91
ลักษณะเดน่ ของมวยไทยคือ การใช้อวยั วะของร่างกายต่อสู้ได้อยา่ งรวดเรว็ และมีพษิ สงของการใช้หมัดชก
ถบี เตะ ศอก เข่า ดว้ ยแม่ไม้ และลูกไมม้ วยไทย
ภาพที่ 6.16 การละเลน่ ทีเ่ ป็นศิลปะการตอ่ สู้ “มวยไทย” (ภาคกลาง)
(มวยไทย, 2561)
แม่ไม้มวยไทยมี 15 ท่า สาหรับการใช้หมัด ศอก เข่าและเท้า มีชื่อเรียกตามลาดับดังนี้ สลับฟัน
ปลา ปักษาแหวกรัง ชวาซัดหอก อิเหนาแทงกริซ ยกเขาพระสุเมรุ ตาเถรค้าพัก มอญยันหลัก ปักลูกทอย จระเข้
ฟาดหาง หกั งวงไอยรา นาคาบดิ หาง วริ ุณหกกลับดับชวา ขุนยกั ษจ์ บั ลิง และหักคอเอราวัณ สาหรับลูกไม้มวยไทย
จะเรียนได้เมื่อฝึกแม่ไม้ชานาญแล้ว มีชื่อเรียก 15 ท่าคือ เอราวัณเสยงา บาทาลูบพักตร์ ขุนยักษ์พานาง พระถม
น้าวศร ไกรสรขา้ มหว้ ย กวางเหลียวหลงั หิรัญมว้ นแผน่ ดิน นาคมดุ บาดาล หนมุ านถวายแหวน มอญทอดแห ทะแย
ค้าเสา หงส์ปีกหัก สกั พวงมาลยั เถรกวาดลาน และผา่ นลูกบวบ
มวยไทย มีประเพณีสาคัญก่อนการชกมวย คือการไหว้ครูมวย จะเร่มด้วยการกราบ 3 ลา ท่ารา
ไหวค้ รู ทน่ี ยิ มราไดแ้ ก่ ราท่าเทพนม ราพรมสห่ี นา้ รานารายณ์นา้ วศร ในขณะราไหว้ครู จะมปี ี่มวย ซง่ึ ประกอบด้วย
ปี่ชวา กลองแขก ฉิ่ง บรรเลงประกอบทานองสะระหม่าหรือเพลงเจ้าเซ็น และในขณะชมดนตรีก็จะบรรเลง
เช่นเดียวกนั จังหวะเพลงจะรุกเร้าให้คูช่ กเกิดความฮึกเหิมเข้าต่อสั้น
ศิลปะการต่อสู้ของมวยไทย ไม่ใชแ่ ต่จะไดร้ บั ความนิยมเป็นกีฬาพื้นบ้านเล่นสบื เน่ืองมาแต่เฉพาะ
ในหมู่คนไทยเท่านั้น ปัจจุบันศิลปินมวยไทยได้รับความนิยมแพร่หลายไปยังต่างประเทศ ชาวต่างประเทศหันมา
นิยมฝึกมวยไทย ร่วมแข่งขันชิงความเป็นใหญ่ในศึกมวยไทยซึ่งมีการจัดการแข่งขันทั้งภายในประทศและ
ต่างประเทศ
92
(2) กระบี่กระบอง ประวัติของการเล่นกระบี่กระบองของไทย (อมรา กล่าเจริญ, 2542 : 41 –
42) กลา่ วไวว้ า่ คนไทยแต่โบราณมคี วามคล้ายคลงึ กนั กับชนชาติอนื่ ๆ คือจะมีความเปน็ นกั สู้อยู่ในสายเลือด เม่ือมา
อยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นคณะก็ยิ่งจะมีความผูกพันรักพวกพ้องรักหมู่คณะและประเทศชาติ จาเป็นที่ต้องฝึกหัด
วิชาการใชอ้ าวุธ ทั้งอาวุธยาวและอาวุธสน้ั เช่น กระบอง ไม้พลอง ดาบ กระบ่ี ทวน หอก และง้าว ตลอดจนฝึกการ
ใชเ้ คร่อื งรับเคร่ืองป้องกันกาบงั ตัว เชน่ โล่ เขน ดง้ั เพ่ือใช้ปกป้องหมู่คณะและประเทศชาติ ศิลปะแห่งการใช้อาวุธ
คู่มือ และเครื่องป้องกันกาบังตัวเหล่านี้มีความสาคัญที่จะช่วยให้ความปลอดภัยในการต่อสู้ วิชาการใช้อาวุธมีคา
เรียกเป็นคารวมที่มีความหมายเป็นที่รู้กันว่า “วิชากระบี่กระบอง” ซึ่งเป็นวิชาที่จะต้องฝึกหัดการใช้อาวุธให้
คลอ่ งแคลว่ เกดิ ความชานิชานาญ เกดิ เปน็ ศลิ ปะการต่อสโู้ ดยเฉพาะนักรบต้องฝกึ หัดใหช้ านาญทั้งบนพ้ืนดินและอยู่
บนพาหนะ จงึ ปรากฏวรี บุรุษของไทยทย่ี ่งิ ใหญ่และมีชอ่ื เสยี งในประวตั ิศาสตร์ ที่ล้วนแต่เปน็ ผู้ชานาญในการใช้อาวธุ
เหล่านีไ้ ดเ้ ปน็ อย่างดี เชน่ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ครงั้ เปน็ สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอในรัชกาลของสมเด็จพระราช
บิดา คือ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ (พ.ศ.1800 – 1820) เมื่อคราวชนช้างกับขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด และสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราช อีกพระองค์หนึ่ง เมื่อคราวทาสงครามยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาทายาทแห่งราชบัลลังก์พม่า
ได้ทรงใช้พระแสงของ้าวจว้ งฟนั พระมหาอปุ ราชาถึงแกท่ ิวงคตกลางสมรภูมิรบ เมอื่ พ.ศ.2185 ปรากฏตามพระราช
พงศาวดารว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถพระราชอนชุ าทรงชานชิ านาญในการใช้อาวุธ
และเครื่องปอ้ งกนั ตัวเปน็ อย่างมาก
มีระเบียบแบบแผนของไทยสืบมาแต่โบราณว่า วิธีการใช้อาวุธแต่ละอย่างแต่ละชนิด เรียกกันว่า
“เพลงกระบ”่ี “เพลงทวน” เพลงอาวธุ แตล่ ะชนดิ มศี ิลปะที่กาหนดเป็นแบบฉบบั เรียกเป็นตอน เช่น ตอนจู่โจมฟัน
ศัตรู ตอนตอ่ สู้ทารา้ ยศัตรู ตอนสงั หารศตั รู ตอนเยย้ ศัตรูและอื่นๆ ดว้ ยเหตนุ ้ี เพลงอาวธุ ท่ีกาหนดไว้แต่ก่อนจึงระบุ
ชือ่ เพลงไวเ้ ป็น เพลงรา เพลงรบ เพลงกราย และเพลงสกดั เป็นต้น นอกจากนี้ยังกาหนดใหใ้ ชป้ ี่ และกลอง บรรเลง
ประกอบให้เกิดความคึกคักและฮึกเหมิ ในขณะฝกึ ซ้อมการแสดง ในสัมยโบราณผู้ควบคุมฝึกหัดการใช้อาวุธเหล่านี้
เป็นเจ้ากรมกองธนา มีนามบรรดาศักดิ์ว่า “ราชมนู” ตามที่ปรากฏในกฏหมายศักดินา และบุคคลผู้ดารงใน
ตาแหน่งนี้ ทางราชการอาจเลือกผู้ที่รอบรู้มีฝีมือ เป็นผู้ดารงตาแหน่งทาหน้าที่ควบคุมฝึกหัดการใช้อาวุธให้ความรู้
ในกระบวนท่าวิชากระบี่กระบอง วิชากระบี่กระบองนอกจากจะเป็นอาวุธป้องกันตัวแล้ว ในสมัยโบราณนิยมเล่น
