The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

(ฉบับนายจันและครอบครัว สร้างถวายไว้ในพระพุทธศาสนา)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือพระมาลัยสูตร พ.ศ.๒๔๐๕

(ฉบับนายจันและครอบครัว สร้างถวายไว้ในพระพุทธศาสนา)

Keywords: มาลัยสูตร,Religion

๙๒

๏ ลางนางบำเรอเสียงขบั ลางนางจับระบำรำถวาย

ลางนางดดี พิณสามสาย ทั้งดนตรเี พราะเอาใจ

๏ กล่ินฟงุ้ หอมตลบ ทว่ั พิภพท้าวหสั นยั น์

เสียงเสนาะเพราะจบั ใจ สง่ เสียงใสดรุ ิยดนตรี ฯ๏ เชดิ ๏๛

๏ เมือ่ นนั้ พระศรีอารยิ ์ จงึ มพี ระโองการ

ตรสั ถามพระมาลยั

๏ พระสมณะนี้มาแต่ไหน ขอชมบญุ สมภารไซร้

พระบอกข้าไปจงเรว็ พลนั

๏ มาถงึ เมืองอนิ ทร์แลเมืองฟา้ เทพถว้ นหน้ามานัง่ เฝ้า

พระเถรเจา้ อยนู่ ี้นัน้

๏ พระจะเอาอันใดในเมอื งสวรรค์ พระบอกเถดิ นะจงพลัน

จะต้งั หน้าแตง่ ถวายพระอาจารย์

๏ พระมาลัยไดฟ้ ังบม่ นิ าน เธอจึงรับโองการ

เจ้าพิภพจึงคำรบถวายพรพลนั

๏ ดกู รบพิตรรูปมาแตเ่ มอื งชมพูน้ัน เรามาถงึ เมืองสวรรค์

จะชมสมบตั ทิ รงธรรม์ พลางจะไหวพ้ ระเจดีย์

ฯฯ๏ฯฯ ราบ ฯฯ๏ฯฯ๛

๏ ข้าแตพ่ ระเถร ชาวเมอื งชมพู

เขากินเขาอยู่ ประพฤตสิ ิ่งใด

๏ เขายอ่ มประพฤติ กจิ การสิง่ ไร

เลย้ี งชีพชนมไ์ ป ตามกจิ กินอยู่

๏ พระเถรจึงบอก ๙๓
เขากนิ เขาอยู่
๏ ชาวชมพทู วปี ว่าชาวชมพู
ดว้ ยเลย้ี งชพี ชนม์ ตามกิจแหง่ ตน
๏ ชาวชมพทู วีป เขาเปน็ ทำวน
ลางคนสุกใส ยากจนพน้ ใจ
๏ ลางคนรปู งาม ลางคนเขญ็ ใจ
ลางคนยินดี ม่งั คัง่ เปน็ ดี
๏ ผู้อายยุ ืน ลางคนอปั รีย์
ผู้มกั พลันตาย ลางคนพลันตาย
๏ เราบอกดังน้ี มีน้อยเดียวดาย
ใหร้ เู้ หตผุ ล มที ่วั สากล
๏ เมอื่ นนั้ จงึ พระ แก่หนอ่ ทศพล
ไดฟ้ งั คดี แห่งชาวชมพูศรี
๏ จึงถามไปเลา่ ศรอี ารยิ ไมตรี
ผู้เป็นเจา้ เลา่ ถวาย ชาวชมพทู ั้งหลาย
๏ ข้าแตพ่ ระเถร ถงึ อภิปราย
บดั น้ชี าวชมพู จะฟงั กุศลดู
๏ ฤาวา่ ทำบาป เจา้ ผูเ้ ป็นครู
ทงั้ สองน้ีไซร้ ทำบญุ ฤาไฉน
๏ ดกู รบพติ ร มากมายเหลอื ใจ
จะทำบุญนัน้ ใครจะมากกว่ากนั
ฝงู คนทุกวนั
น้อยหนักน้อยหนา

๙๔

๏ คนผูใ้ จบญุ มนี ้อยนกั หนา
ผบู้ าปหยาบชา้ มีมากอนันต์
๏ เมอ่ื นนั้ พระศรอี ารยิ ์ มโี องการถามพระมาลยั
เมอื่ เขาใหใ้ หอ้ นั ใด ชือ่ ว่าทานแลทำ
๏ เม่ือเขารกั ษาศีล ศีลอนั ใดแลเขาจำ
ชาวชมพูแลเขาทำ ส่ิงช่อื ใดในโลกา
๏ พระเถรว่าเขาให้ ขา้ วแลนำ้ แลวัตถา
ธปู เทยี นชวาลา ดวงดอกไมห้ อมขจร
๏ เครือ่ งทานแลเส่อื สาด พรมเจยี มลาดแลฟกู หมอน
เตยี งตั่งท่นี ่ังนอน กุฎีสถานย่อมมากมาย
๏ เครื่องทานท้ังสิบนไ้ี ซร้ ลางคนใหส้ ง่ิ เดยี วดาย
ลางคนทำฟยุ ฟาย ได้ใหท้ รพั ยท์ งั้ สบิ อัน
๏ ทานทั้งสิบน้ีไซร้ ลางคนใหถ้ ว้ นครบครัน
ลางคนหมนั่ ฟงั ธรรม์ หมนั่ จำศีลแลสมาทาน
๏ ลางคนนิมนต์พระสงฆ์ ให้สวดมนตเ์ ปน็ นิจกาล
ลางคนใหช้ ีวติ เป็นทาน ผู้ใดไขไ้ ปรักษา
๏ ลางคนไปแผ้วกวาด สรา้ งอาวาสวงั วัดวา
สรา้ งวิหารไวพ้ ุทธา โรงเทศนาแลกุฎี
๏ ลางคนแตง่ ขา้ วฉนั ขนมทอดมนั หอ่ หมกมี
ถวายสงฆ์เถรเณรชี ยาจกมแี จกใหท้ าน
๏ ลางคนเลี้ยงพ่อแม่ ปูย่ ่าแก่แลพงศ์ปราน
รักษาครอู าจารย์ แลว้ สมาทานภาวนา

๙๕

๏ ลางคนสมาทานเอา ตามพระเจา้ ตรัสเทศนา
ถวายข้าวสงฆใ์ หว้ ัตถา จตปุ จั จัยให้เป็นทาน
๏ ลางคนถวายเตยี งตงั่ ม่านกั้นกลางดาษเพดาน
ให้อฐั บริขาร ของตระการอันยินดี
๏ ลางคนใจกรณุ า ปล่อยทาสาแลทาสี
สารพันทุกประการมี ชาวโลกยี ์ทำตามกำลงั
๏ พระมาลัยเทพเถร บอกใหพ้ ระไมตรีฟงั
ตน้ ปลายแตป่ างหลัง ให้รู้เรอื่ งชาวชมพู
ฯฯ๏ฯฯ ราบ ฯฯ๏ฯฯ๛
๏ พระโพธสิ ัตว์ ฟังพระมาลัย
อ่มิ อกอ่ิมใจ ยินดีปรดี ี
๏ จงึ ตรัสว่าสาธุ ไพเราะหนกั หนา
พระเถรบอกมา ขา้ แจง้ ทุกประการ
๏ ชาวชมพทู วปี จำศลี ใหท้ ่าน
เขาชืน่ ใจบาน ยนิ ดีทกุ คน
๏ เมอ่ื ทา่ นได้ตรัส เมือ่ พระทศพล
ขอไดม้ รรคผล อยา่ ใหค้ ลาดคลา
๏ เขาทำบุญแล้ว เขาปรารถนา
ขอพบศาสดา พระศรีอาริยไมตรี
๏ เมื่อท่านได้ตรสั เป็นพระมุนี
ขอบวชเปน็ ชี ขอลุอรหนั ต์

๙๖

๏ เขาปรารถนา เนืองนจิ ทกุ วัน
ถ้าเจา้ จอมธรรม์ สมเดจ็ พระศรีอารยิ ์
๏ ถ้าพระจะเทีย่ ว สรา้ งพระโพธสิ มภาร
ขอเปน็ บริวาร บรรลุมรรคผล ฯ๏ฯ ฉันท์ ฯ๏ฯ
๏ เม่ือน้ันพระศรีอารีย์ ฟังอาการกเ็ ต็มใจ
จึงตรสั ว่าพระมาลัย ขา้ จะไปในโลกยี ์
๏ พระเถรจึงกรุณา ไปบอกว่าพระไมตรี
ไดย้ ินท่านยินดี ใหช้ าวโลกยี เ์ ร่งบรรจง
๏ ถา้ ผใู้ ดจะใคร่พบ ขอประสบพระพทุ ธองค์
ให้ผนู้ ัน้ เรง่ บรรจง ทำบญุ แล้วแลว้ แผผ่ ล
๏ ผู้ใดใจอุตส่าห์ ดบั โทสาทำกศุ ล
อยา่ ฆา่ ด่าตตี น ให้ผิดหมองพ้องใจกัน
๏ อย่าไดท้ ำปาณา กล่าวมุสาใจอาธรรม์
อย่าลักทรัพย์ของกนั จึงจะทนั พระนฤมล
๏ ผู้ใดจะใครพ่ บ ขอประสบหน่อทศพล
อยา่ ทำให้สลวน ดว้ ยเมยี ทา่ นอยา่ ทำเลย
๏ ถา้ ผูใ้ ดจะใครเ่ หน็ เมอ่ื ทา่ นเปน็ พระชมเชย
ฝงู คนทั้งหลายเอย จงดบั ฟังพระเวสสันดร
๏ ผ้ใู ดจะใครพ่ บ ใคร่ประสบพระบวร
ใหฟ้ ังนทิ านพระเวสสันดร วันเดยี วจบส้ินทง้ั พัน
๏ พระบาลพี ระเทศนา เพลิงบูชาครบครามครนั
ดอกไมส้ งิ่ ละพัน ฉตั รธงนนั้ บริบรู ณ์

๙๗

๏ อุตส่าห์ดำรงจติ อย่าถอื ผิดจะเสียสูญ
ทำบุญให้มากมูน ให้ทำตามพระส่งั สอน
๏ ผู้ใดจะใคร่เห็น เมื่อทา่ นเป็นพระบวร
อยา่ ทำใหอ้ นาทร แกภ่ ิกษุแลนางชี
๏ ตงั้ ใจใหเ้ ปน็ บญุ จะเป็นคุณในโลกีย์
พระสงฆ์แลนางชี อยา่ คมุ โทษใหม้ นั่ หมาย
๏ ผ้ใู ดจะใคร่พบ พระไมตรีผู้ฦาสาย
อยา่ ตัดอยา่ รอนปลาย อยา่ ตัดไมพ้ ระมหาโพธิ
๏ ผใู้ ดใจอตุ สา่ ห์ ทันศาสนาพระไมตรี
อย่าฆา่ อยา่ ดา่ ตี พระโพธิสตั วห์ น่อทศพล
๏ อยา่ ไดไ้ ปเบยี นผลาญ ทรัพยส์ ินสงฆ์จะสลวน
ชื่อวา่ พ่อแมต่ น อยา่ ทำร้ายดา่ ฆ่าตี
๏ ผูใ้ ดจะใครเ่ ฝา้ พระเป็นเจา้ ชื่อไมตรี
อยา่ ทำใจตระหนี่ ให้ยินดีซึง่ กุศล
๏ พระเถรรบั โองการ พระศรอี าริยบ์ ัดเด๋ียวดล
ใหบ้ อกแก่ฝูงคน ทว่ั ทง้ั โลกชาวชมพู
๏ เมอ่ื พระโพธสิ ัตว์ ทา่ นจะตรัสส่ังให้รู้
รปู จะบอกชาวชมพู ใหเ้ ขาตืน่ ชืน่ ชมเชย
๏ เออพ่อคำข้าส่งั ขอพระเถรฟังอย่าลืมเลย
มาลยั นะหวั เอ๋ย ขอพระบอกจงนักหนา
๏ อันใดคำข้าสั่ง ขอพระเถรอยา่ คลาดคลา
ขอพระกรณุ า บอกแกโ่ ลกท่ัวแดนไตร

