The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 (6281124060-นางสาววศิตา ดาราแสง-เลขที่ 26-D7)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasita301143, 2022-05-06 00:58:56

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 (6281124060-นางสาววศิตา ดาราแสง-เลขที่ 26-D7)

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 (6281124060-นางสาววศิตา ดาราแสง-เลขที่ 26-D7)

แผนการจดั การเรียนรู้
รายวิชาภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

จดั ทาโดย
นางสาววศิตา ดาราแสง เลขท่ี ๒๖
รหัสประจาตวั นกั ศกึ ษา ๖๒๘๑๑๒๔๐๖๐

เสนอ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พชั รภี รณ์ บางเขยี ว

แผนการจดั การเรียนรเู้ ลม่ นี้เปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวชิ า
วิทยาการจดั การเรยี นรู้ (๑๑๙๐๓๐๑)

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

คานา

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๕ จัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทาง
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วยเน้ือหาสาระดังต่อไปน้ี แผนการจัดการเรียนรู้รายปีประกอบด้วย
มาตรฐาน ตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จุดประสงค์การเรียนรู้ คา อธิบายรายวิชา
โครงสร้างกาหนดการสอน และตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
จานวน ๒ หน่วยประกอบด้วย หน่วยมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี และหน่วยคัมภีร์ฉันทศาสตร์
แพทยศาสตร์สงเคราะห์ ซึ่งแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ได้ระบุมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์
การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียนแต่ละบุคคล
นามาซึ่งบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือ เกณฑ์การวัดและประเมินผลที่มีคุณภาพ
เพื่อใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนว่าหลังจากเสร็จสิ้นการเรียน นักเรียนมีความรู้
ความเขา้ ใจมากน้อยเพียงใดผา่ นเกณฑ์ ประเมินหรือไม่

ผู้จัดทาขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.พัชรีภรณ์ บางเขียว เป็นอย่างย่ิง ที่ให้คาปรึกษา
และคาแนะนาตลอดระยะเวลาการจัดทาแผนการเรียนรู้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการเรียนรู้เล่มนี้
เป็นประโยชนก์ บั การจดั การเรียนการสอนในช้นั เรยี น เพ่อื พฒั นาการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งข้ึน

นางสาววศิตา ดาราแสง
ผจู้ ัดทา

สารบัญ

เรื่อง หน้า

แผนการจดั การเรียนรู้รายปี ๑
ตารางโครงสร้างรายวชิ า ๑๐
ตารางวเิ คราะห์สาระ มาตรฐาน ๑๓
๑๔
แผนการจัดการเรียนรู้หนว่ ยที่ ๑ ๙๑
แผนการจดั การเรียนรูห้ น่วยท่ี ๒

แผนการจัดการเรยี นรู้ ๑

สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๕ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
ครผู ูส้ อน นางสาววศิตา ดาราแสง เวลา ๘๐ ชว่ั โมง

๑. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปตัดสินใจ แก้ปัญหา
ในการดาเนินชวี ิตและมนี ิสยั รักการอ่าน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราว
ในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
และความร้สู ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่า
และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ
ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปตัดสินใจ แก้ปัญหา
ในการดาเนนิ ชีวติ และมนี ิสัยรักการอ่าน

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสม
กับเรือ่ งท่อี า่ น

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒ ตีความ แปลความ และขยายความเรอ่ื งทีอ่ ่าน
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓ วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์เรอื่ งทอี่ า่ นในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองที่อ่านและประเมินค่า เพื่อนาความรู้ ความคิดไปใช้
ตัดสินใจแก้ปญั หาในการดาเนนิ ชวี ิต
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้งเก่ียวกับเรื่องที่อ่าน และเสนอความคิด
ใหมอ่ ย่างมเี หตุผล
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ตอบคาถามจากการอ่านงานเขยี นประเภทตา่ ง ๆ ภายในเวลาท่กี าหนด
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขยี นกรอบแนวคดิ ผงั ความคดิ บันทกึ ย่อความ และรายงาน
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนร้ตู ่าง ๆ
มาพัฒนาตน พฒั นาการเรยี น และพัฒนาความรู้ทางอาชพี



ท ๑.๑ ม.๔-๖/๙ มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราว
ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ เขยี นสือ่ สารในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใชภ้ าษาเรียบเรยี งถูกต้อง
มีข้อมูล และสาระสาคัญชดั เจน
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ เขยี นเรียงความ
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ เขยี นยอ่ ความจากสื่อที่มรี ปู แบบและเน้อื หาหลากหลาย
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔ ผลิตงานเขยี นของตนเองในรปู แบบต่าง ๆ
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕ ประเมนิ งานเขยี นของผู้อื่น แล้วนามาพฒั นางานเขียนของตนเอง
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ ตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ
และใช้ขอ้ มูลสารสนเทศอา้ งองิ อยา่ งถูกต้อง
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗ บนั ทกึ การศึกษาค้นควา้ เพ่อื นาไปพัฒนาตนเองอยา่ งสมา่ เสมอ
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มีมารยาทในการเขยี น
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
และความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑ สรุปแนวคดิ และแสดงความคดิ เหน็ จากเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเช่ือถือจากเรื่องท่ีฟังและดู
อย่างมเี หตุผล
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ประเมนิ เร่ืองท่ีฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวิต
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔ มวี ิจารณญาณในการเลอื กเรอ่ื ง
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕ พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะโต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่
ดว้ ยภาษาทถ่ี กู ต้องเหมาะสม
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู ทฟี่ ังและดู
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา พลงั ของภาษา และลักษณะของภาษา
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒ ใช้คาและกลมุ่ คาสร้างประโยคตรงตามวตั ถุประสงค์
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓ ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะและบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์
อย่างเหมาะสม
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔ แต่งบทร้อยกรอง
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ วิเคราะหอ์ ทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถนิ่
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๖ อธิบายและวิเคราะห์หลกั การสรา้ งคาในภาษาไทย
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗ วเิ คราะห์และประเมินการใชภ้ าษาจากสอ่ื ส่ิงพิมพ์ และส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์



มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ วเิ คราะห์และวิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณเ์ บ้ืองต้น
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดี เช่ือมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์
และวิถีชีวิตของสงั คมในอดตี
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓ วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะ
ท่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔ สงั เคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพอื่ นาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บา้ น และอธิบายภมู ปิ ัญญาทางภาษา
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
ตามความสนใจ และนาไปใช้อ้างอิง
๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ ด้านความรู้ (K)
- นกั เรียนสามารถอธิบายหลักการอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วได้ (K)
- นักเรียนสามารถอธบิ ายหลักการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองได้ (K)
- นกั เรียนสามารถอธิบายหลักการอา่ นตีความ แปลความ และขยายความได้ (K)
- นกั เรียนสามารถวิเคราะห์และวจิ ารณ์จากเรื่องท่ีอ่านได้อย่างมีเหตผุ ล (K)
- นักเรียนสามารถคาดคะเนเหตุการณ์จากเรือ่ งที่อา่ นและประเมินคา่ ได้ (K)
- นักเรียนสามารถบอกความรู้ท่ีได้รับจากการอ่าน และสามารถนาความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปญั หาในการดาเนินชีวติ ได้ (K)
- นกั เรียนสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ โดยแสดงความคดิ เหน็ โต้แยง้ จากเรอื่ งที่อ่านได้อยา่ งมเี หตุผล (K)
- นักเรียนสามารถตอบคาถามจากเรื่องที่อา่ นได้ (K)
- นักเรียนสามารถบอกความหมายของการพูดโน้มน้าวโดยนาเสนอหลักฐานตามลาดับเน้ือหา
อย่างมเี หตผุ ลและน่าเช่อื ถอื ได้ (K)
- นักเรียนสามารถบอกหลักการพูดโน้มน้าวโดยนาเสนอหลักฐานตามลาดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผล
และน่าเชือ่ ถอื ได้ (K)
- นกั เรียนสามารถอธิบายธรรมชาติของภาษา และลักษณะของภาษาได้ (K)
- นกั เรยี นสามารถจาแนกคาและกลุ่มคาจากประโยคได้ (K)
- นักเรยี นสามารถอธบิ ายระดับของภาษาได้ (K)
- นกั เรยี นสามารถจาแนกระดับการใชภ้ าษาให้เหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคลได้ (K)
- นักเรียนสามารถบอกความหมายของคาราชาศัพท์ได้ (K)
- นักเรียนสามารถวิเคราะหร์ ะดบั ภาษาและนาไปใช้ได้อยา่ งเหมาะสม (K)
- นกั เรยี นสามารถอธบิ ายความหมายคาศพั ทท์ างวชิ าการและวชิ าชพี ได้ (K)