กระบี่กระบองเพื่อเป็นการแสดงประกวดอวดฝีมือกัน นิยมนาไปแสดงเป็นมหรสพเพือ่ ความบันเทิงของประชาชน
ในงานเทศกาลประเพณีตา่ งๆท้งั ที่เปน็ งานหลวงและราษฎรด์ ้วย
93
ภาพที่ 6.17 การละเล่นทเี่ ป็นศิลปะการต่อสู้ “กระบ่ีกระบอง”
(นติ ิภมู ิ, 2562)
กระบี่กระบองเป็นศิลปะของการต่อสู้ป้องกันตัว แต่ละสานักมีวิธีการเล่นที่เป็นแบบแผน
เดียวกัน 3 ประการ คือ การไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครูด้วยท่าถวายบังคม และการขึ้นพรหม ซึ่งมีท่าข้ึน
พรหมนัง่ และข้นึ พรหมยืน ตอ่ ดว้ ยท่าไมร้ ากระบ่ี 12 ไม้ เพือ่ เป็นการกระตุ้นอวัยวะของร่างกายให้ต่ืนตัว และเป็น
การลองเชิงดูท่าทีซึ่งกันและกัน ถ้าเล่นเป็นการสนุก ผู้เล่นจะเดินสวนทางกันแบบตรงหรือเดินสลับฟันปลา แต่ถ้า
เป็นการต่อสู้เชิงแข่งขัน เมื่อสิ้นสุดไม้ราจะกลับมานั่งที่เดิม เปล่ียนอาวุธเครื่องไม้ราเป็นเครื่องตี ถวายบังคมอย่าง
รวดเร็ว คานับครู ตามดว้ ยทา่ เดนิ แปลงเขา้ หากันเริ่มการต่อสู้
1) การตีกระบี่กระบอง มกี ารกาหนดชนิดอาวธุ ท่ีใชต้ ีไว้ชัดเจน เพอ่ื ไมใ่ ห้ได้เปรียเสียเปรียบซ่ึง
กันและกัน โดยมากจะเป็นอาวุธชนิดเดียวกัน ได้แก่ กระบี่ พลอง ง้าว และดาบสองมือนอกจากนี้มีการจับคู่อาวธุ
แต่ละชนิดส้กู ันตวั ต่อตวั ได้แก่ พลองกบั ศอก หรอื “ไมส้ น้ั ” ดาบสองมอื กับดาบกนั ด้ัง หรือดาบเขน ดาบโล่ ง้าวกับ
ดาบดง้ั และกระบี่ (ต่อส้กู นั 1 ต่อ 2 เรียกว่าสามบาน) และการตอ่ สเ็ ปน็ หมู่ เชน่ พวกหน่ึงตอ่ สกู้ บั อีกพวกหนึ่ง ซ่ึงผู้
เล่นจะเลอื กอาวธุ ไมห่ มอื นกนั ตามแต่ใครจะถนัดใชอ้ าวธุ ใด
2) ดนตรี ประกอบการเล่นกระบี่กระบอง ได้แก่ ปี่ชวา กลองแขก และฉิ่ง เพลงที่ใช้บรรเลง
ในช่วงทร่ี าไหวค้ รแู ละไม้รากระบี่ 12 ไม้ ใชท้ ่วงทานองจงั หวะชา้ เพือ่ อวดฝีมือและท่วงท่าในการใช้อาวุธ และจะใช้
ทานองเพลงและจังหวะเร็ว เนน้ ความฮกึ เหิมรวดเร็วในการใช้อาวธุ ตอ่ สู้
3) การแต่งกาย ใช้เครื่องแต่งกายที่รัดกุมเหมาะกับการเคลื่อนไหวในการต่อสู้ที่นิยม ฝ่ายชาย
แต่งกายนุ่งกางเกงสามส่วน สวมเสื้อลงยันต์ ศรีษะสวมสังเวียน ถ้าเป็นหญิงแต่งกายด้วยการนุ่งโจงกระเบน ห่ม
ตระเบงมาน จะสวมเสอ้ื กอ่ นห่มตะเบงมานด้วยก็ได้
94
กระบ่ีกระบองเป็นการละเลน่ พ้นื บ้านที่อวดศลิ ปะการต่อสปู้ ้องกันตัวดว้ ยอาวธุ ต่างๆ ตลอดจนการ
ใช้ชั้นเชิงมวยไทยผสมผสานในการละเล่นกระบี่กระบอง ให้เกิดความสนุกสนานและอารมณ์ตื่นเต้นแก่ผู้ดูผู้ชม
ตลอดเวลา
6.2.4 กีฬาพ้ืนบ้าน กฬี าพืน้ บา้ นที่เลน่ กันในภาคกลางมีหลายประเภท เช่น ลูกช่วง ชกั เยอ่ ตะกร้อ ชนไก่
ปลากัด แข่งเรือยาว หมากรุก ว่าว สะบ้าบ่อน สะบ้าทอย ฯลฯ กีฬาพื้นบ้านบางประเภท ปัจจุบันพบการเล่นไ ด้
เฉพาะงานประเพณขี องท้องถิน่ เช่น ลูกช่วง ชักเย่อ สะบ้า กีฬาพื้นบ้านบางชนดิ ยงั คงมีเลน่ อยูท่ ั่วไป เช่น แข่งเรอื
ตะกรอ้ หมากรุก ว่าว เปน็ ตน้
ตัวอย่างกีฬาพ้นื บา้ นภาคกลาง
(1) สะบ้า เป็นกีฬาพื้นบา้ นที่มเี ล่นในทุกภูมภิ าค การเล่นสะบา้ ภาคกลางมีเลน่ เป็นประเพณีของ
ทอ้ งถ่ินท่ีอาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการนิยมเลน่ กันในระหวา่ งเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี ชาวพื้นเมือง
ของออาเภอพระประแดงเป็นชาวรามัญ ดังนั้นลักษณะการเล่นและวัตถุประสงค์ในการเล่นเป็นไปตามแบบอย่าง
ของชาววรามัญ ซึ่งจะกล่าวถึงพอเป็นสังเขป (เอกสารแผ่นพับ ประเพณีการเล่นสะบ้า สงกรานต์พระประแดง,
ม.ป.ป) ดังนี้
สะบ้าเป็นที่ชาวรามัญเล่นกันอยู่มี 2 ชนิด คือ “สะบ้าบ่อน” เป็นกีฬาที่เล่นกันระหว่างหนุ่มสาว มี
วตั ถปุ ระสงค์เพือ่ เป็นการเช่ือมสมั พันธ์ไมตรี ลกู สะบา้ เป็นสื่อกลางใหห้ นมุ่ สาวได้พดู จาพบปะกัน สะบา้ อีกแบบหน่ึง
คือ “สะบ้าทอย” เล่นเฉพาะกันในหมู่ผู้ชายซึ่งต้องใช้กาลังและฝีมือในการเล่น มีการแข่งขันเอาแพ้เอาชนะและ
ออกในรูปแบบของการพนัน ในที่นี้จะขอกล่าวให้รู้จักเพียงการเล่นสะบ้าบ่อน ซึ่งเป็นการเล่นที่แส ดงออกถึง
วฒั นธรรมการเล่นกีฬาพ้ืนบา้ นทค่ี วรศกึ ษา
1) สถานท่เี ลน่ สะบา้ บอ่ น ใช้บรเิ วณใต้ถุนบา้ นหรือลานหน้าบ้าน ซงึ่ ฝา่ ยสาวจะเป็นู้จัดเตรียมไว้
เปน็ อย่างดี เรมิ่ ตั้งแต่การปรบั พ้ืนดินใหเ้ รยี บ เพือ่ สะดวกในการดีดและทอยใชไ้ ม้กระดานมากนั้ เป็นขอบ สงู จากพื้น
ประมาณ 6 น้วิ รอบเสาบา้ นทั้ง 4 ด้าน หรอื 3 ใน 4 ของพ้นื ทีใ่ ต้ถุนบ้าน ถ้าเปน็ ลานบ้านจะใช้ไม้กระดานกั้นขอบ
ประมาณ 4 x 5 นิ้ว สิ่งที่ขาดเสียมิได้ก็คือการตกแต่งบอ่ นให้สวยงาม มีโต๊ะรับแขก 1 ชุด พร้อมขันน้าพานรองกบั
กะละแม 1 จาน จดั วางอยดู่ า้ นหน้าบอ่ นเปน็ การต้อนรับแขกผู้มาชม
ภาพที่ 6.18 การเลน่ “สะบ้า”
(วารสารวัฒนธรรม, ม.ป.ป.)
