The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการติดตามขับเคลื่อนฯ 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by k251058, 2023-07-12 03:12:54

รายงานการติดตามขับเคลื่อนฯ 2562

รายงานการติดตามขับเคลื่อนฯ 2562

๘๘ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1. กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 2. การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 3. การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ 4. การติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ค าชี้แจง : ให้ท่านพิจารณาข้อความเกี่ยวกับกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาตาม รายการว่าหน่วยงานของท่านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับใด โดยที่ ระดับ 5 มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด ระดับ 4 มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ระดับ 3 มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ระดับ 2 มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย ระดับ 1 มีมีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด ข้อ ข้อ รายการ ระดับการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 1 การจัดท าแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน และเป็นรูปธรรม 2 การน าเทคโนโลยี มาใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 3 การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม 4 การสร้างเครือข่ายหน่วยงานการศึกษา 5 การพัฒนาการศึกษาแบบบูรณาการ เพื่อให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ บรรลุเป้าหมาย 6 การจัดระบบก ากับ ติดตาม ประเมินผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 1 การสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิดและวิธีปฏิบัติ แก่ผู้ปฏิบัติงาน 3 การจัดการความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติสามารถออกแบบแผนงาน/โครงการ 4 การเปิดโอกาสให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในการจัดท าแผน 5 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงพื้นที่เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ จัดท าแผนและการตัดสินใจเชิงบริหารในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา


๘๙ ข้อ ข้อ รายการ ระดับการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 6 การแสวงหาและระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ 1 การวางแผนด าเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษา กลุ่มจังหวัด 2 การจัดอันดับความส าคัญของเป้าหมาย ก าหนดแนวทาง การด าเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบของแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน 3 การด าเนินการตามแผนงาน/โครงการที่ก าหนด 4 การด าเนินงานโครงการ/กิจกรรม ในรูปแบบขององค์คณะบุคคล ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 1 การแต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตาม ประเมินผล 2 การติดตามความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรม 3 การประเมินผลการด าเนินงานตามแผน 4 การน าผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาแผนในปีต่อไป ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค ค าชี้แจง : ท่านมีความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ระดับภาคอย่างไร 1. ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


แบบติดตามผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาก ค าชี้แจง : แบบเก็บข้อมูลฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อติดตามผลการด าเนินงานการขับ ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579) จึงขอความอนุเคราะห์ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ก าหนดตามแบบสอบถามนี้ หน่วยงานที่ตอบแบบสอบถาม ................ ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560– 2579) โครงการ/กิจกรรมที่ด าเนินการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 1. การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้มีความรักใน สถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1. โครงการ ........................................................ 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ 2. การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นที่พิเศษให้ได้รับการศึกษาและ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ........................................................ 90


๙๐ การศึกษาระดับภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ชุดที่ 2 เคลื่อนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาระดับภาค ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ ์จากท่านกรอกข้อมูลผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา .................................................................... ร ผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน


ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560– 2579) โครงการ/กิจกรรมที่ด าเนินการ ฯลฯ 3. การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้ได้รับ การศึกษาการดูแลและป้องกันจากภัย คุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีด 1. การจัดท าฐานข้อมูลความต้องการก าลังคน ในพื้นที่ภาคอุตสาหกรรม 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ 9 1


๙๑ ร ผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ


ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560– 2579) โครงการ/กิจกรรมที่ด าเนินการ 2. การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนให้ มีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงาน 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ 3. การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีองค์ ความรู้และมีศักยภาพ ในการสร้าง นวัตกรรมเพื่อน าไปใช้พัฒนาพื้นที่ 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ 9 2


๙๒ ร ผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ


ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560– 2579) โครงการ/กิจกรรมที่ด าเนินการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียน 1. การส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนมีทักษะ ความรู้ความสามารถและการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม 1. โครงการ ........................................................ 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ 2. การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา ปฐมวัย 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ 3. การส่งเสริม สนับสนุนการยกระดับ คุณภาพการศึกษา 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ........................................................ 9 3


๙๓ ร ผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ นรู้ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน


ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560– 2579) โครงการ/กิจกรรมที่ด าเนินการ ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา 1. การเพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการ เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ 2. การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ส าหรับทุกช่วงวัย 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ 9 4


๙๔ ร ผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ า ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาระดับภาค ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาในพื้นที่ ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ


ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560– 2579) โครงการ/กิจกรรมที่ด าเนินการ 3. การจัดท า/การบูรณาการฐานข้อมูลด้าน การศึกษา 1. โครงการ ......................................................... 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้ 1. การส่งเสริมสนับสนุนการสร้างจิตส านึก รักษ์สิ่งแวดล้อม และมีคุณธรรม จริยธรรม และน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 1. โครงการ ......................................................... ………………………………………………… 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ………………………………………………… ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา 1. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการจัด การศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและพื้นที่ 1. โครงการ ........................................................ ………………………………………………… 9 5


๙๕ ร ผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ....... ....... ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาในพื้นที่ ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ล้อม ....... ..….. ....... ..….. ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาในพื้นที่ ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ....... ..….. ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน


ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560– 2579) โครงการ/กิจกรรมที่ด าเนินการ 1.1 กิจกรรมหลัก ......................................................... ………………………………………………… ฯลฯ 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาใน พื้นที่ 1. โครงการ ......................................................... ………………………………………………… 1.1 กิจกรรมหลัก ........................................................ ………………………………………………… ฯลฯ 9 6


