The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาพิ้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6020121240, 2021-03-03 21:45:05

แผนการสอนปรับปรุง 2563

วิชาพิ้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แผนการจัดการเรียนรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะอาชีพและการประเมนิ ตามสภาพจรงิ

รายวิชาพ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ รหัสวิชา 3128-0006 (พ.ศ 2557)
(ปรับปรงุ พ.ศ 2563 รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหสั วิชา 30128-0006)

โดย
นายพงศธร บารงุ บ้าน
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ

แผนกวิชาเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ วิทยาลยั เทคนิคปตั ตานี
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา

แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและการประเมินตามสภาพจริง นี้ข้าพเจ้าได้จัดทาขึ้น
เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ พุทธศักราช
2557 ปรับปรุงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) พุทธศักราช2563 รายวิชาการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และสามารถนาไปใช้จัดการเรียนการสอนรายวิชาการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 30105-2006 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ และรายวิชาพื้นฐานการเขียน
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ รหัสวชิ า 20128-2009 โดยใชภ้ าษาซีในการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

ซึ่งมเี นือ้ หาครอบคลมุ และตรงตามหลักสูตรของสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ประกอบด้วย
6 หน่วยการเรียนรู้ ดังนี้ หน่วยท่ี 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้อนต้นด้วยภาษาซี หน่วยท่ี 2 ตัวแปร ประเภท
ข้อมูล และตัวดาเนินการ หน่วยท่ี 3 ฟังก์ชันการแสดงผลและฟังก์ชันการรับข้อมูล หน่วยที่ 4 คาส่ังควบคุม
เงอ่ื นไข และการทางานแบบวนรอบ หนว่ ยท่ี 5 อารเ์ รย์ (Array) หน่วยที่ 6 ฟังกช์ นั และพอยนเ์ ตอร์

ในการน้ีขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เชี่ยวชาญที่ให้คาแนะนาให้คาปรึกษาช้ีแนะแนวทางในการ
จัดสร้าง เอกสารประกอบการสอนดังกล่าวและหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้จะเป็น
ประโยชน์อยา่ งย่งิ กบั ครผู ู้สอนและผ้สู นใจท่วั ไป

พงศธร บารุงบ้าน

สารบญั หน้า

เร่ือง 1
3
หลกั สูตรรายวชิ า 4
ใบรายการหัวข้อเร่อื ง 7
กาหนดหนว่ ยการเรียนรู้ 8
ตารางวิเคราะห์จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 9
กาหนดการสอน 29
หนว่ ยท่ี 1 หลักการเขยี นโปรแกรมเบอ้ื งตน้ ด้วยภาษาซี 50
หนว่ ยท่ี 2 ตวั แปร ประเภทข้อมูล และตัวดาเนนิ การ 71
หนว่ ยท่ี 3 ฟงั ก์ชนั การแสดงผล และฟังก์ชันการรับข้อมูล 93
หนว่ ยท่ี 4 คาสง่ั ควบคุมเงื่อนไขและการทางาน 111
หนว่ ยท่ี 5 อาร์เรย์ (Array) 130
หนว่ ยท่ี 6 ฟงั ก์ชนั และพอยน์เตอร์ 131
ภาคผนวก 140
141
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรยี น 150
เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนก่อนเรียน 151
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั เรียน
เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนหลงั เรียน
ตารางรายละเอียดหวั ข้อเรอ่ื ง

1

หลกั สตู รรายวิชา

(หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.) พ.ศ. 2557 สาขาวิชาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์)
ชื่อวิชา พ้นื ฐานการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (1-2-2) รหัสวชิ า 3128-0006
จุดประสงคร์ ายวิชา

1. เข้าใจโครงสร้างของภาษาและหลักการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
2. มที ักษะในการใชค้ าสงั่ ฟังก์ชนั โปรแกรมยอ่ ย การตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม
3. มเี จตคตแิ ละกิจนสิ ัยท่ีดีในการเรยี นรู้และปฏิบตั ิงานด้วยความประณตี รอบคอบและปลอดภัยตระหนัก
ถึงคณุ ภาพของงาน และมจี รยิ ธรรมในงานอาชพี
สมรรณะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกย่ี วกับหลักการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการของภาษา โครงสร้างของภาษา คาส่ัง ตัวแปร ฟังก์ชัน โปรแกรมย่อย
ส่วนประกอบของโปรแกรม ออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษา C หรือภาษาอ่ืน ๆ ตรวจสอบและแก้ไข
โปรแกรม

(หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) พ.ศ. 2563 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์)
ชอ่ื วิชา การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (1-2-2) รหสั วชิ า 30128-0006
จดุ ประสงคร์ ายวชิ า

1. เขา้ ใจโครงสร้างของภาษาและหลักการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
2. มีทกั ษะในการใช้คาส่งั ฟงั ก์ชนั โปรแกรมยอ่ ย การตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม
3. มเี จตคติและกิจนสิ ัยทด่ี ีในการเรยี นร้แู ละปฏบิ ัติงานด้วยความประณีต รอบคอบและปลอดภัยตระหนัก
ถงึ คณุ ภาพของงาน และมีจริยธรรมในงานอาชพี
สมรรณะรายวชิ า
1. แสดงความร้เู กย่ี วกบั หลกั การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการของภาษา โครงสร้างของภาษา คาสั่ง ตัวแปร ฟังก์ชัน โปรแกรมย่อย

ส่วนประกอบของโปรแกรม ออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษา C หรือภาษาอื่น ๆ ตรวจสอบและแก้ไข
โปรแกรม

2

(หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ(ปวช.) พ.ศ.2562 สาขาวชิ าเทคนิคคอมพิวเตอร)์
ช่ือวิชา พ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (1-2-2) รหัสวิชา 20128-2009
จดุ ประสงค์รายวิชา

1. เข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์งาน ลาดับขั้นตอนการทางาน และโครงสร้าง
ของภาษาคอมพิวเตอร์

2. มีทกั ษะในการออกแบบ เขียนโปรแกรม ตรวจสอบ และแกไ้ ขโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
3. มีเจตคติท่ีดีต่อวิชาชีพ มีกิจนิสัยในการค้นคว้าเพิ่มเติมและทางานด้วยความรอบคอบ ถูกต้อง และ
ปลอดภยั
สมรรณะรายวิชา
1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์งาน ลาดับขั้นตอน
การทางาน และโครงสรา้ งของภาษาคอมพวิ เตอร์
2. ออกแบบ เขยี นโปรแกรม ตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมคอมพิวเตอร์
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการเขียนโปรแกรม การวิเคราะห์งาน ลาดับข้ันตอนการทางาน โครงสร้าง
ของภาษาคอมพิวเตอร์ คาส่ัง ประเภทข้อมูล ตัวแปร ตัวดาเนินการ คาส่ังควบคุมการทางาน ฟังก์ชัน อาร์เรย์
พอยนเ์ ตอร์ ออกแบบ เขียนโปรแกรม ตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรมโดยใช้ภาษาซี หรือภาษาอืน่

3

ใบรายการหัวข้อเรื่อง (Topic Listing Sheet)

รายวชิ าพ้นื ฐานการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (1-2-2) รหัสวิชา 3128-0006 (พ.ศ 2557)
ปรับปรงุ (พ.ศ. 2563) รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (1-2-2) รหสั วิชา 30128-0006

ลาดบั หัวข้อเรื่อง แหล่งข้อมลู
ABCD
1 หลักการเขยี นโปรแกรมเบื้องตน้ ดว้ ยภาษาซี 
2 ตัวแปร ประเภทข้อมลู และตัวดาเนินการ 
3 ฟังก์ชันการแสดงผล และฟงั ก์ชันการรบั ขอ้ มลู 
4 คาสงั่ ควบคุมเงื่อนไขและการทางานแบบวนรอบ 
5 อารเ์ รย์ (Array) 
6 ฟงั ก์ชนั และพอยนเ์ ตอร์ 

แหล่งข้อมลู A : คาอธบิ ายรายวิชา C : หนงั สือ/ตารา/เอกสารต่าง ๆ
B : ประสบการณ์ของผู้สอน D : ผูเ้ ช่ียวชาญ

4

กำหนดหนว่ ยกำรเรยี นรู้

กำหนดหนว่ ยกำรเรียนร้จู ำกกำรวิเครำะห์คำอธบิ ำยรำยวิชำ

ชอ่ื หน่วยกำรเรยี รู้ จดุ ประสงค์กำรเรยี นรูป้ ระจำหนว่ ย สมรรถนะประจำหน่วย

1. หลกั การเขยี นโปรแกรม 1.1 สามารถอธบิ ายขน้ั ตอนการเขียน 1.1 แสดงความรู้เกยี่ วกับ
หลักการเขียนโปรแกรม
เบอ้ื งต้นดว้ ยภาษาซี โปรแกรมได้ถูกต้อง คอมพิวเตอร์
1.2 แสดงความร้เู กย่ี วกับ
1.2 สามารถบอกประวตั ิของภาษาซี หลกั การเขียนโปรแกรมภาษา C
1.3 แสดงความรเู้ กย่ี วกบั
ไดถ้ ูกต้อง โปรแกรม Editor สาหรับเขยี น
โปรแกรมและคอมไพลภ์ าษาซี
1.3 สามารถบอกคุณสมบัติเด่นของภาษาซี 1.4. ปฏิบัตกิ ารติดต้ังโปรแกรม
Dev-C++
ไดถ้ ูกต้อง

1.4 สามารถอธบิ ายของโครงสร้างภาษาซี

ได้ถูกต้อง

1.5 สามารถอธิบายตัวแปลภาษาแบบ

อนิ เตอร์พรีเตอรแ์ ละคอมไพเลอร์ไดถ้ ูกต้อง

1.6 สามารถติดต้ังโปรแกรม Dev-C++

ได้ถูกตอ้ ง

1.7 สามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีเพื่อ

ตรวจสอบความผดิ พลาดและแกไ้ ข

โปรแกรมด้วยภาษาซเี บ้ืองต้นไดถ้ ูกต้อง

2. ประเภทขอ้ มูล ตวั แปร 2.1 สามารถบอกความหมายของตวั แปร 2.1 แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั
และตวั ดาเนนิ การ ไดถ้ ูกต้อง ตัวแปรและชนิดข้อมลู
2.2 สามารถเขียนชือ่ ตัวแปรตามกฎเกณฑ์ 2.2 แสดงความรูเ้ กยี่ วกับนิพจน์
ของภาษาซไี ด้ถูกต้อง และตวั ดาเนนิ การ
2.3 สามารถบอกชนิดข้อมลู ในภาษาซี
ไดถ้ ูกต้อง
2.4 สามารถเลือกชนิดขอ้ มูลใหก้ บั ตัวแปร
ได้ถูกต้อง
2.5 สามารถบอกความแตกต่างระหวา่ ง
ตัวแปรและคา่ คงที่ในภาษาซีได้ถกู ต้อง
2.6 สามารถอธบิ ายตวั ดาเนินการตา่ ง ๆ
ในภาษาซไี ด้ถูกต้อง
2.7 สามารถเลอื กตัวดาเนนิ การชนิดตา่ ง ๆ
ไปใชง้ านกบั นิพจน์ได้ถูกต้อง

5

(ต่อ) กำหนดหน่วยกำรเรยี นรจู้ ำกกำรวเิ ครำะหค์ ำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

ช่อื หน่วยกำรเรียรู้ จุดประสงคก์ ำรเรยี นรปู้ ระจำหนว่ ย สมรรถนะประจำหนว่ ย

2.8 สามารถบอกลาดบั ความสาคัญของตัว

ดาเนนิ การได้ถูกตอ้ ง

3. ฟงั กช์ ันการแสดงผล และ 3.1 สามารถเลอื กฟงั กช์ นั การแสดงผลขอ้ มูล เรียนร้หู ลกั ไวยากรณ์ของภาษา
ฟังก์ชันการรบั ข้อมลู ได้ถูกตอ้ ง และปฏบิ ัติการเขียนโปรแกรม
3.2 สามารถเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาซโี ดย เพือ่ แสดงผลขอ้ มลู ออกทาง
ใช้ฟงั กช์ ันการแสดงผลดว้ ยคอมพิวเตอร์ จอภาพ และรบั ขอ้ มลู จาก
ไดถ้ ูกตอ้ ง แปน้ พิมพ์
3.3 สามารถเลือกฟังก์ชันการรบั ขอ้ มลู
ได้ถูกตอ้ ง
3.4 สามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซโี ดย
ใช้ฟังก์ชันการรับขอ้ มลู ด้วยคอมพิวเตอร์
ไดถ้ ูกตอ้ ง

