เป้าหมายและตัวชี้วัด 1) ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มี คุณภาพ ตัวชี้วัด 1.1) สัดส่วนนักเรียนปฐมวัย (3 – 5 ปี) ต่อประชากรกลุ่มอายุ 3 – 5 ปี เพิ่มขึ้น 1.2) ประชากรอายุ 6 – 11 ปีได้เข้าเรียนระดับประถมศึกษาทุกคน 1.3) ประชากรอายุ 12 – 14 ปีได้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หรือเทียบเท่าทุกคน 1.4) สัดส่วนนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (15 – 17 ปี) ต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปีเพิ่มขึ้น 1.5) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) มีจ านวนปีการศึกษาเฉลี่ย เพิ่มขึ้น 1.6) ร้อยละของเด็กในวัยเรียนที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษ ได้รับ การศึกษาเต็มตามศักยภาพเพิ่มขึ้น (จ าแนกตามกลุ่ม ประเภทของความจ าเป็นพิเศษ) 1.7) อัตราการเข้าเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษาสูงขึ้น 1.8) ร้อยละของผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการ ทางการศึกษาที่เหมาะสม 1.9) อัตราการออกกลางคันของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลดลง 1.10) ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคนได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการศึกษา 15 ปี 1.11) จ านวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษา/องค์กรที่จัดการศึกษา แบบเรียนร่วมตามรูปแบบ/หลักสูตร ส าหรับผู้ที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษ (ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้มีความสามารถพิเศษ) เพิ่มขึ้น 1.12) จ านวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษา/องค์กรที่จัดการศึกษา ตามรูปแบบ/หลักสูตรส าหรับผู้ที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษเพิ่มขึ้น 1.13) มีหลักสูตรการศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มการศึกษาเฉพาะ ด้านเฉพาะทาง กลุ่มที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษในทุกระดับการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน


๒๓ 1.14) ดัชนีความเสมอภาคของอัตราการเข้าเรียนระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานตามฐานะทางเศรษฐกิจและพื้นที่ลดลง 1 .15) ค ว ามแตกต่ าง ร ะห ว่ างคะแนนเฉลี่ยผลก า รทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระหว่างพื้นที่/ภาคการศึกษา ในวิชาคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษลดลง 1.16) จ านวนสถานศึกษาที่ต้องการความช่วยเหลือและพัฒนาเป็น พิเศษอย่างเร่งด่วน (ICU) ลดลง 2) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคน ทุกช่วงวัย ตัวชี้วัด 2.1) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ทันสมัย สนองตอบความต้องการของผู้เรียนและผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 2.2) มีสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และกองทุนพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา 2.3) มีการจัดตั้งสถานีโทรทัศน์และการผลิตรายการเพื่อการศึกษา 2.4) ร้อยละของสถานศึกษาได้รับบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ครอบคลุมทุกพื้นที่ขั้นต่ า 30 Mbps ใน 5 ปีแรก และ 100 Mbps ภายใน 20 ปีเพิ่มขึ้น 2.5) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีการจัดการเรียนการสอน ทางไกลด้วยระบบ DLIT, DLTV, ETV และผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) เพิ่มขึ้น 2.6) ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น 2.7) มีสื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน และการส่งเสริมการมี อาชีพเพิ่มขึ้น 2.8) สถานศึกษาทุกแห่งมีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและมีคุณภาพ 3) ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็น ปัจจุบัน เพื่อการวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การติดตาม ประเมิน และรายงานผล ตัวชี้วัด 3.1) มีระบบฐานข้อมูลรายบุคคลที่อ้างอิงจากเลขที่บัตรประจ าตัว ประชาชน 13 หลัก ที่สามารถเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนฐานข้อมูล รวมทั้งใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่าง กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานอื่น ด้านสาธารณสุข สังคม ภูมิสารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา 3.2) มีระบบสารสนเทศด้านการศึกษาและด้านอื่นที่เกี่ยวข้องที่เป็น ระบบเดียวกันทั้งประเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้เพื่อใช้ประโยชน์ ในการวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การติดตาม ประเมิน และรายงานผล 3.3) มีระบบคลังข้อมูลเกี่ยวกับสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสามารถให้บริการและใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานได้ 3.4) ระดับความพึงพอใจของบุคคลและหน่วยงานในการเข้าถึงและ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษาสูงขึ้น


๒๔ 3.5) มีกฎหมาย กฎ และระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาที่ได้รับการปรับปรุงและมีผลบังคับใช้ 1.4.4.2 แนวทางการพัฒนา 1) เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2) พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย 3) พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐาน เชื่อมโยงและเข้าถึงได้ 1.4.5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.4.5.1 เป้าหมายและตัวชี้วัด 1) คนทุกช่วงวัย มีจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และน า แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ตัวชี้วัด 1.1) ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กและสถานศึกษาระดับปฐมวัยที่จัดกิจกรรม ที่สร้างความตระหนักในความส าคัญของการด ารงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น 1.2) ร้อยละของผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออกถึง ความตระหนักในความส าคัญของการด ารงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ความมีคุณธรรมจริยธรรม และ การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการด าเนินชีวิตเพิ่มขึ้น - ร้อยละของจ านวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม/โครงงานที่เกี่ยวข้องกับ การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น - ร้อยละของจ านวนโรงเรียนที่ใช้กระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริม คุณธรรม จริยธรรมเพิ่มขึ้น - ร้อยละของจ านวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการน้อมน า แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น 1.3) ร้อยละของครู/บุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการอบรม/พัฒนาใน เรื่องการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น 1.4) จ านวนสถานศึกษาในโครงการโรงเรียนสีเขียวและห้องเรียนสีเขียว เพิ่มขึ้น 1.5) จ านวนสถานศึกษาในโครงการโรงเรียนคุณธรรมเพิ่มขึ้น 1.6) จ านวนสถาบันอุดมศึกษาที่ติดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวโลก เพิ่มขึ้น 2) หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ตัวชี้วัด 2.1) จ านวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น