95
2) อุปกรณ์ในการเล่น คือ ลูกสะบ้าของฝ่ายชายทาด้วยไม้มีสัณฐานกลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลาง 4
น้วิ ถึง 6 นิ้ว ลูกสะบ้าของฝา่ ยหญิงมสี ณฐานกลมแบนเช่นเดียวกนั มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 น้วิ ถึง 2 นิ้ว ทา
ด้วยงาช้าง เขาควาย หรือทองเหลอื ง
3) ผู้เล่น จานวนผูเ้ ล่นไม่จากัด ทั้งนี้แลว้ แต่ขนาดของบ่อน ส่วนใหญ่จะเล่นกันประมาณ 8 คู่ ชาย
หญิงในหมบู่ ้านเดียวกันจะไม่เล่นด้วยกนั เนอื่ งจากผู้เล่นเป็นญาติพ่ีน้องกนั ผู้เล่นไมว่ ่าจะเป็นหญิงหรือชายต้องแต่ง
กายในชุดรามัญอย่างเรียบร้อย ต้องมีกิริยาวาจาสุภาพตลอดเวลา โดยปกติฝ่ายชายจะนาดนตรีอันประกอบด้วย
เปิงมาง ซอ ฉิ่ง มาด้วยเพื่อเป็นการเล่นกล่อมบ่อนมิให้เงียบเหงา หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกปรับแพ้เพราะผิดกติกา
ดนตรีจะบรรเลงคลอเสียงรอ้ งเพลงทะแย
4) วิธีการเล่น ได้กล่าวแลว้ ว่าเม่ือเล่นสะบา้ ฝ่ายหญิงเป็นฝา่ ยจัดทาบ่อน จึงเรียกว่า เจ้าของบ่อน
ก่อนจะเล่นฝ่ายชายต้องไปติดต่อขอเล่นกับหัวหน้าฝ่ายหญิงเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะเล่นได้ ฝ่ายหญิงจะให้
เกยี รตแิ กฝ่ า่ ยชายเปน็ ผ้เู ล่นก่อนในฐานะแขกต่างบ้านทุกครง้ั ไป ส่วนฝา่ ยชายน้ันไมค่ นุ้ กบั ท่าเล่นสะบา้ ของฝ่ายสาว
จึงต้องถามก่อนเล่นทุกท่าตั้งแต่ท่าแรกจนท่าสุดทา้ ย การถามถือว่าเป็นโอกาสอย่างหนึ่งที่หญงิ ชายจะได้พูดจากัน
นอกจากน้ีเม่ือฝ่ายหนึ่งฝา่ ยใดโยนหรือดีดลูกสะบ้าไปไม่ถูกคู่ของตนก็จะหาโอกาสเขา้ ไปพดู เพ่ือขอโยนหรือดีดใหม่
ซ่ึงส่วนใหญท่ ี่เข้าไปขอต่อรองจะเปน็ ฝ่ายชายมากกวา่
ท่าต่างๆในการเล่นหมู่บ้านมอญในอาเภอพระประแดงปัจจุบันมี 13 หมู่บ้าน แต่ละหมู่บ้านจะมี
จานวนและท่าเล่นที่แตกต่างกัน แต่จะมีเฉพาะทา่ แรกคือ “ขินเติง” และท่าสุดท้ายคือ “อะลองเดิง” ที่เหมือนกัน
ทุกหมู่บา้ น
(2) ตะกรอ้ เปน็ กฬี าพื้นบา้ น เล่นเพ่ือออกกาลังกายในยามวา่ งของชาวบา้ นทวั่ ไปนิยมเลน่ กันเป็น
วงหรอื เปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 3-6 คน ผู้เล่นส่วนใหญเ่ ปน็ ผชู้ ายอายรุ ุ่นราวคราวเดียวกันแต่ไม่จากัดอายุ เมื่อผู้เล่นตกลง
นัดหายไปเตะตะกรอ้ กันแล้ว ต้องหาสนามทีเ่ ป็นลานเรียบโล่งขนาดกว้างพอสมควร ส่วนมากใช้ลานหนา้ บ้านหรือ
ลานวัดอาจเป็นลานดินหรือลานหญ้าก็ได้ กลุ่มผู้เล่นทั้งหมดจะมายืนเป็นวงกลมหันหน้าเข้าหากัน โดยเว้น
ระยะห่างแต่ละคนให้พอที่จะยกขาเตะลูกตะกร้อลูกเดียวต่อหนึ่งวงลูกตะกร้อสานด้วยหวายเหลาเป็นเส้นเล็กๆ
จานวน 3 เส้น เรียงร้อยขัดเปน็ ลูกกลมๆขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลางประมาณ 4-5 นิ้ว มีช่องเป็นตาโปรส่ ลับอยู่รอบลกู
บางทีใช้หวายชนิดลาเล็กสานทั้งลาต้นโดยไม่ต้องผ่า แบ่งเป็นเส้นเล็กๆนับเป็นอุปกรณ์การเล่นที่ประดิษฐ์ขึ้นจาก
ทรัพยากรธรรมชาตทิ ีม่ อี ยู่ในท้องถ่ิน
เมื่อเริ่มเล่นตะกร้อหรือเตะตะกร้อ เริ่มที่คนใดคนหนึ่งโยนลูกตะกร้อไปใหเ้ พ่ือนในวงที่อยู่ตรงกัน
ข้าม กะให้พอดีที่ฝ่ายรับจะใช้เท้าเตะได้ ผู้รับอาจเตะด้วยส่วนใดของเท้าก็ได้แต่ต้องใช้ความสามารถโต้ให้ลูก
ตะกร้อกระดอนกลับไปให้ผู้เล่นคนอื่นๆได้เล่นเมื่อลูกกระดอนมาตรงกับผู้เล่นคนใด คนนั้นก็จะพยายามใช้ส่วน
ตา่ งๆของรา่ งกายกระทบกบั ลูกตะกร้อให้กระดอนกลบั ไปหาผเู้ ล่นคนอ่ืนๆท่ีอยใู่ นวงโดยไมใ่ ห้ลูกตกพน้ื และห้าใช้ฝ่า
96
มอื รบั ลกั ษณะท่าท่ีอวัยวะสว่ นต่างๆของร่างกายรบั ลูกตะกร้อให้กระดอนกลับไปไดน้ นั้ ได้แก่ ลูกแป ลกู หลงั เท้า ลูก
ข้างเท้า ลูกกระโดดพับเพียบ ลูกหลัง ลูกไหล่ ลูกโหม่ง และอาจเล่นพลิกเพลงเล่นลูกวงข้าง ลูกวงหลัง และลูก
กระโดดพับเพียบก็ได้ เวลาที่เล่นอาจนานเป็นชั่วโมงโดยมุ่งให้อวัยวะทุกส่วนได้ออกกาลังกายเป็นสาคัญ ความ
สนุกสนานอยู่ที่การใช้ความชานิชานาญและความสามารถเฉพาะตัวในการเล่นลูกไม่ให้ลูกตะกร้อตกลงพื้นได้นาน
ที่สดุ
ในปัจจุบัน การเล่นตะกร้อได้พัฒนาทั้งรูปแบบและประเภท เช่น ตะกร้อวง ตะกร้อห่วง
เซปักตะกร้อ หรือที่เรียกว่า ตะกร้อข้ามตาข่าย โดยปรับกติกาการเล่นรวมทั้งวัสดุที่ใช้สานลูกตะกร้อเพื่อให้
เหมาะสมกับกาลสมยั จนได้รับการบรรจเุ ข้าเป็นกฬี าประเภทหน่ึงในการแข่งขันระดับชาติและระดับประเทศ
(3) ว่าว ว่าวเป็นกีฬาพื้นบ้านที่นิยมเล่นสืบเนื่องมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กีฬาเล่น