4. คาสั่งควบคมุ เงื่อนไขและ 4.1 สามารถอธบิ ายคาสั่งควบคมุ เง่ือนไข 4.1 เรยี นรหู้ ลักการทางานของ
การทางานแบบวนรอบ ไดถ้ ูกตอ้ ง คาส่งั ควบคมุ เงื่อนไข และคาสัง่
4.2 สามารถเขียนโปรแกรมภาษาซีควบคุม การทางานแบบวนรอบ
เงอ่ื นไขดว้ ยคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง 4.2 ปฏบิ ตั ิการเขยี นโปรแกรม
4.3 สามารถอธิบายคาสั่งการทางานแบบ เพื่อควบคุมเงื่อนไข และการ
วนรอบได้ถูกต้อง ทางานแบบวนรอบ
4.4 สามารถเขยี นโปรแกรมภาษาซีควบคุม
การทางานแบบวนรอบดว้ ยคอมพิวเตอร์
ไดถ้ ูกต้อง

5. อารเ์ รย์ (Array) 5.1 สามารถอธบิ ายอาเรย์ 1 มิตไิ ด้ แสดงความร้เู กีย่ วกับการเขยี น

5.2 สามารถอธิบายอาเรย์ 2 มติ ไิ ด้ โปรแกรมอารเ์ รย์ 1 มติ ิ และ

5.3 สามารถเขียนโปรแกรมภาษาซีเพื่อ อาร์เรย์ 2 มติ ิ

จัดเก็บข้อมูลลงในตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติด้วย

คอมพิวเตอร์ได้

6

(ตอ่ ) กำหนดหน่วยกำรเรยี นรู้จำกกำรวเิ ครำะหค์ ำอธบิ ำยรำยวิชำ

ช่ือหน่วยกำรเรยี รู้ จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรปู้ ระจำหนว่ ย สมรรถนะประจำหนว่ ย

5.4 สามารถเขยี นโปรแกรมภาษาซีเพ่ือ

จดั เก็ฐขอ้ มูลลงในตวั แปรอาร์เรย์ 2 มติ ิ

ด้วยคอมพิวเตอร์ได้

6. ฟงั กช์ นั และพอยน์เตอร์ 6.1 สามารถอธบิ ายหลกั การทางานของ 6.1 แสดงความร้เู ก่ียวกบั
ฟงั ก์ชันในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ถูกตอ้ ง ฟังกช์ นั ในรูปแบบตา่ ง ๆ
6.2 สามารถเขียนโปรแกรมภาษาซี ใน 6.2 แสดงความรู้เก่ียวกบั
ลักษณะโมดลู หรือฟังกช์ ันย่อย ๆ ไดถ้ กู ต้อง ตัวแปรพอยน์เตอร์
6.3 สามารถอธบิ ายตวั แปรชนดิ พอยน์เตอร์
ไดถ้ ูกตอ้ ง

7

ตารางวเิ คราะห์จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

รายวิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (1-2-2) รหัสวิชา 3128-0006 (พ.ศ 2557)
ปรับปรุง (พ.ศ. 2563) รายวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (1-2-2) รหัสวิชา 30128-0006

พทุ ธพิ ิสยั

พฤตกิ รรม
ความรู้
หน่วยการเรียนร้ทู ่/ี หวั ข้อยอ่ ย ความเข้าใจ
นาไปใช้
วิเคราะห์
ัสงเคราะห์
ประเมินค่า
ทักษะพิ ัสย
จิต ิพ ัสย
รวม
ลา ัดบความสาคัญ
จานวนช่ัวโมง

1. หลกั การเขยี นโปรแกรมเบ้อื งต้น 3311 - - 2 2 12 5 9
ด้วยภาษาซี
-
2. ตวั แปร ประเภทขอ้ มลู และ 4433 - - 2 2 18 2 12
ตัวดาเนินการ - 3 2 15 3 9
-
3. ฟงั ก์ชันการแสดงผล และฟังก์ชัน 3322
การรบั ขอ้ มลู -
-
4. คาส่งั ควบคุมเงือ่ นไขและการทางาน 4 4 3 5 - - 5 2 23 1 12
แบบวนรอบ -

5. อาร์เรย์ (Array) 2223 - 5 2 16 4 6
- 5 2 16 4 6
6. ฟังก์ชนั และพอยน์เตอร์ 2223

รวม 18 18 13 17 - 22 12 100 - 54

ลาดบั ความสาคญั 2243 - 15 --

หนว่ ย กำหนดกำรสอน สปั ดำหท์ ่ี 8
กำรเรยี นร้ทู ี่ 1-3 ชัว่ โมงท่ี
ช่ือหน่วยกำรเรียนรู้/รำยกำรสอน
1-6 4-7 1-9
1 ทดสอบก่อนเรียน
หลักกำรเขียนโปรแกรมเบ้ืองต้นด้วยภำษำซี 8-10 10-21
2 11-14
๑. ขนั้ ตอนการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 15-16 22-30
3 ๒. ประวัตภิ าษาซี 17-18 31-42
4 ๓. โครงสรา้ งโปรแกรมภาษาซี 43-48
5 ๔. การติดต้งั โปรแกรม Dev C++ 49-54
6 ๕. การใช้งานโปรแกรม Dev-C++
1-6 ประเภทขอ้ มูล ตัวแปร และตวั ดำเนนิ กำร
๑. ประเภทข้อมูล ตัวแปรและตวั ดาเนนิ การ
๒. ตัวแปร (Variables)
๓. ชนิดข้อมูล และการกาหนดข้อมลู ให้กับตวั แปร
๔. นพิ จนแ์ ละตัวดาเนนิ การ
ฟงั กช์ ันกำรแสดงผล และฟงั กช์ ันกำรรบั ข้อมูล
๑. ฟังก์ชันแสดงผล
๒. ฟังก์ชันรับข้อมูล
คำสง่ั ควบคมุ เง่ือนไขและกำรทำงำนแบบวนรอบ
๑. คาสัง่ ควบคมุ เงือ่ นไข
๒. การทางานแบบวนรอบ
อำร์เรย์ (Array)
๑. อาร์เรย์ 1 มติ ิ (One-dimensional Array)
๒. อารเ์ รย์ 2 มิติ (Two-dimensional Array)
ฟงั กช์ นั และพอยน์เตอร์
๑. ฟังกช์ ัน (Function)
๒. พอยน์เตอร์
ทดสอบหลงั เรียน

9

แผนการจดั การเรียนรู้และการประเมินตามสภาพจรงิ หน่วยท่ี 1
ชอื่ หน่วย หลักการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตน้ ดว้ ยภาษาซี
สอนครั้งท่ี 1-3
ชวั่ โมงรวม 9
จานวนชว่ั โมง 3

1. หนว่ ยการเรยี นรู้ หลักการเขยี นโปรแกรมเบอ้ื งต้นดว้ ยภาษาซี

2. จานวนช่ัวโมง 9 ช่วั โมง

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ประจาหนว่ ย
3.1 สามารถอธบิ ายขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้ถูกต้อง
3.2 สามารถบอกประวตั ิของภาษาซีได้ถกู ต้อง
3.3 สามารถบอกคุณสมบัติเด่นของภาษาซไี ด้ถกู ต้อง
3.4 สามารถอธบิ ายของโครงสรา้ งภาษาซีได้ถูกต้อง
3.5 สามารถอธิบายตัวแปลภาษาแบบอินเตอร์พรเี ตอร์และคอมไพเลอรไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง
3.6 สามารถติดต้ังโปรแกรม Dev-C++ ไดถ้ ูกตอ้ ง
3.7 สามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซเี พอื่ ตรวจสอบความผิดพลาดและแก้ไขโปรแกรมดว้ ยภาษาซี
เบอ้ื งตน้ ไดถ้ ูกต้อง

4. สมรรถนะประจาหน่วย
4.1 แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
4.2 แสดงความรเู้ ก่ยี วกับหลกั การเขียนโปรแกรมภาษาซี
4.3 แสดงความร้เู กย่ี วกบั โปรแกรม Editor สาหรบั เขียนโปรแกรมและค
อมไพลภ์ าษาซี
4.4 ปฏบิ ตั กิ ารตดิ ตัง้ โปรแกรม Dev-C++

5. เนอ้ื หา
5.1 ข้ันตอนการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (เอกสารประกอบการสอน หนา้ 13)
5.2 ประวัติภาษาซี (เอกสารประกอบการสอน หน้า 18)
5.3 โครงสรา้ งโปรแกรมภาษาซี (เอกสารประกอบการสอน หนา้ 21)
5.4 การติดตงั้ โปรแกรม Dev-C++ (เอกสารประกอบการเรียนการสอน หน้า 26)
5.5 การใชง้ านโปรแกรม Dev-C++ (เอกสารประกอบการเรยี นการสอน หน้า 33)

10

6. กาหนดเกณฑ์การปฏบิ ัตติ ามสมรรถนะ

สมรรถนะ เกณฑ์ปฏบิ ตั ิ (Performance criteria)

1 แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียน ผ้เู รยี น

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.1 อธิบายข้ันตอนการเขียนโปรแกรม

2 แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการเขียน 1.2 บอกประวตั คิ วามเปน็ มาของภาษาซี