- นกั เรยี นสามารถบอกฉันทลกั ษณ์ของร่ายยาวได้ถูกต้อง (K)
- นักเรียนสามารถจาแนกภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยได้ถูกต้อง (K)
- นกั เรียนสามารถวิเคราะห์ภาษาถิน่ ได้ (K)
- นกั เรยี นสามารถอธิบายหลักการสร้างคาได้ (K)
- นกั เรยี นสามารถวเิ คราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาจากสื่อสิง่ พิมพ์ และส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้ (K)
- นักเรียนสามารถอธิบายหลักการวิเคราะห์ วิจารณ์ และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์
เบือ้ งตน้ ได้ (K)
- นกั เรยี นสามารถบอกลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดแี ต่ละเรื่องได้ (K)
- นักเรียนสามารถอธิบายความหมายโวหารประเภทต่าง ๆ ได้ (K)
- นักเรียนสามารถจาแนกคณุ ค่าดา้ นต่าง ๆ ของวรรณคดไี ด้ (K)
- นกั เรียนสามารถสังเคราะห์ขอ้ คิดจากวรรณคดี เพื่อนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ ได้ (K)
- นักเรยี นสามารถบอกคุณค่าจากบทอาขยานตามท่ีกาหนดหรือตามความสนใจได้ (K)
๒.๒ ดา้ นทกั ษะ (P)
- นกั เรยี นสามารถอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ได้ถกู ต้องและเหมาะสมกบั เรอ่ื งท่ีอ่าน (P)
- นกั เรียนสามารถอ่านออกเสียงบหร้อยกรองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรอื่ งที่อา่ น (P)
- นกั เรียนสามารถนาเสนอความแตกต่างของการตคี วาม แปลความ และขยายความได้ (P)
- นกั เรยี นสามารถอภิปรายข้อคดิ จากเรอ่ื งท่ีอ่านได้ (P)
- นกั เรียนสามารถนาเสนอผลการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์จากเร่อื งท่อี า่ นไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล (P)
- นกั เรียนสามารถนาเสนอประเมินความถูกต้องของข้อมลู ท่ใี ช้สนับสนนุ ในเร่ืองที่อา่ นได้ (P)
- นักเรียนสามารถนาการวจิ ารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความและความเป็นไปได้ของเร่ืองไปใช้
พัฒนาทกั ษะการอ่านไดด้ ีขน้ึ (P)
- นักเรียนสามารถเขยี นกรอบแนวคดิ ผังความคิด บนั ทึก ย่อความและรายงานจากเร่ืองท่ีอ่านได้ (P)
- นกั เรยี นสามารถนาเสนอการวิเคราะห์เพ่ือแสดงความคิดเห็นโต้แยง้ เกย่ี วกบั เรื่องที่อ่านได้ (P)
- นักเรียนสามารถนาเสนอการตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิดท่ีได้จากงานเขียน
อยา่ งหลากหลายเพ่ือนาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชวี ิต (P)
- นกั เรยี นแสดงออกในเร่ืองมารยาทในการอ่านไดอ้ ย่างเหมาะสม (P)
- นกั เรยี นสามารถเขียนสื่อสารในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้ (P)
- นักเรยี นสามารถเขียนข้อความโดยใช้ถ้อยคาได้ถกู ต้องตามระดบั ภาษาได้ (P)
- นกั เรยี นสามารถนาเสนอการเขยี นขอ้ ความโดยใชถ้ ้อยคาไดถ้ ูกต้องตามระดับภาษาได้ (P)
- นกั เรยี นสามารถเขียนเรยี งความตามหวั ข้อทกี่ าหนดหรอื ตามความสนใจได้ (P)
- นักเรียนสามารถเขียนย่อความจากสือ่ ตา่ ง ๆ ได้ (P)
- นกั เรยี นสามารถผลิตงานเขียนในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้ (P)



- นักเรยี นสามารถนาเสนอการประเมนิ งานเขียนของผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล แลว้ นามาพัฒนางานเขียน
ของตนเองได้ (P)

- นักเรียนสามารถเขยี นรายงานตามหลกั การเขียนเชงิ วิชาการไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
- นกั เรยี นสามารถปฏิบัตติ ามข้ันตอนการเขียนรายงานการศกึ ษาค้นควา้ และโครงงานได้ถกู ต้อง (P)
- นกั เรียนสามารถนาเสนอการเขียนรายงานการศกึ ษาค้นควา้ และโครงงานได้ (P)
- นกั เรียนสามารถเขยี นบนั ทึกการค้นควา้ จากเรื่องที่สนใจได้ (P)
- นกั เรียนแสดงออกในเรือ่ งมารยาทในการเขยี นไดอ้ ย่างเหมาะสม (P)
- นกั เรียนเขยี นสรุปแนวคิดท่ีได้จากเรอ่ื งที่ฟังและดู (P)
- นักเรียนสามารถนาเสนอความคิดเห็นและประเมินเรือ่ งจากการฟังและการพดู ได้อย่างเหมาะสม (P)
- นักเรยี นสามารถนาเสนอการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์เรอ่ื งท่ีฟงั และดมู าประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ ได้ (P)
- นักเรียนสามารถนาเสนอการประเมนิ จากเร่อื งทฟ่ี ัง และดูได้ (P)
- นกั เรียนสามารถพูดรายงานเร่อื งหรอื ประเดน็ ที่ศกึ ษาค้นคว้าจากการฟัง และการดูได้ (P)
- นกั เรยี นสามารถพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ (P)
- นักเรยี นสามารถพูดโนม้ น้าวโดยนาเสนอหลักฐานตามลาดับเน้อื หาอย่างมีเหตุผลได้ (P)
- นักเรียนแสดงออกในเรอ่ื งมารยาทในการฟงั การดู และการพดู ได้อยา่ งเหมาะสม (P)
- นักเรียนนาเสนอช้ินงานคาภาษาต่างประเทศทีใ่ ชใ้ นภาษาไทยได้ (P)
- นักเรียนสามารถนาเรื่องหลักการสร้างคาในภาษาไทยได้ (P)
- นกั เรยี นสามารถนาเสนอการวิเคราะหค์ วามแตกตา่ งของภาษาแตล่ ะระดับได้ (P)
- นกั เรียนสามารถเขยี นราชาศพั ท์ไดถ้ ูกต้อง (P)
- นกั เรียนเขียนคาศพั ท์ทางวิชาการและวิชาชีพได้ถูกตอ้ ง (P)
- นักเรียนสามารถแต่งร่ายยาวได้ถกู ต้องตามฉนั ทลักษณ์และกฎเกณฑ์ (P)
- นักเรยี นสามารถนาเสนอการวเิ คราะห์วิถไี ทยและคุณค่าจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่านได้ (P)
- นักเรียนสามารถอภปิ รายความร้แู ละข้อคิดจากการอ่านเพ่ือนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจริงได้ (P)
- นกั เรียนสามารถสาธติ การอ่านบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทรอ้ ยกรองตามความสนใจได้ (P)
๒.๓ ดา้ นจิตพิสยั (A)
- นักเรยี นตระหนักถงึ ความสาคัญในการอา่ นบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองอย่างถูกต้อง (A)
- นักเรยี นเห็นความสาคญั ของการตคี วาม แปลความ และขยายความเพอ่ื นาไปใชอ้ ยา่ งถูกต้อง (A)
- นักเรียนเหน็ ความสาคัญของการอา่ นจบั ใจความสาคญั (A)
- นักเรียนมีความต้ังใจในการอ่านเร่ืองต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ
และรายงาน (A)
- นักเรียนมีความตง้ั ใจในการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ เร่ืองท่ีอา่ นไดอ้ ย่างมเี หตผุ ล (A)
- นกั เรยี นเห็นความสาคญั ของการประเมนิ ความถูกต้องของขอ้ มูลทใี่ ชส้ นับสนนุ ในเรอ่ื งที่อ่าน (A)



- นักเรียนมีความตั้งใจในการวิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความ และความเป็นไปได้
ของเรื่องท่ีอ่าน (A)

- นักเรยี นมีความรบั ผดิ ชอบในการวิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเหน็ โตแ้ ยง้ เกีย่ วกับเรอ่ื งท่ีอา่ น (A)
- นักเรียนมีความมุ่งมั่นในกิจกรรมการอ่านตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิดที่ได้จากงานเขียน
อย่างหลากหลายเพ่อื นาไปใช้แกป้ ัญหาในชวี ิต (A)
- นกั เรยี นมมี ารยาทในการอา่ น (A)
- นักเรียนมีความตั้งใจในการเขียนส่ือสารในรปู แบบตา่ ง ๆ (A)
- นกั เรียนเหน็ ความสาคญั ของการเขยี นข้อความโดยใช้คาไดถ้ ูกต้องตามระดับภาษา (A)
- นกั เรยี นมคี วามเอาใจใสใ่ นการเขยี นเรียงความในเรื่องตา่ ง ๆ (A)
- นักเรียนเห็นประโยชน์ของการเขียนย่อความ (A)
- นักเรียนให้ความร่วมมือในการเขยี นอธิบาย แสดงความคิดเห็นและโตแ้ ยง้ ได้อยา่ งมเี หตุผล (A)
- นกั เรยี นให้ความรว่ มมือในการเขียนรายงานการศึกษาค้นควา้ และโครงงาน (A)
- นกั เรยี นมีมารยาทในการเขียน (A)
- นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ และประเมนิ เรือ่ งจากการฟังและการดู (A)
- นักเรียนมีความตั้งใจในการวิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองที่ฟังและดูเพ่ือนาข้อคิดมาประยุกต์ใช้
ในการดาเนนิ ชวี ติ (A)
- นักเรียนให้ความร่วมมอื ในการพดู รายงานเรอื่ งหรอื ประเด็นท่ศี ึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง และการดู (A)
- นักเรยี นเห็นประโยชน์ของการพูดในโอกาสต่าง ๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ของการพดู (A)
- นักเรียนมีความตั้งใจในการพูดโน้มน้าวโดยนาเสนอหลักฐานตามลาดับเน้ือหาอย่างมีเหตุผล
และน่าเช่ือถอื (A)
- นักเรยี นมมี ารยาทในการการฟงั การดู และการพูด (A)
- นกั เรยี นมคี วามมุ่งมนั่ ในการเรียนรู้เร่อื งคาภาษาต่างประเทศท่ใี ช้ในภาษาไทย (A)
- นักเรียนเหน็ ประโยชน์ในการเรยี นเร่อื งหลกั การสรา้ งคาในภาษาไทย (A)
- นกั เรยี นเหน็ ความสาคญั ของการวิเคราะห์ระดบั ภาษาและการนาไปใชไ้ ด้อย่างถกู ต้อง (A)
- นักเรียนใหค้ วามรว่ มมือในการทากิจกรรมเรื่องภาษาต่างประเทศและภาษาถน่ิ (A)
- นักเรยี นให้ความรว่ มมือในการทากิจกรรมเร่ืองคาศัพท์ทางวชิ าการและวชิ าชพี (A)
- นกั เรยี นมีความพงึ พอใจในการแต่งบทร้อยกรอง (A)
- นักเรยี นมคี วามรับผดิ ชอบในการวเิ คราะหล์ กั ษณะเดน่ ของวรรณคดี (A)
- นักเรยี นเหน็ ความสาคญั ของวิถีไทยและคุณคา่ จากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น (A)
- นักเรียนเห็นคณุ ค่าของบทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี ีความไพเราะ (A)