๒๕ 2.2) จ านวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนและ กิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และการน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้น 2.3) จ านวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมในเรื่องการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น 2.4) จ านวนสื่อการเรียนรู้ในสื่อสารมวลชนที่เผยแพร่หรือให้ความรู้ เกี่ยวกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น 3) การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด 3.1) จ านวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น 3.2) จ านวนสถานศึกษาที่มีความร่วมมือกับต่างประเทศด้านการวิจัย และพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น 3.3) จ านวนฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศในสาขาต่าง ๆ เพิ่มขึ้น 1.4.5.2 แนวทางการพัฒนา 1) ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการด าเนินชีวิต 2) ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และ สื่อการเรียนรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3) พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.4.6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา 1.4.6.1 เป้าหมายและตัวชี้วัด 1) โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการศึกษา มีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ ตัวชี้วัด 1.1) มีการปรับปรุงโครงสร้างและระบบบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และสถานศึกษาให้มีเอกภาพ สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล 1.2) มีการปรับปรุง แก้ไขและบังคับใช้กฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับการปรับบทบาทและภารกิจของรัฐ ความเป็นอิสระและความรับผิดรับชอบของสถานศึกษา และการระดมทุนและร่วมสนับสนุนการจัดการศึกษา 1.3) มีกลไกในการรายงานและตรวจสอบผลการด าเนินงานของ สถานศึกษาที่รองรับการกระจายอ านาจในการบริหารจัดการศึกษา


๒๖ 2) ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลต่อ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ตัวชี้วัด 2.1) ร้อยละของสถานศึกษาขนาดเล็ก/สถานศึกษาที่ต้องการ ความช่วยเหลือและพัฒนาเป็นพิเศษอย่างเร่งด่วนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกลดลง 2.2) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ประกันคุณภาพ การศึกษาเพิ่มขึ้น 2.3) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีความพึงพอใจต่อระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาเพิ่มขึ้น 2.4) คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผู้เรียนที่เรียนในกลุ่มสถานศึกษาที่เข้าสู่ระบบการบริหารจัดการแนวใหม่สูงขึ้น 2.5) ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองและชุมชนในการให้บริการ การศึกษาของกลุ่มสถานศึกษาที่เข้าสู่ระบบการบริหารจัดการสูงขึ้น 2.6) จ านวนสถานศึกษาที่บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเพิ่มขึ้น 2.7) อัตราค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรต่อนักเรียนลดลง 3) ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนและพื้นที่ ตัวชี้วัด 3.1) จ านวนเครือข่ายการศึกษาที่มีศักยภาพและความพร้อมในการ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น 3.2) จ านวนองค์กร สมาคม มูลนิธิหรือหน่วยงานอื่นที่เข้ามาจัด การศึกษาหรือร่วมมือกับสถานศึกษา ทั้งของรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้น 3.3) จ านวนสถานป ระกอบก ารที่เข้ าร่วมก ารจัดก ารศึกษ า กับสถานศึกษา สถาบันการศึกษา จ าแนกตามระดับ ประเภทการศึกษา และสาขาวิชาเพิ่มขึ้น 3.4) สัดส่วนผู้เรียนเอกชนสูงขึ้น เมื่อเทียบกับรัฐ 3.5) สัดส่วนการมีส่วนร่วมสนับสนุนการศึกษาของภาคเอกชน ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายเมื่อเทียบกับรัฐ จ าแนกตามระดับการศึกษาสูงขึ้น 3.6) จ านวนมาตรการ/แนวทางการสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษา เพื่อสร้างแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมเพิ่มขึ้น 4) กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับ ลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการก าลังแรงงานของประเทศ ตัวชี้วัด 4.1) มีรูปแบบกองทุนเพื่อการศึกษารองรับลักษณะที่แตกต่างกันของ ผู้เรียนความต้องการก าลังแรงงาน และสภาพปัญหาที่แท้จริงของประเทศ 4.2) มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ และระบบการจัดสรรเงินเพื่อการศึกษา ที่เอื้อและสนองตอบคุณลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน ความต้องการก าลังแรงงาน และสภาพปัญหา ที่แท้จริงของประเทศ


๒๗ 4.3) มีรูปแบบ/แนวทาง กลไกการจัดสรรงบประมาณผ่านด้านอุปสงค์ และอุปทานในสัดส่วนที่เหมาะสม ตามลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน ความต้องการก าลังแรงงานและ สภาพปัญหาที่แท้จริงของประเทศ 4.4) ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ที่เหมาะสมตามลักษณะที่แตกต่างกันของสถานศึกษาเพิ่มขึ้น 4.5) ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อการ ผลิตก าลังแรงงานตามความต้องการก าลังคนของประเทศ จ าแนกตามระดับการศึกษาเพิ่มขึ้น 4.6) ร้อยละของผู้เรียนที่เข้ารับการศึกษาผ่านการจัดสรรงบประมาณ ในรูปแบบที่เหมาะสมตามคุณลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน อาทิรายได้ครัวเรือน (ผู้เรียนทั่วไป/ผู้เรียน ยากจน) สภาพร่างกาย (ผู้เรียนทั่วไป/ผู้เรียนพิการเรียนร่วม) ความสามารถ (ผู้เรียนทั่วไป/ผู้เรียนที่มี ความสามารถพิเศษ) เพิ่มขึ้น 4.7) ร้อยละของผู้เรียนที่เข้ารับการศึกษา ผ่านการจัดสรรงบประมาณ ตามความต้องการก าลังคนของประเทศเพิ่มขึ้น 4.8) สัดส่วนงบประมาณตามประเด็น (Agenda) สูงขึ้น เมื่อเทียบกับ งบประมาณตามภารกิจ (Function) 4.9) มีรูปแบบวิธีการจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาเอกชนที่สะท้อน คุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 4.10) จ านวนสถานศึกษาที่มีระบบบัญชีที่สามารถรายงานการเงิน ที่เป็นปัจจุบันและตรวจสอบได้เพิ่มขึ้น 4.11) จ านวนสถานศึกษาที่มีระบบบัญชีที่เป็นไปตามมาตรฐานการ บัญชีภาครัฐเพิ่มขึ้น 5) ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความ เป็นธรรม สร้างขวัญก าลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ ตัวชี้วัด 5.1) มีระบบการสรรหาและแต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษาตาม หลักเกณฑ์ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน การบริหารการศึกษา และ ความส าเร็จในวิชาชีพ 5.2) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีครูเพียงพอต่อการจัดการเรียน การสอนเพิ่มขึ้น 5.3) ร้อยละของครู/ผู้ทรงคุณวุฒิจากภาคเอกชน/ผู้ประกอบการ ที่ปฏิบัติงานสนับสนุนการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น 5.4) จ านวนสถานศึกษาในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร เสี่ยงภัย พื้นที่ พิเศษ ที่จัดอยู่ในมาตรการจูงใจมีระบบเงินเดือน ค่าตอบแทนที่สูงกว่าระบบปกติเพิ่มขึ้น 5.5) ร้อยละของครูอาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงาน ตรงกับความรู้ความสามารถเพิ่มขึ้น 5.6) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณวุฒิ การศึกษา/การฝึกอบรมเพิ่มขึ้น