โปรแกรมภาษา C 1.3 บอกคุณสมบตั ิเดน่ ของภาษซี

3. เรียนรู้หลกั การเขียนโปรแกรมภาษา C ผเู้ รียน

และการติดตัง้ โปรแกรม Dev-C++ 2.1 อธบิ ายโครงสรา้ งของภาษาซี

4. ปฏบิ ัตกิ ารติดตงั้ โปรแกรม Dev-C++ 2.2 ยกตัวอย่างไดเรกทีฟทม่ี อี ยู่ในภาษาซี

2.3 อธิบายความแตกต่างระหว่างตวั แปลภาษาแบบ

คอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์

2.4 ตดิ ตง้ั โปรแกรม Dev-C++ ไดถ้ กู ตอ้ งดงั น้ี

1) ดาวน์โหลดโปรแกรม Dev-C++

2) ตดิ ตง้ั โปรแกรม Dev-C++ v5.11

3) เรยี กใชง้ านโปรแกรม Dev-C++

2.5 เขียนโปรแกรมเพื่อตรวจสอบความผิดพลาดและแก้ไข

โปรแกรม ดงั น้ี

1) เปิดโปรแกรม Dev-C++ และสรา้ งไฟล์งานใหม่

2) เขยี นโปรแกรมตามใบงานท่ี 1.5 ขอ้ ท่ี 2

3) บันทกึ ไฟล์ชอื่ testting.c

4) ทดสอบโปรแกรมโดยการ Compile และทดสอบ

การทางานโดยการ Run โปรแกรม

11

7. กิจกรรมการเรยี นการสอน
ครงั้ ที่ 1 จานวน 3 ชม.
ใบเนื้อหาที่ 1 เร่ือง ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (เอกสารประกอบการสอน
หนา้ ท่ี 13)
ขนั้ เข้าส่บู ทเรยี น
 เนื่องจากเป็นการสอนชั่วโมงแรก ผู้สอนบอกจุดประสงค์การเรียนรู้รายวิชา สมรรถนะ
รายวิชา คาอธิบายรายวิชา โครงการสอนและเกณฑ์การประเมนิ ผลต่าง ๆ ให้ผู้เรียนทราบ
 ทาการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนด้วยแบบทดสอบแบบเลือกตอบจานวน
50 ข้อ
 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 1 จานวน 10 ข้อ
 ผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียนหน่วยที่ 1 โดยกล่าวถึงหลักการเขียนโปรแกรมซ่ึงโปรแกรมเมอร์เป็น
บุคคลท่ีทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรม จะต้องทราบถึงจดุ หมายของการเขียนโปรแกรม เชน่
ข้อมูลนาเข้า การทางานของโปรแกรม และรูปแบบในการแสดงผลลัพธ์ โดยหากมีการวาง
แผนการเขยี นโปรแกรมให้เป็นไปตามขั้นตอนจะสง่ ผลใหก้ ารเขยี นโปรแกรมน้นั ง่ายขึน้
ขัน้ สอน
 ผู้สอนอธิบายข้ันตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์พร้อมยกตัวอย่างประกอบในแต่ละ
ข้นั ตอนและต้ังคาถามใหผ้ ู้เรียนค้นควา้ หาคาตอบ และสรุปผลรว่ มกนั ดังนี้
1) การวเิ คราะห์ปญั หา
2) การออกแบบโปรแกรม
3) การเขียนโปรแกรม
4) การทดสอบโปรแกรม
5) การจัดทาเอกสารประกอบการโปรแกรม
 มอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนที่ 1.1 เรื่องขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
(เอกสารประกอบการสอนหนา้ ที่ 17) เพ่ือส่งเสรมิ การเรยี นรรู้ ะหว่างเรยี นของผูเ้ รยี น
ข้นั สรุป
ผู้สอนและผ้เู รียนร่วมกนั สรปุ ขั้นตอนการเขยี นโปรแกรม
สอ่ื /อุปกรณ์
 เครอ่ื งคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์ตอ่ พ่วง
 เคร่อื งฉายโปรเจคเตอร์
 เอกสารประกอบการสอน วชิ าพน้ื ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
 Google classroom
 ใบตรวจสอบรายชอ่ื นกั เรยี น

12

ผลงาน/หลักฐาน
 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อนเรียน จานวน 50 ข้อ
 แบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี 1 จานวน 10 ขอ้
 ใบแบบฝึกหดั ระหว่างเรียนท่ี 1.1 เรื่อง ขนั้ ตอนการเขียนโปรแกรม
 ใบบันทกึ พฤติกรรมการเรยี นและการทางาน

เครอ่ื งมอื และวิธีการวัดผล
 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นก่อนเรียน 50 ข้อ คะแนนเต็ม 50 คะแนน
 แบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยท่ี 1 คะแนนเตม็ 10 คะแนน
 ใบแบบฝึกหดั ระหว่างเรยี นท่ี 1.1 เรื่อง ข้นั ตอนการเขยี นโปรแกรม (เอกสารประกอบการ
สอนหนา้ ที่ 17) คะแนนเต็ม 10 คะแนน
 ใบบันทึกพฤติกรรมการเรียนและการทางาน (เอกสารประกอบการสอนหน้าที่ 45)
คะแนนเตม็ 10 คะแนน

คร้งั ท่ี 2 จานวน 3 ชม.
ใบเนื้อหาท่ี 2 เรื่อง ประวัติภาษาซี (เอกสารประกอบการสอนหน้าท่ี 18) และใบเน้ือหาที่ 3
เรื่อง โครงสรา้ งโปรแกรมภาษาซี (เอกสารประกอบการสอนหนา้ ที่ 21)

ขน้ั เขา้ สู่บทเรียน
 ผู้สอนทบทวนบทเรยี นครั้งท่ี 1 โดยวิธกี ารถาม-ตอบ
 ผู้สอนทาเข้าสู่บทเรียนกล่าวถึงภาษาคอมพิวเตอร์พร้อมยกอย่างเช่น ภาษาซี ซ่ึงจัดอยู่ใน
ภาษาระดบั สูง เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ทีม่ ีความใกลเ้ คียงกับภาษามนษุ ย์ และมีความสามารถ
ในการควบคุมระบบฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี นั้นคือมีความใกล้เคียงกับ
ภาษาระดบั ตา่ อย่างเช่นภาษา แอสเซมบลี ท่ีประมวลผลได้อยา่ งรวดเร็ว

ขน้ั สอน
 ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนสืบค้นประวัติความเป็นมาของภาษาซีและคุณสมบัติเด่นของ
ภาษาซี จากน้นั ผู้สอนทาการสุ่มเลอื กผู้เรียนนาเสนอผลการค้นคว้า และร่วมกนั สรปุ ผล
 มอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนที่ 1.2 (เอกสารประกอบการสอน
หน้าท่ี 20) เพื่อสง่ เสรมิ การเรยี นรูร้ ะหว่างเรยี นของผเู้ รียน
 ผู้สอนอธิบายโครงสร้างโปรแกรมภาษาซีและสาธิตการเขียนโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โดยใช้โปรแกรม Dev-c++ และผูเ้ รียนปฏิบัติพรอ้ มกบั ผูส้ อน
 ผู้สอนอธิบายความแตกต่างระหว่างตัวแปลภาษาชนิดคอมไพเลอร์ และตัวแปลชนิดอินเตอร์
พรเี ตอรแ์ ละสาธติ การทางานของตวั แปลภาษาทงั้ 2 ชนดิ และผเู้ รียนปฏิบตั ิพรอ้ มกบั ผู้สอน
 ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนที่ 1.3 (เอกสารประกอบการสอน
หนา้ ที่ 25) เพ่ือส่งเสริมการเรยี นรรู้ ะหว่างเรียนของผเู้ รยี น

13

ขน้ั สรปุ
 ผู้สอนและผ้เู รียนรว่ มกันสรปุ เนื้อหาดังต่อไปน้ี
1) ประวัตคิ วามเปน็ มาของภาษาซีและคุณสมบัตเิ ดน่ ของภาษาซี
2) โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
3) ตัวแปรภาษาชนิดคอมไพเลอรแ์ ละชนิดอนิ เตอร์พรีเตอร์

สอ่ื /อปุ กรณ์
 เครอ่ื งคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณต์ อ่ พ่วง
 เครื่องฉายโปรเจคเตอร์
 เอกสารประกอบการสอนวิชาพ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 Google classroom
 ใบตรวจสอบรายชอ่ื นักเรยี น

ผลงาน/หลกั ฐาน
 ใบแบบฝกึ หัดระหว่างเรยี นที่ 1.2 เร่อื ง ประวัตขิ องภาษาซี
 ใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรยี นท่ี 1.3 เรอ่ื ง โครงสรา้ งของภาษาซี
 ใบบันทึกพฤติกรรมการเรยี นและการทางาน

เคร่อื งมอื และวิธีการวดั ผล
 ใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนที่ 1.2 เรื่อง ประวัติของภาษาซี (เอกสารประกอบการสอน
หนา้ ที่ 20) คะแนนเต็ม 10 คะแนน
 ใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนท่ี 1.3 เร่ือง โครงสร้างของภาษาซี (เอกสารประกอบการสอน
หน้าที่ 25) คะแนนเต็ม 10 คะแนน
 ใบบันทึกพฤติกรรมการเรียนและการทางาน (เอกสารประกอบการสอนหน้าที่ 45)
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

คร้ังท่ี 3 จานวน 3 ชม.
ใบเนื้อหาท่ี 4 เรื่อง การติดตั้งโปรแกรม Dev-C++ (เอกสารประกอบการสอนหน้าที่ 26)
และใบเน้อื หาท่ี 5 เร่ืองการใช้งานโปรแกรม Dev-C++ (เอกสารประกอบการสอนหนา้ ท่ี 33)

ขั้นเข้าสบู่ ทเรยี น
 ผสู้ อนทบทวนบทเรยี นคร้ังท่ี 2 โดยวธิ กี ารถาม-ตอบ
 ผู้สอนนาเข้าสู่บทเรยี นโดยการยกตัวอยา่ งโปรแกรมText Editor ทีใ่ ช้สาหรับการเขียน
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ด้วยภาษาตา่ ง ๆ แนะนาชดุ พัฒนาโปรแกรมท่ีเรียกวา่ IDE
(Integrated Development Environment)

14

ขน้ั สอน
 ผ้สู อนอธิบายความร้เู บ้ืองต้นเก่ียวกับโปรแกรม Text Editor และมอบใหผ้ ู้เรยี นทาการสืบค้น
ข้อมูลเก่ียวกับโปรแกรม Text Editor ที่สามารถนามาใช้เขียนโปรแกรมภาษาซีได้ ผู้เรียน
นาเสนอขอ้ มลู การสบื ค้น และสรุปผลร่วมกนั
 ผสู้ อนอธิบายข้นั ตอนการติดต้ังโปรแกรม Dev-C++ พร้อมสาธติ การติดตงั้ โปรแกรมดังกลา่ ว
 ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนท่ี 1.4 (เอกสารประกอบการสอน
หน้าท่ี 32) เพอื่ ส่งเสรมิ การเรียนรรู้ ะหว่างเรียนของผเู้ รียน
 ผู้สอนแนะนาการใช้งานโปรแกรม Dev-C++ และสาธิตการใช้งานโปรแกรมดังกล่าวร่วมกับ
ผเู้ รยี น
 ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนท่ี 1.5 (เอกสารประกอบการสอน
หน้าที่ 42) เพ่อื ส่งเสรมิ การเรียนรรู้ ะหว่างเรยี นของผู้เรยี น

ข้ันสรปุ
 ผสู้ อนและผเู้ รยี นร่วมกนั สรปุ เนือ้ หาดังต่อไปน้ี
1) ขัน้ ตอนการตดิ ต้งั โปรแกรม Dev-C++
2) ขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม Dev-C++

สอ่ื /อปุ กรณ์
 เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์และอุปกรณต์ ่อพว่ ง
 เครอ่ื งฉายโปรเจคเตอร์
 เอกสารประกอบการสอนวชิ าพนื้ ฐานการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 google classroom
 ใบตรวจสอบรายชอื่ นักเรยี น

ผลงาน/หลักฐาน
 ใบแบบฝกึ หัดระหวา่ งเรยี นที่ 1.4 เรอื่ ง การติดต้ังโปรแกรม Dev-C++
 ใบแบบฝกึ หัดระหวา่ งเรยี นที่ 1.5 เร่ือง การใชง้ านโปรแกรม Dev-C++
 แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยที่ 1
 ใบบนั ทกึ พฤติกรรมการเรียนและการทางาน

เครื่องมือและวิธีการวดั ผล
 ใบแบบฝึกปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ท่ี 1.4 เรื่อง การติดต้ังโปรแกรม Dev-C++
(เอกสารประกอบการสอนหนา้ ที่ 32) คะแนนเต็ม 10 คะแนน
 ใบแบบฝึกปฏิบัติเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ท่ี 1.5 เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Dev-C++
(เอกสารประกอบการสอนหนา้ ท่ี 42) คะแนนเตม็ 10 คะแนน

15

 แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 1 คะแนนเตม็ 10 คะแนน

 ใบบันทึกพฤติกรรมการเรียนและการทางาน (เอกสารประกอบการสอนหน้าท่ี 45)
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

8. เกณฑก์ ารตัดสิน

การวัดประเมินผลแต่ละคร้ังต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม แล้วนาคะแนนรวมมาตัดสิน

ผลการเรียนตามเกณฑด์ งั น้ี

การประเมินผลแบบองิ เกณฑ์

คะแนนการประเมินตั้งแต่ร้อยละ 80 ข้นึ ไป ระดับผลการเรียน 4.0

คะแนนการประเมนิ ต้งั แต่ร้อยละ 75-79.99 ระดับผลการเรียน 3.5

คะแนนการประเมินตั้งแตร่ อ้ ยละ 70-74.99 ระดบั ผลการเรยี น 3.0

คะแนนการประเมินตั้งแต่รอ้ ยละ 65-69.99 ระดับผลการเรยี น 2.5

คะแนนการประเมนิ ต้ังแตร่ อ้ ยละ 60-64.99 ระดบั ผลการเรียน 2.0

คะแนนการประเมินต้ังแตร่ อ้ ยละ 55-59.99 ระดบั ผลการเรียน 1.5

คะแนนการประเมนิ ต้งั แตร่ ้อยละ 50-54.99 ระดบั ผลการเรยี น 1.0

คะแนนการประเมนิ ตา่ กว่าร้อยละ 49.99 ลงไป ระดบั ผลการเรียน 0

9. เครื่องมือวัดประเมณิ ผล

เครื่องมอื ลักษณะของข้อมูล

แบบทดสอบก่อนเรยี น ใช้สอบวัดความรู้ ความเข้าใจความสามารถทาง

สติปญั ญาพน้ื ฐานของผู้เรียนก่อนเรียน

แบบทดสอบหลงั เรียน ใช้สอบวัดความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถทาง

สติปัญญาของผเู้ รียนหลังเรียน

ใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรยี น เป็นแบบฝึกปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างเรียน

ของผเู้ รียน

ใบบนั ทกึ พฤตกิ รรมการเรียนและการทางาน ใช้สังเกตพฤติกรรมด้านคุณธรรม คุณลักษณะทักษะการ

ปฏิบัติงานที่ผู้สังเกตได้กาหนดไว้โดยผู้ถูกสังเกตรู้ตัว

หรือไมร่ ้ตู วั ก็ได้

แบบประเมินผลงานด้วยเกณฑ์ให้คะแนน เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินคุณภาพผลงานการ

(scoring rubrics) ปฏิบัติงาน โดยมีคาอธิบายคุณภาพของงานในแต่ระดับ

หรือมีตวั ช้ีวัดผลงานในแต่ละสว่ นแตร่ ะดบั ไว้อย่างชัดเจน

16

10. แบบประเมินใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรยี นหน่วยท่ี 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตน้ ด้วยภาษาซี

รายการ เกณฑ์การ
ให้คะแนน
แบบประเมินใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนที่ 1.1 เรอื่ ง ขนั้ ตอนการเขยี นโปรแกรม
1. แสดงลาดบั ขน้ั ตอนและอธบิ ายการเขียนโปรแกรมได้ถกู ต้อง ระดบั พอใช้ 1-2
2. แสดงลาดบั ขัน้ ตอนและอธิบายการเขยี นโปรแกรมไดถ้ ูกตอ้ ง ระดบั ปานกลาง 3-4
3. แสดงลาดับขนั้ ตอนและอธิบายการเขยี นโปรแกรมได้ถูกต้อง ระดับดี 5-6
4. แสดงลาดบั ขน้ั ตอนและอธบิ ายการเขยี นโปรแกรมไดถ้ ูกตอ้ ง ระดบั มาก 7-8
5. แสดงลาดบั ขั้นตอนและอธบิ ายการเขยี นโปรแกรมได้ครบถว้ นถกู ต้องทุกขนั้ ตอน 9-10
10
รวม
แบบประเมินใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนที่ 1.2 เรื่อง ประวัตขิ องภาษาซี 5
1. บอกประวตั ิความเป็นมาของภาษาซี ไดด้ ังนี้ 3
5
1.1 บอกช่อื ผพู้ ฒั นา และต้นกาเนิดของภาษาซี 5
1.2 บอกชือ่ ผพู้ ฒั นา ตน้ กาเนิดของภาษาซี ระดบั ของภาษา และการรับรองทางสถาบนั 1
2. บอกคุณสมบัตเิ ด่นของภาษาซี 2
2.1 บอกจดุ เดน่ ของภาษาซี ได้ 1 ข้อ 3
2.2 บอกจุดเด่นของภาษาซี ได้ 2 ข้อ 4
2.3 บอกจุดเดน่ ของภาษาซี ได้ 3 ข้อ 5
2.4 บอกจุดเดน่ ของภาษาซี ได้ 4 ข้อ 10
2.5 บอกจดุ เดน่ ของภาษาซี ไดม้ ากกว่า 4 ข้อ
3
รวม 1
แบบประเมินใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนท่ี 1.3 เรอ่ื ง โครงสรา้ งของภาษาซี 2
1. อธิบายสว่ นประกอบของโครงสรา้ งโปรแกรมภาษาซี 3
3
1.1 อธิบายโครงสรา้ งภาษาซไี ด้ ระดับพอใช้ 1
1.2 อธบิ ายโครงสร้างภาษาซไี ด้ ระดับดี 2
1.3 อธบิ ายโครงสรา้ งภาษาซีได้ครบถ้วนถกู ตอ้ ง 3
2. ยกตัวอยา่ งไดเรกทีฟท่ีมอี ยู่ในภาษาซี 4
2.1 ยกตัวอยา่ งไดเรกทีฟน้อยกวา่ 1-2 ไดเรกทีฟ 1
2.2 ยกตวั อยา่ งไดเรกทีฟน้อยกว่า 3-4 ไดเรกทีฟ 1
2.3 ยกตัวอยา่ งไดเรกทีฟได้มากกวา่ หรือเท่ากบั 5 ไดเรกทฟี 3-4
3.บอกความแตกต่างระหว่างโปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์และอนิ เตอร์พรีเตอร์ 10
3.1 บอกหลกั การทางานของตวั แปลภาษาแบบคอมไพเลอร์
3.2 บอกหลกั การทางานของตัวแปลภาษาแบบอนิ เตอร์พรเี ตอร์
3.3 อธิบายความแตกต่างระหวา่ งตัวแปลภาษาแบบคอมไพเลอรแ์ ละอนิ เตอร์พรีเตอร์

รวม

17

(ต่อ) แบบประเมนิ ใบแบบฝึกหัดระหว่างเรยี นหน่วยท่ี 1 หลกั การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นดว้ ยภาษาซี

รายการ เกณฑก์ ารให้
คะแนน

แบบประเมนิ ใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนท่ี 1.4 เรื่อง การตดิ ตงั้ โปรแกรม Dev-C++

1. ดาวนโ์ หลดโปรแกรม Dev-C++ 2

2. ติดต้ังโปรแกรม Dev-C++ 5

3. เรียกใช้งานโปรแกรม Dev-C++ 3

รวม 10

แบบประเมินใบแบบฝกึ หัดระหว่างเรียนท่ี 1.5 เรื่อง การใชง้ านโปรแกรม Dev-C++

1. เปดิ โปรแกรม Dev-C++ และสร้างไฟลง์ านใหม่ได้อย่างถูกตอ้ ง 2

2. บันทึกไฟลช์ ่ือ testting.c ได้อย่างถูกต้อง 2

3. เขียนโปรแกรมตามใบงานท่ี 1.5 ข้อท่ี 2 ได้อยา่ งถูกต้อง 3

4. Compile และ Run โปรแกรมได้อย่างถูกต้อง 3

รวม 10

คะแนนรวม 50

18

แบบทดสอบก่อนเรยี น

คาช้แี จง
1. แบบทดสอบฉบับนี้มีจานวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 20 นาที
2. แบบทดสอบน้ีเปน็ แบบเลอื กตอบ
3. จงทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบท่ีถูกท่ีสดุ เพียงข้อเดียว

1. ภาษาซี ถกู พัฒนาโดยใคร
ก. Dennis Ritchie
ข. Perter Norton
ค. Martin Richards
ง. Ken Thompson

2. ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรด์ ว้ ยภาษาซี อยา่ งน้อยต้องมี 1 ฟังก์ชัน อยากทราบว่า เป็นฟังกช์ นั ใด
ก. printf ( )
ข. scanf ( )
ค. main ( )
ง. getch ( )

3. ข้อใดต่อไปน้ี เปน็ การเขยี นอธบิ ายโปรแกรม (comment) ได้ถูกต้อง
ก. #My first program
ข. /* Comment */
ค. /*My first program
ง. ‘Comment

4. ตวั แปลภาษาชนิด ท่ที าการแปลทงั้ โปรแกรม หากพบข้อผดิ พลาด จะตอ้ งทาการแก้ไขใหถ้ กู ตอ้ งแล้วแปล
ใหมจ่ นกระทั้งไม่พบข้อผดิ พลาด โปรแกรมจึงจะทางานได้

ก. คอมไพลเลอร์
ข. อนิ เตอร์พรีเตอร์
ค. ดีบ๊ักเกอร์
ง. ดบี กั
5. ประโยคคาสง่ั ในภาษาซีต้องลงท้ายด้วยเคร่ืองหมายใด
ก. : (colon)
ข. , (comma)
ค. ; (Semicolon)
ง. { }

19

6. สว่ นใดของโปรแกรมภาษาซีตอ่ ไปน้ี ทถ่ี ูกประมวลผลก่อน
ก. {
ข. /* Testing *2
ค. #include <conio.h>
ง. printf

7. โปรแกรมภาษาซใี ชต้ ัวแปลภาษาชนดิ ใด
ก. Compiler
ข. Translator
ค. Assembler
ง. Interpreter

8. ภาษาซจี ัดอยู่ในภาษาระดับใด
ก. ภาษาระดับสงู
ข. ภาษาระดับกลาง
ค. ภาษาระดับต่า
ง. ภาษาเครอื่ ง

9. ขอ้ ใดต่อไปนี้ ไมใ่ ช่ ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ก. การออกแบบโปรแกรม
ข. การวิเคราะห์ปัญหา
ค. การทดสอบโปรแกรม
ง. การประกาศตวั แปร

10. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ สว่ นประกอบหลกั ของโครงสรา้ งภาษาซี
ก. สว่ นของคาอธิบายโปรแกรม (Program Comment)
ข. ส่วนประมวลผลกอ่ น (Preprocessor Directive)
ค. สว่ นฟังก์ชันหลัก (Main Function)
ง. สว่ นคอมไพเลอร์ (Compiler)

20

แบบทดสอบหลังเรยี น

คาชีแ้ จง
1. แบบทดสอบฉบบั น้ีมีจานวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 20 นาที
2. แบบทดสอบนี้เป็นแบบเลือกตอบ
3. จงทาเคร่ืองหมาย x ลงในกระดาษคาตอบท่ีถูกทส่ี ดุ เพียงขอ้ เดยี ว

1. โปรแกรมภาษาซใี ช้ตัวแปลภาษาชนิดใด
ก. Compiler
ข. Translator
ค. Assembler
ง. Interpreter

2. ภาษาซจี ดั อยู่ในภาษาระดับใด
ก. ภาษาระดบั สูง
ข. ภาษาระดับกลาง
ค. ภาษาระดบั ต่า
ง. ภาษาเคร่ือง

3. ขอ้ ใดต่อไปน้ี ไมใ่ ช่ ส่วนประกอบหลกั ของโครงสร้างภาษาซี
ก. สว่ นของคาอธบิ ายโปรแกรม (Program Comment)
ข. สว่ นประมวลผลก่อน (Preprocessor Directive)
ค. ส่วนฟังกช์ ันหลัก (Main Function)
ง. ส่วนคอมไพเลอร์ (Compiler

4. ขอ้ ใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ขนั้ ตอนการพฒั นาโปรแกรม
ก. การออกแบบโปรแกรม
ข. การวเิ คราะห์ปัญหา
ค. การทดสอบโปรแกรม
ง. การประกาศตวั แปร

5. สว่ นใดของโปรแกรมภาษาซีต่อไปน้ี ทถี่ ูกประมวลผลกอ่ น
ก. {
ข. /* Testing *2
ค. #include <conio.h>
ง. printf

21

6. ประโยคคาสั่งในภาษาซตี อ้ งลงท้ายดว้ ยเครื่องหมายใด
ก. : (colon)
ข. , (comma)
ค. ; (Semicolon)
ง. { }

7. ตัวแปลภาษาชนิด ท่ีทาการแปลทัง้ โปรแกรม หากพบข้อผดิ พลาด จะตอ้ งทาการแก้ไขให้ถกู ต้องแล้วแปล
ใหมจ่ นกระท้งั ไม่พบข้อผดิ พลาด โปรแกรมจงึ จะทางานได้

ก. คอมไพลเลอร์
ข. อนิ เตอร์พรเี ตอร์
ค. ดบี ั๊กเกอร์
ง. ดีบกั
8. ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาซี อยา่ งน้อยต้องมี 1 ฟงั ก์ชัน อยากทราบว่า เปน็ ฟังกช์ นั ใด
ก. printf ( )
ข. scanf ( )
ค. main ( )
ง. getch ( )
9. ภาษาซี ถกู พฒั นาโดยใคร
ก. Dennis Ritchie
ข. Perter Norton
ค. Martin Richards
ง. Ken Thompson
10. ขอ้ ใดต่อไปนี้ เป็นการเขียนอธบิ ายโปรแกรม (comment) ไดถ้ กู ต้อง
ก. #My first program
ข. /* Comment */
ค. /*My first program
ง. // Comment //

22

กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน

หน่วยที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบ้อื งตน้ ด้วยภาษาซี

รหัสนักศึกษา.....................................ชือ่ – นามสกุล .................................................ระดบั .............กลมุ่ ......