๙๘

๏ รูปจะบอกมิให้คลาด มหาราชอยา่ ร้อนใจ
จะบอกวา่ พระเมตไตรย ทา่ นตรัสสง่ั แก่เรามา
๏ ท่ีนั่นชาวชมพู ชน่ื ชมอย่หู ฤหรรษา
จะไหวจ้ ะวนั ทา จะเพม่ิ พูนเติมบญุ ไป
๏ อนึง่ โสด ณ บพติ ร ชอื่ วา่ สัตวท์ ้งั หลายใด
จะไหวน้ บเจ้าจอมไทย เขาจะไหวจ้ ะถามเรา
๏ ว่าบพติ รพระศรีอาริย์ ผ้ทู รงญาณอันปิน่ เกลา้
ท่านเสดจ็ มาโปรดเรา ในกาลเม่อื ขณะใด
๏ ครน้ั ว่ารปู จะบอก คดีมิออกจะสงสยั
พระจะไปขณะใด เรามแิ จง้ แกใ่ จเรา
๏ ขอบพติ รบอกจงแท้ เราจะแกจ้ ะบอกเขา
ใหร้ ู้จักลำเนา เม่ือทา่ นไดส้ พั พญั ญู
๏ พระจะโปรดขณะใด ขอบพิตรไดเ้ อ็นดู
เทศนาให้จงรู้ คดนี ัน้ จงแจง้ ใจ
๏ เมอ่ื เขาจะถามเรา เราจะบอกออกฉับไว
โดยชอบอัชฌาศัย เม่ือทา่ นได้เป็นพระชินสหี ์
ฯ๏ ราบ ๏ฯ๛
๏ เม่ือนน้ั จงึ พระ- ศรีอาริย์ไมตรี
จะบอกคดี แกพ่ ระมาลยั
๏ ข้าพระจะบอก ขอพระจำไป
บอกใหเ้ ขา้ ใจ อยา่ ไดป้ รารมภ์

๙๙

๏ เม่อื ใดศาสนา พระสมณโคดม
จะเศรา้ จะจม ถอยนอ้ ยเรียวไป
๏ ฝงู คนทงั้ หลาย ทำบาปเหลือใจ
จะทำบุญไซร้ น้อยนกั น้อยหนา
๏ ข้ีครา้ นใหท้ าน จำศีลภาวนา
ข้คี ร้านรักษา คุณแกว้ ท้งั สาม
๏ ฝงู คนทำบาป ยงุ่ หยาบมากขาม
บ่มกิ ลัวลวนลาม ทำบาปบม่ ิอาย
๏ แม่บังเกดิ เกลา้ เขา้ เคล้าคลงึ กาย
บ่มิกลวั บม่ อิ าย เสพด้วยแม่ตน
๏ แมป่ ้านา้ อา เป็นโกลาหล
พน่ี อ้ งของตน บม่ ิไดอ้ ดสู
๏ หญงิ ชายท้งั หลาย บ่มไิ ดค้ ิดดู
เลย้ี งเป็นลูกอยู่ ซอ่ งเสพบม่ อิ าย
๏ ผา่ แดนรกุ แดน ดุจหมาหมูทราย
บ่มริ ู้ความอาย ดุจสัตวเ์ ดรัจฉาน
๏ ครั้นถึงดงั น้ี ฝงู โลกในสงสาร
อายุบ่มยิ นื นาน พลนั ส้ินชีพชนม์
๏ ครนั้ ตายไปตก นรกสลวน
บาปเมอ่ื เปน็ คน เสพด้วยแม่เมียตน
๏ เพราะไม่เคารพ พ่อแมเ่ ผ่าพนั ธ์ุ
สมเสพแก่กัน สลวนไปมา

๑๐๐

๑๐๑

๏ บาปนนั้ มากนัก อปั ลกั ษณน์ ักหนา
อายุคลาดคลา ถอยจากร้อยปี
๏ อายุจึงถอย นอ้ ยไปทกุ ที
จะนบั ซง่ึ ปี สิบขวบพลนั ตาย
๏ เดก็ เล็กสี่เดอื น ทง้ั หญิงทั้งชาย
เกย้ี วกนั วุ่นวาย เปน็ ผวั เมยี กัน
๏ บาปกรรมดังนี้ อายจุ ึงพลนั
เร่งมว้ ยอาสญั สิบปมี ว้ ยมรณ์
๏ บาปกรรมดงั นั้น ท่วั ท้ังดนิ ดอน
ใหญเ่ ท่าลูกออ่ น สี่ปีหา้ ปี
๏ ฝงู คนทัง้ หลาย เกดิ ใจกลี
รานรกุ บุกตี ย่ำยยี ิงฟัน
๏ สำคัญว่าเนอ้ื จะใครแ่ ทงกัน
กูยงิ เองฟนั ช่อื วา่ มิคสัญญี
๏ ฉวยจบั ได้ไม้ ว่งิ ไลท่ ุบตี
กลบั เปน็ กลุ ี หอกดาบทันใจ
๏ ไล่แทงฆ่าฟนั กันตายดาษไป
ฉบิ หายบรรลยั ทวั่ ทั้งธรณี
๏ ฆา่ กนั มว้ ยมดุ สิ้นสุดเปน็ ผี
สน้ิ ท้งั ธรณี ย่อมผกี ่ายกอง
๏ เลือดเนา่ เน้ือเนา่ ซากผพี ุพอง
น้ำเลือดไหลนอง ทั่วท้องธรณี

๑๐๒

๑๐๓

๏ ผูใ้ ดรเู้ หน็ เร้นซ่อนครี ี
คนเดียวลบั ล้ี อย่หู ว้ ยหุบผา
๏ ผนู้ นั้ จงึ รอด จากความมรณา
เพราะอยู่เอกา ลบั ล้ีคนเดยี ว
๏ ถ้าอย่หู ลายคน บงั เกิดฉับเฉียว
ฆ่ากันบดั เดยี ว เอง็ ก็ตายกูกต็ าย
๏ ถา้ อยูผ่ ู้เดยี ว บม่ ิเหน็ ใครกลาย
รอดจากความตาย เพราะซ่อนเรน้ ไกล
๏ คร้นั ถึงเจด็ วัน ฆา่ กนั แล้วไซร้
ไมเ่ ห็นผู้ใด จะรอดถึงสอง
๏ ฝูงคนเรน้ อยู่ จงึ ตรกึ นกึ ปอง
ชวนกนั แลว้ ครอง ปญั จศีลรกั ษา
๏ เดชะจำศลี และภาวนา
เมฆต้งั ขึ้นมา ฝนตกเจด็ ราตรี
๏ ซากผลี อยไป ตกในนที
ส้นิ ทัง้ ธรณี บริสุทธห์ิ มดใส
๏ แตน่ ้ันฝงู คน ดำรงจิตใจ
จำเรญิ ขน้ึ ไป รักษาปญั จศลี
๏ บา้ งภาวนา ทำเพยี รอาจณิ
ชน่ื ชมนจิ ศีล จำเรญิ สุกใส
๏ หา่ ฝนมธรุ ส ตกเจ็ดวันไป
เปน็ อาหารให้ มนุษยเ์ นอื งนอง

๑๐๔

๏ หา่ ฝนแก้วแหวน ท้ังเงนิ ทงั้ ทอง
ตกลงเนืองนอง ถ้วนทั้งเจด็ วนั
๏ หา่ ฝนของหอม กฤษณาจวงจนั
ตกลงเจด็ วนั ระงบั กลิ่นคน
๏ ห่าฝนอาหาร ให้ประชาชน
ใหเ้ ลยี้ งชีวิตตน สืบอายุพลนั
๏ หา่ ฝนผา้ ผอ่ น ทอ่ นผนื ครบครนั
ตกลงเจด็ วัน อเนกมากมาย
๏ เพ่อื จะใหฝ้ ูงคน นงุ่ ห่มกันอาย
ท่ัวทง้ั หญงิ ชาย ไดเ้ ดนิ เท่ยี วจร
๏ หา่ ฝนเครอ่ื งใช้ นอ้ ยใหญบ่ วร
ทว่ั ทง้ั ดนิ ดอน ตกลงเหลือหลาย
๏ เดชะฝูงคน ท้งั หญิงทงั้ ชาย
จำศีลสบื สาย จำเรญิ อายไุ ป ฯ๏ ฉันท์ ๏ฯ๛
๏ เดชะอยใู่ นธรรม ลูกหลานน้นั ยง่ิ ยินดี
ละรอ้ ยละร้อยย่งิ ข้นึ ละปี ถงึ ยส่ี ิบก็เตม็ ใจ
๏ บญุ ญายสี่ บิ ปี จำเรญิ ศลี ยง่ิ ยนื ไป
สามสิบสสี่ ิบก็ดีใจ ยนื ขน้ึ ไปถงึ ร้อยปี
๏ สองรอ้ ยถึงสามร้อย ส่ีหา้ รอ้ ยขึ้นทวี
ถงึ พนั ถึงหมนื่ ปี ย่งิ ทวมี ากขนึ้ ไป
๏ สองหมืน่ สามหมน่ื ปี ยิ่งยืนดีปรีเปรมใจ
ถงึ แสนถึงล้านไป อายไุ ด้ยนื มากมี

๑๐๕

๏ เม่ือนัน้ ชาวชมพู ช่ืนชมอย่จู ำเรญิ ดี
อายุถงึ โกฏปิ ี ย่งิ ทวียิ่งข้ึนไป
๏ ถา้ จะนบั ใหร้ ู้แม่น ร้อยแห่งแสนโกฏิไตร
ฝงู คนสำราญใจ ถงึ อสงไขยไมอ่ นจิ จา
ฯฯ๏ฯฯ ราบ ฯฯ๛
๏ เม่อื น้นั ฝงู สตั ว์ ทวั่ ท้งั สากล
ไม่รเู้ หตผุ ล ทคี่ วามมรณา
๏ ท่นี น้ั ฝงู คน ลืมตนหนักหนา
จำศลี ภาวนา บ่มิได้ทำเลย
๏ ว่าเราเป็นสุข สนุกชมเชย
เราท้ังหลายเอย ทำบญุ ไปใย
๏ แต่น้ันอายุ จึงถอยน้อยไป
ถอยจากอสงไขย ถอยไปทกุ วนั
๏ ฝูงคนทง้ั หลาย เจรจาว่ากนั
บม่ ิรูซ้ งึ่ ธรรม์ มีใจสงสัย
๏ วา่ หน่อผีตาย นี้เป็นอันใด
ความเจบ็ ความไข้ อันใดแลนา
๏ ชื่อวา่ เจ็บไข้ มีในกายา
เจ็บปวดหนักหนา เราไมเ่ คยเห็น
๏ ชอื่ วา่ แกเ่ ฒ่า เราไม่เหน็ เปน็
เราจกั ใคร่เหน็ อย่างไรลม้ ตาย

๑๐๖

๏ ครั้นวา่ ฝงู คน ลืมตนมากมาย
จงึ ไขจ้ งึ ตาย พลัดพรายจากกนั
๏ แต่นัน้ อายุ จงึ ถอยน้อยพลัน
เพราะน้ำใจน้นั ประมาทบ่มดิ ี
๏ ถอยถดลดไป ยังแสนโกฏปิ ี
ถอยลงถงึ ที่ เกา้ หมน่ื ประมาณ
๏ ถอยจากเกา้ หมน่ื คลาดลงบ่มินาน
ไปหยดุ ถงึ กาล แปดหม่นื มัน่ คง
๏ ท่ีนั้นพระศรีอารยิ ์ ไมตรีผูย้ ง
ทา่ นเสด็จลง มาโปรดสตั ว์ทง้ั หลาย
๏ จะสอนสัตว์ตาม อรรถาธบิ าย
ใหส้ ตั วท์ ง้ั หลาย พน้ บว่ งมารา
๏ ฝูงสตั วท์ ้งั หลาย มนษุ ย์เทวา
ได้ฟังเทศนา แหง่ พระไมตรี
๏ ฝูงคนพน้ ทกุ ข์ จากอเวจี
เพราะพระไมตรี โปรดสัตวเ์ นืองนอง ฯ๏ ฉันท์ ๏ฯ๛
๏ เม่อื นน้ั ชาวชมพู ชืน่ ชมอยสู่ ขุ ทงั้ ผอง
ไพบูลยด์ ้วยเงินทอง เกดิ ทุนทรัพย์กลบั ม่งั มี
๏ แผ่นดินดุจคนปราบ ราบกว่าราบหนา้ กลองศรี
หญ้าสงู ส่ีองคุลี เขียวมีศรงี ามบรรจง
๏ นำ้ ไหลขึ้นข้างหนึง่ ฟากขา้ งหนง่ึ กไ็ หลลง
เคยเป่ยี มเลียบสระสรง เพียงขอบฝง่ั อยู่อาจณิ