๒๘ 5.7) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีบุคลากรทางการศึกษาท าหน้าที่ ปฏิบัติงานสนับสนุนการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น 5.8) จ านวนผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ที่ผ่านการประเมินทักษะ ความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานต าแหน่ง และวิทยฐานะเพิ่มขึ้น 5.9) จ านวนครูที่มีคุณสมบัติและสมรรถนะตามมาตรฐานต าแหน่ง เพื่อการพัฒนาและเตรียมเข้าสู่การเป็นครูแกนน า และครูมืออาชีพเพิ่มขึ้น 1.4.6.2 แนวทางการพัฒนา 1) ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา 3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4) ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อ คุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 5) พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการ ศึกษา 2. นโยบาย นโยบายเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้น โดยนโยบายแบ่งออกเป็น หลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการน าไปใช้ บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่ กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะก าหนดและปฏิบัติตามนโยบายแบบไหน เพื่อ ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนมากที่สุด โดยจะกล่าวถึงนโยบายรัฐบาล นโยบายของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2562 ในสมัยการบริหารประเทศของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ดังต่อไปนี้ 2.1 นโยบายรัฐบาล นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายรัฐบาลต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 โดยได้ก าหนดนโยบายไว้ 11 ด้าน โดยมีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของส านักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 9 นโยบาย ดังนี้1611 2.1.1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็น องค์ประกอบส าคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยรัฐบาล จึงถือเป็นหน้าที่ส าคัญยิ่งยวดในอันที่ จะเชิดชูสถาบันนี้ไว้ด้วยความจงรักภักดี และปกป้องรักษาพระบรมเดชานุภาพ เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องและเป็นจริงเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจเพื่อประชาชน ทั้งจะสนับสนุน โครงการทั้งหลายอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่สถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงาน 16 นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี)


๒๙ ทั้งหลายของรัฐเรียนรู้เข้าใจหลักการทรงงาน สามารถน าหลักดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการ และการพัฒนา ตลอดจนเร่งขยายผลตามโครงการและแบบอย่างที่ทรงวางรากฐานไว้ให้แพร่หลาย 2.1.2 การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ โดยเร่งแก้ไขปัญหาการใช้ ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน ายุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา มาใช้ตามแนวทาง กัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุย สันติสุขกับผู้มีความคิดเห็นต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อมั่น ในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นพหุสังคม ขจัดการฉวย โอกาสก่อความรุนแรงแทรกซ้อนเพื่อซ้ าเติมปัญหาไม่ว่าจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นหรือเจ้าหน้าที่ ฝ่ายบ้านเมือง ทั้งจะเพิ่มระดับปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศที่อาจช่วยคลี่คลาย ปัญหาได้ รวมทั้ง เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับนานาประเทศ เช่น การคุ้มครองดูแลคนไทยและ ผลประโยชน์ของคนไทยในต่างแดนการแลกเปลี่ยนทางการศึกษา วัฒนธรรม การค้า การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ และการเปิดโลกทัศน์ให้มีลักษณะสากล เป็นต้น 2.1.2.1 ในระยะเร่งด่วน รัฐบาลให้ความส าคัญต่อการเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียนในกิจการ 5 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการชายแดน การสร้างความมั่นคงทางทะเล การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การสร้างความไว้วางใจกับประเทศ เพื่อนบ้าน และการเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติการทางทหารร่วมกันของอาเซียน โดยเน้นความ ร่วมมือเพื่อป้องกัน แก้ไขข้อพิพาทต่างๆ และการแก้ไขปัญหาเส้นเขตแดนโดยใช้กลไก ทั้งระดับทวิภาคี และพหุภาคี ทั้งจะจัดระเบียบการพัฒนาตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการบริหารจัดการ พื้นที่ชายแดนทั้งทางบกและทางทะเล รองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ตามแนวชายแดน โดยใช้ ระบบเฝ้าตรวจที่มีเทคโนโลยีทันสมัย ก าหนดให้ปัญหายาเสพติด การค้าอาวุธ การค้ามนุษย์ การกระท า อันเป็นโจรสลัด การก่อการร้ายสากลและอาชญากรรมข้ามชาติเป็นปัญหาเฉพาะหน้าที่ต้องได้รับ การป้องกันและแก้ไขโดยการบังคับใช้กฎหมายที่เข้มงวด และจัดการปัญหาอื่นๆ ที่เชื่อมโยงต่อเนื่อง ให้เบ็ดเสร็จ เช่น ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล การปรับปรุงระบบ การเข้าเมือง การจัดระเบียบ แรงงานต่างด้าว เป็นต้น 2.1.2.2 เร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน า ยุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุย สันติสุขกับผู้มีความคิดเห็นต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและ หลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นพหุสังคม ขจัดการฉวยโอกาสก่อความรุนแรงแทรกซ้อน เพื่อซ้ าเติมปัญหาไม่ว่าจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นหรือเจ้าหน้าที่ ฝ่ายบ้านเมือง ทั้งจะเพิ่มระดับปฏิสัมพันธ์ กับต่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศที่อาจช่วยคลี่คลายปัญหาได้ 2.1.2.3 เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับนานาประเทศบนหลักการที่ว่านโยบาย การต่างประเทศเป็นส่วนประกอบส าคัญของนโยบายองค์รวมทั้งหมดในการบริหารราชการแผ่นดิน ไม่ว่า ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม โดยจะน ากลไกทางการทูตแบบบูรณาการมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การคุ้มครองดูแลคนไทยและผลประโยชน์ของคนไทย ในต่างแดน การแลกเปลี่ยนทางการศึกษา วัฒนธรรม การค้าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการเปิดโลก ทัศน์ให้มีลักษณะสากล เป็นต้น