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ์การประเมนิ

คะแนน ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมนิ

8-10 ดมี าก ระดบั คุณภาพ คือ
5-7 พอใช้
0-4 ปรับปรุง o ดีมาก
o พอใช้
คะแนนเต็ม 10 คะแนน o ปรบั ปรงุ
คะแนนท่ีได้ คือ...........

23

กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน

หน่วยที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบอื้ งตน้ ด้วยภาษาซี

รหัสนักศึกษา.....................................ช่ือ – นามสกุล .................................................ระดบั .............กลมุ่ ......

แบบทดสอบหลังเรยี น

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑ์การประเมนิ

คะแนน ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมนิ

8-10 ดมี าก ระดบั คุณภาพ คือ
5-7 พอใช้
0-4 ปรับปรุง o ดีมาก
o พอใช้
คะแนนเต็ม 10 คะแนน o ปรบั ปรงุ
คะแนนทไี่ ด้ คือ...........

24

เฉลยคาตอบ
หนว่ ยท่ี 1 หลักการเขยี นโปรแกรมเบ้ืองตน้ ดว้ ยภาษาซี

แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น

ข้อ ก ข ค ง ขอ้ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10  10 

25

ใบบนั ทกึ ผลคะแนน
แบบฝึกหดั ระหว่างเรียนหนว่ ยที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบอ้ื งต้นด้วยภาษาซี
ระดบั ช้นั ................. กลมุ่ ....................... แผนกวิชา..................................................

ลาดบั รหัสนักศึกษา ช่อื -สกุล แบบ ึฝกหัดระห ่วางเ ีรยนท่ี 1.1
ที่ แบบ ึฝกหัดระห ่วางเ ีรยนที่ 1.2
แบบ ึฝกหัดระห ่วางเ ีรยนท่ี 1.3
แบบ ึฝกหัดระห ่วางเ ีรยนที่ 1.4
แบบ ึฝกหัดระห ่วางเ ีรยนที่ 1.5
คะแนนรวม

10 10 10 10 10 50

ลงชื่อ.....................................................ครูผ้สู อน
(นายพงศธร บารุงบา้ น)

26

ใบบนั ทึกผลคะแนนแบบทดสอบก่อนเรยี นและแบบทดสอบหลังเรยี น
หน่วยท่ี 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี

ระดบั ชน้ั ................. กลมุ่ ....................... แผนกวชิ า..................................................

ลาดับ คะแนน คะแนน ผลการ
ท่ี
รหัสนกั ศึกษา ช่ือ-สกุล ก่อนเรียน หลงั เรียน ประเมนิ

(10 คะแนน) (10 คะแนน) (ผา่ น/ไม่ผา่ น)

รวม
รวมเฉลย่ี
เฉล่ยี ร้อยละ

เกณฑก์ ารประเมินก่อนเรียน

คะแนน ระดับคณุ ภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ คอื
คะแนนที่ได.้ ..................
8-10 ดีมาก o ดีมาก
5-7 พอใช้ o พอใช้
0-4 ปรับปรุง o ปรบั ปรงุ

ลงช่อื .....................................................ครผู สู้ อน
(นายพงศธร บารงุ บ้าน)

27

ใบประเมินพฤตกิ รรมการเรียน และการทางาน
ระดบั ชัน้ ................. กล่มุ ....................... แผนกวชิ า..................................................

คาชี้แจง ให้ผู้สอนทาเครื่องหมาย หรือ  ตามพฤติกรรมการเรียนและการทางานของผู้เรียน
ในใบประเมินพฤติกรรมการเรียน และการทางาน

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน หมายถึง นักเรยี นมพี ฤติกรรมตามท่ีกาหนด
ปฏบิ ตั ิได้ () 1 คะแนน หมายถึง นักเรียนไม่มพี ฤตกิ รรมตามท่ีกาหนด
ไม่ปฏิบัติ () 0 คะแนน

มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มคี ณุ ธรรม มีจติ อาสา
(3 คะแนน) (3 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน)

ลาดบั ชอื่ -สกลุ 1.1 เข้าเรียนตรงเวลา
ท่ี 1.2 แ ่ตงกายถูก ้ตองตามระเ ีบยบ
1.3 ทางานเ ็ปนระเ ีบยบ
2.1 ีมความพร้อม ในการเ ีรยน
2.2 มีความกระตือรือร้น
2.3 ใฝ่หาความรู้
3.1 มีความซ่ือสัตย์
3.2 ีมระเบียบ ิว ันย
4.1 ีม ุอดมการณ์ในส่ิง ่ีทดีงามเ ื่พอส่วนรวม
4.2 ่ชวยเหลือ ้ผูอ่ืนแสดง ึถงความมี ้นาใจ
รวมคะแนน (10 คะแนน)

28

แบบบนั ทกึ หลังสอน

1. ผลการใช้แผนการสอนเปน็ อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ผลการเรียนของนักเรยี นเป็นอยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ผลการสอนของครเู ป็นอยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................

(นายพงศธร บารงุ บา้ น)
ครผู สู้ อน

ลงชือ่ ...............................................................

(.....................................................)
รองผ้อู านวยการ ฝ่ายวชิ าการ

29

แผนการจัดการเรียนรแู้ ละการประเมินตามสภาพจริง หนว่ ยท่ี 2
ชื่อหน่วย ตวั แปร ประเภทขอ้ มูล และตวั ดำเนนิ กำร
สอนครงั้ ที่ 4-7
ชั่วโมงรวม 12
จานวนชวั่ โมง 3

1. หนว่ ยการเรยี นรู้ ตัวแปร ประเภทขอ้ มูล และตวั ดำเนนิ กำร

2. จานวนชว่ั โมง 12 ช่วั โมง

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ประจาหนว่ ย
3.1 สำมำรถบอกควำมหมำยของตวั แปรได้ถูกต้อง
3.2 สำมำรถเขยี นชื่อตัวแปรตำมกฎเกณฑข์ องภำษำซไี ด้ถกู ตอ้ ง
3.3 สำมำรถบอกชนดิ ข้อมูลในภำษำซีได้ถูกต้อง
3.4 สำมำรถเลือกชนดิ ขอ้ มูลให้กับตวั แปรได้ถกู ต้อง
3.5 สำมำรถบอกควำมแตกต่ำงระหว่ำงตวั แปรและค่ำคงที่ในภำษำซีได้ถกู ต้อง
3.6 สำมำรถอธบิ ำยตวั ดำเนนิ กำรตำ่ ง ๆ ในภำษำซีได้ถกู ต้อง
3.7 สำมำรถเลือกตวั ดำเนนิ กำรชนดิ ตำ่ ง ๆ ไปใช้งำนกับนิพจนไ์ ด้ถูกต้อง
3.8 สำมำรถบอกลำดบั ควำมสำคัญของตัวดำเนนิ กำรได้ถูกต้อง

4. สมรรถนะประจาหน่วย
4.1 แสดงควำมรเู้ กยี่ วกบั ตวั แปรและชนิดข้อมูล
4.2 แสดงควำมรู้เกยี่ วกับนพิ จนแ์ ละตวั ดำเนินกำร

5. เนื้อหา
5.1 ตัวแปร (เอกสำรประกอบกำรสอน หนำ้ 71)
5.2 ชนดิ ขอ้ มลู และกำรประกำศตัวแปรในภำษำซี (เอกสำรประกอบกำรสอน หน้ำ 73)
5.3 นิพจน์ และตัวดำเนนิ กำร (เอกสำรประกอบกำรสอน หน้ำ 83)

30

6. กาหนดเกณฑ์การปฏิบัติตามสมรรถนะ

สมรรถนะ เกณฑป์ ฏิบตั ิ (Performance criteria)

1. แสดงควำมร้เู กย่ี วกับตัวแปร และ ผเู้ รียน
ชนิดข้อมลู 1.1 บอกบอกควำมหมำยของตวั แปร
1.2 กำหนดชื่อตัวแปรตำมกฎเกณฑข์ องภำษำซี
1.3 บอกชนิดข้อมลู ในภำษำซี
1.4 เลือกชนดิ ข้อมูลให้กบั ตัวแปร
1.5 บอกควำมแตกตำ่ งระหว่ำงตัวแปรและคำ่ คงทใ่ี นภำษำซี

2. แสดงควำมรูเ้ กีย่ วกับนิพจน์ และ ผู้เรียน
ตัวดำเนนิ กำร 2.1 อธบิ ำยตัวดำเนินกำรต่ำง ๆ ในภำษำซี
2.2 นำตวั ดำเนินกำรชนดิ ตำ่ ง ๆ ไปใช้งำนกับนพิ จน์
2.3 บอกลำดับควำมสำคัญของตวั ดำเนินกำร

31

7. กิจกรรมการเรียนการสอน
ครงั้ ที่ 4 จำนวน 3 ชม.
ใบเนอ้ื หำท่ี 6 เร่อื ง ตวั แปร (Variables) (เอกสำรประกอบกำรสอนหนำ้ ที่ 71)
ข้นั เขา้ สบู่ ทเรยี น
 ผู้สอนทบทวนบทเรียนครงั้ ท่ี 3 โดยวิธกี ำรถำม-ตอบ
 ทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยท่ี 2 จำนวน 10 ขอ้
 ผู้สอนนำเข้ำสู่บทเรียนโดยกำรยกตัวอย่ำงกำรตั้งช่ือเพื่อเรียกแทนสิ่งของสิ่งน้ันหรืออื่น ๆ
ท่วั ไป เพื่อเชื่อมโยงบทเรยี นเร่ืองตวั แปร (Variable) ในภำษำซซี ่งึ ถกู สร้ำงขึ้นเพอ่ื ใช้เรยี กแทน
ตำแหน่งหนว่ ยควำมจำหลกั นำมำใช้ในกำรเกบ็ ข้อมูลทสี่ ำมำรถนำไปประมวลผลได้
ขนั้ สอน
 ผู้สอนอธบิ ำยควำมหมำยของตัวแปร พรอ้ มยกตัวอย่ำงกำรอำ้ งอิงถึงข้อมลู ณ ตำแหน่งตำ่ ง ๆ
ในหน่วยควำมจำ
 ผู้สอนต้ังคำถำมให้ผู้เรียนมีสว่ นร่วมในชัน้ เรียนจำกกำรสุ่มโดยใหผ้ ู้เรียนยกตัวอย่ำงกำรตั้งชื่อ
ตัวแปร และรว่ มกันสรุปคำตอบของกำรยกตวั อยำ่ งดงั กล่ำว
 สำธิตกำรประกำศตัวแปรในรปู แบบตำ่ ง ๆ ผสู้ อนและผูเ้ รียนปฏิบตั ิพรอ้ มกนั
 ผู้สอนมอบหมำยผู้เรียนทำใบแบบฝึกหัดระหว่ำงเรียนท่ี 2.1 เร่ืองตัวแปร (Variables)
(เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำที่ 72) เพ่อื ส่งเสริมกำรเรียนรู้ระหว่ำงเรยี นของผ้เู รียน
ขั้นสรปุ
 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปควำมหมำยของตัวแปร และกำรตั้งชื่อตัวแปรที่ถูกต้องตำมกฎ
กำรตัง้ ชอื่ ตัวแปรในภำษำซี
สอ่ื /อปุ กรณ์
 เคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพว่ ง
 เครอ่ื งฉำยโปรเจคเตอร์
 เอกสำรประกอบกำรสอน วิชำพน้ื ฐำนกำรเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 Google classroom
 ใบตรวจสอบรำยชือ่ นกั เรียน
ผลงาน/หลักฐาน
 แบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 2
 ใบแบบฝึกหดั ระหว่ำงเรียนท่ี 2.1 เร่ือง ตวั แปร (Variables)
 ใบบนั ทกึ พฤติกรรมกำรเรียนและกำรทำงำน