๑๐๗

๏ บ่พร่องบ่ล้นนัก แตพ่ อกากม้ ลงกนิ
เตม็ อยู่เป็นอาจิณ ใสบรสิ ทุ ธเิ์ ห็นตวั ปลา
๏ โพธสิ ัตวเ์ จ้าใสสทุ ธ์ิ หน่อพระพทุ ธจะลงมา
ตรัสเป็นพระศาสดา โปรดฝูงโลกคณกิ ร
๏ ฝูงสตั วจ์ ะไดฟ้ งั ธรรมพระเจ้าตรสั สงั่ สอน
จะลุถึงฝง่ั นคร พน้ จากโอฆะสงสารไป
๏ เมื่อนน้ั พระไมตรี ตรัสคดีแกพ่ ระมาลัย
ในกาลเมอื่ ขณะใด ถงึ วสนั ตฤดู
๏ ฝนตกห้าวนั ตก ห้าวันตกเปน็ เที่ยงอยู่
ครน้ั ถงึ คิมหันตฤดู สิบห้าวันตกลงมา
๏ ครน้ั ถงึ เหมนั ตฤดู สิบหา้ วันตกธรรมดา
ตกลงตามเวลา เปน็ กำหนดดงั นไี้ ป
๏ ตกแต่คำ่ ถึงเทยี่ งคนื คร้นั ค่อนรุ่งกส็ วา่ งไสว
เป็นธรรมดาอัตราไป แท้ดังนี้บ่ปรวนแปร
๏ ครานัน้ มทิ ันนาน พระศรีอารยิ จ์ ะมาแล
พระองคจ์ ะเผยแผ่ ไขคลังธรรมเทศนา
๏ ฝงู สัตวจ์ ะไดพ้ บ ไดไ้ หว้นบพระศาสดา
จะไดฟ้ งั เทศนา ไดบ้ ูชาด้วยลงมาชม
๏ ถงึ กำหนดขา้ จะไป พระมาลยั อยา่ ปรารมภ์
จะให้สตั ว์ช่นื ชม ชมมรรคผลคอื โสดา
๏ เม่อื ใดพฤกษ์ตน้ ไม้ มีดอกใบนอ้ มลงมา
มพี รรณอันนานา รสเอมโอชหอมเอาใจ

๑๐๘

๏ ฝงู คนสุขถว้ นหน้า ดังน้ีนาพระมาลัย
คราน้นั ขา้ จะไป โปรดฝูงโลกเขา้ นิพพาน
๏ ผใู้ ดใคร่อยทู่ ่า ใครเ่ หน็ หน้าพระศรอี ารยิ ์
ใหจ้ ำเรญิ ศลี แลทาน ภาวนาจงทุกวัน
๏ เมื่อใดชาวชมพู ระร่นื อยู่เกล่อื นหน้ากัน
ลกั ษณะนจ้ี ะคิดผกู พัน เหมอื นพนี่ อ้ งท้องเดียวมา
๏ เสอื กสนปนกนั อยู่ ดังไม้ออ้ ไม้ไผป่ ่า
บ้านเรือนเกลื่อนคณนา พอไก่กาบนิ มาถงึ
๏ ครานนั้ พระมาลยั ข้าจะไปอย่ารำพงึ
จะโปรดสตั ว์ใหไ้ ปถงึ พระนครนฤพาน
๏ ผู้ใดจะใครพ่ บ ใครไ่ หวน้ บพระศรอี ารยิ ์
เรง่ ธุดงคก์ รรมฐาน ไตรลกั ษณาญาณภาวนา
๏ เมื่อใดคนทัง้ หลาย เลน่ สบายทุกเวลา
เสวยโภชนานา ดว้ ยน้ำผ้ึงอนั หวานมนั
๏ รำรอ้ งฟอ้ นระงม เสียงเกลอื้ งกลมเชยชมกัน
บ่มใี จอาธรรม์ เครอื่ งใช้สอยอเนกไป
๏ คราน้ันและนะพ่อ ขอพระเถรอยา่ ร้อนใจ
คร้นั แลว้ ข้าจกั ไป โปรดฝูงสตั ว์พ้นสงสาร
๏ ผใู้ ดจะใครพ่ บ ใคร่ไหว้นบพระศรีอารยิ ์
อย่าฆา่ ชีตสี มภาร ผมู้ ศี ีลพระอปุ ชั ฌาย์
๏ เม่อื ใดคนทงั้ นั้น บ่ลงทัณฑ์ดว้ ยอาญา
บไ่ ด้ใจหงึ สา มที นุ ทรัพย์แบง่ ใหก้ นั

๑๐๙

๏ เม่ือใดคนท้งั หลาย หญงิ กับชายอยู่เท่ียงธรรม์

บ่ได้หงึ หวงกัน สักเล็กนอ้ ยบ่ยายี

๏ โดยคำ่ ถอยลงไป ยงุ เลอื ดไรบต่ บตี

แผ่มติ รไมตรี ใหแ้ ก่สตั ว์นริ นั ดร

๏ ครานั้นขา้ จกั ไป พระมาลัยผู้บวร

จะเอาธรรมมาสัง่ สอน สัตว์ทงั้ หลายพน้ ทกุ ขา

๏ จะใหถ้ งึ โสดา สกทิ าคาอนาคา

ใหล้ อุ รหันตรา ปาฏโิ มกขเ์ ขา้ นิพพาน

๏ เมือ่ ใดผวั แลเมยี ไม่ละเสียอยู่ดว้ ยกนั นาน

ผวั เดยี วเมยี เดยี วร่วมสงสาร รักรว่ มห้องบ่หมองกนั

๏ ร้อยวันบร่ ูเ้ ถียง เรียงหนา้ สู่อยู่เปน็ ธรรม์

มิหาใหมก่ นิ อยดู่ ว้ ยกัน เป็นสขุ เกษมเปรมปรีดา

๏ ครานัน้ ข้าจกั ไป พระมาลยั อยา่ สงกา

ขา้ พระจะเทศนา โปรดฝูงสัตวเ์ ข้าส่นู คร

๏ ผใู้ ดจะใครเ่ ห็น เมื่อข้าเปน็ พระบวร

ใหม้ ีใจโอนออ่ น บวชเปน็ สงฆ์เป็นนางชี

๏ ปรนนิบัตใิ ห้แผ่ผล จงสวดมนตแ์ ผ่ไมตรี

ตัง้ อเุ บกขาบารมี จึงจะสบพบจอมไทย

๏ เมอ่ื ใดคนทั้งหลาย บข่ วนขวายทำไรน่ า

ได้เล้ยี งชพี ชนมไ์ ป ดว้ ยตน้ ไม้กลั ปพฤกษา

๏ ฝงู กาและนกเคา้ เขา้ อยูเ่ คลา้ บ่โกรธา

แมวกับหนูอยเู่ สนห่ า บบ่ ีฑาเบียดเบียนกัน

๑๑๐

๏ พงั พอนและงูเห่า บ่ได้เข้าขบกดั พลนั
รกั สนทิ คดิ ผูกพนั อยูด่ ว้ ยกันเป็นสำราญ
๏ ฝูงสตั วร์ าชสีห์ เสือแลหมีบเ่ บียนผลาญ
หากินเป็นสำราญ ตามสันดานประเวณี
๏ ครานัน้ พระมาลัย ข้าจะไปในโลกยี ์
จะโปรดสตั วท์ ัว่ ธรณี จำเรญิ ศรเี ป็นสขุ ใจ
๏ เมือ่ ใดขา้ วละเมด็ แตกงอกออกงามไสว
ละหน่อ ๆ พนั กอไป มลี ำได้ถึงพันลำ
๏ ละลำ ๆ ไดพ้ นั รวง ละรวง ๆ ดงั แกล้งทำ
สองทะนานพนั อันล้นลำ งามสถติ งามเสถียร
๏ ข้าวเม็ดเดยี วไดส้ องพัน สองร้อยเจด็ สบิ สองเกวยี น
สบิ หกสดั เตม็ สังเวียน ยง่ิ เหลอื น้นั แปดทะนาน
๏ พชื นน้ั หากเกดิ เอง บ่พักปลูกบพ่ ักรา้ น
ครัน้ สกุ เปน็ ข้าวสาน ขาวบรสิ ุทธิเ์ ปน็ ธรรมดา
๏ ครานน้ั ข้าจกั ไป พระมาลยั อย่าสงกา
โปรดสัตว์ท่ัวโลกา ไตรพิภพให้ร่งุ เรือง
๏ เม่ือใดคนทัง้ หลาย บข่ วนขวายชิงบ้านเมอื ง
บม่ ิใหร้ ำคาญเคือง มที ุนทรัพย์แบง่ ให้กัน
๏ บไ่ ดย้ ยุ งท่าน บไ่ ดผ้ ลาญแทงฆ่าฟัน
น้ำใจเป็นเที่ยงธรรม์ ในกศุ ลผลศีลทาน
๏ ครานนั้ ขา้ จะไป พระมาลัยผอู้ าจารย์
ฝูงสัตวอ์ ยสู่ ำราญ จะได้ฟงั ธรรมเนอื งนอง

๑๑๑

๏ เมอื่ ใดแผ่นดนิ ราบ คือดงั ปราบเหมือนหนา้ กลอง
บ่มหี นามเรย่ี ก่ายกอง เงินทองตกบห่ ่อนหาย
๏ อยู่ดีเป็นศรสี วสั ด์ิ บห่ อ่ นพลดั บ่หอ่ นพราย
บ่หอ่ นเป็นอันตราย ยอ่ มบรสิ ทุ ธท์ิ ัว่ สากล
๏ ฝูงคนทงั้ หลายเหล่า บ่ได้เศร้าโศกสักคน
บห่ ่อนเป็นพยาธบิ ฑี าตน เปน็ ข้ีเรือ้ นเกล้ือนกลากฝี
๏ สาระพัดหตู าสว่าง บเ่ ปน็ อ่างใบบ้ ้าบี
บเ่ ป็นคอ่ มเค้ากลุ ี และง่อยเพลยี เปลีย้ งวยงง
๏ คราน้ันขา้ จะไป พระมาลยั อริยสงฆ์
จะโปรดสตั วโ์ ดยจง ให้ลุถงึ อรหนั ต์
๏ ผู้ใดใครเ่ ป็นชี ด้วยไมตรเี จา้ จอมธรรม์
อยา่ คดิ รา้ ยมุ่งหมายกนั จึงจะทนั พระศรีอาริย์
๏ ฝูงคนท้ังหญงิ ชาย จงขวนขวายผลศลี ทาน
ผู้นนั้ ไมช่ ้านาน จะพบพานพระไมตรี
๏ ผใู้ ดทำดงั น้ีจบ จะได้พบโดยสบใจ
ขา้ แต่พระมาลัย ขา้ จะไปในโลกยี ์
๏ สิ่งใดทเ่ี ปน็ ผล บอกฝูงคนใหย้ นิ ดี
ให้แผ่มติ รไมตรี เปน็ เนืองนจิ นิรันดร
๏ ดงั น้ีนาพระมาลัย ขา้ จะไปตรัสส่งั สอน
ฝูงโลกแดนดนิ ดอน จะพน้ ทกุ ข์เสวยสขุ ไขย
๏ ผ้ใู ดจะใครเ่ ห็น เม่ือท่านเป็นพระเมตไตรย
จงทำความเพียรไป จึงจะได้ทนั พระองค์