๓๐ 2.1.3 การลดความเหลื่อมล้ าของสังคม และการสร้างโอกาสเข้าถึงบริการของรัฐ 2.1.3.1 ในระยะเฉพาะหน้าจะเร่งสร้างโอกาสอาชีพและการมีรายได้ที่มั่นคง แก่ผู้ที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน รวมทั้งสตรี ผู้ด้อยโอกาสและแรงงานข้ามชาติที่ถูกกฎหมาย พร้อมทั้งยกระดับ คุณภาพแรงงาน โดยให้แรงงานทั้งระบบมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในทุก ระดับอย่างมีมาตรฐาน ทั้งจะเชื่อมโยงข้อมูลและการด าเนินการระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเอกชน เพื่อให้ ตรงกับความต้องการของพื้นที่และของประเทศโดยรวม นอกจากนี้จะส่งเสริมให้แรงงานนอกระบบเข้าสู่ ระบบที่ถูกกฎหมายมากขึ้น 2.1.3.2 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและ การมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคม ในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบ การดูแลในบ้าน สถานพักฟื้น และโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐภาคเอกชน ชุมชน และ ครอบครัว รวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังส าหรับการดูแลผู้สูงอายุ 2.1.3.3 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมที่มีความหลากหลาย เนื่องจากการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน โดยสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่แรงงานไทยและร่วมพัฒนาระบบความ คุ้มครองทางสังคมของแรงงานอาเซียน 2.1.3.4 จัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษา ความสงบแห่งชาติที่ได้ประกาศไว้แล้ว 2.1.4 การศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบ ารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม 2.1.4.1. การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความส าคัญทั้งการศึกษา ในระบบและการศึกษาทางเลือกไปพร้อมกัน เพื่อสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตน ได้เต็มตามศักยภาพ ประกอบอาชีพและด ารงชีวิตได้โดยมีความใฝ่รู้และทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดี มีคุณธรรม สร้างเสริมคุณภาพการเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรู้เพื่อสร้างสัมมาชีพในพื้นที่ ลดความเหลื่อมล้ า และพัฒนาก าลังคนให้เป็นที่ต้องการเหมาะสมกับพื้นที่ ทั้งในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจ บริการ 2.1.4.2 ในระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน การศึกษา ให้สอดคล้องกับความจ าเป็นของผู้เรียนและลักษณะพื้นที่ของสถานศึกษา และปรับปรุง และ บูรณาการระบบการกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มโอกาสแก่ผู้ยากจนหรือด้อยโอกาส จัดระบบการสนับสนุนให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษา ทั้งในระบบโรงเรียน และนอกโรงเรียน โดยจะพิจารณาจัดให้มีคูปองการศึกษาเป็นแนวทางหนึ่ง 2.1.4.3 ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนทั่วไปมีโอกาสร่วมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ ทั่วถึง และร่วมในการปฏิรูปการศึกษา การเรียนรู้ กระจายอ านาจการบริหารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตามศักยภาพและความพร้อม โดยให้สถานศึกษาสามารถเป็นนิติบุคคล และบริหารจัดการ ได้อย่างอิสระและคล่องตัวขึ้น 2.1.4.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้มีความรู้ และทักษะใหม่ที่สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และหลักสูตรให้เชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรม


๓๑ เข้าด้วยกันเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียน ทั้งในด้านความรู้ ทักษะ การใฝ่เรียนรู้ การแก้ปัญหา การรับฟัง ความเห็นผู้อื่น มีคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดี โดยเน้นความร่วมมือระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในและนอกโรงเรียน 2.1.4.5 พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของ ความเป็นครู เน้นครูผู้สอนให้มีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน น าเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือที่เหมาะสม มาใช้ในการเรียนการสอน เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยครูหรือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น รวมทั้งปรับระบบการประเมินสมรรถนะที่สะท้อนประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นส าคัญ 2.1.5 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ 2.1.5.1 ชักจูงให้นักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาเที่ยวในประเทศไทย โดยพิจารณา มาตรการ ลดผลกระทบจากการประกาศใช้กฎอัยการศึกในบางพื้นที่ที่มีต่อการท่องเที่ยวในโอกาสแรก ที่จะท าได้ และสร้างสิ่งจูงใจและสิ่งอ านวยความสะดวกที่เกื้อกูลต่อบรรยากาศการท่องเที่ยว ส่งเสริม การท่องเที่ยวที่ครอบคลุมแหล่งท่องเที่ยวอันมีลักษณะโดดเด่นร่วมกันหรือจัดเป็นกลุ่มได้ เช่น กลุ่มธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสุขภาพ เช่น น้ าพุร้อนธรรมชาติ ทั้งจะให้ เชื่อมโยงกับผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาจากวิถีชีวิตชุมชน รวมทั้งพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในประเทศ ทั้งที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวเดิมและแหล่งท่องเที่ยวใหม่ โดยเน้นการให้ความรู้และเพิ่มมาตรฐาน ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน การควบคุมสินค้าและบริการให้มีคุณภาพ ราคาเป็นธรรม ตลอดจน การอ านวยความสะดวก ในด้านต่าง ๆ แก่นักท่องเที่ยว 2.1.5.2 ด้านอุตสาหกรรม ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับ ศักยภาพพื้นฐานของประเทศ เช่น ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป ตั้งแต่ต้นน้ าจนถึง ปลายน้ า โดยการพัฒนาวัตถุดิบและกระบวนการผลิตให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริม การพัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่อาหารไทยบนฐานความรู้ ความคิด สร้างสรรค์ และภูมิปัญญา ส่งเสริมการวิจัยเกษตรแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร และแก้ไขปัญหา ที่ส าคัญของประเทศ เป็นต้น ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้ การออกแบบและสร้างสรรค์ และส่งเสริมอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลเทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อปรับกระบวนการ ผลิตสู่ระบบอัตโนมัติ และกึ่งอัตโนมัติ 2.1.5.3 ส่งเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล ให้เริ่ม ขับเคลื่อนได้อย่างจริงจังซึ่งจะท าให้ทุกภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าไปได้ทันโลกและสามารถแข่งขันในโลก สมัยใหม่ได้ ซึ่งหมายรวมถึงการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์ดิจิทัลโดยตรงทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์ ผลิตภัณฑ์ ซอฟต์แวร์ อุปกรณ์สื่อสารดิจิทัล อุปกรณ์โทรคมนาคมดิจิทัลและการใช้ดิจิทัลรองรับการให้บริการของ ภาคธุรกิจการเงินและธุรกิจบริการอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคสื่อสารและบันเทิง ตลอดจนการใช้ดิจิทัล รองรับการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและการพัฒนา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ปรับปรุงบทบาทและภารกิจของ หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงให้ดูแลและผลักดันงานส าคัญของประเทศชาติในเรื่องนี้และจะจัดให้มี คณะกรรมการระดับชาติ เพื่อขับเคลื่อนอย่างจริงจัง 2.1.6 การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน 2.1.6.1 พัฒนาแรงงานของภาคอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคม อาเซียน ทั้งแรงงานวิชาชีพ แรงงานมีทักษะ และแรงงานไม่มีทักษะ โดยการเร่งรัดและขยายผลการใช้


