หนังสือมาลยั สตู ร พ.ศ. ๒๔๐๕
(ฉบบั นายจนั และครอบครวั สรา้ งถวายไว้ในพระพทุ ธศาสนา)
ปรวิ รรตโดย
นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าภาษาไทย รหสั ๖๒ กลมุ่ ๑-๒
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม
ตรวจสอบและอธิบายศพั ทโ์ ดย
(สว่ นอักษรขอม-ไทย)
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ภัครพล แสงเงิน ศศ.ม.วรรณคดไี ทย
(ส่วนอักษรขอม-บาลี)
พระมหากวีศกั ด์ิ ญาณกวิ (วาปีกุลเศรษฐ)์ ป.ธ.๙
ศศ.ม.จารกึ ภาษาไทยและภาษาตะวันออก
หนงั สือนเ้ี ป็นสว่ นหนึง่ ของโครงการรกั ษ์ลาน งบประมาณปี ๒๕๖๖
สำนกั ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบลู สงครามและ
บรู ณาการกบั รายวชิ าวรรณกรรมท้องถ่นิ พิษณโุ ลก THAI246
หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย
ประจำภาคการศึกษาท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม
คำนำ
หนังสือมาลัยสูตรฉบับน้ีเอกสารต้นฉบับสมุดไทยขาว บันทึกด้วย
หมึกดำ อักษรขอม ภาษาบาลีและภาษาไทย มีจำนวนท้ังสิ้น ๑๙๔
หน้าสมุดไทย มีภาพจิตรกรรมเกี่ยวเน่ืองกับเรื่องราวของพระมาลัยและ
ทศชาติชาดก สร้างโดยนายจันและครอบครัว ถวายแด่พระพุทธศาสนาเมื่อ
พ.ศ. ๒๔๐๕ โดยต้นฉบับเก็บรักษาไวท้ ี่หอ้ งสืบค้นภูมิปัญญา ส่วนนทิ รรศการ
ชน้ั ๒ สำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชพิบูลสงคราม มเี นอ้ื หาว่า
ด้วยพระมาลัย พระอรหันต์ผู้มีฤทธิ์สามารถเสด็จไปนรกและสวรรค์
เพื่อนำข่าวสารมาบอกแก่มนุษย์ในชมพูทวีป ข้าพเจ้าขอกราบขอบพระคุณ
สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ท่ีมอบโอกาสสำคัญให้ข้าพเจ้าได้ศึกษาเอกสาร
โบราณนีอ้ นั เปน็ มรดกทางภูมิปญั ญาสำคญั ของชาวพษิ ณุโลกในอดีต ขอกราบ
ขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี
ภาพปกทั้งหน้าและหลัง ท่ีท่านทัศนาการอยู่นี้นำมาจากในหนังสือ
มาลัยสูตรฉบับน้ี โดยภาพหน้าปกนั้นเป็นตอนที่พระมาลัย (ซ้าย) ปุจฉา
พระอินทร์ถงึ บุพกรรมของเทวดาองค์ต่าง ๆ ที่มากราบไหวพ้ ระจุฬามณีเจดยี ์
ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ระหว่างรอการเสด็จมาของพระศรีอาริยเมตไตรย
เทพบุตร (สันดุสิตเทวราชองค์ปัจจุบัน) ส่วนภาพปกหลังน้ันเป็นภาพ
ชายยากจนเข็ญใจเก็บดอกบัวจำนวน ๘ ดอก ถวายพระมาลัยแล้วอธษิ ฐาน
ว่า ขอให้เกิดภพชาติใดก็ตาม คำว่า “ไม่มี” จงอย่าปรากฏแก่ตน ในตอนนี้
ช่วยยืนยันคำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ว่า “เจตนาหํ ภิกฺขเว
กมฺมํ วทามิ” เจตนาน่นั แลเป็นกรรม และความสมบูรณ์ของทาน ๓ ประการ
คือ
ข
๑. วัตถบุ รสิ ทุ ธิ์ วัตถุท่ีไดม้ าไมไ่ ดเ้ บียดเบียนตนเองและผอู้ ่นื
๒. เจตนาบรสิ ุทธ์ิ ผ้ใู หท้ านมคี วามต้ังใจด้วยศรทั ธาจริง
๓. บคุ คลบรสิ ทุ ธ์ิ ทง้ั ผ้ใู ห้ทานและผรู้ บั ทานมศี ลี บรสิ ุทธิ์
ดังน้ันการถวายทานที่มีมูลค่าน้อย แต่ต้ังใจด้วยศรัทธาเต็มเป่ียม
และได้ถวายในเขตที่มีอานิสงส์มาก คือ ถวายแด่พระอริยสงฆ์ ซ่ึงเป็น
เนื้อนาบุญในพระพุทธศาสนา (ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺสาติ) แม้นเพียงครั้งเดียว
ในชีวิต อานิสงส์แห่งทานนั้นย่อมมีผลมาก พาให้ชายยากจนผู้นั้นไปเสวย
ทิพยสมบตั ิยงั ดาวดงึ สเทวโลก เป็นเทวดามีรศั มงี ดงามเป็นอย่างย่ิง
ด้วยรายวิชาวรรณกรรมท้องถ่ินพิษณุโลก หลักสูตรศิลปศาสตร
บัณฑิต (ภาษาไทย) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏพิบูลสงคราม มุ่งผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติสร้างสรรค์เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมสู่สังคม ตามปรัชญาของมหาวิทยาลัย โดยมีความมุ่งหวังท่ีจะนำ
วรรณกรรมท้องถิ่นของจังหวัดพิษณุโลกปริวรรตและเผยแพร่องค์ความรู้ใน
รูปแบบของหนังสือโดยเฉพาะหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) ต่อผู้สนใจ
ท่ัวไป อีกทั้งรายวิชายังบูรณาการกับโครงการรักษ์ลาน โครงการในความ
รบั ผิดชอบของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ เพ่ือ
เป็นการผสานองค์ความรู้ท่ีสำคัญต่าง ๆ ทั้งการอนุรักษ์เอกสารโบราณและ
เผยแพร่องค์ความรู้จากเอกสารโบราณสู่สังคมในรูปแบบของนวัตกรรมเพื่อ
เป็นการสืบสาน รักษาองค์ความรู้ของบรรพชนไทยมิให้เส่ือมสูญไปตาม
กาลเวลา
หนงั สอื มาลัยสูตรฉบับนี้เป็นหนังสือมาลัยสูตรฉบับท่ี ๒ ท่ีขา้ พเจ้า
เป็นผู้สอนรายวิชาวรรณกรรมท้องถ่ินพิษณุโลก ได้มอบหมายให้นักศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ช้ันปีท่ี ๔ รหัส ๖ ๒
กลุ่ม ๑-๒ เป็นงานประจำรายวิชาโดยมุ่งให้นักศึกษาเน้นปริวรรตเอกสาร
ค
โบราณประจำท้องถิ่นพิษณโุ ลกเป็นสำคัญ (ตามจดุ มงุ่ หมายของรายวิชา) อีก
ทั้งยังได้รับความร่วมมือสำคัญจากคุณเบญจพร บุญศิริรุ่งเรือง นักวชิ าการ
ศึกษาจากสำนักศิลปะและวัฒนธรรมฯ ท่ีคอยให้ความช่วยเหลือข้าพเจ้า
ผู้สอนท้ังการบรรยายความรู้ในเรื่องการอนุรักษ์เอกสารโบราณแก่นักศึกษา
ประสานงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ให้ความช่วยเหลือในเร่ืองการ
จัดรูปแบบหนังสือ เอกสาร รูปภาพ หรืออ่ืนใดก็มิสามารถพรรณนาได้
หมดส้ิน ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณในมิตรไมตรีของคุณเบญจพร ผู้เป็น
กลั ยาณมิตรของข้าพเจ้าอย่างสมำ่ เสมอมา ณ โอกาสนี้
หลังจากที่นักศึกษาได้ปริวรรตหนังสือมาลัยสูตรจากอักษรขอม
ภาษาบาลีและไทยในเบ้ืองต้นแล้ว ข้าพเจ้านำเน้ือหาดังกล่าวมาตรวจสอบ
อีกค รั้ง โด ยส่วน ที่ เป็ น อักษ รขอม -บ าลี ข้าพ เจ้ากราบ อาราธน า
พระมหากวีศักดิ์ ญาณกวิ (วาปีกุลเศรษฐ์) ป.ธ.๙ ศศ.ม.จารึกภาษาไทย
และภาษาตะวันออก ผู้เช่ียวชาญด้านจารึกโบราณ นักวิชาการอิสระแห่ง
วัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร เป็นผู้ตรวจสอบเน้อื หาและจัดทำคำอธบิ าย
เพิ่มเตมิ ขา้ พเจา้ ขอกราบนมัสการขอบพระคุณยิ่งมา ณ โอกาสน้ี ในส่วนของ
อักษรขอม-ภาษาไทย ข้าพเจ้าเป็นผู้ตรวจสอบ โดยมุ่งหวังให้หนังสือน้ีเป็น
ห นั งสื อ อ่ าน ป ร ะ ก อ บ (เล่ ม ท่ี ๒ ) ส ำห รับ ก าร เรีย น ท้ั งราย วิช า
วรรณกรรมท้องถิ่นพิษณุโลก THAI246 และวรรณกรรมเอกของไทย
THAI242 อันเป็นวิชาในความรบั ผิดชอบของข้าพเจ้าของการสอนนักศึกษา
ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ท้ังน้ีข้าพเจ้านำภาพต้นฉบับแทรกไว้ที่
ภาคผนวก (จัดทำโดยคุณเบญจพร) เพื่อให้ผู้สนใจได้ศึกษาที่ต้นฉบับได้อีก
ด้วย โดยข้าพเจ้า “ตระหนัก” ถึงองค์ความรู้ท้องถิ่นเป็นสำคัญ เมื่อได้รับ
ง
ความรู้เหล่าน้ันตอ้ งสนองคืนสูท่ ้องถน่ิ ให้ได้ อนั เป็นจดุ มุ่งหมายสงู สุดในชวี ิต
การทำงานของข้าพเจา้
ข้าพเจ้าเขียนบทความเพื่อประกอบความเข้าใจในการอ่านหนังสือ
มาลัยสูตรเล่มน้ี คือ จิตรกรรมทศชาติชาดกและพระมาลัยในหนังสือ
มาลัยสูตร พ.ศ. ๒๔๐๕ เอกสารจากสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม และส่วนภาษาบาลีน้ัน พระมหากวีศักด์ิ
ญาณกวิ ได้เขียนบทความเรื่อง ข้อสังเกตบางประการในการปริวรรตส่วน
ภาษาบาลีของหนังสือมาลัยสูตร พ.ศ. ๒๔๐๕ ข้าพเจ้าต้องขอกราบ
ขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้
ผลบุญหรือประโยชน์อันใดจักเกิดขึ้นจากหนังสือเล่มนี้ ขอผลบุญ
น้ันจงไปถึงแด่นายจันและครอบครัว ผู้เป็นเจ้าของหนังสือมาลัยสูตรฉบับน้ี
ขอให้ท่านท้ังสองจงสำเร็จมโนรถปรารถนาตามท่ีท่านประสงค์ (ดังปรากฏ
คำอธิษฐานในหน้าสุดท้าย) และขอให้ข้าพเจ้า คณะนักศึกษาและผู้มีส่วนใน
ก า ร ป ริ วรรต ห นั งสื อ ม าลั ยสู ต รฉบั บ น้ี ได้ พ บ แ ล ะฟั งธรรม จาก
พระศรีอาริยเมตไตรยท่ีจะเสด็จลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาล
จนสามารถดับเพลิงกิเลสได้หมดส้ินเข้าสู่ดินแดนอันเปน็ นิจนิรนั ดร์มหานคร
นิพพานดว้ ยเทอญ
ภคั รพล แสงเงิน
ธนั วาคม ๒๕๖๕
สารบญั หนา้
คำนำ ๑
๑๕
จิ ต ร ก ร ร ม ท ศ ช า ติ ช า ด ก แ ล ะ ๒๒
พระมาลัยในหนังสือมาลัยสูตร พ.ศ. ๑๓๑
๒๔๐๕ เอกสารจากสำนักศิลปะและ ๑๔๑
วัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพิบูล
สงคราม
ขอ้ สังเกตบางประการในการปริวรรต
ส่วนภาษาบาลีของหนังสือมาลัยสูตร
พ.ศ. ๒๔๐๕
หนงั สือมาลัยสตู ร พ.ศ. ๒๔๐๕
ฉบับปรวิ รรต
ประวัตแิ ละผลงานผตู้ รวจสอบ
การปริวรรตหนงั สือมาลยั สูตร
พ.ศ. ๒๔๐๕
ภาคผนวก
บทความนำเรอ่ื ง
จิตรกรรมทศชาตชิ าดกและพระมาลยั ในหนงั สอื มาลยั สตู ร
พ.ศ. ๒๔๐๕ เอกสารจากสำนักศลิ ปะและวัฒนธรรม
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม๑
ภคั รพล แสงเงนิ
เอกสารต้นฉบบั มาลยั สตู ร พระมาลยั (ซ้าย) สนทนากับพระอนิ ทร์ (ขวา)
หน้าพระจุฬามณเี จดยี ์ สวรรคช์ ้ันดาวดงึ ส์
ท่ีมา: หนังสอื มาลยั สตู รฉบับนายจันและครอบครวั (๒๔๐๕)
๑ ปรับปรุงบางส่วนจากบทความเรื่อง “หนังสือมาลัยสูตร เอกสารจากสำนัก
ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม” ตีพิมพ์คร้ังแรกในวารสาร
อักษราพิบูล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีท่ี
๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๓) หนา้ ๑-๖ และบทความเร่ือง “จติ รกรรมทศชาติ
ชาดกจากหนังสือมาลัยสูตรฉบับวัดราชบูรณะ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก”
ตพี ิมพ์คร้ังแรกในวารสารอักษราพบิ ูล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภฏั พบิ ลู สงคราม ปีที่ ๑ ฉบับท่ี ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓) หน้า ๑-๗
๒
ท่มี าของเอกสาร
ภาพทท่ี ่านไดท้ ัศนาอยู่นเ้ี ป็นภาพจติ รกรรมเร่ืองมาลัยสูตร เอกสาร
ที่จัดแสดงอยู่ในห้องสืบค้นภูมิปัญญา ส่วนนิทรรศการชั้น ๒ อาคารสำนัก
ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก
โดยจัดอยู่ในหมวดหมู่วรรณกรรมพุทธศาสนา เอกสารเลขท่ี พส.ข.๐๑๙๕
ถือเป็นหนังสือมาลัยสูตรท่ีมีความสมบูรณ์มากท่ีสุดฉบับหนึ่งในจำนวน
ห นั งสื อ ม า ลั ย สู ต ร ห ล า ย ฉ บั บ ข อ งเอ ก ส า ร โบ ร าณ จ าก ส ำ นั ก ศิ ล ป ะ แ ล ะ
วัฒนธรรมฯ โดยท่ีมาของเอกสารเหล่านี้ต้องย้อนไปเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๕-
๒๕๒๖ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพจน์ พฤกษะวนั ผู้อำนวยการสำนักศิลปะ
และวัฒนธรรมในสมัยน้ัน ท่ีรังสรรค์โครงการอันล้ำค่ายิ่งต่อการอนุรักษ์
เอกสารโบราณ ภูมิปัญญาท้องถ่ินของภูมิภาคภาคเหนือตอนล่าง คือ
โครงการสำรวจสมุดข่อยใบลาน จังหวัดพิษณุโลก โดยโครงการน้ีมี
จดุ มุ่งหมายสำคญั คือ
การนำเอกสารโบราณในแถบท้องถนิ่ ภาคเหนอื ตอนล่างมารวบรวม
ไว้และทำสำเนาไมโครฟิล์ม เพื่ออนุรักษ์ของเก่าแก่เหล่านี้ไว้ไม่ให้
สูญสลายไปตามกาลเวลา โดยมีเกณฑ์การคัดเลือก คือ ต้องมีอายุ
อย่างต่ำ ๕๐ ปี เน้ือหาไม่ซ้ำซ้อนกันและมีความสมบูรณ์พอที่จะ
นำมาศึกษาได้ โดยคัดเลือกเอกสารโบราณจำนวน ๙๖๑ ชิ้นมาทำ
สำเนาไมโครฟิล์ม โดยเอกสารเหล่านี้ แบ่งออกเป็นหมวดต่างๆ
เช่น หมวดพุทธศาสนา นิทานพ้ืนบ้าน กฎ หมายโบ ราณ
จรยิ ศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ โหราศาสตร์ เปน็ ตน้
(สพุ จน์ พฤกษะวัน, ๒๕๒๖ : น.๑-๒)
หนังสือมาลัยสูตรเล่มน้ี เป็นเอกสารโบราณที่บันทึกลงในสมุดไทย
ขาว บันทึกด้วยอักษรขอม ภาษาบาลีและไทย ปรากฏชื่อผู้แต่งคือ
๓
“นายจัน (สาม)ี นางขำ (ภรรยา) (และครอบครวั )” เขียนถวายในพระศาสนา
โดยระบุวันท่ีเขียนสำเร็จเม่ือ “๏ ศุภมัสดุพระพุทธศักราชลว่ งแล้วได้ ๒๔๐๕
พระวัสสาสังขยาเดือนล่วงได้ ๒ เดือน วันล่วง ๑๐ วัน สำเร็จแล้วในวัน
อังคารเดือน ๘ แรม ๑๑ ค่ำ บ่าย ๓ โมง” ซึ่งตรงกับวันอังคารท่ี ๒๒
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๐๕
โดยทั้งผู้แต่งปรารถนาสรา้ งหนังสือเล่มนี้ไว้ในพระพุทธศาสนาเพื่อ
ขอให้เกิดทันยุคพระศรอี าริยเมตไตรย พระพุทธเจ้าองค์ท่ี ๕ ท่ีจะมาตรสั รู้ใน
อนาคตกาล โดยมีเน้ือหาเกี่ยวกับพระสัตปกรณาภิธรรม (พระธรรม
๗ คัมภรี ์) บทสวดที่มักนยิ มสวดในงานศพ โดยหมวดพระธรรมจะบันทึกด้วย
อักษรขอม ภาษาบาลี เน่ืองจากในสมัย พ.ศ. ๒๔๐๕ ซ่ึงตรงกับสมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การบันทึกภาษาบาลีนิยมใช้อักษร
ขอมเน่ืองจากคนไทยสมัยนั้นยังคุ้นชินกับอักษรขอม ซ่ึงถือว่าเป็นอักษร
ศักด์ิสิทธ์ิในทางพระพุทธศาสนา ในส่วนเน้ือหาท่ีเป็นเรื่องราวของพระมาลัย
ใช้อักษรขอม ภาษาไทย ในการบันทึกเนื้อหา โดยเรื่องพระมาลัยมักนิยมใช้
คำประพนั ธ์ประเภทกาพยช์ นดิ ตา่ งๆ คือ ยานี ๑๑ ฉบัง ๑๖ และสรุ างคนางค์
๒๘ เพ่ือใช้ในการสวด หรือเป็นท่ีรู้จักในช่ือว่า “กลอนสวด” โดยสมัยโบราณ
มกั สวดในงานแต่งงานเพื่อให้บ่าวสาวมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาป ต่อมา
นยิ มสวดในงานศพ ซงึ่ ประพฤตกิ นั เป็นประเพณีทเ่ี ราเรยี กวา่ “สวดมาลัย”
เน้อื หาหลักของมาลยั สตู ร
เร่ืองพระมาลัยเป็นเรื่องเก่ียวกับพระพุทธศาสนาที่กล่าวถึงประวตั ิ
ของพระมาลัย อันมีท่ีมาจากมาเลยยเถระวัตถุของอินเดีย พระมาลัยเป็น
พระอรหันต์ทรงฤทธานภุ าพประดุจพระโมคคัลลานะ อคั รสาวกเบือ้ งซา้ ยของ
พระพุทธเจ้า พระมาลยั เปน็ ชาวลังกาทวีป เปน็ พระอรหนั ต์ด้านฤทธ์ิ สามารถ
๔
เหาะเหินไปยังนรกหรือสวรรค์เพื่อนำข่าวสารกลับมาบอกแก่ญาติในเมือง
มนุษย์ เรื่องพระมาลัยมีความสัมพันธ์กับคติพระศรีอาริย เมตไตรย
พระพุทธเจ้าองค์ท่ี ๕ ที่จะมาตรัสรู้ต่อจากพระพุทธเจ้าโคดม เนื่องจากเมื่อ
พระมาลัยรับดอกบัว ๘ ดอกจากชายยากจนแล้ว พระมาลัยก็เสด็จไปยัง
สวรรคช์ ้ันดาวดึงส์เพ่ือนมัสการพระจฬุ ามณีเจดยี ์ (เจดยี ์สำคัญบรรจพุ ระโมลี
(ผม) และพระเขี้ยวแก้วเบื้องขวาของพระพุทธเจา้ ) และสนทนากับพระอินทร์
พระมาลยั รบั ดอกบวั ๘ ดอกจากชายยากจนเข็ญใจ
ทมี่ า: หนังสือมาลยั สูตรฉบับนายจนั และและครอบครัว (๒๔๐๕)
๕
ก า ร ส น ท น ากั บ พ ร ะ อิ น ท ร์ นั้ น เป็ น ไป ใน รู ป แ บ บ ปุ จ ฉ า -วิ สั ช น า
ซักถามบุพกรรมของเทวดาต่าง ๆ ที่มานมัสการพระจุฬามณีเจดีย์จนกระทั่ง
สันดุสิตเทวราช คือ พระศรีอาริยเมตไตรยเสด็จมาพร้อมด้วยเทวดาบริวาร
จำนวนมากมาย พระมาลัยจึงได้สนทนากับพระศรีอาริยเมตไตรยเทพบุตร
โดยบอกความประสงค์ของชาวชมพูทวีปท่ีต้องการไปเกิดในยุคของพระองค์
โดยพระศรีอาริยเมตไตรยก็แจ้งความทุกประการถึงวิธีที่จะทำให้ไปเกิดใน
ยุคของพระองค์ได้ เช่น การรักษาศีล เจริญภาวนา หรือฟังคาถาพัน (เทศน์
มหาชาติ) จบภายในวันเดียว เป็นต้น
พระศรอี ารยิ เมตไตรยเทพบตุ ร
ที่มา: หนงั สือมาลัยสตู รฉบบั นายจันและและครอบครัว (๒๔๐๕)
๖
นอกจากน้ัน พระศรีอาริยเมตไตรยเทพบุตรยังไดก้ ล่าวว่า ต่อไปใน
ภายหนา้ เมอื่ ศาสนาของพระพุทธเจา้ องคป์ จั จุบนั คือ
ศาสนาของพระสมณโคดมมีอายุครบ ๕,๐๐๐ ปี จะเกิดเหตุการณ์
ที่เรียกว่า สัตถันตรกัลป์ ผู้คนอายุขัย ๑๐ ปี จะมิรู้จักบุญบาป
ฆ่าฟันกันนองเลือดไปทั่วท้ังแผ่นดินตลอด ๗ วัน ผู้คนที่รอดตาย
จากเหตุการณ์น้จี ะพากนั บำเพญ็ กศุ ล จนลกู หลานอายขุ ยั จำเริญขนึ้
ไปถึงอสงไขย (นับไม่ได้) และลดลงมาเหลือ ๘๐,๐๐๐ ปี ณ บัดนั้น
จ ะ ถึ ง ก า ล ข อ ง พ ร ะ ศ รี อ า ริ ย เม ต ไ ต ร ย เท พ บุ ต ร ม า ต รั ส รู้ เป็ น
พระสัมมาสัมพุทธเจา้ (ภคั รพล แสงเงนิ , ๒๕๕๙ : น.๕)
เหตุการณ์สัตถันตรกลั ป์ พ.ศ. ๕๐๐๐ มนุษย์ในชมพูทวีปฆา่ ฟันกันเป็นเวลา ๗ วนั
ที่มา: หนงั สือมาลยั สตู รฉบับนายจันและและครอบครัว (๒๔๐๕)
๗
คติพระศรีอารยิ เมตไตรยยังถูกถ่ายทอดเร่อื งราวลงในหนังสือมาลยั สตู ร
นับได้ว่าวรรณกรรมเร่ืองพระมาลัยยังเป็นท่ีศรัทธาของคนในสมัยโบราณใน