๑๑๒

๏ ฟงั ธรรมอยา่ ซบเซา อย่าเงยี บเหงาง่วงงวยงง
ให้ตง้ั จิตใจปลง ตง้ั ตวั ตรงปลงสงขา
๏ ให้เหน็ เป็นทุกขัง เป็นอนิจจงั อนัตตา
ผูน้ ้นั ทนั ศาสนา เมื่อขา้ เป็นพระศรีอารยิ ์
๏ บรบิ รู ณ์พูนครบแล้ว จะคลาดแคลว้ จากวมิ าน
จะลงไปสู่ดินดาน ตรสั เป็นพระแค่องคเ์ ดียว
๏ ฝูงคนอย่าปรารมภ์ จะได้ชมดว้ ยฉับเฉยี ว
จะประเสริฐพระองค์เดยี ว ไม่มเี ปรยี บได้ถงึ สอง
๏ ขา้ แต่พระเถรเจา้ ไปบอกเลา่ ตามทำนอง
ใหเ้ ร่งตรกึ นกึ ปอง อยา่ เศร้าหมองทางกศุ ล
๏ ผูใ้ ดต้ังใจตรง จะพบองค์พระทศพล
จะลุถึงมรรคผล เพราะกศุ ลเที่ยงแท้แล
ฯ๏ ราบ ๏ฯ๛
๏ เมื่อนัน้ พระเถร ผชู้ ่ือมาลัย
ถามเจา้ ภพไตร ไมตรใี จงาม
๏ ดูกรบพติ ร รปู จะขอถาม
ไมตรใี จงาม พระบารมีสง่ิ ใด
๏ ขา้ แต่พระเถร ผชู้ ื่อมาลยั
พระเจ้าถามไถ่ ขา้ จะแถลงวา่
๏ ส่ิงของใด ๆ ย่อมงามรจนา
ข้ามศี รทั ธา ชน่ื ชมบรรจง

๑๑๓

๏ ข้าแรกก่อสร้าง ใจจติ ทำนง
ขอเป็นพทุ ธองค์ จะโปรดสตั วไ์ ป
๏ สบิ หกอสงไขย กำไรแสนกัลป์
ดังความเพยี รนัน้ เป็นชายหญงิ นาน
๏ พระเศยี รแห่งข้า กใ็ ห้เปน็ ทาน
พ้นท่ปี ระมาณ มานกั เหลอื หลาย
๏ พระเนตรแห่งข้า ดังตาลกู ทราย
ใหท้ านมากมาย กวา่ ดาวดารา
๏ ให้ทง้ั เมยี รักษา อันรว่ มเสนห่ า
แก่ผูป้ รารถนา มากลน้ พน้ ไป
๏ เราได้ใหท้ าน อนั เป็นภายใน
จะประมาณได้ กัปป์โกฏกิ ัลป์
๏ ทัง้ เน้ือและหนัง สน้ิ ท้งั กายา
เชอื ดให้มากกวา่ พ้นื พระธรณี
๏ ทัง้ เลือดแลเน้อื ลูกเมยี อนั ดี
ให้ทานมากมี ยง่ิ พ้นคณนา
๏ เม่ือข้าไดต้ รัส เป็นพระศาสดา
ฝงู คนเกดิ มา งามทัว่ โลกีย์
๏ หูหนวกตาบอด โฉดเขลาเซา้ ซี้
คนมกั ด่าตี บม่ พิ บพระเลย
๏ เมอื่ ข้าไดต้ รสั เป็นพระชมเชย
คนทัง้ หลายเอย อยา่ ได้มสุ า

๑๑๔

๏ ขา้ ให้ทานยา ยาจกอันมา
ใหต้ ามปรารถนา บ่หอ่ นไดพ้ ราง
๏ มากน้อยตามได้ ข้าใหไ้ ปพลาง
บม่ ไิ ดข้ ดั ขวาง ให้ตามปรารถนา
๏ พระสงฆม์ ีศลี อนั เดนิ ไปมา
ขา้ เห็นวันทา ก้มเกลา้ กราบกราน
๏ เม่อื ข้าจะตรสั สรรเพชดุ าญาณ
คนเปน็ พิการ บม่ ิไดเ้ กดิ มี
๏ ผู้ใดจะใคร่ พบพระไมตรี
อย่าไดต้ ระหน่ี จงมีใจบาน
๏ ขา้ ถวายข้าวนำ้ กับท้งั ยั่วยาน
ใหเ้ ครอ่ื งหอมหวาน ดอกไม้นานา
๏ เมอื่ ข้าไดต้ รสั เป็นพระศาสดา
ฝูงคนเกดิ มา ย่อมล้วนดี ๆ
๏ ข้ารักข้าใคร่ เปน็ มติ รไมตรี
บไ่ ด้ยายี บ่เบยี ดเบยี นใคร
๏ เมือ่ ข้าได้ตรสั สรรเพชญเลิศไตร
มารกำจดั ไป นอกจกั รวาล
๏ ข้าใหข้ า้ วนำ้ โภชนาอาหาร
ผู้ใดรบั ประทาน ดีเนือ้ ดีใจ
๏ อันทานภายนอก พ้นทอี่ ปุ ไมย
บำเพ็ญเพยี รไป ยิง่ พน้ คณนา

๑๑๕

๏ ข้าใหเ้ ครื่องใช้ ใหญน่ ้อยนาวา
พระสงฆไ์ ดม้ า ชนื่ ชมยินดี
๏ ขา้ ถวายผา้ ผ่อน ทัง้ กว้างยาวรี
ทาสาทาสี บรรจงให้ทาน
๏ เม่ือขา้ ได้ตรสั สรรเพชุดาญาณ
เกดิ สขุ สำราญ แกส่ ัตว์เนอื งนอง
๏ ข้าโปรดฝูงสตั ว์ ให้พน้ จำจอง
โปรดสตั ว์ทงั้ ผอง ใหพ้ น้ ทุกขา
๏ เมอื่ ขา้ ไดต้ รสั เป็นพระศาสดา
ฝูงสตั วน์ ัน้ หนา รักเสมอกันไป
๏ เม่อื ขา้ ไดต้ รสั ฝงู สัตวช์ ่นื ใจ
สารพดั ผอ่ งใส บรสิ ุทธิท์ กุ อัน
๏ วา่ งา่ ยสอนได้ นำ้ ใจเปน็ ทนั
เกดิ มาคร้ังนัน้ บรสิ ุทธิห์ มดใส
๏ ข้าแตพ่ ระเถร ผู้ช่ือมาลยั
พระเจา้ จำไป บอกให้เขาฟงั ฯฯ๏ ฉนั ท์ ๏ฯ๛
๏ เม่ือน้นั พระศรีอารยิ ์ มีโองการเพราะเหลือใจ
ประนมไหว้พระมาลยั ทัง้ สบิ นว้ิ ก็ชมชู
๏ ขอพระเถรจำจงได้ ไปบอกใหช้ าวชมพู
ใหเ้ ขาคิดคำนงึ ดู ทำกุศลจงแจง้ เจน
๏ พระศรอี ารยิ ต์ รสั เทศนา แลว้ ก็ลามหาเถร
ไหว้เจดยี ์ท่ัวบรเิ วณ สามรอบแลว้ แล้ววันทา

๑๑๖

๏ พระศรีอาริยถ์ วายเทียนทอง มณฑากรองไวบ้ ูชา

ไหวแ้ ล้วก็อำลา ยงั ดุสิตาวมิ านทอง

๏ เมื่อนั้นฝงู นางฟ้า เสดจ็ ลลี าตามลำนอง

ห้อมลอ้ มเหน็ เรอื งรอง ยอ่ มบริวารหนอ่ ทศพล

๏ ซา้ ยขวามาขยด ตามกำหนดกำนันตน

พรึบพรอ้ มลอ้ มทศพล ไหวพ้ ระแล้วเสดจ็ ลลี า

๏ บา้ งถวายธูปเทียนทอง มณฑากรองไหว้บชู า

ไหว้แล้วเสดจ็ ลลี า ตามเสดจ็ พระไมตรี

๏ สมเดจ็ พระศรีอารยิ ์ เสดจ็ ทา่ มกลางนางสาวศรี

ดจุ พระจันทรเ์ รอื งรศั มี เสดจ็ กลางดาวดารากร

๏ ลางนางบำเรอดนตรี เสียงเรอ่ื ยรร่ี ำสลอน

แวดล้อมไปหนา้ กอ่ น เสด็จยังดสุ ติ าสวรรค์

๏ พระศรีอารยิ ผ์ ้มู หมึ า ตรสั เทศนาทกุ ๆ วัน

แกส่ าว ๆ ชาวสวรรค์ อันอย่เู ช้าทกุ เวลา

๏ เมอ่ื นน้ั พระมาลยั เจรจาไปดว้ ยอินทรา

สรรเสรญิ หนอ่ ศาสดา ว่าพระเจา้ ผทู้ รงธรรม์

๏ สรรเสรญิ ถึงพระองค์ งามยง่ิ ยงกวา่ ชาวสวรรค์

พระสรุ เสยี งเทศนน้ั กไ็ พเราะเพราะนักหนา

๏ สรรเสรญิ พระบารมี หนอ่ ชนิ สหี ์ชง่ั สร้างมา

สรรเสรญิ ดว้ ยศรทั ธา พระสร้างมาแตป่ างหลงั

๏ สรรเสรญิ ถงึ นางสวรรค์ เสยี งขบั นนั้ เพราะนา่ ฟัง

อานสิ งส์ทำแต่หลัง จงึ ได้เสวยมไหยสวรรค์

๑๑๗

๏ เมอ่ื นน้ั พระมาลยั จงึ จะลาไปดว้ ยฉับพลัน

อินทราเจ้าเมืองสวรรค์ ก้มกราบไหว้พระมาลัย

๏ เราขอลามหาราช จะคลาคลาดจากแดนไตร

จะไปดว้ ยฉบั ไว จะบอกใหช้ าวโลกา

๏ อินทราแลนางสวรรค์ ยกมอื ข้นึ งามโสภา

ประนมกม้ วนั ทา ไหวพ้ ระเถรงามมศี รี

๏ พระเถรเสด็จเคล่อื นคลา เยื้องย่างมาถึงเจดยี ์

กราบกรานอัญชลุ ี ประนมกรทักษณิ มา

๏ ทกั ษิณเปน็ สามวง พระเถรจากดงึ สา

บดั ใจถึงลงกา ลัดนิว้ เดียวบป่ ูนปาน

๏ พระเถรเสดจ็ เขา้ ไป ในลงั กาเปน็ สถาน

เสด็จอยเู่ ป็นสำราญ ในอารามท่านนัน้ โสด

๏ เมื่อนั้นทา้ วอินทรา มีนางฟา้ ได้แสนโกฏิ

ให้พระแลว้ เสด็จชวยโชติ ดว้ ยนางฟา้ หมู่บริวาร

๏ นางฟา้ มาสลอน ทรงอาภรณง์ ามตระการ

ทรงแกว้ เปน็ สงั วาล วงแวดล้อมทา้ วโกสยี ์

๏ ลางเทพทรงอาภรณ์ งามบวรเรอื งรศั มี

เทวามาเรอื่ ยร่ี แลหอ้ มลอ้ มท้าวอินทรา

๏ พระอนิ ทร์เป็นนางสวรรค์ เสดจ็ ผายผนั กลางนางฟา้

ดงั ดาวล้อมจันทรา อนั ปรากฏงามสุกใส

๏ บดั นัน้ ทา้ วตรเี นตร อนั พเิ ศษเสดจ็ ไป

มิช้าบดั เดยี วใจ ถงึ สวรรค์พิมานศรี

๑๑๘

๏ ฝ่ายวา่ ฝูงเทวา ไหวว้ นั ทาพระเจดยี ์
ยอกรอัญชลี กม้ เกศแี ลว้ ลลี า
๏ ทักษิณถ้วนสามรอบ ตามระบอบแล้วไคลคลา
นางสวรรค์หอ้ มล้อมมา สสู่ ถานพิมานพลัน
๏ ลางเทพเสด็จคลาไคล ลางเทพไซรพ้ งึ ผายผัน
เทวามาลิกกนั องค์หนง่ึ พลันไปวิมาน
๏ ฝูงเทพก็ไปแลว้ ดพู รายแพรวชชั วาล
นางสวรรค์อนั นงคราญ ถึงวิมานเกษมสันต์
๏ ครั้นถงึ เทพสถิต บันเทิงจติ ด้วยนางสวรรค์
เสวยทพิ ยส์ ำราญครัน ฝงู นางฟ้าหนา้ นงคราญ
๏ ส่วนองค์พระมหาเถร ถงึ บรเิ วณวดั สำราญ
ครัน้ เฝา้ ภิกขาจาร บอกขา่ วสารแกฝ่ งู คน
๏ ดกู รท่านทงั้ หลาย เรง่ ขวนขวายสรา้ งกศุ ล
มาฟงั พระทศพล องคส์ มเด็จพระศรอี ารยิ ์
๏ วา่ เราไดข้ ึ้นไป ไปกราบไหว้เจดียส์ ถาน
สมเดจ็ พระศรีอารยิ ์ เสด็จมาไหวพ้ ระเจดยี ์
๏ ตรสั สัง่ มาแกเ่ รา ให้บอกเลา่ ชาวโลกยี ์
ให้ทานสร้างบารมี จงึ จะทนั พระศาสนา
๏ เม่ือนั้นพระมาลยั สำแดงไปดว้ ยปญั ญา
เรือ่ งราวชาวเทวา ได้ทำบญุ ทุกประการ
๏ เราพบเห็นเทวา เสด็จมาด้วยบรวิ าร
ร้อยหน่ึงหนา้ นงคราญ ได้ใหท้ านขา้ วแก่กา