ว่าวของภาคกลางจะเล่นในระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม เพราะเป็นฤดูที่มีลมมาสู่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ พัดลงสู่มหาสมุทร ว่าวที่ใช้แข่งขันเปน็ กฬี าของภาคกลางคือว่าวจุฬาและวา่ วปกั เปา้ แข่งขัน
โดยการบังคับสายป่านให้เกี่ยวกันเมื่อเกี่ยวกันไดต้ ่างฝ่ายต่างยือ้ กันดึงว่าวของฝ่ายตรงข้ามให้ตกลงยันฝา่ ยของตน
เพ่ือไดร้ บั ชยั ชนะ
นอกจากนี้ยังมีว่าวที่เล่นกันโดยไม่ได้แข่งขัน เช่น ว่าวอีลุ้ม ว่าวผีเสื้อ ว่าวนก ว่าวงู ว่าวทุกชนิดจะมีการ
ตกแต่งและระบายสีสดใส เป็นการจงู ใจใหซ้ อื้ หามาเล่นตามความพอใจ
สรปุ
เพลงและการละเล่นพ้ืนบ้านของภาคกลาง จะมจี านวนมากกว่าการเลน่ พ้ืนบา้ น ภาคอ่นื ๆ อาจเปน็ เพราะ
มีกรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวง จานวนจังหวัดมีมากถึง 22 จังหวัด รวมทั้งกรุงเทพมหานคร มีประชากรมาก
หลากหลายเชื้อชาติ ทาให้มีวัฒนธรรมการเล่นเพ และการละเล่นพื้นบ้านต่าง ๆ มีหลากหลายตามเชื้อชาติและ
ทอ้ งถน่ิ ของประชากรไปด้วย
เพลงพื้นบ้านภาคกลาง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เพลงพื้นบ้านที่เล่นได้เฉพาะ ฤดูกาลและเทศกาล
เพลงพน้ื บ้านทเ่ี ลน่ ไดท้ กุ ฤดูกาล
เพลงพื้นบ้านที่เล่นได้เฉพาะฤดูกาล เล่นในหน้าน้า ได้แก่ เพลงเรือ เพลงครึ่งท่อน เพลงหน้าใย และเพลง
ราภาข้าวสาร
เพลงที่นิยมเล่นในฤดูกาลเก็บเกี่ยว ได้แก่ เพลงเกี่ยวข้าว เพลงกา เพลงเต้นกา (ราเคียว) เพลงจาก เพลง
สงฟาง เพลงโอก เพลงพานฟาง เพลงสงคอลาพวน เพลงเตะข้าว เพลงชักกระดาน เพลงที่เล่นในเทศกาลตรุษ
สงกรานต์ ได้แก่ เพลงช้าเจ้าโลม เพลงพษิ ฐาน เพลงพวงมาลัย เพลงยั่ว เพลงระบาบ้านไร่ เพลงคลอ้ งช้าง เพลงชัก
เย่อ เพลงเทพทอง เพลงปรบไก่ เพลงพาดควาย เพลงจาปจี าปา เพลงฮิลเลเล เพลงระบาบ้านนา เพลงแห่นางแมว
เพลงทรงเจ้าเข้าผี
97
เพลงพื้นบ้านที่เล่นได้ไม่จากัดฤดูและเทศกาล ส่วนใหญ่เป็นนักเพลงในระดับอาชีพ มีความชานาญใน
กลอนเพลงรับจ้างเล่นในงานต่าง ๆ ได้แก่ เพลงไก่ป่า เพลงเทพทอง เพลงฉ่อย เพลงทรงเครื่อง เพลงโขลกแป้ง
เพลงลาตัด เพลงแอ่วเคล้าซอ เพลงอีแซว ยกเว้นเพลงขอทาน เพลงกล่อมเด็ก และเพลงพาดควาย เพลงเหล่านี้
บางเพลงยงั คงเลน่ อยูใ่ นปจั จุบนั แต่บางเพลง ได้สูญหายไปแล้ว เช่น เพลงไก่ป่า เพลงพาดควาย เป็นต้น
การละเล่นพื้นบ้านต่าง ๆ ของภาคกลาง ได้แก่ การละเล่นในรูปแบบของการแสดง เพื่อความบันเทิง
การละเล่นทีเ่ ป็นพิธกี รรม การละเล่นทีเ่ ป็นศลิ ปะของการต่อสู้และกีฬาพื้นบา้ น
การละเล่นในรูปแบบของการแสดงเพื่อความบันเทิงประเภท รา ระบา ไดแ้ ก่ ราวง รากลองยาว และยังมี
ระบาในแนวประดิษฐ์โดยนาเอาอุปกรณ์พื้นบ้านมาเป็นส่วนประกอบ ในการรา เช่น ระบาพัด ระบาตุ๊กตาชาววัง
ระบาจักสาน ระบาปั้นหม้อ ระบางอบ ระบากลอง และการแสดงพื้นบ้านที่เล่นเป็นเรื่องราวได้แก่ ละครพื้นบ้าน
ลิเก หนังสด หนังใหญ่ ห่นุ กระบอก ห่นุ ละครเล็ก โขนชักรอก การเล่นเสภา เปน็ ตน้
การละเล่นในรูปแบบของการแสดงที่เป็นพิธีกรรม อันสืบเนื่องมาจากความเชื่อ ได้แก่ การราถวายมือแก้
บน รามอญ เจ้า การเล่นเชิดมงั กรทอง เป็นต้น
การละเลน่ ท่ีเปน็ ศิลปะของการต่อสขู้ องภาคกลาง ไดแ้ ก่ มวยไทย กระบ่ีกระบอง
กีฬาพื้นบ้าน ได้แก่ การเล่นลูกช่วง ชักเย่อ ตะกร้อ ชนไก่ กัดปลา แข่งเรือยาว หมากรุก ว่าว และสะบ้า
บ่อน เป็นต้น
เพลงและการละเล่นพื้นบ้านภาคกลาง ถึงแม้ว่าจะมีแนวโน้มว่าเริ่มจะลดน้อยลง เพราะสภาพแวดล้อม
ขาดการสืบทอดการละเล่นจากผู้รู้และผู้ที่เล่นที่มีอายุมากประการหนึ่ง หรืออิทธิพลของการแสดงการละเล่นของ
ทางตะวันตกเข้ามา ทาให้ความนิยมไทยน้อยลง ประการหนึ่ง เพลงและการละเล่นภาคกลางที่ยังคงมีอยู่ เพราะ
ส่วนหนึ่งของเพลงและการ ละเล่นพื้นบ้าน ยังมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของชุมชน และในปัจจุบันมีหน่วยงานท้ัง
ราชการ เอกชน และสถานศึกษา หลายแห่งยงั เหน็ ความสาคัญสนบั สนุนให้มกี ารรอื้ ฟ้นื สบื ทอด พัฒนา รปู แบบการ
เล่น ร่วมมอื กัน ทาการเผยแพร่และอนรุ ักษไ์ ว้ ใหค้ งอยู่เปน็ มรดกของท้องถ่ิน และของประเทศชาติสืบไป
98
เอกสารอ้างอิง
กฤษณา คงยิ้ม. (2539). การวิเคราะห์เพลงประกอบการเล่นเพลงพื้นบ้าน จากตาบลเขาทอง อาเภอพยุหะคีรี
จงั หวดั นครสวรรค.์ สถาบนั ราชภัฏนครสวรรค์.
คณะกรรมการประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, สานักนายกรัฐมนตรี. (2542 ง). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดชัยนาท. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ
กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม
2542).
__________. (2542 ญ). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดนนทบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ฟ). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดลพบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ย). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสุพรรณบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ว). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอ่างทอง.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
คณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ, สานักงาน. (ม.ป.ป.). ศลิ ปะมวยไทย. กระทรวงศกึ ษาธิการ.
จักรพรรณ์ อาบครบรุ ี และภคั รมัย โปตระนันท.์ (2546). ทวี ีแมกกาซนี ฉบับพเิ ศษละครทีว.ี แอนเิ มท กรปุ๊ .
ดารงราชนภุ าพ, สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา. (2507). ตานาอิเหนา. พระจนั ทร.์
ธิดา โมสิกรัตน์. (2542). “การละเล่นพื้นบ้านไทย” ศิลปะการละเล่นและการแสดงพื้นบ้าน หน่วยที่ 12.
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
นครสวรรค์,วทิ ยาลยั ครู. (2543). จังหวัดนครสวรรค์. วิทยาลยั ครูนครสวรรค.์
นาฏดรุ ยิ างค,์ สถาบนั . (2542). วพิ ิธทัศนา. กรมศลิ ปากร
99
บุญศิริ นิยมศักดิ์. (2543). รามอญเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. [วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต
คณะศิลปกรรมศาสตร,์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ].
มนตรี ตราโมท. (2526). “ละครชาตร”ี ปกณิ กะเก่ยี วกับนาฏศลิ ปแ์ ละการละเลน่ ของไทย. เจริญวทิ ยก์ ารพิมพ์.
ศิลปากร, กรม. (2514). ราวง. กรมศลิ ปากร.
ศูนย์การทหารปืนใหญ่ ค่ายพหลโยธิน จังหวัดลพบุรี. (2540). อนุสรณ์ครบรอบ 100 ปี ฯพณฯ จอมพล
ป. พิบูลสงคราม 15 กรกฎาคม 2540. กรมทหารปืนใหญ่.
สุภร โอเจริญ. (2538). “เจ้าพ่อเจ้าแม่เมืองแหล่งปากน้าโพ” ชีวิตไทยชุดบรรพบุรุษของเรา. สานักงาน
คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
อมรา กล่าเจริญ. (2537). งานวิจยั เรอ่ื งละครชาตรีจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา. จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
__________. งานวิจยั เรอื่ งเพลงเรืออยุธยา. สถาบนั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา.
อเนก นาวิกมลู . (2523). เพลงนอกศตวรรษ. สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาต.ิ
__________. (2531). คนเพลงและเพลงพืน้ บ้านภาคกลาง. สานกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาต.ิ
__________. (2542). “เพลงพื้นบ้านภาคต่าง ๆ” ศิลปะการละเล่นและการแสดงพื้นบ้านไทย หน่วยที่ 11.
(พมิ พ์คร้งั ที่ 3) มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช.
__________. (2542). “ซอ” ศิลปะการละเล่นและการแสดงพื้นบ้าน หน่วยที่ 8. (พิมพ์ครั้งที่ 3).
มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช.
บทท่ี 7
เพลงและการละเลน่ พนื้ บา้ น
ภาคตะวนั ออก
ประชากรของภาคตะวันออกใน 7 จังหวัดมีหลายเชื้อชาตินอกจากคนไทยแล้วยังมีเชื้อชาติ มอญ เขมร
ลาวเวียง ลาวพวน ที่อพยพมาอยู่มากกว่าศตวรรษ การมีประชากรหลายเชื้อชาติและหลายเผ่าพันธุ์ทาให้มี
วัฒนธรรมการเล่นเพลง และการละเล่นพื้นบ้านต่างๆหลากหลาย แต่ละชุมชนได้อนุรักษ์การละเล่นของตนไว้เป็น
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม เพลงและการละเล่นพื้นบ้านของภูมิภาคนี้จึงไม่เด่นชัดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน
ความเป็นพื้นบ้านที่มีอยู่จึงลดน้อยลงเพราะขาดการสืบทอด และผู้ที่เคยเล่นอายุมากสภาพทางร่างกายไม่อานวย
คนรุน่ ใหมผ่ ้สู บื สานต่อจะเป็นลักษณะผสมผสานทาใหห้ นว่ ยงานของทางราชการต้องพยายามนาการละเล่นพ้ืนบ้าน
ที่มีอยู่มารื้อพื้น นาออกแสดงเพื่อเผยแพร่สร้างสรรค์งานการแสดงขึ้นใหม่ โดยยึดหลักฐานทางประวัตศิ าสตรข์ อง
ทอ้ งถิ่น เพอ่ื ให้เปน็ เอกลักษณ์ทางวฒั นธรรมของภาคตะวันออกสืบตอ่ ไป
เพลงและการละเล่นพื้นบ้านที่เคยมีและยังมีเล่น ในปัจจุบันได้แก่ การละเล่นพื้นบ้านเพื่อความบันเทิง
การละเลน่ ทเ่ี ป็นพิธกี รรม ศลิ ปะการละเลน่ ในรูปแบบของการต่อสู้ และกีฬาพ้นื บา้ น