ดินแดนภาคเหนือตอนล่างของไทย เรื่องพระมาลัยเป็นภาพสะท้อนแห่ง
กุศโลบายของคนโบราณท่ีชี้ให้เห็นโทษของบาปท่ีทำไว้ตอนเป็นมนุษย์ผ่าน
ตวั ละคร “สตั ว์นรก” และผลแห่งกุศลทีส่ รา้ งไวต้ อนเปน็ มนษุ ย์ก็จะไดไ้ ปเสวย
บุญในฉกามาพจรสวรรค์ในรูปแบบของ “เทวดา” และหากผู้ใดปรารถนาท่ี
จะไปเกดิ ในยุคของพระศรีอาริยเมตไตรยกใ็ หเ้ รง่ สรา้ งกศุ ล งดเว้นจากบาปท้ัง
ปวงกจ็ ะได้ไปนิพพานในยุคของพระศรีอาริยเมตไตรย ซ่ึงเห็นได้อยา่ งชัดเจน
จากคำอธษิ ฐานของนายจันและครอบครัว ท่สี รา้ ง “หนงั สือมาลัยสตู ร” ถวาย
ในพระศาสนาที่ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้าเพื่อเข้าสู่กระแสพระนิพพาน
ดนิ แดนเป้าหมายสูงสดุ ของคติทางพระพทุ ธศาสนานนั่ เอง
เนื้อหาหลักของทศชาตชิ าดก
ทศชาติชาดก หมายถึง เรื่องราวในอดีตของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
องคป์ ัจจุบนั คือ พระศรศี ากยมุนีโคดม พระพุทธเจ้าองค์ท่ี ๔ แห่งภัทรกัลป์นี้
ชาดก หมายถึง เรื่องราวของการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์โคดมต้ังแต่
อดีตชาติจนพระบารมีมาเต็มเปี่ยมในชาติสุดท้าย คือ เวสสันดรชาดก
โดยทศชาติชาดก ประกอบไปด้วย ๑๐ ชาติควบคู่ไปกับการบำเพ็ญบารมีที่
โดดเด่นในคุณธรรมบารมี ๓๐ ทศั ๒ คือ
๒ บารมี ๓๐ ทัศ หมายถึง คุณธรรมอันบำเพ็ญแล้วเพ่ือความเป็นพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าประกอบไปด้วยการบำเพ็ญบารมีขั้นต้น กลางและสูง ท้ัง ๑๐ ข้อ คือ
ทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมมบารมี ปัญญาบารมี วิริยบารมี ขันติบารมี สัจจบารมี
อธิษฐานบารมี เมตตาบารมีและอุเบกขาบารมี (พระพรหมคุณาภรณ์, ๒๕๕๑ : ๑๘๐-
๑๘๑)
๘
๑. เตมียชาดก พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเตมยี ์ (เนกขมั มะ)
๒. มหาชนกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระมหาชนก
(วริ ยิ ะ)
๓. สุวรรณสามชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระสุวรรณ
สาม (เมตตา)
๔. เนมิราชชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าเนมิราช
(อธษิ ฐาน)
๕. มโหสถชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระมโหสถ
(ปญั ญา)
๖. ภูริทัตตชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพญานาคภูริทัต
(ศีล)
๗. จันทกมุ ารชาดกพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระจันทกุมาร
(ขนั ติ)
๘. พรหมนารทชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพรหมนารท
(อุเบกขา)
๙. วิธุรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระวิธุรบัณฑิต
(สัจจะ)
๑๐. เวสสันดรชาดก พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเป็นพระเวสสนั ดร
(ทาน)
โดยมักจะมีคาถาย่อเพื่อเรียกพระชาติท้ัง ๑๐ อย่างง่ายต่อ
การจดจำว่า “เต ช สุ เน ม ภู จ นา วิ เว” ซ่ึงภาพจิตรกรรมทศชาติชาดก
มักเป็นท่ีนิยมในการบันทึกร่วมกันกับเอกสารทางพระพุทธศาสนาหรือ
ปรากฏตามจิตรกรรมฝาผนัง เน่ืองจากเป็นเรื่องราวในอดีตของการบำเพ็ญ
๙
บารมีของพระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าในอดีตว่ามีความยากลำบากเพียงใด
กว่าจะได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ๑๐ ชาตินี้เป็นเพียงแค่
พระชาติแบบย่อเพ่ือให้พุทธศาสนิกชนเข้าใจถึงความเป็นมาของพระศาสดา
แตแ่ ท้จรงิ แล้วการบำเพ็ญบารมีเพอ่ื เป็นพระพทุ ธเจ้านั้นมิสามารถนับจำนวน
ชาติได้เลย เนื่องจากต้องใช้เวลาเป็นจำนวนมากที่ไม่สามารถนับได้ คือ
จำนวนอสงไขย โดยในพระมาลัยคำหลวง พระนิพนธ์ในเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์
(กรมศิลปากร เล่ม ๓, ๒๕๔๕ : ๑๖๑) ได้กล่าวถึงประเภทของพระสัมมา
สัมพุทธเจ้า วา่
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประเภท “ปัญญาธิกะ” บำเพ็ญบารมีโดยใช้
ปัญญานำ ใช้เวลาในการบำเพ็ญบารมี ๔ อสงไขย กำไรแสนมหากลั ป์
พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ประเภท “ศรัทธาธิกะ” บำเพ็ญบารมีโดยใช้
ศรทั ธานำ ใช้เวลาในการบำเพญ็ บารมี ๘ อสงไขย กำไรแสนมหากลั ป์
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประเภท “วิริยาธิกะ” บำเพ็ญบารมีโดยใช้
วริ ยิ ะนำ ใชเ้ วลาในการบำเพญ็ บารมี ๑๖ อสงไขย กำไรแสนมหากลั ป์
หมายความได้ว่า พระพุทธเจ้าไม่ว่าจะเป็นประเภทใดต้องใช้เวลา
จำนวนมากในการบำเพ็ญบารมีเพ่ือจะเป็นพระพทุ ธเจ้าที่เรียกว่า “อสงไขย”
ซึง่ หมายถงึ ไม่สามารถนับไดน้ ั่นเอง
ภาพทศชาติชาดกในหนังสือมาลัยสูตรฉบับนายจันและครอบครัว
พ.ศ. ๒๔๐๕ น้ันมีครบทั้ง ๑๐ พระชาติ กระจายกันไปในหนังสือมาลัยสูตร
การปรากฏของภาพทศชาติชาดกในหนังสือพระมาลัยมิใช่เรื่องแปลก
แต่ประการใดเน่ืองจากถือว่าภาพทศชาติชาดกเป็นเรื่องเกี่ยวเนื่องใน
พระพุทธศาสนา โดยในบทความน้ีจะยกตัวอย่างภาพทศชาติชาดกพร้อม
อธบิ ายเรอ่ื งราวของภาพโดยสงั เขปเพ่อื ประกอบความเข้าใจดงั นี้
๑๐
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ป็นพระสุวรรณสามผกู้ ตญั ญตู ่อบดิ า มารดา
ถกู พระเจา้ ปิลยกั ขราชยิงดว้ ยธนอู าบยาพษิ
แต่พระสวุ รรณสามกม็ ไิ ดโ้ กรธเคืองแตป่ ระการใด
ท่มี า: หนังสือมาลยั สตู รฉบบั นายจนั และครอบครวั (๒๔๐๕)
๑๑
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยชาติเป็นพระเจา้ เนมริ าช จากเนมิราชชาดก
มาตุลเี ทพสารถีของพระอินทร์พาพระเจ้าเนมริ าช
ทอดพระเนตรเหลา่ สัตว์นรกผกู้ ระทำบาป
ทมี่ า: หนงั สือมาลยั สูตรฉบบั นายจนั และครอบครัว (๒๔๐๕)
๑๒
พระอนิ ทร์ทรงค้อนเหล็กเพลงิ มาทำลายพธิ บี ชู ายนั ตข์ อง
กัณฑหาลพราหมณช์ วั่ จากจันทกมุ ารชาดก พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเปน็
พระจันทกุมาร ผ้ทู รงความยตุ ธิ รรม
ท่ีมา: หนังสอื มาลัยสูตรฉบับนายจันและครอบครวั (๒๔๐๕)
๑๓
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาตเิ ป็นพระมหาชนก ผ้กู ระทำเพยี รว่ายนำ้ ในมหาสมทุ ร
แม้นไม่เห็นฝ่งั (จุดหมาย) เปน็ เวลา ๗ วัน ๗ คนื ทรงมิย่อท้อต่อความยากลำบาก
ในวนั ที่ ๗ นางมณเี มขลาเทพธดิ าประจำท้องทะเลมาชว่ ยเหลือพระมหาชนกโพธสิ ตั ว์
ทม่ี า: หนงั สือมาลัยสูตรฉบบั นายจันและครอบครวั (๒๔๐๕)
๑๔
จากภาพตัวอย่างจิตรกรรมทศชาติชาดกในหนังสือมาลัยสูตรฉบับ
นายจันและครอบครัว พ.ศ. ๒๔๐๕ ท่ีมี “นายจนั และครอบครวั ” เปน็ ผถู้ วาย
ในพระพุทธศาสนานั้น แสดงให้เห็นศรัทธาอย่างแรงกล้าในพระบวร
พุ ท ธ ศ า ส น า ใน ด้ า น ก า ร ส ร้ า ง เอ ก ส า ร เพ่ื อ ไป เกิ ด ใน ยุ ค ข อ ง
พระศรีอาริยเมตไตรย พระพุทธเจ้าองค์ท่ี ๕ ในอนาคต ภาพจิตรกรรม
ทศชาติชาดกในหนังสือมาลัยสูตรฉบับน้ีจึงเป็น “ร่องรอยแห่งศรัทธา”
สำคัญของชาวเมืองพิษณุโลกในอดีตที่คนในยุคปัจจุบันควรสืบสานต่อ
เจตนารมณ์สำคัญของคนโบราณเพ่ือสบื ทอดพระพทุ ธศาสนาให้ครบ ๕,๐๐๐
ปี
เอกสารอ้างองิ
กรมศิลปากร. (๒๕๔๕). วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม ๓. กรุงเทพฯ:
กรมศลิ ปากร.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (๒๕๕๑). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับ
ประมวลศัพท์. พิมพ์คร้ังที่ ๑๒. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย.
สพุ จน์ พฤกษะวัน. (๒๕๒๖). บัญชีรายชื่อสมดุ ข่อยใบลานจงั หวดั พิษณโุ ลกที่
ถ่ายทำไมโครฟิล์ม. พิษณุโลก : โครงการสำรวจสมุดข่อยใบลาน
จังหวัดพิษณุโลก ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมวิทยาลัยครูพิบูลสงคราม
พษิ ณโุ ลก.
หนงั สอื มาลยั สูตรฉบบั นายเสง็ และนางขำ. (๒๔๐๕). เอกสารจากสำนักศลิ ปะ
และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เลขที่ พส.ข.
