The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการติดตามขับเคลื่อนฯ 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by k251058, 2023-07-12 03:12:54

รายงานการติดตามขับเคลื่อนฯ 2562

รายงานการติดตามขับเคลื่อนฯ 2562

๔๐ 3.1.1.4 การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองค์กรภาครัฐและมิใช้ภาครัฐ 3.1.1.5 การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม 3.1.2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3.1.2.1 การเกษตรสร้างมูลค่า 3.1.2.2 อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 3.1.2.3 สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว 3.1.2.4 โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโยง 3.1.2.5 พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่ 3.1.3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.1.3.1 การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม 3.1.3.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 3.1.3.3 ปฏิรูปการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 3.1.3.4 การตระหนักถึงพหุปัญหาของมนุษย์ที่หลากหลาย 3.1.3.5 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี 3.1.3.6 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ 3.1.3.7 การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างมูลค่าทางสังคมและพัฒนา ประเทศ 3.1.4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 3.1.4.1 การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก 3.1.4.2 การปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครองผู้บริโภค 3.1.4.3 การสร้างหลักประกันสังคม (รวมประเด็นแรงงาน การศึกษา และ สาธารณสุข) 3.1.4.4 เรื่องกระบวนการยุติธรรม 3.1.4.5 การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี 3.1.4.6 การเสริมสร้างพลังทางสังคม 3.1.4.7 การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาตนเองและ จัดการตนเอง 3.1.5 ด้านการสร้างเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3.1.5.1 สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว 3.1.5.2 สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล 3.1.5.3 สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ 3.1.5.4 พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็นเมืองที่เติบโตอย่างยั่งยืน 3.1.5.5 พัฒนาความมั่นคงทางน้ า พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม


๔๑ 3.1.5.6 ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อก าหนดอนาคตประเทศ 3.1.6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 3.1.6.1 การพัฒนาระบบบริการประชาชน 3.1.6.2 การปรับสมดุลภาครัฐ 3.1.6.3 การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ 3.1.6.4 การพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 3.1.6.5 การต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ 3.1.6.6 การแก้ไขกฎหมาย 3.1.6.7 การปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม 3.2 แผนการปฏิรูปประเทศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 ก าหนดให้รัฐจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเป็น เป้าหมายระยะยาวในการพัฒนาประเทศ ประกอบกับมาตรา 257 และมาตรา 259 ก าหนดให้ท าการ ปฏิรูปประเทศเพื่อวางรากฐานการพัฒนาไปสู่ประเทศที่มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุล ประชาชนในสังคมมีโอกาสทัดเทียมกันและ มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยจะต้องด าเนินการปฏิรูปอย่างต่อเนื่องในช่วงห้าปีข้างหน้า เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ในแผนการปฏิรูปแต่ละด้าน คือ 1) ด้านการเมือง 2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ด้านเศรษฐกิจ 6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 9) ด้านสังคม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จ านวน 7 ด้าน ดังนี้ 3.2.1 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง การธ ารงไว้ซึ่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขที่มีความมั่นคง มีความชอบธรรม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก่อให้เกิดประโยชน์สุข แก่ประเทศชาติ บ้านเมืองและประชาชน สร้างการมีส่วนร่วม รู้จักยอมรับความเห็นที่แตกต่างกัน พรรคการเมืองด าเนินกิจกรรมโดยเปิดเผยและตรวจสอบได้และพัฒนาเป็นสถาบันทางการเมือง ของประชาชน ผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบต่อ ประชาชนในการปฏิบัติหน้าที่ของตน และสร้างให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองโดยสันติวิธี โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปที่เกี่ยวข้องกับส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ เป้าหมายที่ 1 ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมในการด าเนินกิจกรรมทางการเมือง รวมตลอดทั้งการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ รู้จักยอมรับในความเห็นทางการเมืองโดยสุจริตที่แตกต่างกัน และให้ประชาชนใช้สิทธิเลือกตั้งและออกเสียงประชามติโดยอิสระปราศจากการครอบง าไม่ว่าด้วยทางใด ประเด็นปฏิรูปที่ 1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข


๔๒ พันธกิจที่ 1 การให้การศึกษาและเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของพลเมือง กลยุทธ์ที่ 1 การให้การศึกษาและเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของพลเมือง กลยุทธ์ที่ 2 จัดให้มีการให้ความรู้ทางด้านการเมืองการปกครอง (Political Education) วัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยฯ 3.2.2 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มุ่งสร้าง “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน” บนหลักธรรมาภิบาลเพื่อให้ ภาครัฐได้รับความเชื่อถือไว้วางใจจากประชาชน (Public Trust) โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูป ที่เกี่ยวข้องกับส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ เป้าหมายที่ 1 จัดองค์กรภาครัฐให้เปิดกว้างและเชื่อมโยงข้อมูลกันด้วยระบบ ดิจิทัล ประเด็นปฏิรูปที่ 2 : ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ก้าวสู่รัฐบาลดิจิทัล กลยุทธ์ที่ 2 น าระบบดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงาน และการบริหาร ราชการ แผนงานที่ 1 การพัฒนาหรือน าระบบดิจิทัลมาใช้ปฏิบัติงานและ การบริหารราชการ - พัฒนาหรือน าระบบดิจิทัลเพื่อรองรับท างานตามภารกิจเฉพาะ ของหน่วยงาน - พัฒนาหรือน าระบบดิจิทัลเพื่อรองรับงานพื้นฐานของ หน่วยงานเช่น งานสารบรรณ งานแผนและงบประมาณ งานพัสดุ งานบริหารบุคคล เป็นต้น กลยุทธ์ที่ 3 บูรณาการข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐเพื่อการบริหาร ราชการแผ่นดิน แผนงานที่ 1 การปรับปรุงพัฒนา การจัดท า รวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐ กิจกรรม - จัดท าชุดข้อมูลส าคัญของหน่วยงานให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล ที่เป็นไปตามมาตรฐานที่ก าหนด - เชื่อมโยงข้อมูลส าคัญของต้นเข้าสู่ศูนย์ข้อมูลกลางภาครัฐ เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงสามารถน าไปใช้ในการตัดสินใจและการบริหารราชการแผ่นดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมายที่ 2 จัดโครงสร้างองค์กรภาครัฐเพียว กะทัดรัดแต่เข้มแข็ง สามารถ บูรณาการความร่วมมือของทุกภาคส่วน ในการท างานเพื่อประชาชน โดยยึดพื้นที่เป็นหลัก ประเด็นการปฏิรูปที่ 3 โครงสร้างภาครัฐกะทัดรัด ปรับตัวได้เร็วและระบบงาน มีผลสัมฤทธิ์สูง กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานของรัฐ และลด/ละลายความเป็นนิติบุคคลของกรม


๔๓ แผนงานที่ 1 การด าเนินการจัดท าแผนปฏิรูปองค์การ กิจกรรม การด าเนินการจัดท าแผนปฏิรูปองค์การ แผนงานที่ 2 การปฏิรูประบบราชการ (Government Reform) กิจกรรม การปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการภาครัฐ (Service Reform) เป้าหมายที่ 3 จัดระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัล เพื่อความ โปร่งใส ทันสมัย ปรับตัวได้รวดเร็ว และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการด าเนินงานได้อย่าง เหมาะสม ประเด็นปฏิรูปที่ 2 : ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ก้าวสู่รัฐบาลดิจิทัล กลยุทธ์ที่ 2 น าระบบดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงานและการบริหาร ราชการ การบูรณาการและยกระดับโครงสร้างพื้นฐานรัฐบาลดิจิทัล แผนงานที่ 1 การพัฒนาหรือน าระบบดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงาน และการบริหารราชการ กิจกรรม พัฒนาหรือน าระบบดิจิทัลเพื่อรองรับงานพื้นฐานของ หน่วยงาน เป้าหมายที่ 4 จัดระบบบุคลากรภาครัฐให้มีมาตรฐานกลาง เพื่อสรรหา และรักษา ไว้ซึ่งก าลังคนที่มีคุณภาพสูง มีคุณธรรม และจริยธรรมในการท างานอย่างมืออาชีพ เป็นที่ไว้วางใจของ ประชาชน กลยุทธ์ที่ 3 บูรณาการข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐเพื่อการบริหาร ราชการแผ่นดิน แผนงานที่ 3 สนับสนุนให้น าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร ราชการแผ่นดิน การบริการประชาชน และการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน กิจกรรม พัฒนาสมรรถนะบุคลากรภาครัฐในด้านการบริหาร จัดการข้อมูลการวิเคราะห์และน าเสนอข้อมูลและการใช้ประโยชน์ร่วมกัน 3.2.3 แผนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย กฎหมายเป็นเครื่องมือสนับสนุนการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ให้ทันต่อการพัฒนาตามกระแสโลกาภิวัตน์เป็นธรรม และขจัดความเหลื่อมล้ าในสังคม โดยมีเป้าหมาย และประเด็นการปฏิรูปที่เกี่ยวข้องกับส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ เป้าหมายที่ 1 มีกลไกให้การออกกฎหมายเป็นกฎหมายที่ดีและเท่าที่จ าเป็น รวมทั้ง มีกลไกในการทบทวนกฎหมายที่มีผลบังคับแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ ตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประเด็นการปฏิรูปที่ 1 มีกลไกให้การออกกฎหมายเป็นกฎหมายที่ดีและเท่าที่ จ าเป็น รวมทั้งมีกลไกในการทบทวนกฎหมาย ที่มีผลบังคับแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ ตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กิจกรรม จัดท ากฎหมายเพื่อก าหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดท าร่าง กฎหมาย การก าหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย การรับฟัง


๔๔ ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ ประกอบการจัดท าร่างกฎหมายรวมทั้งก าหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายที่มีผล ใช้บังคับแล้ว 3.2.4 แผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการรักษา ฟื้นฟูให้สมบูรณ์และยั่งยืนเป็น รากฐานในการพัฒนาประเทศอย่างสมดุลทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม มีการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคม เกิดความสมดุลระหว่างการคุ้มครองรักษาและการใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน รวมทั้งมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพบนพื้นฐานการมีส่วน ร่วมของภาคส่วนต่างๆ โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปที่เกี่ยวข้องกับส านักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ดังนี้ เป้าหมายที่ 1 ระบบบริหารจัดการมลพิษที่แหล่งก าเนิดมีประสิทธิภาพส่งผลต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดีส าหรับประชาชน ประเด็นการปฏิรูปที่ 1 เสริมสร้างระบบบริหารจัดการมลพิษที่แหล่งก าเนิดให้มี ประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้และทักษะกับชุมชนและโรงเรียนในการคัดแยกขยะ แต่ละประเภท รวมทั้งผนวกความรู้เรื่องการคัดแยกขยะเข้าไปในหลักสูตรการเรียนการสอน 3.2.5 แผนการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ การสร้างดุลยภาพระหว่างเสรีภาพของการท าหน้าที่ของสื่อบนความรับผิดชอบ กับการก ากับที่มีความชอบธรรม และการใช้พื้นที่ดิจิทัลเพื่อการสื่อสารอย่างมีจรรยาบรรณ ด ารงรักษา เสรีภาพของการแสดงออก การรับรู้ของประชาชน ด้วยความเชื่อว่าเสรีภาพของการสื่อสาร คือ เสรีภาพ ของประชาชนตามแนวทางของประชาธิปไตย สื่อเป็นโรงเรียนของสังคม ในการให้ความรู้แก่ประชาชน ปลูกฝังวัฒนธรรมของชาติ และปลูกฝังทัศนคติที่ดี โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปที่เกี่ยวข้องกับ ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ เป้าหมาย 1. การมุ่งเน้นการสร้างดุลยภาพระหว่างเสรีภาพของการท าหน้าที่ของสื่อ บนความรับผิดชอบกับการก ากับที่มีความชอบธรรม และการใช้พื้นที่ดิจิทัลเพื่อการสื่อสารอย่างมี จรรยาบรรณ ด ารงรักษาเสรีภาพของการแสดงออก การรับรู้ของประชาชน ด้วยความเชื่อว่าเสรีภาพของ การสื่อสารคือเสรีภาพของประชาชนตามแนวทางของประชาธิปไตย 2. สื่อเป็นโรงเรียนของสังคม ในการให้ความรู้แก่ประชาชน ปลูกฝังวัฒนธรรม ของชาติ และปลูกฝังทัศนคติที่ดี ประเด็นการปฏิรูปที่ 1 การปฏิรูปการรู้เท่าทันสื่อของประชาชน กิจกรรม การจัดสัมมนาเรื่อง “การรู้เท่าทันสื่อ” ในโรงเรียนและ ในมหาวิทยาลัยและในสถานที่สาธารณะส าหรับกลุ่มเป้าหมายที่อยู่นอกสถานศึกษาในกรุงเทพมหานคร และต่างจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 3.2.6 แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม คนไทยมีหลักประกันทางรายได้ในวัยเกษียณที่เพียงพอต่อการด ารงชีวิตอย่างมี คุณภาพและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสู่การมีจิตสาธารณะเพิ่มขึ้น สังคมไทยเป็นสังคมแห่งโอกาส