32

เครื่องมอื และวธิ ีการวดั ผล
 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 2 คะแนนเต็ม 10 คะแนน (เอกสำรประกอบกำรสอน
หน้ำท่ี 69)
 ใบแบบฝึกหัดระหว่ำงเรียนที่ 2.1 เรื่อง ตัวแปร (Variables) (เอกสำรประกอบกำรสอน
หน้ำท่ี 72) คะแนนเต็ม 10 คะแนน
 ใบบันทึกพฤติกรรมกำรเรียนและกำรทำงำน (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำที่ 97)
คะแนนเตม็ 10 คะแนน

ครั้งที่ 5 จำนวน 3 ช่วั โมง
ใบเนือ้ หำที่ 7 เร่ือง ชนิดขอ้ มูล และกำรประกำศตวั แปรในภำษำซี (เอกสำรประกอบกำรสอน
หนำ้ ที่ 73)

ขนั้ เขา้ สบู่ ทเรยี น
 ผู้สอนทบทวนบทเรียนครั้งที่ 4 โดยวิธีกำรถำม-ตอบ
 ผสู้ อนนำเขำ้ สู่บทเรยี นเม่ือตัง้ ช่ือตวั แปรตำมกฎเกณฑ์กำรตั้งช่ือตัวแปรได้อย่ำงถูกต้องแล้วสิ่ง
สำคัญที่ต้องคำนึงถึงคือ ข้อมูลท่ีอยู่ภำยในตัวแปร ซึ่งข้อมูลแต่ละชนิดมีคุณสมบัติท่ีแตกต่ำง
และมีขนำดหน่วยควำมจำที่ไม่เท่ำกัน ดังนั้นจึงต้องเลือกชนิดของข้อมูลให้ถูกต้องตำมควำม
ตอ้ งกำร

ขั้นสอน
 ผู้สอนบอกควำมหมำยของชนิดข้อมูลในภำษำซี ซ่ึงประกอบด้วยชนิดตัวอักษร ชนิดเลข
จำนวนเตม็ และชนิดเลขจำนวนจริง พรอ้ มยกตัวอย่ำง
 ผู้สอนอธิบำยชนิดข้อมูลในแต่ละประเภท ขนำดพื้นที่ของหน่วยควำมจำที่ใช้ และค่ำที่
สำมำรถเก็บไดใ้ นแตล่ ะชนดิ ในภำษำซี
 ผสู้ อนอธิบำยรูปแบบกำรประกำศตวั แปรพรอ้ มยกตัวอย่ำงกำรประกำศตัวแปรในภำษำซี
 ผู้สอนสำธิตวธิ ีกำรประกำศตวั แปรชนิดขอ้ มูลตัวอักษร
 ผเู้ รียนปฏบิ ัตกิ ำรเขยี นโปรแกรมตำมตัวอยำ่ งท่ี 2.1 (เอกสำรประกอบกำรสอนหนำ้ ที่ 75)
และสรปุ ผลกำรปฏบิ ัติดังกล่ำว
 ผู้สอนสำธติ วธิ ีกำรประกำศตวั แปรชนิดข้อมูลเลขจำนวนเตม็
 ผู้เรียนปฏิบัติกำรเขียนโปรแกรมตำมตัวอย่ำงท่ี 2.2-2.3 (เอกสำรประกอบกำรสอน
หน้ำที่ 76-77) และสรปุ ผลกำรปฏิบัติดังกล่ำว
 ผู้สอนสำธติ วิธกี ำรประกำศตวั แปรชนิดขอ้ มูลเลขจำนวนจรงิ
 ผู้เรียนปฏิบัติกำรเขียนโปรแกรมตำมตัวอย่ำงที่ 2.4 (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำท่ี 79)
และสรุปผลกำรปฏบิ ัติดงั กลำ่ ว

33

 ผู้สอนอธิบำยควำมแตกต่ำงระหว่ำงค่ำคงที่ (Constant) กับตัวแปร และสำธิตกำรประกำศ
ตวั แปรคำ่ คงที่ ผ้สู อนและผู้เรยี นปฏิบตั ริ ว่ มกัน

 ผูส้ อนอธบิ ำยกำรประกำศตัวแปรแบบภำยในและตวั แปรแบบภำยนอก
 ผเู้ รียนฝกึ ปฏิบัตกิ ำรประกำศตัวแปรภำยในและตวั แปรภำยนอกและรว่ มกนั สรุปผลดงั กลำ่ ว
 ผู้สอนมอบหมำยผู้เรียนทำใบแบบฝึกหัดระหว่ำงเรียนที่ 2.2 เร่ืองชนิดข้อมูล และกำร

ประกำศตัวแปรในภำษำซี (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำที่ 82) เพ่ือส่งเสริมกำรเรียนรู้
ระหวำ่ งเรียนของผู้เรียน
ขัน้ สรุป
 ผ้สู อนและผู้เรยี นรว่ มกันสรปุ เนอ้ื หำดงั ต่อไปนี้

1) ชนดิ ขอ้ มลู (Data type)
2) ค่ำคงที่ (Constant)
3) กำรประตัวแปรภำยใน และตวั แปรภำยนอก
สอ่ื /อปุ กรณ์
 เครอ่ื งคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ตอ่ พ่วง
 เคร่อื งฉำยโปรเจคเตอร์
 เอกสำรประกอบกำรสอน วชิ ำพื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 Google classroom
 ใบตรวจสอบรำยชือ่ นกั เรียน
ผลงาน/หลกั ฐาน
 ใบแบบฝกึ หัดระหว่ำงเรยี นที่ 2.2 เรอื่ งชนิดข้อมลู และกำรประกำศตวั แปรในภำษำซี
 ใบบนั ทกึ พฤติกรรมกำรเรียนและกำรทำงำน
เครอื่ งมือและวิธีการวัดผล
 ใบแบบฝกึ หัดระหว่ำงเรียนที่ 2.2 เรอ่ื งชนิดข้อมูล และกำรประกำศตัวแปรในภำษำซี
(เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำท่ี 82) คแนนเต็ม 10 คะแนน
 ใบบันทึกพฤติกรรมกำรเรียนและกำรทำงำน (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำที่ 97)
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

34

ครงั้ ท่ี 6 จำนวน 3 ชม.
ใบเนอ้ื หำที่ 8 เรื่อง นิพจน์ และตวั ดำเนนิ กำร (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำที่ 83)

ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน
 ผู้สอนทบทวนบทเรียนครง้ั ท่ี 5 โดยวธิ ีกำรถำม-ตอบ
 ผู้สอนนำเข้ำสู่บทเรียนกล่ำวถึงนิพจน์ทำงคณิตศำสตร์ ซึ่งสำมำรถพบเห็นได้จำกสูตร
กำรคำนวณตวั เลขต่ำง ๆ ตวั อย่ำงเช่น 2+5 =8 , a*12=24 เปน็ ต้น

ขน้ั สอน
 ผสู้ อนอธบิ ำยควำมหมำยของนพิ จน์ (Expression) พร้อมยกตัวอย่ำง
 ผู้สอนอธิบำยตัวดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์ (Arithmetic Operators) พร้อมยกตัวอย่ำง
และตัง้ คำถำมใหผ้ ้เู รียนหำคำตอบตำมควำมเหมำะสม
 ผู้เรียนฝึกปฏบิ ตั ิกำรเขียนโปรแกรมตำมตวั อย่ำงที่ 2.5 (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำท่ี 85)
 ผู้สอนอธิบำยตัวดำเนินกำรยูนำรี (Unary Operators) พร้อมยกตัวอย่ำง และต้ังคำถำมให้
ผเู้ รยี นหำคำตอบตำมควำมเหมำะสม
 ผู้เรียนฝึกปฏิบัติกำรเขียนโปรแกรมตำมตัวอย่ำงท่ี 2.6-2.7 (เอกสำรประกอบกำรสอน
หนำ้ ท่ี 86-87)
 ผู้สอนอธิบำยตัวดำเนินกำรควำมสัมพันธ์ (Relational Operators) พร้อมยกตัวอย่ำง และ
ตัง้ คำถำมใหผ้ ู้เรยี นเหำคำตอบตำมควำมเหมำะสม
 ผเู้ รยี นฝึกปฏบิ ัติกำรเขียนโปรแกรมตำมตวั อย่ำงท่ี 2.8 (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำที่ 88)

ขั้นสรุป
 ผสู้ อนและผ้เู รยี นร่วมกนั สรุปเน้อื หำดังต่อไปนี้
1) นพิ จน์ทำงคณติ ศำสตร์
2) ตัวดำเนินกำรพื้นฐำนทำงคณิตศำสตร์ ตัวดำเนินกำรยูนำรี และตัวดำเนินกำร
ควำมสมั พันธ์

สอ่ื /อุปกรณ์
 เครื่องคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์ต่อพว่ ง
 เคร่ืองฉำยโปรเจคเตอร์
 เอกสำรประกอบกำรสอน วิชำพื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 Google classroom
 ใบตรวจสอบรำยชอื่ นักเรียน

ผลงาน/หลกั ฐาน
 ตวั อยำ่ งโปรแกรมท่ี 2.5-2.8
 ใบบันทกึ พฤติกรรมกำรเรยี นและกำรทำงำน

35

เครอ่ื งมอื และวิธกี ารวัดผล
 ใบบันทึกพฤติกรรมกำรเรียนและกำรทำงำน (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำท่ี 97)
คะแนนเตม็ 10 คะแนน

ครั้งท่ี 7 จำนวน 3 ชม.
ใบเนอื้ หำท่ี 8 เรอื่ ง นิพจน์ และตวั ดำเนนิ กำร (เอกสำรประกอบกำรสอนหนำ้ ท่ี 83)

ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรียน

 ผสู้ อนทบทวนบทเรยี นครั้งที่ 6 โดยวธิ กี ำรถำม-ตอบ
 ผสู้ อนน้นั นำเข้ำสบู่ ทเรยี นต่อจำกครั้งท่ีผำ่ นมำเก่ยี วกบั ตวั ดำเนนิ กำรพื้นฐำนที่สำคัญ

ขนั้ สอน
 ผสู้ อนอธิบำยตัวดำเนนิ กำรตรรกะ (Logical Operators) พร้อมยกตัวอย่ำง และต้งั คำถำมให้
ผเู้ รยี นหำคำตอบตำมควำมเหมำะสม
 ผู้เรียนฝกึ ปฏบิ ัติกำรเขยี นโปรแกรมตำมตัวอย่ำงท่ี 2.9 (เอกสำรประกอบกำรสอนหนำ้ ที่ 90)
 ผู้สอนอธิบำยตัวดำเนินกำรกำหนดค่ำแบบผสม (Compound Assignment Operators)
พรอ้ มยกตัวอยำ่ ง และต้ังคำถำมให้ผู้เรียนหำคำตอบตำมควำมเหมำะสม
 ผู้สอนอธิบำยตัวดำเนินกำรเง่ือนไข (Conditional Operators) พร้อมยกตัวอย่ำง และ
ตั้งคำถำมใหผ้ เู้ รยี นหำคำตอบตำมควำมเหมำะสม
 ผเู้ รียนฝกึ ปฏบิ ตั ิกำรเขยี นโปรแกรมตำมตวั อยำ่ งที่ 2.10 (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำท่ี 92)
 ผู้สอนอธิบำยลำดับควำมสำคัญของตัวดำเนินกำร พร้อมยกตัวอย่ำงให้ผู้เรียนหำคำตอบ
โดยกำรสร้ำงโจทยเ์ พ่ิมเตมิ เชน่ (3*2) % 2 + (15-2) เปน็ ตน้
 ผู้สอนมอบหมำยผู้เรียนทำใบแบบฝึกหัดระหว่ำงเรียนที่ 2.3 เรื่อง นิพจน์ และตัวดำเนินกำร
(เอกสำรประกอบกำรสอนหนำ้ ท่ี 94) เพื่อสง่ เสรมิ กำรเรยี นร้รู ะหว่ำงเรียนของผเู้ รยี น

