The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เพลงและการละเล่นพื้นบ้าน ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ksranyu, 2021-05-23 12:39:10

เพลงและการละเล่นพื้นบ้าน ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก

เพลงและการละเล่นพื้นบ้าน ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก

41

เล่นตี่หรืออื่ เล่นเตย ไส่จับ เจ๊แล้ว (เล่นไล่จับในนํ้าทางภาคใต้) เสือข้ามหัวย โป้งแปะ ม้าส่งเมือง ซ่อนหา โค้งตีน
เกวยี น บางชนดิ กเ็ ปน็ การเล่นอย่กู บั ที่ เชน่ การเล่นตบแผละ เป็นการเลน่ ฝกึ สมอง การจดจําลาํ ดบั ชั้นของการเล่น
ความว่องไว ใครเร็วกว่า และจาํ ได้แมน่ ยํามากกวา่ กจ็ ะเปน็ ผูช้ นะ เปน็ ต้น

การละเล่นทีม่ บี ทรอ้ งหรือถอ้ ยคําประกอบการเลน่ การละเลน่ ของเดก็ ที่มีบทร้อง หรือถอ้ ยคาํ ประกอบการ
เลน่ นนั้ อาจจะมีผิดเพ้ียนกันไปบ้างเนื่องจากบทร้องหรือถ้อยคํา ประกอบการเล่นได้จดจาํ ตอ่ ๆ กันมา สืบทอดโดย
ไมม่ กี ารบนั ทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร บางกรณี ความผดิ เพยี้ นของบทร้องและถ้อยคําเกิดจากลักษณะเฉพาะหรือ
วถิ ชี ีวิตของทอ้ งถิน่ ตลอดจนลักษณะของภาษาถ่นิ เข้ามาเกีย่ วข้อง เชน่ บทรอ้ งเพลงประกอบการเล่นของเด็กภาค
กลางว่า "จีจ่อเจ๊ียบ" ภาคเหนือเรยี ก "จี่เจ๊ียบ" ซึ่งเป็นการเล่นของเด็กเล็ก ๆ หรือเด็กผูห้ ญิงเล่นได้ท้ังในร่มนอกรม่
ฝกึ ประสาท ตา หู มือ วธิ ีเล่นจะเหมอื นกัน แต่มบี ทร้องแตกตา่ งกันไปบ้าง ดงั น้ี

บทเพลง "จีจอ่ เจ๊ยี บ" (ภาคกลาง) (ผ้เู รยี บเรียง)
บทเพลง จจี อ่ เจี๊ยบ มะลงมะเล๊ยี บกระแช.่ ..รบั ...
"จจี ่อเจย๊ี บ" (ภาคเหนือ) (พีระพงศ์ บุญศิริ, 2536 : 37)
จจี ่อเจย๊ี บ มะลมมะเลยี๊ บกระแชว่ บั
ตก๊ โตไ๋ ล่งบั ปดิ ประตดู ัง... ป๊ับ

การเล่นที่พูดเป็นบทกลอนจนถึงเป็นบทร้องมีมากมาย เช่น แม่งู จํ้าจี้ ซ่อนหา มอญช่อนผ้า รีรีข้าวสาร
บทร้องสกิ จงิ จาเลน่ ชงิ ช้าของภาคเหนือ บทรอ้ งโพนเพน เล่นชิงชา้ ของภาคใต้ บทปริศนาคาํ ทายในแตล่ ะภมู ภิ าค

ส่วนการละเล่นของเด็กที่มีถ้อยคําประกอบในระหว่างการเล่นก็มี เช่น การเล่นเขย่ง เก็งกอย แมวหยอด
นํ้ามันหมู ตะล็อกตอ๊ กแตก๊ และกงิ กอ่ งแก้ว เปน็ ต้น

การละเล่นที่มีบทร้องบทกลอนหรือถ้อยคําประกอบการเล่น มีทั้งการเล่นที่ใช้อุปกรณ์และไม่ต้องใช้
อปุ กรณ์ ซง่ึ จะได้กลา่ วยกตัวอยา่ งในแต่ละภมู ิภาคตอ่ ไป

วิธีการจัดลําดับและการแบ่งกลุ่มการเล่น การละเล่นของเด็กในทุกภูมิภาค ถ้าเป็นกลุ่มผู้เล่นที่มีจํานวน
ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เพื่อความยตุ ิธรรมในการเล่น จะมีการจัดลําดับผู้เล่นก่อนหลัง การแบ่งฝ่าย หรือแบ่งกลุ่มผู้เลน่
ซึ่งวิธีการจัดลําดับและการแบ่งกลุ่มมีหลายวิธีซึ่งผู้เล่นจะเป็นผู้เลือกว่าจะใช้แบบใดตามความพอใจ และความ
เหมาะสมกบั กิจกรรมการเล่นนน้ั ๆ ทพี่ บในการเล่นของเด็ก จะมี 4 วธิ ี คือ

วิธีท่ี 1 โอนอ้ ยออก หรือโออาเหล่าตาแบ๊ะ (เขยี นตามออกเสียง)
วธิ ีท่ี 2 ปา่ วยง้ิ ฉบุ (เขียนตามออกเสียง)
วธิ ที ี่ 3 ทายนิ้วโป้งน้ิวก้อย
วธิ ีที่ 4 จับไม้สั้นไมย้ าว

42

ตัวอย่างการจดั ลาํ ดบั การจดั ลาํ ดับส่วนมากจะเลน่ ตั้งแต่ 2 คนขนึ้ ไป เล่นเป็นกลมุ่ ถ้าเล่น 2 คน เช่น เล่น
ไมห้ งึ่ ก็จะใช้วิธปี ่าวยงิ่ ฉุบ ถา้ ใครชนะเลน่ ก่อน ถ้าเล่นเกิน 3 คนขึน้ ไป เชน่ 3 - 5 คน ใชเ้ ลน่ ดีดเม็ดมะขามลงหลุม
จะตัดสินว่าใครเล่นก่อน ลําดับที่ 1-2-3-4 และ 5 ก็ต้องใช้วิธีตัดสินด้วยโอน้อยออก จัดลําดับ 1-2-3 เหลือ 2 คน
ใช้วิธปี ่าวยิง้ ฉบุ คนทีช่ นะได้ลําดบั 4 คนท่แี พ้ได้ลาํ ดับ 5 เป็นต้น

ตัวอย่างการแบ่งกลุ่ม การแบ่งกลุ่ม หมายถึง การแบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่าย เพื่อเกิดความยุติธรรมต่อผู้
รว่ มเลน่ ทกุ คน ไมใ่ หผ้ ู้เลน่ เลือกฝ่ายกนั เอง ตวั อย่างการเล่นตี่ การเลน่ เตย ตอ้ งแบง่ ผเู้ ล่น ออกเปน็ 2 ฝ่าย ให้ทุกคน
จับคู่กัน คนที่แรงน้อยหรือความสามารถน้อยกว่าคนอื่น หรือความสามารถพอ ๆ กันจะให้จับคู่กัน อาจจะใช้วิธี
ปา่ วยง่ิ ฉบุ หรือจบั ไมส้ ั้นไม้ยาว หรือทายโปง้ ก้อย กไ็ ด้ เพ่อื ใหไ้ ด้คนมาอยู่ ในแตล่ ะฝา่ ยเท่าเทียมกัน วิธีการนี้จะทํา
ใหผ้ เู้ ล่นทุกคน ปรับตัวเขา้ กบั เพื่อน ยอมรบั กติกาทาํ ให้เกดิ ความสามคั คีในการเลน่

3.2.3 การละเล่นของเด็กภาคกลาง จากงานวิจัยเรื่อง การละเล่นของเด็กภาคกลาง ของผะอบ
โปษะกฤษณะ และคนอื่นๆ และหนังสือวัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาของ
จังหวัดต่างๆ ในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนและตอนล่าง การละเล่นของเด็กในภูมิภาคนี้มีจํานวนมาก
การละเล่นในชื่อเดียวกันอาจจะแตกต่างกันไปบ้าง ตามลักษณะของการเล่นในแต่ละท้องถิ่น รวบรวมได้ประมาณ
60 ชนดิ ดงั นี้

1.กังหันแมงทับ 2.กระโดดเชือก 3.กาฟักไข่ 4.กิงก่องแก้ว 5.กําทาย 6.กําปุ้นกําปั้น 7.ขี่ม้าส่งเมือง
8.ขี่หลังโยนกระเบื้อง 9.เข่นสะบ้า 10.โค้งตีนเกวียน 11.งูกินหาง 12.จีจ่อเจี๊ยบ 13.จํ้าจี้ 14.ชนแมงกวาง
15.ซ่อนหา 16.ดีดลูกแก้ว 17.เดินกะลา 18.เดินขาหยั่ง 19.ตบแผละ 20.ตะล็อกต๊อกแต๊ก 21.ตาเขย่ง 22.ตี
ไก่ 23.ตีวงล้อ 24.ตี่จับ 25.ตุ๊กตา 26.เตย 27.ตั้งเต 28.ต่อไก่ 29.ทอยกอง 30.ปั้นดิน 31.ปริศนาคําทาย
32.ปลาหมอตกกระทะ 33.ปืนก้านกลัวย 34.ปูขาเก 35.เปากบ 36.เป๋าปีซังข้าว 37.โพงพาง 38.แมงมุม
39.แมวหยอดนํ้ามันหมู 40.มอญซ่อนผ้า 41.ไม้เก็บ 42.ไม้ทึ่ง 43.โยนเส้น 44.รถไต่ถัง 45.รถหลอดด้าย
46.รีรีข้าวสาร 47.ลิงชิงหลัก 48.ลูกช่วง 49.ว่าว 50.วิงวัว 51.สานตะกร้อ 52.สานปลาตะเพียน
53. เสือข้ามห้วย 54.เสือตกถัง 55.เสือไล่หมู 56.หมากเก็บ 57.หมุนกระทะ 58.อีโบ๊ะหรืออีโพละ 59.อีตัก
60.ไอเ้ ข้ไอโ้ ขง

ตัวอย่างการละเลน่ ของเด็กภาคกลาง
(1) เลน่ เสอื ไลห่ มู (ผะอบ โปษะกฤษณะ และคนอน่ื ๆ, 2522 : 15)

1) จํานวนผเู้ ล่น ไมจ่ ํากดั จํานวน เล่นไดท้ ัง้ ชายและหญงิ
2) สถานท่ีเล่น กลางแจ้ง
3) วิธีเล่น จับไม้สั้นไม้ยาวเพื่อหาว่าคนไหนจะต้องเป็นเสือ กลางแจ้ง เป็นหมูก่อน 2 คน คนอื่นๆ
ล้อมวงจับมือกัน หมูอยู่ในวง คนรอบวงเดินหมุนไปร้องเพลงไปด้วย เสืออยู่นอกวง พอร้องเพลงจบ เสือจะวิ่งเข้า

43

คอกเพื่อไปจับหมูผู้เป็นคอกต้องพยายาม ไม่ให้เสือเข้าถ้าเสือจะมุดต้องนัง่ ลงเป็นการปิดคอก ถ้าเสือหลุดเข้าวงมา

ได้ไล่ห ยใหห้ มลู อดออกไปนอกคอกกั้นเสือไว้ เสอื และหมูจะไลจ่ บั กนั คอกต้องคอย ถา้ จบั ได้ก็สลบั ตัวกันเลน่ ต่อไป

บทร้องประกอบ

หมจู ีบหมูจ้อย หมูนอ้ ยกนิ ราํ

เดอื นมืดเดอื นค่าํ ไลห่ มเู ข้าคอก

แคศ่ อกแค่วา อีกามนั เห็น

อกี ามันร้อง ถือไมค้ ดคอ้ ง

บีบนมสาวเลน่ มะเขือขาวลอยมา

เอาควายไปสน ทีต่ น้ ไม้ใหญ่

เสอ้ื โว้ยมากนิ หมวู า

การละเล่นชนิดนี้เป็นการละเล่นของเด็กในจังหวัดสุพรรณบุรี มีวิธีการเล่นเช่นเดียวกับการเล่น หมาไล่

ทา่ น ในกรุงเทพฯ หรอื จงั หวัดอื่น ๆ

4) ประโยชน์ของการเล่น การเล่นเสือไล่หมู ฝึกทั้งร่างกายและจิตใจ ฝึกไหวพริบ ความพร้อม

เพรยี ง และความสังเกต พรอ้ มท่ังความว่องไว และการบริหารกาย ทางกําลังขาด้วย

(2) เลน่ งกู ินหาง (ผะอบ โปษะกฤษณะ และคนอืน่ ๆ. 2522 : 18-19

ภาพที่ 3.1 การละเลน่ "งูกินหาง" ของนักเรียนโรงเรยี นยณั ฑติ า สรุ าษฎธ์ านี
(โรงเรยี นบณั ฑิตาสุราษฎร์ธานี, 2561)

1) จาํ นวนผเู้ ลน่ ไม่จํากดั จาํ นวน เลน่ ได้ทงั้ ชายและหญงิ คนหนึ่งเป็นพ่องู
2) สถานทเ่ี ล่น กลางแจ้ง
3) วิธเี ล่น คนหนง่ึ เป็นพ่องู อกี คนหน่งึ เปน็ แมง่ ู พอ่ งูยืนหันหน้าเข้าหาแม่งู นอกนั้นเป็น
ลูกงู จับเอวแม่งูเป็นแถวยาว ความยาวของลูกงูนั้นขึ้นอยู่กับจํานวนผู้เล่น พ่องูเป็นผู้ถาม แม่งูและลูกงูเป็นผู้ตอบ
ดงั นี้

44

พ่อง.ู .......แม่งูเอ๋ย
แม่........เอย๋ (ลกู งูช่วยตอบ)
พอ........กินนา้ํ บ่อไหน
แม่ง.ู ........กินนํ้าบ่อโศก
ลูกง.ู .......โยกไปก็โยกมา (แมง่ ูและลกู งูโยกตวั ขวา-ช้าย พร้อมกนั )
พอ่ ........แมง่ เู อ๋ย
แม่งู.........เอ๋ย
พ่องู........กนิ นํา้ บ่อไหน
แม่ง.ู ........กินน้าํ บ่อทราย
ลูกงู.........ย้ายไปก็ย้ายมา (วิ่งทางซ้าย และว่ิงกลบั มาทางขวา)
พอ่ งู.......กินน้าํ บอ่ ไหน
แม่ง.ู .......กนิ น้ําบอ่ ทิน
ลูกกู........บนิ ไปกบ็ ินมา (ทาํ ทา่ บินไปทางชา้ ยแลว้ ก็บนิ มาทางขวา-จับเอวต่อ)
พ่อง…ู ….หงุ ขา้ วก่ีหมอ้
แม่ง…ู …..หม้อ (เทา่ กบั จํานวนแมง่ ูและลกู งู)
พอ่ ง.ู ........ขอกินหมอ้ ได้ไหม
แม่ง-ู ลูกง…ู ….ไม่ได้
พอ่ ง.ู .......ตาํ นา้ํ พรกิ กคี่ รก
แม่ง…ู ……………...ครก
พอ่ งู........ขอกินครกได้ไหม
แมง่ -ู ลกู งู…….ไมไ่ ด้
พ่องู.......ทอดปลาทกู ี่ตัว
แมง่ …ู ……………...ตวั
พอ่ ง…ู …..ขอกินตัวไดไ้ หม
แมง่ -ู ลูกงู …....ไมไ่ ด้
พอ่ ง.ู ...... กินหวั หรือกินหาง
แม่ ....... กินหางตลอดหัว (หรือกินหัวตลอดหาง หรือกนิ กลางตลอดตวั )
พ่องูจะไล่จับลูกงูจากปลายแถวขึน้ มาหัวแถว แม่งูตอ้ งพยายามปอ้ งกันไม่ใหพ้ ่องจู ับเอาลกู

45

งูไปได้โดยการกางมือกั้น แล้วลูกงูต้องคอยวิ่งหนิแต่ต้องระวังไม่ให้แตกแถว ถ้าแม่งูตอบว่า กินหัวตลอดทาง พ่องู
ต้องหาวิธหี ลบหลกี จบั ลูกงคู ่ังแต่หวั แถวถึงหางแถว ถา้ แม่งูตอบวา่ กินกลางตลอดตวั พอ่ งจู ะพยายามจับลูกงูท่ีอยู่
ตวั กลางก่อนตอ่ จากน้ันจะจับลกู งูตวั ใดกไ็ ด้จนหมด เม่อื จบั ลกู งูตวั ใดได้ พอ่ งจู ะถามลกู งวู ่า

พ่องู........อยู่กับพอ่ หรอื อย่กู ับแม่
ลูกง.ู .....อยู่กับแม่
พ่องู........ลอยแพไป (แลว้ พ่องูจะผลกั ลกู งอู อกไป)
ถ้าลกู งูตอบว่า อยู่กับพ่อ พอ่ งงู จะพูดว่า หักคอจิ้มนา้ํ พรกิ (แลว้ ทาํ ทา่ หกั คอลกู งูแล้วผลัก
ออกไป)
4) ประโยชนข์ องการเล่น นอกจากจะให้สวามสนุกสนานในกรวิ่งไถ่จบั กนั แลว้ ยังฝึกการ
เปน็ ผ้นู าํ และผตู้ ามท่ตี ึ ทําบทบาทตามกติกาท่ีวางไว้ ฝกึ ไหวพริบและฝึกความสามคั คี
(3)เลน่ ปรศิ นาคาํ ทาย (ผะอบ โปษะกฤษณะ และคนอ่ืนๆ, 2522 : 72 – 98)
การเล่นปริศนาคําทาย ที่เด็กใช้ทายเล่นกันในกลุ่มเพื่อน ๆ เพื่อความสนุกสนานน้ัน มีมากมาย คําทาย -
คําเฉลยที่ใช้ส่วนมากจะเป็นเร่ืองทั่ว ๆไป ที่เกี่ยวกับสิ่งของรอบตัวเรา เช่น คน สัตว์ ต้นไม้ สิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ
เป็นต้น จากการสังเกตผู้เล่นจะใช้คําเปรียบเทียบ พยายามหาภาษาคําทายให้คล้องจองกันและหาเหตุผลให้เปน็ ท่ี
ยอมรับ - คําทาย คําเฉลย ในกลุ่มผู้เล่น และให้การเล่นเกิดความสนุกสนานมากที่สุด การเล่นปริศนาคําท้าย จึง
แพรห่ ลายไปท่ัวในทกุ ภมู ภิ าคของประเทศไทย และชว่ ยใหเ้ กดิ การพัฒนาการทางทักษะและ ภาษาเป็นอย่างดี
1) จํานวนผูเ้ ลน่ ไมจ่ าํ กดั จาํ นวน เลน่ ไดท้ ั้งชายและหญงิ
2) สถานทเ่ี ล่น เล่นไดท้ ง้ั ในร่มและกลางแจง้
3) วิธเี ลน่ หาคนเป็นผทู้ ายกอ่ นหน่ึงคน ทีเ่ หลือจะชว่ ยกนั คิดคําเฉลย ถา้ ใครคดิ คําเฉลยได้ก่อนก็จะ
เปน็ ผทู้ ายคําปริศนาต่อไป
ตวั อย่างการเลน่ ปรศิ นาคําทายภาคกลาง
- คําถาม อะไรเอย่ มปี ากไม่มฟี ัน กนิ ข้าวทกุ วันได้มากกว่าคน
คาํ ตอบ หมอ้ ข้าว
- คําถาม อะไรเอ่ย ตวั มีหู หูคล้องขา ขากม็ ีหู หูกค็ ลอ้ งมือ
คําตอบ ปนิ่ โต
- คําถาม อะไรเอ่ย มลมุ มลํา เดนิ วันยงั คาํ่ ไม่เหน็ รอย
คาํ ตอบ เรือ
- คาํ ถาม อะไรเอย่ สามขาเดนิ มา หลังคามงุ สําลี
คาํ ตอบ คนแก่ผมหงอก ถือไม้เท้าเดนิ มา
- คาํ ถาม อะไรเอ่ย ส่ีตีนเดินมา หลังคามงุ กระเบ้อื ง

46

คาํ ตอบ เต่า
- คําถาม อะไรเอ่ย หนา้ แล้งอย่ถู ้ํา หน้าน้าํ อย่ทู ่งุ เกล้าผมมุ่นเปน็ มอญใหม่
คําตอบ หอยโข่ง
- คําถาม อะไรเอ่ย เรือนปัน้ หยา ทาสีเขียว เดก็ ดาํ นอนมงุ้ ขาว
คําตอบ ผลนอ้ ยหน่า
- คําถาม อะไรเอย่ ตน้ เทา่ ครกใบปรกดิน ต้นเทา่ ขาใบวาเดยี ว ตน้ เท่าแขน ใบแลน่ เสีย้ ว
คาํ ตอบ ตน้ ตะไคร้ ต้นกลว้ ย ต้นอ้อย
- คาํ ถาม อะไรเอย่ เขียวเหมอื นพระอนิ ทร์ บินเหมอื นนก ศรปักอก นกกไ็ มใ่ ช่
คาํ ตอบ แมงทบั
- คาํ ถาม อะไรเอ่ยไม้ผทุ ะลถุ ึงแก่น ถึงแท่นดนิ สอ ถึงบ่อนา้ํ ใส หวั ใจหนมุ าน
คําตอบ เปลือกมะพร้าว กะลามะพรา้ ว นา้ํ มะพรา้ ว จาวมะพร้าว
3.2.4 การละเล่นของเด็กภาคตะวันออก จากหนังสือวัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตรเ์ อกลักษณ์
และภูมิปัญญากลุ่มต่าง ๆ ของจังหวัดภาคตะวันออก การละเล่นของเด็กในภูมิภาคนี้ มีลักษณะการเล่นทั้งที่เป็น
การเล่นของภาคกลางและภาคอสี านเปน็ สว่ นใหญ่ รวบรวมไดป้ ระมาณ 60 ชนิด ดังน้ี
1.กระโดดเชือก 2.กระบอกโพละ 3.กาฬกไข่ 4.เก้าอี้ดนตรี 5.ขี่ม้าก้านกล้วย 6.ขี่ม้าโยนบอล
7.ขี่ม้าหลงโปก 8.แข่งเรือบก 9.ขวิดเขาควาย 10.เขย่งครุบ 11.โคเกวียน 12.งูกินหาง 13.จํ้าจี้ 14.ชนไก่
15.ชักเย่อ 16.ช่วงรํา 17.ช้อนเมล็ดมะขาม (หรือเมล็ดน้อยหน่า) 18.เดินกะลามะพร้าว 19.เดินขาหยั่ง
20.ตีไก่ดอกหญ้า 21.ตี่จับ 22.ตาเขย่ง 23.เตย 24.ต้องเต 25.ทอดแห 26.เบี้ย 27.ปลาหมอตกกระทะ
28.ปลาหมอตกถัง 29.ปิดตาคลําทาง 30.ปิดตาตีหม้อ 31.โป้งแปะ 32.พูดสายโทรศัพท์ 33.โพงพาง
34.ม้าขาลีบ35.ไม้ดั้ง 36.ไม้หึง 37.โมราเรียกชื่อ 38.มอญซ่อนผ้า 39.โยนห่วง 40.รีรีข้าวสาร 41.ลิงชิงหลัก
42.ลูกข่าง 43.ลูกสมอ 44.ลูกหมา 45.ลูกกาบหมาก 46.ว่ายน้ําไล่กระต่าย 47.ว่าว 48.วิ่งกะลา 49.วิ่งเบี้ยว
50.เสือกินคน 51.เสือกินวัว 52.เสือข้ามห้วย 53.เสือตกถัง 54.หมากเก็บ 55.หมากเก็บไม้ 56.หมากผรั่ง
57.หมุนนาฬกิ า 58.หยอดหลมุ 59.อีเตกอ๋ ง 60.โฮกป๊บี
ตวั อยา่ งการละเล่นของเดก็ ภาคตะวันออก
(1) เล่นไม้ดั้ง (ไม้หง่ึ ) (สํานกั นายกรัฐมนตรี, 2542 ธ : 109)

1) จาํ นวนผ้เู ลน่ ไมจ่ าํ กดั จํานวน
2) สถานท่เี ล่น กลางแจง้
3) อปุ กรณ์การเลน่ ไม้ยาว 1 ศอก เรยี กว่าแม่หึง 1 อัน ไม้เล็ก ๆ ยาวประมาณ 5 นิว้
เรียกวา่ ลูกหงึ 1 อนั ขุดหลมุ ตนื้ ๆ ปากกวา้ งราว 2 นวิ้ 1 หลมุ

47

4) วิธีเล่น คนหนึ่งของฝ่ายตีเอาลูกหึ่งวางขวางปากหลุม ใช้แม่หึงงัดลูกหึ่งใหล้ อยไปตก
ทางฝ่ายรับ ให้ไกลเลยคนรับได้เทา่ ไรยิ่งดี เพราะถ้าฝ่ายรับรับลูกหึ่งได้ ตนจะต้องตายตีต่อไปไม่ได้อีกตลอดตา ถ้า
ฝ่ายรับรับไม่ได้ คนตีไม้หึ่งก็วางแม่หึ่งขวางปากหลุม คนหนึ่งในฝ่ายรับวิง่ ไปหยิบลูกหึ่งแล้วทอยลูกหึงจากที่นั่นมา
ใหถ้ กู ไมล้ ูกหึ่ง ถา้ ทอยถูกผู้ตีลูกตายถา้ ทอยผดิ คนตีก็ตีลูกท่ี 2 ตอ่ ไป