๔๕ และไม่แบ่งแยก ภาครัฐมีข้อมูลและสารสนเทศด้านสังคมที่บูรณาการทุกหน่วยงานและเปิดโอกาส ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ และให้ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง โดยสามารถบริหารจัดการชุมชน ได้ด้วยตนเอง โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปที่เกี่ยวข้องกับส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ เป้าหมาย คนไทยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสู่การมีจิตสาธารณะเพิ่มขึ้น ประเด็นการปฏิรูปที่ 5 การมีส่วนร่วม การเรียนรู้ การรับรู้และการส่งเสริมกิจกรรม ทางสังคม กิจกรรมที่ 2 สร้างพลังแผ่นดิน 3.2.7 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการทุจริต มีมาตรการควบคุมการบริหารจัดการ ของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน และยกระดับการบังคับใช้มาตรการทางวินัยและกฎหมายต่อ เจ้าพนักงานของรัฐ โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปที่เกี่ยวข้องกับส านักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ดังนี้ เป้าหมาย ประเทศไทยมีระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) อยู่ใน 20 อันดับแรกของโลกในปี 2579 ประเด็นการปฏิรูปที่ 1 ด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง กลยุทธ์ที่ 1 เร่งสร้างการรับรู้และจิตส านึกของประชาชนในการต่อต้านการ ทุจริตประพฤติมิชอบ โดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม กิจกรรมที่ 1.9 สร้างทัศนคติ ความรู้และปลูกฝังเยาวชนในสถานศึกษา ทุกระดับให้รังเกียจการทุจริตและตระหนักถึงโทษภัยของการทุจริตคอร์รัปชั่นต่อประเทศชาติ ประเด็นการปฏิรูปที่ 2 ด้านการป้องปราม กลยุทธ์ที่ 2 ให้หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือ ผู้บังคับบัญชา มีมาตรการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบและเป็นตัวอย่างในการบริหารงานด้วยความซื่อตรงและรับผิดชอบ กรณีปล่อยปละละเลย ไม่ด าเนินการให้ถือเป็นความผิดวินัยหรือความผิดอาญา กิจกรรมที่ 2.2 ปลุกจิตส านึกให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีคุณธรรมความซื่อตรง (Integrity) โดยเน้นความซื่อตรงต่อหน้าที่ (ซื่อสัตย์สุจริตตามเป้าหมายอย่างดีที่สุด) และซื่อตรงต่อ ประชาชน กลยุทธ์ที่ 3 เสริมสร้างหน่วยงานตรวจสอบภายในให้เป็นกลไกอิสระและมีการ เฝ้าระวังการทุจริตในหน่วยงาน กิจกรรมที่ 3.3 วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติ มิชอบในส่วนราชการเป็นประจ าทุกปี และรายงานผลการปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชาเหนือตนตามระยะเวลา ที่ก าหนด กลยุทธ์ที่ 4 ท าให้การให้สินบนแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นเรื่องที่น่ารังเกียจ ไม่พึงกระท า


๔๖ กิจกรรมที่ 4.3 พัฒนาแนวทางการก าหนดมาตรการควบคุมภายในที่เหมาะสม เพื่อใช้ในองค์กรภาครัฐและเอกชนในการป้องกันการให้สินบนและการเรียกรับสินบนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในทุกรูปแบบ 3.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ. 2560 – 2564) ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดท าแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 ส าหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทย ในระยะ 5 ปี ซึ่งเป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียม ความพร้อมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีหลักการที่ส าคัญ คือ 3.3.1 ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติ อย่างสมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ดี ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่จ าเป็นส าหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคน มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ สังคมไทย เป็นสังคมคุณภาพ มีที่ยืนและเปิดโอกาสให้กับทุกคนในสังคมได้ด าเนินชีวิตที่ดีมีความสุข และอยู่ร่วมกัน อย่างสมานฉันท์ 3.3.2 ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”มุ่งสร้างคุณภาพชีวิต และสุขภาวะที่ดี ส าหรับ คนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อม เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล อนุรักษ์ ฟื้นฟูใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม 3.3.3 ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ ประเทศไทยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติ พจน์ประจ าชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” 3.3.4 ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” ที่เป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ ชาติ ระยะ 20 ปี มาเป็นกรอบในการก าหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อย ลงมา ควบคู่กับกรอบเป้าหมายที่ยั่งยืน (SDGs) 3.3.5 ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้าและขับเคลื่อน การเจริญเติบโต จากการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรม” 3.3.6 ยึด “หลักการน าไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอด ไปสู่ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นเป้าหมายระยะยาว” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบ วินัยค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจน เป็นคนเก่งที่มีทักษะความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชีวิต


๔๗ 2. เพื่อให้คนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรม ในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้ง ชุมชนมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ 3. เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สร้าง ความเข้มแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมที่เข้มข้นมากขึ้น สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก และสร้างความมั่นคงทางพลังงาน อาหาร และน้ า 4. เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถ สนับสนุน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน 5. เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และ มีการท างานเชิงบูรณาการของภาคีการพัฒนา 6. เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อ รองรับ การพัฒนายกระดับฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานการผลิตและบริการใหม่ 7. เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยง (Connectivity) กับประเทศต่าง ๆ ทั้งในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ประเทศไทยมี บทบาทน าและสร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ ทั้งใน ระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และโลก เป้าหมายรวม เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้ก าหนดเป้าหมายรวมการพัฒนา ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ประกอบด้วย 1. คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรม ตามบรรทัดฐานที่ดี ของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทัน สถานการณ์มีความรับผิดชอบและท าประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญงอกงาม ทางจิตวิญญาณมีวิถีชีวิตที่พอเพียง และมีความเป็นไทย 2. ความเหลื่อมล้ าทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานราก มีความเข้มแข็งประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคม ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 3. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่ เศรษฐกิจฐานบริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาด กลางและขนาดเล็กที่เข้มแข็งสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและ บริการมีระบบ การผลิตและให้บริการจากฐานรายได้เดิมที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิต และบริการฐานความรู้ชั้นสูงใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมทั้งกระจายฐานการผลิตและ การให้บริการสู่ภูมิภาคเพื่อลดความเหลื่อมล้ า โดยเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพ 4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน และน้ า 3.4 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนที่วางกรอบเป้าหมายและทิศทาง การจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาค


๔๘ ในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะ ในการท างานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักส าคัญในการจัดการศึกษาประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวง ชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียม และทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For Education) อีกทั้งยึดตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากรของประเทศ ความเหลื่อมล้ าของการกระจายรายได้ และวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยน า ยุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดส าคัญในการจัดท าแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีสาระส าคัญ ดังนี้ วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ด ารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะ ที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รัก สามัคคี และร่วมมือผนึกก าลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพื่อน าประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อม ล้ าภายในประเทศลดลง 4. การติดตามและประเมินผล 4.1 ความส าคัญของการติดตามและประเมินผล การติดตาม เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญประการหนึ่งของระบบการบริหารของหน่วยงาน หรือองค์การ เป็นกลไกในการควบคุมคุณภาพการท างานเพื่อประกันให้การด าเนินงานเป็นไปตามแผนงาน โครงการและบรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในบางครั้งยังเป็นการช่วยให้มี การปรับปรุงแก้ไขแผนงาน โครงการและวิธีปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความ ต้องการยิ่งขึ้น การติดตามและประเมินผล จึงเป็นส่วนส าคัญที่ต้องระบุในแผนงานการติดตามและ ประเมินผล และจะได้ทราบว่าสิ่งที่ท าไปแล้วได้รับผลตอบแทนคุ้มกับค่าใช้จ่ายเพียงไร การติดตาม เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผนที่มีการก าหนดไว้แล้ว เพื่อน าข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจ แก้ไข ปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผน หรือก าหนดวิธีการ ด าเนินงานให้เกิดผลดียิ่งขึ้น ดังนั้นจุดที่ส าคัญของการติดตาม คือการปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อการตรวจสอบ ควบคุม ก ากับ การปฏิบัติงานของโครงการ การติดตามจะเกิดขึ้นในขณะที่โครงการก าลังด าเนินงานตาม แผนที่ก าหนด การประเมินผล เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และน าผลมาใช้ในการเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของการด าเนินโครงการ การประเมินผลจะเกิดขึ้น


๔๙ ในทุกขั้นตอนของโครงการ นับตั้งแต่ก่อนตัดสินใจจัดท าโครงการ ในขณะด าเนินงานในช่วงระยะต่าง ๆ และเมื่อโครงการด าเนินงานเสร็จแล้ว หรือประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการด าเนินโครงการ บางมิติ น ามาใช้ในการประเมินความส าเร็จของโครงการว่า บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายาของโครงการที่ตั้งไว้ หรือไม่ มีปัญหา อุปสรรคอะไรบ้าง 4.2 ความหมายและขอบข่ายการติดตามและประเมินผล ความหมายของการติดตามและประเมินผล1712 ได้ให้ความหมายของการติดตามผล หมายถึง กระบวนการที่ให้ได้มาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับการด าเนินงานตามแผนงานโครงการ เพื่อบริหาร แผนงาน/โครงการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเป็นเทคนิคที่ส าคัญในการเร่งรัดให้แผนงาน โครงการ ด าเนินการได้แล้วเสร็จทันเวลา 4.3 ขอบข่ายของการติดตามและประเมินผล โดยหลักการ การติดตามเป็นมาตรการที่จะก ากับและสนับสนุนในการปฏิบัติงาน ตามแผนงาน โครงการ มีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้และทันตามก าหนดเวลา โดยมี ขอบข่ายงานติดตามและประเมินผลทั้งด้านปัจจัย กิจกรรมและผลการด าเนินงาน ดังนี้1813 ภาพที่ 2 แผนภูมิขอบข่ายการติดตามและประเมินผล ที่มา : ส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, 2541: 477 การติดตามด้านปัจจัย เป็นการตรวจสอบว่า งาน/โครงการนั้นได้รับปัจจัยหรือทรัพยากร ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพภายในเวลาที่ก าหนดหรือไม่ การติดตามด้านกิจกรรมเป็นการตรวจสอบว่า ได้ปฏิบัติงานตามกิจกรรม ขั้นตอนที่ก าหนดไว้ในแผนหรือปฏิทินการปฏิบัติงานที่ก าหนดไว้หรือไม่ ส่วนการติดตามด้านผลการด าเนินงาน เป็นการตรวจสอบการด าเนินงานนั้นได้ผลงานตามที่ตั้งเป้าหมาย 17 ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำแห่งชำติ. รายงานผลการประเมินโครงการการสัมมนาการปรับปรุง ต าแหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษาให้สูงขึ้น ปีงบประมาณ 2541. กรุงเทพฯ: สปช., 2541. น.476 18 ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำแห่งชำติ. รายงานผลการประเมินโครงการการสัมมนาการปรับปรุง ต าแหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษาให้สูงขึ้น ปีงบประมาณ 2541. กรุงเทพฯ: สปช., 2541. น.477 การ ปฏิบัติงาน ตามแผนงาน /โครงการ การติดตาม และ ประเมินผล ด้านปัจจัย ด้านกิจกรรม ด้านผลการ ด าเนินงาน ผลการ ด าเนินงาน ปัญหา และ อุปสรรค การปรับปรุงและ พัฒนางาน


๕๐ หรือตรงตามแผนหรือไม่ข้อมูลที่ได้จากการติดตามผลจะน าไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนางาน ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา อุปสรรคให้ลุล่วงไปด้วยดี จากความส าคัญและความหมายของการติดตามและประเมินผล พอสรุปได้ว่า การติดตาม เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่า ได้มีการด าเนินการในขั้นตอนต่าง ๆ ของโครงการที่ก าหนดได้ อย่างไร ข้อมูลที่ได้จะน ามาประกอบเป็นเครื่องมือ ควบคุม ก ากับ การด าเนินงานในขณะปฏิบัติโครงการ โดยตรง ทั้งในด้านปัจจัย (Input) ด้านกระบวนการด าเนินงาน (Process) และด้านผลผลิต (Output) ส าหรับการประเมิน มีขอบข่ายกว้างขวาง ขึ้นอยู่ว่าจะประเมินในขึ้นตอนใดของโครงการ เช่น ก่อนเริ่ม โครงการ ขณะด าเนินโครงการซึ่งอาจด าเนินการเป็นช่วง เป็นระยะต่าง ๆ เช่น ทุก 3 เดือน ทุก 6 เดือน ทุกปี ประเมินเมื่อโครงการด าเนินงานไประยะครึ่งโครงการ เป็นต้น หรือเป็นการประเมินผลเมื่อโครงการ ด าเนินการเสร็จสิ้น การติดตามผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค และ จังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของส านักงานศึกษาธิการภาค 5 จึงเป็นขั้นตอนการตรวจสอบกลไก การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา การสร้างการรับรู้ การขับเคลื่อนแผน การแปลงแผน สู่การปฏิบัติของหน่วยงานทางการศึกษา โดยพิจารณาความสอดคล้อง ความเชื่อมโยงเชิงยุทธศาสตร์ ตลอดจนการติดตามประเมินผลการด าเนินงานของแผนงานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา ว่าได้ปฏิบัติตามขั้นตอน กิจกรรมที่ก าหนดไว้ในแผนงานโครงการหรือไม่ การใช้ทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ อยู่ในระยะเวลา งบประมาณที่ใช้ในการด าเนินงานตามที่ก าหนดไว้ ตลอดจน มีข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจและทบทวนเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในพื้นที่ให้มีความ เชื่อมโยงและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดและบริบทอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 5. ระบบกลไก ระบบ หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการก าหนดอย่างชัดเจนว่าต้องท าอะไรบ้างเพื่อให้ ได้ผลออกมาตามที่ต้องการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะต้องปรากฏให้ทราบโดยทั่วกัน ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของ เอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยวิธีอื่น ๆ องค์ประกอบของระบบ ประกอบด้วย ปัจจัยน าเข้า กระบวนการ ผลผลิต และข้อมูลป้อนกลับ ซึ่งมีความเชื่อมโยงกัน1914 กลไก หมายถึง สิ่งที่ท าให้ระบบมีการขับเคลื่อนหรือด าเนินอยู่ได้ โดยมีการจัดสรรทรัพยากร มีการจัดองค์การ หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลเป็นผู้ด าเนินงาน เพื่อให้เป็นแนวปฏิบัติของขั้นตอนหรือระบบ สอดคล้องกับการด าเนินงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค จึงได้ ก าหนดรูปแบบ เอกสารที่แสดงขั้นตอนของระบบและกลไกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงาน และ สอดคล้องกับการบเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค ส าหรับกลไกที่แต่ละ ส่วน อาจเขียนเพิ่มเติมตามบริบทและการด าเนินงานจริง เพื่อสนับสนุนให้ระบบที่แต่ละ ระดับเกี่ยวข้อง ด าเนินงานได้ส าเร็จตามเป้าหมาย ได้แก่ 19 ส านักมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปีการศึกษา 2557. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจ ากัด ภาพพิมพ์, 2558. น.39