ขัน้ สรุป
 ผสู้ อนและผ้เู รยี นรว่ มกันสรุปเนอ้ื หำดงั ต่อไปนี้
1) ตัวดำเนนิ กำรตรรกะ
2 )ตัวดำเนินกำรกำหนดค่ำแบบผสม
3) ตวั ดำเนินกำรเง่ือนไข

สอ่ื /อุปกรณ์
 เคร่อื งคอมพิวเตอร์และอปุ กรณต์ ่อพว่ ง
 เครื่องฉำยโปรเจคเตอร์
 เอกสำรประกอบกำรสอน วชิ ำพืน้ ฐำนกำรเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

36

 Google classroom

 ใบตรวจสอบรำยช่ือนกั เรียน
ผลงาน/หลักฐาน

 ใบแบบฝกึ หัดระหว่ำงเรยี นท่ี 2.3 เรอื่ ง นิพจน์ และตวั ดำเนินกำร

 แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 2

 ใบบนั ทึกพฤติกรรมกำรเรียนและกำรทำงำน
เครื่องมอื และวธิ ีการวดั ผล

 ใบแบบฝึกหดั ระหว่ำงเรียนท่ี 2.3 เรือ่ ง นพิ จน์ และตัวดำเนินกำร (เอกสำรประกอบกำรสอน
หน้ำท่ี 62) คะแนนเต็ม 10 คะแนน

 แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 2 (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำท่ี 73) คะแนนเต็ม 10
คะแนน

 แบบสังเกตพฤติกรรมกำรเรยี นและกำรทำงำน (เอกสำรประกอบกำรสอนหน้ำท่ี 73) คะแนน
เต็ม 10 คะแนน

8. เกณฑ์การตัดสนิ

กำรวัดประเมินผลแตล่ ะครง้ั ต้องผ่ำนเกณฑ์ ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม แลว้ นำคะแนนรวมมำตดั สิน

ผลกำรเรยี นตำมเกณฑด์ ังน้ี

การประเมินผลแบบองิ เกณฑ์

คะแนนกำรประเมินตั้งแต่รอ้ ยละ 80 ข้ึนไป ระดบั ผลกำรเรยี น 4.0

คะแนนกำรประเมนิ ตงั้ แต่ร้อยละ 75-79.99 ระดบั ผลกำรเรยี น 3.5

คะแนนกำรประเมนิ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 70-74.99 ระดับผลกำรเรียน 3.0

คะแนนกำรประเมนิ ตง้ั แตร่ ้อยละ 65-69.99 ระดบั ผลกำรเรียน 2.5

คะแนนกำรประเมินตง้ั แต่ร้อยละ 60-64.99 ระดบั ผลกำรเรยี น 2.0

คะแนนกำรประเมินตง้ั แตร่ อ้ ยละ 55-59.99 ระดบั ผลกำรเรียน 1.5

คะแนนกำรประเมินตัง้ แตร่ ้อยละ 50-54.99 ระดบั ผลกำรเรียน 1.0

คะแนนกำรประเมินตำ่ กว่ำร้อยละ 49.99 ลงไป ระดบั ผลกำรเรียน 0

37

9. เครอ่ื งมือวดั ประเมิณผล

เคร่อื งมอื ลกั ษณะของข้อมูล
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบหลังเรยี น ใช้สอบวัดควำมรู้ ควำมเข้ำใจควำมสำมำรถทำง
ใบแบบฝกึ หัดระหวำ่ งเรยี น สติปัญญำพืน้ ฐำนของผู้เรยี นก่อนเรียน

ใบบนั ทึกพฤติกรรมกำรเรยี นและกำรทำงำน ใช้สอบวัดควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ควำมสำมำรถทำง
สตปิ ญั ญำของผู้เรยี นหลังเรียน
แบบประเมินผลงำนด้วยเกณฑ์ให้คะแนน
(scoring rubrics) เป็นแบบฝึกปฏิบัติเพื่อส่งเสริมกำรเรียนรู้ระหว่ำง
เรียนของผู้เรียน

ใช้สังเกตพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม คุณลักษณะ ทักษะ
กำรปฏิบัติงำนที่ผู้สังเกตได้กำหนดไว้โดยผู้ถูกสังเกต
รูต้ วั หรือไม่รู้ตัวก็ได้

เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในกำรประเมินคุณภำพผลงำน
กำรปฏิบัติงำน โดยมีคำอธิบำยคุณภำพของงำนในแต่
ระดับ หรือมีตัวช้ีวัดผลงำนในแต่ละส่วนแต่ระดับไว้
อย่ำงชัดเจน

10. แบบประเมนิ ใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรยี นหน่วยท่ี 2 ตัวแปร ประเภทข้อมูล และตัวดาเนินการ

รายการ เกณฑก์ ารให้
คะแนน
แบบประเมนิ ใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรียนที่ 2.1 เรื่อง ตัวแปร (Variables)
1. บอกความหมายของตัวแปรได้ 2
1
1.1 บอกควำมหมำยของตัวแปรได้พอสงั เขป 2
1.2 บอกควำมหมำยของตัวแปรไดอ้ ยำ่ งถูกตอ้ ง 2
2. อธิบายกฎการตัง้ ชือ่ ตัวแปรในภาษาซไี ด้ 1
2.1 อธบิ ำยกฎกำรตง้ั ช่ือตัวแปรในภำษำซไี ด้พอสังเขป 2
2.2 อธบิ ำยกฎกำรตัง้ ชอื่ ตัวแปรในภำษำซไี ด้ครบตำมกฎกำรตั้งช่อื ตัวแปร 2
3. ยกตัวอย่างการต้ังช่ือตัวแปรในภาษาซีไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 1
3.1 ยกตวั อย่ำงกำรต้งั ช่ือตัวแปรในภำษำซไี ดอ้ ย่ำงถกู ต้อง จำนวน 1 ตวั อย่ำง 2
3.1 ยกตวั อยำ่ งกำรต้งั ชื่อตัวแปรในภำษำซีได้อย่ำงถกู ต้อง มำกกว่ำ 2 ตัวอยำ่ งข้ึนไป 4
4. อธบิ ายกฎการตั้งชอ่ื ตัวแปรในภาษาซี ไดอ้ ยา่ งถูกต้องดงั นี้ 1
4.1 อธบิ ำยได้อยำ่ งถูกต้องระดบั พอใช้ 1-2 ข้อ 2
4.2 อธบิ ำยได้อยำ่ งไดถ้ ูกต้องระดับปำนกลำง 3-4 ขอ้ 3
4.3 อธบิ ำยได้อย่ำงไดถ้ ูกต้องระดับดี 5 -7 ข้อ 4
4.4 อธิบำยไดอ้ ย่ำงไดถ้ ูกต้องครบทุกข้อ 10

รวม

38

(ต่อ) แบบประเมนิ แบบฝกึ หัดระหวา่ งเรยี นหนว่ ยท่ี 2 ตัวแปร ประเภทขอ้ มูล และตัวดาเนนิ การ

รายการ เกณฑ์การให้
คะแนน

แบบประเมินใบแบบฝกึ หัดระหวา่ งเรียนที่ 2.2 เรื่อง ชนดิ ข้อมูล และการกาหนดข้อมูลให้กบั ตวั แปร

1. เลอื กชนดิ ข้อมูลใหก้ ับตวั แปรได้อย่างถูกต้อง 6

1.1 กำหนดชนิดขอ้ มลู ตวั อกั ษรให้กบั ตัวแปรได้อยำ่ งถูกต้อง 2

1.2 กำหนดชนดิ ขอ้ มลู เลขจำนวนเตม็ ให้กับตวั แปรได้อย่ำงถูกต้อง 2

1.3 กำหนดชนิดข้อมลู เลขจำนวนจริงให้กบั ตวั แปรได้อย่ำงถกู ต้อง 2

2. บอกความแตกต่างระหวา่ งตวั แปรและค่าคงทใ่ี นภาษาซีได้ 4

2.1 บอกควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งตัวแปรและคำ่ คงทใี่ นภำษำซีได้ พรอ้ มยกตัวอย่ำงได้ 1-2

ระดบั พอใช้

2.2 บอกควำมแตกต่ำงระหว่ำงตวั แปรและคำ่ คงทีใ่ นภำษำซี พร้อมยกตัวอย่ำงได้ 3-4

ระดับดี

รวม 10

แบบประเมินใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรียนที่ 2.3 เรื่อง นพิ จน์ และตวั ดาเนนิ การ

1. อธิบายรายละเอียดของชนิดตัวดาเนนิ การตา่ ง ๆ ในภาษาซีได้ 5

โจทย์ขอ้ ท่ี 1 2

1.1 แปลงสมกำรเป็นนพิ จนค์ ณติ ศำสตร์ได้ 1 ข้อ 1

1.2 แปลงสมกำรเป็นนพิ จนค์ ณติ ศำสตร์ถูกทกุ ข้อ 2

โจทย์ขอ้ ที่ 2 3

1.3 เขียนนพิ จนต์ ำมโจทย์ได้ 1 ข้อ 1

1.4 เขยี นนพิ จนต์ ำมโจทย์ได้ 2 ข้อ 2

1.5 เขียนนพิ จน์ตำมโจทย์ถกู ต้องครบทกุ ข้อ 3

2. บอกลาดับความสาคัญของตวั ดาเนินการได้ 3

โจทย์ขอ้ ท่ี 3

2.1 หำผลลพั ธ์ของนพิ จนไ์ ด้ถกู ต้องจำนวน 1 ข้อ 1

2.2 หำผลลัพธ์ของนิพจน์ไดถ้ ูกต้องจำนวน 2 ข้อ 2

2.2 หำผลลพั ธข์ องนพิ จนไ์ ด้ถูกต้องทุกข้อ 3

3. นาตัวดาเนนิ การชนิดต่าง ๆไปใช้งานกบั นิพจนไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2

โจทยข์ ้อที่ 4

3.1 หำผลลพั ธข์ องนิพจนไ์ ด้ถกู ต้องจำนวน 1 ข้อ 1

3.2 หำผลลพั ธข์ องนพิ จนไ์ ด้ถูกต้องมำกกว่ำ 2 ข้อ 3

รวม 10

คะแนนรวม 30

39

แบบทดสอบก่อนเรยี น

คาช้ีแจ้ง
1. แบบทดสอบฉบับนี้มีจำนวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลำ 20 นำที
2. แบบทดสอบนีเ้ ปน็ แบบเลือกตอบ
3. จงทำเครื่องหมำย x ลงในกระดำษคำตอบท่ีถกู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดยี ว

1. ช่อื ตวั แปรในภำษำซีข้อใดถูกต้อง
ก. variable_1
ข. 2varable
ค. variable 2
ง. variable!