การตีลกู ท่ี 2 ผดิ กับการตีลูกแรก คือ ผูต้ กี ําไม้หง่ึ ดว้ ยมอื ขวาวางลูกหง่ึ ขวางมือท่ีกําแม่หึ่ง
แล้วเคาะลูกหึ่งให้ลอยสูงขึ้นเล็กน้อย แล้วใช้แม่หึ่งทอยลูกหึ่งไปตกทางฝ่ายรับถ้าฝ่ายรับรับได้ ผู้ทอยลูกก็ตาย ถ้า
รับไม่ได้ผ้รู บั คนใดคนหนึ่งเปน็ คนทอยลูกห่ึงมายังหลมุ สว่ นคนทอยใชแ้ มห่ ่ึงคอยปัดลูกหง่ึ ให้กระเด็นไปไกลจากหลุม
ถ้าระยะจากปากหลุมสั้นกว่าช่วงแม่หึ่ง คนทอยตาย ถ้าระยะห่างจากช่วงแม่หึ่ง คนทอยยังเป็นอยู่ แล้วเริ่มตีลูกท่ี
สามตอ่ ไป

ในการตีลูกทสี าม ผตู้ ยี ืนหันหลังใหผ้ ูร้ บั ยกลกู หง่ึ ขึ้นเหนือศีรษะด้วยมือซ้ายแล้วใช้แม่ห่ึง
ตีไปทางฝ่ายรับ แล้วเอาแม่หึ่งขวางหลมุ ให้ฝ่ายรับทอยเหมอื นอย่างลูกที่ 1 ถ้าผู้ตีคนแรกตาย คนที่ 2 ก็เข้าแทนท่ี
เรม่ิ ตไี ม้ท่ี 1 ซ่งึ เรียกว่าไมว้ ัด อีกคร้ังหนึง่ ถา้ ยงั เป็นอย่กู ็ตีไม้ที่ 2 เรยี กวา่ ไม้ตอกดง้ั และถ้ายังไมต่ าย ก็ตีไม้ท่ี 3 ซ่ึง
มีชอ่ื เรยี กว่าไมห้ กหลงั

ถ้าคนใดคนหน่ึงในฝ่ายตตี ีได้ครบท้ังสามไม้ ก็เปน็ ฝา่ ยชนะ และลงโทษฝ่ายแพด้ ว้ ยการวิ่ง
หง่ึ คือ ใหเ้ ฉพาะคนที่ยงั เป็นของฝ่ายเคาะลูกหง่ึ ดว้ ยแม่ห่งึ เคาะไดก้ ค่ี ร้งั ก่อนตกดินให้จําไว้ ต่อจากนฝ้ี า่ ยตีก็ตีลูกหึ่ง
ไปขา้ งหนา้ เท่าจํานวนท่เี คาะได้ แล้วใหฝ้ ่ายรบั ว่งิ หึง่ ต่อ ๆ กนั มาตั้งแตท่ ่ลี กู ห่งึ ตกจนถึงท่เี ร่ิมตี วธิ ีหึ่งน้ัน คือ ร้องหึ่ง
ตลอดทางชัว่ อึดใจหนงึ่ ถ้าหากฝ่ายตีตายหมดทกุ คน ก็ต้องเปลี่ยนเป็นฝา่ ยรบั ใหฝ้ า่ ยรับกลบั เป็นฝา่ ยตี

(2) เลน่ ขมี่ า้ หลงั โปก (สํานกั นายกรัฐมนตรี, 2542 ล : 131)
1) จํานวนผูเ้ ล่น ไมจ่ ํากดั จาํ นวน นยิ มเล่นในกลมุ่ เด็กผชู้ าย
2) สถานท่ีเลน่ เลน่ กลางแจ้ง
3) อปุ กรณ์ในการเลน่ ลูกบอล
4) วิธีเลน่ แบ่งผู้เล่นออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายละเท่า ๆ กัน ให้ผู้แทนของแต่ละฝ่ายเป็นผู้จับ

ไม้ เพื่อตกลงกันวา่ ฝา่ ยใดจะเปน็ ม้า และฝา่ ยใดจะเปน็ คนข่กี ่อน เม่ือเสร็จแลว้ กใ็ หผ้ ู้เล่นทั้งหมดทาํ วงกลม แตล่ ะคน
หา่ งกันประมาณ 3 – 4 ก้าว ผขู้ ค่ี นหน่ึงถือลูกบอลไวโ้ ยนให้คนข่ีถัดไป แล้วโยนกนั ตอ่ ๆ ไป ถ้าผู้ขร่ี ับลูกบอลพลาด
จะต้องรีบโดดลงจากหลังม้าวิ่งหนีพวกผู้เป็นม้า พวกผู้ที่เป็นม้าจะกลายเป็นผู้ขี่แทน ถ้าผู้ขี่หลบหลีกลูกบอลเข้า
วงกลมไดห้ มด พวกผู้ขี่ก็ยงั คงเป็นผขู้ ่ีตามเดมิ

4) ประโยชน์ ประโยชน์ของการเล่นขี่ม้าหลังโปกเป็นการละเล่นที่ช่วยฝึกความ ว่องไว และ
ความอดทน

(3) เลน่ กระบอกโพละ (สํานักนายกรฐั มนตรี, 2542 ด : 131)
1) จํานวนผู้เล่น ไม่จาํ กัดจํานวน นยิ มเล่นในเด็กผู้ชาย

48

2) สถานท่ีเล่น กลางแจ้ง
3) อปุ กรณ์ของการเล่น กระบอกโพละ ลูกกระสุนใช้ลูกไม้ลาย ลูกหวายลิง หรือลกู ไม้เมล็ดแข็ง
อ่ืน ๆ มผี ิวภายนอกอ่อนหรือหนังสือพิมพ์ แชน่ ้ําแล้วปน้ั เป็นก้อนโตพอท่ีจะอัดลงลูกกระบอกได้แน่น เพ่ือจะให้อัด
ลมเกิดเสียงดงั
4) วิธเี ลน่ ทาํ กระบอก หาลกู ไม้เปน็ ลูกกระสุนหรือปั้นกระดาษเป็นลูกกระสนุ ใช้ปลายแส้
ดนั ให้ลูกกระสนุ ลูกแรกอย่ทู ี่ปลายกระบอก 1 ลกู ก่อน แล้วจึงใช้แส้อดั กระสุนลูกที่ 2 เพราะจะอัดลมดันให้กระสุน
ลกู แรกหลุดออกพุ่งไปยงั เปา้ หมายแลว้ จะมีเสียงดังโพละ ผู้เล่นทีม่ ีความชาํ นาญจะสามารถยิ่งตอ่ เน่อื งไดห้ ลายลกู
5) ประโยชน์ของการเล่นนอกจากให้ความสนุกแล้ว ยังฝึกให้เด็กรู้จักคิดสร้างสรรค์จินตนาการ
ในการเลน่ ฝกึ การเคารพกฎกตกิ าและความสามัคคใี นกลุ่ม
3.2.5 การละเลน่ ของเดก็ ภาคตะวนั ตก การละเล่นของเด็กในภูมิภาคนี้ จากหนังสือวัฒนธรรม
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์เอกลักและภูมิปัญญาในกลุ่มจังหวัดต่าง ๆ ของภาคตะวันตก มีรูปแบบการเล่นส่วน
ใหญ่คล้ายกับการละเล่นของเด็กในกลุ่มภาคกลาง แต่เนื่องจากมีเขตติดต่อทางชายแดนติดกับพม่า ตั้งแต่จังหวัด
ตากลงมา ทําให้มีการละเล่นของเด็ก มีชื่อเรียกแตกต่างไปบ้าง ทั้งที่มีแบบการละเล่นคล้ายกัน และมีแบบ
การละเล่นเฉพาะกล่มุ ของชุมชนในแต่ละท้องถนิ่ รวบรวมไดป้ ระมาณ 60 ชนดิ ดังนี้
1.กระโดดเชือก 2.กาฟักไข่ 3.ก๊อบแก็บ (เดินกะลา) 4.โก๋งเก๋ง 5.ขายของ 6.ข้าวหลามตัด 7.ขี่ม้าโยน
ผา้ 8.ข้ตี ูก่ ลางนา 9.ขวา้ งไม้ 10.งกู นิ หาง 11.จา้ํ จ้ี 12.จ้องเตหรือต้องเต 13.ชกั เย่อ 14.ช้โี ป้ง 15.ชว่ งรํา 16.
ซ่อนหา 17.ดาวกระจาย 18.ดีดลูกหิน 19.เดินกะลา 20.ตบยุง 21.ตาเขย่ง 22.ตามฉันมา 23.ตีกบ 24.ตีลูก
ลอ้ 25.ตจี ับ

49

เอกสารอา้ งอิง

คณะกรรมการประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, สํานักนายกรัฐมนตรี. (2542 ก). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดกาญจนบุรี. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ
กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม
2542).

__________. (2542 ค). วฒั นธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดจันทบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).

__________. (2542 ช). วฒั นธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดตาก.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).

__________. (2542 ฌ). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดตราด.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล

เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ฎ). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดนครราช-

สีมา. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธี
มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ถ). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดปัตตานี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 น). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดเพชรบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).

50

คณะกรรมการประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, สํานักนายกรัฐมนตรี. (2542 พ). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง
ประวตั ศิ าสตร์ เอกลกั ษณ์และภมู ปิ ัญญา จงั หวดั ร้อยเอ็ด. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ
กรมศิลปากร. (จัดพิมพเ์ นือ่ งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม
2542).

__________. (2542 ม). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวั ด
สกลนคร. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราช
พิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).

__________. (2542 ล). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสระแก้ว.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).

__________. (2542 ร). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสตูล.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).

__________. (2542 ซ). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดตรัง.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรม ศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหา
มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).

ทัศนีย์ ทานตวณิช. (2523). การศึกษาและรวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านภาคตะวันตก (ระยะที่ 2). มหาวิทยาลัย
ศรนี ครินทร์วโิ รฒ.

น้อย เพง็ บญุ สม. (วทิ ยากรเพลงกล่อมเด็กภาคตะวันออก, บ้านเลขท่ี 8 หมู่ 5 ตาํ บลหนั ทราย อําเภออรัญประเทศ
จังหวดั สระแกว้ ). สัมภาษณ์ (20 กรกฎาคม 2546).

ผะอบ โปษะกฤษณะ และคณะ. (2522). เพลงกล่อมเด็กและเพลงประกอบการละเล่นของเด็กภาคกลาง
16 จังหวัด. สาํ นักงานคณะกรรมการการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ.

พรี ะพงศ์ บญุ ศิริ. (2536). การละเลน่ พืน้ บ้านลา้ นนา. วทิ ยาลยั ครูเชียงใหม.่
เยาวเรศ สิริเกียรติ. (2521). เพลงกล่อมเด็ก. [ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย

ศรนี ครนิ ทรว์ โิ รฒ].

51

ลี ดวงสัมฤทธิ์ (วิทยากรเพลงกล่อมเด็กภาคตะวันออก, บ้านเลขที่ 61 หมู่ 7 ตําบลบ้านด่าน อําเภอ
อรญั ประเทศ จังหวัดสระแก้ว). สัมภาษณ์ (20 กรกฎาคม 2546).

วรี ะวชั ร์ ปิ่นเขยี น. (2525). วรรณกรรมของชาวจอมบึงจงั หวดั ราชบรุ ี ครั้งที่ 2. วทิ ยาลัยครูหมูบ่ า้ นจอมบงึ .
สุมามาลย์ เรืองเดช. (2517). เพลงพื้นเมืองจากตาบลพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี. [ปริญญานิพนธ์

การศกึ ษามหาบณั ฑติ , มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทร์วิโรฒ].
__________. (2520). เพลงกล่อมเดก็ ไทย. เอกสารอดั สําเนา เนือ่ งในวันครบรอบสถาปนาวทิ ยาลัยครูพระนคร.

บทที่ 6
เพลงและการละเล่นพ้นื บา้ นภาคกลาง

เพลงและการละเล่นพ้ืนบ้านของภาคกลางมีมากมาย แตล่ ะชนดิ มีลกั ษณะหรือ รปู แบบการเล่นท่ีแตกต่าง
กันไป แต่มีจุดประสงค์เดียวกนั คือ เพื่อความบันเทงิ ความเชื่อ และการกีฬา เพลงพื้นบ้านภาคกลางจะมีลกั ษณะ
ฉันทลักษณ์หรือรูปแบบกลอนเหมือนกัน ที่เรียกว่ากลอนหัวเดียว มีทั้งที่เล่นได้เฉพาะฤดูกาลหรือเทศกาล และไม่
จากัดฤดูกาลหรือ เทศกาล เช่น เพลงเรือ เพลงครึ่งท่อน เพลงหน้าใย เพลงภาข้าวสาร นิยมเล่นในฤดูน้าหลาก
เพลงเกยี่ วข้าว เพลงเต้นการาเคยี ว นยิ มเล่นในฤดเู กีย่ วขา้ ว เพลงชา้ เจา้ โลม เพลงทรงเจ้าเขา้ ผี นยิ มเล่นในเทศกาล
ตรุษสงกรานต์ เพลงอีแซว เพลงตัด เล่นได้ไม่จากัดฤดูกาลหรือเทศกาล เป็นต้น การละเล่นพื้นบ้านภาคกลางจะมี
ความหลากหลายมีท้งั รปู แบบท่ีเป็นของไทยแท้ และของเช้ือสายไทยที่ปะปนกับ ชาวมอญ ลาว เขมร จีน ท่ีอพยพ
เข้ามาอยู่บริเวณภาคกลาง รูปแบบเป็นแบบ รา ระบา เช่น โทน ราวง รากลองยาว ละครชาตรี ละครนอก ลิเก
หนงั ใหญ่ เล่นเพ่อื ความบันเทิง ราถวายมอื แก้บน รามอญ เจา้ เชิดมงั กร เล่นในพธิ ีกรรมความเช่ือ มวยไทย กระบี่
กระบอง เลน่ เปน็ ศลิ ปะการตอ่ สู้ สะบ้า ตะกรอ้ วา่ ว เล่นเปน็ กีฬาพื้นบ้าน เปน็ ต้น

หลงั จากศกึ ษาบทน้แี ล้ว นกั ศึกษาควรเกดิ แนวคิดตอ่ ไปนี้
1. เพลงและการละเล่นพ้นื บ้านภาคกลางมีเปน็ จานวนมาก บางชนิดเลิกเล่นไปแล้ว บางชนดิ ยังมรี อ้ งเล่นระหว่าง

การทางาน งานประเพณีของท้องถน่ิ และรอ้ งเพ่ือความชน่ื เริงท่ัวไป
2. เพลงและการละเล่นพื้นบ้านของภาคกลาง มีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของท้องถิ่น ทั้งในอดีตปัจจุบันในด้านให้

ความบนั เทงิ ความเช่อื และสามารถที่จะนาไปประกอบอาชีพได้

53

6.1 เพลงพ้นื บ้าน

เพลงพื้นบ้านภาคกลาง เป็นเพลงพื้นบ้านที่เล่นสืบต่อกันมา มีฉันทลักษณ์มากมาย หลายหลากชนิด

รูปแบบกลอนเพลงของภาคกลางสว่ นใหญ่ จะเหมอื นกันท่ีเรียกว่ากลอน หัวเดยี ว ทาใหส้ ามารถยักย้ายทานองการ

รอ้ ง วธิ ีการร้องรับของลูกคู่ เพ่ิมคาเพ่ือความยาว ของประโยคตดั คาเพื่อให้สัน้ ลง ทาให้ทานองเพลงพน้ื บ้านมีหลาย

ทานอง เช่น

ร้องทํานองเพลงเรอื

ถ้าธุระเย็นพก่ี ็แวะก่อน ถา้ ธรุ ะร้อน (ช้าไฮ้) กเ็ ชิญไป

รอ้ งทํานองเพลงระบาํ

ถ้าธุระเย็นพ่ีก็แวะก่อน ถ้าธุระร้อนกเ็ ลยไป (เขา้ ดงไหนเอย ลาไย)

เพลงพื้นบ้านภาคกลางสว่ นใหญ่ใชก้ ารตบมอื เปน็ หลักในการให้จังหวะ บางครั้งใช้ เครื่องประกอบจังหวะ

ได้แก่ นิ่ง กรับ รามะนา การเล่นเพลงบางชนิดใช้เครื่องดนตรีบรรเลง ประกอบ เช่น แอ่วลาวเคล้าซอ ซึ่งดัดแปลง

มาจากเพลงแอ่วลาว เพลงทรงเครื่อง ายถึง การเล่นเพลงพื้นบ้านจับเป็นเรื่อง มีดนตรีบรรเลงรับ เช่น เพลงฉ่อย

ทรงเครื่อง เป็นต้น โอกาสในการเล่นเพลงจะแตกต่างกันไป สามารถแบ่งโอกาสการเล่นได้ 2 ประเภท คือ เพลงที่

เลน่ เฉพาะเทศกาลและฤดูกาล และเพลงท่เี ลน่ ไดไ้ มจ่ ากัดเทศกาลและฤดูกาล

6.1.1 เพลงที่ใช้เล่นเฉพาะเทศกาลและฤดูกาล ได้แก่ เพลงที่เล่นในหน้าเพลง ที่นิยมเล่นในฤดูกาลเก็บ

เกีย่ วขา้ ว เพลงท่ีนยิ มเลน่ ในเทศกาลตรษุ สงกรานต์

เพลงที่นิยมเล่นในหน้า ภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มเมื่อถึงฤดูน้าหลาก น้าจะท่วม เจิ่งนองไปทั่ว ในช่วงเดือน

12 น้าจะทรง และเปน็ เทศกาลทอดกฐิน ทอดผ้าปา่ ประจวบ กบั ชว่ งเวลาน้ีชาวนารอข้าวในนาสุก ทาใหม้ ีเวลาว่าง

จากการงานในไร่นาจึงมีการนัดมาชุมนุม กันเพื่อแข่งเรือบ้าง เล่นเพลงเรือเพื่อความสนุกและเล่นเพลงเรือเพื่อรบั

กฐินและผา้ ป่า เพลง ทน่ี ยิ มเลน่ ในหน้าน ได้แก่ เพลงเรือ เพลงครงึ่ ทอ่ น เพลงภาข้าวสาร และเพลงหนา้ ใย

เพลงทน่ี ยิ มเลน่ ในฤดกู าลเกบ็ เกย่ี วข้าว นวดขา้ ว เพลงพื้นบา้ นทรี่ ้องเล่นในระหว่าง ทีเ่ กย่ี วข้าวกบั นวดข้าว

มีหลายเพลง และร้องเล่นกันแพร่หลาย มีทั้งเพลงที่ร้องเล่นช่วง เกี่ยวข้าว ได้แก่ เพลงเกี่ยวข้าว เพลงเต้น เพลง

เต้นราเคียว เพลงที่ร้องในระหว่าง นวดข้าว ได้แก่ เพลงสงฟาง เพลงโอก เพลงพานฟาง เพลงสงคาลาพวน เพลง

เตะขา้ ว และ เพลงชักกกระดาน

เพลงที่นิยมเล่นในเทศกาลตรุษสงกรานต์ เพลงในช่วงเวลาตรษุ น้ีชาวบา้ นจะหยุด การงานมาร่วมทาบุญ เนื่องจาก

เป็นวันสาคัญของไทย แต่เดิมเดือน 5 หรือเดือนเมษายน เป็นวันขึ้นปีใหมข่ องไทย หลังจากทาบุญจะมีการละเล่น

ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะเพลงพน้ื บ้านท่ี นยิ มเล่นในเทศกาลตรุษมจี านวนมาก เชน่ เพลงพิษฐาน เพลงพวงมาลัย เพลงชัก

เย่อ เพลงระบบ้านไร่ เพลงคล้องช้าง เพลงช้าเจ้าโลม เพลงเทพทอง เพลงปรบไก่ เพลงพาดควาย เพลงจาปีจาปา

เพลงระบาบ้านนา เพลงตัว เพลงฮินเลเล เพลงเข้าทรงผี เพลงแห่นางแมว เป็นต้น เพลงที่ใช้เล่นเฉพาะเทศกาล

54

และฤดูกาลดังกล่าวนี้ บางเพลงก็ยังเล่นอยู่ บางเพลง นับวันจะสูญหายไปเพราะขาดการสืบทอด ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้

(1) เพลงเรือ เป็นเพลงปฏิพากย์มีเล่นแถบจังหวัดอ่างทอง สุพรรณบุรี สิงห์บุรี พระนครศรีอยุธยา
เป็นเพลงร้องโต้ตอบกันระหว่างชายกับหญิง มีลูกคู่ร้องรับและกระทั่งเพลง เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน มีเครื่อง
ดนตรีประกอบการร้องรับ คือ ฉิ่ง และกรับพวง เรือที่ ใช้ในการเล่นจะใช้เรือมาด หรือเรือพายม้า เป็นพาหนะใน
การเล่นเพลง เพลงเรือเป็น เพลงพื้นบ้านที่เล่นได้เฉพาะเทศกาลในฤดูน้าหลากจึงเรียกว่า เพลงท้องน้า เพลงเรือ
นิยม ใช้เล่นรับเทศกาลกฐินผ้าป่า จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เพลงผ้าป่า เนื้อหาของเพลงเรือส่วนใหญ่ จะเป็น
เรื่องเกย้ี วพาราสกี นั ระหว่างหนุ่ม ๆ สาว ๆ เวลา เล่นจะมีการจับเป็นคู่และมีการตระเตรียมการก่อนวา่ จะเล่นเพลง
ในชุดอะไร แล้วจะเริ่มด้วย การร้องไหว้ครูวา่ เพลงในบทปลอบและบทประ กระบวนความทีร่ อ้ งกนั ในเพลงท้ังสอง
ฝ่าย จะร้องเย้าแหย่กันโดยใช้ถ้อยคาไปในเชิงของความรักที่มีความไพเราะอ่อนหวาน แต่กม็ ใี น บางช่วงท่ีใช้ภาษา
สองแง่สองง่ามแสดงนัยทางเพศไปในเชิงสังวาสของการว่ากลอน เมื่อมีการใช้ภาษาหรอื ว่ากลอนท่ีเกินเลยไป ทาง
ฝ่ายหญิงก็จะใช้ภาษาที่มีสานวนยอกย้อน รุนแรงไปถึงแม่พ่อของฝ่ายชาย ฝ่ายชายก็จะร้องปรามหรือรีบเปลี่ยน
คารม เป็นการปรับ อารมณ์ของคู่เพลงใหไ้ ด้ว่าเพลงกันต่อไป ดังตัวอย่างคาร้องท่ีว่า “ชายก็เข้าว่า หญิงก็ด่าแม่ให้
การว่าเพลงเรอื นักเพลงเรือนิยมวา่ กลอนส้ัน ๆ โต้ตอบกนั แตถ่ ้าเป็นกลอนยาว ๆ กจ็ ะเปน็ เรอื่ งอธิบายความ หรือ
บทชมป่าในบทพาสาวหนี แต่จะไม่ทิ้ง “เพลงหลัก” ดังได้กล่าวแล้ว ในการรวบรวมไว้ข้างต้น การละเล่นเพลง
พื้นบ้านเป็นโอกาสที่พ่อเพลงและแม่เพลง จะได้ใช้กลอนประฝีปาก ระบายความรู้สึกใต้ตอบกันด้วยปฏิภาณไหว
พริบ แต่เพลงเรือใช้คาหลีกเลี่ยงคาหยาบมากกว่า เพลงพื้นบ้านชนิดอื่น ๆ แต่นิยมใช้คาผวนหรือคากลอนสองแง่
สองง่าม ซึ่งบางครั้งจะก้าวร้าว ต่อค่านิยมของคนไทยในเรื่องระบบของอาวุโส แต่นั่นคือวิธีการแสดงวิธีการเล่น
เพลง ซึง่ คน ดคู นฟังตอ้ งเข้าใจที่พอ่ เพลงแมเ่ พลงคดิ แกส้ รรหาคามาว่ากันในเพลง
การเล่นเพลงเรือมีการโต้ตอบกนั หลายบท มกี ารดาเนนิ เร่ืองเปน็ ลาดับข้นั ตอนเร่มิ ตง้ั แตบ่ ทปลอบ บทประ บทผูก
รักสู่ขอ หรือออกในรูปแบบบทผูกรักแล้วลกั หาพาหนี บางครั้ง จะกาหนดเลน่ บทชิงชู้ บทหมากตัว และจบลงด้วย
บทลาจาก แต่ถ้าเปน็ เพลงหาจะกาหนด ให้มีบทไหว้ครูก่อนการเล่น และจบลงดว้ ยการให้ศลี ให้พรเจ้าภาพก่อนจะ
ว่าบทลาจาก นอกจากนี้เพลงเรือยังมกี ารวา่ เป็นเรื่องจากวรรณกรรม เช่น เรื่องขุนช้างขุนแผน บางทีก็ เล่นชุดเช่า
นาวา หรือแทรกเพลงเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ เรื่องเกี่ยวกับศาสนา และคติสอนใจ ทั้งนี้ ก็ขึ้นอยู่ที่ความสามารถของพ่อ
เพลงและแม่เพลง กลอนที่ว่าส่วนใหญ่แล้ว นิยมว่า กลอนรา กลอนไร กลอน เพราะสามารถหาคาต่อง่าย ถ้าว่า
กลอนอ่ืนจะตอ่ คายากจึงไมค่ ่อยนิยม