๕๑ 5.1 การจัดบุคลากร (Man) เช่น ค าสั่งคณะกรรมการด าเนินงานหรือคณะกรรมการ ผู้รับผิดชอบ ผู้บริหารที่รับผิดชอบ 5.2 การจัดทรัพยากรหรือวัสดุ (Materials) ได้แก่ การจัดสถานที่ สภาพแวดล้อม หรือ ทรัพยากร วัสดุ อุปกรณ์ ในการด าเนินงานในระบบ 5.3 การจัดงบประมาณ (Money) ได้แก่ การก าหนดแผน โครงการหรือกิจกรรม โดยสนับสนุนงบประมาณเพื่อ ด าเนินงานระบบ 5.4 การบริหารจัดการ (Management) ได้แก่ การประชุมกรรมการ การอบรม การเผยแพร่หรือประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมตามแผนงานหรือโครงการ การติดตามและประเมินผล 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้ด าเนินการวิจัยได้ค้นคว้าผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ในพื้นที่ ดังนี้ ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (บทคัดย่อ : 2557) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนา การศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ผลการวิจัยพบว่า บริบทที่ส าคัญในการออกแบบ การศึกษาในปัจจุบันคือ พลวัตการเปลี่ยนแปลงในโลกศตวรรษที่ 21 เนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลง ทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี สังคม สิ่งแวดล้อม และการเป็นโลกดิจิตอล ที่สถานการณ์และ การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของโลกมีการส่งผ่านข้อมูลและเชื่อมต่อกันอย่างรวดเร็ว ปัจจัยดังกล่าวส่งผลต่อ การวางแผนและก าหนดแนวทางการพัฒนาประเทศเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การสร้าง ความมั่นคง และการพัฒนาที่ยั่งยืน การศึกษาจึงต้องมีการออกแบบเพื่อเพิ่มความสามารถของมนุษย์ ส าหรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดยก าหนดเป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาและกลไกการขับ เคลื่อนที่ชัดเจน เพื่อให้การศึกษามีบทบาทส าคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นกลไกหลักในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริม ปลูกฝัง ความคิด ความรู้ ทัศนคติ และทักษะแก่ประชาชนในสังคมโดยรวมเพื่อ น าไปสู่การพัฒนาประเทศในระยะยาว ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จึงได้จัดท าโครงการวิจัยเรื่อง การก าหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 เพื่อให้สามารถ จัดเตรียมการศึกษาของประเทศให้มีความสมบูรณ์พร้อมในทุก ๆ ด้าน พลวัตการเปลี่ยนแปลงโลกจากการก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ได้ส่งผลกระทบทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และการเมืองของทุกประเทศในประชาคมโลก การปรับแนวทางการศึกษา เพื่อพัฒนาประชากรให้มีความพร้อมสู่ศตวรรษใหม่ถูกก าหนดเป็นวาระแห่งชาติของหลายประเทศ ความท้าทายในการปรับแต่งการศึกษาจากแนวทางของศตวรรษที่ 21 ที่มีกระบวนทัศน์แตกต่าง อย่างสิ้นเชิง จึงเป็นความท้าทายหลักของการปฏิรูปการศึกษาไทยของศตวรรษที่ 21 ด้วยเช่นกัน แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 จะประกอบไปด้วย แนวทางในการด าเนินการที่ส าคัญ ทั้งการ “ซ่อม” และการ “สร้าง” ควบคู่กันไป เพื่อเป็นการปรับแต่ง ซ่อมแซมกลไกการศึกษาเดิมให้ดียิ่งขึ้น และสร้างเสริมกลไกใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองพลวัต การเปลี่ยนแปลงแห่งศตวรรษที่ 21 รวมถึงสร้างพลังของการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย เพื่อก้าวสู่ การสร้างสังคมแห่งปัญญาการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ช่วยขับเคลื่อนให้เกิดผลในการพัฒนาการศึกษา เรียนรู้ของไทยในทางปฏิบัติอย่างยั่งยืนและสมดุล เป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศอย่างแท้จริง


๕๒ รุจิรา เจียมอมรรัตน์ และคณะ (2559) ได้ท าวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาระบบและกลไก การส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัย ของวิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการการส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยของวิทยาลัยฯ มากกว่าตามสภาพจริงอย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .001 การส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยของวิทยาลัยฯ ตามสภาพจริงในภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง ( =3.17, S.D.= 0.64) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านนโยบายและแผนกลยุทธ์การผลิต ผลงานวิจัยและด้านการสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยมีการส่งเสริมอยู่ในระดับมาก ( = 3.72, S.D.= 0.64) และ ( = 3.62, S.D. = 0.77) ส่วนการส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยของวิทยาลัยฯ ตาม ความต้องการในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.32, S.D.= 0.56) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านมีความต้องการอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.24, S.D.= 0.68 ถึง = 4.35, S.D. = 0.54) ผลการใช้แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยของวิทยาลัยฯ พบว่า วิทยาลัย ทั้ง 37 แห่ง ได้น าแนวทางดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ ทั้งนี้วิทยาลัยที่ด าเนินการครบถ้วนสมบูรณ์ (ในระดับความส าเร็จ 5) จ านวน 20 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 54.05 ดังนั้น จึงควรมีการติดตามประเมินผล และพัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยของวิทยาลัยฯ อย่างต่อเนื่อง นินุช บุณยฤทธานนท์ และคณะ (2559) ได้ท าวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาระบบและกลไกบริหาร งานวิจัยของมหาวิทยาลัยเอกชนที่เอื้อต่อการวิจัยเชิงพื้นที่ : มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นกับ งานวิจัยเพื่อ พัฒนาพื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท (ต าบลสารภี) ผลการด าเนินงานของโครงการฯ จนถึงปัจจุบันกับการพัฒนา ระบบและกลไกมหาวิทยาลัยในช่วงเวลา 1 ปีกับ 6 เดือน ตั้งแต่จุดเริ่มต้นเดือนตุลาคม 2558 พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบบริหารงานวิจัยระดับสถาบัน คือ เกิดคณะท างานเพื่อก าหนดกฎเกณฑ์และ การลดขั้นตอนระเบียบทางการเงิน มีการจัดตั้งคณะกรรมการด้านการวิจัยเพื่อภารกิจเฉพาะด้าน มีการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยในโครงการอย่างต่อเนื่อง ในส่วนการพัฒนาพื้นที่ต าบลสารภีได้มี การด าเนินงานวิจัยเป็นเวลา 1 ปีเต็มกับการท างานผ่านโครงการวิจัยชุดย่อย ทั้งสิ้น 6 โครงการ พบว่า เกิดการศึกษาบริบทชุมชนเป็นองค์รวม เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระว่างนักวิจัยและ ประชาคมในพื้นที่ มีการปรับกระบวนการท างาน พัฒนาชุมชนที่เห็นชัดเจน รวมถึงได้ค้นพบแนวทาง แก้ไขปัญหาผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในทุกชุดโครงการที่เกี่ยวข้องกับลักษณะความเป็น ชุมชนกึ่งเมือง กึ่งชนบทโดยตรง เช่น การสืบค้นและรวบรวมประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อค้นหาชุมชน การพัฒนากลุ่มอาชีพที่เข้มแข็ง การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนด้วยเวทีชุมชนที่เน้นการสร้าง ความร่วมมือมกกว่าการส่งการ เป็นต้น ท าให้เกิดความเชื่อมโยงการท างานระหว่างกันมากขึ้น และ ปัจจุบันโครงการย่อยทั้ง 6 โครงการ ยังคงอยู่ระหว่างการด าเนินงานตามวัตถุประสงค์โครงการฯ เพื่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงพื้นที่เป็นรูปธรรมตามเป้าหมายของโครงการฯ ต่อไป พรชัย เจตามาน และคณะ (บทคัดย่อ : 2559) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาการศึกษาภายใต้ กรอบประเทศไทย 4.0 สู่ศตวรรษที่ 21 ผลการวิจัยพบว่า กระบวนทัศน์การพัฒนาทางการศึกษาภายใต้ ประเทศไทย 4.0 สู่ศตวรรษที่ 21 คือ การเป็นจุดเริ่มต้นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี การขับเคลื่อนไปสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง พอเพียงและยั่งยืน อย่างเป็นรูปธรรม การขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการที่มีการผลักดัน การปฏิรูปโครงสร้างการวิจัยและการพัฒนาการศึกษา การผนึกก าลังภายใต้แนวคิดประชารัฐ การวิจัย พัฒนา บุคลากรการศึกษา และผู้เรียนภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการรู้จักเติมเต็ม พอเพียง แบ่งปัน รับผิดชอบและให้คุณค่า การหาความรู้อย่างต่อเนื่อง การมีคุณธรรม วัฒนธรรมภิบาล เพื่อเป็นเกราะคุ้มกัน และการเรียนรู้ในทักษะศตวรรษที่ 21


๕๓ ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (บทสรุปส าหรับผู้บริหาร : 2559) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การออกแบบระบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ระบบการติดตาม และประเมินผลการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยควรครอบคลุมเนื้อหา 4 ส่วน ได้แก่ ก. การติดตามและประเมินผลตาม “แผนการศึกษาแห่งชาติ” เป็นการติดตามและ ประเมินผลตามตัวชี้วัดที่ก าหนดไว้ในแผนการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งสภาการศึกษาและส านักงานเลขาธิการ สภาการศึกษามีหน้าที่ตามกฎหมายในการติดตามและประเมินผล ในส่วนนี้การติดตามผลการด าเนินงาน ตามตัวชี้วัด 77 ตัว ในยุทธศาสตร์ 8 ด้าน ที่ก าหนดในแผนการศึกษาแห่งชาติ (2560 - 2574) (ปัจจุบันเป็นฉบับร่าง) ข. การติดตามและประเมินผลระบบการศึกษา เป็นการติดตามและประเมินผล ตามตัวชี้วัดที่สะท้อนความก้าวหน้าของผลลัพธ์และผลสัมฤทธิ์ของระบบการศึกษาของประเทศไทย ซึ่งวัดจากข้อมูลเชิงประจักษ์ ทั้งข้อมูลจากองค์กรภายในประเทศและองค์กรต่างประเทศ ซึ่งประกอบด้วย ตัวชี้วัดทั้งสิ้น 27 รายการ ซึ่งจะได้กล่าวถึงในรายละเอียดในส่วนถัดไป ค. การติดตามและประเมินผลความก้าวหน้าของการขับเคลื่อนนโยบายส าคัญ เป็นการติดตามและประเมินผลความก้าวหน้าของการขับเคลื่อนนโยบายส าคัญของระบบการศึกษาไทย (Policy Milestone) ซึ่งจะท าให้ผู้ก ากับการขับเคลื่อนนโยบายสามารถทราบความก้าวหน้าของ การขับเคลื่อนนโยบายส าคัญดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในชั้นนี้คณะผู้วิจัยเห็นว่ามีนโยบายส าคัญ ที่ระบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาการศึกษานี้ควรมุ่งเน้น ได้แก่ 1) การกระจายอ านาจ การบริหารไปสู่สถานศึกษา 2) การปฏิรูประบบทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษา 3) ระบบข้อมูลและ สารสนเทศเพื่อการจัดการการศึกษา และ 4) กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ง. การติดตามและประเมินผลเชิงลึกด้วยการวิจัยเชิงประเมินผล เป็นการติดตามและ ประเมินผลแบบเชิงลึกด้วยการด าเนินการวิจัย ซึ่งจะท าให้ผลการประเมินในภาพรวมมีความครบถ้วน โดยการติดตามและประเมินผลเชิงลึกด้วยการวิจัยเชิงประเมินผลนั้นควรท าใน 2 กรณี ได้แก่ 1) การติดตามและประเมินผลเชิงคุณภาพโดยเฉพาะในประเด็นที่ไม่สามารถสะท้อนได้ด้วยตัวชี้วัด และ 2) การวิจัยเพื่อหาสาเหตุของปัญหาในเชิงลึกซึ่งจะเป็นส่วนที่สะท้อนจากการติดตามและประเมินผล ระบบการศึกษา (ตามตัวชี้วัด) หากมีตัวชี้วัดใดสะท้อนว่ามีปัญหาก็ควรจะน ามาเป็นโจทย์ในการติดตาม และประเมินผลด้วยการวิจัยต่อไป มนต์นภัส มโนการณ์ (บทคัดย่อ : 2561) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การปฎิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ ผลการวิจัยพบว่า การปฎิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นเครื่องมือส าคัญในการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการปฏิรูปประเทศไทย ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องศึกษาวิเคราะห์และท าความเข้าในประเด็นส าคัญอย่างลึกซึ้ง โดยการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมา ส่วนใหญ่เป็นการปรับโครงสร้างการบริหารจัดการของหน่วยงาน การก าหนดนโยบาย และการบริหาร จัดการ เป็นการตัดสินใจและสั่งการจากส่วนกลาง การกระจายอ านาจไปสู่พื้นที่และโรงเรียนยังมีน้อย ในขณะที่แต่ละพื้นที่มีความหลากหลายและมีโจทย์ของการจัดการศึกษาที่แตกต่างกัน ผลที่เกิดขึ้นจึงท าให้ คุณภาพของ ผู้เรียนต่ ากว่าเป้าหมายและไม่ตอบสนองต่อความต้องการของพื้นที่ การปฏิรูปการศึกษาของ หลายประเทศและในหลายจังหวัดของประเทศไทย ได้น าแนวคิดการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่มาใช้ โดยการ เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีอ านาจในตัดสินใจ ออกแบบการจัด การศึกษาที่มุ่งแก้โจทย์ปัญหาของพื้นที่ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง


๕๔ ความรับผิดชอบต่อผลของการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ สามารถผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพ เหมาะสมและ สอดคล้องกับความต้องการของบริบทพื้นที่ การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยควรน าแนวคิดการจัด การศึกษาเชิงพื้นที่มาประยุกต์ใช้โดยเริ่มต้นจากการปรับกระบวนทัศน์ของการศึกษาให้เป็นการเรียนรู้ชีวิต ใช้พื้นที่หรือจังหวัดเป็นหน่วยส าคัญของการปฏิรูป แนวทางการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาด้วยการจัด การศึกษาเชิงพื้นที่ อันจะน าไปสู่ความส าเร็จ ควรมี 6 ประเด็นส าคัญ ได้แก่ 1) กระจายอ านาจ ให้ความอิสระ และเพิ่มอ านาจการตัดสินใจให้กับผู้รับผิดชอบหลักในพื้นที่ 2) เสริมสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ และ จิตส านึกรับผิดชอบของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 3) พัฒนาระบบความรับผิดชอบต่อการศึกษา ทั้งด้าน ปัจจัย กระบวนการและผลผลิตที่มีความสัมพันธ์กัน 4) พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ ในพื้นที่ให้พร้อมใช้ 5) ปรับระบบการพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา เสริมสร้างวัฒนธรรม การท างานเชิงรุก และ 6) เปิดพื้นที่ร่วมพัฒนา เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน แนวคิดนี้ จะสัมฤทธิ์ผลได้ต้องเริ่มจากการปรับชุดความคิดของคนไทยทุกคนให้ตระหนักถึงความส าคัญและร่วมกัน รับผิดชอบ โดยการวางแผนให้ชัดเจนและเริ่มกระบวนการเปลี่ยนแปลงให้เร็วที่สุด เพื่อให้การศึกษา เป็นพลังส าคัญในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน กระทรวงศึกษาธิการ2015(2561) ได้จัดท ารายงานผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนแผนบูรณา การด้านการศึกษาระดับภาคของกระทรวงศึกษาธิการ พบว่า กลไกการขับเคลื่อนแผนบูรณาการ ด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ 3 คณะ ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการอ านวยการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาค โดยมีรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน และผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการหลักเป็นคณะกรรมการ 2) คณะกรรมการด าเนินงานขับเคลื่อนฯ โดยมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอกสุรเชษฐ์ ชัยวงศ์) เป็นประธาน และมีรองเลขาธิการส่วนราชการหลักเป็นกรรมการ 3) คณะกรรมการขับเคลื่อน แผนบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาค (6 ภาค) ของกระทรวงศึกษาธิการ 6 คณะ ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ซึ่งคณะกรรมการ ทั้ง 3 คณะได้ก าหนดให้มีความเชื่อมโยงสอดคล้องเชิงนโยบาย เชิงกฎหมายการบริหารงานเชิงพื้นที่แบบ บูรณาการ กรอบทิศทางการพัฒนาภาค ประเด็นการพัฒนาภาค ทั้ง 6 ภาค มีการประชุมปฏิบัติการ ซึ่งมีส่วนร่วมของภาคส่วนทั้งส่วนราชการสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและประชารัฐในระดับภาค 6 ภาค เพื่อมอบนโยบายในการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้านการศึกษา เพื่อจัดท าของบประมาณประจ าปี และ ชี้แจงแนวทางการด าเนินการจัดท าแผนและจัดท าค าของบประมาณบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาค ส าหรับการติดตามผลการด าเนินงาน มีข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พบว่า หน่วยงานเห็นว่า เป็นเรื่องที่ดีที่ได้รับทราบนโยบายและทิศทางการพัฒนาภาค (6 ภาค) ของประเทศและทิศทางการพัฒนา เป็นรายภาค ซึ่งเป็นกรอบในการด าเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนบุคลากรในระดับพื้นที่ ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้ประสบการณ์ในการจัดท าโครงการอย่างเป็นระบบ Value Chain ทั้งต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ส าหรับส่วนที่มีปัญหาและอุปสรรค พบว่า ส านักงานศึกษาธิการภาค (ภาคเจ้าภาพ) ที่ได้รับ มอบหมายให้ท าหน้าที่หน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนการบูรณาการพื้นที่ระดับภาค (6 ภาค) ได้รับอนุมัติ งบประมาณน้อยมาก ท าให้ไม่สามารถท าหน้าที่ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาค ที่ตอบโจทย์ทิศทางการพัฒนา 20 กระทรวงศึกษาธิการ. รายงานผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด. ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. 2561.


๕๕ ภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ 1) ควรสร้างการรับรู้อย่างกว้างขวาง 2) ควรมีการอบรมและ พัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการวางแผนและงบประมาณระดับภาค ระดับจังหวัดให้มีความเข้มแข็ง ยิ่งขึ้น 3) ควรมีการประชุมก าหนดนโยบาย แนวทางร่วมกันของส่วนราชการหลัก หน่วยงานในส่วนกลาง เกี่ยวกับการจัดท าแผนปฏิบัติการภาค และการมอบหมายให้หน่วยงานระดับพื้นที่ด าเนินโครงการตาม ภารกิจระดับภาค 4) ควรมีการประสานเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมืออย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง


บทที่ 3 วิธีการด าเนินการวิจัย การวิจัยเรื่อง การติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาคในครั้งนี้ เพื่อศึกษากระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติและติดตามผลการด าเนินงาน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ก าหนดแนวทางในการด าเนินการ วิจัย คือ วิธีด าเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 3.1 วิธีด าเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research Method) ด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) เกี่ยวกับกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติการติดตามและรายงานผลการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา และผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ภายใต้ กรอบยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579) 3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นผู้บริหารหน่วยงานการศึกษา และผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา จากหน่วยงานการศึกษาในพื้นที่ด าเนินงานของ ส านักงานศึกษาธิการภาค 5 จ านวน 79 คน ดังนี้ 1. ส านักงานศึกษาธิการจังหวัด จ านวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย 1.1 ศึกษาธิการจังหวัด จ านวน 5 คน 1.2 ผู้อ านวยการกลุ่มนโยบายและแผน จ านวน 5 คน 1.3 ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล จ านวน 5 คน 1.4 ผู้อ านวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษา จ านวน 5 คน 2. ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จ านวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย 2.1 ผู้อ านวยการส านักงาน กศน. จังหวัด จ านวน 5 คน 2.2 หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และการพัฒนา จ านวน 5 คน 3. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จ านวน 14 เขต ประกอบด้วย 3.1 ผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จ านวน 14 คน 3.2 ผู้อ านวยการกลุ่มนโยบายและแผน จ านวน 14 คน 4. ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จ านวน 3 เขต ประกอบด้วย 4.1 ผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จ านวน 3 คน 4.2 ผู้อ านวยการกลุ่มนโยบายและแผน จ านวน 3 คน 5. ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จ านวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย - ประธานคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน (ปส.กช.) จ านวน 5 คน 6. ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัด (อศจ.) จ านวน 5 จังหวัด ประกอบด้วย


57 6.1 ประธานกรรมการอาชีวศึกษาจังหวัด จ านวน 5 คน ๖.2 เลขาอาชีวศึกษาจังหวัด จ านวน 5 คน 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ที่มีค าถามชนิดปลายเปิด จ านวน 2 ชุด ได้แก่ ชุดที่ 1 แบบสอบถามกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค โดยแบ่ง ค าถามออกเป็น 3 ตอนได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานะ ผู้ตอบแบบสอบถาม และหน่วยงานที่สังกัด ตอนที่ 2 ค าถามเกี่ยวกับกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค มีลักษณะเป็นค าถามเลือกตอบ (Check list) ประกอบด้วย 4 ประเด็น รวมจ านวน 20 ข้อ โดยใช้แบบมาตรา ส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามกรอบแนวคิดของลิเคิร์ท (Likert Scale) โดยมีเกณฑ์การให้ คะแนนค าตอบ ดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ระดับ 3 หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย ระดับ 1 หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด เกณฑ์การแปลความหมายใช้เกณฑ์ของ ชูศรี วงศ์รัตนะ (2553:69) 211 ดังต่อไปนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 แปลความหมายว่า มีการปฏิบัติมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.50 – 4.49 แปลความหมายว่า มีการปฏิบัติมาก คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 แปลความหมายว่า มีการปฏิบัติปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.50 – 2.49 แปลความหมายว่า มีการปฏิบัติน้อย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 แปลความหมายว่า มีการปฏิบัติน้อยที่สุด ตอนที่ 3 ค าถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะและกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาระดับภาค เป็นค าถามปลายเปิด (Open-ended) ชุดที่ 2 แบบติดตามผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ที่สอดคล้องตามแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) โดยแบ่งค าถามตามประเด็นยุทธศาสตร์ ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) จ านวน 6 ยุทธศาสตร์ รวมจ านวน 15 ข้อ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ จ านวน 3 ข้อ ยุทธศาสตร์ที่ 2. การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จ านวน 3 ข้อ ยุทธศาสตร์ที่ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ จ านวน 3 ข้อ ยุทธศาสตร์ที่ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา จ านวน 3 ข้อ 21 ชูศรี วงศ์รัตนะ, เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. 2553.


58 ยุทธศาสตร์ที่ 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จ านวน 1 ข้อ ยุทธศาสตร์ที่ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา จ านวน 2 ข้อ 3.4 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ เพื่อให้การวิจัยครั้งนี้ สามารถตรวจสอบได้ตรงกับกรอบแนวคิดการวิจัย และบรรลุวัตถุประสงค์ ที่ก าหนด จึงได้ด าเนินการสร้างและพัฒนาเครื่องมือรวบรวมข้อมูล โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(พ.ศ.2561-2580) นโยบายรัฐบาล นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แผนแม่บทและแผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 6 ยุทธศาสตร์ที่ก าหนดไว้ในแผนการศึกษาแห่งชาติ 2. น าข้อมูลที่ได้จากการศึกษา สังเคราะห์เพื่อก าหนดโครงสร้าง ขอบเขตเนื้อหา และสร้าง แบบสอบถามตามกรอบแนวคิด และขอบเขตเนื้อหา 3. น าแบบสอบถามทั้ง 2 ชุด ให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 คน ประกอบด้วย 3.1 นางปัทมา วีระวานิช ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 3.2 นายนิสิต ชายภักตร์ ศึกษาธิการภาค 15 3.3 นายรมย์ พะโยม ศึกษาธิการจังหวัดแพงเพชร แบบสอบถาม ชุดที่ 1 เป็นแบบสอบถามกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่ การปฏิบัติระดับภาค ใช้ข้อค าถาม จ านวน 20 ข้อ ตรวจสอบหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ด้วยเทคนิค IOC (Item – Objective Congruence) ได้ค่าความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 1. เครื่องมือที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญแล้ว น าเครื่องมือฉบับสมบูรณ์ ไปทดลองใช้ (try out) กับประชากรที่มีลักษณ์คล้ายคลึงกับประชากรที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการวิจัย จ านวน 40 คน 2. ข้อมูลที่ได้จากการทดลองใช้ น ามาหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยวิธี Alpha Coefficient ของ Cronbach222 (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 99) มีค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ เท่ากับ 0.853 แบบสอบถาม ชุดที่ 2 เป็นแบบติดตามผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาระดับภาคของกระทรวงศึกษาธิการ (ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ) จ านวน 16 ข้อ ตรวจสอบหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 1. เครื่องมือที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญแล้ว น าเครื่องมือฉบับสมบูรณ์ ไปทดลองใช้ (try out) กับประชากรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับประชากรที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการวิจัย จ านวน 40 คน 2. ข้อมูลที่ได้จากการทดลองใช้ น ามาหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยวิธี Alpha Coefficient ของ Cronbach มีค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ เท่ากับ 0.800 3.5 การเก็บรวมรวบข้อมูล คณะผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ทั้ง 2 ชุด ด าเนินการส่งแบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มประชากร ที่เป็นผู้บริหารหน่วยงานการศึกษา และผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ด าเนินงานของส านักงานศึกษาธิการ ภาค 5 จ านวน 79 ชุด ได้รับกลับคืนมา จ านวน 79 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 22 บุญชม ศรีสะอาด, การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. 2545


59 3.6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในครั้งนี้ ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 3.7 การวิเคราะห์ข้อมูล แบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมา คณะผู้วิจัยน าแบบสอบถามทั้งหมดมาจัดระเบียบข้อมูล ลงรหัส และ กระท าการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ แบบสอบถามชุดที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามพื้นฐาน กลไก การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ การขับเคลื่อนแผนฯ การแปลงแผนยุทธศาสตร์ฯ การติดตามและรายงานผล การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูป วิเคราะห์ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานประชากร (Standard Deviation) แล้วน าเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง แบบสอบถาม วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ยตามเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินตามแบบวิธีของ Likert ดังนี้223 5 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก 3 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย 1 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด การแปลความหมายค่าเฉลี่ย แปลความ ดังนี้ 4.51 - 5.00 หมายความว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด 3.51 - 4.50 หมายความว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก 2.51 - 3.50 หมายความว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายความว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย 1.00 - 1.50 หมายความว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด ค าถามปลายเปิด ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา สู่การปฏิบัติระดับภาค วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) แล้วน าเสนอในรูปแบบการบรรยาย 2. แบบสอบถามชุดที่ 2 แบบติดตามผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค โดยพิจารณาผลการด าเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่ตอบสนองตามเป้าหมาย ตัวชี้วัดและแนวทางการพัฒนา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ วิเคราะห์เนื้อหา โครงการ กิจกรรมที่สนองตอบเป้าหมายและตัวชี้วัดตามแนวทางการพัฒนาตามแผนการศึกษาแห่งชาติภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์ และน าเสนอในรูปแบบการบรรยาย 22 บุญชม ศรีสะอาด, การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. 2545.


บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา สู่การปฏิบัติและติดตามผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค โดยใช้วิธี วิจัยเชิงส ารวจ(Survey Research Method) และวิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยมี แบบสอบถามจ านวน 2 ฉบับ ได้แก่ ฉบับที่ 1 แบบสอบถามกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาระดับภาค และฉบับที่ 2 สรุปผลการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ ของกระทรวงศึกษาธิการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60– ๒๕79) ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ก าหนดแนวทางในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล มีรายละเอียด ดังนี้ 1. แบบสอบถามชุดที่ 1 แบบสอบถามกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค 1.1 ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไป จ านวน ร้อยละ เพศ ชาย หญิง 33 46 41.80 58.20 รวม 79 100 อายุ น้อยกว่า 30 ปี 30 - 39 ปี 40 - 49 ปี 50 ปีขึ้นไป 0 2 12 65 0 2.50 15.20 82.30 รวม 79 100 ระดับการศึกษา ต่ ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 0 8 60 11 0 10.10 75.90 13.90 รวม 79 100 สถานะผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้บริหารการศึกษา ผู้อ านวยการกลุ่ม/หัวหน้ากลุ่ม ผู้ปฏิบัติงานแผน อื่น ๆ(ระบุ)........................................... 19 48 7 5 24.10 60.80 8.90 6.30 รวม 79 100


61 ข้อมูลทั่วไป จ านวน ร้อยละ สังกัด ส านักงานศึกษาธิการจังหวัด ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 20 10 28 6 5 10 25.30 12.7จ 35.40 7.60 6.30 12.70 รวม 79 100 จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน 79 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ านวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 58.20 และเพศชาย จ านวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 41.80 เมื่อจ าแนกตามอายุของผู้ตอบ แบบสอบถาม พบว่า ช่วงอายุ 50 ปีขึ้นไป มีจ านวนมากที่สุด จ านวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 82.30 และช่วง อายุน้อยกว่า 30 ปี มีจ านวนน้อยที่สุด จ านวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 จ าแนกตามระดับการศึกษา พบว่า ระดับปริญญาโท มีจ านวนมากที่สุด 60 คน คิดเป็นร้อยละ 75.90 ระดับต่ ากว่าปริญญาตรี น้อยที่สุด 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 จ าแนกตามสถานะของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้อ านวยการกลุ่มหรือหัวหน้ากลุ่ม มีจ านวนมากที่สุด จ านวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 60.80 ผู้ปฏิบัติงานอื่น ๆ มีจ านวนน้อยที่สุด จ านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.30 จ าแนกตามสังกัด พบว่า สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีจ านวนมาก ที่สุด จ านวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 35.40 และสังกัดส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน มีจ านวนน้อยที่สุด จ านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.30 1.2 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานภาพรวม การปฏิบัติกระบวนการการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 4 ด้าน ด้าน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล x S.D. การแปลผล 1.กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 4.14 0.63 มาก 2. การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 3.88 0.72 มาก 3. การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ 4.21 1.60 มาก 4. การติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษา 4.03 0.85 มาก รวม 4.06 0.74 มาก จากตารางที่ 2 พบว่า ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =4.06 , S.D.=0.74) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มากที่สุด คือ การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ ( x = ๔.21 ,S.D.= 1.60) และด้านที่น้อยที่สุด คือ การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ( x = 3.88 ,S.D.= 0.72)


62 ตารางที่ 3 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา รายการ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล x S.D. การแปลผล 1. การจัดท าแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน และเป็นรูปธรรม 4.28 0.88 มาก 2. การน าเทคโนโลยี มาใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ 4.00 0.83 มาก 3. การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม 4.24 0.72 มาก 4. การสร้างเครือข่ายหน่วยงานการศึกษา 4.19 0.70 มาก 5. การพัฒนาการศึกษาแบบบูรณาการ เพื่อให้การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ บรรลุเป้าหมาย 4.11 0.72 มาก 6. การจัดระบบก ากับ ติดตาม ประเมินผลการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ 4.00 0.85 มาก รวม 4.14 0.63 มาก จากตารางที่ 3 พบว่า ในภาพรวมด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา มีผล การปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =4.14 , S.D.=0.63) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มากที่สุด คือ การจัดท า แผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ( x = 4.28 ,S.D.= 0.88) และข้อที่ น้อยที่สุด คือ การน าเทคโนโลยี มาใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์( x = 4.00 ,S.D.= 0.85) ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา รายการ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล x S.D. การแปลผล 1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.91 0.87 มาก 2. การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิดและวิธี ปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติงาน 3.99 0.94 มาก 3. การจัดการความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติสามารถออกแบบแผนงาน/โครงการ 3.87 0.88 มาก 4. การเปิดโอกาสให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในการจัดท าแผน 3.97 0.77 มาก 5. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงพื้นที่เพื่อใช้เป็นข้อมูล ในการจัดท าแผนและการตัดสินใจเชิงบริหารในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา 3.80 0.97 มาก 6. การแสวงหาและระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 3.72 0.95 มาก รวม 3.88 0.72 มาก


63 จากตารางที่ 4 พบว่า ในภาพรวมด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา มีผล การปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =3.88 , S.D.=0.72) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มากที่สุด คือ การสร้าง ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิดและวิธีปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติงาน ( x =3.99 , S.D.=0.94) และข้อที่น้อย ที่สุดคือ การแสวงหาและระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ( x =3.72 , S.D.=0.95) ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาสู่การปฏิบัติ รายการ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล x S.D. การแปลผล 1. การวางแผนด าเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษา กลุ่มจังหวัด 3.99 0.81 มาก 2. การจัดอันดับความส าคัญของเป้าหมาย ก าหนดแนวทางการ ด าเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบของแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน 4.03 0.77 มาก 3. การด าเนินการตามแผนงาน/โครงการที่ก าหนด 4.06 0.76 มาก 4. การด าเนินงานโครงการ/กิจกรรม ในรูปแบบขององค์คณะบุคคล 4.13 0.76 มาก รวม 4.21 1.60 มาก จากตารางที่ 5 พบว่า ในภาพรวมด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา สู่การปฏิบัติมีผลการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =4.21 , S.D.=1.60) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มากที่สุด คือ การด าเนินงานโครงการ/กิจกรรม ในรูปแบบขององค์คณะบุคคล ( x =4.13 , S.D.=0.76) และข้อที่น้อยที่สุด คือ การวางแผนด าเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัด ( x =3.99, S.D.=0.81) ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา รายการ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล x S.D. การแปลผล 1.การแต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตาม ประเมินผล 4.09 0.85 มาก 2.การติดตามความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรม เป็นระยะ 4.05 0.89 มาก 3.การประเมินผลการด าเนินงานตามแผน 4.04 0.88 มาก 4.การน าผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาแผนในปีต่อไป 3.96 0.94 มาก รวม 4.03 0.85 มาก จากตารางที่ 6 พบว่า ในภาพรวมด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา มีผลการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =4.0๙ , S.D.=0.85) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มากที่สุด คือ การแต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตาม ประเมินผล( x =4.09 , S.D.=0.85) และข้อที่น้อยที่สุดคือ การน าผล การประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาแผนในปีต่อไป( x =3.96 , S.D.=0.94)


64 1.3 ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค 1.3.1 ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา - ควรแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา โดยมี องค์ประกอบของคณะกรรมการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับภาค ระดับจังหวัด และ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และด าเนินการอย่างต่อเนื่อง - การจัดท าแผนมีความชัดเจน เน้นการมีส่วนร่วม การพัฒนาการศึกษาแบบบูรณาการ ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ในระดับต่าง ๆ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และเขตพื้นที่ - ใช้ พรบ. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ.2562 เป็นหลักในการขับเคลื่อน - ควรส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างความเข้าใจร่วมกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการ หน่วยงานทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของภาคไปสู่เป้าหมาย โดยส านักงานศึกษาธิการภาค ควรก าหนดทิศทางและกรอบแนวทางการด าเนินการภายใต้ ภารกิจของแต่ละหน่วยงานทางการศึกษาให้ชัดเจน อย่างเป็นรูปธรรม - การจัดท าแผนพัฒนาการศึกษาควรน าข้อมูลพื้นฐาน ความต้องการของหน่วยงาน ทางการศึกษา เทคโนโลยีเป็นกลไกการขับเคลื่อนที่เป็นรูปธรรม - ประสานและสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา อย่างต่อเนื่อง มีการติดตามเป็นระยะ 1.3.2 ด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา - การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาคให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกับ ระดับจังหวัด สร้างการรับรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ เน้นการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้แสดงข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอย่างครอบคลุมต่อเนื่อง - ควรแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองและหลอมรวมการจัดการศึกษาทุกจังหวัด ตอบสนอง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี น านโยบายลงสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ - มีข้อมูลสารสนเทศที่รอบด้านทุกมิติ ตรงกับสภาพจริงและบริบทของแต่ละพื้นที่ เพื่อใช้เป็น ข้อมูลในการจัดท าแผนและการตัดสินใจเชิงบริหารในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1.3.3 ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ - ก าหนดให้มีการประสานงาน การสื่อสาร และชี้แจงสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับแผนพัฒนา การศึกษาให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นทิศทางในการพัฒนาการศึกษาเพื่อให้เกิด การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพสูงสุด - ควรปรับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ การพัฒนาแต่ละจังหวัด - ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ จะสามารถน าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็น รูปธรรมและสามารถประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผน ตามตัวชี้วัดและเป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล จ าเป็นที่จะต้องมีกระบวนการประสาน เพื่อการแปลงแผน ไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ด้วย


65 1.3.๔ ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา - ควรแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลและก าหนดกรอบระยะเวลาในการติดตาม ให้ชัดเจน - มีการรายงานผลการด าเนินการตามแผน ผ่านระบบ ICT อย่างต่อเนื่อง เพื่อความสะดวก แก่ผู้เกี่ยวข้องและสามารถรับรู้ผลการด าเนินงานได้รวดเร็วขึ้น และน าผลมาพัฒนาปรับปรุง และเป็นแนวทางในการจัดท าแผนในปีต่อไป - มีการติดตามเป็นตัวชี้วัดอย่างเป็นระบบ ลดความซ้ าซ้อน ชัดเจนในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาอย่างเป็นระยะและต่อเนื่อง 2. แบบสอบถามชุดที่ 2 สรุปผลการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ของ กระทรวงศึกษาธิการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60– ๒๕79) 2.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการศาสตร์พระราชา โครงการวันพ่อแห่งชาติ โครงการวันส าคัญ ของพระมหากษัตริย์ โครงการชุมนุมลูกเสือบ าเพ็ญประโยชน์เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคล พระราชพิธีบรมราชาภิเษก “ลูกเสือจิตอาสาท าความดี รวมใจภักดี เทิดไท้องค์ราชัน” โครงการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรมลูกเสือด้วยกระบวนการทางลูกเสือ ประจ าปี 2561 โครงการฝึกอบรมลูกเสือต้านยาเสพ ติด โครงการฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต โครงการสถานศึกษาสีขาว โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โครงการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันทุจริต” โครงการส่งเสริมการ ด าเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจังหวัดพัทลุง ประจ าปี 2562 โครงการส่งเสริมศักยภาพการตรวจติดตามความประพฤตินักเรียน โครงการลูกเสือต้านภัยยาเสพติด โครงการ พลังจิตอาสาท าความดีด้วยหัวใจ โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียน โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์โครงการสถานศึกษา คุณธรรม เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต้ และพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการจัดท าแผนพัฒนาการศึกษาพื้นที่ชายแดน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ระดับจังหวัดชุมพร ด้วยกระบวนการพัฒนาเครือข่ายพื้นที่ชายแดนตามแนวทางการบริหารแบบ มีส่วนร่วม โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษให้เหมาะสมกับบริบท เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้ได้รับการศึกษาการดูแลและป้องกันจากภัย คุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการ To BE Number One โครงการโรงเรียนสีขาว โครงการเยี่ยม บ้านนักเรียน โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมนักเรียนและนักศึกษา โครงการค่าย เสริมสร้างทักษะชีวิต “ปลุกพลัง KID พิชิต ปัญหา” เพื่อป้องกันปัญหายาเสพติดและพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ โครงการค่ายทักษะชีวิตรวมพลังเด็กเยาวชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โครงการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต โครงการนครปลอดยาเสพติด โครงการสร้างความปลอดภัยทางน้ าแก่นักเรียน