๓๒ ระบบคุณวุฒิวิชาชีพให้เกิดผลในทางปฏิบัติ โดยค านึงถึงความเป็นเอกภาพกับระบบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และมาตรฐานวิชาชีพ ใน 8 กลุ่มที่มีข้อตกลงการเปิดเสรีในอาเซียนควบคู่ไปกับการวางแผนด้านการผลิต ให้เพียงพอ การยกระดับฝีมือแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงาน เข้มข้น การส่งเสริมการพัฒนาระบบ การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานเพื่อใช้ในการประเมินค่าจ้าง แรงงาน 2.1.7 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ พัฒนา และนวัตกรรม 2.1.7.1 เร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอน ที่เชื่อมโยงระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การผลิตก าลังคนในสาขา ที่ขาดแคลน การเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้กับการท างาน การให้บุคลากรด้านการวิจัยของภาครัฐ สามารถไปท างานในภาคเอกชน และการให้อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมมีช่องทางได้เทคโนโลยี โดยความร่วมมือจากหน่วยงานและสถานศึกษาภาครัฐ 2.1.8 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน 2.1.8.1 เร่งรัดการควบคุมมลพิษทั้งทางอากาศ ขยะ และน้ าเสีย ที่เกิดจาก การผลิต และบริโภค เพื่อสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้แก่ประชาชน โดยให้ความส าคัญในการเร่งรัด แก้ไขปัญหาการจัดการขยะเป็นล าดับแรก ส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกขยะเพื่อน ากลับมาใช้ใหม่ ให้มากที่สุดเร่งก าจัดขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่ก าจัดขยะในพื้นที่วิกฤติซึ่งจะใช้ที่ดินของรัฐ เป็นหลักในพื้นที่ใดที่สามารถจัดการขยะมูลฝอยโดยการแปรรูปเป็นพลังงาน ก็จะสนับสนุนให้ด าเนินการ ส่วนขยะอุตสาหกรรมนั้น จะวางระเบียบมาตรการการบริหารจัดการเป็นพิเศษ โดยก าหนดให้ทิ้งในบ่อขยะ อุตสาหกรรมที่สร้างขึ้นอย่างถูกต้องตามมาตรฐานและให้แยกเป็นสัดส่วนจากบ่อขยะชุมชน ส าหรับขยะ ของเสียอันตรายขยะอิเล็กทรอนิกส์ และขยะติดเชื้อจะพัฒนาระบบก ากับติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวัง ไม่ให้มีการลักลอบทิ้ง รวมทั้งจัดการสารเคมีโดยลดความเสี่ยงและอันตรายที่เกิดจากการรั่วไหล และ การเกิดอุบัติเหตุให้ความส าคัญในการจัดการอย่างครบวงจรและใช้มาตรการทางกฎหมายและการบังคับใช้ กฎหมายอย่างเด็ดขาด 2.1.9 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ 2.1.9.1 ปรับปรุงระบบราชการในด้านองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐทั้งในระดับ ประเทศ ภูมิภาค และท้องถิ่น ทบทวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอ านาจหน้าที่ซ้ าซ้อนหรือ ลักลั่นกันหรือมีเส้นทางการปฏิบัติงานที่ยืดยาว ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ทันสมัย โดยน าเทคโนโลยี มาใช้แก้ไขกฎระเบียบให้โปร่งใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจน จัดระบบอัตราก าลังและปรับปรุงค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสมและเป็นธรรม ยึดหลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารจัดการภาครัฐแบบใหม่การตอบสนองความต้องการของประชาชน ในฐานะที่เป็นศูนย์กลาง และการอ านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการเพื่อสร้างความเชื่อมั่นวางใจในระบบ ราชการลดต้นทุนด าเนินการของภาคธุรกิจเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ และการรักษา บุคลากรภาครัฐที่มีประสิทธิภาพไว้ในระบบราชการ โดยจะด าเนินการตั้งแต่ระยะเฉพาะหน้าไปตามล าดับ ความจ าเป็น และตามที่กฎหมายเอื้อให้สามารถด าเนินการได้