55

ตัวอย่าง เพลงเรือ (อมรา กล่าเจรญิ , 2538 76 77)

บทเพลงปลอบ

ชาย พอเหลือบชม้ายชายประสบ เดชะบุญได้มาพบกันเขา้ กับหลอ่ น

กระแสเศียรเหมือนดอกสตั ตบุษย์ อ้ายเมอื่ เพง็ วนั พุธขจายจร

เจา้ จะทาอายชักกระดานใบหนา้ แต่พอสบนยั นต์ าแลว้ ก็คอ้ น

เจ้าคล่คี ลายกระจายกลบี เจ้ากาลงั จะบบี เกสร

ใหเ้ ผยพระเนตรเขา้ มารบั ราชสนุ ทร อยา่ ให้พี่นวอนมานเอย

มองเขม้นแลเหน็ โฉม เจ้าก็ลอยประโลมกลางวารนิ

นอ้ งจะนงุ่ ก็พรมนอ้ งจะห่มแพร หวผี มพรายแพรเม่อื ยามมาแหก่ ฐิน

ออกจากคหู าทาท่าสยิว รปู สวยดั่งกนิ นร เอย

วันนม้ี าประสบเจา้ เหมือนด่งั เจอเอาดาวที่สุกยอ้ ย

เจา้ ออกสีบางๆ เหมอื นเขา้ ฝงั่ เพรชพลอย มันน่ารกั ไม่นอ้ ยเลยเอย

พอถว้ นรับทดสามบทเพลงปลอม ขอเชิญสาวนอ้ ยแมต่ อบวาจา

แม่คนหัวเขาอายแมค่ นท้ายเขาวา่ เอย่ ขนึ้ เถิดหนา นางเอย

หญิง ไดย้ ินสุนทรเข้ามาวอนมาวิ่ง แมส่ าวน้อยน้องไมน่ ิง่ อยู่ขา้

พอสายโซม่ าพานแมส่ ังวาลก็วา่ ไปกับพเี่ วลาภมู ิเอย

(2) เพลงครึ่งท่อน เป็นเพลงร้องโต้ตอบ นิยมเล่นกันในหน้าน้า มีหลักฐาน ปรากฏในช่วงต้นกรุง

รัตนโกสินทร์ ถึงสมัยรัชกาลที่ 5 (เอนก นาวิกมูล, 2542 : 396) หลังจากนั้น ได้สาปสูญหายไปโดยไม่มีการสืบ

ทอด และไมม่ ใี ครรู้จกั อีกเลย

(3) เพลงหนา้ ใย เพลงหนา้ ใยหรอื เพลงใช้ พบการเล่นเพลงประเภทน้ี เลน่ เฉพาะท่จี งั หวัดนครนายก พอ

ทอดผา้ ปา่ เสร็จ ถา้ จะเลน่ เพลงกัน ชาวบ้านจะน่งั รวมเป็น วงกลมเพอ่ื เล่นเพลงหน้าใย มีพอ่ เพลง แมเ่ พลง ขึ้นเพลง

ลกู ครู่ องรบั ใช้การตบมือหรือตบ พืน้ ท่ีนงั่ กระทงุ้ จงั หวะในการรอ้ ง

ลักษณะกลอนเพลงเป็นกลอนหัวเดียว ที่เรียกว่าเพลงใช้ เพราะจะมีคาว่า “โจ้” ในการ รับของลูกคู่

ตอนท้าย ของการขน้ึ สร้อยนาตอนตน้ เพลงของฝ่ายชาย

ตัวอย่าง บทรอ้ งไหว้ครู (เอนก นาวกิ มูล2523 : 135)

(พอ่ เพลง)... จอกน้อยลอยลบ คลน่ื กระทบฝ่งั เอย (ลูกคูร่ ับ “โจ้”)

ยกมอื ขึน้ วางเหนือเศยี ร ต่างธูปเอยเทียน (ลกู ) ดอกไม้

ยกขนึ้ ครูเลก็ ยกขน้ึ ทางซา้ ย แลว้ ไปทางครูใหญ่ (ลูกค่)ู ยกขึน้ ทางขวา

ลกู จะยกคุณหนอเอ๋ยแมเ่ จา้ ขน้ึ ไปวางบนเกลา้ (ลูกค)ู่ ลูกชาย

ขอให้ข้นึ คลอ่ งลงคล่อง ไปเหมือนดงั ช่องนา้ ไหล เอย

56

( ลูกครู่ ับ) ขอใหข้ ึน้ คล่องลงคลอ่ ง ไปเหมอื นดังชอ่ งน้าไหล

ขอให้ขน้ึ คล่องลงคลอง ไปเหมอื นดังชอ่ งน้าไหล เอย๋

(4) เพลงภารําข้าวสาร หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า เพลงเจ้าขาว เป็นเพลง พื้นบ้านโบราณ ของบ้านเกาะ

เกร็ด อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เป็นเพลงบอกบุญชักชวน ให้ชาวบ้านมาร่วมทาบุญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน

พธิ ีทอดกฐนิ เป็นชว่ งทใ่ี นแม่นา้ ลาคลองมีน้า เออ่ ลน้ ตลง่ิ โดยทวั่ ไป

ก่อนเทศกาลทอดกฐินมาถึงในตอนค่าๆ ชาวบา้ นจะรวมกลุม่ กนั ทั้งชายหญิงลงใน เรอื ลาใหญ่ ภายในเรือมี

กระบุงหรือภาชนะอื่น ๆ เตรียมไว้ใส่ขา้ วสาร ที่หัวเรือมีตะเกียงจุด ไว้เพื่อให้แสงสว่าง ตรงกลางเรือมีเคร่ืองดนตรี

อกี 1 ชดุ เพ่อื ใช้บรรเลงประกอบเวลาร้อง เพลงเรือเจา้ ขาว พายเรือไปตามบา้ นต่าง ๆ เรือเจา้ ขาวจะออกบอกบุญ

คราวละหลาย ๆ คืน จนกวา่ บรรดาสิง่ ของทไ่ี ด้รบั บรจิ าคไม่วา่ จะเปน็ เงนิ ทอง ขา้ วสาร กล้วย ออ้ ย ฯลฯ มากพอ จึง

จะหยุดบอกบุญการบอกบญุ เช่นน้มี ีมาต้งั แต่อยเู่ มืองมอญ

เพลงราภาข้าวสาร หรือเพลงเจ้าขาว เนื้อร้องเป็นไทยแต่มีทานองเป็นมอญ เครื่อง ดนตรีที่ใช้บรร เลง

ประกอบเป็นเครื่องดนตรีมอญ ได้แก่ ซอ จะเข้ ขลุ่ย นิ่งและกลอง (เปิงมาง ภายหลังมีระนาดผสมด้วย เพื่อเพิ่ม

ความไพเราะและเพม่ิ ระดับของเสยี งให้กงั วานก้องท้อง น้าและสามารถไดย้ นิ แตไ่ กล ๆ

ภาพที่ 6.1 การเลน่ เพลงราภาข้าวสาร
(หอ้ งสมดุ ศูนยว์ ทิ ยพฒั นา มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช นครนายก, ม.ป.ป.)
การร้องเพลงราภาข้าวสาร เรมิ่ ต้ังแตร่ ้องบอกบุญ เมือ่ เจา้ บา้ นได้บริจาคส่ิงของ รว่ มทาบุญแล้ว จะร้องไห้
พรแกผ่ ูบ้ ริจาคก่อนจะไปบอกบญุ ยังบา้ นอ่ืนต่อไป โดยพ่อเพลงหรือ แม่เพลงเปน็ ผู้ร้องนาขึ้นก่อน เมื่อจบแต่ละบท
ลกู คู่ทั้งหมดในเรือจะรอ้ งรบั พร้อม ๆ กัน ด้วยการ ขน้ึ ต้นร้องรบั ดว้ ยคาว่า เอล่ าเจา้ เอย แลว้ รอ้ งทวนคารอ้ งของพ่อ
เพลงหรือแม่เพลงอีกครั้งหนึ่ง หรือสองครั้ง จากนั้นพ่อเพลงหรือแม่เพลงจะร้องในบทใหม่ และร้องเช่นนี้ตลอดไป
พรอ้ มกับ ใช้ดนตรบี รรเลงคลอคาร้องนั้นตลอดเวลาท้ังขณะท่ีพ่อเพลง แม่เพลงและลูกครู่ ้องเพลง เจ้าขาว บทร้อง
ขึ้นต้นดว้ ยคาวา่ เจ้าขาวราวละลอก หอม แต)่ ดอก ดอกเจ้าเอ๋ย...

57

ผู้ร้องจะคิดชื่นชมถึงดอกไม้ใดๆ ก็ได้ แล้วร้องต่อให้สัมผัสกัน พร้อมกับมีความหมาย ตามประสงค์ด้วย

ตรงนเ้ี องที่ผูร้ อ้ งจะตอ้ งใช้ปฏิภาณคดิ แตง่ ขึน้ เอง เม่ือร้องจบบท ลกู คจู่ ะรับ ไปรอ้ งทวนอกี ดงั กล่าวข้างตน้

ตวั อยา่ ง เนื้อรอ้ งเพลงเจ้าขาว ( สานกั นายกรัฐมนตรี , 2543 : 156 157)

พ่อเพลง หรอื แมเ่ พลง รอ้ งนา

เจ้าขาว ราวละลอกหอม (แต)่ ดอก ดอกเจ้าเอ๋ย จาปี ขอเชญิ แม่คุณทาบญุ กฐนิ สามัคคี

ลกู คู่รับ เอ่ลาเจ้าเอยเจ้าขาวราวละลอก หอม (แต่) ดอก ดอกเจ้าเอ๋ย จาปี ขอเชิญ แม่คุณทาบุญกฐิน

สามัคคเี อ่ลาเจา้ เอย

รอ้ งนา เจ้าขาว ราวละลอก หอม (แต่) ดอก ดอกเจ้าเอ๋ย มณฑา ลูกมาบอกบุญ เชิญแม่คุณช่วยสร้าง

ศาลา

รบั เอ่ลาเจ้าเอยเจ้าขาวราวละลอก หอม (แต่) ดอก ดอกเจ้าเอ๋ย มณฑาลูกมาบอกบุญ เชิญแม่คุณ

ชว่ ยสรา้ งศาลา เอลา เจ้าเอ่ย

ร้องนา เจ้าขาว ราวละลอก หอม (แต่) ดอก ดอกเจา้ เอ๋ย ราชาวดี บุญแม่มาก หลายลูกพายมาสง่ ถึงท่ี

รบั เอ่ลาเจ้าเอยเจ้าขาว ราวละลอก หอม (แต่) ดอก ดอกเจ้าเอ๋ย ราชาวดี บุญแม่มากหลายลูกพาย

มาส่งถึงที่ เอลาเจ้าเอ๋ย

รอ้ งนา เจ้าขาว ราวละลอก หอม (แต่) ดอก ดอกเจ้าเอย๋ อัญชนั เชญิ สร้างกศุ ล ครั้งนเ้ี พ่มิ บารมีมหาทาน

รบั เอ่ลาเจ้าเอยเจ้าขาวราวละลอก หอม (แต่) ดอก ดอกเจ้าเอ๋ย อัญชัน เชิญสร้างกุศลครั้งนี้เพ่ิม

บารมมี หาทานเอ่ลาเจ้าเอย

ร้องนา เจ้าขาว ราวละลอก หอม (แต่) ดอก ดอกเจ้าเอ๋ย กัลปพฤกษ์ บุญกฐิน แต่ ยิ่งใหญ่ล่องลอยมาให้

ทา่ นในยามดึก

รับ เอ่ลาเจ้าเอยเจ้าขาว ราวละลอก หอม (แต่) ดอก ดอกเอ๋ยกัลปพฤกษ์ บุญกฐินนี้ยิ่งใหญ่ล่องลอย

มาให้ท่านใน ยามดกึ เอล่ า เจา้ เอย

พ่อเพลงแมเ่ พลงจะใช้ปฏภิ าณผูกคารอ้ งเชน่ นต้ี ลอดเวลาทีร่ ้อง ถา้ เป็นเพลงทีใ่ ช้ภาษามอญเป็นเน้ือร้องน้ัน

จะเปน็ เพลงมอญแท้ทัง้ คาร้องและทานอง

(5) เพลงเกีย่ วข้าว เป็นเพลงสนั้ ๆ ใชร้ ้องเลน่ ในขณะก้มลงเกี่ยวขา้ วรอ้ งโตต้ อบกันร้องเล่นประปรายเป็น

การผอ่ นแรง ย่ัวเย้ากนั ระหว่างหน่มุ สาว ใชถ้ ้อยคาไม่รุนแรงนัก

ตัวอยา่ ง เพลงเกย่ี วขา้ ว (เอนก นาวกิ มลู , 2523 : 141)

เก่ยี วเถิดหนาแม่เก่ยี ว อย่ามัวแลเหลียว เคยี วจะบาดมอื เอย

ควา้ เถดิ หนาแม่คว้า รีบตะบึงให้ถึงคนั นา จะได้พูดจากนั เอย

เกย่ี วขา้ วแมย่ าย ผกั บุ้งหญา้ หวาย พนั ท่ปี ลายทาเอย

คว้าเถดิ หนาแมค่ ว้า ผกั บุ้งสันตะวา ควา้ ให้เต็มกาเอย

58

(6) เพลงเตน้ กาํ เป็นเพลงร้องโตต้ อบกนั รอ้ งและเตน้ เปน็ วง หรือเป็นแถว

เอกลักษณ์ของการร้องคือ การร้องรับของลูกคู่ ตอนท้ายวรรคจะรับว่า เฮ้ เอ้า เฮ้ เฮ้ นิยมเล่น กันมากในจังหวัด

สุพรรณบุรี อา่ งทอง สิงหบ์ ุรี พระนครศรีอยธุ ยา นครนายก

โอกาสในการเลน่ เต้นจะเป็นตอนเย็นหรือใกล้คา่ หลังจากเลิกเกย่ี วข้าวผู้เล่นมือซ้าย จะถือรวงข้าว มือขวา

ถือเคียว พอ่ เพลง แม่เพลงร้องนา มลี ูกคู่ร้องรบั ขยับใช้ทา่ ทางของ การเกี่ยวข้าวและร่ายราตามจังหวะ ว่ากลอนแก้

กันมักจะใช้คาหยอกเย้าแรง ๆ จะเริ่มด้วย บทเกริ่น โดยพ่อเพลงก่อน ต่อด้วยบทไหว้ครู ต่อจากนั้นจึงจะเริ่มว่า

เพลงกันโต้ตอบดว้ ยความ สนุกสนาน

ตวั อย่าง บทเกรน่ิ (เอนก นาวิกมูล2542 400)

ตะวนั กบ็ า่ ย... ลงชายเยน็ แม่ผมกระจายหลายเสน้

เยน็ แลว้ นะวนั ...เอ่อ...เอย (ลูกคู่รับ ผมกระจายหลายเส้นผมกระจายหลายเส้น เย็นแล้ว

นะวนั ...เออ่ ...เอ๊ย นี้เอย)

ตัวอยา่ ง บทรอ้ งฝา่ ยหญิง (เอนก นาวิกมลู , 2542 : 144)

เอิงเอย เอ้อเออ ชะเออเอิงเอย ชะเออเองิ เอย (เฮ้ เอา้ เฮ้ เฮ)้

ถ้อยคาไข มาว่ากนั ในกลอน (เฮ้ เอา้ เฮ้ เฮ้)

มาเรยี กหาน้องก็แลมาเรยี กหาแมล่ ะกม็ ากนั (เฮ้ เอา้ เฮ้ เฮ้)

พอ่ จะธุระอะไรใหบ้ อกไขกะน้องมา (เฮ้ เอา้ เฮ้ เฮ้)

ขา้ มีเนอื้ ความถามไปฉันสงสยั จรงิ นะพวกน้ี (เฮ้ เอา้ เฮ้ เฮ้)

จะกินนา้ ใสทใ่ี ตน้ อ้ งนัง่ หรือจะกินน้าค้างทชี่ ายปลี (เฮ้ เอ้า เฮ้ เฮ้)

จะกินหมูแถบทแ่ี อบฝาชกี ันละพช่ี ายเอย

(รบั .... จะกนิ หมแู ถบทแี่ อบฝาชี จะกินหมูแถบที่แอบ โองโอ๊ย ชายเอย เอ้าฝาชี ว่าฝาชี กันละพี่ชายเอย)

(7) เพลงเต้นกํารําเคียว เป็นเพลงพื้นบ้านเก่าแก่อีกเพลงหนึ่ง ที่นิยมเล่นของชาวตาบลเขาทอง อาเภอ
พยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ แต่เดิมเรียกเพลงเต้น ในปี พ.ศ. 2504 นายธนิต อยู่โพธิ์ ในขณะนั้นดารงตาแหน่ง
อธิบดีกรมศิลปากร ได้นาศิลปินจากกรมศิลปากร ไปถ่ายทอดเพลงเต้นราจากหมู่บ้านสระทะเล อาเภอพยุหะคีรี
จังหวดั นครสวรรค์ นาออกแสดง แพร่หลาย เพิม่ คาว่า “เดยี ว” ท้ายชอ่ื เพลงเต้น เรียกวา่ เพลงเตน้ ก๋าราเดยี ว

เพลงเต้นการาเคี่ยวจะเล่นกันในฤดูเกี่ยวข้าว ชาวนาส่วนใหญ่มีการเอาแรงกัน โดย ต่างฝ่ายต่างช่วยกัน
เกี่ยวข้าวที่เรียกว่า “ลงแขก” ดังนั้นในการเกี่ยวข้าวแตล่ ะครั้งจึงมีชาวบ้าน มาร่วมเกี่ยวข้าวเป็นจานวนมาก และ
เมื่อหยดุ เกยี่ วขา้ วชาวบา้ นจะเรม่ิ เล่นเพลงเตน้ ราเคียว

59

วิธีเล่นจะแบ่งผู้เล่นออกเป็นสองฝ่าย คือ ฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ฝ่ายชายจะเรียก พ่อเพลง ฝ่ายหญิงจะ

เรยี กวา่ แม่เพลง เร่มิ ต้นด้วยพอ่ เพลงชกั ชวนแมเ่ พลงให้ออกมารว่ มเต้น การเดียว ในการเลน่ จะมเี คียวอยู่ในมือขวา

และมือซ้ายถือรวงขา้ ว

เพลงแรกของเต้นการเดียวคือ “เพลงมา” หมายถึง การที่พ่อเพลงร้องชวนให้มา เล่นเพลงเต้นการเดียว

เมือ่ แม่เพลงรบั เพลงแล้วพ่อเพลงร้องต่อ และแมเ่ พลงรอ้ งแกไ้ ป เร่อื ย ๆ เพลงท่ีรอ้ งต่อจากเพลงมา คือ

1. เพลงไป 2. เพลงเดนิ 3. เพลงรา

4. เพลงบนิ 5. เพลงร่อน 6. เพลงแถ

7. เพลงยกั 8. เพลงยอ่ ง 9. เพลงดอง

ตวั อย่าง เพลงเต้นทาราเดยี วจากตาบลเขาทอง (กฤษณา คงย้มิ , 2539 ; 33 - 35)
เพลงมา

ชาย มาเถดิ เอย เอย๋ ละแม่มา กม็ าหรอื มาแมม่ า (ซา้ ) มาเต้นหญา้ กันเสยี ในนานีเ้ อย (ลูกคูร่ บั )
หญิง มาแล้วเอย เอ๋ยละล่อมา มาหรือมาพ่อมา มาหรือกระไรมาแล้วพ่อพุ่มพวง ดวงแก้ว น้องมาแล้วนายเอย

(ลกู คู่รบั )
ชาย มาเถิดเอย เอ๋ยละแม่มา ก็มาหรือมาแม่มา (ซ้า) พี่เรียกน้องก็อย่าเป็นถ้า เชิญน้องก็อย่าช้า (ซ้า)แม่ผม

กระจายรายหน้าให้ลกุ ข้ึนมาวงเอย ( ลูกคูร่ บั )
หญิง มาแลว้ เอยเอ๋ยละพ่อมา กม็ าหรือมาพ่อมา (ซา้ ) พีเ่ รยี กน้องก็ไม่เป็นถา้ พี่ เชญิ นอ้ งกไ็ ม่ชา้ (ซ้า) พ่อโฉมงาม

ให้หน้าเป็นเจา้ พระยากเอย (ลกู ค่รู บั )
เพลงไป
ชาย ไปเถิดเอย เอ่ยละแม่ไป ก็ไปหรือไปแม่ไป (ซ้า) ไปชมนกกันที่ในปา่ ไปชม พฤกษากันที่ในไพร (ซ้า) ไปชม

ละมง่ั กวางทรายกันเสียที่ในดงเอย (ลูกครับ)
หญิง ไปแล้วเอย เอ๊ยไปพ่อไปก็ไปหรือไปพ่อไป (ซ้า) ไปชมนกกันที่ในป่า ไปชม พฤกษากันที่ในไพร น้องเดิน

ขยกิ จิกไหล่ ตามกนั พี่ชายไปแล้ว เอย (ลกู ค่รู ับ)
เพลงเดนิ
ชาย เดินเถิดเอย เอ๋ยละแม่เดิน ก็เดินหรือเดินแม่เดิน (ซ้า) ย่างเท้าขึ้นโคก เสียงโพระดูกร้องเกริ่น จะพาหนู

น้องไปทอ้ งพะเนนิ ชมเลน่ ใหเ้ พลนิ ใจเอย ( ลกู คู่รับ)
หญิง เดินแล้วเอย เอ๋ยละพ่อเดิน ก็เดินหรือเดินพ่อเดิน (ซ้า) ย่างเท้าขึ้นโคก เสียงโพระดกร้องเกริ่น จะพาหนู

น้องไปทอ้ งพะเนนิ ระหกระเหนิ ใจเอย ( ลูกคูร่ บั ) ฯลฯ

60

(8) เพลงสงฟาง เป็นเพลงที่ร้องในลานนวดข้าว หลังจากได้ขนข้าวมาที่ลาน นวดข้าว ในขณะนวดจะใช้
ไมค้ นั ฉายหรอื ไม้ขอฉาย สงฟางพลกิ ขา้ วบนลงล่างเพ่ือให้ววั ควาย นวดไดท้ ่ัวถึง ขณะทีส่ งฟางจะรอ้ งเพลงสงฟางไป
ดว้ ย เนอ้ื ร้องเป็นทานองชกั ชวนกันมาสงฟาง แกมเกี้ยวพาราสี

ตวั อยา่ ง เพลงสงฟาง (เอนก นาวิกมูล, 2523 : 164)
สงเถดิ หนาแมส่ ูง แม่คว้ิ ตอ่ คอระหง ขอเชญิ แมส่ งฟางเอย
(รับ...เออ่ เอยฟางเอย แม่ค้วิ ตอ่ คอระหง ขอเชญิ แม่สงฟางเอย)

(9) เพลงพานฟาง เป็นทร่ี ้องโต้ตอบกันขณะใชไ้ มค้ นั ฉาย พานเอาฟางออก จากลานไปไวแ้ ถบใดแถบหน่ึง
ของลานนวดขา้ ว ขณะที่พานฟางจะร้องเพลงพานฟาง ไปด้วย เนอ้ื รอ้ งจะเป็นทานองชักชวนกนั พานฟางแกมเก่ียว
พาราสี

ตัวอยา่ ง เพลงพานฟาง (เอนก นาวิกมูล2523 : 164)
พานเถดิ หนาแมพ่ าน พม่ี าน่งั รอบขอบลาน มาชว่ ยน้องพานฟางเอย
(รบั ... เอ่อเอย ฟางเอย พม่ี าน่ังรอบขอบลาน มาช่วยนอ้ งพานฟางเอย

(10) เพลงสงคอลําพวน เปน็ เพลงท่รี ้องโต้ตอบกันในลานนวดข้าว ขณะทีใ่ ช้ ตะแกรงรอ่ นเศษฟางเศษผง

ออกจากข้าวทน่ี วดแล้ว “ลาพวน” หมายถึง เศษฟางและขา้ วลีบ ก็ได้ แลว้ แตว่ า่ จะอยใู่ นอริ ิยาบถใด เนื้อเพลงมีท้ัง

สั้นและยาวที่ใช้ไมไ่ ด้ คนร้องจะยืนบา้ งนง่ั บ้าง เนอื้ รอ้ งเป็นทานองเก้ยี วพาราสีกัน