66 “ว่ายน้ าเพื่อชีวิต” โครงการวันเด็กแห่งชาติประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2562 โครงการก ากับติดตามและ ประเมินผลการด าเนินงานโครงเรียนที่ได้รับการจัดสรรเงินดอกผลจากกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชด าริ หลักสูตรจิตอาสา 904 “หลักสูตรพื้นฐาน” โครงการ ตรวจสุขภาพและสารเสพติดนักเรียน นักศึกษา โครงการสถานศึกษาปลอดบุหรี่ เป็นต้น 2.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ประเด็นการพัฒนา : การจัดท าฐานข้อมูลความต้องการก าลังคนในพื้นที่ภาคอุตสาหกรรม โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการคัดเลือกนักเรียนและสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน ประจ าปี 2561 โครงการส่งเสริมเยาวชนลูกเสือมีระเบียบวินัยในสังคม (การประกวดระเบียบแถว) โครงการ แข่งขันทักษะทางวิชาการและศิลปะหัตกรรมนักเรียน ปีการศึกษา 2561 ระดับเขตพื้นที่ โครงการบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อย โครงการแข่งขันทักษะภาษาไทยในโครงการรักษ์ภาษาไทย เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ พ.ศ.2561 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมผู้เรียนเพื่อรับการประเมิน PISA 2018 โครงการ พัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนปฐมวัย โครงการอบรมการใช้โปรแกรมศูนย์พัฒนาก าลังคน โครงการน าเสนอผลงานโครงการวิชาชีพ โครงการฝึกงานนอกสถานที่ เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะตรงตามความต้องการ ของตลาดแรงงาน โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการความร่วมมือกับวิทยาลัย Disted ในรัฐปีนัง โครงการสร้าง เสริมสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และ กีฬา โครงการพัฒนาการศึกษาเพื่อการมีงานท า โครงการท าความร่วมมือกับสถานประกอบการ เพื่อยกระดับอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โครงการลมนามความ ร่วมมือกับสถานประกอบการ โครงการส ารวจความพึงพอใจของสถานประกอบการและชุมชนที่มีต่อผู้ส าเร็จ การศึกษา โครงการเชิญวิทยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู้เฉพาะสาขา เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้และมีศักยภาพ ในการสร้าง นวัตกรรมเพื่อน าไปใช้พัฒนาพื้นที่ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการพัฒนาทักษะความสามารถของนักเรียน งานมหกรรมความสามารถ ศิลปหัตกรรมวิชาการและเทคโนโลยีของนักเรียน โครงการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และหุ่นยนต์ อาชีวศึกษา โครงการส่งเสริมการประกวดงานวิจัยที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาชุมชน โครงการจัดประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับสถานศึกษา เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการอบรมขยายผลการพัฒนาครูภาษาอังกฤษ (Boot Camp) โครงการ พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โครงการพัฒนาครูแกนน าภาษาอังกฤษ เป็นต้น 2.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนมีทักษะความรู้ความสามารถและการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางลูกเสือ โครงการพัฒนา บุคลากรทางลูกเสือและลูกเสือจิตอาสาบ าเพ็ญประโยชน์ โครงการประกาศเกียรติคุณครู “เพชรคู่เสมา” โครงการศึกษาดูงานถอดประสบการณ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โครงการพัฒนา ศักยภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการและลูกจ้าง โครงการเสริมสร้างคุณธรรม


67 จริยธรรมและธรรมาภิบาล โครงการนิเทศครูแกนน าภาษาอังกฤษระดับภูมิภาค (Boot Camp) โครงการเสริมสร้าง ศักยภาพบุคลากร โครงการอบรมครูพี่เลี้ยงด้วยระบบทางไกล โครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา ปีงบประมาณ 2562 โครงการ Smart ONIE เพื่อนสร้าง Smart Farmer โครงการความร่วมมือการผลิดผู้ดูแลผู้สูงอายุกระทรวง ศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข โครงการประเมินความสามารถด้านการอ่านออก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โครงการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 67 ระดับชาติ โครงการทบทวนแผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2562- 2565 จังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรในส านักงานศึกษาธิการนครศรีธรรมราช โครงการตรวจ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ โครงการส่งเสริมศักยภาพการ ตรวจติดตามความประพฤตินักเรียน และนักศึกษา โครงการส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงานของ คณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจังหวัด และศูนย์ เสมารักษ์ ส านักงานศึกษาธิการ จังหวัด โครงการเผยแพร่ผลการด าเนินงานของส านักงานศึกษาธิการจังหวัดนครศรีธรรมราช ตามนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในรอบ 4 ปี โครงการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาไทยขั้นพื้นฐาน ด้วยหัวใจและจิตวิญญาณในระดับการศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษา ของเด็กด้อยโอกาส เด็กออกกลางคัน และเด็กตกหล่นในรูปแบบที่เหมาะสม โครงการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โครงการมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรมวิชาการและเทคโนโลยีของนักเรียน ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัย โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ประจ าปีงบประมาณ 2562 โครงการจัดการเรียน การสอนปฐมวัย โครงการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2561 โครงการเพื่อลูกน้อย โครงการจัดประสบการณ์เรียนรู้ตามมาตรฐานและสภาพที่พึงประสงค์ ของเด็ก โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ปีงบประมาณ 2562 โครงการกิจกรรมพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครองปฐมวัยให้มีความรู้ ความเข้าใจ การใช้นวัตกรรมการจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคป โครงการพัฒนาจัดประสบการณ์เรียนรู้ตามหลักสูตรปฐมวัย พ.ศ.2560 โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) อย่างมีคุณภาพด้วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสะเต็มศึกษา ของ สสวท. โครงการสร้างความเข้มแข็งการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลประจ าเขตพื้นที่การศึกษา ปีงบประมาณ 2561 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวันในระดับพื้นที่ เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนการยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการส่งเสริมการอ่านการเขียน โครงการ TFE (Teams for Education) โครงการ Coaching Team โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ส าหรับโรงเรียนสังกัด เอกชนประเภทสามัญศึกษา โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษส าหรับ ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการจัด การศึกษาตามอัธยาศัย โครงการประชุมสัมมนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปี 2561 โครงการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง ชั้น ป.2 ป.4-5 และ ม.1-2 โครงการการเตรียมความพร้อม ผู้เรียนเพื่อการประเมิน PISA 2018 โครงการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของศูนย์เครือข่ายการศึกษา ปีการศึกษา 2561 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา V-NET โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ เป็นต้น


68 2.4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา ประเด็นการพัฒนา : การเพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการว่ายน้ าเพื่อชีวิต (LIFE SAFTY) ปีการศึกษา 2561 โครงการการเพิ่ม โอกาสการเข้าถึงการศึกษาของเด็กด้อยโอกาส เด็กออกกลางคัน และเด็กตกหล่นในรูปแบบที่เหมาะสม โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาของเด็กด้อยโอกาส เด็ก ออกกลางคัน และ เด็กตกหล่น ในรูปแบบที่เหมาะสม โครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ครูมืออาชีพ 4.0 โครงการ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรวมอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน โครงการประชุมสัมมนาเพื่อป้องกันและ แก้ปัญหานักเรียนออกกลางคัน โครงการการจัดกิจกรรม Green School Camp ค่ายนวัตกรรมห้องเรียนสีเขียว สู่โรงเรียนสีเขียวที่ยั่งยืน โครงการดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ โครงการจัดการศึกษาแก่ผู้ไม่รู้ หนังสือ/ผู้ลืมหนังสือ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเรียนรวมปีงบประมาณ 2561 โครงการแข่งขันกีฬานักเรียน ขั้นพื้นฐาน “สพฐ.เกมส์” โครงการการรับนักเรียนและการส ามะโนประชากรวัยเรียน ปีการศึกษา 2561 เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับทุกช่วงวัย โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการการก้าวไกลในโลกกว้างด้วย ICT โครงการส่งเสริมการใช้สื่อ ออนไลน์ และเครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาประสิทธิภาพการจัดการศึกษาทางไกล DLTV” โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรเพื่อการจัดการศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารอย่างมีคุณภาพ โครงการพัฒนาส่วนขยายระบบสารสนเทศเพื่อการ บริหารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษา ประเด็นการพัฒนา : การจัดท า/การบูรณาการฐานข้อมูลด้านการศึกษา โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการติดตามนักเรียนออกกลางคัน โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิพากษ์สารสนเทศทางการศึกษา โครงการบริหารสถานศึกษา โดยมุ่งเน้นผลสมฤทธิ์ RBM โครงการพัฒนาระบบ ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาผ่านข้อมูล Big Data โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบการจัดท า จัดเก็บและ รายงานเอกสารหลักฐานของผู้ส าเร็จการศึกษา โครงการจัดท าสารสนเทศและสร้างเครื่องมือสารสนเทศที่ทันสมัย เป็นต้น 2.5 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริมสนับสนุนการสร้างจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อมและมีคุณธรรม จริยธรรมและน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ โครงการ 5 ส สร้างสุขในองค์กร โครงการขยะและการจัดกิจกรรม 5 ส.โครงการกิจกรรมจิตอาสาบ าเพ็ญประโยชน์ยุวกาชาด โครงการพัฒนา เขตพื้นที่การศึกษาคุณธรรม(องค์กรคุณธรรม) ต้นแบบโดยใช้กระบวนการพัฒนาองค์กรคุณธรรมตามแนวทาง ของมูลนิธิยุวสถิรคุณ โครงการปรับฐานคิดบุคลากรให้สามารถแยกร่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม สร้างจิตส านึก ค่านิยมการต่อต้านและไม่ทนต่อการทุจริต โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการจัดการเรียนรู้ตามปลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา โครงการ ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อมและมีคุณธรรม จริยธรรมและน าแนวคิดตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการผลิตหัวเชื่อจุลินทรีย์และการอบรมให้ความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โครงการประเมินศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น


69 2.6 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ประเด็นการพัฒนา : การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนและพื้นที่ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการประชุมจัดท าแผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โครงการจุดเน้นนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2561 โครงการจัดท าข้อมูลสารสนเทศทาง การศึกษาของหน่วยงาน โครงการพัฒนาระบบงานประชาสัมพันธ์ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสมรรถนะการพัสดุ ของสถานศึกษา โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปรายงานผลการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้เข้มแข็ง เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพในยุคศตวรรษที่ 21 โครงการนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โครงการติดตามประเมินและ ตรวจสอบการด าเนินงานการเงินของสถานศึกษา โครงการประชุมสัมมนาผู้บริหารส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของส านักงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โครงการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา/คณะกรรมการ บริหารวิทยาลัย โครงการฝึกประสบการณ์ของครุในสถานประกอบการ โครงการเชิดชูเกียรติสถาน ประกอบการและสัมมนาครูฝึก เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาในพื้นที่ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและธรรมมาภิบาล โครงการ จัดการเรียนการสอนทางไกล ด้วยระบบดาวเทียม โครงการประกันคุณภายภายใน โครงการพัฒนาระบบการ ประเมินมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาส าหรับโรงเรียนสังกัดเอกชนประเภทสามัญ โครงการ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาส านักงานศึกษาธิการจังหวัดพัทลุง โดยใช้ระบบส านักงาอิเล็กทรอนิกส์ (My-office) โครงการตรวจ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินการตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ประจ าปี งบประมาณ 2562 โครงการตรวจ นิเทศและติดตามการบริหารกิจการและการใช้เงินอุดหนุนโรงเรียนเอกชน โครงการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก เป็นต้น


บทที่ 5 บทสรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา สู่การปฏิบัติและติดตามผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นผู้บริหารหน่วยงานการศึกษา และผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา จากหน่วยงานการศึกษาในพื้นที่ด าเนินงานของ ส านักงานศึกษาธิการภาค 5 จ านวน 79 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research Method) และวิธีการ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยมีแบบสอบถามจ านวน 2 ฉบับ ได้แก่ ฉบับที่ 1 แบบสอบถาม กระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค สถิติที่ใช้ในในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage)ค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และฉบับที่ 2 สรุปผลการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ของกระทรวงศึกษาธิการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60 – ๒๕79)ด าเนินการโดยส านักงานศึกษาธิการ จังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบส านักงานศึกษาธิการภาค 5 (จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานีนครศรีธรรมราช พัทลุง และ สงขลา) แล้วน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) แล้วน าเสนอในรูปแบบการบรรยาย สรุปผลการศึกษา แบบสอบถามชุดที่ 1 แบบสอบถามกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน 79 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ านวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 58.20 และ เพศชาย จ านวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 41.80 เมื่อจ าแนกตามอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ช่วงอายุ 50 ปี ขึ้นไป มีจ านวนมากที่สุด จ านวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 82.30 และช่วงอายุน้อยกว่า 30 ปี มีจ านวนน้อย ที่สุด จ านวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 เมื่อจ าแนกตามระดับการศึกษา พบว่า ปริญญาโท มีจ านวนมากที่สุด จ านวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 75.90 และระดับต่ ากว่าปริญญาตรีมีจ านวนน้อยที่สุด จ านวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 เมื่อจ าแนกตามสถานะผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสถานะผู้อ านวยการกลุ่ม/หัวหน้ากลุ่ม มีจ านวนมากที่สุด จ านวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 60.80 และอื่นๆ มีจ านวนน้อยที่สุด จ านวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 6.30 เมื่อจ าแนกสังกัดที่ปฏิบัติหน้าที่ พบว่า สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีจ านวน มากที่สุด จ านวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 35.40 และส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน มีจ านวน น้อยที่สุด 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.30 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาระดับภาค ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =4.06 , S.D.=0.74) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน 4 ด้าน คือ ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติและด้านการติดตามและรายงานผล การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พบว่า ด้านที่มากที่สุด คือ การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา


71 การศึกษาสู่การปฏิบัติ ( x = ๔.21 , S.D.= 1.60) และด้านที่น้อยที่สุด คือ การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาการศึกษา ( x = 3.88 , S.D.= 0.72) ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา มีผลการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =4.14 , S.D.=0.63) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มากที่สุด คือ การจัดท าแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการ ที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ( x = 4.28 ,S.D.= 0.88) และข้อที่น้อยที่สุด คือ การน าเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมือหลัก ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ( x = 4.00 , S.D.= 0.85) ด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา มีผลการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =3.88 , S.D.=0.72) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มากที่สุด คือ การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิดและวิธีปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติงาน ( x =3.99 , S.D.=0.94) และข้อที่น้อยที่สุด คือ การแสวงหาและระดมทรัพยากร จากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ( x =3.72 , S.D.=0.95) ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ มีผลการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =4.21 , S.D.=1.60) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มากที่สุด คือ การด าเนินงานโครงการ/กิจกรรม ในรูปแบบ ขององค์คณะบุคคล ( x =4.13 , S.D.=0.76) และข้อที่น้อยที่สุด คือ การวางแผนด าเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ พัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัด ( x =3.99 , S.D.=0.81) ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา มีผลการปฏิบัติอยู่ใน ระดับมาก ( x =4.0๙ , S.D.=0.85) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มากที่สุด คือ การแต่งตั้งคณะกรรมการ ในการติดตาม ประเมินผล ( x =4.09 , S.D.=0.85) และข้อที่น้อยที่สุด คือ การน าผลการประเมินมาปรับปรุงและ พัฒนาแผนในปีต่อไป ( x =3.96 , S.D.=0.94) ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ดังนี้ 1) ควรแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา โดยมีองค์ประกอบของ คณะกรรมการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับภาค ระดับจังหวัด และระดับเขตพื้นที่การศึกษา และด าเนินการ อย่างต่อเนื่อง 2) การจัดท าแผนมีความชัดเจน เน้นการมีส่วนร่วม การพัฒนาการศึกษาแบบบูรณาการให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ นโยบายกระทรวง สพฐ. และเขตพื้นที่ 3) ใช้พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ.2562 เป็นหลักในการขับเคลื่อน 4) ควรส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างความเข้าใจร่วมกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการหน่วยงาน ทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของภาคไปสู่เป้าหมาย โดยภาคควรก าหนดทิศทางและ กรอบแนวทางการด าเนินการภายใต้ภารกิจของแต่ละหน่วยงานทางการศึกษาให้ชัดเจน อย่างเป็นรูปธรรม 5) การจัดท าแผนพัฒนาการศึกษาควรน าข้อมูลพื้นฐาน ความต้องการของหน่วยงานทางการศึกษา เทคโนโลยีเป็นกลไกการขับเคลื่อนที่เป็นรูปธรรม 6) ประสานและสร้างความร่วมมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการ ติดตามเป็นระยะ