หลงั จากศกึ ษาบทน้ีแลว้ นักศกึ ษาควรเกิดแนวคดิ ต่อไปนี้
1. เพลงและการละเลน่ พื้นบ้านภาคตะวันออก มีความแตกต่างกันตามถิ่นที่อยู่อาศัยของชมุ ชนแต่ละกลมุ่
และเผา่ พนั ธุ์
2. การเล่นเพลงและการละเล่นพื้นบ้านส่วนใหญ่สืบเนื่องมาจาก ความเชื่อทางศาสนา ความเชื่อใน
วญิ ญาณบรรพบุรษุ ท่เี กย่ี วข้องกับการประกอบอาชีพ การดารงชวี ิตของชนในท้องถ่ิน
101
7.1 เพลงพื้นบา้ น
จากการเก็บข้อมูลในพื้นที่ที่เป็นแหล่งข้อมูลและข้อมูลที่ได้จากเอกสารตาราที่เกี่ยวข้อง พบว่าการเล่น
เพลงและการละเล่นพื้นบ้านของภูมิภาคนี้มีหลากหลาย และมีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของกลุ่มชน เพลงและ
การละเล่นจึงมีรูปแบบวิธีการเล่นที่แตกต่างกันไปตามเผ่าพันธุ์ของชุมชนในถิ่น ที่อยู่อาศัย เช่น เพลงอาไย เพลง
หงส์ เพลงผคี รก เพลงผหี งิ้ เพลงซอง เพลงไอ้เป๋ เพลงทะแยมอญ เพลงระบา หมอลา เจรียงกนั ตรึม เพลงพ้ืนบ้าน
ดงั กล่าวน้โี ดยทว่ั ไปจะเลน่ เพื่อความบันเทิง ถงึ แมบ้ างเพลงจะเกี่ยวกับความเชื่อในเรื่องของการทรงเจ้าเข้าผี ก็ยัง
เน้นในเรื่องของความบันเทิง และมกี ารเลน่ กนั มากในเทศกาลและประเพณสี าคญั ของท้องถิน่
ตวั อย่าง เพลงพืน้ บา้ นของภาคตะวันออก
7.1.1 เพลงอาไย เป็นการเล่นเพลงพื้นบ้านของชาวบ้านตามูลล่าง ตาบลทรายขาวอาเภอโป่งน้าร้อน
จังหวัดจันทบุรี หมู่บ้านนี้ใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาพูด ดังนั้นการเล่นเพลงอาไยจึงมีสาเนียงการร้องเป็นภาษาเขมร
ประวัติทมี่ าของการเล่นเพลงอาไย (สานกั นายกรฐั มนตรี, 2542 ค : 1 13) ได้นามาเผยแพร่โดยชาวเขมร มลี กั ษณะ
การเลน่ คล้ายกับการเล่นลาตดั ของไทยทางภาคกลาง โดยมกี ารรอ้ งโต้ตอบกันระหวา่ งชายและหญิง คาร้องจะเป็น
กลอนสดโดยใช้วิธีการด้นเพลงเองโดยไม่ใช้ตารา เนื้อร้องส่วนใหญ่จะเป็นบทเกี้ยวพาราสีหรือโต้ตอบว่ากล่าวกัน
ระหว่างฝ่ายหญิงและฝ่ายชาย ทานองที่ใช้ในการร้องเป็นทานองพิสมัยสักวา และอาไย เนื้อร้อง ใช้ภาษาเขมร ซ่ึง
ประกอบด้วย ผู้เล่นเคร่อื งดนตรีกบั ผู้ร้อง ในการเลน่ เคร่ืองดนตรผี ู้เลน่ จะนัง่ ล้อมวง ใชผ้ ู้รอ้ งชาย 1 คน หญิง 1 คน
เป็นอย่างน้อย ขณะร้องจะต้องราประกอบไปด้วย เพลงอาไย จะใช้เล่นในพิธีต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนานหรือเลน่
ตามงานทีเ่ จา้ ภาพว่าจ้าง
ลาดับข้ันตอนการเล่นอาไย ต้องมีการทาพิธีไหวค้ รู การจดั ตง้ั พิธี ประกอบดว้ ยบายศรี หวั หมู เหล้า ดอกไม้
ธูป เทียน เมื่อทาพิธีไหว้ครูเสร็จ มีการเล่นละครคล้ายกับละครนอกของภาคกลาง เรื่องที่เล่นก็คล้ายคลึงกัน เช่น
พระทนิ วงศ์ ลกั ษณวงศ์ สุวรรณหงส์ ล้วนแล้วเปน็ เรอ่ื งเกย่ี วกับจักร์ๆ วงศๆ์ ใช้ตวั ละครมากน้อยแล้วแต่เร่ืองที่เล่น
การร้องใช้สาเนยี งการร้องภาษาเขมร ตอนจบจะมีการเล่นอาไยทุกคร้ัง แต่ปจั จุบนั นค้ี งเหลือแต่การเล่นอาไยเพียง
อย่างเดยี วเทา่ นั้น
เครือ่ งดนตรี ไดแ้ ก่ ซออู้ ซอด้วง กลอง (ภาษาเขมรเรียก สะกอน) ฉง่ิ ขิม โหมง่ เลก็ (ลักษณะคลา้ ยกีตาร์)
7.1.2 เพลงชอง เป็นเพลงร้องพื้นบ้านของชาวชอง ซึ่งเป็นชนเผ่าดั้งเดิมที่อาศัยอยู่แถบตาบลตะเคียนอง
และตาบลคลองพลู กิ่งอาเภอเขาคิชกูฏ จังหวัดจันทบุรี เนื้อหาในเพลงชองจะมีเพลง 3 แบบ คือ เพลงแต๊ะตุน
เพลงตโุ ต้ เพลงจดู๊ จดู๊ เพลงชองรอ้ งไดท้ ้ังชายและหญิง ร้องเลน่ กนั ไดต้ ลอดท้ังคืน นิยมร้องตอนเล่นสะบ้า และงาน
ตรุษสงกรานต์
102
ตวั อย่าง เนื้อรอ้ ง เพลงชอง (สานักนายกรฐั มนตรี, 2542 ค : 116 -117)
เพลงแตะ๊ ตนุ
(สร้อย) แต๊ะตนุ เหวเอย แตะ๊ ตนุ เหวเอย
ดักอีนตี่ตั้ง (เขามีท่เี หน็ )
ปัดหยงั่ เร็วเรว็ (เขาทั้งเราจรงิ ๆ)
เพลงตุโต้
(สร้อย) ตุโต้สินาเป้ือนโต้
ดกั อีนต่ีตั้ง (เขามีทีเ่ หน็ )
ปัดหยัง่ กี่โอ (เขาทั้งเราเมื่อคืน)
ตโุ ตส้ ินาเปือ้ นโต้
เพลงจูด๊ จูด๊
จ๊ดู จดู๊ อีกวางจดู๊ จู๊ด (เรียกหมาชือ่ อีกวาง)
เจอเตีย้ วป้างป้าง (ไปเที่ยวเช้าๆ)
ตัง้ กะยางโฮยต๊ิบ (กลบั มาถงึ บา้ น)
ชอบปลอ้ งพอ่ งจว๋ิ กรุ๊บ (กนิ ข้าวกับแกงมะเขือ)
จูด๊ จดู๊ อีกวางจดู๊ จดู๊
7.1.3 เพลงไอ้เป๋ หรือเพลงเป๋ เป็นกลอนเพลงปฏิพากย์ชนิดหนึ่ง ใช้คาร้องตีฝีปากโต้คารม ร้องเกี้ยวพา
ราสีบ้าง หรือเสี่ยงสัตย์อธิษฐาน ร้องเป็นกลอนสั้นๆ ฟังดูบางตอนจะคล้ายเพลงโคราช บางท่อนเหมือนเพลงฉ่อย
แต่ลูกเอื้อนตอนท้ายแตกต่างกัน เพลงไอ้เป๋เป็นการแสดงพื้นบ้านของชาวบ้านเก่า ตาบลตาขัน อาเภอบ้านค่าย
จังหวดั ระยอง ช่ือเพลงดเู หมือนจะไม่พบในจังหวัดใด ๆ เมอื่ เอ่ยถึง "เพลงไอ้เป"๋ คงมแี หง่ เดียวอยู่ท่ีบ้านเก่าจังหวัด
ระยองเท่านั้น เพลงไอ้เป๋ ที่บ้านเก่า ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นต้นคิดแสดงและมีมานานเท่าใด เพียงแต่เป็น