๐๑๙๕. พิษณโุ ลก: มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม
ข้อสงั เกตบางประการในการปรวิ รรตส่วนภาษาบาลขี อง
หนงั สอื มาลัยสตู ร พ.ศ. ๒๔๐๕
พระมหากวีศกั ด์ิ ญาณกวิ (วาปกี ลุ เศรษฐ์)
ในการปริวรรตตัวบทภาษาบาลีในคร้ังนี้ ผู้เขียนต้ังใจนำเสนอใน
รูปแบบ “Diplomatic Edition” อันหมายถึงการปริวรรตตัวบทจากต้นฉบับ
เดียว โดยไม่แก้ไขหรือเติมข้อความใด ๆ แม้คำน้ันจะผิดก็ตาม๓ ฉะนั้นแล้ว
แม้รูปคำภาษาบาลีในตน้ ฉบับนจี้ ะแตกตา่ งไปจากรูปคำในพจนานุกรมหรอื ใน
คัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ตลอดจนปกรณ์วิเสสต่าง ๆ ก็ตาม แต่
ผู้เขียนก็จะปริวรรตตัวบทที่ปรากฏในต้นฉบับตามความเป็นจริง ท้ังนี้เพ่ือ
แสดงให้ผูอ้ า่ นเห็นธรรมชาตขิ องรูปคำภาษาบาลใี นต้นฉบบั ตัวเขียนก่อนได้รบั
การตรวจชำระ และเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่จะนำต้นฉบับน้ีไปตรวจชำระ
ร่วมกับฉบับอ่ืน ๆ ในรูปแบบ “Critical Edition” หรือก็คือ “ฉบับตรวจ
ชำระพร้อมหลักฐาน”๔ ต่อไป เพราะฉะน้ัน ผู้อ่านท่ีมีความรู้ภาษาบาลีเม่ือ
อ่านตัวบทภาษาบาลีในต้นฉบับนี้แล้วพึงเข้าใจจุดประสงค์ของผู้เขียนดังที่
กล่าวมา
๓ อันท่ีจริง “Diplomatic Edition” หมายรวมไปถึงการนำเสนอเครื่องหมาย
วรรคตอน การลบ การแทรก ฯลฯ ด้วย หากแต่ในท่ีน้ี ผู้เขียนมุ่งเน้นเฉพาะตัวบทเท่าน้ัน
ดูเพิ่มเติมได้ใน Phra Weerachai Lueritthikul, “Diplomatic Edition and Comparative
Study of the Poṣadhasthāpanavastu of Mūlasarvāstivāda Vinaya,” (MA Diss.,
University of Oslo, ๒๐๑๕), ๙, ๒๓–๔๔.
๔ วิสุทธ์ บุษยกุล, “การตรวจชำระงานตัวเขียนเบ้ืองต้น,” ดำรงวิชาการ, ปีท่ี
๖, ฉบบั ที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน, ๒๕๕๐): ๙–๑๐.
๑๖
ข้อสังเกตเกี่ยวกับรปู คำภาษาบาลี
ดังท่ีกล่าวในเบ้ืองต้นว่ารูปคำภาษาบาลีในต้นฉบับน้ีมีความ
แตกตา่ งจากรูปคำในพจนานุกรมหรือคัมภีรต์ ่าง ๆ ผู้เขียนจักแสดงให้เหน็ พอ
สังเขป โดยแสดงรูปคำในพจนานุกรมก่อนตามด้วยรูปคำในต้นฉบับตัวเขียน
ดงั นี้
• ยดื สระเสียงสั้นเปน็ ยาว เช่น ยืดสระอเิ ป็นอี ในคำว่า “นิยโต”
เป็น “นยี โต”
• หดสระเสียงยาวเป็นส้ัน เช่น หดสระอูเป็นอุ ในคำว่า “ทูเร”
เปน็ “ทเุ ร”
• เปลี่ยนพยัญชนะวรรคมุทธชะ (retroflex) เป็นวรรคทันตชะ
(dental) เช่น เปลี่ยน ณ เป็น น ในคำว่า “สมณ” เป็น
“สมน”
• เปลี่ยนพยัญชนะสิถิล (ไม่มีลม) เป็นธนิต (มีลม) เช่น เปลี่ยน
ท เปน็ ธ ในคำว่า “อภินนฺท”ิ เป็น “อภินนธฺ ”ิ
• แทรกพยัญชนะ เช่น แทรก ต ในคำว่า “อายตน” เป็น
“อายตฺตน”
ตัวอย่างข้างต้นน้ี ผู้ศึกษาไม่พึงตัดสินว่ารูปคำภาษาบาลีในต้นฉบับ
ตัวเขียนเป็นสิ่งที่ผิด แต่พึงศึกษาลักษณะที่ปรากฏเหล่าน้ีเพ่ือทำความเข้าใจ
มากกวา่ ๕ เพราะสงิ่ เหล่าน้ีเปน็ ธรรมชาติของการสบื ทอดวฒั นธรรมตัวเขยี น
๕ ศึกษาเพิ่มเติมได้ใน เจียระไน วิทิตกูล, “มหายุทธการวงส์: ราชาธิราชฉบับ
ภาษาบาลี,” (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๖๓),
๓๘๘–๔๔๙.
๑๗
เน้อื หาของสว่ นภาษาบาลี
เนอื้ หาที่เป็นภาษาบาลีปรากฏทั้งในหนา้ ต้นและหนา้ ปลาย ดังน้ี
ในหน้าต้น ส่วนท่ีเป็นภาษาบาลีเริ่มด้วย “บทนมัสการ” ว่า
“นโม ตสฺส ฯลฯ สมฺมาสมพฺ ุทธฺ สฺส” ต่อด้วยบทสวดใน “พธิ ีสวดแจง”๖ อัน
ประกอบไปด้วย “บทพระอภิธรรม” หรือก็คือ “พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์”
ซึ่งมีพระสังคิณี พระวิภังค์ พระธาตุกถา พระปุคคลบัญญัติ พระกถาวัตถุ
พระยมก และพระมหาปัฏฐาน ต่อด้วย “บทพระวินัย” ซ่ึงเร่ิมด้วยคำว่า
“ยนฺเตน ภควตา” ไปจนถึงคำว่า “ทสฺสนํ โหตีติ” และสุดท้ายคือ
“บทพระสูตร” ซ่งึ เริ่มด้วยคำว่า “เอวมฺเม สุตํ” ไปจนถึง “อนุพนฺธา โหนติ
ภกิ ฺขสุ งฆฺ ญฺจ”
๖ “พธิ สี วดแจง” หมายถึง พธิ ีสวดแจกแจงสงั คีตกิ ถา คอื หัวขอ้ เรือ่ งที่ว่าด้วย
มูลเหตุ วิธีการ และรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการรวบรวมพระธรรมวินัยให้เป็น
หมวดหมู่ในคราวทำสังคายนาคร้ังที่ ๑ พิธีน้ีนิยมทำในงานฌาปนกิจศพของผู้ใหญ่ ใน
เบื้องต้นของพิธีจะจัดให้มี “การเทศน์แจง” คือ นิมนต์พระ ๓ รูป (๒ รูปก็ได้) มาเทศน์
ปจุ ฉา-วสิ ัชชนาแจกแจงรายละเอยี ดเกี่ยวกับการทำปฐมสังคายนา กลา่ วคือ สมมตุ ิรปู หน่ึง
เป็นพระมหากัสสปะ ผู้เป็นประธานในการทำสังคายนา สมมุติรปู หน่ึงเป็นพระอุบาลีเป็น
ผู้ตอบเรื่องของพระวินัยปิฎก และสมมุติอีกรูปหน่ึงเป็นพระอานนท์เป็นผู้ตอบเร่ืองของ
พระสุตตันตปิฎก จบแล้วจะนิมนต์พระอีก ๕๐๐ รูป (หากไม่ถึง จะใชน้ ้อยกวา่ นี้ก็ได้) มา
น่ังสวดแจงต่อไป ดูเพ่ิมเติมใน คณาจารย์สำนักพิมพ์เล่ียงเชยี ง, ศาสนพิธี : หนังสือเรียน
นักธรรม ช้ันโท ฉบับมาตรฐาน บูรณาการชีวิต (กรุงเทพฯ: เล่ียงเชียง, ๒๕๕๐): ๘๔.;
ส ำ ร ว ย นั ก ก า ร เรี ย น , ส ว ด แ จ ง (๒ ๔ ม ก ร า ค ม ๒ ๕ ๕ ๑ ) , เข้ า ถึ งจ า ก
http://legacy.orst.go.th/?knowledges=สวดแจง-๒๔-มกราคม-๒๕๕๑
๑๘
ทั้งนี้ เป็นที่น่าสังเกตว่า พระสงฆ์จะสวดแจงบทพระวินัย บทพระ
สูตร และบทพระอภิธรรม ไปตามลำดับ๗ ดังเช่นท่ีปรากฏในหนังสือมาลัย
สูตร พ.ศ. ๒๔๒๕ (ฉบับนายเส็งและนางขำ ถวาย) ทว่าในต้นฉบับนี้กลับ
เอาบทพระอภิธรรมขน้ึ มาก่อนบทพระวินัย
จากน้นั ตง้ั แตค่ ำว่า “วนฺทิตฺวา สิรสา พุทฺธํ” ไปจนถึง “อุปฺปนฺโน
ชาติสตฺตสุ” คัดมาจากบท “อุณหิสสวิชัย” อันเป็นบทสวดที่นิยมสวดเพื่อ
สบื ชะตาตอ่ อายุ หากแต่ไมไ่ ด้คัดมาจนจบ และด้วยความท่ีบทน้แี ต่งเป็นคาถา
ร้อยกรอง ผู้เขียนจึงจัดเรียงในรูปคาถา เพ่ือให้ผู้อ่านสามารถสอบเทียบกับ
ฉบับอืน่ ๆ ได้งา่ ย๘
บทสุดท้าย (ติโลกเสฏฺฐํ ตํ พุทฺธํ ฯลฯ อภิวาทิย ภาสิสฺสํ) เป็นบท
ที่ปรากฏในหนังสือมาลัยสูตร พ.ศ. ๒๔๒๕ (ฉบับนายเส็งและนางขำ
ถวาย) ดว้ ย
ส่วนในหน้าปลาย ตัวบทภาษาบาลีถูกคัดมาจากคิลานสูตรท่ี ๑,
คลิ านสูตรท่ี ๒ และคิลานสูตรที่ ๓ ท่ีปรากฏในคิลานวรรค โพชฌงคสังยตุ ต์
ในสังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ของพระสุตตันตปิฎก โดยคิลานสูตรท่ี ๑ มี
๗ คณาจารย์สำนักพิมพ์เล่ียงเชียง, ศาสนพิธี : หนังสือเรียนนักธรรม ช้ันโท
ฉบบั มาตรฐาน บูรณาการชีวิต, ๘๕.
๘ ดู เ พิ่ ม เ ติ ม ใ น Claudio Cicuzza, “The Wat Pho manuscript of the
Uṇhissavijaya: Edition of the Pali text” In Claudio Cicuzza (ed.), Katā me rakkhā,
kata me parittā Protecting the protective texts and manuscripts Proceedings of
the Second International Pali Studies Week Paris 2016 (Bangkok: Fragile Palm
Leaver Foundation, ๒๐๑๘): ๑๔๓–๑๕๖.; Santi Pakdeekham, “The Wat Khao Yi San
manuscript of the Uṇhisavijaya: Trancription of the Pali text” In Claudio Cicuzza
(ed.), Katā me rakkhā, kata me parittā Protecting the protective texts and
manuscripts Proceedings of the Second International Pali Studies Week Paris
2016 (Bangkok: Fragile Palm Leaver Foundation, ๒๐๑๘): ๑๓๕–๑๔๑.