๓. สาระสาคัญ
ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การเรียนรู้

อย่างมปี ระสิทธิภาพ และเพื่อนาไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ
การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ การอ่านในใจ

เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจ และการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะหค์ วามรจู้ ากสงิ่ ทีอ่ า่ น เพือ่ นาไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั
การเขียน การเขียนสะกดคาตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ การเขียนเรียงความ

ย่อความ เขียนรายงานจากการศึกษาคันคว้า เขียนตามจินตนาการ เขียนวิเคราะห์วิจารณ์
และเขยี นเชิงสร้างสรรค์

การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
พูดลาดับเร่ืองราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ท้ังเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
และการพูดเพือ่ โน้มน้าวใจ

หลักการใช้ภาษาไทย ศึกษาธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสม
กับโอกาสและบุคคล การแตง่ บทประพนั ธ์ประเภทต่าง ๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด
คุณค่าของงานประพันธ์ และเพ่ือความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทาความเข้าใจ บทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก
เพลงพื้นบ้านท่ีเป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซ่ึงได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือให้เกิดความซาบซึ้งและภูมิใจ
ในบรรพบรุ ุษท่ไี ดส้ ัง่ สมสืบทอดมาจนถึงปจั จบุ ัน
๔. สาระการเรียนรู้

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง จับใจความสาคัญ สรุปความและอธิบายรายละเอียด
จากเร่ืองท่ีอ่าน พร้อมทั้งเขียนผังความคิด จาแนกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ
เขียนเรียงความ เขียนย่อความ การพูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ด้วยภาษาท่ีถูกต้องเหมาะสม
อธิบายธรรมชาติของภาษา หลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา หลักการสร้างคา ระดับภาษา
การใช้คาราชาศัพท์ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ภาษาถิ่น แสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี
วรรณกรรมไทย ท่องจาบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า โดยปลูกฝังการมีมารยาทการฟัง การดู การพูด การอ่าน
และการเขียนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสร้างเจตคติ
กระบวนการเรียนรู้และความเข้าใจ สามารถนาเสนอส่ิงที่เรียนรู้ เห็นคุณค่าของการนาความรู้
ไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน มีคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสม

รายวชิ า ภาษาไทย คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ๘
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕
รหสั วชิ า ท ๓๒๑๐๑ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง
ภาคเรียนที่ ๑ ๑ หนว่ ยกติ

อ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทร่าย ลิลิต ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์
คาดคะเนเหตุการณ์ ประเมินค่าแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง นาเสนอความคิดใหม่ ตอบคาถาม สังเคราะห์
ความรู้จากงานเขียนประเภทบทความ สารคดี บันเทิงคดี ข่าวสารจากส่ิงพิมพ์ วรรณคดีในบทเรียน
และมีมารยาทในการอ่าน เขียนส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆ คือ เขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา เขียนเรียงความ
เขียนสารคดี เขียนรายงานเชิงวิชาการ เขียนอ้างอิงสารสนเทศ ประเมินคุณค่างานเขียนในด้านแนวคิด
ของผู้เขียน การใช้ถ้อยคา การเรียบเรียงสานวนโวหาร กลวิธีการเขียน เพ่ือเรียบเรียงภาษาได้อย่างถูกต้อง
มีข้อมลู และสาระสาคญั อย่างชัดเจน

เพ่ือใช้ฝึกการพูดสรุปแนวคิดและการแสดงความคิดเห็น จากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์แนวคิด
การใช้ภาษาและความน่าเช่ือถือ เลือกเร่ืองที่ฟังและดูอย่างมีวิจารญาณ ประเมินเรื่องเพ่ือกาหนดแนวทาง
นาไปประยุกต์ใช้ในการพูดโน้มน้าวใจ และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูดสามารถใช้กลวิธีการเขียน
พฒั นางานเขยี นของตนเองและมีมารยาทในการเขยี น อธบิ ายลกั ษณะของภาษา แตง่ บทร้อยกรองประเภทร่าย
วิเคราะห์และประเมินการใชภ้ าษาจากสื่อส่ิงพมิ พ์ และสือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์

โดยใช้กระบวนการในการวิเคราะห์วิจารณ์ และสังเคราะห์จุดมุ่งหมาย รูปแบบ เนื้อหา กลวิธี
ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้น มีการประเมินค่า เช่ือมโยงกับการเรียนรูท้ างประวัติศาสตร์
และวิถชี วี ิตของสงั คมในอดตี มกี ารทอ่ งจาบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคุณค่า
รหสั ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๕
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖, ม.๔-๖/๗
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๖
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๖
รวมทั้งหมด ๒๓ ตวั ช้ีวดั

รายวชิ า ภาษาไทย คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน ๙
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕
รหัสวิชา ท ๓๒๑๐๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
ภาคเรยี นท่ี ๒ ๑ หนว่ ยกติ

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ประเภทบทความ นวนิยาย ความเรียง ตีความ แปลความ ขยายความ
วเิ คราะห์ วิจารณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ ประเมินคา่ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง นาเสนอความคดิ ใหม่ ตอบคาถาม
สังเคราะห์ความรู้จากงานเขียนประเภทพระบรมราโชวาท วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรียน
และมีมารยาทในการอ่านเขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ คือ เขียนรายงานการประชุม เขียนย่อความ
บทความทางวิชาการวรรณกรรมพื้นบ้าน ประเมินคุณค่างานเขียนในด้านแนวคิดของผู้เขียน การใช้ถ้อยคา
การเรียบเรียง สานวนโวหาร กลวิธีการเขียน เพ่ือเรียบเรียงภาษาได้อย่างถูกต้องมีข้อมูล และสาระสาคัญ
อย่างชัดเจน เพ่ือใช้ฝึกการพูดสรุปแนวคิดและการแสดงความคิดเห็น จากเร่ืองที่ฟังและดู วิเคราะห์แนวคิด
การใช้ภาษาและความน่าเชื่อถือ เลือกเร่ืองที่ฟังและดูอย่างมีวิจารญาณ ประเมินเรื่องเพื่อกาหนดแนวทาง
นาไปประยุกต์ใช้ในการพูดต่อที่ชุมชน และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูดสามารถใช้กลวิธีการเขียน
พัฒนางานเขียนของตนเองและมีมารยาทในการเขียน ใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คือ คาและสานวน
การเรยี บเรยี งประโยค วเิ คราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากส่ือส่ิงพมิ พ์ และสือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์

โดยใช้กระบวนการในการวิเคราะห์วิจารณ์และสังเคราะห์จุดมุ่งหมาย รูปแบบ เน้ือหา กลวิธี
ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเบ้ืองต้น มีการประเมินค่า เชื่อมโยงกับการเรียนรทู้ างประวัติศาสตร์
และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบ้านท่ีแสดงถึง ภาษากับวัฒนธรรม และภาษาถิ่น
มกี ารทอ่ งจาบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคณุ ค่า
รหสั ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๖, ม.๔-๖/๗, ม.๔-๖/๘
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๗
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๓

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๗

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๖
รวมทั้งหมด ๑๘ ตัวชี้วัด

๑๐

โครงสรา้ งรายวิชา

รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท ๓๒๑๐๑ กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ จานวน ๔๐ ชั่วโมง/ ๑ หนว่ ยกิต

หนว่ ยท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เวลา (ช่ัวโมง)
เรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั

๑ มหาเวสสนั ดรชาดก กัณฑ์มัทรี ๘

๑.๑ การอา่ นออกเสียงร้อยแก้ว ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๑

๑.๒ การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง ๒

๑.๓ การทอ่ งจาบทอาขยานและบทร้อยกรอง ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ ๒

๑.๔ การอา่ นจบั ใจความสาคัญ แปลความ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒ ๓

และอธบิ ายรายละเอยี ดจากเร่ือง ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑

๒ คมั ภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์สงเคราะห์ ๑๐

๒.๑ การอ่านจบั ใจความจากวรรณคดีในบทเรยี น ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒ ๑

๒.๒ วรรณคดแี ละวรรณกรรมเก่ยี วกบั ศาสนา ประเพณี ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓ ๒

พธิ ีกรรม สภุ าษิต คาสอน เหตกุ ารณป์ ระวตั ิศาสตร์

บนั เทงิ คดี บนั ทึกการเดนิ ทาง

๒.๓ การวเิ คราะห์ลักษณะเดน่ ของวรรณคดี ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ ๒

๒.๔ การเขียนในรปู แบบต่าง ๆ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔ ๕

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗

๓ โคลนตดิ ล้อ ตอน ความนยิ มเปน็ เสมยี น ๑๐

๓.๑ การวิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโตแ้ ย้งจากเรอื่ งที่อ่าน ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ ๑

๓.๒ การเขียนเรยี งความและการเขียนยอ่ ความ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ ๓

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓

๓.๓ การพูดโตว้ าที ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕ ๒

๓.๔ การสงั เคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔ ๔

๑๑

หน่วยท่ี ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เวลา (ช่ัวโมง)
เรยี นร้/ู ตวั ชีว้ ดั ๑๐
๔ หลกั ภาษาไทย ๑ ๔
๔.๑ การเขียนและนาเสนอรายงานเชงิ วิชาการ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑ ๒
๔.๒ ธรรมชาติและพลังของภาษา ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ ๒
๔.๓ ระดับภาษาและคาราชาศพั ท์ ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ๒
๔.๔ หลกั การสร้างคาในภาษาไทย ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔ ๑
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ ๑
สอบกลางภาค ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓ ๔๐
สอบปลายภาค ท ๔.๑ ม.๔-๖/๖

รวม

๑๒

โครงสรา้ งรายวิชา

รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๒๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง/ ๑ หน่วยกติ

หนว่ ยที่ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา (ช่ัวโมง)
เรยี นร/ู้ ตัวช้วี ดั