๓๓ 2.1.9.2 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และ จิตส านึกในการรักษาศักดิ์ศรีของความเป็นข้าราชการและความซื่อสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการ ภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทุกระดับอย่างเคร่งครัด ยกเลิก หรือแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่ไม่จ าเป็น สร้างภาระ แก่ประชาชนเกินควร หรือเปิดช่องโอกาสการทุจริต เช่น ระเบียบการจัดซื้อ จัดจ้าง การอนุญาต อนุมัติ และการขอรับบริการจากรัฐ ซึ่งมีขั้นตอนยืดยาวใช้เวลานาน ซ้ าซ้อน และเสียค่าใช้จ่ายทั้งของภาครัฐและ ประชาชน 2.1.9.3 ปรับปรุงและจัดให้มีกฎหมายเพื่อให้ครอบคลุมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ และการมีผลประโยชน์ทับซ้อนในภาครัฐทุกระดับ โดยถือว่าเรื่องนี้ เป็นวาระส าคัญเร่งด่วนแห่งชาติและเป็นเรื่องที่ต้องแทรกอยู่ในการปฏิรูปทุกด้านทั้งจะเร่งรัด การด าเนินการต่อผู้กระท าการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในด้านวินัยและคดี รวมทั้งให้ผู้ใช้บริการ มีโอกาสประเมินระดับความน่าเชื่อถือของหน่วยงานของรัฐ และเปิดเผยผลการประเมินต่อประชาชน ทั้งจะน ากรณีศึกษาที่เคยเป็นปัญหา เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง การร่วมทุน การใช้จ่ายเงินภาครัฐ การปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติโดยมิชอบ การใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ การมีผลประโยชน์ขัดแย้งหรือทับซ้อน ซึ่งได้ มีค าวินิจฉัยขององค์กร ต่าง ๆ เป็นบรรทัดฐานแล้วมาเป็นบทเรียนให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และ ประมวลเป็นกฎระเบียบหรือคู่มือในการปฏิบัติราชการ 2.2 นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์) มีสาระส าคัญ ดังนี้ 2.2.1 น้อมน าแนวพระราชด าริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทร เทพยวรางกูร มาขับเคลื่อนงานด้านการศึกษาให้เกิดเป็นรูปธรรม เพราะพระราชปณิธานของพระองค์ท่าน ถือเป็นพรอันสูงสุด และมอบเป็นนโยบาย เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานแก่หน่วยงานในสังกัด 2.2.2 การด าเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี กระทรวงศึกษาธิการจะด าเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งได้ก าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฯ โดยยึดยุทธศาสตร์ชาติ เป็นจุดเน้นด้านการศึกษาที่จะด าเนินการ 6 ด้าน คือ 2.2.2.1 ความมั่นคง 2.2.2.2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2.2.2.3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 2.2.2.4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม 2.2.2.5 การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2.2.2.6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 2.2.3. จุดเน้นส าคัญ นโยบาย แนวทางหลักการด าเนินงานและโครงการส าคัญของ กระทรวงศึกษาธิการ


๓๔ นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบ จุดเน้นเชิงนโยบาย แนวทางการด าเนินงาน และโครงการส าคัญของกระทรวงศึกษาธิการโดยยึดกรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน เป็นหลักในการด าเนินการให้เป็นรูปธรรม ดังนี้ 2.2.3.1 ด้านความมั่นคง แนวทางหลัก 1) พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน 1.1) การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลัก น้อมน าพระราช ปณิธานและพระราชกระแสด้านการศึกษา พัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอนวิชาที่มีเนื้อหาเกี่ยว ประวัติศาสตร์และสถาบันพระมหากษัตริย์ 1.2) พัฒนากระบวนการเรียนการสอน เพื่อความปรองดองและ สมานฉันท์เช่น กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน 2) การบริหารจัดการ 2.1) การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ชายขอบ/ชายแดน 2.2) ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา 2.2.3.2 ด้านการผลิต พัฒนาก าลังคนและสร้างความสามารถในการแข่งขัน แนวทางทางหลัก : ผลิต พัฒนาก าลังคนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับการ พัฒนาประเทศ 1) การยกระดับมาตรฐาน พัฒนาหลักสูตร สื่อ และครูด้านภาษา 1.1)ยกระดับวิชาภาษาอังกฤษรองรับ Thailand 4.0 ในสถานศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่อเนื่อง และสังกัดส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา โดยจัดท า Echo English Vocational ซึ่งเป็น Application ภาษาอังกฤษส าหรับนักเรียน อาชีวศึกษา และการอบรมโดย Boot Camp ตลอดจนพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของประชาชนในรูปแบบ ต่างๆ อาทิ หลักสูตรภาษาอังกฤษระยะสั้น Application และสื่อต่างๆ ที่หลากหลาย 1.2) พัฒนาวิชาภาษาจีน โดยหลักการเดียวกับวิชาภาษาอังกฤษ โดยปี 2560 จะด าเนินการเป็นกลุ่มเล็กโดยการสนับสนุนของสถานทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน 1.3) ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM Education) เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนบุคลากรสายวิทยาศาสตร์ของประเทศ 1.4) พัฒนาโรงเรียนวิทยาศาสตร์ ห้องเรียนหลักสูตรพิเศษ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขัน 2) ผลิตก าลังคนรองรับ New S-Curve โดยสานพลังประชารัฐด้าน การศึกษาและจัดการศึกษาทวิภาคีอีกรูปแบบหนึ่ง โดยใช้สถานการณ์จริงจากสถานประกอบการและ ชุมชน “ปรับโรงงาน เป็นโรงเรียน” โดยมุ่งเน้นให้นักเรียน นักศึกษาได้ฝึกทักษะฝีมือควบคู่กับการฝึก ทักษะการท างานร่วมกับผู้อื่น เพื่อให้มีสมรรถนะที่เป็นไปตามความต้องการของสถานประกอบการ 3) ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน เร่งรัดการพัฒนาอาจารย์ เพื่อผลิตนวัตกรรมและเทคโนโลยีรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย 10 อุตสาหกรรมใหม่ 2.2.3.3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน


๓๕ แนวทางหลัก 1) การพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผล 1.1) การจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย 1.1.1) กระทรวงศึกษาธิการ รับผิดชอบดูเด็กระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้นอนุบาล 3 (เด็กอายุ 3 - 5 ปี) และจัดท ามาตรฐานผู้เรียน ครู สถานศึกษาและผู้บริหารเพื่อ ประกันคุณภาพให้แก่เด็กปฐมวัยทุกสังกัด 1.1.2) หน่วยงานอื่น อาทิ กระทรวงมหาดไทย รับผิดชอบดู เด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1.2) การส่งเสริม ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม 1.2.1) เรื่องคุณธรรม จริยธรรมเน้นการพัฒนาคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ในเด็ก เยาวชน และต่อยอดการสร้างความดี ซึ่งโมเดลการสร้างความดีมีหลายทาง ทั้งกระบวนการลูกเสือ-เนตรนารี รวมทั้งรูปแบบโรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนวิถีพุทธ และโครงการยุวทูตความดี 1.2.2) รณรงค์ให้เด็ก “เกลียดการโกง ความไม่ซื่อสัตย์” 1.3) การพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตร การเรียนการสอน 1.3.1) หลักสูตรมีความยืดหยุ่น ชุมชนท้องถิ่นสามารถ ออกแบบหลักสูตรเองได้ 1.3.2) ปรับปรุงหลักสูตร โดยเพิ่ม 3 วิชา ซึ่งอยู่ในกรอบเดิม ได้แก่ วิชาภูมิศาสตร์ ICT และ Design and Technology โดยวิชา ICT และ Design and Technology เป็นการสนับสนุน ช่วยเหลือจากประเทศอังกฤษและประเทศสหรัฐอเมริกา 1.3.3) แก้ไขปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ เน้นกิจกรรม การอ่านโดยเฉพาะการอ่านให้เด็กอนุบาลฟังและการปรับปรุงห้องสมุด 1.3.4) เน้นการจัดการเรียนการสอน การคิดวิเคราะห์ ตามรูปแบบ Active Learning ในห้องเรียนปกติและกิจกรรมเสริม โดยกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เป็นกิจกรรม/ วิธีการย่อย รวมทั้งการรองรับผลการทดสอบ PISA และ STEM Education 1.4) การวัดและประเมินผล 1.4.1) การวางแผนการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) เพื่อให้ผลคะแนนสูงขึ้น 1.4.2) การประเมินผล O- Net ในวิชาสังคมศึกษาให้ส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นผู้ประเมิน ส าหรับวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ให้สถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นผู้ออกข้อสอบ 1.4.3) การออกข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ด าเนินการในรูปคณะท างานออกข้อสอบ 2) การผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา 2.1) การสรรหาครู


๓๖ 2.1.1) โครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น มอบให้ส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นหน่วยงานหลัก ด าเนินการสรรหาครู (การผลิต รูปแบบการสรรหา การบรรจุแต่งตั้ง การติดตามพร้อมการพัฒนา) 2.1.2) เปิดโอกาสให้คนเก่งมาเป็นครู 2.2) ปรับเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะครูให้เป็นการเชื่อมโยงกับ การเรียนการสอนเพื่อให้ครูอยู่ในห้องเรียน 2.3) การพัฒนาครู การอบรมครู 2.3.1) หลักสูตรในการอบรมครูให้มีความเชื่อมโยงกับการได้รับ วิทยฐานะ และการได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู โดยต้องเป็นหลักสูตรที่ได้รับการอนุมัติ/เห็นชอบ รวมทั้งการพัฒนาครูด้วยระบบ TEPE Online 2.3.2) หน่วยด าเนินการ ให้หน่วยงานกลางในการพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย และสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา 2.2.3.4 ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และการลดความเหลื่อมล้ า ทางการศึกษา แนวทางหลัก : โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 1) สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาโดยยกระดับ คุณภาพสถานศึกษา ที่ต้องการความช่วยเหลือและพัฒนาเป็นพิเศษอย่างเร่งด่วน ( ICU) รวมทั้ง การด าเนินการตามแนวทาง No Child Left Behind คือ จัดท าข้อมูลเพื่อส่งต่อผู้เรียน การป้องกัน การติดตาม เด็กออกกลางคันโดยชุมชน ผู้ปกครองร่วมรับผิดชอบ และคัดกรองเด็กที่มีความจ าเป็นและต้องการ เป็นพิเศษ 2) เพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล โดยบูรณาการ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาให้สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกัน ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบ เครือข่าย ด้านระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา ด้านสื่อและองค์ความรู้ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรให้ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง 3) จัดระบบการคัดเลือกเข้าเรียนมหาวิทยาลัย (Admission) เพื่อ สร้างความเท่าเทียมในการใช้สิทธิ์เข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาผ่านระบบ Clearing-House 2.2.3.5. ด้านการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชาชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทางหลัก : พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน 1) โครงการธนาคารขยะ โดยโรงเรียนและชุมชนร่วมคัดแยกขยะ น ากลับมาใช้ประโยชน์ 2) การสร้างจิตส านึกการพัฒนาอย่างยั่งยืน เช่น โรงเรียนตาม พระราชด าริ : ต้นแบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 3) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยขยายผลบรรจุใน หลักสูตรทุกระดับ 2.2.3.6 ด้านการพัฒนาระบบและการบริหารจัดการ แนวทางหลัก : พัฒนาระบบบริหารจัดการ


๓๗ 1) เรื่องกฎหมาย 2) ปรับปรุงระบบการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา 3) การจัดตั้งกระทรวงอุดมศึกษาที่เป็นรูปธรรม ชัดเจน 4) การขับเคลื่อนนโยบายระดับพื้นที่ให้ส านักงานศึกษาธิการภาค และส านักงานศึกษาธิการจังหวัด เป็นฐานในการขับเคลื่อนนโยบายเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5) บริหารจัดการโรงเรียนแม่เหล็กและโรงเรียนขนาดเล็ก 2.3 นโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2562 2.3.1 หลักการ 2.3.1.1 ประชาชนทุกกลุ่มทุกวัย ได้รับการศึกษาในระบบต่าง ๆ และการเรียนรู้ ตลอดชีวิต 2.3.1.2 เด็ก เยาวชน ผู้เรียน มีทัศนคติที่ถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่เข้มแข็ง (สุขภาพและอุปนิสัย) 2.3.1.3 จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศและ การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก 2.3.2 หลักการจุดเน้นการจัดการศึกษา ระดับก่อนอนุบาล ระดับอนุบาล ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ระดับ อาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา ดังนี้ 2.3.2.1 ระดับก่อนอนุบาล เน้นประสานหน่วยงานอื่น ในการเตรียมความพร้อม ผู้เรียนในด้านสุขภาพและโภชนาการ 2.3.2.2 ระดับอนุบาล เน้นความร่วมมือ รัฐ ท้องถิ่น เอกชน พ่อแม่และ ผู้ปกครอง ในการจัดศึกษาระดับอนุบาล โดยมีจุดเน้น 1) พัฒนาผู้เรียนให้มีความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม 2) จัดประสบการณ์การเรียนรู้ เน้นการเรียนปนเล่น เรียนรู้อย่างมีความสุข และกิจกรรมเสริม 2.3.2.3 ระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ครูและผู้เรียนสร้างกระบวนการ เรียนรู้ร่วมกัน แลจัดการเรียนรู้แบบองค์รวม จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเน้น 1) เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อการสื่อสาร และใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเรียน วิชาอื่น 2) เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพื่อการสื่อสาร 3) เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวน การคิด การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง สถานการณ์จ าลอง กิจกรรมการเรียนรู้จากปัญหาและการลงมือ ปฏิบัติสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา และเรียนรู้อย่างมีความสุข 4) เรียนรู้Digital และใช้Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ 5) ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรม


๓๘ 6) จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานท า 7) พัฒนาครูตามความต้องการของครูและสถานศึกษา (คูปองครู) 8) จัดให้มีโครงการ 1 ต าบล 1 โรงเรียนคุณภาพ 2.3.2.4 ระดับอาชีวศึกษา จัดการศึกษาเพื่อการมีงานท าให้สอดคล้องกับ นโยบายรัฐบาล และความต้องการของสังคม ทั้งภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม บริการ และเป็น ผู้ประกอบการเอง โดยมีจุดเน้น 1) จัดการศึกษาระบบทวิภาคีพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและความ เชี่ยวชาญในอาชีพเฉพาะด้าน เรียนรู้จากสถานการณ์จริงและสถานการณ์จ าลอง และเรียนรู้จากกิจกรรม 2) เรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และใช้เพื่อการประกอบอาชีพ 3) เรียนรู้Digital และใช้Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ 4) จัดตั้งศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาใน ภูมิภาค 2.3.2.5 ระดับอุดมศึกษา เน้นการวิจัยและค้นหาแนวทางการพัฒนา การสร้าง นวัตกรรมเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และมีการเชื่อมโยงองค์ความรู้ที่หลากหลายทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยมีจุดเน้น 1) เรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และมีทักษะภาษาในระดับสูง ใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้และเป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยงความรู้ทั้งในและ ต่างประเทศ 2) เรียนรู้Digital และใช้Digital เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ 3) ผู้เรียนมีศักยภาพและมีองค์ความรู้ที่หลากหลายทั้งในและ ต่างประเทศ สามารถสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคมโลก 2.3.3 การขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นไปสู่การปฏิบัติ เพื่อเกิดผลสัมฤทธิ์ในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถตอบสนอง เป้าหมาย เจตนารมณ์ และวัตถุประสงค์ ดังนี้ 2.3.3.1 ใช้กระบวนการพัฒนาคุณธรรม บูรณาการในทุกกระบวนการเรียนรู้ 2.3.3.2 สอดแทรกเรื่องความโปร่งใส ยุติธรรม และป้องกันการทุจริต ให้มีในทุก มิติ ทั้งการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหาร 2.3.3.3 ให้องค์กรหลักน าไปก าหนดนโยบายขององค์กรสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและ ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติขององค์กร 2.3.3.4 เน้นการสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับทุกกลุ่มบุคคล ทุกระดับ ทุกประเภท สู่การลดความเหลื่อมล้ าในการรับการศึกษาที่มีคุณภาพในทุกหน่วยงาน 2.3.3.5 ให้ศึกษาธิการจังหวัด น าเสนอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด จัดท า แผนและขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติในการจัดการศึกษาในแต่ละจังหวัดให้เป็นรูปธรรม


๓๙ 2.3.3.6 ใช้เทคโนโลยีเชื่อมโยงข้อมูล (Big Data) ส าหรับเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และเครื่องมือในการบริหาร 2.3.3.7 ให้หน่วยงานทางการศึกษา จัดให้มีการพัฒนาหลักสูตรให้มีความ เชื่อมโยง ทั้งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา 2.3.3.8 ให้ส านักบริหารงานการศึกษาพิเศษ เป็นหน่วยงานประสานงาน ดูแล เด็กที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษในทุกระดับ เพื่อให้เด็กพิเศษได้รับการพัฒนา สามารถเรียนรู้ และพึ่งพา ตนเองได้ 2.3.3.9 ให้ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นหน่วยงานหลัก และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดูแลเด็กที่ตกหล่นจากระบบการศึกษา และ การศึกษาของผู้สูงอายุ 2.3.3.10 ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มีบทบาท และหน้าที่ตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ 3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติแผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ. 2560 – 2564) และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579 ปัจจุบันประเทศไทยมีการจัดระดับของแผนตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๐ ที่เห็นชอบการจ าแนกแผนเป็น 3 ระดับ แผนระดับที่ 1 ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนระดับที่ 2 ประกอบด้วย 4 แผน ได้แก่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติแผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนความมั่นคง แผนระดับที่ 3 เป็นแผนสนับสนุนการด าเนินงานของ แผนระดับ ที่ 1 และ แผนระดับที่ 2 สู่การปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ หรือจัดท าขึ้นตามที่ กฎหมายก าหนด หรือจัดท าขึ้นตามพันธกรณีหรืออนุสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งจะกล่าวถึงแผนระดับที่ 2 บางแผนและแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579 ดังนี้ 3.1 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ตามพระราชบัญญัติการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 10 บัญญัติว่า 1) เมื่อมี พระบรมราชโองการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติแล้วให้คณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติแต่ละด้าน จัดท าแผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่ก าหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติเสนอคณะกรรมการพิจารณา ให้ความเห็นชอบก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี 3) แผนแม่บทที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้มีผลพันธ์หน่วยงานของรัฐที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น รวมทั้งการจัดท า งบประมาณรายจ่ายประจ าปีต้องสอดคล้องกันแผนแม่บทด้วย โดยแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 6 ด้าน 37 ประเด็น (ข้อมูล ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2561) ดังนี้ 3.1.1 ด้านความมั่นคง 3.1.1.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ 3.1.1.2 การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง 3.1.1.3 การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อ ความมั่นคงของชาติ


Click to View FlipBook Version