๑๙
เน้ือหาว่าด้วยพระมหากัสสปะอาพาธ ไม่สบาย เป็นไข้หนัก แต่ก็หายอาพาธ
ได้ด้วยโพชฌงค์ ๗ ประการ๙ คิลานสูตรท่ี ๒ มีเนื้อหาว่าด้วยพระมหา
โมคคัลลานะอาพาธ ไม่สบาย เป็นไขห้ นัก แตก่ ห็ ายอาพาธไดด้ ้วยโพชฌงค์ ๗
ประการ และคิลานสตู รท่ี ๓ มเี น้อื หาวา่ ด้วยพระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงประชวร
ไมส่ บาย เป็นไขห้ นัก แตก่ ็หายอาพาธไดด้ ว้ ยโพชฌงค์ ๗ ประการ
ต่อมา ตั้งแต่คำว่า “วนฺทิตฺวา สิรสา พุทฺธํ” คัดมาจากบท
“อุณหิสสวิชัย” เหมือนในหน้าต้น หากแต่ในหน้าปลายน้ีได้ดำเนินความจน
จบเนื้อเร่ือง ท้ังนี้ ผู้เขียนได้จัดเรียงเป็นรูปคาถา เพื่อให้ผู้อ่านสามารถสอบ
เทียบได้กับฉบับอนื่ ๆ ตอ่ ไป๑๐
๙ โพชฌงค์ หมายถงึ ธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้ มี ๗ ประการ ได้แก่ ๑. สติ
(ความระลึกได้ สำนึกพร้อมอยู่ ใจอยู่กับกิจ จิตอยู่กับเร่ือง) ๒. ธัมมวิจยะ (การสอดส่อง
เลือกเฟ้นธรรม) ๓. วิริยะ (ความเพียร) ๔. ปิติ (ความอ่ิมใจ) ๕. ปัสสัทธิ (ความสงบกาย
สงบใจ) ๖. สมาธิ (ความมีใจตั้งม่ัน จิตแน่วในอารมณ์) และ ๗. อุเบกขา (ความมีใจเป็น
กลางเพราะเห็นตามเป็นจริง). พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธ
ศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม, เขา้ ถึงไดจ้ าก https://84000.org/tipitaka/
๑๐ ดู เพิ่ ม เติ ม ได้ ใน Claudio Cicuzza, “The Wat Pho manuscript of the
Uṇhissavijaya: Edition of the Pali text”, ๑๔๓–๑๕๖.; Santi Pakdeekham, “The Wat
Khao Yi San manuscript of the Uṇhisavijaya: Trancription of the Pali text”, ๑ ๓ ๕ –
๑๔๑.
๒๐
เอกสารอ้างอิง
คณาจารย์สำนักพิมพ์เล่ียงเชียง, ศาสนพิธี : หนังสือเรียนนักธรรม ชั้นโท
ฉบับมาตรฐาน บูรณาการชีวติ (กรงุ เทพฯ: เลี่ยงเชยี ง, ๒๕๕๐)
เจียระไน วิทิตกูล, “มหายุทธการวงส์: ราชาธิราชฉบับภาษาบาลี ,”
(วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
๒๕๖๓)
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวล
ธรรม, เขา้ ถึงได้จาก https://๘๔๐๐๐.org/tipitaka/
วิสุทธ์ บุษยกุล, “การตรวจชำระงานตัวเขียนเบื้องต้น,” ดำรงวิชาการ, ปีท่ี
๖, ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน, ๒๕๕๐): ๙–๑๐.
สำรวย นักการเรียน, สวดแจง (๒๔ มกราคม ๒๕๕๑), เข้าถึงจาก
http://legacy.orst.go.th/?knowledges=ส ว ด แ จ ง -๒ ๔ -
มกราคม-๒๕๕๑
Cicuzza, Claudio. “The Wat Pho manuscript of the Uṇhissavijaya:
Edition of the Pali text” In Claudio Cicuzza (ed.), Katā me
rakkhā, kata me parittā Protecting the protective texts and
manuscripts Proceedings of the Second International Pali
Studies Week Paris 2016 (Bangkok: Fragile Palm Leaver
Foundation, ๒๐๑๘): ๑๔๓–๑๕๖.;
Pakdeekham, Santi. “The Wat Khao Yi San manuscript of the
Uṇhisavijaya: Trancription of the Pali text” In Claudio
Cicuzza (ed.), Katā me rakkhā, kata me parittā Protecting
the protective texts and manuscripts Proceedings of the
Second International Pali Studies Week Paris 2016
(Bangkok: Fragile Palm Leaver Foundation, ๒๐๑๘): ๑๓๕–
๑๔๑.
๒๑
Lueritthikul, Phra Weerachai. “Diplomatic Edition and Comparative
Study of the Poṣadhasthāpanavastu of Mūlasarvāstivāda
Vinaya,” (MA Diss., University of Oslo, ๒ ๐ ๑ ๕ ), ๙ , ๒ ๓ –
๔๔.
หนงั สอื มาลัยสูตร พ.ศ. ๒๔๐๕ ฉบบั ปริวรรต๑
๏ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสสฺ ๚
๏ กุสลา ธมฺมา อกุสลา ธมฺมา อพฺยากตา ธมมฺ า กตเม ธมมฺ า กุสลา
ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กุสลํ จิตตํ ฯ อุปฺปนฺนํ โหติ โสมนสฺสสหคตํ ญาณสมฺ
ปยุตตํ ฯ รปู ารมฺมณํ วา สทฺทารมมฺ ณํ วา ฯ คนฺธารมฺมณํ วา รสารมมฺ ณํ วา ฯ
โผฏฺฐพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา ฯ ยํ ยํ วา ปนารพฺภ ตสฺมึ สมเย ผสฺโส
โหติ อวิกฺเขโป โหติ เย วา ปน ตสฺมึ สมเย อญฺเญปิ อตฺถิ ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนา
อรปู โิ น ธมฺมา ฯ อิเม ธมมฺ า กสุ ลา ๚ พฺระสงฺคณิ ี ๚ ๏ ๚
ปญฺจกฺขนฺโธ รูปกฺขนฺโธ เวทนากฺขนฺโธ ฯ สญฺญากฺขนฺโธ สํขารกฺ
ขนฺโธ วิญฺญาณกฺขนฺโธ ฯ ตตฺถ กตโม รูปกฺขนฺโธ ยํ กิญฺจิ รูปํ อตีตานาคต
ปจฺจุปฺปนฺนํ ฯ อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา ฯ โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา ฯ หินํ วา
ปณตี ํ วา ฯ ยํ ทุเร วา สนตฺ เิ ก วา ฯ ตเทกชฌฺ ํ อภสิ ญญฺ ูหิตฺวา อภสิ ํขปิ ติ วฺ า อยํ
วจุ จฺ ติ รูปกฺขนฺโธ ๚ พรฺ ะวิภงฺค ๚
๏ สงฺคโห อสงฺคโห ฯ สงฺคหิเต อสงฺคหิตํ ฯ อสงฺคหิเตน สงฺคหิตํ ฯ
สงฺคหิเตน สงฺคหิตํ ฯ อสงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ ฯ สมฺปโยโค วิปฺปโยโค ฯ
สมฺปยตุ ฺเตน วิปปฺ ยุตฺตํ ฯ วปิ ฺปยตุ เฺ ตน สมปฺ ยตตฺ ํ อสงฺคหิตํ ๚ พฺระธาตุกถา ๚
๏๚
๚ ๏ ๚ ฉ ปญฺญตฺติโย ขนฺธปญฺญตฺติ อายตฺตนปญฺญตฺติ ๚
ธาตุปญฺญตฺติ สจฺจปญฺญตตฺ ิ ๚ อินทฺ ฺรยิ ปญฺญตตฺ ิ ปุคคฺ ลปญญฺ ตตฺ ิ ๚ กิตฺตาวตา
ปุคฺคลานํ ปุคฺคลปญฺญตฺติ ๚ สมยวิมุตฺโต อสมยวิมุตฺโต ๚ กุปฺปธมฺโม
๑ ส่วนท่ีเป็นอักษรขอม-ภาษาบาลี ตรวจทาน แก้ไขโดยพระมหากวีศักด์ิ
ญาณกวิ (วาปีกุลเศรษฐ์) ป.ธ.๙ วัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร นักวิชาการอิสระ
ศศ.ม.จารกึ ภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศิลปากร
๒๓
อกุปฺ ปธมฺ โม ๚ ปริหานธมฺโม อปฺปริหานธมฺโม ๚ เจตฺตนาภพฺโพ
อนุรกฺขนาภพฺโพ ๚ ปุถุชฺชโน โคตฺรภู ๚ ภยูปรโต อภยูปรโต ๚ ภพฺพาคมโน
อภพฺพาคมโน ๚ นียโต อนียโต ๚ ปฏิปนฺนโก พเลฏฺฐโิ ต ๚ อรหา อรหตฺตาย
ปฏปิ นโฺ น ๚ ๏ ๚ พรฺ ะปุคฺคลปญญฺ ตฺติ ๚ ๏ ๚
๚ ๏ ๚ ปุคฺคโล อุปลพฺภติ สจฺฉิกตฺถปรมตฺเถนาติ ๚ อามนฺตา โย
สจฺฉิกตฺโถ ปรมตฺโถ ๚ ตโต โส ปุคฺคโล อุปลพฺภติ สจฺฉิกตฺถปรมตฺเถนาติ น
เหวํ วตฺตพฺเพ อาชานาหิ นิคฺคหํ หญฺจิ ๚ ปุคฺคโล อุปลพฺภติ สจฺฉิกตฺถ
ปรมตฺเถน เตน วต เร วตฺตพฺเพ ๚ โย สจฺฉิกตโฺ ถ ปรมตฺโถ ๚ ตโต โส ปุคฺคโล
อปุ ลพภฺ ติ ๚ สจฺฉิกตถฺ ปรมตฺเถนาติ มจิ ฺฉา ๚ ๏ ๚ พฺระกถาวตถฺ ุ ๚ ๏ ๚
เย เกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูลา ๚ เย วา ปน กุสลามูลา