๕ ลิลิตตะเลงพา่ ย ๑๘

๕.๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๒

๕.๒ การท่องจาบทอาขยาน ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ ๒

๕.๓ การอ่านจับใจความจากสือ่ ตา่ ง ๆ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ๓

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘

๕.๔ การวิเคราะห์และประเมินคุณคา่ วรรณคดี ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔ ๔

และวรรณกรรม

๕.๕ การเขียนส่ือสารในรปู แบบต่าง ๆ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ ๔

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕

๕.๖ การพดู สรปุ แนวคิด และการแสดงความคิดเห็น ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑ ๓

จากเรือ่ งทฟี่ ังและดู ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓

๖ มัทนะพาธา ๑๐

๖.๑ การอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๑

๖.๒ การอา่ นจับใจความจากวรรณคดใี นบทเรยี น ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒ ๓

๖.๓ การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินคุณค่า ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗ ๔

วรรณคดีและวรรณกรรม ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔

๖.๔ การวิเคราะหล์ ักษณะเด่นของวรรณคดี ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ ๒

๗ หลักภาษาไทย ๒ ๑๐

๗.๑ การใช้คาและกลุ่มคาสรา้ งประโยค ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒ ๓

๗.๒ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและการประเมนิ ส่ือ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ ๕

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗

๗.๓ การแตง่ บทรอ้ ยกรอง ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔ ๒

สอบกลางภาค ๑

สอบปลายภาค ๑

รวม ๔๐

๑๓

ตารางวิเคราะหส์ าระ มาตรฐานรายปี

มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ การอา่ น สาระที่ ๒ การ สาระที่ ๓ สาระท่ี ๔ สาระที่ ๕
ตัวชว้ี ัดชีน้ ปี เขยี น การฟงั การดู หลักการ วรรณคดแี ละ
สาระการเรยี นรู้ และการพูด ใช้ภาษาไทย วรรณกรรม

หนว่ ยที่ ๑ มหาเวสสนั ดรชาดก มฐ. ท ๑.๑ มฐ. ท ๒.๑ มฐ. ท ๓.๑ มฐ. ท ๔.๑ มฐ. ท ๕.๑
กณั ฑ์มทั รี
หน่วยท่ี ๒ คมั ภรี ฉ์ ันทศาสตร์ ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๑๒๓๔๕๖๗๘๑๒๓๔๕๖๑๒๓๔๕๖๗๑๒๓๔๕๖
แพทยศาสตรส์ งเคราะห์
หน่วยท่ี ๓ โคลนตดิ ลอ้ √√ √ √√
ตอน ความนิยมเปน็ เสมียน
หนว่ ยท่ี ๔ หลักภาษาไทย ๑ √√ √ √√ √ √
หนว่ ยท่ี ๕ ลิลติ ตะเลงพ่าย
หนว่ ยที่ ๖ มทั นะพาธา √ √√ √ √
หนว่ ยที่ ๗ หลักภาษาไทย ๒
√ √√√√ √√ √√

√ √√√ √ √ √ √ √√

√√ √ √√√

√ √√ √

๑๔

๑๕

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ ชอ่ื การอา่ นออกเสียงรอ้ ยแก้วและบทอาขยาน

เรอ่ื ง บทอาขยาน เวลาสอน ๕๐ นาที

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วชิ า ภาษาไทยพ้นื ฐาน รหัสวิชา ท ๓๒๑๐๑
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นที่ ๑

ผสู้ อน นางสาววศติ า ดาราแสง

๑. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา

ในการดาเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ยั รักการอ่าน
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า

และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ
๒. ตวั ชีว้ ัด

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และเหมาะสม
กับเรอ่ื งทอ่ี า่ น

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า
ตามความสนใจและนาไปใชอ้ ้างอิง
๓. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การอ่านเป็นทักษะการสื่อสารพ้ืนฐานของมนุษย์ การอ่านออกเสียงเป็นการรับรู้ข้อมูล เน้ือหาต่าง ๆ
จากสิ่งท่ีอ่าน อย่างไรก็ดีการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและบทอาขยาน จะช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจเร่ืองที่อ่าน อีกทั้ง
ได้ใช้ความรู้ทางภาษาช่วยในการอ่านออกเสียง การแบ่งวรรคตอน ดังน้ันผู้เรียนจึงจาเป็นต้องเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ
การอา่ นออกเสียงและท่องจาบทอาขยานใหช้ านาญ เพ่ือจะเปน็ ประโยชน์ในการศึกษาขั้นสูงในลาดับต่อไป
๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ความรู้ (K)
นักเรยี นอธิบายหลักการอา่ นออกเสยี งร้อยแกว้ ไดถ้ ูกตอ้ ง
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
นักเรียนอา่ นออกเสยี งบทอาขยาน เรอื่ ง “มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทร”ี ไดถ้ กู ต้อง
คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A)
นกั เรียนใฝเ่ รียนรู้และรว่ มกิจกรรมในช้นั เรียน

๑๖

๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑. ใฝเ่ รียนรู้

๒. มุ่งม่ันในการทางาน

๖. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น

๑. ความสามารถในการสื่อสาร

๒. ความสามารถในการคิด

๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๗. ด้านคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นตามหลักสตู รมาตรฐานสากล

 เป็นเลิศทางวิชาการ  ส่อื สารสองภาษา  ล้าหน้าทางความคิด

 ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก

๘. สอดคลอ้ งกบั คา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

๑. ใฝ่หาความรู้ หมัน่ ศกึ ษาเล่าเรียน

๒. รักษาวัฒนธรรม ประเพณีไทย

๙. สาระการเรียนรู้

บทอาขยานหลกั (เร่อื ง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑม์ ัทรี)

๑๐. ภาระงาน/ช้ินงานทีแ่ สดงผลการเรียนรู้

-

๑๑. กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขั้นนา

๑. ครูจดุ ประกายความคิดให้กับนักเรียนดว้ ยการใชค้ าถามใหน้ กั เรียนร่วมกันตอบ

ตัวอยา่ งคาถาม - ทกั ษะการสือ่ สารในภาษาไทยมอี ะไรบา้ ง ?

- นกั เรยี นคดิ วา่ การอา่ นสาคญั หรือไม่ เพราะอะไร ?

- ในระดบั ชนั้ ทีผ่ ่านมานักเรียนเคยทอ่ งจาบทอาขยานอะไรมาบา้ ง ?

ขัน้ สอน

๒. นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายเรือ่ ง “หลักการอา่ นออกเสียงรอ้ ยแกว้ และบทอาขยาน”

๓. นักเรยี นนาหนงั สือเรยี นวิชาภาษาไทย วรรณคดีวจิ ักษ์ ม.๕ ขนึ้ มาเปิดหนา้ ๓๑ บรรทดั ที่ ๑๒

๔. นักเรียนและครรู ่วมกนั แบ่งวรรคตอนเน้อื หาในการบทอาขยาน

๕. ครูอา่ นออกเสยี งบทอาขยานแบบปกติ แล้วให้นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งตาม ๑ รอบ

๖. นักเรียนและครรู ว่ มกันอ่านออกเสียงบทอาขยานแบบปกติพร้อมกนั

ขนั้ สรปุ

๗. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปความร้เู รอื่ ง “หลกั การอ่านออกเสยี งร้อยแกว้ และบทอาขยาน”

๑๗

๑๒. สื่อการเรยี นรู้และแหลง่ เรยี นรู้
๑. โปรแกรมนาเสนอภาพนง่ิ เรอื่ ง หลักการอา่ นออกเสยี งร้อยแกว้ และบทอาขยาน

ตัวอยา่ งสือ่

๒. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย วรรณคดวี ิจักษ์ ม.๕

๑๘

๑๓. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ประเดน็ การพจิ ารณา วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ
แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป
ความรู้ (K) การรว่ มกจิ กรรมใน รายบคุ คล ระดบั คุณภาพพอใช้ข้ึนไป

นกั เรียนอธิบายหลกั การอ่าน ชัน้ เรียน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพพอใช้ขนึ้ ไป
รายบุคคล
ออกเสียงรอ้ ยแกว้ ได้ถกู ต้อง
แบบสังเกตพฤติกรรม
ทักษะ/กระบวนการ (P) การรว่ มกจิ กรรมใน รายบคุ คล

นักเรยี นอ่านออกเสียงบท ชนั้ เรยี น

อาขยาน เร่ือง “มหาเวสสนั ดร

ชาดก กณั ฑ์มทั รี” ไดถ้ ูกต้อง

คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ การสงั เกตพฤติกรรม

คา่ นิยม (A) รายบุคคล

นักเรียนใฝ่เรียนรูแ้ ละร่วม

กิจกรรมในช้นั เรียน

๑๙

ประเด็นการพิจารณา วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การสังเกตพฤติกรรม
รายบุคคล แบบประเมินคณุ ลักษณะ ระดับคุณภาพพอใช้ขึน้ ไป
๑. ใฝ่เรียนรู้
การสงั เกตพฤติกรรม อนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียน
๒. มุ่งมัน่ ในการทางาน รายบุคคล
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น แบบประเมนิ สมรรถนะ ระดบั คุณภาพพอใช้ขึน้ ไป
การสงั เกตพฤติกรรม สาคญั ของผเู้ รยี น
๑.ความสามารถในการส่ือสาร รายบคุ คล
แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพพอใช้ข้ึนไป
๒.ความสามารถในการคิด การสังเกตพฤติกรรม รายบคุ คล ระดบั คุณภาพพอใช้ขนึ้ ไป
รายบุคคล
๓.ความสามารถในการใช้ แบบสงั เกตพฤติกรรม
รายบุคคล
เทคโนโลยี
คุณลักษณะของผเู้ รียนตาม
หลักสตู รมาตรฐานสากล
เป็นเลิศทางวิชาการ
คา่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒
ประการ
๑.ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษา
เล่าเรยี น
๒. รกั ษาวัฒนธรรม
ประเพณไี ทย

๒๐

เกณฑ์การประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล

เกณฑก์ ารประเมิน ดมี าก (๓) ระดับคะแนน ควรปรบั ปรงุ (๐)
ดี (๒) พอใช้ (๑)