72 ด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ดังนี้ 1) การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาคให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกับระดับ จังหวัด สร้างการรับรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ เน้นการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้แสดงข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะอย่างครอบคลุมต่อเนื่อง 2) ควรแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองและหลอมรวมการจัดการศึกษาทุกจังหวัด ตอบสนองยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี น านโยบายลงสู่การปฏิบัติ เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ 3) มีข้อมูลสารสนเทศที่รอบด้านทุกมิติ ตรงกับสภาพจริงและบริบทของแต่ละพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน การจัดท าแผนและการตัดสินใจเชิงบริหารในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติดังนี้ 1) ก าหนดให้มีการประสานงาน การสื่อสาร และชี้แจงสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับแผนพัฒนาการศึกษาให้ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นทิศทางในการพัฒนาการศึกษาเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพสูงสุด 2) ควรปรับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่การพัฒนา แต่ละจังหวัด 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ จะสามารถน าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมและ สามารถประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผน ตามตัวชี้วัดและเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จ าเป็นที่ จะต้องมีกระบวนการประสาน เพื่อการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ด้วย ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ดังนี้ 1) ควรแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลและก าหนดกรอบระยะเวลาในการติดตามให้ชัดเจน 2) มีการรายงานผลการด าเนินการตามแผน ผ่านระบบ ICT อย่างต่อเนื่อง เพื่อความสะดวกแก่ผู้เกี่ยวข้อง และสามารถรับรู้ผลการด าเนินงานได้รวดเร็วขึ้น และน าผลมาพัฒนาปรับปรุงและเป็นแนวทางในการจัดท าแผนใน ปีต่อไป 3) มีการติดตามเป็นตัวชี้วัดอย่างเป็นระบบ ลดความซ้ าซ้อน ชัดเจนในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาอย่างเป็นระยะและต่อเนื่อง 2. แบบสอบถามชุดที่ 2 สรุปผลการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ของ กระทรวงศึกษาธิการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60– ๒๕79) 2.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการศาสตร์พระราชา โครงการวันพ่อแห่งชาติ โครงการวันส าคัญ ของพระมหากษัตริย์ โครงการชุมนุมลูกเสือบ าเพ็ญประโยชน์เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาส มหามงคลพระ ราชพิธีบรมราชาภิเษก “ลูกเสือจิตอาสาท าความดี รวมใจภักดี เทิดไท้องค์ราชัน” โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมลูกเสือด้วยกระบวนการทางลูกเสือ ประจ าปี 2561 โครงการฝึกอบรมลูกเสือต้านยาเสพติด โครงการฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต โครงการสถานศึกษาสีขาว โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โครงการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันทุจริต” โครงการส่งเสริมการ ด าเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจังหวัดพัทลุง ประจ าปี 2562 โครงการส่งเสริมศักยภาพการตรวจติดตามความประพฤตินักเรียน โครงการลูกเสือต้านภัยยาเสพติด โครงการ


73 พลังจิตอาสาท าความดีด้วยหัวใจ โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียน โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์โครงการสถานศึกษา คุณธรรม เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต้ และพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการจัดท าแผนพัฒนาการศึกษาพื้นที่ชายแดน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ระดับจังหวัดชุมพร ด้วยกระบวนการพัฒนาเครือข่ายพื้นที่ชายแดนตามแนวทางการบริหารแบบ มีส่วนร่วม โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษให้เหมาะสมกับบริบท เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้ได้รับการศึกษาการดูแลและป้องกันจากภัย คุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการ To BE Number One โครงการโรงเรียนสีขาว โครงการเยี่ยมบ้าน นักเรียน โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมนักเรียนและนักศึกษา โครงการค่าย เสริมสร้างทักษะชีวิต “ปลุกพลัง KID พิชิต ปัญหา” เพื่อป้องกันปัญหายาเสพติดและพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ โครงการค่ายทักษะชีวิตรวมพลังเด็กเยาวชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โครงการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต โครงการนครปลอดยาเสพติด โครงการสร้างความปลอดภัยทางน้ าแก่นักเรียน “ว่ายน้ า เพื่อชีวิต” โครงการวันเด็กแห่งชาติ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2562 โครงการก ากับติดตามและประเมินผล การด าเนินงานโครงเรียนที่ได้รับการจัดสรรเงินดอกผลจากกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โครงการ จิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชด าริ หลักสูตรจิตอาสา 904 “หลักสูตรพื้นฐาน” โครงการตรวจสุขภาพ และสารเสพติดนักเรียน นักศึกษา โครงการสถานศึกษาปลอดบุหรี่ เป็นต้น 2.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ประเด็นการพัฒนา : การจัดท าฐานข้อมูลความต้องการก าลังคนในพื้นที่ภาคอุตสาหกรรม โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการคัดเลือกนักเรียนและสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน ประจ าปี 2561 โครงการส่งเสริมเยาวชนลูกเสือมีระเบียบวินัยในสังคม (การประกวดระเบียบแถว) โครงการ แข่งขันทักษะทางวิชาการและศิลปะหัตกรรมนักเรียน ปีการศึกษา 2561 ระดับเขตพื้นที่ โครงการบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อย โครงการแข่งขันทักษะภาษาไทยในโครงการรักษ์ภาษาไทย เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ พ.ศ.2561 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมผู้เรียนเพื่อรับการประเมิน PISA 2018 โครงการ พัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนปฐมวัย โครงการอบรมการใช้โปรแกรมศูนย์พัฒนาก าลังคน โครงการน าเสนอผลงานโครงการวิชาชีพ โครงการฝึกงานนอกสถานที่ เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะตรงตามความต้องการ ของตลาดแรงงาน โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการความร่วมมือกับวิทยาลัย Disted ในรัฐปีนัง โครงการสร้างเสริม สุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา โครงการพัฒนาการศึกษาเพื่อการมีงานท า โครงการ ท าความร่วมมือกับสถานประกอบการ เพื่อยกระดับอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โครงการลมนามความ


74 ร่วมมือกับสถานประกอบการ โครงการส ารวจความพึงพอใจของสถานประกอบการและชุมชนที่มีต่อผู้ส าเร็จ การศึกษา โครงการเชิญวิทยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู้เฉพาะสาขา เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้และมีศักยภาพ ในการสร้าง นวัตกรรมเพื่อน าไปใช้พัฒนาพื้นที่ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการพัฒนาทักษะความสามารถของนักเรียน งานมหกรรม ความสามารถศิลปหัตถกรรมวิชาการและเทคโนโลยีของนักเรียน โครงการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ และหุ่นยนต์อาชีวศึกษา โครงการส่งเสริมการประกวดงานวิจัยที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการ พัฒนาชุมชน โครงการจัดประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับสถานศึกษา เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการอบรมขยายผลการพัฒนาครูภาษาอังกฤษ (Boot Camp) โครงการ พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โครงการพัฒนาครูแกนน าภาษาอังกฤษ เป็นต้น 2.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนมีทักษะความรู้ความสามารถและการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางลูกเสือ โครงการพัฒนา บุคลากรทางลูกเสือและลูกเสือจิตอาสาบ าเพ็ญประโยชน์ โครงการประกาศเกียรติคุณครู “เพชรคู่เสมา” โครงการศึกษาดูงานถอดประสบการณ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โครงการพัฒนา ศักยภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการและลูกจ้าง โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล โครงการนิเทศครูแกนน าภาษาอังกฤษระดับภูมิภาค (Boot Camp) โครงการเสริมสร้าง ศักยภาพบุคลากร โครงการอบรมครูพี่เลี้ยงด้วยระบบทางไกล โครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา ปีงบประมาณ 2562 โครงการ Smart ONIE เพื่อนสร้าง Smart Farmer โครงการความร่วมมือการผลิดผู้ดูแลผู้สูงอายุ กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข โครงการประเมินความสามารถด้านการอ่านออก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โครงการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 67 ระดับชาติ โครงการทบทวนแผนพัฒนา การศึกษา พ.ศ.2562 - 2565 จังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรในส านักงาน ศึกษาธิการนครศรีธรรมราช โครงการตรวจ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ โครงการส่งเสริมศักยภาพการตรวจติดตามความประพฤตินักเรียน และนักศึกษา โครงการส่งเสริมสนับสนุน การด าเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาจังหวัด และศูนย์ เสมารักษ์ ส านักงานศึกษาธิการจังหวัด โครงการเผยแพร่ผลการด าเนินงานของส านักงานศึกษาธิการจังหวัด นครศรีธรรมราช ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในรอบ 4 ปี โครงการปฏิรูปการเรียน การสอนภาษาไทยขั้นพื้นฐาน ด้วยหัวใจและจิตวิญญาณในระดับการศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการ เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาของเด็กด้อยโอกาส เด็กออกกลางคัน และเด็กตกหล่นในรูปแบบที่เหมาะสม โครงการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โครงการมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรมวิชาการและ เทคโนโลยีของนักเรียน


75 ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัย โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ประจ าปีงบประมาณ 2562 โครงการจัดการ เรียนการสอนปฐมวัย โครงการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2561 โครงการเพื่อลูกน้อย โครงการจัดประสบการณ์เรียนรู้ตามมาตรฐานและสภาพที่พึง ประสงค์ของเด็ก โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ปีงบประมาณ 2562 โครงการกิจกรรม พัฒนาพ่อแม่ผู้ปกครองปฐมวัยให้มีความรู้ ความเข้าใจ การใช้นวัตกรรมการจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิด ไฮสโคป โครงการพัฒนาจัดประสบการณ์เรียนรู้ตามหลักสูตรปฐมวัย พ.ศ.2560 โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) อย่างมีคุณภาพด้วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคนโนโลยีและ สะเต็ม ศึกษา ของ สสวท. โครงการสร้างความเข้มแข็งการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลประจ าเขตพื้นที่ การศึกษา ปีงบประมาณ 2561 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวันในระดับพื้นที่ เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริม สนับสนุนการยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการส่งเสริมการอ่านการเขียน โครงการ TFE (Teams for Education) โครงการ Coaching Team โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ส าหรับโรงเรียนสังกัด เอกชนประเภทสามัญศึกษา โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษส าหรับ ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการจัด การศึกษาตามอัธยาศัย โครงการประชุมสัมมนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปี 2561 โครงการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง ชั้น ป.2 ป.4-5 และ ม.1-2 โครงการการเตรียมความ พร้อมผู้เรียนเพื่อการประเมิน PISA 2018 โครงการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของศูนย์เครือข่ายการศึกษา ปีการศึกษา 2561 โครงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) โครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพ เป็นต้น 2.4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา ประเด็นการพัฒนา : การเพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการว่ายน้ าเพื่อชีวิต (LIFE SAVINE) ปีการศึกษา 2561 โครงการ การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาของเด็กด้อยโอกาส เด็กออกกลางคัน และเด็กตกหล่นในรูปแบบที่ เหมาะสม โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาของเด็กด้อย โอกาส เด็กออกกลางคัน และ เด็กตกหล่น ในรูปแบบที่เหมาะสม โครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ครูมืออาชีพ 4.0 โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรวมอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน โครงการประชุมสัมมนาเพื่อป้องกันและ แก้ปัญหานักเรียนออกกลางคัน โครงการการจัดกิจกรรม Green School Camp ค่ายนวัตกรรมห้องเรียนสี เขียวสู่โรงเรียนสีเขียวที่ยั่งยืน โครงการดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ โครงการจัดการศึกษาแก่ผู้ไม่รู้ หนังสือ/ผู้ลืมหนังสือ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเรียนรวมปีงบประมาณ 2561 โครงการแข่งขันกีฬา นักเรียนขั้นพื้นฐาน “สพฐ.เกมส์” โครงการการรับนักเรียนและการส ามะโนประชากรวัยเรียน ปีการศึกษา 2561 เป็นต้น