๑๑๙

๏ บริวารพันหนึ่งลอ้ ม ไดใ้ ห้ข้าวดว้ ยศรัทธา
แก่เพอื่ นอยกู่ ลางนา เฝ้ารกั ษาววั ดว้ ยกนั
๏ เทวามาชนื่ ชม บรวิ ารหม่ืนหนึง่ มากครนั
ดว้ ยบญุ กศุ ลน้นั ได้ให้ข้าวแกเ่ จ้าเณร
๏ บรวิ ารสองหมื่นเล่า ไดถ้ วายขา้ วพระมหาเถร
เธอฉนั เทย่ี วตระเวน บณิ ฑบาตใส่ถว้ ยเดยี ว
๏ บรวิ ารสามหม่ืนมา น้นั ศรทั ธาด้วยฉบั เฉยี ว
สี่หม่ืนมาบดั เดียว เพราะตนไปชว่ ยเผาผี
๏ พระเถรเจา้ สำแดง บอกออกแจ้งส้ินถว้ นถี่
อนั สวรรคน์ น้ั งามดี ทำบุญนน้ั ทกุ สิ่งไป
๏ เมื่อนน้ั ฝูงหญิงชาย ฟงั อภปิ รายพระมาลยั
ยินดีทุกคนไป มนี ำ้ ใจใสศรทั รา
๏ ฝูงคนสรา้ งกศุ ล บา้ งบวชตนครองสกิ ขา
บ้างบวชบุตรภรรยา ตามศรัทธาทุกสงิ่ ไป
๏ ลางคนปลอ่ ยทาสา แลทาสใี ห้เปน็ ไท
ฝูงคนทีเ่ ล่ือมใส พริ าลยั ไปเมืองฟ้า
๏ บรุ ษุ ชายถวายอุบล แกพ่ ระเถรดว้ ยศรัทธา
ส้นิ ชพี ม้วยสงขา เกดิ เมอื งฟา้ สุขสำราญ
๏ วมิ านประดับอบุ ล อนั หอมฟงุ้ ทุกทศิ สถาน
ฝูงเทพทกุ วมิ าน โมทนาทานอ้ือองึ ไป
๏ เม่อื นัน้ พระมหาเถร อนั มีนามชือ่ ว่ามาลัย
เธอเทย่ี วโปรดสัตวไ์ ป ตามกำหนดท่านสรา้ งมา

๑๒๐

๏ โปรดสตั ว์ฝงู นรก อสรู กายแลเปตา

ให้พน้ จากเวทนา ได้สกุ ขาอเนกอสงไขย

๏ พระมาลยั ผปู้ รากฏ เล่ืองลือยศทุกทิศไป

ถงึ กำหนดท่านสร้างไว้ บา่ ยหนา้ ไปสนู่ ิพพาน

๏ ดบั ชาติชรา สิ้นสงขาพน้ สงสาร

ได้เสวยสขุ สำราญ เขา้ นพิ พานลว่ งลับไป

๏ พระมาลยั จบส้นิ สุด สัปปรุ ษุ หญิงชายใด

ฟงั แลว้ จำใส่ใจ แผ่ผลไปทกุ เวลา ฯฯ๏ฯฯ

๏ เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา ราชคเห วิหรติ เวฬุวเน กลนฺทก

นิวาเป ฯ เตน โข ปน สมเย ฯ อายสฺมา มหากสฺสโป ปิปฺผลิคุหายํ วิหรติ

อาพาธโิ ก ทกขฺ โิ ต พาฬหฺ คลี าโน

อถโข ภควา สายณฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฐิโต เยนายสฺมา

มหากสฺสโป เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ นิสชฺช โข

ภควา อายสฺมนฺตํ มหากสฺสปํ เอตทโวจ ๚ กจฺจิ เต กสฺสป ขมนิยํ กจฺจิ

ยาปนิยํ กจฺจิ ทกฺขาเวทนา ปฏิกฺกมนฺติ อภิกฺกมนฺติ ปฏิกฺกโมสานํ ปญฺญายติ

โน อภิกฺกโมติ น เม ภนฺเต ขมนิยํ น ยาปนิยํ พาฬฺหา เม ทกฺขาเวทนา

อภกิ กฺ มนฺติ โน ปฏิกกฺ มนตฺ ิ อภกิ กฺ โมสานํ ปญฺญายติ โน ปฏิกกฺ โมติ ๚

สตฺติเม กสฺสปโพชฺฌงฺคา มยา สมฺมทกฺขาตา ภาวิตา พหุลีกตา

อภญิ ญฺ าย สมโฺ พธาย นพิ ฺพานาย สํวตตฺ นฺติ ๚ กตเม สตฺต สตสิ มฺโพชฺฌงฺโค โข

กสฺสป มยา สมฺมทกฺขาโต ภาวีโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย

สํวตฺตติ ๚ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค โข กสฺสป มยา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลี

กโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย นพิ ฺพานาย สํวตฺตติ ๚ วิรยิ สมฺโพชฺฌงฺโค โข กสฺสป

มยา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลกิ โต อภิญญฺ าย สมฺโพธาย นพิ ฺพานาย สํวตฺตติ

๑๒๑

๚ ปีติสมฺโพชฺฌงโฺ ค โข กสฺสป มยา สมฺมทกฺขาโต ภาวโิ ต พหุลีกโต อภิญฺญาย
สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚ ปสฺสทฺธิสมฺโพชฺฌงฺโค โข กสฺสป มยา
สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ฯ
สมาธิสมโฺ พชฺฌงฺโค โข กสฺสป มยา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย
สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺโค โข กสฺสป มยา
สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต ภหุลิกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚
อิเม โข กสฺสป สตฺต โพชฺฌงฺคา มยา สมฺมทกฺขาตา ภาวิตา พหุลีกตา
อภญิ ญฺ าย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตนตฺ ิ ๚

ตคฺฆ ภควา โพชฺฌงฺคา ตคฺฆ สุคตโพชฺฌงฺคาติ อิธมโวจ ภควา
อตฺตมโน อายสฺมา มหากสฺสโป ภควโต ภาสิตํ อภินนฺธิ วุฏฐาหิ จายสฺมา
มหากสสฺ โป ตมฺหา อาพาธา ตถา ปหโี น จายสมฺ โต มหากสฺสปสฺส โส อาพาโธ
อโหสตี ิ ๚ ๏ ๚ มหากสสฺ ปโพชฺฌงฺควณฺณนา นิฏฺฐิตา ๚ ๏ ๚

เอวมเฺ ม สตุ ํ เอกํ สมยํ ภควา ราชคเห วหิ รติ เวฬุวเน กลนฺธกนวิ าเป
เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน คิชฺฌกูเฏ ปพฺพเต วิหรติ
อาพาธโิ ก ทกฺขโิ ต พาฬหฺ คิลาโน

อถโข ภควา สายณฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต เยนายสฺมา มหา
โมคฺคลฺลาโน เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ นิสชฺช โข
ภควา อายสฺมนฺตํ มหาโมคฺคลฺลานํ เอตทโวจ ๚ กจฺจิ เต โมคฺคลฺลาน คมนิยํ
กจฺจิ ยาปนิยํ กจฺจิ ทกฺขาเวทนา ปฏิกฺกมนฺติ โน อภิกฺกมนฺติ ปฏิกฺกโมสานํ
ปญฺญายติ โน อภิกฺกโมติ ๚ น เม ภนฺเต ขมนยิ ํ น ยาปนิยํ พาฬฺหา เม ทุกฺขา
เวทนา อภกิ ฺกมนฺติโน ปฏกิ ฺกมนตฺ ิ อภกี กฺ โมสานํ ปญฺญายติโน ปฏิกกฺ โมติ ๚

สตฺติเม โมคฺคลฺลาน โพชฺฌงฺคา มยา สมฺมทกฺขาตา ภาวิตา พหุลี
กตา อภิญฺญาย สมโฺ พธาย นิพพฺ านาย สํวตฺตนฺติ ๚ กตเม สตฺต สตสิ มโฺ พชฺฌง
โค โข โมคฺคลฺลาน มยา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย

๑๒๒

นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค โข โมคฺคลฺลาน มยา
สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚
วิริยสมฺโพชฺฌงฺโค โข โมคฺคลฺลาน มยา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต
อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚ ปตี ิสมฺโพชฺฌงฺโค โข โมคฺคลฺลาน
มยา สมฺมทกฺขา ภาวโิ ต พหลุ กี โต อภิญญฺ าย สมโฺ พธาย นพิ พฺ านาย สวํ ตตฺ ติ ๚
ปสฺสทฺธิสมฺโพชฺฌงฺโค โข โมคฺคลฺลาน มยา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต
อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานายสํวตฺตติ ๚ สมฺมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค โข
โมคฺคลฺลาน มยา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย
นพิ ฺพานาย สํวตฺตติ ๚ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺโค โข โมคฺคลฺลาน มยา สมฺมทกฺขา
โต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚ อิเม โข
โมคฺคลฺลาน สตฺต โพชฺฌงฺคา มยา สมฺมทกฺขาตา ภาวิตา พหุลกี ตา อภิญฺญาย
สมฺโพธาย นิพฺพานาย สวํ ตตฺ นฺตตี ิ ๚

ตคฺฆ ภควา โพชฺฌงฺคา ตคฺฆ สุคต โพชฌงฺคาติ อิทมโวจ ภควา
อตฺตมโน อายสมฺ า มหาโมคคฺ ลลฺ าโน ภควโต ภาสติ ํ อภนิ นฺทิ วฏุ ฐาหิ จายสมฺ า
มหาโมคฺคลลฺ าโน ตมหฺ า อาพานา ตถา หโี น จายสฺมโต มหาโมคฺคลลฺ านสสฺ โส
อาพาโธ อโหสตี ิ ๚ ๏ ๚ มหาโมคคฺ ลฺลานตฺเถร ๚ ๏ ๚

เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา ราชคเห วิหรติ เวฬุวเน กลนฺทกนิ
วาเป เตน โข ปน สมเยน ภควา อาพาธิโก โหติ ทกุ ฺขิโต พาฬหฺ คิลาโน

อถโข อายสฺมา มหาจุนฺโท สายณฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต เยน
ภควา เตนุปสํงฺกมิ อุปสงฺกมิตวา ภควนฺตํ อภิวาเทตวา เอกมนฺตํ นิสีทิ
เอกมนตฺ ํ นสิ ีนนฺ ํ โข อายสฺมนตฺ ํ มหาจนุ ทํ ภควา เอตทโวจ ๚ ปฏิภนตฺ ุ ตํ จุนฺท
โพชฺฌงฺคาติ สตฺติเม ภนฺเต โพชฺฌงฺคา ภควตา สมฺมทกฺขาตา ภาวิตา พหุลี
ก อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตนฺติ กตเม สตฺต สติสมฺโพชฌฺ งโฺ ค โข
ภนฺเต ภควตา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย

๑๒๓

นพิ ฺพานาย สวํ ตตฺ ติ ๚ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค โข ภนเฺ ต ภควตา สมมฺ ทกขฺ าโต

ภาวโิ ต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพพฺ านาย สํวตฺตติ ๚ วิรยิ สมฺโพชฌฺ งฺ

โค โข ภนฺเต ภควตา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย

นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚ ปีติสมฺโพชฺฌงฺโค โข ภนฺเต ภควตา สมฺมทกฺขาโต

ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚ ปสฺสทฺธิสมฺ

โพชฺฌงฺโค โข ภนฺเต ภควตา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย

สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค โข ภนฺเต ภควตา

สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚

อุเปกาสมฺโพชฺฌงฺโข โข ภนฺเต ภควตา สมฺมทกฺขาโต ภาวิโต พหุลีกโต ฯ

อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ๚ อิเม โข ภนฺเต สตฺต โพชฺฌงฺคา

ภควตา สมฺมทกฺขาตา ภาวิตา พหุลีกตา ฯ อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย

สํวตตฺ นฺตีติ ๚

ตคฺฆ จุนท โพชฺฌงฺคา ตคฺฆ จุนท โพชฺฌงฺคาติ ๚ อิธมโวจายสฺมา

มหาจุนฺโธ สมนุญฺโญ สตฺถา อโหสิ วุฏฐาหิ จ ภควา ตมฺหา อาพาธา ตถา

ปหี โน จ ภควโต โส อาพาโธ อโหสีติ ๚ ๏ ๚ มหาจุนฺธโพชฺฌงฺควณฺณา

นฏิ ฺฐิตา ๚ ๏ ๚ พฺระสตฺตโพชฺฌงฺคํ นฏิ ฺฐิตํ ๚ ๏ ๚

วนฺธิตฺวา สริ สา พทุ ฺธํ สสทฺธมมฺ คนตุ ฺตมํ ๚

อุณหฺ ิสฺสวชิ ยนฺนาม สตฺตานํ อายุวฑฺฒนํ ๚

วกขฺ ามิ ปวรํ คณฺฐํ สมฺพทุ เฺ ธเนว เทสิตํ ๚

เอกสมฺ ึ สมเย นาโถ ตาวตเึ ส สรุ าลเย ๚

ปารฉิ ตฺตกมพฺ ลมหฺ ิ ปณฺทุกมฺพลนามเภ ๚

วิหริตฺวาปิ เทเสสิ อภิธมฺมกถํ วรํ ๚

สตฺตปฺปกรนํ นาม ธมมฺ สงฺคิณีอาทิกํ ๚

สิรมิ ายาปมุขานํ เทวานํ หติ สปฺปทํ ๚

๑๒๔

เทวปตุ ฺโต ตทา เอโก นาเมน สุปตฏิ ฺฐโิ ต ๚
ตาวตเึ ส นิพฺพโต โส เทเวหิ ปริวารโิ ต ๚
ทิพฺพสขุ ํ อนโุ ภติ วมิ าเน กนเก วเร ๚
อทิสฺวา ว ตทา เทโว ปรกิ ขฺ ิณายุมตฺตโน ๚
เทวปตุ ฺโต ตทา เอโก อากาสจารนิ ามโก ๚
ปรกิ ขฺ ิณายุกํ ญตฺวา อาคนตฺ ฺวา วจนมพฺรวิ ๚
มาริส สตฺตเม ทินฺเน เทวโลกา อิโต จโุ ต
อนุโภสิ ทกุ ฺขพหู ๚
จรติ ฺวา ว ตโต ถานา อุปปฺ นโฺ น ชาตสิ ตตฺ สุ ๚ ๏ ๚
กงฺโข คิชฺโฌ กมฺโม เจว สุนโข สุกโรปจิ ๚
ชจนโฺ ท พธิโร เจว สตฺตคตสี ุ ชายสิ ๚
พหทู กขฺ ํ อนโุ ภสิ เอโก กายปิ ชาตยิ า ๚
อิติ วตฺวาน โส เทโว อนตฺ รธายิ ตาวเท ๚
วจฺจนํ ตสฺส สตุ วฺ าน กมปฺ ิตหทโย ว โส ๚
อติทกุ ฺโข มหาโสโก จนิ ฺเตสิ หทเย อิติ ๚
เอวรูโป อุปทฺธโว ภวิสฺสติ อิเธว เม ๚
กิมเฺ มว สรณํ โหติ กมิ ฺเม ตาณํ ปรายน ๚
อตฺตโน นมิ ติ ฺตํ ทิสฺวา สงคฺ ลิ ิสฺสนตฺ ิ วตตฺ กา ๚
ทพิ พฺ ปผุ ผฺ า ปิลายนฺติ เสทา มญจฺ นฺติ กจฉฺ โต ๚
อาสนา อปิ อณุ ฺหนิ ตฺ ิ สรริ ํ ทุพพฺ ณณฺ ํ ตทา ๚
ปญจฺ ปุพฺพนิมิตตฺ านิ เทวานํ จตุ ธิ มฺมตา ๚
ทพิ ฺพปผุ ฺผา ปลิ ายนฺติ สงคฺ ลิ ิสสฺ นตฺ ิ วตฺถกา ๚
กจฉฺ โต เสทา มุญจฺ นฺติ อปิ อณุ ฺหนฺติ อาสนา ๚
กาโย จ ทุพพฺ ณโฺ ณ โหติ นมิ ติ ตฺ า ปญฺจ ทสิ สฺ นฺติ เร ๚

๑๒๕

วิมานา โวตรติ วฺ าน สกกฺ สฺส สนตฺ ิกํ คโต ๚
วนฺธติ วฺ า สารทํ สกฺกํ วจนํ เอตทพรฺ วิ ๚
เทวราช ตุวํ เสฏโฺ ฐ ตานํ เม ปฏิสรณํ ๚
อโิ ต ว สตฺตเม ทนิ เฺ น จโุ ต อโิ ต ภวามหิ ํ ๚
อวจิ นิ ิรเย ชาโต ทกขฺ ํ อนุภวามหิ ํ ๚
พหู วสสฺ หสฺสานิ จริ ํ ทกุ เฺ ขน ฌายสิ ฺสํ ๚
นิรยโต ตโต จุโต ชาโต สตตฺ สุ ชาตสี ุ ๚ ๏ ๚
กงโฺ ข คชิ โฺ ฌ กมฺโม เจว สนุ โข สกุ โรปิจ ๚
ชจจฺ นฺโธ พธิโร เจว ชาโต สตตฺ สุ มนุสฺเส ๚
พหทู ุกขฺ ํ อนโุ ภมิ เอเก กายปิ ชาตยิ า ๚
นตถฺ ิ เม สรณํ เทว นตฺถิ ตานํ ปรายนํ ๚
เทว เทวคณา เสฏโฺ ฐ เทวราชา สชุ มฺปติ ๚
ตวฺ ํ หิ เสฏโฺ ฐ ติโลกสฺมึ ตฺวํ หิ เทโว มหทิ ธฺ ิโก ๚
ตโิ ลเก มงฺคลํ เสฏฺโฐ โลกปาปํ ปวาหโณ ๚
ตสฺส ตํ วจนํ สุตวฺ า เทวราชา ตมพฺระวิ ๚
นาหํ เสฏฺโฐ ตโิ ลกสฺมึ นาหํ เทโว มหทิ ฺธโิ ก ๚
โลเกน มงคฺ ลํ เสฏฺโฐ โลกปาปํ ปวาหโณ ๚
โลกนาถํ ถเปตวฺ า นาญญฺ ํ ปสฺสามิ มงฺคลํ ๚
สพพฺ การณุ โิ ก นาโถ สพฺพโลกหเิ ตสิโน ๚
อนาถสสฺ สทา โถ โส เม นาโถ อนตุ ฺตโร ๚
โส จ เสฏฺโฐ ติโลกสมฺ ึ โส จ เทโว มหิทธฺ ิโก ๚
ติโลเกน มงคฺ ลํ เสฏโฺ ฐ โลกปาปํ ปวาหโณ ๚
สกฺกสสฺ วจนํ สุตวฺ า โส จ เทโว จ สาธุโว ๚
คเหตฺวา ทปธูปานิ สกฺเกน คจฺฉติ ตทา ๚

๑๒๖

นราสโภ ถิโต เยน เตน คนตฺ วาน สาทรํ ๚
ทิปธปู านิ ปูเชตฺวา วนฺธติ วฺ า ว นิสีทติ ๚
ตทา เทวานมินฺโธ ตํ คถาย อชฌฺ ภาสิ โส ๚
เอโส สตตฺ ทวิ สมฺหิ เทโว ภนฺเต อิโต จุโต ๚
คติสุ สตฺตสุ ชาโต ปตนฺโต นิริย ภสู ํ ๚
กึ ปาปํ ปกตํ ปุพฺเพ สตตฺ คตสี ุ ชายเต ๚
สกฺกสฺส วจฺจนํ สตุ วฺ า สมฺพทุ โฺ ธ ทิปทตุ ฺตโม ๚
ตสฺส ปณฺหปํ ิ พฺยากาสิ เตน ปาปํ กตํปิจ ๚
ปพุ ฺเพ สกฺก กิเรโสปิ ชาโต เนสาทเชฏฐฺ โก ๚
กตํ ปาณาตปิ าตมปฺ ิ อภณิ ฺหํ อกริ ตทา ๚
เตน กมมฺ วปิ าเกน กงฺขํ คชิ ฌฺ มฺปิ ชายเต ๚
โส ชาโต ปุน กมฺโมปิ กึ ปาปํ ปกตํ สิยา ๚
ปุพฺเพ โส สกฺก มนสุ เฺ ส ปกขฺ ิอณฺธ วิโยตกิ ํ ๚
เตน กมฺมวปิ าเกน ตสฺมา กมฺโม ภวิสสฺ ติ ๚
สุโร ปน โส ชาโต กึ ปาปํ ปกตํ ปเุ ร ๚
โสปิ ปพุ เฺ พ มนสุ โฺ สปิ อทฺโธ ชาโต มหิทฺธโน ๚
สมณานํ ยทา ทิสวฺ า ยาจกมานํ อกโฺ กสติ ๚
วตวฺ า อนาทรํ วาจํ ทานํ น เทติ โส ตทา ๚
ตสฺมา เตนาปิ กมฺเมน โส ชาโต สกุ โร ภเว ๚
สนุ โข ปุน โส ชาโต ปพฺเพ กมมฺ ํปิ กึ กตํ ๚
ชาโต สกกฺ มานุเสสุ ครหติ วฺ า อคารโว ๚
สมโณ พฺราหมฺ โณ จาปิ ทุวาจํ ภาสยิ ตทา ๚
พุทฺธธมมฺ สสฺ สํฆสฺส อชานติ วฺ า คณํ ตทา
ตสมฺ าปิ เตน กมเฺ มน สนุ โข โส ภวิสสฺ ติ ๚