ตวั อยา่ ง เพลงสงคอพวน (อเนก นาวกิ มลู , 2523 : 166)

สงคอล่าพวนเอยแม่ ศรนี วลนะแม่มาเม่อื ไร

(รับ...สงคอสานวนอย แม่ศรนี วลนะแม่มาเมอ่ื ไร

จะชีช้ มไมห้ ล่อนเอย๋ ในรก แลว้ พี่จะช้ชี มนกในไพร

จะชมต้นไมใ้ นไพรศรี ต้นไม้กม็ ีมากมาย

(11) เพลงชักกระดาน หลังจากสงฟางและสงคอลานวนแลว้ เหลอื แตเ่ มลด็ ข้าวจึงจะชกั กระดานข่าวเพื่อ
รวมเมลด็ ข้าวใหเ้ ป็นกอง เรมิ่ รอ้ งเลน่ เพลงชกั กระดานนข้ี ณะทเี่ ข้าแถว พรอ้ มที่จะดึงเชือกหรือชักกระดานข้าว พ่อ
เพลงและแมเ่ พลงจะร้องกลอนเพลงเกี้ยวพาราสีกันมีลูกคูร่ อ้ งรับกระทุ้งเพม่ิ ความสนุกสนาน

ตัวอย่าง เพลงชกั กระดานขา่ ว (สานกั นายกรฐั มนตรี, 2542 ฟ : 253)
ตน้ เสยี ง.. โอละชา เจ้าข้างชักเอยช้างหล่อ ช้างหลวงเอื้อมเอางวงขึ้นไปหัก กระชากกระจักเอายอดพิกุล

ทาบญุ กับส่งิ ไรหนอ ท่จี ะได้ร่วมหอเสียกับ พ่อคณุ ยอดพกิ ลุ เองเงยไทรยอ้ ย

ลกู คู่... 61

ต้นเสยี ง... ยอดพกิ ุล เพงิ่ เงยไทรย้อย หอ้ ยจะหักลงมา หักแลว้ โหวย หักแล้วว่า เอ้าหกั แล้วโหวยหักก็แล้ววา
ลกู คู่ ... สองมอื ตั้งรับเป็นทพั หน้าขอใหห้ กั ลงมา เถิดเอย
ต้นเสียง.. เจา้ มาหอมเอย เจา้ ดอกพิกุล
ลูกค.ู่ .. เจ้ามาหอมเอย เจา้ ดอกพกิ ลุ
ต้นเสยี ง... เจา้ มาเอาหว่ งช่วงเชดิ
ลูกคู.่ .. เจ้ามาเอาห่วงช่วงเชดิ
เจ้าเปน็ ลูกเกิดของพอ่ คณุ
ชาติหน้าเจ้าเอยนะน้องเอย ดอกรัก ทาไมไม่ชมดอกรัก ทาไมไม่ชม เจ้าหลงลมชมแต่ดอกเตย
ดอกสร้อย พลอยตอม สุริยอมข้าเอย

(12) เพลงช้าเจ้าโลม หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งวา่ ช้าเจ้ามะโลม ซึ่งเป็นเพลง ที่ใช้เลน่ ในเทศกาล
สงกรานต์ และมีลักษณะคล้ายเพลงพิษฐาน กล่าวคือฝ่ายชายจะร้องเกี่ยว ฝ่ายหญิงก็จะพยายามร้องแก้ ซึ่งบางที
อาจะใชถ้ อ้ ยคารนุ แรง แต่ชาวบา้ นไม่ถือกันเพราะเปน็ เร่ืองของความสนกุ สนาน

วิธีการร้องจะแบ่งเปน็ 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายชายและฝ่ายหญงิ ฝ่ายชายจะรอ้ งนาก่อน แลว้
มลี ูกคู่รบั ฝ่ายหญงิ ร้องตอบแก้กลอน และมีลูกคู่รอ้ งรับ ร้องสลับไปเรื่อย ๆ แกแ้ ละเก่ียว จนหมดกระบวนเพลง

เพลงช้าเจ้าโลมนี้จะนาชื่อพันธุ์ไม้ต่าง ๆ มากล่าวถึง แล้วหากลอนลงร้องให้สัมผัสกับ สิ่งท่ีตนต้องการ
เหมือนเพลงพิษฐาน นิยมเล่นแถบจงั หวดั อุทัยธานี นครสวรรค์ และอาจจะมี
ในแถบจังหวดั ใกลเ้ คยี ง

ตัวอย่าง เพลงช้าเจ้าโลม (กฤษณา คงยิ้ม, 2539 : 103)
(ชาย) ช้าเจ้าโลมเอย เสมอื นหนึง่ ช้างจะเข้ามาโลม มาโลมที่ต้นเอ๋ยระกา
(ลูกคู่รับ) เสมอื นหน่งึ เอ่ยชา้ งจะเข้ามาโลม มาโลมทต่ี น้ เอย่ ระกาทาบญุ ด้วย สิ่งใด จะไดร้ ว่ มหอกับแมค่ นน่งุ ดา
(ลูกคู่รบั ) ซาโอละเห่ เอย๋ เอละซา ชะชา้ เจ้าโลม วา่ โลมละเหวย โลม ขอรกั คนหลังกระทง่ั คนหน้า ทกุ คนทีม่ าโลม

เอย
(หญงิ ) ชา้ เจ้าโลมเอย เสมอื นหนงึ่ ช้างจะเขา้ มาโลม มาโลมท่ตี น้ เอย๋ ระกา
(ลูกครู่ บั ) ชาโอละเห่ เอย่ เอละชา ชะชา้ เจา้ โลม วา่ โลมละเหวย โลมละวา่ ทาบุญไปเสยี ใหต้ าย เห็นจะได้ไม่หรอก

แม่คนนง่ั ดา
(ลูกคู่รบั ) ซาโอละเห่ เอย๋ เอละชา ชะชา้ เจ้าโลม ว่าโลมละเหวย โลมละว่า ขอบคนหลังกระท่งั คนหนา้ ทุกคนที่มา

โลมเอย

62
(13) เพลงระบาํ บา้ นไร่ เปน็ การเล่นเพลงระบาของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ร้องรับตบมือ เป็นจังหวะไม่ใช้เครื่องดนตรี เป็นเพลงที่เล่นสืบกันมานานพอ ๆ กับเพลง อย เพลงเรือ เ พลงระ
บบ้านไร่ เป็นเพลงพื้นบ้านภาคกลาง ที่ร้องเล่นกันทั่วไป เวลาร้องจะเริ่ม ด้วยเนื้อร้องว่า “ระบาทางไหนเล่าเอย
ระบาของชาวบา้ นไร”่ ลกู คูจ่ ะรบั ท้ังทอ่ น เมื่อเวลาต้นเสียงรอ้ ง ลกู คูจ่ ะรับทา้ ยวรรคเพลงวา่ “เข้าคงไหนเอยลาไย”
เมอ่ื ลงเพลงลกู จะรบั ว่า “เขา้ ถึงไหน เอยลาไย หอม ๆ อย่ใู นดงเอย เอยจะเหยลอยไป ลอยหน้าลอยไปก็ ชาวบ้าน
ไร” การวา่ กลอนเพลงจะเปน็ ไปตามลาดับขนั้ ตอนเน้ือหาของเพลง ได้แก่ บทไหวค้ รู บทปลอบ บทประ เกี้ยวพารา
สี สขู่ อ ซ่งึ ตีหมากหวั เชน่ เดียวกับเพลงพ้ืนบ้านทัว่ ไป
ตัวอย่าง เพลงระบาบ้านไร่ (อมรา กลา่ เจริญ, 2538 : 21)
แม่เพลง ระทาทางไหนเล่าเอย แม่ช่นื ใจเอยระปาบา้ นไร
(ลกู ค)ู่ ระบาทางไหนเล่าเอยแมช่ ืน่ ใจเอย ระบบ้านไร่ งานตรษุ สงกรานต์ เป็นงานหลวงรอ้ งเลน่ ต่าง

พวงมาลัย (ลูกคู่รับ) เข้าคงไหนเอยลาไย ว่าแขนของฉันนั้นมันไม่อ่อน จะไปก่อนก็นึกอาย
(ลูกคูร่ ับ.. เข้าดงไหนเอยลาไย) มที งั้ ระบาราฟ้อนมีทั้งละครประโมทยั
(ลกู คู่รับ) เข้าถงึ ไหนเอย ลาไย หอมหอมอยใู่ นดงเอย เออ้ ระเหยลอยไป ลอยหนา้ ลอยไป ชาวบา้ นไร่
(14) เพลงเข้าทรงผี มีเล่นกันมากในช่วงตรษุ สงกรานต์ เพลงเข้าทรงนี้ เล่นเพื่อความสนุกสนาน
มีหลายเพลง เช่น เพลงเข้าทรงแม่ศรี ผีนางสุ่ม ผีลิงลม ผีนางสาว พี่นางดัง มีกะลา เป็นต้น การเล่นเพื่อเชิญผี
เขา้ ทรง มเี ลน่ ทัว่ ไปทุกจังหวัดของภาคกลางและจังหวดั ทอี่ ยู่ใกล้เคยี งภาคกลาง

ภาพท่ี 6.2 การละเลน่ เขา้ ผนี างดง้

63

ตวั อย่าง การเล่นผีนางด้ง (กฤษณา คงย้ิม, 2539 :113)

นางดังเอย ขอเชญิ สงครก ขอเชิญลงสาก สาวนอ้ ยเพลา กินผักกินปลา กนิ หญ้าเป็นคา ลงเลน่ นา้ ทะเลพา

ไป ได้เหล้าสองไห ได้กระเทียมสองหัว ได้เบี้ยสองตัว พ่อเล่นตีฆ้อง ขันหมากก็ร้อง ขันพลูกร้อง อ้ายปากเข็มทอง

คะนองเช็ดนา ผลงมาแล้วโว้ย ผีลงมาแล้วว่า ผลงไม่ได้ไต่ไม้ลงมา ลงมาไม่รอ ต่อไม้ลงมา ให้น้าท่วมนา เกี่ยวหนา้

นางด้ง กระแทกเสาธง กระดงั ฝัดข้าว อ่อนลง ๆ

6.1.2 เพลงทเี่ ลน่ ไดไ้ ม่จาํ กดั เทศกาลและฤดูกาล

เพลงทีร่ อ้ งเลน่ ไดท้ วั่ ไปโดยไม่จากดั เทศกาลและฤดกู าลน้นั ส่วนใหญเ่ ป็นนกั เพลงใน ระดับอาชีพ พ่อเพลง

และแม่เพลงที่มคี วามชานาญการใช้กลอนเพลงรับจ้างเล่นเพลงในงาน ต่าง ๆ ตามความพอใจของเจ้าภาพ ยกเว้น

เพลงสาหรับเดก็ เพลงพาดควาย เพลงขอทาน

เพลงทีเ่ ล่นเปน็ อาชีพสว่ นใหญ่จะมีแบบแผนในการเล่น เชน่ มีไหวค้ รู มีการนดั หมาย ระหว่างผู้เล่นในการ

วางบท กาหนดเรื่อง เพลงที่ร้องเล่นได้โดยไม่จากัดเทศกาล มีหลายเพลง ได้แก่ เพลงเทพทอง เพลงพาดควาย

เพลงขอทาน เพลงฉ่อย เพลงโขลกแป้ง เพลงอแี ซว เพลงไก่ป่า เพลงลา่ ตัด เพลงแอว่ เคลา้ ซอ เพลงทรงเครอื่ ง เป็น

ตน้

เพลงพนื้ บ้านเหล่านบ้ี างเพลงสูญหายไปแลว้ เช่น เพลงไกป่ ่า บางเพลงเกือบจะสญู เชน่ เพลงแอ่วเคล้าซอ

เพลงขอทาน เพลงพาดควาย ซึ่งเพลงเหลา่ นบี้ างครงั้ จะได้ฟังจาก การเลน่ เพลงลาตัด ที่บางคณะสามารถเล่นสาธิต

เพลงโบราณสงิ่ ละอันพันละนอ้ ยใหผ้ ชู้ มผฟู้ งั อยกตวั อย่างเพลงท่ีเลน่ ไม่จากัดเทศกาล บางเพลงโดยสงั เขป ดังน้ี

(1) พาดควาย จากหนังสือเพลงนอกศตวรรษ (เอนก นาวิกมูล2523 254 255) ได้กล่าวถึงเพลงพาดควายว่า

มีทานองคล้ายเพลงฉ่อตอนไหว้ครูเป็นกลอนแบบ เพลงโคราช เพียงแต่เพลงพาดควายเป็นเพลงร้องเล่น

เยน็ ๆ แก้เหงา เนื้อหาของเพลงพาดควาย สว่ นใหญเ่ ก่ยี วกับเรือ่ งราพงึ ราพัน

ตัวอย่าง เพลงพาดควายของโรงพิมพ์วัดเกาะตีพิมพ์เมื่อปี พ.ศ2503 ในชุดพาหนี (เอนก นาวิกมูล, 2523 :

256 257)

นางมาย่างเท้าเข้าห้อง เอยเก็บเอาสงั่ ของผา้ ผ่อน

จะต้องล่ามากจากจร แลว้ ใส่ของลงในกระทาย

อีแมน่ วลจนั ทรา เจ้ามาโสกาไมค่ ลาย เอยใจ

โอว้ า่ เป็นกรรมวิบาก เอยครัง้ นีต้ อ้ งจากบา้ นช่อง

พลัดพพี่ ลัดน้อง พลัดพ่อแมเ่ หนิ ห่าง

64

จะตอ้ งกินขา้ วกลางเดอื น เอาแสงเดือนน้นั ต่าง เอยได้

ครั้นแต่พอนางยา่ งเท้า ก้าวออกนอกห้อง

ดแู ลพ่ีนอ้ ง ก็พากันหลบั กันนอน

พากนั เขา้ หอ้ งนิทรา ท้งั บดิ ามารดร เอยใน

แตพ่ อนางลงจากเรือน เอยมนั พาให้เตือนน้าตา

นางมานองชลนา ไหลลงเอยพราก

ครั้งนี้เปน็ กาจาจร ทุกขร์ ้อนลาบาก เอยใจ

(2) เพลงโขลกแป้ง ร้องเล่นในงานมงคลต่าง ๆ เช่น งานโกนจุก งานบวชนาค งานแต่งงาน ชาวบ้านจะมา

รวมตัวช่วยงานกัน มีการทาอาหาร และอาหารอย่างหนึ่งที่เป็น อาหารประจาของชาวบ้านก็คือ

“ขนมจีน” การทาขนมจีนจะต้องมีการโขลกแป้งก่อน เป็น งานหนักที่ชาวบ้านทั้งชายและหญิงให้ความ

รว่ มมอื ช่วยกนั โขลกแป้ง ขณะที่มีการโขลกแป้ง น้นั เพ่ือความสนุกเพลิดเพลนิ กจ็ ะมีการว่าเพลงโต้ตอบกัน

ระหว่างชายและหญิงจึงเรียกเพลง นี้ว่า "เพลงโขลกแป้ง" ดังนั้นเพลงโขลกแป้ง จึงร้องเล่นได้ทุกฤดู

เทศกาล เมื่อมีงานและต้อง ทาขนมจีน พ่อเพลง แม่เพลงและลูกคู่จะยืนโขลกแป้งรอบครก หรือจะยืน

แยกครกก็ได้ ท่วงทานองร้องคล้ายเพลงเกี่ยวข้าวหรือเพลงเรือ เนื้อหาของเพลงส่วนใหญ่จะเป็นทานอง

เก้ียวพาราสี กัน

ทม่ี า:http://www.monstudies.com
เพลงโนเน (เพลงในวงขนมจนี )

65

ตวั อย่าง เนือ้ รอ้ งเพลงโขลกแปง้ ( สานกั นายกรฐั มนตรี , 2542 ต : 159 160
(ชาย) เออ่ เออ เอิง เงย หน้าเศร้าก็หนาแม่ชูชืน่ ใจ (ลกู คู่ ฮา้ ไฮ)้

แตพ่ อเหน็ หน้าแวบในใจ มนั ให้รักวาบ (ฮาได)้
อยู่ในใจ นึกวา่ รบั รักของพี่ไว้สักหน วันน้พี ีเ่ ขา้ ตาจน (ฮา้ ไฮ้)
เห็นใจรกั น้องเหลอื เกนิ ฉันจึงไดเ้ ดินเขา้ มาเกี่ยวแต่สาวอืน่ ก็กราวเกรยี ว (ชา้ ไฮ้)
ไม่วาย แม่ทองงามเองอย่าไรให้รับรักพี่ชายเถิดเอย (โหยย โหยย โหยย แม่ทองงามขาเอง
อยา่ งไรใหร้ ับรักพชี่ ายเถดิ เอย โหยย โหยย โหยย)
(หญงิ ) เอ่อ เออ เองิ เงย หนา้ เจา้ เสยี แล้วพ่อยิ้มละไม ฮ้าไฮ้) อย่ามาเวียนใตต้ ้นฉันยังไม่หลน่ ใส่มือ จะ
อ้อยอิ่งฉันยังไม่ซื้อ (ช้าไฮ้) เดี๋ยวแกจะอาย ให้แกถอยหลังคืน ให้กลับไปขึ้นหลังควาย ส่งน้อง
จะหมายนายเอย (โหยย โหยย โหยย ให้แกถอยหลังคืน ให้กลับไปขึ้น หลังควายส่งน้อง จะ
หมายนายเอย โหยย โหยย โหยย)
(3) เพลงยั่ว เพลงยั่วเป็นเพลงร้องโต้ตอบยั่วให้ นิยมเล่นในเทศกาลตรุษสงกรานต์ หรือจะเล่นในโอกาสอื่นก็
ได้ พบในจังหวัดอ่างทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อุปกรณ์การเล่นไม่มี ใช้แต่การปรบมืออย่างเดียว บางครั้ง
อาจจะเอากลองยาวไปท่ปี ระกอบการเลน่ วธิ เี ล่นจะ ตั้งวงร้องเล่นกนั ตามลานบา้ น ลานวัด ร้องโต้ตอบเย้า
แหย่กัน กลอนที่ใช้เป็นกลอนสั้น จังหวะร้องค่อนข้างกระชั้นสนุกสนาน เมื่อต้นเสียงร้องขึ้นแล้ว คนอื่นที่
เป็นลูกคู่ จะกช็ ว่ ย ปรบมอื และร้องรับสับเปลยี่ นกันเป็นต้นเสียง ขณะรอ้ งก็ไปด้วย เหมอื นกับร้องเล่นกับ
วงกลองยาว
ตัวอย่าง เพลงยั่ว (สานักนายกรฐั มนตรี, 2542 ย :148)
ตน้ เสยี ง กระตัว้ กระเจีย๊

กระต่ายตดิ หลม่ แอ แฮะ แอ แฮะ
ต้นเสยี ง เสียมและแขยะหนอ่ กล้วย

สาว ๆ สวย ๆ มาเสมและ
ต้นเสยี ง ตอ้ นไว้ ๆ เอาไปบ้านเรา เอาไปใตถ้ นุ

ไปขุนน้าข้าว ขโมยมันมา ไดพ้ ากันเห่า
ลกู คู่รับ ไฮโยพอ่ แกว้ ไฮยาพะยาบ เผย เผย เยย เยย เย...
ตน้ เสยี ง ต้อนไว้ ๆ เอาไปบา้ นเรา

เอาไปหุงขา้ ว ให้แมเ่ รากนิ ถ้าหุงไม่ดี จะตใี ห้ดน้ิ

66

ลูกครู่ บั ไฮโยพอ่ แกว้ ไฮยาพะยาบ เผย เผย เยย เยย เย...

(4) เพลงอแี ซว เป็นเพลงพืน้ บา้ นที่เปน็ เอกลักษณ์ของจังหวดั สุพรรณบุรี เปน็ ทย่ี อมรบั กนั ว่าเพลงน้ีเกิดในถ่ิน

สุพรรณบรุ โี ดยตรง เพลงอแี ซว แตก่ อ่ นเรียกวา่ เพลงย่วั เพราะร้อง ย่ัวเลน่ กนั คล้ายเพลงกลองยาว ต่อมามี

ผเู้ อาแคนไปขายทส่ี ุพรรณบุรี ได้นาเอาแคนมา เป่าประกอบการร้องเรียกกันวา่ เพลงแคน นอกจากนี้บาง

ทเี รยี ก เพลงตบแผละ เนอื่ งจาก เวลารอ้ งใช้มอื ตบเป็นจงั หวะ ต่อมาทานองและเนือ้ รอ้ งค่อย ๆ มแี บบเป็น

ของตัวเองขึ้น จึงเรียก เพลงอีแซว บางครั้งมีการยืมเนือ้ จากเพลงฉ่อยทางอา่ งทองมารอ้ งเป็นเร่ืองยาวขนึ้

เหตุที่เรียก เพลงอีแซวนั้นข้อสันนิษฐาน ท่ีน่าเชื่อคือ นายบัวเผื่อน พ่อเพลงอีแซว ของจังหวัดสุพรรณบุรี

ไดส้ ันนษิ ฐานวา่ “เพราะยนื รอ้ งแซวกนั ท้งั คนื ” (สานกั นายกรฐั มนตรี, 2542 ย :144)

เพลงอีแซวที่ร้องกันนั้นจะเริ่มจากบทไหว้ครูทั้งชายและหญิง จากนั้นฝ่ายชายเป็น ผู้เร่ิม

ร้องก่อนเรียกว่า ปลอบ ฝ่ายหญิงก็จะว่าตอบเรียกบทรับแขก จากนั้นฝ่ายชายจะร้อง วกเข้าหาบทเกี้ยว

ฝ่ายหญิงจะรับเพลงด้วยบทเล่นตัว ฝ่ายชายจะว่าบทออด ฝ่ายหญิง จะตอบด้วยบทเสียแค่นไม่ได้ คือรับ

รัก จากนั้นฝ่ายหญิงจะขึ้นบทเกี่ยงให้มาสู่ขอ แต่ ฝ่ายชายมักอ้างขอพาหนี พอหนีตามกันไปต่อจากนั้น

มาถงึ บทชมนกชมไม้ ซ่ึงบทน้ีจะเป็น บทถามตอบกนั ระหวา่ งหญงิ กับชายให้ความรู้แกผ่ ้ชู มผู้ฟงั นอกจากนี้

ยังเล่นบทชิงชู้ซึ่งเป็น ลักษณะหนึ่งหญิงสองชาย กับบทหมากตัวเป็นเรื่องในลักษณะหนึ่งชายสองหญิง

เป็น การแสดงใช้วาจาด่าว่าแย่งกันเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของ ผู้ว่าเพลงจะสอดแทรกมุขต่าง ๆ ไว้ในบท

ร้องมขี อ้ ความเสียดสี กินใจ สั่งสอน รวมทั้งบทตลกคละเคล้ากันไป และจะไปลง ทา้ ยดว้ ยบทขอขมาอภัย

ต่อการทไ่ี ด้สมมตุ ติ วั ตามบทบาทในการเลน่ และการใชถ้ อ้ ยคาใน บทเพลงล่วงเกนิ กนั

ตัวอยา่ ง เพลงอแี ซว (สานกั นายกรัฐมนตรี , 2542 ย 145)

(พอ่ เพลง) มาเอยแล้วแมม่ าเอิงเอย (เอ่ยมาเอยซะแล้วแมม่ า)

แมส่ าวอยา่ ชา้ ซะแลว้ ไร (สาวนอ้ ยอย่าช้าซะแล้วไร)

ตั้งไว้เผอ่ื ปเู ส่ือไวท้ า่ เอย (เองิ เอย ซะแล้วไว้ท่า)

สาวนอ้ ยแม่มา แลว้ ไวไว (สาวน้อยแม่มาซะแลว้ ไวไว)

(แมเ่ พลง) ใครเหนอแล้วใครแทนเอย (ใครเหนือซะแล้วใครแหน)

เสยี งใครมาเรียกหาแม่ ซะจะทาไม (ใครมาเรยี กหาแมจ่ ะทาไม)

67

(พ่อเพลง) วา่ ใครเนอ้ื แลว้ ใครแทน (เอิงเอย แล้วใครแทน)

ใครมาเรยี กหาแม่นะทาไม

บอกว่าคเู่ ก่าของเจ้ามาเกิด (เอิงเอย เจ้ามาเกิด)

ให้มารบั เสียเถิด ชะแล้วเป็นไร (ใหม้ ารับเสียเถดิ ซะแล้วเปน็ ไร)

(5) เพลงตัด มาจากการแสดงบันตนของแขกมลายู ความหมายของช่ือลาตัด บอกลกั ษณะของการแสดงอยู่ใน

ตัวเองว่าตัดและเฉือนกันด้วยเพลง (ลา) การว่าลาตัดจึงเป็น การว่าเพลงลับฝีปากของฝ่ายชายและฝ่าย

หญงิ โดยตรง มีทง้ั บทเกย้ี วพาราสี ต่อมา เสียดสี แทรกลกู ขดั ลูกหยอด ให้ไดต้ ลกเฮฮากัน สานวนกลอนมี

นัยออกเป็นสองแง่สองง่าม บางที ก็ว่ากันชัด ๆ ถึงลูกถึงคน ทางภาษาลาตัดจะเรียกว่า “สองง่ามสอง