เรื่องเล่าสืบต่อ ๆ มาว่า สาเหตุที่เรียกว่า "เพลงไอ้เป๋" เพราะมีครูเพลงที่มาร้องมาสอนเดิมเป็นคนขาพิการซึ่งคน
ทั่วไปเรียกว่า "ขาเป๋" ได้อพยพมาจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเข้ามาอยู่ที่บ้านเก่า ตาบลตาขัน อาเภอบ้านค่าย
เป็นผู้นาการเล่นชนิดนี้มาเผยแพร่ที่หมู่บ้านเก่า อาจเป็นเพราะการเล่นเพลงดังกล่าว แตกต่างกับเพลงฉ่อยหรือ
เพลงอีแซวในภาคกลางและไมม่ ีชือ่ เรียก ชาวบ้านจงึ ให้ช่ือเพลงตามลกั ษณะของครเู พลงวา่ "เพลงไอเ้ ป"๋
ตวั อยา่ ง เพลงไอ้เป๋ บทไหว้ครู บทเกรนิ่ และบทชมโฉม (สานกั นายกรฐั มนตรี,2542 ผ : 91 - 92)
บทไหวค้ รู
(หญิง) เอย ...เอ๋ย
มอื ของลกู สิบน้อย ยกนิว้ หวา่ งค้วิ ไวเ้ หนือเกศ
จะไหว้พระพุทธพระสงฆ์ ที่ท่านไดท้ รง ทวี.. เอย ..ไว้
103
(ลูกคู)่ จะไหว้พระพุทธพระสงฆ์
จะไหวพ้ ระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ ทีท่ ่านได้ทรง ทว.ี .เออ.. ไว้
ชา เอ๋ ชา ทิ ฉ่าชาหน่อย นอยนอยน้อย นอย ละหนอ่ ย
นอ นอ ละหน่อย
(หญงิ ) จะไหวพ้ ระพุทธทลี่ ้า จะไหว้พระธรรมทีเ่ ลศิ
ไหวค้ ณุ พระสงฆ์องคป์ ระเสรฐิ ท่เี กดิ อยู่ในศาสนา
จะไว้พระภมู เิ จ้าท่ี ไหว้คณุ อัคค.ี . คงคา..เอย..ไร
(ลกู ค)ู่ รบั คาสุดทา้ ยทานองเดยี วกับบทแรก
บทเกร่นิ
(ชาย) พีม่ ากอ่ นกาลตั้งกอง พ่ีมารักน้องเมื่อเกย แมช่ อ่ อัญชัน
อบเชยน้องรัก อยา่ ผกู ความชัง อีแม่เกสรดอกสกั
นอ้ งไม่เห็นความรักของพ่ีหรือยัง..ไร
(หญงิ ) แม่หนไู ด้ยินเสียงหวาน เสยี งชายมาพานหูแว่ว
นอ้ งคิดไมร่ ้แู ล้ว อยู่เสยี ในอารมณล์ ันเหลือ อนิจจาพ่อเสยี น
ลอยฟ้าพอ่ เอย๋ ลอยมาแตเ่ มื่อ...ไร
บทชมโฉม
(ชาย) พจ่ี ะชมโฉม อีแม่คนท่ตี ้น รปู รา่ งสวยลันกวา่ ใคร
เปน็ ลูกใครหนอ พ่อแม่ช่างทา อว้ นกระจา้ ม่ากว่าใคร
ดูหนา้ ออกโบ้ คางออกเบ้า หว่างขาเหมือนอยา่ งเตา่ หมอบตาย
(หญงิ ) พ่ีมาชมโฉม แมค่ นท่ีต้น รูปรา่ งสวยลันกวา่ ใคร
ดหู น้าออกโบ้ คางออกเบา้ หว่างขาเหมือนอย่างเต่าหมอบตาย
ของดีทแี่ ม่ซ่อนเร้น เอ็งมดุ เข้ามาเหน็ เมอื่ ไร
เอง็ มองเขมน้ ให้เห็นในผ้า วา่ มันโตเท่าหน้าเอ็งได้ไหม
7.1.4 เพลงระบา เป็นการละเล่นพ้นื บ้านเก่าแก่ของชาวชนบท ซงึ่ นยิ มเลน่ มากในจังหวัดปราจีนบุรี และ
นครนายก ในสมัยที่เพลงระบากาลงั ได้รับความนิยมนัน้ แม้แต่เด็กๆก็สามารถรอ้ งเล่นกนั ได้ เพราะว่าได้ยินได้เหน็
อยเู่ ปน็ ประจา
(1) วิธีเล่น จะตั้งวงเล่น แต่ละวงเล่นกันโดยมีหนุ่ม ๆสาว ๆ ต่างหมู่บ้านมาว่าเพลงระบาเกี่ยวกับการ
ซกั ถามข้อความต่าง ๆ ซึง่ กันและกัน ต่อมาแพร่หลายไปเรื่อย ๆ จนมีผตู้ ั้งคณะข้ึน ตระเวนไปรบั จา้ งแสดงตามงาน
ต่าง ๆ เช่น แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ โกนจุก หรืองานศพ ผู้เล่นมีฝ่ายชาย และฝ่ายหญิงคอยช่วยกันร้อง ฝ่ายชาย
เรยี กว่า "พ่อระบา" ฝา่ ยหญงิ เรยี กว่า "แม่ระบา" ซึ่งไม่น้อยกว่าขา้ งละ 2 คน ตามส่วนจะต้องมีหญิงและชายเท่า ๆ
104
กนั หรอื ตามแต่เจา้ ภาพจะว่าจ้างกาหนดจานวนผ้เู ลน่ เมื่อพอ่ เพลงและแมเ่ พลงร้องเพลงก็จะราประกอบไปด้วย แต่
ก่อนที่จะเล่นบทใดก็ตาม จะต้องไหว้ครูเสียก่อนหรือที่เรียกยกครู ซึ่งจะต้องมีเหล้าขาว ดอกไม้ ธูปเทียน เงิน
หมาก ยาเสน้ ใสพ่ าน พอ่ ระบาหนง่ึ พาน แม่ระบาหนง่ึ พาน มขี นั สาหรับทานา้ มนต์ เม่อื ไหว้ครูเสร็จจะเร่ิมเล่นตาม
ขน้ั ตอนตามขบวนของเพลง
(2) การแตง่ กาย ฝ่ายหญงิ นงุ่ โจงกระเบนห่มสไบเฉยี งหรือสวมเสื้อแขนกระบอก ผา้ คล้องคอ มีดอกไม้ทัด
หูประแป้งใส่น้าอบไทย ฝ่ายชายนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อคอพวงมาลัย มีลายดอก มีผ้าขาวม้าคาดพุง ผ้าพาดไหล่
ปล่อยชายให้หย่อนลงไปข้างหลงั ท้งั สองขา้ ง ประแปง้ ที่ใบหน้าใหด้ ูเหมาะสมที่จะไปเล่นเพลงจีบสาว
(3) การผูกเรื่อง จะมีหลายรูปแบบ คือ มีรัก โศก ตลก เคียดแค้น หรือบางทีจะเล่นเป็นเรื่องราว เช่น
เวสสันดรชาดก พระอภัยมณี อิเหนา ถ้าเล่นเป็นเรื่องใดพ่อเพลงและแม่เพลง จะแต่งตัวให้เข้ากับเรื่อง เช่น
เวสสนั ดร พ่อเพลงกจ็ ะแตง่ ตวั เป็นชูชกคือทาเป็นคนแกม่ ีหนวดเครา ทาหลงั โกง เป็นต้น
(4) โอกาสที่เล่น การเล่นเพลงระบาชนิดนี้เดิมทีจะเล่นกันในงานบวชนาคกฐินผ้าป่า การเล่นเพลงระบา
ส่วนมากนยิ มเลน่ ในเวลากลางคืน สถานที่ตามลานวัด จะยกพน้ื เวทหี รือไมก่ ็ได้
ตัวอยา่ ง เพลงระบา (อมรา กล่าเจรญิ , 2542 : 68)
จะยกความเออะข้ามเหมือง จับราวสาวเรือ่ งกันต่อไป
จะเล่นเรอ่ื งเอ๋ยชงิ ชู้ เรอ่ื งอีข้องอปี ู่ก็ได้
จะเลน่ เรอื่ งใดกต็ ามใจถนดั เองจะพลกิ เด๋ยี วขา้ จะพลาดลงไป
หรอื จะเลน่ เรื่องลกั ษณาวงศ์ จับเอาตอนเดินดงเดินไพร
หรือจะเล่นเร่ืองพระเวสสนั ดร จบั ตอนสองกุมารใหต้ ามเฒ่าไป