๑๒๗

ภนฺเต โส พธิโร ชาโต ปพุ เฺ พ ปาปปํ ิ กึ กตํ ๚ ๏ ๚

เอสา ทลิทฺเท ว กเุ ลปิ ชาโต

มนุสสฺ โลเกปิ อปญุ ญฺ ภาโว ๚

อญฺเญ มนสุ สฺ าปิ สททฺ าปสนนฺ า

สุณนฺติ ธมมฺ ํ สุคตสฺส วาจํ ๚

เอโส ทลทิ โฺ ท ปรสิ มปฺ ิ ถานํ

ตทา นสิ นิ ฺโนปิ จ เอกมนเฺ ต ๚

สนุ าติ ธมฺมํ วยิ โน สนุ าติ

สมพฺ หลุ าลาปมปฺ ิ กเถติ วาจํ ๚

หาเปติ ธมมฺ ํ ว นริ ตถฺ กมฺปิ

เตน ว โส โหติ พธิรชาโต ๚

ชจนฺโธ ปนุ โส ชาโต กึ ปาปํ ปกตํ ปุพฺเพ ๚

ภนเฺ ต ปจุ ฺฉามิ ตํ ตยุ ฺหํ ตํ เม อกขฺ าหิ ปุจฉฺ ิโต

เทวนิ ฺธ เอโส น กโรติ ปญุ ฺญํ

ปพุ ฺเพ ว ชาโตปิ มนุสฺสโลเก ๚

ทิสฺวาปิ โส พราหมฺณยาจกานํ

น ปสฺสเต โส วิย ตณุ ฺหภิ โู ต ๚

เคหํ ปวฏิ โฺ ฐปิ นิสที ิ ฉนฺเน

ชจฺจนธฺ ชาโตปจิ โส มนสุ สฺ ๚

ตทา สกฺโกปิ เทวินฺโธ สมพฺ ุทฺธมปฺ ิ จ ยาจโิ ต ๚

เทวปุตตฺ าน กมฺปาย เทเสตุ ธมมฺ มตุ ฺตมํ ๚

เกน ตํ จาลตุ ภนเฺ ต เกน โส อิธ ติฏฺฐติ ๚

อปุ ฺปชฺชติ จ ตํ อายุ กึ ภนเฺ ตติ สุธริ ตา ๚

สตฺถา อนุตตฺ โร โลเก สมพฺ ทุ โธ ทปิ ทตุ ฺตโม ๚

๑๒๘

สกกฺ สสฺ วจนํ สตุ ฺวา คาถาโย อชฺฌภาสติ ๚
อตฺถิ อุณฺหิสวโิ ย ธมฺโม โลเก อนุตตฺ โร ๚
สพพฺ สตฺตหติ ตฺถาย ตํ ตฺวํ คณฺหาหิ เทวเต ๚
ปริวโช ราชทณฺโธ อมนุสฺสตตฺ ปิ าวโต ๚
พฺยคฺเฆ นาเค วิเส ภูเต อกาลมรเณน วา ๚
สพพฺ สฺมา มรณา มุตโฺ ต ถเปตวฺ า กาลมาริตํ ๚
ตสฺเสว อานภุ าเวน โหตุ เทโว สุขิ สทา ๚
สทุ สิลึ สมาทานํ ธมมฺ ํ สุจริตํ จเร ๚
ตสเฺ สว อานุภาเวน โหตุ เทโว สุขิ สทฺธา ๚
ลกิ ฺขติ ํ จนฺตติ ํ ปชู ํ ธารณํ วาจนํ คุรุ ๚
ปเรสํ เทสนํ สุตวฺ า ตสสฺ อายุ ปวฑฺฒตีติ ๚
สกฺกตฺวา พทุ ฺธรตณํ โอสถํ อุตตฺ มํ วรํ ๚
หติ ํ เทวมนุสสฺ านํ พุทธฺ เตเชน โสตฺถินา ๚
นสฺสนตฺ ุปทฺทวา สพฺเพ ทกุ ขฺ า วปู สฺสเมนตฺ ุ เต ๚
สกกฺ ตฺวา ธมฺมรตณํ โอสถํ อตุ ฺตมํ วรํ ๚
ปริฬาหปู สมนํ ธมฺมเตเชน โสตฺถินา ๚
นสสฺ นตฺ ุปทฺธวา สพฺเพ ภยา วปู สฺสเมนฺตุ เต ๚
สกฺกตฺวา สํฆรตณํ โอสถํ อตุ ตฺ มํ วรํ ๚
อาหูเณยยฺ ํ ปาหเุ ณยฺยํ สฆํ เตเชน โสตฺถินา ๚
นสฺสนตฺ ปุ ทฺธวา สพเฺ พ โรคา วปู สสฺ เมนตฺ ุ เต ๚
เภสชชฺ ํ เทวมนุสสฺ านํ กตกุ ํ ติตฺตกํ รสํ ๚
อมพฺ ิลํ ลวนญฺเจว สพพฺ พยฺ าธิ วินสฺสติ ๚
เอกทวฺ ิติทนิ ํ วาปิ ปญฺจสตตฺ ทินฺนํ ตทา ๚
ยาว ทุกฺขา น สเมนฺตุ ชิวทานํ กโรนตฺ ุ เต ๚

๑๒๙

ชิวทานํ ททนฺตสฺส อายุ วณณฺ ํ สุขํ พลํ ๚
ชิวทานานภุ าเวน โหตุ เทโว สขุ ิ สทา ๚
ชวิ ทานานิ ทตวฺ าน โอสถํ อุตฺตมํ วรํ ๚
สรริ ทกุ ฺขํ นาเสติ เภสชชฺ ํ ทานมุตฺตมํ ํ ๚
ตสมฺ า กเรยยฺ กลยฺ านํ นจิ ฺจยํ สมปฺ รายนํ ๚
ปุญญฺ านิ ปรโลกสมฺ ึ ปติฏฐฺ า สพพฺ ปานนิ ํ ๚
อิมินา ชวิ ทาเนน ตุมหากํ กึ กวสิ ฺสติ ๚
ทฆี ายกุ า สทา โหตุ สุขิตา โหนตุ สพฺพทา ๚
ชิวทานํ ททนตฺ สฺส อายุ วณณฺ ํ สุขํ พลํ ๚
ฆายโุ ก สทา โหนตุ ชิวทานํ มหพผฺ ลํ ๚
โย โส ททาติ สกฺกจฺจํ สิลลฺ วนเฺ ตสุ ตาทิสุ ๚
นานาทานํ ปวรํ ทตวา ชวิ ทานํ มหปฺผลํ ๚
เอวํ มหํ ิทฺธยิ า เอสา ยทิทํ ปุญฺญสมปฺ ทา ๚
ตสฺมา ธริ า ปสสฺ ํสนฺติ ปณฺทิตา กตปญุ ตา ๚
สโุ ข วปิ าโก ปญุ ญฺ านํ อภปิ ฺปาโย สมชิ ฺฌติ ๚
ขปิ ปฺ ญจฺ ปริโยสาเน นิพฺพานํ สมิธึ คจฉฺ ติ ๚
โย ภาชนสหสสฺ านิ ปุรานิ วรโภชนํ ๚
ทเทยยฺ ปรมิ านานํ เอกมตฺตมฺปิ นาลเภ ๚
พทุ ฺธปุ ปฺ าโท สาริปตุ โฺ ต เย จญฺโญ อคคฺ สาวกา ๚
ปตฺตปรุ านุภาเวน มาตาปติ า ปมุญจฺ นตฺ ิ ๚
สกฺโก ธมมฺ มฺปิ สุตวฺ าน สททฺ ึ เตน สสารทรํ ๚
สุปตฏิ ฺฐิตเทเวน ปสนโฺ น พุทธฺ สาสเน ๚
ธนธญญฺ ญญฺจ หิรญญฺ ํ วตถฺ าทกิ ํ อลงกฺ ารํ ๚
อตตฺ นาปิ ตุลํ กตวฺ า พทุ ธฺ าทิกํ คณสํฆํ ๚

๑๓๐

มหาทานํ อทาสิ โส วธโก ตสฺส อายุ จ ๚

โส เทธฺ พทุ ธฺ นตฺ เร กปโฺ ป ปน อายมุ ปฺ ิ ลพภฺ ติ ๚

พุทฺธสสฺ ธมมฺ สฆํ สฺส อานภุ าเวน เตน จ ๚

เภสชฺชํ สลิ ทานสํ ฺส อานภุ าเวน เตน จ ๚

สพเฺ พ จุปททฺ โว ตสฺส วินสฺสนตฺ ิ อเสสโต ๚

สกโฺ ก เทวานมทิ โฺ ธ สทฺทึ เทวปุตเฺ ตน จ ๚

สมพฺ ทุ ฺธมฺปิ จ อาปุจฺฉิ สกกฺ ฏฐฺ านํ คโต ตทา ๚

เทสนาปรโิ ยสาเน สาตถฺ ิกา ธมมฺ เทสนา

โสตาปฏผิ ลานิทิ ปาปุณสึ มรคุ ณาติ ๚ ๏ ๚

พรฺ ะอณุ ฺหิสวิชยยฺ ํ นฏิ ฺฐติ ปรปิ ุณณํ นพิ พฺ าณณฺ ปจจฺ โย ฯ๛

-------------------------------------------

ประวัตแิ ละผลงานผูต้ รวจสอบการปริวรรต
(ส่วนภาษาไทย)

หนังสือมาลยั สูตร พ.ศ. ๒๔๐๕ (ฉบบั นายจนั และครอบครวั ถวาย)

ชือ่ -นามสกุล (ไทย) : ภัครพล แสงเงนิ

(อังกฤษ) : Phakphon Sangngern

ตำแหน่งทางวชิ าการ : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์

วัน-เดอื น-ปีเกิด : ๑๗ สงิ หาคม ๒๕๓๐

ที่อยทู่ ่ีติดต่อได้สะดวก : เลขท่ี ๑๕๖ หมู่ ๕ ตำบลพลายชุมพล อำเภอ

เมอื งพษิ ณุโลก จังหวัดพิษณโุ ลก ๖๕๐๐๐

ประวัติการศึกษา

วุฒิการศึกษา จากสถาบัน ปที ่ีจบ

ศศ.ม. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ๒๕๕๗
(วรรณคดีไทย)

ศศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลยั นเรศวร ๒๕๕๔

เกยี รตินยิ มอนั ดับ ๑

ปัจจุบันกำลังศึกษาระดับปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจารึก

ภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศิลปากร

สาขาวิชาการท่ีมคี วามชำนาญพิเศษ
วรรณคดีพทุ ธศาสนา, ภาษาไทย, วรรณกรรมตำรายา, วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ

๑๓๒

ผลงานทางวิชาการ รายการบรรณานกุ รม
ลำดบั ประเภท ภัครพล แสงเงินและอุเทน วงศ์สถิตย์.
๑. บทความวจิ ัย (๒๕๖๕). ตำรับยากวาดคอจากตำรายาแพทย์
แผนไทยของอำเภอพรหมพิราม จังหวัด
๒. บทความวจิ ยั พิษณุโลก. วารสารไทยศึกษา, ๑๘(๑), น.
๒๙-๖๐.
๓. เอกสาร ภัครพล แสงเงิน. (๒ ๕ ๖ ๔ ). การศึกษา
ประกอบ เป รี ย บ เ ที ย บ ต ำ รั บ ย า ใน ต ำ ร า ย า วั ด ให ม่
การสอน พรหมพิรามจังหวัดพิษณุโลกกับตำรับยาใน
ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง.
๔. บทความวิจัย วารสารไทยคดีศึกษา, ๑๘(๒), น. ๑๖๙ -
๒๑๘.
ภั ค รพ ล แส งเงิน . (๒ ๕ ๖ ๔ ). เอกส าร
ประกอบการสอนวิชาวรรณกรรมเอกของ
ไทย. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล
สงคราม.
บุญลดา คุณาเวชกิจ, ณรกมล เลาห์รอดพันธ์
และภัครพล แสงเงิน. (๒๕๖๓). การศึกษา
ศักยภาพบุคลากรเพ่ือเตรียมพร้อมเข้าสู่
องค์ กรแห่ งค วาม สุขในกลุ่ม คลัสเต อร์
ภ าค เห นื อต อน ล่ าง (พิ ษ ณุ โล ก พิ จิต ร
เพชรบูรณ์และสุโขทัย). วารสารการเมืองการ
ปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ๑๐(๑),

๑๓๓

ลำดบั ประเภท รายการบรรณานกุ รม

น. ๑๙๑-๒๒๓.

๕. บทความวิจัย ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๖๒). ลักษณะสำคัญ
ของพระมาไลยฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุง
ปารีส. วารสารมนุษยศาสตร์วชิ าการ, ๒๖(๒),
น. ๒๘๕-๓๑๕.

๖. บทความวจิ ยั ธีรพัฒ น์ พูลทองและภัครพล แสงเงิน.
(๒๕๖๐). ตำนานวัดจากมุขปาฐะ: ความเช่ือ
จากปราชญ์ชุมชนในตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัด
โบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก. ในรายงานสืบเนื่อง
การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงคราม
วิจัย ครั้งที่ ๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล
สงคราม วันที่ ๒๓-๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐. น.
(๕๘๑-๕๙๑). พิษณุโลก : มหาวิทยาลัย
ราชภฏั พิบูลสงคราม.