2. ข้อใดต่อไปน้ี คอื ข้อห้ำมในกำรตั้งชอื่ ตวั แปรในภำษำซี
ก. ตวั เลข
ข. ตวั อักษร
ค. ตัวอกั ษรตำมดว้ ยตัวเลข
ง. ตวั อักษรตำมดว้ ยเครอื่ งหมำย _ (underscore)

3. ขอ้ ใดต่อไปนี้ กล่ำวถึง ตัวแปรและคำ่ คงที่ ไดถ้ ูกต้องท่ีสุด
ก. ข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรน้ันไม่สำมำรถเปล่ียนแปลงได้ แต่ ตัวแปรค่ำคงที่นั้นสำมำรถเปลี่ยนแปลง

ค่ำไดเ้ สมอระหว่ำงกำรประมวลผล
ข. ข้อมูลท่ีเก็บไว้ในตัวแปรและตัวแปรค่ำคงท่ีน้ันสำมำรถเปลี่ยนแปลงค่ำได้ตลอดกำรทำงำนของ

กำรประมวลผล
ค. ข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรนั้นสำมำรถเปล่ียนแปลงได้เสมอในระหว่ำงกำรประมวลผล แต่ตัวแปร

คำ่ คงทนี่ น้ั ไมส่ ำมำรถเปล่ียนแปลงได้
ง. ข้อมลู ทเ่ี กบ็ ไวใ้ นตวั แปรและตวั แปรค่ำคงท่ีนั้นไม่สำมำรถเปล่ยี นแปลงคำ่ ได้ตลอดกำรทำงำนของ

กำรประมวลผล
4. ชนดิ ขอ้ มลู แบบ char จะต้องอยู่ภำยในเครื่องหมำยใดต่อไปนี้

ก. “ ”
ข. /* */
ค. ‘ ’
ง. & &

40

5. หำกต้องกำรกำหนดตวั แปรท่เี อำไว้เก็บเลขจำนวนทศนิยม ไมเ่ กนิ 6 หลัก ควรกำหนดเป็นชนดิ ขอ้ มลู ใด
ก. int
ข. float
ค. long
ง. double

6. ขอ้ ใดบอกควำมหมำยของตัวแปรในภำษำซีไดถ้ กู ต้อง
ก. ตัวแปร สรำ้ งขนึ้ เพ่ือใช้เก็บขอ้ มลู และใช้งำนในโปรแกรม
ข. ตัวแปร ถูกนำไปใช้เพื่อกำรคำนวณทำงคณติ ศำสตรแ์ ละลอจิก
ค. ตวั แปร หมำยถึงชอ่ื ตวั แปรที่ตงั้ ข้ึนเพ่อื นำไปใช้ในกำรเขียนโปรแกรม
ง. ตวั แปร คือฟังก์ชนั ในภำษำซที ่ีสร้ำงข้นึ เพือ่ เกบ็ ข้อมูล

7. ประกำศตัวแปร int a = 3, b = 9, c = 12; อยำกทรำบว่ำ ผลลัพธ์ตำมข้อใดถูกต้อง จำกนิพจน์
((b/a)+12)%a

ก. 15
ข. 5
ค. 3
ง. 0
8. ประกำศตวั แปร int score = 80 จำกนิพจน์ (score >=80) && (score <=100) ผลลัพธต์ ำมข้อใดถกู ต้อง
ก. 0
ข. 1
ค. 3
ง. 4
9. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเก่ียวกบั ตัวดำเนนิ กำรเพิ่มคำ่ และลดค่ำทลี ะหนึง่
ก. ตวั ดำเนนิ กำรทง้ั สอง จัดเป็นตัวดำเนนิ กำรแบบเงื่อนไข
ข. a++ และ ++a มคี วำมหมำยเดยี วกับ a = a+1
ค. ใชเ้ พอ่ื กำรทดสอบค่ำนิพจน์ทำงตรรกะวำ่ จริงหรอื เทจ็
ง. เป็นตวั ดำเนินกำรเปรยี บเทียบคำ่
10. ข้อใดต่อไปนกี้ ล่ำวถูกตอ้ งเก่ียวชนิดขอ้ มลู integer
ก. ขอ้ มูลชนิดตัวอักษร
ข. ข้อมูลชนดิ เลขจำนวนเตม็
ค. ขอ้ มลู ชนดิ เลขจำนวนจรงิ
ง. ข้อมลู ชนดิ เลขจำนวนจริง 2 เทำ่

41

แบบทดสอบหลังเรียน

คาชี้แจง้
1. แบบทดสอบฉบบั น้ีมีจำนวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลำ 20 นำที
2. แบบทดสอบน้เี ป็นแบบเลอื กตอบ
3. จงทำเคร่ืองหมำย x ลงในกระดำษคำตอบท่ีถกู ต้องท่ีสุดเพยี งข้อเดียว

1. ข้อใดบอกควำมหมำยของตวั แปรในภำษำซไี ดถ้ กู ต้อง
ก. ตวั แปร สรำ้ งข้ึนเพื่อใช้เกบ็ ขอ้ มลู และใชง้ ำนในโปรแกรม
ข. ตวั แปร ถกู นำไปใช้เพื่อกำรคำนวณทำงคณิตศำสตร์และลอจิก
ค. ตัวแปร หมำยถึงชือ่ ตวั แปรทตี่ ้งั ขึน้ เพ่อื นำไปใชใ้ นกำรเขยี นโปรแกรม
ง. ตวั แปร คอื ฟงั ก์ชนั ในภำษำซที ส่ี รำ้ งขึน้ เพือ่ เกบ็ ข้อมูล

2. ประกำศตวั แปร int score = 80 จำกนพิ จน์ (score >=80) && (score <=100) ผลลพั ธต์ ำมข้อใดถกู ต้อง
ก. 4
ข. 3
ค. 2
ง. 1

3. ข้อใดกล่ำวถกู ต้องเกย่ี วกบั ตัวดำเนินกำรเพ่ิมคำ่ และลดค่ำทีละหนง่ึ
ก. ตัวดำเนนิ กำรท้งั สอง จัดเป็นตัวดำเนนิ กำรแบบเงื่อนไข
ข. a++ และ ++a มคี วำมหมำยเดียวกบั a = a+1
ค. ใช้เพือ่ กำรทดสอบคำ่ นิพจน์ทำงตรรกะวำ่ จรงิ หรือเทจ็
ง. เป็นตัวดำเนนิ กำรเปรียบเทียบคำ่

4. ข้อใดต่อไปนี้ กลำ่ วถงึ ตัวแปรและค่ำคงท่ี ได้ถูกต้องที่สุด
ก. ข้อมลู ทเ่ี กบ็ ไว้ในตัวแปรน้ันไม่สำมำรถเปล่ยี นแปลงได้ แต่ตัวแปรคำ่ คงทน่ี น้ั สำมำรถเปล่ียนแปลง

คำ่ ไดเ้ สมอระหวำ่ งกำรประมวลผล
ข. ข้อมูลทเี่ ก็บไว้ในตวั แปรและตวั แปรค่ำคงทน่ี ัน้ สำมำรถเปล่ยี นแปลงคำ่ ได้ตลอดกำรทำงำนของ

กำรประมวลผล
ค. ขอ้ มลู ทเี่ กบ็ ไว้ในตัวแปรน้นั สำมำรถเปล่ียนแปลงได้เสมอในระหว่ำงกำรประมวลผล แต่ตวั แปร

ค่ำคงทน่ี นั้ ไม่สำมำรถเปลย่ี นแปลงได้
ง. ข้อมลู ทเี่ ก็บไว้ในตวั แปรและตัวแปรค่ำคงท่ีน้นั ไม่สำมำรถเปลีย่ นแปลงค่ำไดต้ ลอดกำรทำงำนของ

กำรประมวลผล

42

5. ขอ้ ใดต่อไปนี้ คอื ข้อหำ้ มในกำรตั้งช่อื ตัวแปรในภำษำซี
ก. ตวั อกั ษรตำมด้วยเครื่องหมำย _ (underscore)
ข. ตวั อักษรตำมดว้ ยตัวเลข
ค. ตัวอกั ษร
ง. ตวั เลข

6. หำกต้องกำรกำหนดตวั แปรท่เี อำไว้เก็บเลขจำนวนทศนิยม ไม่เกนิ 6 หลกั ควรกำหนดเป็นชนดิ ขอ้ มูลใด
ก. float
ข. long
ค. int
ง. double

7. ข้อใดต่อไปนี้กลำ่ วถกู ต้องเก่ียวชนิดข้อมลู integer
ก. ขอ้ มลู ชนิดตัวอักษร
ข. ข้อมลู ชนิดเลขจำนวนเตม็
ค. ขอ้ มูลชนดิ เลขจำนวนจรงิ
ง. ขอ้ มูลชนดิ เลขจำนวนจริง 2 เท่ำ

8. ชื่อตวั แปรในภำษำซขี ้อใดถกู ต้อง
ก. variable_1
ข. variable 2
ค. 2varable
ง. variable!

9. ประกำศตัวแปร int a = 3, b = 9, c = 12; อยำกทรำบว่ำ ผลลัพธ์ตำมข้อใดถูกต้อง จำกนิพจน์
((b/a)+12)%a

ก. 0
ข. 3
ค. 5
ง. 15
10. ชนิดขอ้ มูลแบบ char จะต้องอยภู่ ำยในเคร่ืองหมำยใดต่อไปนี้
ก. “ ”
ข. & &
ค. ‘ ’
ง. /* */

43

กระดาษคาตอบ แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หนว่ ยที่ 2 เร่ือง ตัวแปร ประเภทข้อมูล และตวั ดาเนนิ การ
รหสั นักศึกษา.....................................ช่อื – นามสกลุ .................................................ระดบั .............กลมุ่ ......

แบบทดสอบก่อนเรยี น

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก์ ารประเมนิ

คะแนน ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมิน

8-10 ดมี ำก ระดบั คุณภาพ คือ
5-7 พอใช้
0-4 ปรบั ปรุง o ดีมำก
o พอใช้
คะแนนเต็ม 10 คะแนน o ปรบั ปรงุ
คะแนนทีไ่ ด้ คือ...........

44

กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรยี น
หนว่ ยที่ 2 เร่ือง ตัวแปร ประเภทข้อมูล และตวั ดาเนนิ การ
รหสั นักศึกษา.....................................ชอ่ื – นามสกลุ .................................................ระดบั .............กลมุ่ ......

แบบทดสอบหลังเรยี น

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก์ ารประเมนิ

คะแนน ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมิน

8-10 ดมี ำก ระดบั คุณภาพ คือ
5-7 พอใช้
0-4 ปรบั ปรุง o ดีมำก
o พอใช้
คะแนนเต็ม 10 คะแนน o ปรบั ปรงุ
คะแนนทไ่ี ด้ คือ...........

45

เฉลยคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรยี น
หน่วยท่ี 2 เรือ่ ง ตัวแปร ประเภทขอ้ มูล และตวั ดาเนินการ

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน

ขอ้ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10  10 

46

ใบบนั ทึกผลคะแนน
แบบฝกึ หดั ระหว่างเรียนหน่วยท่ี 2 ตัวแปร ประเภทข้อมูล นิพนจแ์ ละตัวดาเนินการ
ระดบั ช้นั ................. กล่มุ ....................... แผนกวชิ า..................................................

ลาดับ รหสั นกั ศกึ ษา ชื่อ-สกุล แบบ ึฝกหัดระห ่วางเ ีรยนท่ี 2.1
ที่ แบบ ึฝกหัดระห ่วางเ ีรยนที่ 2.2
แบบ ึฝกหัดระห ่วางเ ีรยนท่ี 2.3
คะแนนรวม

10 10 10 30

ลงชือ่ .....................................................ครผู ู้สอน
(นำยพงศธร บำรงุ บำ้ น)

47

ใบบันทึกผลคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรยี น
หน่วยที่ 2 เรื่อง ตวั แปร ประเภทข้อมลู และตัวดาเนินการ

ระดบั ชน้ั ................. กล่มุ ....................... แผนกวิชา..................................................

ลาดบั คะแนน คะแนน ผลการ
ที่
รหัสนกั ศกึ ษา ชอื่ -สกุล กอ่ นเรยี น หลังเรยี น ประเมนิ

(10 คะแนน) (10 คะแนน) (ผา่ น/ไมผ่ า่ น)

รวม
รวมเฉลย่ี
เฉล่ียร้อยละ

เกณฑก์ ารประเมินกอ่ นเรยี น

คะแนน ระดบั คุณภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดับคณุ ภาพ คอื
คะแนนท่ีได.้ ..................
8-10 ดีมำก o ดีมำก
5-7 พอใช้ o พอใช้
0-4 ปรับปรุง o ปรับปรงุ

ลงชอื่ .....................................................ครผู สู้ อน
(นำยพงศธร บำรุงบ้ำน)


Click to View FlipBook Version