๙๖ ร ผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ....... ..….. ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาในพื้นที่ ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ....... ..….. ....... ..….. ผลการด าเนินงาน (โดยสังเขป) เป็นผลการด าเนินงาน ที่ตอบสนองการขับเคลื่อน ประเด็นยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษาในพื้นที่ ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ


๙๗ ค าอธิบายแบบติดตามผลการด าเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ที่สอดคล้องตามแผนการศึกษาแห่งชาติ(พ.ศ. 2560 – 2579) ยุทธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ค าอธิบาย *พิจารณาแผนปฏิบัติราชการ พรบ.งบประมาณ 2562 ของ สพฐ. สอศ. สช. กศน. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 1. การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้มีความรักใน สถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของ ชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข หมายรวมถึง การน้อมน าศาสตร์พระราชาที่เกี่ยวข้อง กับด้านการศึกษา (4 ด้าน ได้แก่ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง /มีคุณธรรม มีงานท า / มีอาชีพ เป็นพลเมืองดี ) และการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพื่อความปรองดองและ สมานฉันท์ 2. การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นที่ พิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพื้นที่ พิเศษ หมายรวมถึง เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นที่สูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝั่ง ทะเลทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าว 3. การส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนให้ได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิต รูปแบบใหม่ พัฒนาการจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างในระบบภูมิคุ้มกันทางสังคม และป้องกันภัยคุกคามรูปแบบต่างๆ หมายรวมถึง การจัดการศึกษาเพื่อ การจัดระบบการดูแล และป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติดในสถานศึกษา ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เป็นต้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ 1. การจัดท าฐานข้อมูลความต้องการก าลังคนใน พื้นที่ภาคอุตสาหกรรม การด าเนินการของศูนย์ผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาระดับ ภูมิภาค 2. การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงาน - การท าความร่วมมือกับสถานประกอบการ - การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนรูปแบบทวิภาคี - การจัดหลักสูตรในสาขาตามกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย NEW S-curve 3. การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้ และมีศักยภาพ ในการสร้างนวัตกรรมเพื่อ น าไปใช้พัฒนาพื้นที่ - มีนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ที่จดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา หรือพัฒนาต่อยอดสู่ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม - บุคลากรได้รับการพัฒนาด้านวิจัยและนวัตกรรม 4. การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียน มีความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษ - Boot Camp - การทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR)


๙๘ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 1. การส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนมีทักษะความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชีวิต อย่างเหมาะสม - ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามวิชาชีพ - การส่งเสริมให้ประชาชนได้รับการพัฒนาเพื่อการประกอบอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ - การศึกษาเพื่อการมีงานท า 2. การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัย - แผนพัฒนาการศึกษาปฐมวัย - การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของสถานศึกษาปฐมวัย - การพัฒนาครูระดับปฐมวัย 3. การส่งเสริม สนับสนุนการยกระดับคุณภาพ การศึกษา - การสนับสนุนการยกระดับผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษา - โครงการ TFE / Coaching Teams - การสร้างกระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การจัดแหล่งเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา 1. การเพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการ เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ - โครงการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา เด็กตกหล่น เด็กนอกระบบ 2. การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับ ทุกช่วงวัย - ส่งเสริมการใช้ Digital เพื่อการเรียนรู้ - การจัดการเรียนการสอนทางไกลด้วยระบบ DLIT DLTV - การให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงของสถานศึกษา - สื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมการมีอาชีพ 3. การจัดท า/การบูรณาการฐานข้อมูลด้านการศึกษา การเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการศึกษาในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. การส่งเสริมสนับสนุนการสร้างจิตส านึกรักษ์ สิ่งแวดล้อมและมีคุณธรรม จริยธรรมและน า แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง - การประเมินสถานศึกษาเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง - การให้ความรู้การสร้างจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม - การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมลูกเสือ - การจัดหลักสูตรสถานศึกษา กิจกรรมและพัฒนา แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา 1. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการจัด การศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและพื้นที่ - การจัดท าแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค/ระดับจังหวัด 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาใน พื้นที่ - การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก - การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ สมศ.


๙๙ คณะผู้จัดท า ที่ปรึกษา นายประหยัด อนุศิลป์ ศึกษาธิการภาค 5 นายเจน แผลงเดชา นักวิชาการศึกษาช านาญการพิเศษ รักษาการในต าแหน่ง นักวิชาการศึกษาเชี่ยวชาญ รักษาการในต าแหน่งศึกษาธิการภาค 5 คณะท างาน 1. นางภัคชุดา เสรีรัตน์ ผู้อ านวยกลุ่มยุทธศาสตร์การศึกษา 2. นางสุพัตรา ลุยภูมิประสิทธิ์ นักจัดการงานทั่วไปช านาญการพิเศษ 3. นายธวัชชัย เยาว์นุ่น นักวิชาการศึกษาช านาญการพิเศษ 4. นางปิยะมาศ บุญเลิศ นักวิชาการศึกษาช านาญการ 5. นายพุฒิพัฒน์ ชัยเกตุธนพัฒน์ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ รวบรวม วิเคราะห์เรียบเรียงและเขียนรายงาน 1. นางสุพัตรา ลุยภูมิประสิทธิ์ นักจัดการงานทั่วไปช านาญการพิเศษ 2. นายพุฒิพัฒน์ ชัยเกตุธนพัฒน์ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ ออกแบบปก นายพุฒิพัฒน์ ชัยเกตุธนพัฒน์ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ


Click to View FlipBook Version