สพฺเพ เต ธมฺมา กุสลา ๚ เย เกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูเลน เอกมูลา
๚ เย วา ปน กุสลมูเลน เอกมูลา สพฺเพ เต ธมฺมา กุสลา ๚ ๏ ๚ พฺระยมกฺก
๚๏๚
เหตุปจฺจโย อารมฺมณปจฺจโย ๚ อธิปฏิปจฺจโย อนนฺตรปจฺจโย ๚
สมนนตฺ รปจฺจโย ๚ สหชาตปจฺจโย ๚ อญฺญมญฺญปจฺจโย ๚ นิสฺสยปจจฺ โย ๚
อุปนสิ ฺสยปจฺจโย ๚ ปเุ รชาตปจจฺ โย ๚ ปจฉฺ าชาตปจฺจโย ๚ อาเสวณณฺ ปจจฺ โย
๚ กมฺมปจฺจโย ๚ วิปากปจฺจโย ๚ อาหารปจฺจโย ๚ อินฺทฺรียปจฺจโย ๚
ฌานปจฺจโย ๚ มคฺคปจฺจโย ๚ สมฺปยุตฺตปจฺจโย ๚ วิปฺปยุตฺตปจฺจโย ๚
อตฺถิปจฺจโย ๚ นตฺถิปจฺจโย ๚ วิคฺคตปจฺจโย ๚ อวิคฺคตปจฺจโย ๚ ๏ ๚
พฺระมหาปฏฐฺ าน ๚ ๏ ๚
ยนฺเตน ภควตา ๚ ชานตา ปสฺสตา อรหตา สมฺมาสมฺพุทฺเธน ปถมํ
ปาราชิกํ กตฺถ ปญฺญตฺตนฺติ ๚ เวสาลิยํ ปญฺญตฺตนฺติ กํ อารพฺภาติ ๚ สุทินนํ
กลนฺทปตฺตํ อารพฺภาติ ๚ กิสฺมึ วตฺถุสฺมินฺติ สุทินฺโน กลนฺทปุตฺโต ปุราณทุติย
กาย เมถุนํ ธมมฺ ํ ปติเสวิ ตสฺมึ วตฺถสุ มนิ ตฺ ิ ๚ เตน โข ปน สมเยน พุทโฺ ธ ภควา
๒๔
เวรญฺชายํ วิหรติ นเฬรุปุจิมนฺทมูเล มหาตาภิกฺขุสํ เฆนะ สทฺธึ ปญฺจ
มตฺเตหิ ภิกฺขสุ เตหิ ๚ อสฺโสสิ โข เวรญฺโช พรฺ าหฺมโณ ๚ สมโณ ขลุ โภ โคตโม
สากฺยปุตฺโต สากฺยกุลา ปพฺพชิโต ๚ เวรญฺชายํ วิหรติ นเฬรุปุจิมนฺทมูเล ๚
มหตา ภิกขฺ สุ งเฺ ฆน สทธฺ ึ ปญฺจมตฺเตหิ ภกิ ขฺ ุสเตหิ ๚ ตํ โข ปน ภวนตฺ ํ โคตมํ ๚
เอวํ กลฺยาโณ กิตฺติสทฺโท อพฺภุคฺคโต ๚ อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ
วิชฺชา จรนสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู ๚ อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทว
มนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ ๚ โส อิมํ โลกํ สเทวกํ สมารกํ สพฺรหฺมกํ สสฺสมน
พฺราหมณิยํ ปชํ สเทวมนุสฺสํ ๚ สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทสิ ๚ โส ธมฺมํ
เทเสสิ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลฺยาณํ สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ
เกวลปรปิ ณุ ฺณํ ปรสิ ทุ ฺธํ พฺรหฺมจรยิ ํ ปกาเสติ สาธุ โข ปน ตถารูปานํ อรหตฺตํ ๚
ทสฺสนํ โหตตี ิ ๏
เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา ๚ อนฺตรา จ ราชคหํ อนฺตรา จ
นาฬนฺทํ ๚ อทธฺ านมคฺคปตปิ นโฺ น โหติ ๚ มหตา ภิกฺขุสเํ ฆน สทฺธึ ปญฺจมตฺเตหิ
ภิกฺขุสเตหิ ๚ สุปฺปิโยปิ โข ปริพฺพาชโก ฯ อนฺตรา จ ราชคหํ อนฺตรา จ
นาฬนฺทํ ๚ อทฺธานมคฺคปฏิปนฺโน โหติ สทฺธึ อนฺเตสินา พฺรหฺมทตฺเตน
มานเวน ๚ ตตฺร สุทํ สุปฺปิโย ปริพฺพาชโก ๚ อเนกปริยาเยน พุทฺธสฺส วณฺณํ
ภาสติ ๚ ธมฺมสฺส วณฺณํ ภาสติ ๚ สงฺฆสส วณฺณํ ภาสติ ๚ สุปฺปิยสฺส ปน
ปริพฺพาชกสฺส อนฺเตวาสิ พฺรหฺมทตฺโต มานโว ๚ อเนกปริยาเยน พุทฺธสฺส
วณฺณํ ภาสติ ๚ ธมฺมสฺส วณฺณํ ภาสติ ๚ สํฆสฺส วณณฺ ํ ภาสติ ๚ อิติห เต อุโภ
อาจาริยนฺเตวาสิ อญฺญมญฺญสฺส อชุ ุวิปจจฺ นิกวาทา ภควนตํ ปิฏฐโิ ต ปิฏิโต ๚
อนุพนธฺ า โหนติ ภิกฺขุสงฺฆญจฺ ๚ ๏ ๚ ๛
๒๕
๏ วนทฺ ติ ฺวา สิรสา พุทธฺ ํ สสทธฺ มมฺ ํ คณตุ ฺตมํ ๚
อุณหฺ สิ ฺสวิชยนฺนาม สตฺตานํ อายวุ ฑฺฒนํ ๚
วกขฺ ามิ ปวรํ คณฺฐํ สมฺพุทเฺ ธเนว เทสติ ํ ๚
เอกสมฺ ึ สมเย นาโถ ตาวตึเส สุราลเย
ปารฉิ ตฺตกมูลมฺหิ ปณฺฑุกมพฺ ลนามเก ๚
วิหรติ ฺวาปิ เทเสสิ อภธิ มมฺ กถํ วรํ
สตฺตปฺปกรณํ นาม ธมฺมสงคฺ ิณอี าทิกํ ๚
สิริมายาปมขุ านํ เทวานํ หติ สมปฺ ทํ ๚
เทวปตุ ฺโต ตทา เอโก นาเมน สปุ ตฏิ ฐฺ ิโต ๚
ตาวตเึ ส นพิ พฺ ตฺโต โส เทเวหิ ปริวารโิ ต
ทิพฺพสขุ ํ อนโุ ภติ วิมาเน กนเก วเร ๚
อทิสวฺ า ว ตทา เทโว ปริกขฺ ณิ ายุมตฺตโน
เทวปุตฺโต ตทา เอโก อากาสจารนิ ามโก ๚
ปรกิ ขฺ าณายุกํ ญตฺวา อาคนตฺ วฺ า วจนมพฺรวิ ๚
มาริส สตฺตเม ทินฺเน เทวโลกา อโิ ต จุโต ๚
อวจิ ินริ เย ชาโต อนโุ ภสิ ทุกฺขํ พหุ ๚
จวิตฺวา ว ตโต ถานา อุปฺปนฺโน ชาตสิ ตฺตสุ ๚
๏ ตโิ ลกเสฏฺฐํ ตํ พทุ ฺธํ ธมฺมนวนยิ านกิ ํ
สงฆฺ ํ นริ กฺขนญฺเจว อภิวาทิย ภาสสิ สฺ ํ ๚
๒๖
๒๗
๏ ข้าไหวพ้ ระเจ้าผู้ประเสรฐิ ลำ้ เลิศไตรภพ (ราบ) ข้าพระเจ้าขอนบ
พระนวโลกอุดร ข้าถวายประนมพระสงฆ์บวร ข้าขอแปลตามคำส่ังสอน
พระเถรผู้ชือ่ วา่ มาลัยนี้เถดิ ๏
๏ ในกาลอนั ลับลน้ พน้ ไปแล้วแต่ในครงั้ ก่อน
ภิกษหุ นง่ึ ไดพ้ ระพร ช่อื มาลยั เทพเถร
๏ อาศยั บ้านกัมโพช ชนบทโรหะเจน
อันเป็นบรเิ วณ ในแว่นแควน้ เมอื งลังกา
๏ พระเถรเทพมฤี ทธิ์ ประสิทธดิ ้วยปญั ญา
มศี ลี ครองสิกขา ฌานสมาบัติบริบรณู ์
๏ สน้ิ กิเลสประเสรฐิ นกั สนั โดษนกั ใครจกั ปูน
รู้หลักศรทั ธาพูน ใจละเอยี ดทรงพระธรรม์
๏ ปรากฏด้วยรหู้ ลัก มีฤทธิ์นักถึงอรหนั ต์
อปุ มาเสมือนพระจนั ทร์ อนั ปรากฏในเวหา
๏ เธอน้ันเสด็จลงไป ในนรกดว้ ยกรณุ า
เพอื่ จะใหเ้ ขาสง่ั มา แลว้ จะบอกญาตกิ าพลนั
๏ พระโมคคัลลาและสาวก โปรดนรกทุก ๆ วัน
ครั้นแล้วโปรดชาวสวรรค์ ด้วยพระธรรมอนั ฉับเฉียว
๏ พระมาลัยเทพเถร บแ่ ปลกกันดุจพิมพเ์ ดียว
รธู้ รรมอนั ฉลาดเฉลยี ว อานุภาพเหมือนกันมา
๏ หญิงชายทงั้ หลายใด ใจโลภล้นพน้ คณนา
ยอ่ มเบียดเบยี นแลบฑี า ข่มเหงทา่ นใหท้ รพล
๒๘
๏ ผูน้ นั้ ครัน้ ไปลป่ ลดิ ส้ินชวี ิตจากเมืองคน
ตกนรกไฟเผาตน เจบ็ ปวดรอ้ นใช่สามานย์
๏ พระโมคคัลลาเสดจ็ ลงไป ให้ฝนตกเป็นท่อธาร
ใหไ้ ฟดับบ่มินาน สตั วน์ รกกเ็ ยน็ ใจ
๏ พระมาลัยเทพเถร ทา่ นจงึ เสด็จเหาะลงไป
นริ มติ ฝนให้ดับไฟ โปรดนรกดุจเดยี วกนั
๏ ผู้ใดเปน็ อุปถมั ภ์ ใหข้ า้ วน้ำแก่เจ้าไทยพลัน
ครน้ั แล้วใช้เจา้ ไทยนั้น ทำเรือกสวนแลไรน่ า
๏ เปน็ กำลงั แกเ่ จา้ ไทย ใหเ้ จ้าไทยไปร้ังพา
ล่อลวงเอาทรพั ยเ์ ขามา เอามากินเป็นอาหาร
๏ ใหข้ ้าวน้ำแก่เจา้ ไทย ใชเ้ จ้าไทยไปทำการ
ให้ทำกฎุ ีแลสถาน แลว้ กก็ ลบั ใชเ้ จา้ ไทย
๏ ใช้ชีมจิ ฉาจิต ใหเ้ สยี กิจพระวนิ ยั
ผนู้ นั้ คร้นั ตายไป ตกนรกโลหะกุมภี
๏ หม้อเหลก็ เค่ียวตนอยู่ ยืนไดถ้ งึ แปดหมน่ื ปี
บาปคนอันใช้ชี ใหก้ นิ แลว้ แลใชส้ งฆ์
๏ เจ้าไทยทำผิดกจิ ตนไมค่ ดิ เอาใจปลง
ส้ินชวี ติ ไปตกลง ในหม้อเหลก็ แปดหมน่ื ปี
๏ พระมาลัยเทพเถร จงึ จะลงไปทบุ ตี
หมอ้ เหล็กแตกเปน็ ธลุ ี สัตวน์ รกกช็ ื่นบาน
๏ พระมาลยั ไปโปรดสัตว์ ดุจองคพ์ ระโมคคลั ลาญาณ
ให้นรกเย็นสำราญ พ้นจากยากเพียงปางตาย
๒๙
๏ พระมาลัยเธอยงั อยู่ หม้อเหลก็ นั้นแตกย่อยหาย
คร้ันข้ึนมาหม้อเหล็กพลดั พราย อันแตกนนั้ ก็ประมวลมา
๏ คมุ เข้าเปน็ ดวงกลม ต้มสตั วไ์ ว้รอ้ นนักหนา
เพราะบาปใชช้ ีปา ให้เสียกิจพระวนิ ยั
๏ ใหท้ านใหเ้ ปน็ บญุ อยา่ ได้ใชส้ อยเจ้าไทย