๑. ความตงั้ ใจใน ตง้ั ใจและมสี มาธใิ น ต้งั ใจเรยี นดี อาจมี ตัง้ ใจเรยี น แต่ ไม่ตง้ั ใจเรียน

การเรยี น การเรยี นตลอดเวลา มี บางครง้ั ท่สี นใจส่ิงอน่ื บ่อยครั้งที่สนใจสิ่งอนื่

การถามตอบกับ ท่ไี มเ่ ออื้ ประโยชน์ตอ่ ท่ไี มเ่ อื้อประโยชนต์ อ่

ครผู ู้สอน การเรยี น มีการถาม การเรียน ไม่มีการถาม

ตอบกบั ครูผสู้ อนบา้ ง ตอบกบั ครูผู้สอน

๒. การตอบคาถาม ใหค้ วามรว่ มมือ แสดง ใหค้ วามรว่ มมือ แสดง ให้ความร่วมมือ แสดง ไมแ่ สดงความสนใจ

ในชน้ั เรียน ความสนใจ มกี ารถาม ความสนใจ มกี ารถาม ความสนใจ มกี ารถาม ไม่มีการถามตอบหรือ

ตอบหรือแลกเปลี่ยน ตอบหรอื แลกเปลยี่ น ตอบหรอื แลกเปลี่ยน แลกเปลีย่ นความคิด

ความคดิ ภายในชน้ั ความคิดภายในชน้ั ความคิดภายในชน้ั ภายในชนั้ เรียน

เรียนอย่างสมา่ เสมอ เรียนอย่างบ่อยคร้ัง เรียนบา้ ง

๓. การให้ความ ใหค้ วามร่วมมือในการ ให้ความร่วมมือในการ ให้ความร่วมมือในการ ไมใ่ ห้ความรว่ มมือใน

รว่ มมอื ในการทา ทากจิ กรรมอยา่ งดที กุ ทากิจกรรมแต่ขาด ทากจิ กรรมแต่ขาด การทากจิ กรรมเลย

กิจกรรม ครัง้ ด้วยความเต็มใจ ความกระตอื รือรน้ เต็มใจ ตอ้ งมกี ารย้า

และมคี วาม เตอื นมากกว่า ๓ คร้ัง

กระตือรือร้น

๔. การเขา้ ชนั้ เรยี น เขา้ ชั้นเรียน ไม่เข้าชน้ั เรียน

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

คะแนน ผลการประเมิน

๙ - ๑๐ ดีมาก

๗ - ๘ ดี

๕ - ๖ พอใช้

๐ - ๔ ควรปรบั ปรุง

(*เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ ผล ตอ้ งไดผ้ ลการประเมนิ ระดับพอใชข้ ึน้ ไป)

๒๑

แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕/…..

ลาดับ ชือ่ -นามสกุล เกณฑ์การใหค้ ะแนน รวม ผลการ
ข้อ ๑ ขอ้ ๒ ข้อ ๓ ขอ้ ๔ (๑๐) ประเมนิ
(๓) (๓) (๓) (๑)

ลงชอื่ ......................................................ผปู้ ระเมนิ
(นางสาววศติ า ดาราแสง)

……………/……………/……………

๒๒

แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น

ช่อื -นามสกุล..................................................................ช้ัน........................เลขท่ี........................

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ตัวช้ีวัด ระดับคะแนน
๓๒๑๐

ใฝ่เรียนรู้ ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรียน และเขา้ รว่ ม
มงุ่ มน่ั ในการทางาน กิจกรรมการเรยี นรู้

ตั้งใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบัติหนา้ ทกี่ ารงาน
ทางานด้วยความเพยี รพยายาม และอดทนเพ่อื ให้
งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย

ลงชือ่ ......................................................ผ้ปู ระเมนิ
(นางสาววศติ า ดาราแสง)

……………/……………/……………

เกณฑก์ ารประเมินผล ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ ๐ คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครงั้ หรือไม่เคยปฏิบัติเลย

๒๓

แบบประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ชอื่ -นามสกุล..................................................................ชน้ั ........................เลขที่........................

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตวั ชวี้ ดั ระดับคะแนน
๓๒๑๐

ความสามารถในการส่อื สาร มีความสามารถในการรับ – สง่ สาร
มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความสามารถในการคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใชภ้ าษาอย่างเหมาะสม
ความสามารถในการใช้ ใช้วิธีการสอ่ื สารทีเ่ หมาะสม
เทคโนโลยี วเิ คราะห์แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมีเหตผุ ล
มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์
มีความสามารถในการคดิ อย่างมีระบบ
มีความสามารถในการเลอื กและใชเ้ ทคโนโลยี
มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี

ลงช่อื ......................................................ผ้ปู ระเมนิ
(นางสาววศิตา ดาราแสง)

……………/……………/……………

เกณฑก์ ารประเมินผล ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ ๐ คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครง้ั หรือไม่เคยปฏิบัติเลย

๒๔

๒๕

ตารางวเิ คราะห์หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของแผนการจัดการเรียนรู้

เรือ่ ง บทอาขยาน

๑. ผ้สู อนนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ดงั น้ี

หลักพอเพียง พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ ้มุ กันในตัวทดี่ ี
ประเด็น

เนอ้ื หา กาหนดเนอื้ หาไดส้ อดคลอ้ งกบั นักเรยี นไดเ้ รยี นรตู้ รงตาม ลาดบั เน้อื หาจากง่ายไปยาก

มาตรฐาน ตวั ชวี้ ัด และ มาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด และครบถ้วน เพอ่ื ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจงา่ ย เกดิ

เหมาะสมกับเวลา วัย และ บรรลุตามเปา้ หมาย การใฝ่เรยี นรู้ และเตรียม

ความสามารถของนกั เรยี น เนื้อหาใหค้ รอบคลุมตาม

มาตรฐานและตัวชีว้ ัดตรงตาม

หลักสูตร

เวลา กาหนดเวลาไดเ้ หมาะสมกบั เพอ่ื ให้จัดกจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้ กาหนดเวลาไวส้ ารองในกรณที ี่

เน้อื หาและกจิ กรรมการเรียนรู้ ครบถว้ นตามทก่ี าหนด ตรงตาม บางกิจกรรมอาจจะใชเ้ วลา

โครงสร้างหลกั สตู ร มากกวา่ ทกี่ าหนด

วิธีการจัดกจิ กรรม ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพอ่ื ให้นกั เรียนไดม้ คี วามรู้ตาม มแี นวทางในการพัฒนา
แหล่งเรยี นรู้ เหมาะสมกับนกั เรียนตามบริบท มาตรฐาน ตัวช้วี ัด และจดั ปรับปรุงการเรียนการสอนใน
สือ่ /อปุ กรณ์ ท่แี ตกตา่ งให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรยี นรไู้ ดเ้ หมาะสม ครงั้ ต่อไป
การประเมินผล กับนักเรียน
เลอื กแหลง่ เรยี นรทู้ ่เี ข้าใจง่าย มีความพร้อมในการจดั การ
เหมาะสมกบั เนื้อหาและความ ส่งเสริมการใชแ้ หล่งเรียนรู้ใน เรียนการสอน และเปน็ ไปตาม
สนใจของนักเรยี น หอ้ งเรียนและนอกห้องเรยี น แผนทว่ี างไว้
เพ่ือให้นกั เรยี นเข้าใจเนอื้ หาได้
เลือกสือ่ ทเี่ หมาะสมกบั เนอื้ หา ดีขึ้น เตรียมสอ่ื หรืออปุ กรณ์ให้
กิจกรรมการเรยี นการสอน และ ใชส้ ่ือเพ่ือกระตนุ้ ความสนใจของ เหมาะสมกบั วัยของผ้เู รยี น
ความสนในของนักเรยี น ผเู้ รยี น และให้เขา้ ใจบทเรยี นได้ เพื่อช่วยสร้างความรู้และความ
ง่ายขึน้ เข้าใจมากขึน้
ออกแบบการวัดและประเมินผล มวี ิธีการวัดทห่ี ลากหลาย
ไดเ้ หมาะสมกบั ตวั ชวี้ ดั เนอื้ หา ประเมนิ นกั เรียนตรงตามสภาพ เที่ยงตรง มีความเช่ือม่ันตรง
เวลา และวยั ของนกั เรยี น จริงดว้ ยวิธกี ารทหี่ ลากหลายและ ตามจุดประสงค์
เหมาะสมตรงตัวชวี้ ดั

ความรูท้ ี่ครจู าเปน็ ตอ้ งมี ความรเู้ ร่อื งการอา่ นออกเสียงรอ้ ยแกว้ และบทอาขยาน
การจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั และการวดั ประเมินผล

คณุ ธรรมของครู มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มีความยตุ ิธรรม มีความอดทน

๒๖

๑. ผลที่เกิดกบั ผเู้ รียนสอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

๑.๑ ผู้เรียนได้เรยี นรู้หลกั คดิ และฝึกปฏิบตั ิตามหลัก ๓ หว่ ง ๒ เงอื่ นไข ดังนี้

พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ ี

๑.นกั เรยี นใชเ้ วลาใน ๑. นกั เรยี นตระหนกั ถึง ๑. รูจ้ ักการวางแผนใน

กิจกรรมการเรยี นรูไ้ ด้ ความสาคญั ของกจิ กรรม การทางาน

เหมาะสมตามลาดับ การเรยี นรู้ ๒. รูค้ ณุ ค่าและ

ขัน้ ตอน และมี ๒. นักเรียนตระหนกั ถึง ความสาคญั ของ

หลักพอเพียง ประสิทธภิ าพ คณุ ค่าของภาษาและ ภาษาไทย รวมถึง

๒. นักเรียนเลือกศึกษา วฒั นธรรมไทย และการ วฒั นธรรมทางภาษา

จากแหลง่ เรียนรไู้ ด้อย่าง ใชภ้ าษาเพ่ือการสื่อสาร

คมุ้ ค่า ๓. นักเรยี นมคี วามรู้ และ

เกดิ ความเข้าใจในคุณคา่

ของภาษาไทย

ความรทู้ ่ีต้องมีก่อนเรยี น ความร้ทู ่ัวไปเกย่ี วกับหลักการอ่าน

คุณธรรมของผูเ้ รยี น ความตงั้ ใจใฝเ่ รียนรู้ ความม่งุ มั่นในการทางาน ความรบั ผดิ ชอบและระเบยี บวินยั