๗. บทความ ภัครพล แสงเงินและกังวล คัชชิมา. (๒๕๖๓).
วิชาการ แนวทางการศึกษาวิจัยเก่ียวกับตำรายา
โบ ร าณ ใน ไท ย .วา ร ส าร ม นุ ษ ย ศ าส ต ร์ แ ล ะ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ๓๙
(๔), น. ๖๔-๘๑.

๘. บทความ ภัครพล แสงเงินและอุเทน วงศ์สถิตย์.
วชิ าการ (๒๕๖๓). นรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัย:
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ คั ม ภี ร์ ส ำ คั ญ ท า ง

๑๓๔

ลำดับ ประเภท รายการบรรณานกุ รม
๙. บทความ พระพุทธศาสนา. วารสารธรรมธารา, ๖(๒),
น. ๖๑-๑๐๔.
วชิ าการ ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๖๐). คติพระพุทธเจ้า
๑๐. บทความ ๕ พระองคใ์ นไตรภมู ิฉบบั หอสมดุ แหง่ ชาติกรุง
ปารีส. วารสารรมยสาร, ๑๕(๒), น. ๑๒๕-
วชิ าการ ๑๓๖.
๑๑. บทความวจิ ัย ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๕๙). จากอวสานถึง
เริ่มใหม่: ยุคพระศรีอาริยเมตไตรยในไตรภูมิ
๑๒. บทความวจิ ยั ฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส. วารสารไทย
ศกึ ษา, ๑๒(๒), น. ๑-๑๕.
๑๓. บทความ ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๕๙). ไตรภูมิฉบับ
วิชาการ หอสมุดแห่ งชาติกรุงปารีส: การศึกษา
เปรียบเทียบระหว่างเรื่อง มหาพรหมเทพราช
ทอดเลขกับตำนานของศาสนาพราหมณ์ -
ฮินดู. วารสารดำรงวิชาการ, (๑๕)๑, น.
๑๗๗-๑๙๖.
ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๕๙). ลักษณะเด่นของ
พระอนิ ทร์ในไตรภูมิสมัยอยธุ ยา ฉบับหอสมุด
แห่งชาติกรุงปารีส. วารสารวิชาการอยุธยา
ศึกษา, ๘(๒), น. ๔๒-๔๙.
ภัครพล แสงเงิน และสมเกียรติ ติดชัย.
(๒๕๖๐). การศึกษาลักษณะเด่นของการสืบ
ขนบและสร้างนวลักษณ์ในเร่ือง ลิลิตพายัพ

๑๓๕

ลำดบั ประเภท รายการบรรณานุกรม
พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
๑๔. บทความ เกล้าเจ้าอยู่หัว. ในรายงานสืบเน่ืองการ
วิชาการ ประชุมวิชาการระดบั ชาติพะเยาวจิ ยั ครั้งที่ ๖
มหาวิทยาลัยพะเยา วันท่ี ๒๖-๒๗ มกราคม
๑๕. บทวจิ ารณ์ ๒๕ ๖ ๐ . น. (๒ ๕๔ ๗ -๒ ๕ ๖๕ ). พะเยา :
หนงั สอื มหาวิทยาลยั พะเยา.
ภคั รพล แสงเงิน. (๒๕๕๙). จากพระเจ้าอโศก
๑๖. บทความวิจยั มหาราชถึงพระเจ้าอาทิตยราช: คติจักรพรรดิ
ราชกับ ความสำคัญของพระธาตุในจามเทวี
วงศ์. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ
ระดับชาติ “สิรินธร เทพรัตน์: รัตนะแห่งวง
วิชาการ” มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ.
๒๕๕๘. น. (๗๓-๘๓). ลำปาง : มหาวิทยาลัย
ราชภฏั ลำปาง.
ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๕๘). ๑๐๑ คำถาม
สามก๊ก: คำถามขยายความคิดพินิจสามก๊ก.
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, ๒๒(๒), น.
๒๔๖-๒๕๙.
ภัครพล แสงเงิน. (๒๕๕๖). ไตรภูมิฉบับ
หอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส: ความสัมพันธ์กับ
รามเกยี รต์ิ. วารสารดำรงวิชาการ, ๑๒(๒), น.
๑๕๓-๑๗๔.

๑๓๖

ประวตั แิ ละผลงานผูต้ รวจสอบการปริวรรต
(ส่วนภาษาบาลี)

หนังสอื มาลยั สตู ร พ.ศ. ๒๔๐๕ (ฉบับนายจนั และครอบครวั ถวาย)

ช่อื -นามสกุล (ไทย) : พระมหากวศี กั ดิ์ ญาณกวิ (วาปกี ุลเศรษฐ)์
(อังกฤษ) : Phramaha Kaweesak Yanakavi
(Wapeekunlaset)
ตำแหนง่ ทางวชิ าการ : นักวชิ าการอิสระ
วนั -เดอื น-ปีเกิด : ๒๑ มีนาคม ๒๕๓๘
ทอ่ี ยู่ท่ีติดต่อได้สะดวก : ๑๖๕ วัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ
๑๐๒๐๐

ประวัตกิ ารศึกษา

วุฒกิ ารศึกษา จากสถาบัน ปที ี่จบ

ศศ.ม.

(จารึกภาษาไทยและ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ๒๕๖๓

ภาษาตะวันออก)

เปรยี ญธรรม ๙ การศึกษาคณะสงฆไ์ ทย ๒๕๕๙
ประโยค

ปจั จุบันกำลังศึกษาระดับปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลี-

สนั สกฤต และพทุ ธศาสน์ศกึ ษา คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

๑๓๗

สาขาวชิ าการทม่ี ีความชำนาญพิเศษ
- จารึกอักษรพราหมีแบบอินเดียใต้ (Southern Brahmi) (หรือ

อักษรแบบราชวงศ์ปัลลวะ), อักษรแบบหลังราชวงศ์ปัลลวะ (หรืออักษร
ปลั ลวะกลาย) และอักษรเขมรโบราณ

- การอา่ นต้นฉบบั ตัวเขยี นอักษรขอมและอักษรธรรมล้านนา
- วรรณคดีภาษาบาลใี นลังกาชว่ งพุทธศตวรรษที่ ๑๖–๑๙

ผลงานทางวิชาการ รายการบรรณานกุ รม
ลำดับ ประเภท พระมหากวีศักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์ และณัชพล
๑. บทความวจิ ัย ศิริสวัสด์ิ. (๒๕๖๖). ใบลานเร่ือง “สมันตกูฏ
วัณ ณ นา” ฉบับรดน้ำแดง รัชกาลท่ี ๒:
๒. บทความ การศึกษาต้นฉบับ และทบทวนกับฉบับพิมพ์
วิชาการ ของสมาคมบาลีปกรณ์ (Pāli Text Society).
วารสารธรรมธารา ๙(๑). (อยู่ในระหว่างการ
๓. บทความ ตีพิมพ)์
วชิ าการ พระมหากวีศักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์. (๒๕๖๕).
“อุทยารกวรมัน” ในจารึกปราสาทพระ
เกษตร (K. 237): การออกพระนามกษัตริย์
เขมรโบราณ ท่ีต่างไปจากพระนามจริง.
นิตยสารศิลปากร, ๖๕(๔). (อยใู่ นระหว่างการ
ตพี ิมพ)์
พระมหากวีศักด์ิ วาปีกุลเศรษฐ์. (๒๕๖๔).
ชาลีกัณหาอภิเสกกัณฑ์ ฉบับภาษาบาลีของ

๑๓๘

ลำดับ ประเภท รายการบรรณานกุ รม
วัดบวรนิเวศวิหาร: การศึกษาต้นฉบับ การ
๔. บทความวจิ ยั ปริวรรต และการแปล. วารสารพุทธศาสน์
ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๘(๑), น.
๕. บทความวิจัย ๕๗–๑๐๘.
๖. บทความ พระมหากวีศักด์ิ วาปีกุลเศรษฐ์. (๒๕๖๔).
จารึกซับจำปา ๒ ไม่ได้ชำรุดมากอย่างที่คิด:
วิชาการ ขอ้ เสนอใหม่เร่ืองฉันทลกั ษณ์ คำอ่าน คำแปล
และคำศพั ท์วา่ “เศาทโฺ ธทน”ิ . วารสารอักษรา
๗. บทความ พิบลู , ๒(๑), น. ๕–๒๘.
วชิ าการ พระมหากวีศักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์. (๒๕๖๔).
จารึกเทวานีกะ (จารึกวัดหลวงเก่า) กับความ
เป็นกาวยะประเภทจัมปู. วารสารวิพิธพัฒน
ศลิ ป์, ๑(๒), น. ๑–๑๗.
พระมหากวีศักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์. (๒๕๖๔).
จารึกที่คลังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จ
พระนารายณ์ (ลบ.๓๖): ข้อสันนิษฐานเรื่อง
แหล่งที่มา และข้อเสนอใหม่เร่ืองวสันตดิลก
ฉันท์และคำอ่านว่า “คณปเตะ”. วารสาร
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลยั , ๑๓(๒), น. ๑๔–๒๗.
พระมหากวีศักด์ิ วาปีกุลเศรษฐ์. (๒๕๖๔).
จารึกบ้านพนั ดุง: มุมมองจากการอ่านและ

๑๓๙

ลำดับ ประเภท รายการบรรณานุกรม

แปลใหม่. วารสารอักษราพิบูล, ๒(๒), น. ๕–

๒๘.

๘. บทความ พระมหากวีศักด์ิ วาปีกุลเศรษฐ์. (๒๕๖๔).

วิชาการ “มุนิเวทาทฺริศาเกนฺเทฺร” และ “ศศิโกศาทฺ

รศิ าเกนเฺ ทฺร”: ขอ้ คดิ เห็นเกี่ยวกับคำศพั ท์บอก

ศักราชในจารึกเมืองเสมา ด้านท่ี ๒. วารสาร

วรรณวทิ ัศน์, ๒๒(๑), น. ๒๙–๕๓.

๙. บทความ พระมหากวีศักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์. (๒๕๖๓).

วชิ าการ กษัตริย์ในอุดมคติตามแนวคิดในมหาภารตะ

และรามายณะในจารึกแม่บุญตะวันออกและ

จารึกแปรรูปของพระเจา้ ราเชนทรวรมันท่ี ๒.

วารสารวจิ ยวิชาการ, ๓(๑), น. ๑๖๙–๑๘๔.

๑๐. บทความ พระมหากวีศักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์ และกังวล

วชิ าการ คัชชิมา. (๒๕๖๓). เทพปกรณั มฮินดูใน

ว ร ร ณ ก ร ร ม บ า ลี เรื่ อ งส มั น ต กู ฏ วั ณ ณ น า .

หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุม

วชิ าการระดบั นานาชาติ เร่ืองศาสนาฮินดูและ

ศาสนาพุทธในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ี

เก่ียวข้องกับรามายณะ. (น. ๒๖๒–๒๘๓).

กรุงเทพฯ: ศูนย์สันสกฤตศึกษาและภาควิชา

ภ า ษ า ต ะ วั น อ อ ก ค ณ ะ โบ ร า ณ ค ดี

มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.

๑๔๐

ลำดับ ประเภท รายการบรรณานุกรม

๑๑. บทความ พระมหากวศี ักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์ และทรงธรรม

วชิ าการ ปานสกุณ. (๒๕๖๒). จารึกโคกสวายเจก :

จารึกภาษาบาลีในอาณ าจักรเขมรโบราณ .

วารสารมจร.บาฬีศึกษาพุทธโฆษปรทิ รรศน์, ๕

(๑), น. ๕๑–๖๗.

ภาคผนวก
ภาพต้นฉบับหนงั สือมาลัยสูตร พ.ศ. ๒๔๐๕
(ฉบับนายจันและครอบครัว สรา้ งถวายไว้ในพระพุทธศาสนา)


Click to View FlipBook Version