ผใู้ ชน้ น้ั จะตกไป ในหม้อเหลก็ ตม้ เปอ่ื ยพงั
๏ ผใู้ ดเล้ียงเจ้าไทย ใหข้ ้าวน้ำเปน็ กำลัง
คร้นั แล้วเมอื่ ภายหลงั ใช้เจ้าไทยให้ทำการ
๏ วา่ ยอยใู่ นหมอ้ เหล็ก อันเดอื ดรอ้ นพลุง่ ขึน้ พลา่ น
บาปใชช้ ีให้กระทำการ หมอ้ เหลก็ เคี่ยวเปือ่ ยท้ังตน
๏ รอ้ นแสบเจบ็ ปวดยาก ทนวิบากอดักอดน
น้ำเขา้ ปากจมูกตน ดน้ิ ระดา่ วเพียงปางตาย
๏ ผ้ใู ดตพี ่อแม่ ปยู่ า่ แกแ่ ลตายาย
ตดี า่ สงฆ์ทงั้ หลาย ตภี ิกษุแลเจา้ เณร
๏ ผู้น้ันคร้นั ตายไป ดว้ ยบาปกรรมนายเวร
บาปตแี ม่แลสามเณร ใหล้ ม้ ลุกเปน็ ฉกรรจ์
๏ กงจกั รพัดหัวอยู่ ส้ินพุทธันดรกัปกลั ป์
เพราะบาปใจอาธรรม์ ตพี อ่ แมแ่ ลตสี งฆ์
๏ กงจักรพัดหัวอยู่ เลือดไหลซาบอาบตนลง
บาปตแี ม่แลตีสงฆ์ กงจกั รพัดรอ้ งครางตาย
๏ เลอื ดไหลลงยอ้ ยหยด กงจกั รกรดพัดบ่วาย
เร่งร้องเร่งครางตาย กงจักรกรดเร่งพัดผนั
๓๐
๏ ตีนมอื ส่นั ระเรม่ิ ตัวสนั่ เทิ้มอยู่งกงนั
ยนื ตรงอยู่ทกุ วนั เหนอื่ ยลำบากยากนักหนา
๏ พระมาลัยผเู้ ป็นเจ้า ท่านจึงเสดจ็ ลงไปหา
หกั กงจกั รด้วยฤทธา สัตวผ์ ู้น้นั สวา่ งทกุ ข์ทน
๏ ครน้ั ทา่ นเสดจ็ ขึ้นมา กงจักรเข้าบดั เดยี๋ วดล
กงจกั รพัดเป็นยนต์ บาปตแี ม่แลตสี งฆ์
๏ ผู้ใดแลสบั ปลบั บังคบั ความบ่เท่ยี งตรง
ใจอาธรรมบ์ ่มดิ ำรง ท้งั สองขา้ งอันเขาผกู กัน
๏ ไดส้ ินจา้ งค้ำชูไว้ ทม่ี ิไดใ้ ห้ตกตำ่
บังคบั ความบม่ เิ ทีย่ งธรรม กงจักรพัดหัวตนเอง
๏ กงจักรพัดหวั ไว้ อดมไิ ดร้ อ้ งครางเครง
บงั คับความลำเอยี งเอง กงจกั รกรดพัดในหัว
๏ มแิ พจ้ ำให้แพ้ คุกคำรามขม่ ใหก้ ลัว
กงจกั รพัดในหวั เพราะบังคับความบม่ เิ ที่ยงธรรม์
๏ กงจักรพัดในหวั สน้ิ พทุ ธนั ดรกัลป์
มตี วั ตีนมอื สั่น อยู่ระเร่มิ ยืนบม่ ติ รง
๏ เม่ือใดถงึ กำเนดิ พระเจ้าเกิดแตล่ ะองค์ ๆ
บงั คับความบ่มิเที่ยงตรง ครานน้ี ้นั จงึ จะหาย
๏ พระมาลัยเสด็จไป หักกงจักรกระจดั กระจาย
กงจกั รหกั พลดั พราย สตั ว์ผู้น้ันมายินดี
๏ ครัน้ พระมาลัยเสด็จขึน้ ไป กงจักรน้ันกพ็ นู มี
ครอบเข้ารอบเกศี สัตว์ผ้นู น้ั กค็ รางมา
๓๑
๏ ผใู้ ดใครท้งั หลาย เป็นผู้ชายอนั โสภา
มกั มากด้วยตัณหา ใจโลภล้นพน้ ประมาณ
๏ เมียท่านหนา้ แช่มช้อย หนา้ แนง่ นอ้ ยงามนงคราญ
ใจร้ายไปเบยี นผลาญ ยยุ งเอาดว้ ยเลห่ ก์ ล
๏ ผนู้ ัน้ ครั้นไปลป่ ลดิ สิ้นชวี ติ จากเมืองคน
ไปข้ึนงิ้วบดั เดย๋ี วดล ในไม้ง้วิ กวา่ พนั ปี
๏ หนามงว้ิ คมยงิ่ กรด ได้โสฬสสบิ หกองคลุ ี
มกั เมยี ท่านมนั ว่าดี หนามง้วิ ยอกทว่ั ทง้ั ตน
๏ หญงิ ใดใจมกั มาก มกั เลน่ ราคด้วยกามกล
ทำยาแฝดแลเรียนมนตร์ ให้ผวั ตนเมาตัณหา
๏ พรางผัวมใิ หร้ ู้ ลกั เลน่ ชเู้ สพกามา
แตง่ แง่งามโสภา เพื่อจะใหช้ ายอ่นื ดู
๏ ตอ่ หนา้ ผัวกระทำเป็นมติ ร ลบั หลังคดิ เปน็ ศตั รู
แต่งแง่ใหช้ ายอนื่ ดู ลกั เล่นชู้ซอ่ นเงอ่ื นงำ
๏ ทำรกั แลว้ ทำโกรธกร้วิ ชกั หน้าน่วิ ให้ผวั ยำ
แสรง้ ให้แสรง้ แกลง้ ทำ ทำโกหกหกมารยา
๏ หญงิ นั้นครนั้ วอดวาย หายชีวิตจากโลกา
ไปขน้ึ งวิ้ ยมบาลมา รมุ เอาหอกไล่ทิ่มแทง
๏ ผูกแขวนเอาหวั ลง เพราะหญงิ นน้ั มนั ใจแข็ง
ยมบาลเอาหอกแทง บาปใจแขง็ เลน่ ชูเ้ หนอื ผัว
๏ ตอ่ หน้าผวั ด่าตัดพ้อ บม่ ยิ ่อทอ้ บ่มยิ ำกลัว
งอหมดั ข้นึ เหนือหัว ยืนชะเงือ้ มพันเกศา
๓๒
๏ ทำเครียดอยงู่ นั งก ทำโกหกหกมารยา
แปรปรวนผวนไปมา ให้ผัวลอุ ำนาจตน
๏ ยมบาลเอาหอกแทง บาปใจแข็งอกี แสนกล
ทำยาแฝดแลเรยี นมนต์ เขาจึงผูกเอาหวั ลง
๏ เขาเอาหอกมาร้อยปาก เพราะปากนน้ั บม่ ซิ ือ่ ตรง
เอาหอกปกั อกลง เพราะใจรา้ ยเล่นหลายใจ
๏ พระมาลยั เทพเถร ท่านจงึ เสด็จเหาะลงไป
หกั ไมง้ ิ้วตระบัดใจ สตั ว์ผนู้ นั้ หายทุกข์ทน
๏ ครน้ั ท่านเสดจ็ ข้ึนไป ไม้งิว้ งอกบัดเด๋ียวดล
แต่ผู้ลกั มกั กามกล ข้นึ งิว้ เล่าดุจหลงั มา
๏ ผใู้ ดเปน็ ผูใ้ หญ่ เป็นนายไรแ่ ลนายนา
ข่มเหงฝงู ประชา ผ้บู ุญน้อยให้อบั เฉา
๏ วัดไรน่ าใหล้ ้ำเหลอื เจา้ อำเภอเกาะกุมเอา
บ่เอาแต่ยอ่ มเยาว์ ผดิ ระบอบพระบญั ชา
๏ ผนู้ ั้นครน้ั ตายไป พริ าลยั จากโลกา
บาปขม่ เหงฝงู ประชา แผ่นดินนนั้ กลับเป็นไฟ
๏ แผ่นดินเปน็ แผน่ เหลก็ ลุกวูว่ ามรอ้ นเหลือใจ
ไหม้เขา้ ถงึ ตับไต ไสพ้ งุ ขาดเรยี่ ออกมา
๏ สัตวน์ น้ั นอนดนิ้ อยู่ ไฟไหมร้ ูรอ้ นหนักหนา
บาปนายไรแ่ ลนายนา เอาทรัพยเ์ ขาให้ล้ำเหลอื
๏ บาปตนข่มเหงเขา ตนเป็นเจ้านายอำเภอ
เอาทรพั ยเ์ ขาให้ล้ำเหลอื แผน่ เหลก็ ไหม้รอ้ นอาดรู
๓๓
๏ สตั ว์นนั้ รอ้ นเป็นบา้ ลกุ บา่ ยหน้ามาฝา่ ยบูรพ์
ภเู ขาหน่ึงเป็นไฟพูน ฝา่ ยขา้ งบูรพ์ก็ร้างมา
๏ สตั ว์นนั้ กลวั เขาไฟ กลับหลงั ไปมนมิ นา
ภูเขาหนง่ึ จงึ เกิดมา ฝ่ายข้างทศิ ตะวันเย็น
๏ สัตวน์ ั้นทอดตาไป เหลยี วแต่ไกลกแ็ ลเหน็
ภูเขาหนง่ึ เกิดข้นึ เป็น ถา่ นไฟรอ้ นเรืองขจร
๏ สตั วน์ ัน้ กล็ กุ แล่น บา่ ยหนา้ มายังอุดร
ภูเขาไฟฝา่ ยอุดร ลุกเรอื งข้นึ บดั เดย๋ี วใจ
๏ สัตวน์ ัน้ ร้อนผะผ่าว ดิน้ ระดา่ วในกลางไฟ
บาปนายนาแลนายไร่ วัดไรน่ าให้ลำ้ เหลอื
๏ วา่ ตนเปน็ ผู้ใหญ่ เป็นนายไรเ่ จา้ อำเภอ
เอาทรัพย์เขาให้ล้ำเหลอื ภูเขาไฟเผาเป็นธลุ ี
๏ ธรรมนีท้ า่ นผู้ปราชญ์ อันฉลาดชื่อเมธี
นำเอามาแตค่ ัมภรี ์ ชือ่ ขุททกนกิ าย
๏ บอกไวใ้ ห้เป็นผล เป็นกุศลแกห่ ญงิ ชาย
สปั ปรุ ษุ ทา่ นทง้ั หลาย ฟังจำไวส้ ่งั สอนใจ
๏ เมอ่ื นน้ั มหาเถร อันมีนามชือ่ มาลัย
ทา่ นน้นั เสดจ็ ไป ในนรกดว้ ยฤทธาพล
๏ ครน้ั ทา่ นเสด็จข้นึ มา ภเู ขาเกิดบดั เด๋ียวดล
สัตว์นน้ั ดน้ิ เสือกสน ทนลำบากในไฟเผา
๏ สตั วห์ น่ึงใจหฤโหด ใจเขลาโฉดกนิ แตน่ ำ้ เมา
บไ่ ด้จะจำเอา คำพระเจา้ ส่ังสอนใจ
๓๔
๏ ยมบาลเอานำ้ แสบ อันเคยี่ วพลา่ นอยู่ในกลางไฟ
เทลงตระบัดใจ ในปากนั้นปากก็เป่อื ยพัง
๏ นำ้ แสบตกถงึ คอ คอไหม้พองเปน็ มนั ยงั
ถึงอกอกกเ็ ปือ่ ยพัง เป็นรูทะลุปรุออกมา
๏ บาปเม่อื อยู่เปน็ คน ไดก้ นิ เหลา้ เมาสุรา
อกทะลปุ รุออกมา บาปกินเหลา้ และเมามาย
๏ นำ้ แสบตกถึงไส้ ไส้น้นั ขาดกระจัดกระจาย
ตับพุงเป่ือยทลาย เพราะบาปกรรมกินสุรา
๏ เม่อื น้นั พระมาลัย ท่านจึงเสด็จเหาะไปหา
เข้าฌานแผลงฤทธา ใหน้ ำ้ แสบกลบั เย็นหวาน
๏ สตั ว์น้นั ได้กินน้ำ คือดังน้ำอมฤตนพิ พาน
น้ำแสบกลบั เยน็ หวาน ดว้ ยใบบุญพระมาลยั
๏ ครนั้ ท่านเสด็จข้นึ มา มิทนั ช้าบัดเดี๋ยวใจ
นำ้ เยน็ อันหวานไซร้ กลบั แสบรอ้ นดุจกอ่ นมา
๏ นรกส่ังช่ือใด พระมาลยั นำมาพลนั
จึงบอกแกญ่ าติกา อันเขาอยใู่ นเมืองคน
๏ ให้คนจำศีลสรา้ ง ให้ทานบ้างทำกุศล
ฟังธรรมอุทศิ แผผ่ ล ใหไ้ ปถงึ ญาติกา