๑.๒ ผเู้ รียนได้เรยี นรกู้ ารใช้ชวี ติ ทีส่ มดุลและพรอ้ มรับการเปลยี่ นแปลงใน ๔ มติ ิ ตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ดังนี้

ด้าน สมดุลและพร้อมรับการเปลยี่ นแปลงในด้านตา่ ง ๆ

องค์ประกอบ วตั ถุ สังคม ส่งิ แวดล้อม วฒั นธรรม
ความรู้
มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจ เขา้ ใจบริบททาง เข้าใจบริบทอื่นท่ี เขา้ ใจบรบิ ททาง
ทักษะ เนือ้ หาสาระวิชา สงั คมที่เกีย่ วขอ้ ง สง่ ผลต่อการใช้ วัฒนธรรมที่
และสามารถใชไ้ ด้ ภาษาไทย เก่ยี วข้องกับ
คา่ นิยม มที ักษะทาง อยา่ งถูกต้อง ภาษาไทย
ภาษาไทยอย่าง สามารถใช้ทักษะ สามารถปรบั ตัวให้ สามารถเข้าใจและ
รอบดา้ น ทางภาษาไทยใน เขา้ กับสง่ิ แวดล้อม ธารงภาษาไทยใน
การตดิ ต่อกบั สังคม ใหมโ่ ดยใช้ภาษา บริบททาง
มเี จตคติที่ดีต่อ ได้ เปน็ เคร่อื งมือได้ วัฒนธรรม
ภาษาไทยอันเป็น ตระหนกั ถึง ตระหนักถึงความ ตระหนกั และเห็น
ภาษาประจาชาติ ความสาคญั ของ เกย่ี วขอ้ งระหว่าง คุณคา่ ของ
ภาษาไทยในฐานะ สงิ่ แวดลอ้ มกับ วฒั นธรรมที่
ส่ือกลางของสังคม ภาษาไทย เก่ยี วกับภาษาไทย

๒๗

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ ชอื่ การอ่านออกเสียงร้อยแก้วและบทอาขยาน

เรื่อง บทอาขยาน เวลาสอน ๕๐ นาที

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทยพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ท ๓๒๑๐๑
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ ภาคเรยี นที่ ๑

ผู้สอน นางสาววศติ า ดาราแสง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา

ในการดาเนินชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า

และนามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง
๒. ตัวชว้ี ัด

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และเหมาะสม
กับเร่อื งทีอ่ า่ น

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า
ตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง
๓. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การอ่านเป็นทักษะการสื่อสารพื้นฐานของมนุษย์ การอ่านออกเสียงเป็นการรับรู้ข้อมูล เนื้อหาต่าง ๆ
จากสิ่งที่อ่าน อย่างไรก็ดีการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและบทอาขยาน จะช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจเร่ืองที่อ่าน อีกทั้ง
ได้ใช้ความรู้ทางภาษาช่วยในการอ่านออกเสียง การแบ่งวรรคตอน ดังนั้นผู้เรียนจึงจาเป็นต้องเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ
การอา่ นออกเสยี งและท่องจาบทอาขยานให้ชานาญ เพื่อจะเปน็ ประโยชน์ในการศึกษาข้ันสงู ในลาดับต่อไป
๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

ความรู้ (K)
นกั เรยี นบอกแนวคิดสาคญั ของบทอาขยาน เร่อื ง “มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑม์ ทั รี” ไดถ้ ูกต้อง
ทักษะ/กระบวนการ (P)
นักเรียนท่องบทอาขยาน เรือ่ ง “มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑ์มทั รี” ไดถ้ ูกตอ้ ง
คณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A)
นกั เรยี นใฝเ่ รียนรู้และรว่ มกจิ กรรมในชั้นเรยี น

๒๘

๕. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

๑. ใฝ่เรยี นรู้

๒. มุง่ มนั่ ในการทางาน

๖. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน

๑. ความสามารถในการสื่อสาร

๒. ความสามารถในการคดิ

๓. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

๗. ด้านคณุ ลักษณะของผู้เรียนตามหลักสตู รมาตรฐานสากล

 เป็นเลิศทางวิชาการ  ส่ือสารสองภาษา  ลา้ หน้าทางความคิด

 ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์  รว่ มกันรับผดิ ชอบต่อสังคมโลก

๘. สอดคลอ้ งกับค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

๑. ใฝห่ าความรู้ หม่ันศกึ ษาเล่าเรยี น

๒. รักษาวัฒนธรรม ประเพณีไทย

๙. สาระการเรยี นรู้

บทอาขยานหลกั (เร่ือง มหาเวสสนั ดรชาดก กัณฑม์ ทั รี)

๑๐. ภาระงาน/ช้ินงานทีแ่ สดงผลการเรียนรู้

ทอ่ งจาบทอาขยาน เรื่อง มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑม์ ัทรี

๑๑. กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขั้นนา

๑. นักเรียนนาหนังสอื เรยี นวชิ าภาษาไทย วรรณคดีวิจกั ษ์ ม.๕ ข้นึ มาเปดิ หนา้ ๓๑ บรรทดั ที่ ๑๒

๒. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันทบทวนการอา่ นออกเสยี งบทอาขยานแบบปกติพร้อมกนั ๑ รอบ

ขั้นสอน

๓. ครอู ่านออกเสยี งบทอาขยานทานองเสนาะ แลว้ ให้นกั เรยี นอ่านออกเสยี งตาม ๑ รอบ

๔. นักเรียนและครรู ว่ มกันอ่านออกเสียงบทอาขยานทานองเสนาะ

๕. นกั เรียนสอบทอ่ งบทอาขยานทานองเสนาะรายบุคคล

(เม่ือทอ่ งบทอาขยานเสร็จ นกั เรยี นตอ้ งตอบคาถามปากเปลา่ จากครู ๑ ข้อ)

๖. ครชู ี้แจงและนัดหมายแนวปฏบิ ตั ิการสอบท่องบทอาขยานทานองเสนาะนอกเวลาเรียน

ขน้ั สรปุ

๗. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปแนวคิดท่ีได้จากการอา่ นบทอาขยาน

๒๙

๑๒. สอื่ การเรียนรูแ้ ละแหล่งเรยี นรู้
๑. โปรแกรมนาเสนอภาพนิ่ง เรอื่ ง บทอาขยาน มหาเวสสันดรชาดก กณั ฑม์ ทั รี

ตวั อยา่ งส่อื

๒. หนงั สือเรยี นวิชาภาษาไทย วรรณคดวี ิจกั ษ์ ม.๕

๓๐

๑๓. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ประเดน็ การพจิ ารณา วิธกี าร เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ

ความรู้ (K) การรว่ มกิจกรรมใน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป

นกั เรยี นบอกแนวคดิ สาคัญ ช้ันเรยี น รายบุคคล

ของบทอาขยาน เร่ือง

“มหาเวสสนั ดรชาดก

กัณฑ์มัทร”ี ไดถ้ ูกตอ้ ง

ทักษะ/กระบวนการ (P) การรว่ มกจิ กรรมใน แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพพอใช้ข้ึนไป
รายบคุ คล
นักเรียนทอ่ งบทอาขยาน ชั้นเรยี น

เรื่อง “มหาเวสสนั ดรชาดก

กณั ฑ์มทั ร”ี ไดถ้ ูกตอ้ ง

คุณธรรม จริยธรรมและ การสงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพพอใช้ขนึ้ ไป
ค่านยิ ม (A)
นกั เรยี นใฝเ่ รียนรู้และรว่ ม รายบคุ คล รายบุคคล
กิจกรรมในช้ันเรียน

๓๑

ประเด็นการพิจารณา วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การสังเกตพฤติกรรม
รายบุคคล แบบประเมินคณุ ลักษณะ ระดับคุณภาพพอใช้ขึน้ ไป
๑. ใฝ่เรียนรู้
๒. มุ่งมัน่ ในการทางาน การสงั เกตพฤติกรรม อนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียน
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น รายบุคคล
แบบประเมนิ สมรรถนะ ระดบั คุณภาพพอใช้ขึน้ ไป
๑.ความสามารถในการส่ือสาร การสงั เกตพฤติกรรม สาคญั ของผเู้ รยี น
๒.ความสามารถในการคิด รายบคุ คล
๓.ความสามารถในการใช้ แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพพอใช้ข้ึนไป
เทคโนโลยี การสังเกตพฤติกรรม รายบคุ คล ระดบั คุณภาพพอใช้ขนึ้ ไป
คุณลักษณะของผเู้ รียนตาม รายบุคคล
หลักสตู รมาตรฐานสากล แบบสงั เกตพฤติกรรม
เป็นเลิศทางวิชาการ รายบุคคล
คา่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒
ประการ
๑.ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษา
เล่าเรยี น
๒. รกั ษาวัฒนธรรม
ประเพณไี ทย

๓๒

แบบประเมินการอา่ นบทอาขยานทานองเสนาะ

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕/………………

ลาดบั ช่ือ-นามสกุล เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน รวม ผลการ
ขอ้ ๑ ขอ้ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ (๑๒) ประเมนิ
(๓) (๓) (๓) (๓)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน พจิ ารณาตามหัวขอ้ ดังน้ี เกณฑ์การประเมนิ ผล
ข้อ ๑) อา่ นออกเสียงถูกตอ้ งตามอักขรวิธี
ข้อ ๒) การแบง่ วรรคตอน คะแนน ผลการประเมิน
ข้อ ๓) อ่านออกเสยี งชัดเจน
ข้อ ๔) ความสอดคล้องของอารมณ์ ๑๐ - ๑๒ ดีมาก