กลอน

การแสดงลาตัด จะเริ่มด้วยการตีมะนา โหมโรง ออกภาษา พม่า แขก และมอญ แต่เดิมที่ตี

กันนานมาก จึงตัดทอนลงเหลือ 3 ลีลา ต่อจากนั้นผู้แสดงจึงจะออก ฝ่ายชาย ออกก่อน ร้องไหว้ครู บท

ปลุกใจรักชาติ ขอบคุณเจ้าภาพ ทักทายท่านผู้ชม ว่าบทออกตัวในฝีมือ การแสดง เริ่มชวนเชิญฝ่ายหญิง

ประชนั ฝปี าก หมดบทฝา่ ยชาย ฝา่ ยหญงิ กจ็ ะออก แล้วรอ้ งตาม ข้นั ตอนแบบฝา่ ยชาย แล้วจึงจะถึงการว่า

โต้ตอบกัน นอกจากนี้ การเล่นลาตัดยังได้เสริมสิ่ง ละอันพันละน้อยลงไปในกระบวนการเล่นด้วย เช่น

เพลงอแี ซว เพลงเกีย่ วข้าว เพลงขอทาน และเพลงพืน้ บ้านอื่น ๆ ตามความสามารถของผเู้ ล่น จงึ ทาให้การ

เล่นลาตดั ดหู ลากหลาย ไมน่ ่าเบื่อ

เครอื่ งดนตรี ใช้กลองรามะนา 4 ใบ และน่ิง

ตวั อยา่ ง เพลงลาตดั (อมรา กลเ่ จรญิ , 2542 : 75 - 76)

(สร้อย) เรอื ยาวเกา้ กง รกั กันชว่ ยส่งให้ลงเรือยาว (ซา้ ) ชอ่ มะกอกดอกมะไฟเรือใจแม่ใบสะเด (ต้น

กลอน กศุ ลบุญหนุนพาเมอ่ื มาพบหน้าแนง่ นอ้ ย งามแฉลม้ แช่มชอ้ ยเพรศิ พร้อยแพรวพรา

ประไพพริ้งเพริศพร้อยปรางเสื่อมย้อยหยดฟ้า ทส่ี ุดสาวเยาวภาแมง่ ามกายาอ่าสกาว

ตาหนนิ อ้ ยนอ้ ยไมม่ ีชา่ งสมศรงี ามแสน แมง่ ามมนษุ ยส์ ุดแดนไม่มแี มน้ นงเยาว์

จะเริ่มรา่ งเริม่ รนุ่ ละมุนละไม่ผ่องศรี วา่ ทว่ั เรอื นร่างกายน้องไมม่ ีราคาว

ทัง้ ผิวพรรณวรรณะลกั ษณะนวลนอ้ ง เนื้อแม่เหลืองเรอื งรองประดุจดง่ั ทองนพเกา้

โอษฐง์ ามแทแ้ มเ่ อยกระไรเลยเชน่ น้ี แมน่ วลละอองผ่องศรสี มเป็นกุลสตรรี ่นุ สา

ทง้ั สองเนตรเกศแก้มจะย้ิมแยม้ นา่ ยล ทัง้ สองข้างแมป่ ลงั่ เปล่งดเู ต่งตึงสองเต้า

68

(ลง) ถ้าพี่ได้กายา จะโดดเข้าคว้ากอดรัด ขอจุมพิตสวีทฮาร์ต กับแม่ลาตัดดูสักคราว ( ลู กครับ เป๊กพ่อ ร้องทวน
“นาสรอ้ ย 2 เทีย่ ว)
6.2 การละเล่นพ้ืนบา้ นภาคกลาง

การละเล่นพื้นบ้านภาคกลาง ค่อนข้างจะมีความหลากหลาย ทั้งการละเล่นพื เป็นของไทยแท้ และ
กล่มุ ทม่ี ีเชอื้ สายไทยท่ปี ะปนกับเช้ือสายเดมิ ในสมยั แรกๆ ทเี่ ข้ามาอยู่ใน บรเิ วณภาคกลาง เช่น ชาวมอญ ลาว เขมร
และเชื้อสายจีนที่อพยพเข้ามาภายหลัง ถึงอย่างไรการละเล่นพื้นบ้านในภูมิภาคนี้ได้แสดงออกถึงวิถีชีวิต และมี
เอกลักษณ์ในรูปแบบ ของการละเล่นแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ การละเล่นเพื่อความบันเทิง การละเล่นที่เป็น
พิธีกรรม การละเล่นที่เป็นศลิ ปะของการต่อสู้ และกฬี าพ้ืนบา้ น

6.2.1 การละเล่นเพื่อความบันเทิง การละเล่นประเภทนี้มีลักษณะเป็น 2 รูปแบบ คือ
รปู แบบของ ระบา และการละเล่นทีด่ าเนนิ เปน็ เร่อื งเปน็ ราว

ราา ระบา ของภาคกลาง เป็นการละเล่นเพื่อความบันเทิง เพ่ือความสนุกสนาน ในเทศกาล
งานบุญ งานประเพณีต่าง ๆ ได้แก่ ราโทน ราวง รามอญ รากลองยาว รากลองรามะนา นอกจากนี้ยังมีระบาแนว
ประดิษฐ์ โดยนาเอาอุปกรณ์ที่เป็นของพื้นบ้านมาเป็นส่วนประกอบ ของการ เช่น ระบาพัด ระบาตุ๊กตาชาววัง
ระบาจักสาน ระบอบ ระบาปน้ั หม้อ และ ระปากลอง เป็นตน้

การละเล่นที่ดาเนินเป็นเรื่องราว ของภาคกลาง เล่นสืบเนื่องมามีหลายชนิด เช่น ละครพื้นบ้าน
ลเิ ก หนังใหญ่ หนงั สด หุน่ กระบอก หนุ่ ละครเลก็ เสภา เปน็ ต้น การแสดง ที่ดาเนนิ เป็นเร่ืองราวและเปน็ การละเล่น
ของภาคกลางเหล่าน้ี บางชนิดยังเลน่ สืบต่อและ พัฒนารปู แบบการเล่นต่อเนื่องมา ได้แก่ ลเิ ก สว่ นการแสดงละคร
พื้นบ้าน ได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก หนังใหญ่ หนังสง หุ่นกระบอก หุ่นละครเล็ก หรือการเล่นเสภา ในปัจจุบัน
จะหาย ได้ยากข้ึน

ตวั อย่าง การละเล่นเพ่อื ความบนั เทิง
(1) รําโทน เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่เลน่ กันทัว่ ไปในท้องถิ่น เกือบทุกจังหวัดใน ภาคกลาง และมีเล่น

มากขึน้ ในชว่ งสงครามโลกคร้ังท่เี พราะไดร้ ับการสนบั สนุนจาก รฐั บาลสมยั จอมพล ป. พิบูลสงคราม โทนได้รับการ
เชิดชใู หเ้ ปน็ ศิลปะประจาชาตใิ น สมยั น้นั และมชี ื่อเรียกต่างกนั ไปบา้ ง เชน่ เรยี กว่า โจ๋ง ราวงประกอบบท รามะนา
เป็นตน้ ราโทน เป็นการราของชาวบ้าน ส่วนมากทเ่ี ลน่ กันจะเล่นในยามคา่ คืนทวี่ ่างเวน้ จาก

การทางาน หรือในงานเทศกาลต่าง ๆ บทเพลงของราโทนจะเป็นบทเพลงร้องสั้น ๆ และ จดจาง่าย
ที่เรียกว่า ว่าโทน เพราะใช้โทนที่ประกอบจังหวะเป็นหลัก และมีฉ่ิง กรับ ประกอบ ในการเล่น ราโทนก่อน

69

สงครามโลกครั้งที่ 2 บทเพลงจะเป็นเพลงเกี้ยวพาราสีเป็นส่วนใหญ่ ในช่วงระหว่างสงครามโลก ครั้งที่ 2 รัฐบาล
สนับสนุนใหม้ กี ารเลน่ ราโทน เพ่อื ใช้เพลงโทน เป็นสื่อใหป้ ระชาชน ปฏิบตั ติ ามนโยบายรัฐบาล เชอ่ื ผู้นาชาติพ้นภัย
และให้ข้าราชการ ทหาร ตารวจ ร่วมเล่นราโทน กับชาวบ้าน จึงมีเพลงราโทนเป็นสื่อเชิญชวนให้ปฏิบัติตาม
นโยบาย รัฐนิยมแพร่หลายและร้องเล่นผสมผสานไปกับเพลงราโทนของชาวบ้านในท้องถิ่น เช่น เพลง ไตรรงค์ธง
ไทย เพลงแปดนาฬิกา เพลงชาติศาสนา เพลงเชื่อผู้นาของชาติ เพลงเราสนบั สนุน ป. พิบูลสงคราม และเพลงสาว
นอ้ ยเอวกลม เป็นต้น

ภาพที่ 6.4 "ราวง" ปรบั ปรุงมาจาก "ราโทน"

(ศลิ ปวฒั นธรรม, 2543)

การใช้ทารประกอบโทน จะเป็นการราทีใ่ ช้ทาทางไปตามความหมายของบทเพลง ทร่ี ้องเรยี กวา่ ร้องราทา

บท มีลักษณะแสดงท่าทางสื่อความหมายเหมือนกับประกอบกิริยา ในการพูดคุยหรือการเคลื่อนไหวทั่ว ๆ ไป แต่

ทาให้ดกู รีดกรายสวยงามข้นึ เช่น บทรอ้ งว่า เสยี งกลองดงั ” ผทู้ ้งั ชายหญงิ จะก้าวเท้าใดเทา้ หน่ึงไปข้างหน้า ย่อเข่า

ลง เอยี งศรี ษะไปขา้ ง เดียวกับเทา้ ท่ีก้าว ยกมอื ขึ้นป้องที่หูทาท่าชะเง้อฟังเสียง หรือบทร้องวา่ “เคารพธงชาตไิ ทย ผู้

ทกุ คนทาทา่ โค้งก้มศีรษะเคารพธงชาติ เปน็ ตน้

ตวั อย่าง เพลงราโทน ของตาบลสามโก้ อาเภอสามโก้ จังหวัดอา่ งทอง

เพลงไตรรงคธ์ งไทย (อมรา กลา่ เจรญิ , 2547 : 68)

ไตรรงค์ธงไทย ปลวิ ไสวสวยงามสง่า

แปดนาฬกิ าสญั ญากนั ว่ายนื ตรง สญั ญากันว่าเคารพธง

70

สแี ดงคือชาติ สีขาวคอื ศาสนา สนี า้ เงนิ น้ันหนาคอื มหาพระจักรพงษ์

ไตรรงค์คอื ธงทีไ่ ดม้ าโค้งใหก้ ับทา่ น เพอ่ื เปน็ ธงสาคญั ของประชาชาติไทย

เอย๊ เพ่อื เป็นธงสาคัญของประชาชาตไิ ทย

เราสนบั สนนุ ป.พบิ ูลสงคราม อมรา กลเ่ จรญิ , 2547 : 71)

เราสนับสนนุ ป.พบิ ูลสงคราม เราจะตอ้ งทาตามผู้นาของประเทศไทย

เช่ือผ้นู าของชาติประกาศทง้ั ชายและหญิง ทุกส่ิงรฐั บาลจัดให้ สตรไี วผ้ มยาว (ซา้ )

สวมหมวกรองเทา้ ใหท้ นั สมัย น่งุ ถุงกระตุ้งกระดิง่ (ซ้า)

มนั น่ารักจริงผหู้ ญิงชาติไทย (ซา้ )

การเล่นราโทน เริ่มเสื่อมความนิยมลง เพราะหันไปนิยมเพลงราวงตามแบบงานวัด ที่เรียกว่า “เชียร์รา

วง” ที่มีทั้งจังหวะเต้น จังหวะ ของเพลงสากล และเพลงลูกทุ่ม ที่มี เนื้อร้อง และจังหวะที่เร้าใจกว่า ในปัจจุบัน

หลายท้องถิ่นเริ่มมีการรื้อฟื้นให้มีการเล่นราโทน ในงานเทศกาลของท้องถิ่น และนาไปสาธิตในงาน หรือ

สถานศกึ ษาเพ่อื การเผยแพร่ใหก้ าร เลน่ ราโทนของแต่ละทอ้ งถนิ่ คงอยู่สบื ไป

(2) รําวง ประวัติที่มาของการเล่นราวงเกิดขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2487 จากราโทนพื้นบ้าน จอมพล ป. พิบูล

สงคราม ได้มอบให้กรมศิลปากรปรับปรุงการเล่นราโทน (ศูนย์การทหาร ปืนใหญ่ฯ, 2540 : 403 404) ปรับท่ารา

ให้ดงู ดงาม ถูกต้องตามแบบฉบบั นาฏศลิ ป์ไทย สมกบั ทีไ่ ด้รบั การยกย่องเปน็ ศลิ ปะประจาชาติ โดยประพนั ธ์บทร้อง

ขึ้นใหม่ 4 บทเพลง ได้แก่ เพลงงามแสงเดือน ชาวไทย รามาชิมารา และคืนเดือนหงาย โดยนาเอาเครื่องดนตรี

สากล มาร่วมบรรเลงประกอบ เชน่ ปีค่ ารเิ นต แซก็ โซโฟน เปน็ ตน้ จากการปรบั ปรุงครัง้ น้นั กรมศิลปากรได้เปล่ียน

ช่ือ จาก “ราโทน” มาเป็น “ราวง” โดยเรียกตามลักษณของการเคลื่อนย้ายการราเปน็ วง ต่อมาท่านผหู้ ญิงละเอียด

พิบูลสงคราม ได้ประพันธ์บทเพลงเพิ่มเติมขึ้นอีก 6 เพลง คือ ดอกไม้ของชาติ ดวงจันทร์-วันเพ็ญ หญิงไทยใจงาม

ยอดชายใจหาญ ดวงจันทร์ขวัญฟ้า และบูชานักรบ โดยกรมประชาสัมพันธ์ กรมศิลปากร วางทานองเพลงแล ะ

กรมศิลปากรประดิษฐท์ า่ รา ราวงท้งั 10 เพลง ท่าราประดิษฐ์ไว้เปน็ มาตรฐานงดงามเหมาะสมเฉพาะแตล่ ะบทเพลง

จึงเรียกว่า ราวงมาตรฐาน และเล่นสืบติอกันมาแม้สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ยังเล่นจนถึง ปัจจุบัน เนื่องจาก

ความงดงามของราวงท่มี ีทา่ ท่ีประดิษฐ์เป็นมาตรฐาน ราวง จงึ ไดร้ ับการบรรจใุ นหลักสตู ร การเรยี นระดับช้นั ประถม

มธั ยมและหลักสูตรการเรียนการสอนวิชาทางนาฏศิลปโ์ ดยตรง เพื่อสบื ทอดการเลน่ ราวงไว้ให้คงอยู่เป็นศิลปะและ

วฒั นธรรมของประเทศชาตสิ บื ไป

71

ตวั อย่าง เพลงราวงและทา่ ราที่วางไวเ้ ฉพาะบทเพลง

1) เพลงงามแสงเดือนบทร้องและท่าราของกรมศิลปากรชื่อท่าราที่ใช้เฉพาะบทเพลงนี้คือ ท่าสอดสร้อย

มาลา (อมรา กลา่ เจริญ, 2531 : 124)

งามแสงเดือนมาเยือนสอ่ งหลา้ งามใบหน้เมื่ออยวู่ งรา (2 เที่ยว)

เราเล่นกนั เพื่อสนกุ เปล้ืองทุกข์วายระกา

ขอใหเ้ ลน่ ฟ้อนรา เพ่ือสามัคคเี อย

ภาพที่ 6.5 ราวงมาตรฐาน “เพลงงามแสงเดือน” ใช้ทา่ รา “สอดสรอ้ ยมาลา”

(อมรา กล่าเจรญิ , 2542)

2) เพลงบชู านกั รบ บทร้องของท่านผู้หญงิ ละเอยี ด พบิ ูลสงคราม ทานองของกรมประชาสาพันธ์ และ

กรมศลิ ปกร บรรจทุ ่าราตามบทร้อง 2 เท่ยี ว รอ้ งเทยี่ วแรกท่าราหญิงใชท้ า่ ขดั จางนาง ชายใช้ท่าจนั ทร์ทรงกลด รอ้ ง

เทย่ี วท่ีสอง ท่ารา หญิงใช้ท่าล่อแก้ว ชายใช้ท่าขอแกว้ (อมรา กลาเจริญ, 2535 : 133)

น้องรกั รักบชู าพ่ี ท่มี ั่นคงทม่ี ัน่ คงกล้าหาญ

เป็นนกั สู้เชยี่ วชาญ สมศกั ด์ชิ าตินักรบ

น้องรกั รักบูชาพ่ี ทม่ี านะทีม่ านะอดทน

หนกั แสนหนักพี่ผจญ เกยี รติพ่ีขจรจบ

น้องรักรักบูชาพี่ ที่ขยันทีข่ ยันกิจการ

บากบัน่ สรา้ งหลกั ฐาน ทาทุกด้านทาทุกดา้ นครนั ครบ

นอ้ งรักบูชาพ่ี ท่รี ักชาติทร่ี ักชาตยิ ่ิงชวี ติ

เลือดเน้ือท่ีพลีอทุ ศิ ชาตคิ งอยู่คงอยู่คพู่ ภิ พ

72

ภาพที่ 6.6 ราวงมาตรฐาน “เพลงบูชานักรบ”ใช้ท่ารา “ขดั จางนาง จนั ทร์ทรงกลด” และ “ล่อแก้ว และขอแก้ว
(อมรา กล่าเจรญิ , 2542)

(3) รํากลองยาว การเล่นเทิงบ้องกลองยาวเป็นการละเล่นพื้นบ้านเกือบทุกภมิภาคของประเทศ อาจมี
ความแตกต่างกันบ้างตามลักษณะของตัวกลอง แต่ก็เรียกกลองยาวเหมือนกัน การเล่นเทิงบ้องกลองยาวของภาค
การ ไม่ได้เนน้ ความสนุกสนานของผตู้ ีกลองยาว ฉิง่ ฉาบ กรับ โหม่ง เทา่ น้นั ในแต่ละทอ้ งถนิ่ ยังเสริมการเล่นต่างๆ
เช่น การใช้นางรา การเล่น กลองในรูปแบบต่างๆ กายกรรม กระตั้วแทงเสือ หรือหัวโต เพื่อให้การเล่นกลองยาว
แปลกตาสวยงาม มีผลต่อการได้รับความนิยมจากผู้ชม รากลองยาวเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของการละเล่น
พื้นบ้านของภาคกลาง รากลองยาวมีหลายรูปแบบเช่น

1) รํากลองยาวที่เป็นพื้นบ้านของชาวบ้าน ในงานเทศกาลประเพณีงานบุญต่าง ๆ จะใช้กลอง
ยาวร่วมบันเทิง เสียงของกลองยาวจะเชิญชวนชาวบ้านทั้งหญิง และชายออกไปรายราไปกับขบวนแห่ในงาน
เทศกาลของทอ่ งถ่นิ ด้วยความสนุกสนานการเล่นกลองยาวประเภทนี้ไมเ่ นน้ รปู แบบการรายรา และการแต่งกาย

2) การราํ กลองยาวแบบกรมศลิ ปากร เป็นการปรับปรุงการเล่นมาจากการเลน่ กลองยาวพื้นบ้าน
มีการประดิษฐ์ทา่ ร่ายราสวยงามตามแบบนาฏศลิ ป์ไทย ตามจังหวะของกลองยาวที่มีการรอยเรยี งใหม่ และมรการ
วางรปู แบบการแตง่ กายท้งั ผรู้ า และผ้ตู กี ลองยาวโดยเน้นเร่ืองของการแสดงให้ดูงดงามมากกว่าการรานาขบวนแห่
ของชาวบา้ นในงานเทศกาลตา่ ง ๆ

73

ภาพท่ี 6.7 รำกลองยาวพน้ื บ้านแบบกรมศลิ ปากร
(กรมศลิ ปากร, 2542)

3) รากลองยาวพื้นบ้านแบบประยุกต์ เช่นให้ผู้หญิงราล้วน แต่งกายสวยงามนาขบวนเหมือนกับ
การฟ้อน หรือใช้เดก็ หญิงหรือเด็กชายตา่ งกายเป็นชายหมด สะพายกลองยาว มที ั้งการราและการต่อตวั 2ช้ันถึง 3
ชั้น โดยใช้การเหยียบคล้ายเป็นฐานเหยียบต่อตัวรา ซึ่งมีการเล่นหลายท่องถิ่น เช่น รากลองยาวของจังหวัด
นครสวรรค์ รากลองยาวพื้นบ้าน ของโปรแกรมนาฏศิลป์และการละคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ร่วมกับคณะกลองยาวชาวบ้านจงั หวัดพระนครศรีอยุธยาเปน็ ต้น

(4) ละครพน้ื บา้ น ละครพ้ืนบา้ นทเ่ี ล่นสืบเน่อื งกันมา ตามประวัตไิ ด้มเี ล่นกนั มาตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นเมือง
หลวง คอื ละครชาตรี และละครนอก

1) ละครชาตรี เป็นมรดกทางวัฒนธรรมด้านการละเล่นพื้นบ้าน จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และ
ขอ้ อ้างอิงที่แฝงอยู่ในวรรณกรรมตารา ถือได้ว่าละครชาตรเี ป็นตน้ แบบของละครไทย ในตานานอเิ หนา (สมเด็จกรม
พระดารงราชานภุ าพ 2507 1-130) เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกีย่ วกับตานานละครและการแสดงละครประเภทต่าง
ๆ กล่าวถึงประวิติที่มาของละครชาตรีว่าเป็นละครที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และละครชาตรีได้
หายสาบสญู ไปด้วยเหตุของสงคราม ในปี พ.ศ.2312 เมอ่ื สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบรุ เี สดจ็ ยกกองทัพไปปราบปรามจับ
ตัวเจา้ นคร และพาขน้ึ มากรุงธนบรุ ีพรอ้ มดว้ ยพวกละคร ทาใหล้ ะครชาตรเี ชื้อสายนครศรธี รรมราช แสดงแพร่หลาย
อยู่ในกรุงธนบุรีในปี พ.ศ.2375 พวกละครชาตรีเชือ่ สายพัทลุง อพยพเข้ามาในรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่ง
เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ตาบลสะพานควายคือแถวนางเลิ้งในปัจจุบัน ทรง
กล่าวถึงคณะละครชาตรีที่มีชื่อเสียงมาก 2 คณะ ในสมัยรัชกาลที่ 4 คือ ละครชาตรีคณะนายหนู และละครชาตรี
ของหลวง นอกจากนี้ยังทรงให้ความรู้ และความคิด เห็นเกี่ยวกับเพณีของละครชาตรี ในเรื่องของการฝึกหัก การ

74

ครอบครู วิธีแสดง การแต่งกาย เพลงหน้าพาทย์ เพลงร้องในการแสดงละครชาตรี การหางานการแสดงของพวก
ละครและนิยมใช้ละครชาตรีเป็นละครแก้บน ทรงให้ข้อสังเกตที่สาคัญว่า ละครชาตรีมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม
ความเจริญของบ้านเมือง ละครชาตรีที่เล่นอยู่ในกรุงเทพฯ ที่วันนี้ทิ้งแบบแผนอย่างละครโนรา มาเล่นเป็นละคร
นอก

มนตรี ตราโมท กล่าวถึงที่มาของละครชาตรี เพิ่มเติมจากข้อคิดเห็นของสมเด็จฯกรมพระยาดารงราชานุ
ภาพ (2526 : 154-157) ว่า ละครชาตรขี องเจ้านคาศรธี รรมราชไม่ไดเ้ ขา้ มาในสมยั พระเจ้ากรงุ ธนบรุ ีเท่านั้น แต่ยัง
เข่ามาเผยแพร่อคี รง้ั นึงในปี พ.ศ. 2523 ในงานฉลองพระแก้วมรกต กล่าวถงึ พวกละครที่เข้ามาในสมัยราชกาลที่ 3
ไม่ได้เข้ามาเฉพาะพวกเชื้อสายพัทลุง แตย่ งั มีชาวนครศรธี รรมราช และชาวสงขาอีกดว้ ย กลุ่มละครท่ีเข้ามาในสมัย
ราชกาลที่ 3 ได้มีการแสดงละครชาตรีแพรห่ ลายมาจนถึงปัจจุบัน และกล่าวถึงวิธีการแสดงละครชาตรี สมัยปลาย
ราชกาลที่ 6 ได้มีผู้คิดผสมการแสดงละครชาตรีกับละครนอกเรยี กวา่ ละครชาตรี เข้าเครื่องบ้าง ละครชาตรีเครื่อง
ใหญ่บ้าง ลงที่แสดงบางทีก็มาฉากแบบละครนอกบางที่ก็ไม่มีฉากแบบละครชาตรี ดนตรีที่ใชป้ ระกอบการแสดงใช้
วงปี่พาทย์ และปี่พาทย์ชาตรี ลงโรงจับเรื่องด้วย เพลงวาอย่างละครนอก เพลงร้องใช้ทั้งเพลงแบบละครชาตรแี ละ
ละครนอกผสมกนั เป็นละครทีม่ ีศลิ ปะการเลน่ 2 แบบผสมกนั และยงั นิยมเลน่ จนถึงปัจจุบนั