76 ประเด็นการพัฒนา : การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับทุกช่วงวัย โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการการก้าวไกลในโลกกว้างด้วย ICT โครงการส่งเสริมการใช้สื่อออนไลน์ และเครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก โครงการประชุมเชิง ปฏิบัติการ “พัฒนาประสิทธิภาพการจัดการศึกษาทางไกล DLTV” โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล โครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรเพื่อการจัดการศึกษาทางไกล เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารอย่างมีคุณภาพ โครงการพัฒนาส่วนขยายระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการ สถานศึกษาอาชีวศึกษา ประเด็นการพัฒนา : การจัดท า/การบูรณาการฐานข้อมูลด้านการศึกษา โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการติดตามนักเรียนออกกลางคัน โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิพากษ์สารสนเทศทางการศึกษา โครงการบริหารสถานศึกษา โดยมุ่งเน้นผลสมฤทธิ์ RBM โครงการพัฒนา ระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาผ่านข้อมูล Big Data โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบการจัดท า จัดเก็บและรายงาน เอกสารหลักฐานของผู้ส าเร็จการศึกษา โครงการจัดท าสารสนเทศและสร้างเครื่องมือ สารสนเทศที่ทันสมัย เป็นต้น 2.5 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นการพัฒนา : การส่งเสริมสนับสนุนการสร้างจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อมและมีคุณธรรม จริยธรรมและน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ โครงการ 5 ส สร้างสุขในองค์กร โครงการขยะและการจัดกิจกรรม 5 ส.โครงการกิจกรรมจิตอาสาบ าเพ็ญประโยชน์ยุวกาชาด โครงการพัฒนา เขตพื้นที่การศึกษาคุณธรรม(องค์กรคุณธรรม) ต้นแบบโดยใช้กระบวนการพัฒนาองค์กรคุณธรรมตามแนวทาง ของมูลนิธิยุวสถิรคุณ โครงการปรับฐานคิดบุคลากรให้สามารถแยกร่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม สร้างจิตส านึก ค่านิยมการต่อต้านและไม่ทนต่อการทุจริต โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการจัดการเรียนรู้ตามปลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา โครงการ ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อมและมีคุณธรรม จริยธรรมและน าแนวคิดตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการผลิตหัวเชื่อจุลินทรีย์และการอบรมให้ความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โครงการประเมินศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น 2.6 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ประเด็นการพัฒนา : การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนและพื้นที่ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการประชุมจัดท าแผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โครงการจุดเน้นนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2561 โครงการจัดท าข้อมูลสารสนเทศทาง การศึกษาของหน่วยงาน โครงการพัฒนาระบบงานประชาสัมพันธ์ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสมรรถนะการพัสดุ ของสถานศึกษา โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปรายงานผลการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้เข้มแข็ง เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพในยุคศตวรรษที่ 21


77 โครงการนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โครงการติดตามประเมินและ ตรวจสอบการด าเนินงานการเงินของสถานศึกษา โครงการประชุมสัมมนาผู้บริหารส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของส านักงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โครงการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา/คณะกรรมการ บริหารวิทยาลัย โครงการฝึกประสบการณ์ของครุในสถานประกอบการ โครงการเชิดชูเกียรติ สถานประกอบการและสัมมนาครูฝึก เป็นต้น ประเด็นการพัฒนา : การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาในพื้นที่ โครงการที่ด าเนินการ ได้แก่ โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิบาล โครงการ จัดการเรียนการสอนทางไกล ด้วยระบบดาวเทียม โครงการประกันคุณภายภายใน โครงการพัฒนาระบบการ ประเมินมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาส าหรับโรงเรียนสังกัดเอกชนประเภทสามัญ โครงการ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาส านักงานศึกษาธิการจังหวัดพัทลุง โดยใช้ระบบส านักงานอิเล็กทรอนิกส์ (My-office) โครงการตรวจ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินการตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ประจ าปี งบประมาณ 2562 โครงการตรวจ นิเทศและติดตามการบริหารกิจการและการใช้เงินอุดหนุนโรงเรียนเอกชน โครงการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก เป็นต้น อภิปรายผล จากการศึกษากระบวนการขับเคลื่อนและผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาระดับภาค ของส านักงานศึกษาธิการภาค 5 มีประเด็นที่ค้นพบและน ามาอภิปราย ดังนี้ 1) ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( x =4.06 , S.D.=0.74) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน 4 ด้าน คือ ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติและด้านการติดตามและรายงานผลการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พบว่า ด้านที่มากที่สุด คือ การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาสู่การปฏิบัติ ( x = ๔.21 ,S.D.= 1.60) และด้านที่น้อยที่สุด คือ การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา( x = 3.88 ,S.D.= 0.72) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การจัดท าแผนพัฒนา การศึกษา และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม ( x = ๔.28 , S.D.= 0.88)และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การการแสวงหาและระถมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ( x = 3.72 ,S.D. = 0.95) 2) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาระดับภาค พบว่า ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ข้อที่มี ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือการแต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตามประเมินผล ( x = ๔.09 ,S.D.= 0.85)ซึ่งสอดคล้อง กับงานวิจัยของกระทรวงศึกษาธิการ (2561) ได้จัดท ารายงานผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้าน การศึกษาระดับภาคของกระทรวงศึกษาธิการ พบว่า กลไกการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้านการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ คือมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ 3 คณะ เพื่อก าหนดนโยบายที่มีความสอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนาประเทศ การพัฒนาเชิงพื้นที่ จัดท า ขับเคลื่อน และก ากับติดตามการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้าน การศึกษาระดับภาค


78 3) ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค ได้แก่ ข้อเสนอแนะที่ว่า ควรส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างความเข้าใจร่วมกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการหน่วยงาน ทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของภาคไปสู่เป้าหมาย โดยภาคควรก าหนดทิศทางและ กรอบแนวทางการด าเนินการภายใต้ภารกิจของแต่ละหน่วยงานทางการศึกษาให้ชัดเจน อย่างเป็นรูปธรรม และ ข้อเสนอแนะที่ว่า มีข้อมูลสารสนเทศที่รอบด้านทุกมิติตรงกับสภาพจริงและบริบทของแต่ละพื้นที่ เพื่อใช้เป็น ข้อมูลในการจัดท าแผนและการตัดสินใจเชิงบริหารในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ มนต์นภัส มโนการณ์ (บทคัดย่อ : 2561) พบว่า แนวทางการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาด้วยการจัดการศึกษา เชิงพื้นที่ อันจะน าไปสู่ความส าเร็จ ควรมี 6 ประเด็นส าคัญ ได้แก่ 1) กระจายอ านาจ ให้ความอิสระและเพิ่มอ านาจ การตัดสินใจให้กับผู้รับผิดชอบหลักในพื้นที่ 2) เสริมสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ และจิตส านึกรับผิดชอบของทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้อง 3) พัฒนาระบบความรับผิดชอบต่อการศึกษา ทั้งด้านปัจจัย กระบวนการและผลผลิตที่มี ความสัมพันธ์กัน 4) พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ในพื้นที่ให้พร้อมใช้ 5) ปรับระบบการพัฒนา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา เสริมสร้างวัฒนธรรมการท างานเชิงรุก และ 6) เปิดพื้นที่ร่วมพัฒนา เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 4) ผลการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ของกระทรวงศึกษาธิการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60–๒๕79) ทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ คือ 1)การจัดการ ศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ2)การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3)การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 4) การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา 5) การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6)การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา จ านวน 15 ประเด็น การพัฒนา พบว่า หน่วยงานทางการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบส านักงานศึกษาธิการภาค 5 (จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา) ได้แก่ ส านักงานศึกษาธิการจังหวัด 5 หน่วยงาน ส านักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จ านวน 5 หน่วยงาน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา จ านวน 14 เขตส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จ านวน 3 เขต ส านักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน จ านวน 5 หน่วยงาน และส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 5 หน่วยงาน รวมทั้งสิ้น 37 หน่วยงาน ได้ด าเนินการจัดท าโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องประเด็นยุทธศาสตร์แผนการศึกษา แห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕60– ๒๕79) ทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อการน าผลการศึกษาไปใช้ 1) การจัดท ายุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ควรแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา โดยมีองค์ประกอบของคณะกรรมการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับภาค ระดับ จังหวัด และระดับเขตพื้นที่การศึกษา และด าเนินการอย่างต่อเนื่อง 2) การจัดท าแผนควรมีความชัดเจน เน้นการมีส่วนร่วม การพัฒนาการศึกษาแบบบูรณาการให้สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ ทิศทางการพัฒนาประเทศ นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด และบริบทอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3) ควรส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างความเข้าใจร่วมกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการหน่วยงาน ทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม แสวงหาและระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์


79 ของภาคไปสู่เป้าหมาย โดยภาคควรก าหนดทิศทางและกรอบแนวทางการด าเนินการภายใต้ภารกิจของแต่ละ หน่วยงานทางการศึกษาให้ชัดเจน อย่างเป็นรูปธรรม 4) การจัดท าแผนพัฒนาการศึกษาควรน าข้อมูลพื้นฐาน ความต้องการของหน่วยงานทางการศึกษา ข้อมูล สารสนเทศที่รอบด้านทุกมิติ ตรงกับสภาพจริงและบริบทของแต่ละพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดท าแผนและการ ตัดสินใจเชิงบริหารในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมถึงมีการใช้เทคโนโลยีเป็นกลไกการขับเคลื่อนที่เป็นรูปธรรม 5) ควรมีการปรับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ และ สภาวการณ์ทางการศึกษาในปัจจุบันทั้งภายในและภายนอกประเทศอยู่เสมอ 6) ควรมีการจัดระบบการก ากับ ติดตาม และรายงานผลการด าเนินการตามแผน ผ่านระบบ ICT อย่างต่อเนื่อง เพื่อความสะดวกแก่ผู้เกี่ยวข้องและสามารถรับรู้ผลการด าเนินงานได้รวดเร็วขึ้น และน าผลมาพัฒนาปรับปรุงและ เป็นแนวทางในการจัดท าแผนในปีต่อไป ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาครั้งต่อไป 1) ในการศึกษาผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา มีประเด็นที่น่าสนใจ หลายอย่าง เช่น ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์(Outcome) ความเพียงพอของงบประมาณ รวมถึงความพึงพอใจ ของผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชน ต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา เป็นต้น 2) ควรมีการศึกษา หรือติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ของ กระทรวงศึกษาธิการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนระดับอื่นๆ ด้วย เช่น แผนแม่บท.......ภายใต้ยุทธศาสตร์ ชาติ ด้าน.....” “แผนปฏิรูปประเทศ ด้าน..........” “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ....” และ “แผนความมั่นคง” เป็นต้น 3) ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ระดับภาคด้วย


80 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ, นโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจ าปีงบประมาณ 2562. 2562. _______. รายงานผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนแผนบูรณาการด้านการศึกษาระดับภาคของ กระทรวงศึกษาธิการ. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด. ส านักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. 2561. ชูศรี วงศ์รัตนะ, เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. 2553. บุญชม ศรีสะอาด, การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. 2545 พรชัย เจดามาน และคณะ. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อการบริหารจัดการสู่การเปลี่ยนผ่านศตวรรษที่ 21 : ไทยแลนด์ 4.0. วารสารหลักสูตรและการเรียนการสอนคณะคุรุศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2559. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 2559. มนต์นภัส มโนการณ์. การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานกับการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2561. สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชาพื้นฐานและการพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2561. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนที่พิเศษ 68 ง. ค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 เรื่อง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในภูมิภาค. ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560. ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก, เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560. ลงวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560. ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำแห่งชำติ. รายงานผลการประเมินโครงการการสัมมนาการ ปรับปรุง ต าแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาให้สูงขึ้น ปีงบประมาณ 2541. กรุงเทพฯ: สปช., 2541. ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ฉบับปีการศึกษา 2557. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจ ากัด ภาพพิมพ์, 2558. ส านักงานเทศบาลเมืองแสนสุข. รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลเมืองแสนสุข, ประจ าปี 2557. ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, แผนปฏิบัติราชการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ส านักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร). กรุงเทพฯ : 2562. ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษ ที่ 21. กรุงเทพมหานคร : ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2557. _______. แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ : สกศ. 2556. _______. รายงานการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาตามนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล ประจ าปี 2555. กรุงเทพฯ : สกศ. 2556. _______. รายงานการวิจัย การออกแบบระบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิค. 2559.


81 บรรณานุกรม (ต่อ) ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาภาคกลางและพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564), 2561. _______. แผนพัฒนาภาคตะวันออกในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564), 2561. _______. แผนพัฒนาภาคใต้ชายแดน ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564), 2561. _______. แผนพัฒนาภาคใต้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564), 2561. _______. แผนพัฒนาภาคเหนือในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564), 2561. _______. ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 ( 2560–2564), 2561. _______. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: มกราคม 2562. 2562.


ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560– 2579) โครงการ/กิจกรรมที่ด าเนินการ ฯลฯ 3. การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้ได้รับ การศึกษาการดูแลและป้องกันจากภัย คุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีด 1. การจัดท าฐานข้อมูลความต้องการก าลังคน ในพื้นที่ภาคอุตสาหกรรม 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ 9 1


๙๑ ร ผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ


๘๒ ภาคผนวก


๘๓ ภาคผนวก ก ภาพติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษาระดับภาค


๘๔ ภาพที่ 1 ภาพที่ 2


๘๕ ภาพที่ 3 ภาพที่ 4


๘๖ ภาคผนวก ข แบบสอบถาม


๘๗ แบบสอบถาม ชุดที่ 1 กระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ส านักงานศึกษาธิการภาค 5 ค าชี้แจง : แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาระดับภาค จ านวน 4 ด้าน ประกอบด้วย 1. กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 2. การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 3. การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ 4. การติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค หมายถึง กระบวนการที่หน่วยงานด าเนิน โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ค าชี้แจง : โปรดท าเครื่องหมาย ลงใน หน้าข้อความที่เป็นจริง 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ น้อยกว่า 30 ปี 30 - 39 ปี 40 - 49 ปี 50 ปีขึ้นไป 3. ระดับการศึกษา ต่ ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 4. สถานะผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้บริหารการศึกษา ผู้อ านวยการกลุ่ม/หัวหน้ากลุ่ม ผู้ปฏิบัติงานแผน อื่น ๆ (ระบุ) ...................................................... 5. ท่านปฏิบัติหน้าที่ในสังกัด ส านักงานศึกษาธิการจังหวัด ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


Click to View FlipBook Version