๗ - ๙ ดี

๔ - ๖ พอใช้

๐ - ๓ ควรปรบั ปรุง

(*เกณฑ์ผ่านการประเมินผล ต้องไดผ้ ลการประเมินระดับพอใช้ข้ึนไป)

๓๓

เกณฑ์การประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล

เกณฑก์ ารประเมิน ดมี าก (๓) ระดับคะแนน ควรปรบั ปรงุ (๐)
ดี (๒) พอใช้ (๑)

๑. ความตงั้ ใจใน ตง้ั ใจและมสี มาธใิ น ต้งั ใจเรยี นดี อาจมี ตัง้ ใจเรยี น แต่ ไม่ตง้ั ใจเรียน

การเรยี น การเรยี นตลอดเวลา มี บางครง้ั ท่สี นใจส่ิงอน่ื บ่อยครั้งที่สนใจสิ่งอนื่

การถามตอบกับ ท่ไี มเ่ ออื้ ประโยชน์ตอ่ ท่ไี มเ่ อื้อประโยชนต์ อ่

ครผู ู้สอน การเรยี น มีการถาม การเรียน ไม่มีการถาม

ตอบกบั ครูผสู้ อนบา้ ง ตอบกบั ครูผู้สอน

๒. การตอบคาถาม ใหค้ วามรว่ มมือ แสดง ใหค้ วามรว่ มมือ แสดง ให้ความร่วมมือ แสดง ไมแ่ สดงความสนใจ

ในชน้ั เรียน ความสนใจ มกี ารถาม ความสนใจ มกี ารถาม ความสนใจ มกี ารถาม ไม่มีการถามตอบหรือ

ตอบหรือแลกเปลี่ยน ตอบหรอื แลกเปลยี่ น ตอบหรอื แลกเปลี่ยน แลกเปลีย่ นความคิด

ความคดิ ภายในชน้ั ความคิดภายในชน้ั ความคิดภายในชน้ั ภายในชนั้ เรียน

เรียนอย่างสมา่ เสมอ เรียนอย่างบ่อยคร้ัง เรียนบา้ ง

๓. การให้ความ ใหค้ วามร่วมมือในการ ให้ความร่วมมือในการ ให้ความร่วมมือในการ ไมใ่ ห้ความรว่ มมือใน

รว่ มมอื ในการทา ทากจิ กรรมอยา่ งดที กุ ทากิจกรรมแต่ขาด ทากจิ กรรมแต่ขาด การทากจิ กรรมเลย

กิจกรรม ครัง้ ด้วยความเต็มใจ ความกระตอื รือรน้ เต็มใจ ตอ้ งมกี ารย้า

และมคี วาม เตอื นมากกว่า ๓ คร้ัง

กระตือรือร้น

๔. การเขา้ ชนั้ เรยี น เขา้ ชั้นเรียน ไม่เข้าชน้ั เรียน

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

คะแนน ผลการประเมิน

๙ - ๑๐ ดีมาก

๗ - ๘ ดี

๕ - ๖ พอใช้

๐ - ๔ ควรปรบั ปรุง

(*เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ ผล ตอ้ งไดผ้ ลการประเมนิ ระดับพอใชข้ ึน้ ไป)

๓๔

แบบประเมินการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล

ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๕/…..

ลาดับ ชอื่ -นามสกุล เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน รวม ผลการ
ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ (๑๐) ประเมนิ
(๓) (๓) (๓) (๑)

ลงชื่อ......................................................ผ้ปู ระเมิน
(นางสาววศิตา ดาราแสง)

……………/……………/……………

๓๕

แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น

ช่อื -นามสกุล..................................................................ช้ัน........................เลขท่ี........................

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ตัวช้ีวัด ระดับคะแนน
๓๒๑๐

ใฝ่เรียนรู้ ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรียน และเขา้ รว่ ม
มงุ่ มน่ั ในการทางาน กิจกรรมการเรยี นรู้
ตั้งใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบัติหนา้ ทกี่ ารงาน

ทางานด้วยความเพยี รพยายาม และอดทนเพ่อื ให้
งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย

ลงชือ่ ......................................................ผ้ปู ระเมนิ
(นางสาววศติ า ดาราแสง)

……………/……………/……………

เกณฑก์ ารประเมินผล ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ ๐ คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครงั้ หรือไม่เคยปฏิบัติเลย

๓๖

แบบประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ชอื่ -นามสกุล..................................................................ช้นั ........................เลขท.่ี .......................

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตวั ช้ีวดั ระดับคะแนน
๓๒๑๐

ความสามารถในการส่อื สาร มีความสามารถในการรับ – สง่ สาร
มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความสามารถในการคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอยา่ งเหมาะสม
ความสามารถในการใช้ ใช้วิธีการสอ่ื สารทีเ่ หมาะสม
เทคโนโลยี วเิ คราะห์แสดงความคดิ เหน็ อย่างมีเหตุผล
มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์
มีความสามารถในการคดิ อยา่ งมรี ะบบ
มีความสามารถในการเลอื กและใช้เทคโนโลยี
มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี

ลงช่อื ......................................................ผ้ปู ระเมนิ
(นางสาววศิตา ดาราแสง)

……………/……………/……………

เกณฑก์ ารประเมินผล ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ ๐ คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครง้ั หรือไม่เคยปฏบิ ตั เิ ลย

๓๗

๓๘

ตารางวิเคราะหห์ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของแผนการจัดการเรียนรู้

เรื่อง บทอาขยาน

๑. ผสู้ อนนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ดังนี้

หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตผุ ล มีภูมคิ ้มุ กนั ในตวั ทีด่ ี
ประเด็น

เนอื้ หา กาหนดเนอ้ื หาได้สอดคลอ้ งกบั นกั เรียนได้เรยี นรตู้ รงตาม ลาดับเน้อื หาจากง่ายไปยาก

มาตรฐาน ตัวช้วี ดั และ มาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด และ เพอื่ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจงา่ ย เกิด

เหมาะสมกบั เวลา วยั และ ครบถว้ นบรรลตุ ามเป้าหมาย การใฝเ่ รียนรู้ และเตรยี ม

ความสามารถของนกั เรยี น เน้อื หาใหค้ รอบคลุมตาม

มาตรฐานและตัวชี้วัดตรงตาม

หลักสูตร

เวลา กาหนดเวลาไดเ้ หมาะสมกับ เพอ่ื ใหจ้ ัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กาหนดเวลาไว้สารองในกรณีที่

เนอื้ หาและกิจกรรมการเรียนรู้ ไดค้ รบถว้ นตามท่กี าหนด ตรง บางกจิ กรรมอาจจะใชเ้ วลา

ตามโครงสรา้ งหลกั สูตร มากกวา่ ท่กี าหนด

วิธกี ารจดั กจิ กรรม ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรยี นไดม้ ีความรตู้ าม มแี นวทางในการพัฒนา
เหมาะสมกบั นักเรยี นตาม มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั และจัด ปรับปรงุ การเรียนการสอนใน
บริบทท่ีแตกตา่ งใหบ้ รรลุ กจิ กรรมการเรียนรไู้ ด้ ครั้งตอ่ ไป
วัตถปุ ระสงค์ เหมาะสมกับนักเรยี น

แหลง่ เรยี นรู้ เลือกแหลง่ เรยี นรู้ทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย ส่งเสริมการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ใน มคี วามพรอ้ มในการจดั การ
สือ่ /อุปกรณ์
การประเมนิ ผล เหมาะสมกบั เนื้อหาและความ หอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรียน เรียนการสอน และเป็นไปตาม
ความรทู้ คี่ รูจาเป็นตอ้ งมี
คุณธรรมของครู สนใจของนกั เรยี น เพ่ือใหน้ กั เรยี นเข้าใจเน้ือหาได้ แผนที่วางไว้

ดีข้ึน

เลอื กส่ือทเี่ หมาะสมกับเนอื้ หา ใช้ส่อื เพือ่ กระตุ้นความสนใจ เตรยี มส่อื หรืออปุ กรณใ์ ห้

กิจกรรมการเรยี นการสอน ของผูเ้ รยี น และใหเ้ ข้าใจ เหมาะสมกบั วยั ของผูเ้ รยี น

และความสนในของนกั เรียน บทเรยี นไดง้ า่ ยขน้ึ เพ่ือช่วยสรา้ งความรู้และความ

เข้าใจมากข้ึน

ออกแบบการวัดและ ประเมินนักเรียนตรงตามสภาพ มีวธิ ีการวัดทห่ี ลากหลาย

ประเมินผลได้เหมาะสมกับ จริงดว้ ยวิธกี ารที่หลากหลาย เทย่ี งตรง มคี วามเชื่อมนั่ ตรง

ตัวชีว้ ดั เนือ้ หา เวลา และวยั และเหมาะสมตรงตัวช้ีวดั ตามจุดประสงค์

ของนกั เรียน

ความรูเ้ รอื่ งการทอ่ งทานองเสนาะ คาประพนั ธ์ประเภทรา่ ย

การจัดการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญและการวดั ประเมนิ ผล

มีความรักเมตตาศษิ ย์ มีความรับผดิ ชอบ มคี วามยตุ ิธรรม มีความอดทน

๓๙

๑. ผลที่เกิดกบั ผเู้ รียนสอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

๑.๑ ผู้เรียนได้เรยี นรู้หลกั คดิ และฝึกปฏิบตั ิตามหลัก ๓ หว่ ง ๒ เงอื่ นไข ดังนี้

พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ ี

๑.นกั เรยี นใชเ้ วลาใน ๑. นกั เรยี นตระหนกั ถึง ๑. รูจ้ ักการวางแผนใน

กิจกรรมการเรยี นรูไ้ ด้ ความสาคญั ของกจิ กรรม การทางาน

เหมาะสมตามลาดับ การเรยี นรู้ ๒. รูค้ ณุ ค่าและ

ขัน้ ตอน และมี ๒. นักเรียนตระหนกั ถึง ความสาคญั ของ

หลักพอเพียง ประสิทธภิ าพ คณุ ค่าของภาษาและ ภาษาไทย รวมถึง

๒. นักเรียนเลือกศึกษา วฒั นธรรมไทย และการ วฒั นธรรมทางภาษา

จากแหลง่ เรียนรไู้ ด้อย่าง ใชภ้ าษาเพ่ือการสื่อสาร

คมุ้ ค่า ๓. นักเรยี นมคี วามรู้ และ

เกดิ ความเข้าใจในคุณคา่

ของภาษาไทย

ความรทู้ ่ีต้องมีก่อนเรยี น ความร้ทู ่ัวไปเกย่ี วกับหลักการอ่าน

คุณธรรมของผูเ้ รยี น ความตงั้ ใจใฝเ่ รียนรู้ ความม่งุ มั่นในการทางาน ความรบั ผดิ ชอบและระเบยี บวินยั

๑.๒ ผเู้ รียนได้เรยี นรกู้ ารใช้ชวี ติ ทีส่ มดุลและพรอ้ มรับการเปลยี่ นแปลงใน ๔ มติ ิ ตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ดังนี้

ด้าน สมดุลและพร้อมรับการเปลยี่ นแปลงในด้านตา่ ง ๆ

องค์ประกอบ วตั ถุ สังคม ส่งิ แวดล้อม วฒั นธรรม
ความรู้
มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจ เขา้ ใจบริบททาง เข้าใจบริบทอื่นท่ี เขา้ ใจบรบิ ททาง
ทักษะ เนือ้ หาสาระวิชา สงั คมที่เกีย่ วขอ้ ง สง่ ผลต่อการใช้ วัฒนธรรมที่
และสามารถใชไ้ ด้ ภาษาไทย เก่ยี วข้องกับ
คา่ นิยม มที ักษะทาง อยา่ งถูกต้อง ภาษาไทย
ภาษาไทยอย่าง สามารถใช้ทักษะ สามารถปรบั ตัวให้ สามารถเข้าใจและ
รอบดา้ น ทางภาษาไทยใน เขา้ กับสง่ิ แวดล้อม ธารงภาษาไทยใน
การตดิ ต่อกบั สังคม ใหมโ่ ดยใช้ภาษา บริบททาง
มเี จตคติที่ดีต่อ ได้ เปน็ เคร่อื งมือได้ วัฒนธรรม
ภาษาไทยอันเป็น ตระหนกั ถึง ตระหนักถึงความ ตระหนกั และเห็น
ภาษาประจาชาติ ความสาคญั ของ เกย่ี วขอ้ งระหว่าง คุณคา่ ของ
ภาษาไทยในฐานะ สงิ่ แวดลอ้ มกับ วฒั นธรรมที่
ส่ือกลางของสังคม ภาษาไทย เก่ยี วกับภาษาไทย

๔๐

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๓

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชอื่ พุทธมหาชาติ

เร่ือง มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑม์ ัทรี เวลาสอน ๕๐ นาที

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วชิ า ภาษาไทยพืน้ ฐาน รหสั วิชา ท ๓๒๑๐๑
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑

ผสู้ อน นางสาววศิตา ดาราแสง

๑. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา

ในการดาเนินชีวิตและมนี สิ ยั รักการอ่าน
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า

และนามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ
๒. ตวั ชวี้ ัด

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒ ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองที่อ่าน
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕ วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โตแ้ ย้งเก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่
อยา่ งมีเหตผุ ล
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ วิเคราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ์เบ้ืองตน้
๓. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
วรรณคดีเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก เป็นเร่ืองราวของพระโพธิสัตว์ในพระชาติสุดท้ายก่อนตรัสรู้
เป็นพระพุทธเจ้า ประกอบด้วยท้ังหมด ๑๓ กัณฑ์ โดยมีเนื้อหาท่ีสอดแทรกคุณธรรม แฝงแง่คิดเมื่ออ่าน ในระดับ
ชั้นนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษากัณฑ์มัทรี ซึ่งมีเนื้อหาสะท้อนให้เห็นถึงความรักของแม่ที่มีต่อลูก และคุณธรรมอื่น ๆ
ที่ปรากฏ อย่างไรก็ดี ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนรู้ เพ่ือจะได้นาข้อคิด และคุณธรรมดังกล่าวไปประยุกต์ใช้
ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวันของตนเองต่อไป
๔. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ความรู้ (K)
นักเรียนอธบิ ายความเป็นมาของ เรอ่ื ง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มทั รี ไดถ้ กู ตอ้ ง
ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
นกั เรียนท่องลาดบั ของมหาเวสสันดรชาดก ๑๓ กัณฑไ์ ดถ้ กู ต้อง
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยม (A)
นกั เรยี นใฝเ่ รยี นรู้และรว่ มกิจกรรมในชนั้ เรียน

๔๑

๕. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

๑. ใฝ่เรยี นรู้

๒. มงุ่ ม่ันในการทางาน

๖. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น

๑. ความสามารถในการส่ือสาร

๒. ความสามารถในการคดิ

๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๗. ด้านคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นตามหลักสตู รมาตรฐานสากล

 เป็นเลิศทางวชิ าการ  สอื่ สารสองภาษา  ลา้ หน้าทางความคิด

 ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  ร่วมกนั รบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก

๘. สอดคลอ้ งกบั คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

๑. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศกึ ษาเล่าเรยี น

๒. รักษาวัฒนธรรม ประเพณีไทย

๙. สาระการเรียนรู้

วรรณคดเี ร่ือง มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑม์ ัทรี

๑๐. ภาระงาน/ชน้ิ งานทแี่ สดงผลการเรยี นรู้

-

๑๑. กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา

๑. ครูจดุ ประกายความคดิ ให้กบั นักเรียนโดยใชค้ าถามให้นักเรียนรว่ มกนั ตอบ

ตัวอย่างคาถาม

- นักเรียนรูจ้ ักเทศนม์ หาชาตหิ รอื ไม่ ?

- เทศน์มหาชาติมีเรอ่ื งราวเก่ยี วกับอะไร ? เหมอื นหรือต่างกนั กับมหาเวสสันดรชาดก ?

ข้ันสอน

๒. นักเรียนนาหนังสือเรียนวชิ าภาษาไทย วรรณคดวี ิจักษ์ ม.๕ ขึ้นมาเปดิ หน้า ๑๑

๓. นกั เรยี นและครูรว่ มกันอภิปราย เรอื่ ง ความเปน็ มาของมหาเวสสันดรชาดก ๑๓ กัณฑ์

๔. นักเรยี นชมวดี ทิ ัศนเ์ ร่ือง มหาเวสสันดรชาดก ๑๓ กัณฑ์

๕. นกั เรียนและครรู ่วมกันทบทวนชอ่ื กัณฑ์ทั้งหมด ๑๓ กณั ฑจ์ ากใบความรู้
๖. ครนู ดั หมายแนวปฏิบัติการทอ่ งลาดบั ของมหาเวสสนั ดรชาดก ๑๓ กณั ฑ์ นอกเวลาเรยี น

๔๒

ขน้ั สรปุ
๗. นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ ความร้เู ร่ือง ความเป็นมาของมหาเวสสนั ดรชาดก
๑๒. สอ่ื การเรียนรู้และแหลง่ เรยี นรู้

๑. โปรแกรมนาเสนอภาพนิ่ง วรรณคดี เรอ่ื ง มหาเวสสนั ดรชาดก

ตัวอยา่ งสอ่ื

๒. หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย วรรณคดวี ิจกั ษ์ ม.๕
๓. วดี ิทศั น์ เร่ือง มหาเวสสนั ดรชาดก ๑๓ กณั ฑ์ สบื ค้นจาก
https://www.youtube.com/watch?v=JowpTD_DhFQ
๔. ใบความรู้

๔๓

๑๓. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

ประเด็นการพจิ ารณา วธิ กี าร เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ

ความรู้ (K) การร่วมกิจกรรมใน แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพพอใช้ขึน้ ไป

นกั เรยี นอธิบายความเป็นมา ช้นั เรยี น รายบคุ คล

ของเรื่อง “มหาเวสสันดร

ชาดก” ได้ถกู ต้อง

ทกั ษะ/กระบวนการ (P) การสงั เกตพฤติกรรม การสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป
รายบคุ คล
นักเรียนทอ่ งลาดบั ของ รายบคุ คล

“มหาเวสสันดรชาดก”

๑๓ กัณฑไ์ ด้ถูกตอ้ ง

คณุ ธรรม จริยธรรมและ การสังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป
รายบคุ คล
คา่ นิยม (A) รายบคุ คล

นักเรยี นใฝเ่ รยี นร้แู ละรว่ ม

กจิ กรรมในชัน้ เรยี น

๔๔

ประเด็นการพิจารณา วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การสังเกตพฤติกรรม
รายบุคคล แบบประเมินคณุ ลักษณะ ระดับคุณภาพพอใช้ขึน้ ไป
๑. ใฝ่เรียนรู้
๒. มุ่งมัน่ ในการทางาน การสงั เกตพฤติกรรม อนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียน
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น รายบุคคล
แบบประเมนิ สมรรถนะ ระดบั คุณภาพพอใช้ขึน้ ไป
๑.ความสามารถในการส่ือสาร การสงั เกตพฤติกรรม สาคญั ของผเู้ รยี น
๒.ความสามารถในการคิด รายบคุ คล
๓.ความสามารถในการใช้ แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพพอใช้ข้ึนไป
เทคโนโลยี การสังเกตพฤติกรรม รายบคุ คล ระดบั คุณภาพพอใช้ขนึ้ ไป
คุณลักษณะของผเู้ รียนตาม รายบุคคล
หลักสตู รมาตรฐานสากล แบบสงั เกตพฤติกรรม
เป็นเลิศทางวิชาการ รายบุคคล
คา่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒
ประการ
๑.ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษา
เล่าเรยี น
๒. รกั ษาวัฒนธรรม
ประเพณไี ทย

๔๕


Click to View FlipBook Version