ขอ้ มลู ประวัตทิ มี่ าของละครชาตรที ่กี ลา่ วข้างต้น เป็นขอ้ สันนิษฐานว่าละครชาตรมี ีมาแต่ครงั้ กรงุ ศรอี ยุธยา
ได้กลับมาเล่นแพร่หลายอกี ครง้ั หน่ึงในสมัยกรงุ ธนบรุ ี เล่นสบื เนื่องมาถึงตอนตน้ กรุงรัตนโกสินทร์ มีการ
ปรบั เปล่ยี นแบบแผนการเล่นมาจนถงึ ปัจจุบนั

วธิ ีแสดง ละครชาตรีแตโ่ บราณจะเริม่ ดว้ ยการโหมโรงดว้ ยเคร่อื งดนตรีที่เรยี กว่ามีพาทยช์ าตรี ไดแ้ ก่ ป่ี
กลองตุ๊ก ฆ้องคู่ กับหรือโทน กรบั และฉ่ิง ต่อจากน้นั ตัวนายโรงจะออกมาร้องราไหว้ครู ต่อด้วยราซดั ทา่ แล้วจึงจบั
เรื่องแสดง มีการบอกบทสง่ ใหต้ วั ละครรอ้ งดาเนนิ เร่อื ง

ผู้แสดง จะใชผ้ ู้ชายแสดงลวน มีตัวละครเพียง 3 ตัว คือตวั นายโรง (พระเอก) นางเอกและตัวเบ็ดเตล็ด
บางทีเรียกตัวตลก เพราะนอกจากเป็นตัวตลก ต้องเป็นตัวอ่นื ๆท่ีบทกลา่ วถงึ เชน่ เปน็ ฤาษี เป็นนก เป็นตนั

เรอ่ื งทใ่ี ชแ้ สดง แต่โบราณนิยมแสดงเรื่องมโนห์รา และเร่ืองรถเสน จบั เรื่องเล่นเฉพาะบางตอนเพราะมผี ู้
แสดงเพียง 3 คน ในปัจจบุ นั มีตัวละครเพิ่มขน้ึ ตามท้องเร่ืองท่แี สดง การแสดงมุ่งดาเนินเรอ่ื ง และความสนกุ สนาน
กระบวนท่าราท่ีสวยงามแบบละครชาตรีเก่าๆ หาดูได้ยากขึ้น

การแตง่ กาย แต่งยืนเคร่ืองแบบพ้นื บา้ น ปักด้วยเลื่อมเทยี ม และลกู ปัดหลากสี
สถานที่ การแสดงละครชาตรแี ต่เดิมใช้คาวา่ “ปลูกโรง” ตามกรรมพธิ ีความเช่ือใน เรอ่ื งบรเิ วณทีเ่ ปน็
สถานที่ของการแสดง มีเสารับหลงั คาส่วนใหญ่เปน็ ผา้ หรือมงุ ดว้ ยส่งิ ที่รื้อถอน ไดง้ ่าย มีเสากลางคา่ กลางโรงเชอื่ ว่า
เป็นทปี่ ระทบั ของเทพทีจ่ ะมาค้มุ ครองท้ังผูเ้ ลน่ และผู้ท่ี มาชม ที่โคนเสาวางซองคลีใส่อาวุธ สาหรับการแสดง มเี ตยี ง
หรือแคร่ต้ังสาหรบั ตัวละครน่ัง ดนตรีประกอบการแสดง ต้ังด้านขา้ งหรือตงั้ ดา้ นหนา้ หนั เข้าหา และคนบอกบท จะ
น่งั ใกล้ ๆ เตยี งผู้แสดง ผ้ชู มได้รอบบริเวณ ผแู้ สดง ตัวละครท่ยี งั ไม่ได้เลน่

75

2) ละครนอก เป็นละครท่ีดดั แปลงมาจากละครชาตรี แตเ่ ดมิ ยงั ไม่ได้เรยี กวา่ ละครนอกจนมาถึงในสมัย

กรุงศรีอยธุ ยา ในรัชกาลของพระเจ้าอยู่หวั พระบรมโกศ ได้เกดิ ละครในข้ึนจึงบัญญัตชิ ่อื ขึ้นเรียกเพ่ือให้แตกตา่ งกนั

วธิ แี สดง ละครนอกแตเ่ ดิมน้ันผู้แสดงเป็นชายล้วน มีผูแ้ สดงมากกว่า 3 ตวั นยิ ม เล่นตามชนบท เรื่องท่ี

นิยมเล่นมมี าก ล้วนแต่เป็นเรื่องประเภทจักรๆ วงศ์ๆ เชน่ สงั ข์ศิลป์ชยั สงั ขท์ อง มณีพชิ ัย ไกรทอง โมง่ ป่า พิกลุ ทอง

การะเกด เงาะป่า ละครนอก เปน็ ละครพนื้ เมือง เล่นกนั นอกพระราชฐาน การแสดงดาเนนิ เร่อื งรวดเร็ว มีโลดโผน

ตลก ขบขนั ในบางครั้ง ก็จะตดิ หยาบโลน ตัวแสดง ท่เี ปน็ ทา้ วพระยามหากษตั รยิ อ์ าจจะเลน่ ตลกคลกุ คลกี บั พวก

เสนาขา้ ราชการได้ ใช้ถอ้ ยคาตลาดอาจจะท้งิ ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณบี า้ งในบางตอน เพ่อื ความสนกุ สนาน

และการทาบทต้องให้กระฉับกระเฉงอย่างชาวบ้าน เชน่ เรือ่ งสงั ขท์ อง ตอนตีคลี เจา้ เงาะถอดรูปแล้ว นางมณฑาดีใจ

ที่เจา้ เงาะมีรูปร่างงดงาม รบี นาความไป กราบทูลทา้ วสามล ทา้ วสามลไมเ่ ช่อื นางมณฑาแสดงอารมณโ์ กรธ และใช้

ถอ้ ยคาตอ่ วา่ ท้าวสามล บทกลอนทีย่ กตวั อยา่ งมาใชท้ านอง “เพลงเทพทอง” หากแต่มีทานอง ดนตรบี รรเลงรับ

เรยี กอีกอย่างหน่ึงวา่ “เพลงสุโขทัย” ทานองกระฉบั กระเฉง ประกอบแสดง อารมณไ์ ด้อย่างเหมาะสมพร้อมท้งั มี

ความไพเราะด้วย (อมรา กลเ่ จรญิ , 2542 18)

“เมอ่ื นน้ั นางมณฑาว่าดดู๋ ้ือไปได้

เขาจะรบิ ฉิบหายทั้งเวียงชัย วา่ กนั ชา่ งกระไรไมเ่ ชื่อเลย

กลับมาหัวเราะเยาะเย้ยข้า จะวา่ ใครเปน็ บ้านจิ จาเอย่

ไม่ลวงหลอกดอกนะพระเอย ลกู เขยเราไซร้ไม่ใช่เงาะ”

สังเกตการใช้ถ้อยคาดูแล้วจะเห็นว่าไม่พถิ ีพถิ นั สมลักษณะนางกษตั ริย์ ถ้าสงั เกต บทกลอนจะนกึ ถงึ ภาพนาง

มณฑาออกเลยวา่ จะต้องแสดงกิริยาอยา่ งไร ละครนอกเริ่มมีผหู้ ญงิ เล่นกันในสมัยรัชกาลที่ 4 จนมาถึงปจั จุบนั ใช้

ผูห้ ญิงแสดง เปน็ สว่ นใหญ่

ภาพท่ี 6.8 การแสดงละครนอก เรือ่ ง “สังข์ทอง ตอนเลือกค”ู่ ของกลุ่มศิลปนิ วังหนา้ ณ โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพฯ
(ทิมมี่ ทิมม่,ี ม.ป.ป.)

76

เครอื่ งดนตรี ดนตรีท่ีใช้บรรเลงประกอบการแสดง นยิ มใช้ปี่พาทยเ์ ครอื่ งหา้ ได้แก่ ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่
ปี กลองสองหน้า (ปัจจบุ ันใช้ตะโพน) กลองทัด ฉง่ิ

การแต่งกาย แต่งแบบยืนเครื่อง
สถานทแ่ี สดง ละครนอกเปน็ ละครชาวบา้ น จงึ แสดงไดท้ ุกท่ีท่ีผูห้ างานได้จัดเตรียมไว้ จะเปน็ ลานวัด เวที
ชั่วคราว บรเิ วณแสดงจะเปิดโลง่ มเี ตยี งหรือแคร่ทั้งกลางเวที แตเ่ ดิมไมม่ ี ฉากหลงั ต่อมามกี ารพฒั นา มผี ้าม่านกั้น
จนถึงมีฉากหลังที่สวยงาม วงดนตรีต้ังอยดู่ า้ นข้าง หรือดา้ นหนา้ หันหนา้ เข้าหาเวที ตวั แสดงเม่ือยังไม่ถึงบทจะนงั่
รวมอยูด่ ้านขา้ งชว่ ยรอ้ งรับ ชว่ ยตีเครอื่ ง ประกอบจังหวะ เมอื่ ถึงบทจึงจะออกไปนั่งเตียง ผูช้ มดกู ารแสดงได้
โดยรอบ
ละครชาตรีและละครนอก เป็นละครพ้ืนบ้านทใ่ี ห้ความบนั เทิงของชาวบา้ นภาคกลาง มาเป็นเวลาชา้ นาน
แมใ้ นปัจจบุ ันจะมคี วามนิยมลดนอ้ ยลงไปบ้างก็ตาม
(5) ลิเก เป็นการละเล่นพื้นบ้านของภาคกลางประเภทหนึ่งที่มีการพัฒนารูปแบบ การแสดงมาจาก ดริเก
ท่ีพวกมสุ ลมิ นิกายเจา้ เซ็น (ซีอิท) สวดบชู าพระอลั ล่าห์ จนเป็นที่นยิ ม สบื เนือ่ งมาถึงปัจจบุ ัน สุรพล วริ ุฬห์รกั ษ์ สรุป
วิวัฒนาการของลิเก (2538 : 3 ) ว่าเข้า มากรุงเทพฯ โดยชาวไทยอิสลามจากภาคใต้และนิยมการแสดงชนิดนี้มา
ก่อน พ.ศ. 2423 “ลิเก” เริ่มมีการบันทึกปรากฏเป็นหลักฐานเอกสารเก่าที่สุดในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ที่มีลเิ กแสดงในกรุงเทพฯ สมัยนัน้ การแสดงเปน็ เชิงศาสนาอิสลาม ประกอบดนตรีเพ่ือความ
เป็นสิริมงคล ต่อมาลิเกแยกตัวออกไปเป็นละเยา หรือลาตัด สายหนึ่ง และเป็นอันดาเลาะหรือละครชุดสั้น ๆ อีก
สายหนึ่ง จากฮันดาเลาะมาเป็นลิเกกันตน จากนั้นค่อยๆกลายมาเป็นลิเกลูกบท โดยอิทธิพลของปี่พาทย์ ต่อมา
นาเอาแบบแผนการ แสดงละครนอกไปใช้ทั้งเรื่องและวิธีเล่นทาให้กลายเป็นลิเกทรงเครื่อง ลิเกเปลี่ยนแปลงรูป
ลักษณะของการแสดงไม่หยุดยั้ง โดยนาเอาการแสดงที่นิยมอยู่ในปัจจุบันไปเสริมในการแสดง ของตน นอกจากนี้
เมื่อลเิ กแพรห่ ลายในถิน่ ใดก็นาเอาศิลปะการแสดงทีน่ ิยมกันท้องถิ่นนัน้ มา ผสมทาใหล้ เิ กกลายรูปไป เช่น เป็นหมอ
ลาหมู่ ลิเกลาวในอีสาน และลเิ กเขมรในอสี านใต้

1) ฮันดาเลาะ คือการแสดงลิเกในยุคต้น ๆ เล่นในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยชาวไทย มุสลิมใน
กรุงเทพฯ ได้มารวมกันแสดงลิเกถวายหน้าพระที่นั่ง เนื่องในงานพระราชพิธีบาเพ็ญ พระราชกุศล พระบรมศพ
สมเดจ็ พระนางเจ้าสนุ ันทากุมารีรัตน์ สรุ พล วิรุฬหร์ กั ษ์, 2538 12 - 13) เรม่ิ แสดงดว้ ยพวกนักสวด สวดลานาแขก
เข้ากับจังหวะรามะนาเป็นการโหมโรง ตอ่ ด้วยการเล่นชดุ แขกรดน้ามนต์ และต่อด้วยการเล่นออกภาษาแต่งตัวเป็น
ชาตติ า่ ง ๆ เชน่ ญวน จีน ฝรง่ั พม่า มอญ ลาว เปน็ ตน้ ออกมาเลน่ ทลี ะพวก แต่งตวั ชาตไิ หนก็ร้องตาม เพลงชุดนั้น
เลน่ กันตอ่ ๆ ไปจนหมดไมไ่ ด้เลน่ เป็นเรอ่ื ง

2) ลิเกบันตน การแสดงลิเกประมาณปี พ.ศ. 2535 (สรุ พล วริ ฬู หร์ ักษ์, 2538 :14 - 16) มีการ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบจากการเล่นออกภาษาชดุ ส้นั ๆ ไมเ่ ปน็ เรอื่ งราว มจเล่นเปน็ เรื่องราวอย่างละครเริ่มดว้ ยการโหม
โรงและร้องเพลงบันตนพอสมควรแลว้ ก็เริ่มออกภาษาเป็นชุดต่างๆ เร่ิมด้วยออกภาษาแขกก่อนภาษาอ่ืนเสมอ เช่น

77
แขกรดนา้ มนต์ เป็นตน้ เมอ่ื หมดกระบวนการแสดงชดุ หนึ่งผู้แสดงเข้าฉาก พวกรามะนากร็ ้องบนั ตนสลบั รอการ
แต่งตัวเลน่ ชุดตอ่ ไปและร้องเพลงภาษาการแสดงในชุดต่อไปด้วย ชุดทนี่ ิยมเล่นในลเิ กบันตนในสมยั โบราณ ได้แก่
แสดงชุดมอญ ในเร่ืองราชาธิราช ตอนพระยาน้อยชมตลาด เล่นชุดลาวในเรื่องขุนชา้ งขุนแผน ตอน บกั ป่อง ปกั เป๋อ
พบพลายบวั กับนางแวน่ แกว้ เปน็ ต้น

3) ลิเกลูกบท การแสดงลเิ กประเภทนี้ เกิดจาก พวกปีพ่ าทย์ นาเอาลเิ กบนั ตนแสดงประกอบการ
บรรเลงเพลงลูกบท โดยใชป้ ่ีพาทย์ทาเพลง รบั แทนการใช้ลูกค่รู อ้ งประกอบการตรี ามะนาอย่างลเิ กบนั ตน จึงเกดิ มี
ลเิ กท่ใี ช้เพลงบรรเลงประกอบข้นึ เรยี กวา่ ลเิ กลูกบทท่มี าของการเลน่ ลเิ กลูกบท (สรุ พล วริ ุฬหร์ ักษ์, 2538 : 21 - 22)
เกดิ จากการประชันแข่งขนั วงป่พี าทย์ เมอื่ ร้องและบรรเลงเพลง 3 ช้นั เป็นแมบ่ ท จบแลว้ จะต่อท้ายดว้ ยเพลงสั้น ๆ
มีช้ันเชิงกระฉับกระเฉง หรือออกภาษาต่าง ๆ เป็นลูกบท จงึ คิดเอาตัวแสดงเข้าผสมเมอ่ื ร้องและบรรเลงลกู บทภาษา
ใด ก็ปลอ่ ยตัวแสดงชุดภาษานั้น ร้องไปตามกระบวนเพลงการแต่งตวั ใช้เส้อื ผา้ แพรพรรณธรรมดา หากแต่มสี ีฉูดฉาด
บาดตา ตวั ผชู้ ายใช้ผา้ โพกหรอื สวมสังเวียนศีรษะ ตัวผู้หญิงสวมช้องผมปลอมเทา่ น้นั ชุดการแสดงอนุโลมแบบลเิ ก
บันตนเมอื่ หมอลกู บทกเ็ ปลี่ยนชดุ การแสดงต่อไป จงึ เรียกว่า ลิเกลกู บท

ภาพที่ 6.9 ลเิ กลกู บท
(Nickeyms s.luther, ม.ป.ป.)

4) ลิเกทรงเครอ่ื ง ไดม้ ีผู้คิดนาเอาลเิ กบันตน และลิเกลกู บทรวมเข้าดว้ ยกันและขยายการเลน่
ออกไป และมีแบบแผนคล้ายละครราเขา้ ทุกที ครัง้ มาถึงยุคพระยาเพชรปราณี เลน่ ลเิ กเปน็ ประจาในวกิ ไดค้ ิด
เครือ่ งแต่งกายลิเกแบบใหม่ โดยนาเครอื่ งแตง่ กายข้าราชการ ในสมยั รัชกาลที่ 5 มาดัดแปลง การแต่งกายแบบนี้ ตวั
ลิเกใสป่ นั จุเหร็จยอดสวมเส้อื เยียรบับ นุ่งผ้ายกสวมถงุ เท้าขาว ประดับนพรัตนร์ าชวราภรณ์กามะลอตามแบบอย่าง
ทา้ วพญามหากษัตริย์ การแต่งองค์ทรงเคร่ืองแบบน้ี จึงเรยี กว่าลเิ กทรงเคร่อื ง (สุรพลวริ ุฬหร์ กั ษ์, 2538 : 30) เร่อื งท่ี

78
แสดงนาเอาเคา้ โครงเร่ืองจากบทละครใน ละครนอกเชน่ เรื่องอิเหนา ลักษณวงศ์ ไชยเชษฐ์ แกว้ หน้าม้า เกษสรุ ิยง
เปน็ ตน้ มคี วามพิถพี ิถันในการใช้กระบวนทา่ รา หนา้ พาทย์ ทใี่ ช้มี เชิด เสมอ โอด เป็นพ้ืนเพลงท่รี ้องได้แก่ หงษ์ทอง
โนเน ตะลุ่มโปง สาลิกาแก้ว บทเก้ียวใช้ รานิเกลิง เพราะต้องการความรวดเรว็ ในการดาเนินเร่ืองลเิ กซบเซาลงไป
บ้าง ในชว่ งที่มีภาพยนตร์เข้ามาฉาย แต่ก็ไม่ได้ทาใหล้ ิเกหมดไปกลบั ไปแพรห่ ลายในตา่ งจังหวัด ลเิ กบางคณะกเ็ ลน่
ประจาถิน่ บางคณะกเ็ ลน่ เปน็ ลิเกเร่ บุคคลสาคัญทม่ี บี ทบาทตอ่ การแสดงลเิ ก ไดแ้ ก่

นายดอกดนิ เสือสง่า เป็นคนบา้ นนครไชยศรี จังหวัดนครปฐม เป็นคนคิดทานองเพลงรานิเกลงิ โดย
ดัดแปลงมาจากเพลงมอญครวญ ของลิเกบนั ตน กลอนเพลงรานเิ กลงิ ได้รับความนิยม จนกลายเปน็ เพลงสญั ลักษณ์
ของลเิ กมาจนถึงปัจจบุ นั

ภาพท่ี 6.10 การแต่งกายชดุ ลเิ กทรงเครื่อง
(Kapook, 2557)

นายหอมหวล นาคศิริ เป็นคนบา้ นห้วยทราย ตาบลโพธลิ์ าว อาเภอมหาราชจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา มี
ความสาคญั ในการพัฒนาลเิ กตอ่ จากนายดอกดนิ เสอื สงา่ ดดั แปลงวธิ รี อ้ งเพลงรานิเกลิงขนึ้ ใหม่ รานเิ กลิงเดมิ จะ
เป็นการรอ้ งกลอนคาเดยี วแล้วลงใหป้ ่ีพาทย์รับแต่นายหอมหวล คดิ ใหมใ่ ช้กลอนแบบลาตัดเขา้ ผสม ทาให้ร้องต่อได้
อีกหลายค่า จงึ ลงให้ป่พี าทยร์ ับคร้งั หนง่ึ ทาใหบ้ รรยายความไดม้ ากกว่า และไมใ่ ช้เฉพาะการเก้ยี วพาราสีเทา่ นนั้ ยัง
รอ้ งเพ่ือบรรยายความอ่นื ๆดว้ ย

79

ภาพที่ 6.11 การแต่งกายชุดลเิ กทรงเครื่อง ในภาพยนตร์เรื่องลิเก๊ ลเิ ก
(Kapook, 2557)

การแสดงลเิ กได้พฒั นาไปไม่หยดุ ยัง้ มีการแสดงแบบชายจรงิ หญงิ แทน้ าออกแสดงทางวทิ ยกุ ระจายเสียง
และวทิ ยโุ ทรทศั น์ มีการวิวัฒนาการเร่ืองการแต่งกายตลอดเวลาเช่น การแต่งกายของลิเกยุคปจั จบุ นั ตัวพระจะ
แต่งตัวที่เรียกว่า เครื่องลูกบทเพชร คือแต่งแบบลกู บท แตม่ ีเพชรปกั ประดบั อย่างหรหู รา มีเก้ยี วยอดเพชรท่ี
เรียกวา่ หวั มอญ ตัวนางแต่งแบบนางงาม สวมชดุ ราตรีตามแฟชัน่ ศรี ษะประดับดว้ ยมงกุฎเพชร สวมเครอ่ื งประดับ
เพชรนาเพลงลูกท่งุ ยอดนยิ ม เคร่ืองดนตรีสากล เขา้ ประกอบการแสดง เพื่อสนองตอบความนิยมตามความต้องการ
ของผู้ดู การแสดงลเิ กจึงได้รับความนิยมแพร่หลายไปทวั่ ประเทศ การแสดงลิเกเปน็ ศลิ ปะท่อี สิ ระและมผี ู้ยดึ เป็น
อาชีพแสดงสืบเนื่องตลอดมา

(6) หนังใหญ่ เป็นมหรสพของไทยเก่าแก่ ซึ่งเป็นที่รู้จักและนิยมแพร่หลายมา แต่สมัยโบราณ
เดิมที่เรียกว่า "หนัง" ต่อมาเรียกว่า "หนังใหญ่" เพราะภายหลังได้มีการแสดง "หนัง"มีลักษณะคลา้ ยคลึงกันเกิดข้ึน
แตล่ ะตวั เล็กกว่า เรยี กหนังตัวเล็กนี้โดยท่ัวไปวา่ "หนงั ตะลุง"

ประวัติความเป็นมาของหนังใหญ่ไม่อาจจะกล่าวได้แน่นอนว่า มีมาแต่เมื่อใด คิดเล่นขึ้นเอง หรือ
ลอกเลยี นแบบ ถ่ายทอดมาจากใคร เพราะไมม่ ีหลกั ฐานสมบรู ณ์พอ มีเพยี งข้อสนั นษิ ฐาน (อมรา กลา่ เจรญิ . 2542
: 33) ว่า หนังใหญ่มีเล่นมาตั้งแต่ในสมัยกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ปี พ.ศ. 2 199) พระ
มหาราชครูไดร้ ับพระราชทานกระแสรับส่ังจากสมเด็จพระนารายณฯ์ ให้แตง่ เรอื่ งสาหรบั แสดงหนังข้ึนใหม่เร่ือหน่ึง
นัยวา่ เพ่ือเล่นในงานฉลองพระขนมายุครบเบญจเพส ซง่ึ ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทาเปน็ งานใหญ่มีมหรสพ
ฉลองอย่างครึกครื้น พระมหาราชครูจึงนาเอานิทานเรื่อง สมุทรโฆษกคาฉันท์มาแต่งเป็นบทพากย์หนังใหญ่ การ

80

เล่นหนงั ใหญ่ จงึ มีมาตั้งแด่ในสมยั กรุงศรอี ยุธยาแลว้ และเชื่อกนั วา่ ต้องมมี ากอ่ นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เร่ืองทแี่ สดงกม็ ีหลายเรือ่ งไม่จากัดว่าเป็นเร่อื งรามเกยี รต์ิเท่านน้ั

ลักษณะของตวั หนังใหญ่ ทาด้วยหนงั ควายหรือหนงั วัว ซงึ ใหต้ ึงจนเปน็ รปู แผ่นใหญ่แลว้ จึงฉลุสลัก
เป็นรูปตัวแสดงตามแบบลวดลายไทยอย่างงดงาม ถ้าเป็นหนังท่ใี ช้แสดงในเวลากลางวนั จะตอ้ งระบายสอี ยา่ งวิจิตร
บรรจงสอดสีสลับกันตามแบบของการวาดภาพไทยถ้าเป็นตอนกลางคืนหนังที่ใช้ไม่ต้องพิถีพิถันเรื่องสี นัก เมื่อฉลุ
ลวดลายแลว้ ก็ใช้ไม้ไผ่ทาบประกบตวั หนัง มีดา้ มสาหรบั จับเชิด 2 อัน ถ้าเปน็ หนงั เลก็ ๆ ก็ใช้ไม้ถอื เชิดเพียงอันเดียว
ปลายไม้เสมอตัวหนังดา้ นบน โคนไมย้ าวเลยตัวหนังประมาณ 50 เชนติเมตร