๏ พระมาลัยผูป้ รากฏ อันลือยศทว่ั ทิศา
ดจุ องค์พระโมคคัลลา ผู้ปรากฏทวั่ แดนไตร
๏ พระโมคคัลลาญาณ เขา้ นพิ พานแล้วลบั ไป
ยังแตพ่ ระมาลัย ยังอยู่นั่นฉลององค์มา
๓๕
๏ พระมาลัยเธอมีคุณ แกน่ รกแลเปตา
มีคณุ แกเ่ ทวา แลมนุษย์ทว่ั อนันต์
๏ เปรตนรกส่ังชอื่ ใด พระมาลยั นำมาพลนั
บอกแก่ญาติถว้ นทกุ อนั ให้เขาทำบญุ สง่ มา ๏ ราบ ๏
๏ ยังมีเปรตหนง่ึ ลำบากหนักหนา
เปน็ เหยอื่ แร้งกา ฝูงสตั วอ์ ยรู่ ุม
๏ สุนัขใหญน่ อ้ ย พลอยกันกินกลมุ้
แรง้ กานกตะกรมุ จกิ สับเฉีย่ วเอา
๏ เนอ้ื น้ันหมดส้ิน ยังแต่โครงเปลา่
จกิ สบั เฉีย่ วเอา ร้องครางเสียงแขง็
๏ แรง้ กานกตะกรมุ จิกสับดว้ ยแรง
จกิ ท้ึงกวัดแกวง่ ยือ้ แยง่ ไปมา
๏ เปรตหมนู่ ้ีฤา เป็นคนหยาบช้า
ฆา่ เน้ือเบ่ือปลา บ่มไิ ด้อดสู
๏ ฆา่ เน้อื ววั ควาย บม่ ิไดเ้ อ็นดู
แทงสัตว์ให้อยู่ ดน้ิ ลม้ ด้นิ ตาย
๏ ฆา่ ทรายแลเนอื้ แลววั แลควาย
ฆ่าสัตวท์ ั้งหลาย แต่ล้วนสต่ี ีน
๏ บาปคนฆา่ เนือ้ วัวควายเปน็ อาจิณ
แรง้ กาจิกกนิ รมุ กันย้ือเอา
๏ บาปคนเชอื ดเนอ้ื ไว้แตโ่ ครงเปลา่
แรง้ กาจิกเอา เนอ้ื คนน้นั ไป
๓๖
๏ บาปคนฆา่ เน้อื เจ็บปวดฉันใด
แร้งกาจกิ ไป เจ็บปวดคนเดยี ว
๏ เจบ็ ปวดเหลอื ทน แตค่ นอยู่เปล่ียว
ร้องครางคนเดยี ว ทนเวทนา
๏ บาปคนฆ่าสตั ว์ ให้ตายมรณา
นกตะกรุมแรง้ กา สบั ทึ้งเน้ือตน
๏ ยงั มเี ปรตหน่ึง เจ็บปวดเหลอื ทน
เส้นขนท้งั ตน เปน็ ดาบเชอื ดลง
๏ ขนนนั้ งอกออก มาเต็มทัง้ องค์
เป็นดาบเชือดลง ทวั่ ท้งั สารพางค์
๏ ทนเจ็บบม่ ไิ ด้ ร้องไหอ้ ืดคราง
แร้งกาจกิ พลาง พาไปเวหา
๏ ร้องครางอดื ๆ ทนเวทนา
เจ็บปวดนักหนา เพยี งจกั สน้ิ ชนม์
๏ เปรตหม่นู ี้ฤา เมือ่ ยังอยเู่ ปน็ คน
ใจรา้ ยอกศุ ล ยอ่ มฆ่าหมูขาย
๏ ขนเป็นหอกดาบ เพราะบาปบม่ ิอาย
บาปฆา่ หมขู าย เลย้ี งลกู เมยี ตน
๏ จะตกนรก นับเท่าเส้นขน
แตล่ ะเส้นแต่ละหน นบั ชาติแต่ละที
๏ แลทแี ลที ย่งิ กว่าพนั ปี
บาปคนราวี ฆา่ หมูเล้ยี งตน
๓๗
๏ ยงั มีเปรตหนึง่ ทั้งตัวยอ่ มขน
รปู นั้นพกิ ล ขนนนั้ เป็นปืน
๏ ปนื น้ันยอกเข้า ทวั่ ตวั ไขวข่ ืน
ท้ังตัวยอ่ มปืน ยอกเข้าเสือกสน
๏ เจบ็ แสบปวดร้อง ครางดน้ิ อดกั อดน
แร้งกาจิกตน พาไปเวหา
๏ ปืนยอกปากหู จมูกแลตา
เลอื ดไหลออกมา โทรมทว่ั ทง้ั ตน
๏ เปรตหมู่นีฤ้ า เมอื่ ยังเป็นคน
ใจร้ายอกศุ ล ยอ่ มยงิ นกกิน
๏ บาปตนยิงนก ในโลกแดนดนิ
ขนเปน็ ปนื สิน้ ยอกเขา้ ทง้ั ตน
๏ ยงั มเี ปรตหน่งึ ขนยอกตนลง
ท่ัวสารพางค์องค์ เจ็บปวดนักหนา
๏ ขนเขม็ ยอกเข้า ไปในเกศา
ตลอดออกมา โดยปากแหง่ ตน
๏ ขนเขม็ ยอกเข้า มากนกั เหลือทน
บาปเส้นเขม็ ขน งอกออกท้องพลนั
๏ บาปมนั สอ่ ท่าน จะเอารางวลั
ใหเ้ ขาเกาะกัน ได้ยากหนกั หนา
๏ เขม็ แทงทง้ั ตน ครางรน่ ไปมา
เพราะใจมันกลา้ เห็นแก่สินไหม
๓๘
๏ ยงั มีเปรตหน่งึ ลำบากเหลอื ใจ
มีอณั ฑะใหญ่ เติบเท่าตมุ่ หาม
๏ ย้อยลงจนดิน ดจุ ดังถงุ ย่าม
เนา่ เป่ือยลามปาม เหม็นโขลงพึงชัง
๏ เม่อื จะเดินไป แบกข้นึ บนหลัง
แลน่ ระเสดิ ระสงั โซเซไปมา
๏ คร้ันเม่อื จะน่ัง ใหญ่คบั หว่างขา
จึงฟ้นื ขน้ึ มา นงั่ ทบั มนั ลง
๏ ครั้นเมือ่ จะนั่ง ปวดนกั โก้งโค้ง
จึงคอ่ ยกระโหยง่ ลุกขึ้นโอ้เอ้
๏ จงึ แบกขนึ้ เลา่ พาแลน่ โซเซ
หนักนกั โอเ้ อ้ สดุ สนิ้ ถอยแรง
๏ แรง้ กานกตะกรมุ จกิ สับย้อื แยง่
พาบินดว้ ยแรง ไปสู่เวหา
๏ ร้องครางอดื ๆ เจ็บปวดนักหนา
ทนเวทนา อดกั อดน
๏ ฝงู เปรตหมนู่ ้ี เมื่อยังเป็นคน
เปน็ นายครองพล เป็นเจา้ บ้านเมือง
๏ ยอ่ มบังคบั ความ ใหเ้ ขาแค้นเคอื ง
เปน็ เจา้ บา้ นเมอื ง ว่าความบ่มติ รง
๏ ผใู้ ดไรท้ รพั ย์ เรง่ ขม่ มันลง
บังคับความบม่ ิตรง เปน็ คนลำเอียง
๏ เหน็ แก่สนิ จา้ ง ว่าความรายเรยี ง
แต่งปากแตง่ เสยี ง งุบงบั ดับเสีย
๓๙
๏ ผู้ใดให้ทรัพย์ คิดอา่ นไกลเ่ กลยี่
บรรดาจะเสีย ใหไ้ ด้สินไหม
๏ เป็นปมเป็นเปา เป็นคอพอกใหญ่
เป็นเหนียงเปน็ ไต เปน็ หูดเป็นฝี
๏ ยงั มเี ปรตหน่งึ เปน็ หญงิ อัปรยี ์
ทงั้ ตัวย่อมฝี เนา่ เปื่อยระสาย
๏ เลบ็ ตนี เลบ็ มือ เนา่ บ่มิรูห้ าย
ฝีหน่ึงหัวกลาย เหมน็ อย่อู าจณิ
๏ หญิงนนั้ จงึ แกะ เกล็ดฝีนัน้ กนิ
ทกุ วนั ปฏทิ ิน ค่ำเช้าเพรางาย
๏ เรง่ แกะฝีกนิ ฝนี ั้นเร่งกลาย
เนา่ เปือ่ ยมริ หู้ าย หนองโทรมท้งั ตน
๏ แร้งกานกตะกรมุ จกิ สับสลวน
พาบินขึ้นบน ไปในเวหา
๏ สับปากจมกู จิกหูตอดตา
นกตะกรมุ แร้งกา ย้อื แย่งเรยี่ ราย
๏ บาปหญงิ หมูน่ ้ีฤา เมือ่ ชาติกอ่ นไกล
เขาอญั เชญิ ไป ให้ลงผดี ู
๏ มันลงผเี ท็จ มันยอ่ มว่ากู
กพู ่อแม่สู กูเปน็ ตายาย
๏ กเู ป็นเผ่าพนั ธุ์ แหง่ สทู ง้ั หลาย
กูจะให้สูหาย สอู ยา่ ร้อนใจ
๏ สเู รง่ บนบาน บนเปด็ บนไก่
วัวควายตัวใหญ่ ตับไตในท้อง
๔๐
๏ เอาเงนิ ผูกคอหมอ้ ขวัญขา้ วเทียนทอง
หมากพูลใสซ่ อง เหล้าเขม้ บนพลาง
๏ ขวญั ขา้ วเน้อื ปลา มีหวั มหี าง
กูจึงจะละวาง ใหส้ ูเป็นคน
๏ แสร้งลงผเี ท็จ มันทำเลห่ ก์ ล
แสร้งล่อลวงคน ให้เขาเชื่อใจ
๏ บาป ๆ มดเทจ็ ใหฆ้ ่าเปด็ ไก่
เล็บตีนเนา่ ใน มอื ด้วนพิกล
๏ บาป ๆ มดเท็จ ตวั เป่ือยท้งั ตน
ตาเนา่ มดื มน ปากเน่าเปน็ ฝี
๏ บาป ๆ มดเทจ็ ให้เขาดูดี
ทัง้ ตวั ยอ่ มฝี แกะฝกี ินเอง
๏ บาป ๆ มดเทจ็ เช่อื บนครืน้ เครง
กนิ เน้อื หนองเอง กินฝแี ห่งตน
๏ บาป ๆ มดเท็จ กลา่ วเทจ็ ให้ฉงน
กนิ เกลด็ ฝีตน กินหนองทุกวนั
๏ บาป ๆ มดเทจ็ ลวงให้กระทำการ
เป็นเปรตยนื นาน ยิ่งกว่าพนั ปี
๏ บาป ๆ มดเท็จ ลวงให้เขาไหวผ้ ี
เป็นเปรตบ่มดิ ี เป่อื ยพงั ท้ังตน
๏ บาป ๆ มดเท็จ วา่ ใหเ้ ขากลัว
ตวั สนั่ ระรวั ระเร่มิ งกงนั
๏ บาป ๆ มดเท็จ วา่ เทจ็ ผิดธรรม์
เป็นเปรตตวั มัน ยง่ิ กวา่ ไฟลน
๏ บาป ๆ มดเทจ็ ๔๑
เป็นเปรตปวดตน
๏ บาป ๆ มดเท็จ ให้เขาขอบน
เป็นเปรตอยดู่ ง ย่งิ กวา่ แทงลง
๏ ผู้เชื่อแมม่ ด วา่ ให้เขาหลง
เปน็ เปรตบส่ ะเบย บ่มิพบพระเลย
๏ ผู้เชอื่ แมม่ ด ไหว้ผชี มเชย
หัวเป็นหวั ควาย ล้วนอสุรกาย
๏ ผู้เชื่อแมม่ ด เอาบาปเป็นนาย
ตัวเป็นตัวทราย ตัวเปน็ ตวั คน
๏ ผูเ้ ช่อื แม่มด เอาผเี ป็นนาย
ตัวเปน็ ตวั คน หวั เป็นหวั คน
๏ ผู้เชื่อแมม่ ด แลยอ่ มขอบน
ตวั เปน็ ตวั ทราย หวั เปน็ หัวทราย
๏ ผเู้ ชอ่ื แม่มด ยอ่ มว่าถอยหาย
ตัวเปน็ ตัวคน หัวเปน็ หัวคน
ย่อมวา่ ท่านบน
๏ ผูเ้ ชอื่ แมม่ ด หวั เปน็ เป็ดหมัน
นอนมดเอาขวัญ
ตัวเป็นเป็ดหมนั หัวเปน็ หวั คน
แลไหว้วอนบน
๏ ผู้เชอ่ื แมม่ ด หัวเป็นแร้งกา
ยอ่ มเซ่นเหล้ายา
ตวั เปน็ ตวั คน หวั เปน็ หวั คน
๏ ผู้เช่อื แมม่ ด
ตวั เป็นแรง้ กา