ลกั ษณะของตัวหนังใหญ่ แบง่ ออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 6 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 หนังเฝ้า บางทีเรียก หนังไหว้ เพราะเป็นหนังพนมมือในลักษณะเข้าเฝ้าหน้าเสี้ยว เป็นภาพ
หนงั เดย่ี ว ถา้ ถืออาวธุ ก็พนมมือถือให้ปลายอาวุธสวนรักแร้มาทางเบื้องหลัง ตวั หนังสงู ประมาณ 1 เมตร
ประเภทที่ 2 หนังคเนจร บางทเี รียก หนงั เดิน เพราะเป็นหนังท่าเดนิ หน้าเส้ียวเปน็ ภาพหนังเดี่ยว ตัวพระ
นาง และยงั เปน็ หนงั ท่าเดมิ ธรรมดา ถา้ เปน็ ลิง มักสลกั เป็นทา่ หยอ่ งตวั หนังสงู ประมาณ 1.50 เมตร
ประเภทท่ี 3 หนังง่า เป็นภาพหนังเดีย่ ว หนา้ เสี้ยว ทา่ เหาะ คือ ยกขาข้างหนึง่ คลา้ ย
ท่าละคร หนังง่านี้แยกเป็น หนังโก่ง หนังแผลง ได้อีก ซึ่งหมายถึงทาท่าแผลงศรหรือโก่งศรหนังง่าคือทาท่าเงื้อง่า
อาวุธ ตวั หนังสงู ประมาณ 1.50 เมตร
ประเภทที่ 4 หนังเมอื ง เป็นหนังท่มี ขี นาดใหญ่ ซง่ึ ภาพอาจจะมีภาพเด่ียวหรือหลายตัวท่ีสาคัญคือ ในภาพ
หนังน้จี ะต้องมีเมอื งประกอบดว้ ย คือ ปราสาทราชวงั อาคารสถานท่ใี ดๆโดยมตี ัวหนังในเรื่องน่ัง เช่น ตอนทศกัณฐ์
นง่ั เมือง อินทรชิตถูกศรกาลงั ดื่มน้านมจากนางมณโฑ เปน็ ต้น ถ้าเปน็ ฝ้ายพระรามเรียกหนังพลับพลา ยังแยกเรียก
เป็น หนังปราสาทพดู หนงั ปราสาทโลม หนังเมอื งมขี นาดสูงประมาณ 2 เมตร
ประเภทที่ 5 หนังจับ ต้องเป็นหนังที่มีภาพตัวละคร 2 ตัวขึ้นไป ท่าทางในภาพจะต้องเป็นท่ารบกัน หรือ
จบั กัน ในทา่ พลิกแพลงตา่ ง ๆ เช่น ภาพหนมุ านรบกบั ไมยราพ หรือลงิ ขาวรบกบั ลงิ ดา เป็นต้น
ประเภทที่ 6 หนังเบ็ดเตล็ด คือ หนังที่มีภาพในตัวเรื่อง เป็นท่าพิเศษ ซึ่งจะจัดเข้าชุดกับหนังต่าง ๆ
ดงั กลา่ วมาแลว้ ไม่ได้ เชน่ หนงั ภาพลิงขาวมัดลงิ ดาเดนิ อกแอนมา จะจดั วา่ เปน็ หนงั จบั กไ็ ม่ได้ เพราะเป็นทา่ เดิน จะ
จัดเป็นหนังคเนจรก็ไม่ได้ เพราะจะต้องเป็นภาพเดียวหน้าเสี้ยว จึงเรียกหนังนี้ว่า "หนังเตียว" (หมายถึงมัด) หนัง
จาพวกจาอวด หนังฉากหนีฉากไล่ ฉากชายป่า หนังรถ ส่วนหนังจาพวก "สุมพล" คือ มีไพร่พลในกองทัพ ทั้งทัพ
ยกั ษ์หรือทพั ลิงเรียกวา่ "หนงั เขน"

81

ภาพที่ 6.12 การแสดงหนงั ใหญ่แบบเชิดดา้ นหลงั ของจอ
(สานักงานจังหวดั สิงห์บุร,ี ม.ป.ป.)

ภาพท่ี 6.13 การแสดงหนังใหญแ่ บบเชิดด้านหน้าของจอ
(สานกั งานจงั หวัดสงิ ห์บุร,ี ม.ป.ป.)

การแสดงหนงั ใหญ่ จะต้องประกอบด้วยสิง่ ตอ่ ไปนี้
1) สถานที่แสดง ตัวโรงที่แสดงไม่ต้องปลูกยกเวทีเหมือนการแสดงอื่นๆเพราะหนังใหญ่แสดงกบั พืน้ ดินได้

สะดวก แตส่ ถานที่ต้องกว้างเพ่ือขงึ จอยาวประมาณ 16 เมตรสูง 6 เมตร ทาบริมด้วยผา้ สีแดงรอบทั้งสี่ด้าน ปักเสา

82

สูงสี่ดา้ นเรยี งกนั กะระยะห่างให้พอดกี ับจอชายลา่ งของจอสูงกว่าพื้นดินประมาณ 1 เมตร ห้อยผ้าดอกหรือผ้าสีตอ่

จากจอลงมาจรดพ้นื ดิน ยาวตลอดเต็มหนา้ จอ ปลอ่ ยชายล่างใหเ้ ดินลอดเข้าออกได้ บนปลายเสาปกั ดว้ ย ธ ง ห รื อ

หางนกยูง ดงั มีคาพากย์ที่ว่า (อมรา กล่าเจรญิ , 2542 : 35)

"ตดั ไมม้ าสีล่ า ปักทาข้นึ เป็นจอ

สม่ี มุ แดงยอ กลางกด็ าดด้วยผ้าขาว"

ทางหลงั โรง ใช้เส่ือลาแพนหรอื เส่ือใบสาคู กั้นเปน็ วงออกไปจากเสาต้นริม ปลายจอมาบรรจบกับริมเสาอีก

ข้างหนึ่ง เป็นรูปครึ่งวงกลม ทางด้านหลังตรงกลางปักเสาโน้มเอนไปรั้งกับจอสองต้น ขึงผ้าหรือเสื่อลาแพนสูงข้ึน

สาหรับชว่ ยสาดแสงไฟ เรียกว่า "บงั เพลิง"ภายในวงล้อมหลังจอนี้ เป็นทพี่ ักตัวแสดงและเก็บตัวหนัง ที่ต้องล้อมเขต

ไว้ก็เพอ่ื

ก. เป็นที่พกั ของผู้ที่เชิดหนัง

ข. เก็บหนงั และจัดหนงั ใหถ้ ูกตอ้ งตามลาดบั การแสดง

ค. ต้องการความเป็นสัดสว่ นมิใหค้ นภายนอกมารบกวน

ตรงกลางระหว่างบังเพลิงกับจอหนัง ปลูกร้านเล็ก ๆ 2 ร้านสูงจากพื้นดินประมาณ1 เมตร ห่างกัน

พอสมควร บนร้านปดู ว้ ยสังกะสสี าหรบั กองไต้จุดไฟใหล้ ุกเปน็ แสงสวา่ งสาหรับที่จะส่องตวั หนัง รา้ นนี้เรียกว่า "ร้าน

เพลิง" กล่าวกันว่า หนังที่ใส่ไฟด้วยต้นี้ไม่งดงามเท่าใส่ไฟด้วยกะลามะพร้าว การใช้ไฟส่องตัวหนังต่อมาได้

ววิ ัฒนาการ คือ ใช้ตะเกียงแมงดาแทนได้ในขั้นงดงามของแสงไฟฟา้ สู้ไตห้ รอื ตะเกียงแมงดาไมไ่ ด้

2) ตัวหนัง ภาพของหนังเป็นภาพทีเ่ รียกวา่ "ภาพตาย" เพราะฉะนั้นเมื่อจะแสดง คนจัดหนังเรียกว่า "คน

ทอดหนัง" มีความสาคัญมาก จะต้องเป็นผู้ที่รู้เรื่องราวของตอนของเรื่องที่จะแสดงได้เป็นอย่างดี ถ้าจัดหนังไม่

ถูกต้องจะทาให้การแสดงขลุกขลัก เพราะภาพหนังแต่ละภาพจะใช้ทดแทนกันไม่ได้ คนจัดหนังจะต้องทราบว่า

จะต้องใช้ภาพไหน กี่ครั้งภาพไหนออกก่อนและออกหลัง จัดแยกตัวหนังออกเป็นพวก ๆ เช่น พวกยักษ์ พระ นาง

ลิงและเบด็ เตล็ด และยังจะตอ้ งจดั เปน็ ประเภทไว้ดว้ ยว่าเป็นหนังง่า หนังเมือง เป็นต้น คนทอดหนังต้องจัดชอ้ นไป

เรยี งกันไว้ เพือ่ ให้คนเชดิ หนงั หยิบออกไปแสดงไดท้ ันทีและไมผ่ ดิ พลาด

3) คนเชิดหนัง แต่งตัวด้วยผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อแขนกระบอก มีผ้ามีผ้าคาดพุง สวมหมวกหูกระต่าย

คนเชดิ หนงั จะต้องใช้ท่าทางแสดงดว้ ยลาตวั และขาท้ังสองจับไมท้ าบตัวหนัง เอนไปเอนมาหรือไหวสัง่ บ้าง ตามลีลา

และอารมณ์ของเรื่อง ลาตัวกับขาจะต้องทาท่าทางและเต้นไปตามจังหวะเพลง และบทบาทของตัวแสดง บทพระ

ยกั ษ์ นางลิง คนเชดิ ตอ้ งสามารถเต้นตามเพลงและหน้าพาทย์ และใช้บทตามคาพากย์ และเจรจา ซง่ึ นับว่าเปน็ สิ่งที่

ยากท่ีจะแสดงความรู้สึกออกให้เหน็ ชดั เจน หลกั เกณฑส์ าคญั ในการเชิดหนัง คอื

ก. คนเชดิ จะต้องหนั หน้าไปทางเดยี วกับตวั หนงั ที่กาลงั เชิดอยู่

ข. สามารถกลบั ตัวหนงั ได้โดยมใิ ห้ตวั หนงั กระทบจอ และมคี วามสัมพนั ธ์ กลมกลนื กบั ทา่ เต้น

ค. เชดิ หนงั ได้ชิดจอ และพยายามให้ลวดลายปรากฏบนจออยา่ งมีศลิ ปะ

83

4) คนพากย์ เจรจา และตลก คนพากยเ์ จรจาอย่างน้อยต้องมี 2 คนเปน็ ผทู้ ่มี คี วามชานาญต่อเรื่องท่ีแสดง
จดจาบทพากย์อนั เป็นบทพากยบ์ ังคบั ได้แม่นยา เชน่ การพากย์ "บทพากยส์ ามตระไหว้ครู" การดาเนินเร่ืองอยู่ท่ีคน
พากย์เจรจาท้งั สิน้ ถือได้ว่าการพากย์เป็นหวั ใจของการแสดง นอกจากนี้ยังต้องรจู้ ักใชว้ ธิ ีการพากย์ปูพ้ืนให้ช่องทาง
สามารถสอดแทรกมุขตลก ทาความขบขนั แก่คนดดู ว้ ย

ส่วนตลกนั้นถือไต้ส่องหน้าตัวเอง และพวกตลกด้วยกัน บางทีก็ถือตัวหนังตลกออกมาด้วย ตลกโบราณมี
ตลกสองแงส่ องงา่ มอยู่บ้าง แตต่ ้องระลกึ ถงึ แนวทางการเล่นแบบแผน และเนื้อเร่อื ง ไมค่ วรออกนอกกรอบประเพณี
ของการแสดง

5) เรื่องที่สําหรับแสดง มีการแสดงเรือ่ งสั้นๆ เป็นการเบิกโรงก่อน เรื่องที่แสดงมีข้องตนั แทงเสือ หัวล้าน
ชนกัน ชวาแทงหอก และจับลงิ หัวค่า ในสมยั โบราณนอกจากจะนยิ มเลน่ เรื่องรามเกยี รตแิ์ ลว้ ยงั เลน่ เร่อื งสมทุ รโฆษ
คาฉันท์ และเร่อื งอนริ ทุ ธ์คาฉนั ท์

6) เครื่องคนตรี ใช้ทงั้ ปพี าทย์เครอ่ื งหา้ เครอ่ื งคู่ และเครือ่ งใหญ่ ทั้งนแ้ี ลว้ แต่ฐานะของงานแตเ่ คร่ืองดนตรี
ที่จะขาดไม่ได้คือ ปีกลาง กลองติ๋ง 2 ลูก และโกร่งเป็นไม้ไผ่ทั้งลายาวประมาณ 2 - 3 เมตร ใช้คนตีหลายคน เป็น
เครอ่ื งประกอบจังหวะสาคญั วางไว้หลงั จอ ใหค้ ณะเชดิ หนังเปน็ ผ้ตู ึ วงปพี่ าทย์ตง้ั ก่ึงกลางของจอหนงั หนั หน้าวงเข้า
หาจอหา่ งจากจอออกประมาณ 4 เมตร ถา้ มีปีพาทยส์ องวง จะตงั้ ด้านซ้ายและขวาของจอ

7) วธิ ีการแสดง เลน่ ไดท้ ัง้ กลางวนั และกลางคืน
ก. ถ้าเป็นกลางวัน ไม่มีพิธีการมาก การแสดงมีแต่เรื่องการจับระบาชุดสวย ๆ เช่น มีชุดรามสูรเมขลา
ประกอบรอ้ งเพลง พระทอง เบา้ หลดุ บะหล่ิม และสระบุหร่งคือระบาส่บี ทนนั่ เอง ซง่ึ เป็นการแสดงเลียนแบบละคร
มาแสดงเป็นตวั หนงั เท่าน้ัน
ข. ถ้าเป็นกลางคืน จะต้องเริ่มด้วยพิธีเบิกหน้าพระ การแสดงชุดเบิกโรงและจับเรื่องพิธีเบิกหน้าพระ จะ
เริม่ ต้นพิธีตามลำดับ ดงั นี้
ลำดับที่ 1 ครู (ผู้เป็นเจ้าของคณะ) จะนำ “หนังเจ้า” คือ หนังฤาษี (ถ้าใช้หนังสือทำ จึงจะนับว่าขลังดี)
พระอิศวร และพระนารายณ์ (ทั้งหนังพระอิศวรและพระนารายณ์ จะเป็นลักษณะหนังแผลง) ออกมาปักไว้ที่จอ
ด้านจะนำเอาหนงั ฤาษไี ว้กลาง
ลำดบั ท่ี 2 ครูขอเงนิ กำนลั จากเจ้าภาพ กับเทยี บข้ีผึง้ อีก 3 เลม่
ลำดบั ท่ี 3 ครจู ดุ เทยี นเลม่ หนึ่งไปใหว้ งปพ่ี าทย์ ตดิ ไว้ทีต่ ะโพน
ลำดับที่ 4 ปี่พาทยเ์ ร่ิมโหมโรงเหมือนโรงเย็น ถึงเพลงเสมอก็หยดุ บรรเลง
ลำดับที่ 5 ครูกล่าวคำนมัสการตามวิธี จุดเทียนอีก 2 เล่ม ปักติดตรงปลายไม้คาบตัวหนัง รูปพระอิศวร
และพระนารายณ์ ซง่ึ อยูป่ ลายศรพดิ ี พวกแสดงหนังในโรงโห่ขึน้ 3 ลา
ลำดับที่ 6 ปี่พาทย์บรรเลงเพลงเชิด ครูนำหนังฤาษีเก็บเข้าโรง คนเชิดหนังสองคนออกมาจับหนังเทพเจ้า
ท้ังสองเชิดออกมาพน้ จอ ทำทา่ ทางพอสมควรจึงนำหน้าเขา้ มาทาบจอปี่พาทย์หยดุ

84

ลำดับท่ี 7 คนพาทย์เร่มิ พาทย์ 3 ตระ ด้วยคำว่า
“ขา้ ไหวพ้ ระเสด็จเรืองฤทธา ทศรถมหาเปน็ เจ้าสำหรบั พระธรณี” ไปจนถึงคำว่า “เบ้ืองซา้ ยข้าจะไหว้ทศกัณฐ์ เบ้ือง
ขวาอภิวันทส์ มเดจ็ พระรามจักรี” จบทวยท่ี 1 คนพาทยบ์ อกหนา้ พาทย์วา่ “ทวย”

ลำดับที่ 8 ปี่พาทย์ทำเพลงเชิด คนเชิดนำพระแผลงคู่ออกมาเชิดอีกครั้งแล้วก็เอาตัวหนัง เข้าทาบจอปี่
พาทยห์ ยดุ คนพาทย์ก็จะพาทย์ทวยที่ 2 วิธกี ารเหมือนกบั คร้ังแรก จนกระท่งั ขึ้นการพาทย์ทวยที่ 3 ก่อนจบทวยท่ี
3 จะพาทยว์ ่า

“เร่งเรว็ เถดิ นายใตเ้ อาเพลิงใส่เขา้ หนหลัง
สอ่ งแสงอย่าใหบ้ งั จะเล่นให้ท่านทงั้ หลายดู”
ลำดับที่ 9 ปี่พาทย์ทำเพลงเชิด คนคุมร้านเพลิงโหมไฟให้ลุกขึ้น คนเชิดเชิดหนังพระแผลงออกรบกัน พอ
หมดกระบวนก็เข้าโรง หมดตอนที่เรยี กว่า”เบิกหน้าพระ”
การแสดงชุดเบิกโรง ชดุ เบิกโรงนยิ มเลน่ คอื ชดุ “จบั ลิงหวั คำ่ ” เนื้อเรื่องของตอนน้กี ม็ ีอยู่วา่ มลี งิ 2 ตวั คือ
ลิงขาวกับลิงดำ ลิงดำมีนิสัยกักขฬะเลวทราม ชอบก่อเรื่องวุ่นวายลิงขาวผู้มีนิสัยดีพยายามตักเตือนสั่งสอน ลิงดำ
กลบั ถือดี จนถึงเกดิ วิวาทกนั ลงิ ขาวจบั ลงิ ดำมัดและพาตัวไปเพ่ือจะฆ่า บังเอิญพระฤาษมี าพบเข้าจงึ ขอชีวิตลิงดำไว้
แลว้ กลา่ วสง่ั สอน จนลิงดำกลับตวั เปน็ ลงิ ทดี่ ี คนเชดิ จะเชิดภาพลิงขาวและลิงดำ (หนังงา่ ) ออกมารบกัน เม่ือรบกัน
พอสมควรจะนำหนงั ทั้งสองประกบแฝงเข้าโรงแล้วเชิดหนังจับออกมา แสดงลีลาพอสมควรกเ็ ข้าโรงเรียกว่าหมดจับ
1 คนเชิดนำหนังง่าออกสลับกันดังนี้ จนถึงจับ 3 คนเป่าปี่จะต้องเป่าปีใ่ ห้ใกล้เคียงเสียงพูดว่า “จับให้ติดตีให้ตาย”
มากทีส่ ุด การตกี ลองตอนนี้ถ้าเป็นหนงั เด่ียวหรือหนงั ง่า ตดี ้วยกลองต๋ิง ถา้ หนังจบั ออกมาตีกลองทัดจนถึงท่ีสุดของ
การรบ คือ ลิงดำถูงลิงขาวมดั ปี่พาทย์บรรเลงเพลงเตยี วจนฤาษีออกมาจงึ เปล่ียนเป็นรัวกลองอย่างเดียว(ดนตรีอืน่
หยดุ หมด) เข้ากบั การร้องว่า “โยพ้ อ่ แกว้ ” หรือ “เทง้ เต้งเอย” ของพวกชาวหนัง ครบ 3 ลาจึงหยุด ตัวฤาษีจึงมีบท
ตลกเพ่ือเล่นกบั วงปพ่ี าทยร์ ับ 1 เพลง แลว้ จงึ ดำเนนิ เรอ่ื งซักถามสาเหตทุ ่ีลิงขาวจบั ลงิ ดำมา
การแสดงชุดเบิกโรงจบด้วยการเชิดเข้าโรงของตัวหนังทั้งส 3 โดยหน้าพาทย์เชิดหนังแล้วต่อด้วยการ
ดำเนนิ เรือ่ งใหญ่ท่จี ัดเตรยี มเพอ่ื แสดงต่อไป
6.2.2 การละเล่นที่เป็นพิธีกรรม การละเล่นที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรม เกิดจากความเชื่อของคนไทยที่มีต่อ
เรื่องผีสาง เทวดาเทพผู้ศักดิ์สิทธิ์ และโชคลางต่าง ๆ การละเล่นที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อมีความสัมพันธ์กับวิถีชวี ิต
การทำมาหากิน การละเล่นพื้นบ้านเกือบทุกประเภทของภาคกลาง มีกระบวนการเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมการแสดง
กอ่ นจะมีการเลน่ เป็นเรื่องเพ่ือให้ผชู้ มได้ความสนกุ สนาน จะมีข้นั ตอนท่ีเปน็ พิธีกรรมเก่ียวกับความเชื่อ เช่น การรำ
ถวายมือแก้บน ก่อนการเล่นละครชาตรี ละครนอก การทำพิธเี บกิ หน้าพระกอ่ นการเลน่ หนังใหญ่ พิธรี ำเจ้า รำมอญ
ของชาวไทยเชื้อสายมอญ การเชิดมังกร ของชาวไทย เชื้อสายจีน การรำขอพรในประเพณีกำฟ้าของชาวไทยเช้ือ
สายลาวพวน เปน็ ตน้

85

ตัวอย่างการละเล่นท่ีเกี่ยวข้องกบั พิธีกรรม
(1) การรำถวายมือแก้บน การรำถวายมือ คือ การรำเพื่อบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อแสดงความขอบคุณท่ี
ไดป้ ระทานความสำเรจ็ ความสมปรารถนามาให้ ซง่ึ ถ้าเปน็ ความสำคญั ในเร่อื งของการ “แก้บน” ดว้ ยความเชื่อของ
ผแู้ สดงว่า หากการแสดงละครชาตรี ละครนอก ลิเก เพ่ือการแก้บน ไมม่ ีการรำถวายมือ จะทำใหไ้ ม่ขาดสินบนท่ีได้
บนไว้ (อมรา กล่ำเจรญิ , 2537 : 89 – 90)
ผู้แสดงรำถวายมือ ต้องเเต่งกายยืนเครื่อง พระ นาง จำนวนผู้แสดงรำถวายมือใช้พระนางอย่างละเท่า ๆ
กนั ตั้งแต่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ และบางครั้งจะใช้ผ้แู สดงถงึ 9 คน คือ ตวั พระ 5 ตัว ตัวนาง 4 ตัว เรียกว่า รำถวายมือชุด
ใหญ่ ทั้งน้แี ล้วแตค่ วามต้องการของเจ้าภาพ ผ้หู าละครที่ต้องการจำนวนผ้รู ำถวายมือในแตล่ ะครง้ั อยา่ งไร แต่ที่นิยม
ทั่วไปการรำถวายมอื 1 ครั้ง หรอื 1 ยก จะใช้ 2 คู่ คอื ตัวพระ 2 ตัว และตัวนาง 2 ตวั

ภาพท่ี 6.14 การราถวายมือแก้บน
(ประเพณีดอทคอม, 2556)

ก่อนการเรม่ิ รำถวายมือ เจา้ ภาพจะจดุ ธูปบอกกลา่ วส่งิ ศักด์ิสิทธิ์ท่บี นบานไว้ขอให้มารับเคร่ืองสังเวยและดู

ละครดงั คำร้องในประกาศหนา้ บทวา่

“วันนีม้ ลี ะครแกส้ ินบน ลูกจะร้องนมิ นตใ์ หพ้ อ่ มา

(…กล่าวถึงสิ่งศกั ดิส์ ิทธิ์…) เปน็ เจ้าของ เชญิ มารับมารองเอาเถิดนา”

เมื่อจบร้องประกาศหน้าบท ปี่พาทย์จะบรรเลงเพลง “รัว” ผู้แสดงรำถวายมอื จะออกมาหน้าเวที นั่งเปน็

แถวคู่พระนาง หันหน้าไปทางสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่แก้บน นั่งเรียบร้อยแล้ว ปี่พาทย์ก็จะบรรเลงเพลงสำหรับการรำถวาย

มอื เพลงช้า เพลงเรว็ ผแู้ สดงจะรำถวายมอื ไปจนจบเพลง

86

ลักษณะการ “รำถวายมือ” เป็นการรำเพลงหน้าพาทย์ชั้นต้น ทำนองเพลง แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ใช้
จังหวะ 2 ชน้ั คือ เพลงช้าทำนองเพลงสร้อยสน และตอนที่ 2 จังหวะช้นั เดียว เรยี กวา่ เพลงเรว็ ในทางละครน้ันถือ
ว่าการรำเพลงช้าเพลงเร็วเปน็ การรำพ้ืนฐานเบือ้ งต้นของการฝึกหดั รำละครไทย จึงใช้เพลงช้าเพลงเร็ว รำถวายมือ
แกบ้ น

ความสำคัญของการรำถวายมือเพื่อการแก้บน คือ สามารถรำเป็นเอกเทศเฉพาะการรำถวายมือได้โดยไม่
ต้องมีการแสดงละคร แต่ถ้าบนหาละครชาตรี ละครนอก หรือลิเกแสดงแก้บน ไม่มีการรำถวายมือไม่ได้ เพราะจะ
ทำใหไ้ มข่ าดสินบนและเปน็ การปฏบิ ตั ิตามพิธีกรรม การแก้บนในครั้งนีไ้ ม่ครบถว้ น

ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ตามศาลเจ้า ศาลหลักเมือง ศาลพระพรหม หลวงพ่อที่มีความศักดิ์สิทธิ์ตามวัดต่าง ๆ
จึงมีการรำเฉพาะถวายมือกันท่วั ไปโดยไม่ได้แสดงต่อเป็นเรื่องราว

(2) รำมอญ เป็นนาฏศิลป์ที่เก่าแก่ของมอญอย่างหนึ่ง ลูกหลานไทยเชื้อสายรามัญรุ่นหลัง ๆ ได้รับ
การถ่ายทอดศลิ ปะนี้ไว้ด้วยดีตลอดมา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ท่ีอำเภอปากเกรด็ ยังมผี ้ทู ส่ี ามารถรำมอญได้จำนวนมาก
รวมทง้ั วงป่พี าทยม์ อญบรรเลงประกอบการรำมอญทเ่ี รียกวา่ บัวหะเป้ิน มีแสดงในโอกาสงานมงคล เช่น งานฉลอง
ทางพุทธศาสนา งานฉลองวัด หรืองานสมโภชต่าง ๆ ตลอดจนงานศพ โดยเฉพาะพระทีม่ รณภาพ ชาวบ้านนิยมรำ
ถวายหนา้ ศพเพราะถอื ว่าได้บญุ ถ้าได้รำในงานศพคฤหัสถผ์ มู้ อี าวโุ สหรอื ผู้ท่เี ปน็ ทีเ่ คารพนบั ถอื ชาวบ้านจะมารำด้วย
ความเคารพเช่นกนั

1) เพลงที่ใชประกอบการแสดง การแสดงมอญรำเพลงแรก คือ เพลงภาษาเรียกสิบสองภาษา
ต่อจากนั้นก็จะมีเพลงสมิงพระรามในตำรับราชาธิราช มีการรำประกอบร้องแสดงท่าประกอบตามเนื้อเพลง เช่น
เพลงย่าเหล เพลงมอญดูดาว และเพลงอื่น ๆ อีกมาก การร้อง มีคนร้องเพียงคนเดียว ใช้เพลงปี่พาทย์บรรเลงรับ
บางเพลงปี่คลอตามไปกับเสียงคนร้อง ผู้รำจะรำไปตามเพลงและท่วงทำนอง เพลงร้องใช้ทำนองเพลงมอญแต่เน้อื
ร้องเปน็ ภาษาไทย

2) เครื่องดนตรี ปี่พาทย์ที่ใช้ประกอบการรำเป็นปี่พาทย์มอญเครื่องคู่ ได้แก่ ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้อง
มอญวงเล็ก ระนาดเอก ระนาดทุม้ ป่มี อญ เปงิ มางคอก โหม่ง 3 ใบตะโพนมอญ ฉิง่ ฉาบใหญ่ ฉาบเล็ก กรบั

3) ผ้รู ำ มอญรำใชค้ นรำเป็นหญงิ สาวจำนวนไม่น้อยกว่า 8 คน ถงึ 12 คน
4) ท่ารำมอญ มีทั้งหมด 12 ท่า แต่ละท่ามีปี่พาทย์บรรเลงประกอบการรำเริ่มต้นด้วยการบรรเลง
เพลงโหมโรงมอญ เรียกเพลงนี้ว่าซอป๊าต ผู้รำอาศัยจังหวะของตะโพนมอญ การเคลื่อนไหวตัวของผู้รำจะเอน
ตัวอย่างอ้อนช้อย และก็เถิบเท้าไปทีละน้อย ๆ ตามจังหวะของดนตรี ส่วนใหญ่ใช้มือร่ายรำเคล่ือนไหวนอ้ ยมากซึ่ง
ตา่ งกบั การรำไทย การรำมอญผ้รู ำจะเหยยี ดมือท้ังสองออกรำในท่านงิ่ อยูก่ ับทพ่ี ร้อมกับการเคล่ือนไหวลำตัวเมื่อรำ
จบเพลง แต่ละเพลงผู้รำจะทิง้ มือลง ปี่พาทย์ข้นึ เพลงใหม่ ก่อนรำผู้รำจะทำการกราบคร้งั หน่ึงและเมื่อรำจบก็กราบ
อีกครั้งหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อแสดงความเคารพ เพราะการรำมอญเป็นการรำเพือ่ แสดงความเคารพไม่ใช่รำเพือ่ เป็นการร่นื
เริงเพยี งอย่างเดียว

87

5) เพลงรำมอญ เพลงรำมอญบรรเลงกันอย่างแพร่หลายในหมู่ชาวไทยรามัญเกราะเกร็ด และ
ปทุมธานี มีจำนวน 18 เพลงด้วยกัน แต่ที่ใช้บรรเลงอยู่เสมอมีเพลง 12 เพลง สำหรับประกอบการรำมอญ มีชื่อ
เรียกและความหมายใชท้ า่ ดังนี้ (บุญศิริ นิยมทศั น์, 2543 : 67 – 144)

เพลงที่ 1 ยากจ่างหะเปิ่น ความหมายของเพลง รำตามจังหวะตะโพน ลักษณะท่ารำมีความหมายถึงการ
ขอพรและรับพร

เพลงที่ 2 เพลงถะบ๊ะซาน ความหมายขแงเพลง ความรักที่อ่อนช้อย เปรียบเสมือนทางมะพร้าว
ความหมายของท่ารำ แบมอื ขอพรและรวมพรมาใส่ศรี ษะ

เพลงท่ี 3 เพลงคอมทอ ความหมายของเพลง คือ กำทอง รับทอง ความหมายของท่ารำ คือ รับพร
เพลงที่ 4 เพลงขะววั ตัว ความหมายของเพลง หมายถงึ การบดิ มือหรือมว้ นมือในท่ารำ ความหมายของท่า
รำ คอื รบั พร
เพลงที่ 5 เพลงขะวัวขอนอม ความหมายของเพลง คือ การบิดขนมจีน ความหมายของท่ารำ คือ การขอ
พรและรบั พร
เพลงที่ 6 ไมร่ าบชื่อเพลง ความหมายของท่ารำเปน็ การขอพร และรบั พร
เพลงที่ 7 เพลงกะยานหรือซ๊าดยาดหรือกะวะกลั้ว ความหมายของเพลง คือการตากผ้าสะบัดผ้า
ความหมายของท่ารำ แสดงถงึ ความสนกุ สนาน
เพลงท่ี 8 เพลงมอญคละหรอื มอญคละ เป็นเพลงไทย ใชท้ า่ รำที่แสดงถึงความออ่ นช้อย
เพลงที่ 9 เพลงหะว่าย ความหมายของเพลง เป็นแบบรำถวามมือ ความหมายของท่ารำ เป็นการทำท่า
ขนมจนี
เพลงท่ี 10 เพลงเมยี่ งปลา้ ยหะเสยี เป็นเพลงไทย ซง่ึ เพลงว่าเพลงฝร่ังหนมุ่ ความหมายของท่ารำ คือ ชวน
กนั กลับบ้านเมืองมอญ
เพลง 11 เพลงป๊ากเมียะ ความหมายของชื่อเพลง คือ การถอนกล้า ความหมายของท่ารำเลียนเสียง
เสียงดนตรี กลองตะโพน เก่ียวกบั อาชีพการทำนา
เพลงที่ 12 เพลงนกขมน้ิ เปน็ เพลงไทยที่ใช้ในความหมายการคร่ำครอญ ความหายของท่ารำเป็นการพรที่
ขอมาทั้งหมด

6) การแตง่ กาย ผรู้ ำมอญจะแตง่ ตวั แบบสตรมี อญน่งุ ผ้าซิน่ ยาวคมุ เทา่ เสอื้ แขนกระบอกพาดผ้าสไบ
ไหล่เดียว หรือคล้องคอปล่อยชายให้ห้อยไปข้างหน้าทั้งสองชาย ใช้สีอะไรก็ได้แม้จะเป็นงานศพเพราะคนมอญไม่
ถอื ว่างานศพต้องแต่งสีดำ

รำมอญยังคงมีอยู่ตามหมชู่ าวไทยรามัญ ซง่ึ ยงั คงสืบทอดศิลปะ อนั เป็นสัญลักษณแ์ ละศลิ ปะวัฒนธรรมอันมีค่า
ย่ิง โดยพยายามรกั ษาไว้ให้คงอยูก่ บั ความเป็นมอญสืบไป

88

(3) รำเจ้า คนมอญเป็นคนที่มีความเคร่งครัดกับพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก ขณะเดียวกัน ก็มีความ
เชื่อดั้งเดิมในการนับถือผีบรรพบุรุษ ผีอื่น ๆ ที่มีฤทธิ์ และเทวดาอารักษ์ต่าง ๆ ควบคู่กันไปเช่นเดียวกับทางไทยที่
ถือคติพราหมณ์ควบคูไ่ ปกับการนับถือศาสนาพทุ ธด้วยเหตุนี้ ประเพณีของคนมอญจึงมีส่ิงทีป่ ฏิบัตเิ กี่ยวกับการนบั
ถือผีที่สอดคล้องกับความเชื่อที่มีมาจากพุทธประวัติหรือชาดกต่าง ๆ ตลอดจนเป็นเรือ่ งของการป้องกันสิ่งชั่วรา้ ย
และเพ่อื ความสบายใจของผู้ปฏบิ ตั ิด้วย

การรำเจ้า เป็นประเพณีมอญที่ปฏิบัติเป็นประจำทุกปีตั้งแต่อยู่เมืองมอญ ถือเป็นส่วนหนึ่งของงาน
สงกรานต์ การทำบญุ จัดอยา่ งยง่ิ ใหญย่ ืดเย้ือหลายวนั เร่มิ ตั้งแตง่ านวันตรษุ จนี ชาวบา้ นจะเริม่ ต้งั โรงทานในหมู่บ้าน
มพี ิธีหุงขา้ วแช่ แห่ข้าวแช่ แห่นำ้ หวาน ปลอ่ ยนกปล่อยปลา กอ่ เจดยี ท์ ราย ถวายสลากภัต สรงนำ้ พระ แห่หางหงส์
และปิดท้ายด้วยการทำบุญกลางบ้าน (ทำบุญหมู่บ้าน) ซึ่งมีพิธีรำเจ้าประจำปีด้วย ทุกหมู่บ้านมีศาลเจ้าประจำ
หมบู่ า้ นมเี จ้าประจำหมบู่ า้ นมีชอ่ื และฤทธแ์ิ ตกต่างกนั ไป

ชาวไทยรามัญ ตำบลเกราะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด นับถือเจ้าพ่อหนุ่มเกษแก้วไชยฤทธิ์ ชาวมอญเรียกว่า
เละจุ๊สะ เป็นเจ้าพ่อชั้นผู้ใหญ่ ที่เคารพนับถือของชาวไทยรามัญใกล้เคียงด้วย (สำนักรายกรัฐมนตรี, 2542 ญ :
163)

การรำเจา้ ของชาวไทยรามัญ เป็นเครือ่ งทำใหจ้ ิตใจกลา้ แข็งและใช้ชวี ิตอยู่อย่างเป็นสุขและยังไดร้ ว่ มทำบุญ
ทำทานในเทศกาลสงกราต์ต่อเนื่องกันมา เป็นการเตือนใจให้สละละทิ้งความชั่วร้ายเลวทรามต่าง ๆ ทั้งหลาย รับ
เอาความดีท่เี ปน็ มงคลแก่ชวี ิต เพอื่ จะได้อยู่ดีมสี ุข

(4) เชิดมังกร การเล่นเชิดมังกร เป็นการละเล่นของชาวไทยเชื้อสายจีนในเทศกาลที่สำคัญเป็น
ประเพณสี บื ต่อกันมา การเลน่ เชิดมังกรในบทเรยี นนเี้ ป็นการเล่นเชิดมังกรท่ีมีชื่อเสียงของชาวจีนทีเ่ ข้ามาต้ังถิ่นฐาน
ในนครสวรรค์ต้ังแตส่ มัยกรุงศรอี ยธุ ยาตอนปลายและกรงุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนต้น (สภุ ร โอเจรญิ , 2540 : 12 – 21)

เนื่องจากชาวจีนเป็นผู้ที่ยึดมั่นในประเพณีและความเชื่อดั้งเดิมอย่างเคร่งครัด จึงได้มีการนำเอา
ขนบธรรมเนียมแระเพณี และพิธีกรรมตามความเชื่อของตนมาถือปฏิบัติดว้ ยโดยเฉพาะอย่างยิ่งความเชื่อเกี่ยวกับ
เทพเจ้า ในการเดินทางจากประเทศจีนมาไทยนั้นนอกจากจะมีระยะทางไกลแล้วยังเต็มไปด้วยอันตราย เพราะ
เทคโนโลยียังไม่เจริญชาวจีนจึงมักจะอัญเชิญรูปเคารพหรือห่อขี้ธูปจากกระถางธูปในศาลเจ้าที่ตนนับถือติดตัวเข้า
มาด้วย เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนีย่ วทางใจระหว่างการเดินทางด้วย และเมื่อมาถึงประเทศไทยแลว้ ได้ชาวจีนได้ร่วมใจ
สรา้ งศาลเจา้ ข้ึน เพอื่ ประดิษฐานรูปเคารพหรือห่อขี้ธปู ท่ีนำมา แบะใช้เปน็ ทป่ี ระกอบพธิ ีกรรมทางศาสนาตามความ
เชื่อของตน ตามปกติในรอบ 1 ปี ชาวจีนจะประกอบพิธีกรรมเซ่นไหว้ท่ีศาลเจา้ ในเทศกาลที่สำคัญ 8 เทศกาล คือ
ตรุษจีน หยวนเซียว เช็งเม้ง ขนมจ้าง สารทจีน ไหว้พระจันทร์ กินเจ และไหว้เจ้าประจำปี (ไหว้ขอบคุณเจ้า)
อย่างไรก็ตามชาวจีนได้ให้ความนบั ถือและให้ความสำคัญ โดยเฉพาะเทศกาลตรุษจีน ซ่ึงถอื เป็นวันข้ึนปีใหม่ของจีน
จัดว่าเป็นพิธีกรรมที่สำคัญมาก เพราะไม่เพียงแต่เป็นการฉลองการเริ่มศักราชใหม่พร้อม ๆ กับการเริ่มงามใหม่
เทา่ นนั้ หากยงั เป็นช่วงเวลาของกสนบชู าเทพเจา้ เพื่อความเปน็ สิรมิ งคลในปที ่ใี กล้จะมาถึงดว้ ย

89

เทศกาลตรุษจีนที่นครสวรรค์ นอกจากจะมีความสำคัญต่อชาวจีนดงั กล่าวแล้ว ยังได้รับการถือปฏิบัตจิ าก
ชาวจีนเป็นพิเศษกว่าที่อื่น ๆ เพราะไม่เพียงจะมีการเซ่นไหว้เจ้าตามเทศกาลเท่านั้น แต่ยังถือเป็นประเพณีที่ต้อง
เชิญเจ้าออกแห่รอบตลาด เพื่อความเป็นสิริมงคลด้วยสาเหตุที่ต้องมีการเชิญเจ้าออกไปแห่ก็เนื่องมาจากเมื่อ
ประมาณ 70 กว่าปีที่ผ่านมา ได้เกิดอหิวาตกโรคขึ้นในปากน้ำโพ ผู้คนพากันเจ็บป่วยล้มตายลงจำนวนมาก
เน่อื งจากการแพทย์ยังไม่เจรญิ เมอ่ื มคี นในครอบครวั เจ็บป่วยชาวบา้ นกม็ ักใช้น้ำปูนสาดพ้ืนห้อง เพอื่ ฆ่าเชือ้ โรคและ
แยกผู้ป่วยออกต่างหาก ร้านค้าต้องใช้เชือกกั้นไม่ให้คนภายนอกเข้าร้านด้วยเกรงจะนำเชื้อโรคเข้ามาแพร่ แต่ก็ไม่
สามารถระงบั โรคร้ายน้ีได้ ยังคงมีคนตายจำนวนมากและโรคนร้ี ะบาดเกือบทุกปี ในทสี่ ดุ ชาวบ้านจึงได้พากันไปบน
บานต่อเจ้าพ่อ-เจา้ แม่ขอให้ช่วยปกป้องรักษาและไดน้ ำยันต์ของเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ที่เรียกว่า “ฮู้” มาเผาแล้วใส่น้ำตม้
ให้คนดื่มพร้อมกับได้มีการอัญเชิญเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ออกแห่รอบตลาดเพื่อเป็นการขับไล่โรคร้ายออกไปและนำมาซ่ึง
ความเป็นสิริมงคล ปรากฎว่าโรคระบาดก็หายไปราวปาฏิหาริย์ ตั้งแต่นั้นมาจึงถือเป็นประเพณีที่ต้องเชิญเจ้าออก
แห่ตลาดในเทศกาลตรุษจนี เพื่อแสดงความกตัญญกู ตเวทิตาคุณ และความเป็นสิริมงคลชีวิตและครอบครัว โดยได้
เพิ่มรูปขบวนและการละเล่นต่าง ๆ มากข้ึน

การละเลน่ จะจัดรวิ้ ขบวนการละเลน่ พ้นื เมืองต่าง ๆ ของจนี เขา้ รว่ มในขบวนแหง่ านแห่เจ้าแตเ่ ดิมนอกจาก
ขบวนอัญเชิญเจ้าพ่อเจ้าแม่แล้ว ยังมีการเชิดสิงโตกวางตุ้งหรือสิงโตว่องสิวร่วมอยู่ในขบวนแห่อย่างเดียว เมื่อผ่าน
ไปบ้านไหนถ้าเขาเชิญก็แวะเข้าไปแสดงที่บ้านนั้นพร้อมกับรับซองรางวัลที่เจ้าของบ้านเตรียมไว้ให้ ถ้าไม่เชิญก็จะ
ผ่านเลยไป อีกประมาณ 5-6 ปี ต่อมาก็มีขบวนล่อโก๊ว (ดนตรีจีน) เพิ่มเข้ามา ตามมาด้วยขบวนเขี่ยเปีย (สาวงาม
ถือธง) จากนั้นอกี 20 ปี ต่อมาก็มีสิงโตแคะ (สิงโตฮากกา) หลายปีต่อมาก็มเี สอื ไหหลำหลังจากนั้นอกี 10 กว่าปี ก็
เพิ่มเอ็งกอ (กลุ่มโจรผู้เทิดคุณธรรม 108 คนแห่งเขาเหลียงซาน มีการแต่งหน้าไม่ซ้ำแบบกันและฝึกหัดอาวุธคู่มือ
ต่าง ๆ จนแสดงได้พร้อมเพรียง) และท้ายสุด เมื่อ พ.ศ. 2506 ก็มีการนำมังกรทองมาร่วมขบวนแห่ด้วย เพราะถือ
ว่ามังกรเป็นสัตว์ชั้นสูงในเทพนิยาย เป็นเทพแห่งลมและฝนและเป็นสัญลักษณ์ของจักรพรรดิในอดีต เป็นสัตว์สิริ
มงคลทจ่ี ะนำโชคลาภมาให้ การเชิดมังกรจงึ กลายเป็นหัวใจของงานประเพณีน้ีในปัจจบุ ัน

ขบวนมังกรทอง ประกอบด้วยผู้แสดง (ผู้เชดิ ) ประมาณ 170 คน และตัวมงั กรยาว 56 เมตร ลักษณะของ
มังกรสร้างจากสัตว์ 7 ชนิด ได้แก่ หัวเป็นม้า ตัวเป็นงู ขาเป็นเหยี่ยว เขาเป็นกวาง จมูกไก่ หางเป็นปลา แก้มเป็น
สิงโต ตัวมังกรทำด้วยโครงไม้ไผห่ ุ้มดว้ ยผา้ เป็นสีทอง มีลายสีแดงและสเี ขียว ส่วนหัวใช้หวายและไม้ไผ่ทำโครงแลว้
ใช้กระดาษปดิ หวั มงั กรหนักประมาณ 20 – 30 กโิ ลกรัม จึงตอ้ งเปลี่ยนคนเชดิ บอ่ ย ๆ แมว้ ่ามังกรจะเปน็ การละเล่น
ท่นี ำเขา้ มาทีหลัง แตเ่ นื่องจากความยงิ่ ใหญ่และสวยงามของขบวน โดยเฉพาะการแสดงตอนกลางคนื ดวงไฟตา่ ง ๆ
ท่ีติดอย่ตู ามตัวมงั กรจะทให้มงั กรดูสวยงามมากยิ่งขน้ึ ประกอบดว้ ยลลี าการแสดงที่ตน่ื เต้นผสมผสานกับเสียงกลอง
อันเรา้ ใจ และเทคนิคการแสดงต่าง ๆ เช่น มังกรพลกิ ตัว พนั เสา พน่ ไฟ มงั กรเล่นน้ำ เล่นลกู แกว้ มงั กรเหนิ ฟ้า เป็น
ตน้ ทำให้ขบวนเชดิ มังกรทองกลายเป็นตวั เอกหรือจดุ เด่นของงานประเพณแี ห่เจา้ และหลังจากเสร็จสิ้นการแห่รอบ
ตลาดในเยน็ วนั ชิวส่ีแลว้ มังกรจะลงเล่นนำ้ ในบริเวณตน้ แม่นำ้ เจ้าพระยาหนา้ ศาลเจ้าชวั่ คราวริมเข่อื นดว้ ย

90

ภาพท่ี 6.15 การเชิดมังกร และ ของขวัญวันตรุษจนี
(การเชดิ มังกร และ ของขวัญวนั ตรษุ จนี , ม.ป.ป.)

ในดา้ นการจดั การแสดงในงานประเพณีแห่เจา้ นี้ได้ชใี้ ห้เห็นถึงการอนุรักษ์และการพฒั นา ในขณะเดียวกัน กล่าวคือ
ในขณะที่มีความพยายามที่จะรักษารูปแบบการละเล่นพื้นบ้านตามวัฒนธรรมเดิมของจีน แต่ได้มีการปรับหรือ
เพิ่มเติมเทคนิคและลีลาการแสดงที่ทันสมัยขึ้นโดยยังคงรักษาเค้าของเดิมเอาไว้ เช่น การเชิดมังกรทองมาจัดสดง
แสง เสียง รวมทั้งการนำแสงเลเซอร์มาใช้ ทำใหป้ ระเพณเี ชิดมังกรไทยยง่ิ ใหญ่ ท้ังน้กี ็เพอื่ ให้งานประเพณีแห่เจ้าพ่อ
เจา้ แม่ปากน้ำโพใหด้ ำรงอยู่ และเปน็ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมประจำจงั หวดั นครสวรรค์สบื ไป

6.2.3 การละเลน่ ท่ีเปน็ ศลิ ปะของการตอ่ สู้ ของภาคกลางท่นี ิยมเล่นสืบเน่ืองมามดี งั น้ี
(1) มวยไทย เป็นศิลปะการต่อสู้ แพร่หลายไปทั่วูมิภาคของประเทศไทย ศิลปะการชกมวยไทย

มีมาแต่เมื่อใดไม่ปรากฎหลักฐาน มีแต่ข้อสันนิษฐาน (ธิดา โมสิกรัตน์, 2542 : 678 – 679) ว่า มวยไทยเป็นวิชาท่ี
ฝกึ ฝนช้ันเชิงการต่อสู้ควบคู่มากับการเรยี นฟนั ดาบเพื่อใช้ต่อส้ใู นเวลาออกศึกสงคราม เมอ่ื พ้นเวลาสงครามก็นามา
ตอ่ สู้เลน่ พนันขันต่อกันเพื่อความสนุกสนาน การชกมวยไทยในสมยั ก่อนชกกันดว้ ยหมดั เปลา่ ๆสามารถใช้อวัยวะใน
ร่างกายต่อสู้กันทุกรูปแบบต่อสู้กันบนลานดิน ไม่มีกาหนดกติกาที่ชัดเจนต่อมาในสมัยอยุธยาตอนต้น มีการคาด
เชือกให้กับนักมวย คอื การใชด้ า้ ยดบิ มาพันมือท้ัง 2 ข้าง นกั มวยไทยท่ีมฝี ีมือเป็นท่รี ูจ้ ักกันในสมัยอยุธยา ได้แก่ นาย
ขนมตม้ พระเจา้ เสอื (ขุนหลวงสรศกั ด์ิ) พระเจา้ ตากสิน และพระยาพชิ ยั ดาบหกั


Click to View FlipBook Version