หรอื จะเลน่ เรื่องก็เจ้าชาละวนั จบั ตอนจระเขก้ บดานยงั ได้
จระเขก้ บดานหนุมานหม่ ตอ เขียดโรยบอ่ ... ทองใบ
นอกจากนี้ยังนิยมเล่นเรื่อง แฝงนา แฝงไก่ แฝงเกวียน คาว่า "แฝง" มีความหมายเป็น
"นยั " ในเร่อื งของชสู้ าว
7.1.5 หมอลา เป็นดนตรีและเพลงพื้นบ้านของกลุ่มวัฒนธรรมไทยลาว ซึ่งอาศัยอยู่ในอาเภอต่างๆ ของ
จังหวดั สระแก้ว (สานักนายกรฐั มนตรี, 2524 ล : 136) ระยะแรกเปน็ การลา เพอ่ื เล่าเรือ่ งราวนทิ านพื้นบ้านดั้งเดิม
ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เช่น ลาการะเกด ลาศิลปชัย ลาจาปาสต่ี ้น ใชแ้ คนเป่าประสานเสียง ช่วยให้การลามี
ความไพเราะยิ่งขึ้น ต่อมาได้พัฒนาการแสดงเป็นคณะ มีการฝึกหัด และรับจ้างแสดงในงานต่างๆ มีการนาเอา
เครื่องดนตรีมาประกอบมากขึ้น เช่น แคน พิณ ซอ โหวด นาเพลงลูกทุ่งเข้ามาร้องผสมผสานนากลองชุดมาตีให้
จังหวะ ใช้ทานองลาผสมกับทานองของเพลงลูกทุ่ง เพิ่มการเต้นที่ใช้ลีลาท่าทางของหางเครื่อง คณะหนึ่งๆ จะมี
จานวน 6-12 คน ผู้เต้นแต่ละคนต้องมีการฝึกซ้อมเป็นอย่างดี กลายเป็นหมอลาชนิดใหม่ทีช่ าวสระแก้วนิยมอย่าง
แพร่หลาย หมอลาประเภทน้ีเรียกว่า หมอลากลอนซิ่ง หรือหมอลาซิง่ ใชบ้ รรเลงในโอกาสงานบันเทงิ ตา่ งๆ
105
7.1.6 เจรยี งกนั ตรมึ เป็นการเล่นดนตรี และเพลงพืน้ บ้าน ของกลุ่มวฒั นธรรมเขมรส่วย ซ่ึงกลมุ่ วฒั นธรรม
นี้จะพบในอาเภอตาพระยา กิ่งอาเภอโคกสูง และบ้านตุ่น ในตาบลบ้านด่าน อาเภออรัญประเทศ (สานัก
นายกรฐั มนตรี, 2542 ล : 136) เจรยี งกันตรึม คือ การร้องเพลงประกอบ วงกนั ตรมึ ดนตรีท่ใี ช้เลน่ ประกอบด้วย ปี่
ออ้ ปชี ลัย กลองกนั ตรมึ ฉิ่ง ฉาบ กรบั ปจั จบุ นั มซี ออู้ ซอด้วง ในการบรรเลงด้วย
วงกันตรึม มีร้องเล่นและรับจ้างแสดงเป็นคณะในงานเทศกาล งานรื่นเริงตา่ งๆ ปรับเนือ้ หาการรอ้ งเข้ากบั
งานทีไ่ ปแสดง
7.1.7 ราพวน การเล่นราพวน มีเล่นในอาเภอศรีมโหสถและศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี เป็นจานวน
มาก (สานักนายกรัฐมนตรี, 2542 ธ:168) การเลน่ ราพวนจะใชผ้ เู้ ล่นต้ังแต่ 3 คนขึ้นไป สว่ นมากจะมชี าย 1 หญงิ 2
คน โดยฝ่ายชายจะเปน็ คนให้จังหวะ ฝา่ ยหญิงจะเปน็ คนราและรอ้ ง เนอื้ หาของเพลงสว่ นใหญ่เป็นเรอื่ งของความรัก
เกี้ยวพาราสี หรอื เปน็ บทเพลงสอนใจต่างๆ การเล่นราพวนนี้ เป็นการเลน่ เนน้ หนักไปในการว่าเพลงมากกว่าจะเน้น
การรา่ ยรา แต่เน่อื งจากการรอ้ งเพลงพวนมีการออกทาร่ายราของผูร้ ้องด้วย จงึ เรยี กว่าราพวน
7.1.8 ทะแยมอญ เป็นการเล่นเพลงพื้นบ้านของชาวมอญ อาเภอบางน้าเปรี้ยว และอาเภอบางปะกง
จงั หวดั ฉะเชิงเทรา การละเล่นทะแยมอญเป็นการร้องเก้ยี วพาราสีกนั และกนั โดยฝา่ ยหญงิ จะข้ึนเพลงก่อนและฝ่าย
ชายกจ็ ะร้องแก้ ผลัดกนั ไปด้วยท่วงทานองท่ีนุ่มนวล
(1) วิธีเล่น เล่นเปน็ คู่ ๆ ชายและหญิง โดยท่ีหนุม่ มีความพงึ พอใจสาวคนใดก็เข้าไปจบั คู่ ซง่ึ อาจจะมีผู้เล่น
หลาย ๆ คู่ หรอื มากกวา่ 50 คู่กไ็ ด้
(2) เครือ่ งคนตรี ทใ่ี ชป้ ระกอบเพลง ได้แก่ ขลุ่ย จะเข้ และซอ นอกจากนีท้ ะแยมอญยังมีเนื้อร้องบรรยาย
ถึงเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าเสด็จออกบวชและอื่นๆ การเล่นทะแยมอญ จะเล่นในเทศกาลสาคัญของท้องถิ่น เชน่
การตรุษสงกรานต์ หรือตามแต่เจ้าภาพจะหาไปแสดง
7.1.9 เพลงเข้าทรง เพลงที่ใช้ร้องเล่นในการเข้าทรง หรือการเข้าทรงผีนิยมเล่นในช่วงเทศกาลตรุษ
สงกรานต์ การเล่นมหี ลายประเภท เช่น ผีแมศ่ รี ผีลิงลม ผเี รอื ผสี ุ่ม ผีปลา ผีห้ิง
การเล่นเข้าทรงหรือเข้าผีในภูมิภาคตะวันออกจะเล่นกันตอนกลางคืน บริเวณที่เล่นต้องเป็นลานกว้าง
พอที่จะเล่นได้เป็นกลุ่มใหญ่ ผู้ที่เข้าทรงผีจะเป็นผู้หญงิ หรือผู้ชายก็ไดแ้ ลว้ แต่ประเภทของการเล่น ถ้าเป็นผีแม่ศรี
ใชผ้ ูห้ ญิง ผีลงิ ลมใชผ้ ชู้ าย เป็นตน้
ตวั อยา่ ง การเล่นผีแม่ศรี ของจงั หวัดฉะเชิงเทรา (ไศลรตั น์ ดลอารมณ์ นพวรรณเลาหบตุ ร และวรศิ รา เช
นะโยธนิ , 2543 : 70 - 76 )
วิธีการเล่น เริ่มจากหาหญิงสาวที่เป็นแม่ศรีต้องใช้สาวพรหมจรรย์ เพราะเชื่อว่าผีแม่ศรีเป็นสาว
พรหมจรรย์ ผู้เล่นไม่จาเป็นต้องฟ้อนราได้ เพราะเมื่อแม่ศรีเข้าทรงแล้วจะราไดส้ วยงาม ก่อนจะราต้องถามก่อนวา่
แม่ศรีเล่นอะไรเป็นบ้าง เช่น โขน ราละคร ราศรีนวลและถ้าแม่ศรีตอบว่า "เป็น" แม่ศรีจะราได้อย่างสวยงามและ
ถูกตอ้ ง เม่อื แมศ่ รีออกจากรา่ งแลว้ รา่ งทรงของแม่ศรีจะราไม่ได้อกี เม่ือหาหญิงสาวได้แล้วจะจัดเตรียมอุปกรณ์การ
106
เล่น ซึง่ ประกอบด้วย ครกตาข้าว สากมือ และอปุ กรณ์อนื่ ๆ ได้แก่ เหลา้ ขาว หมากและพลู เหล้าขาวเป็นสิ่งท่ีขาด
ไม่ไดเ้ พราะเช่อื ว่าใชเ้ ปน็ ส่งิ เบกิ ทางขอทางผที ั่วไป และเป็นทางท่แี ม่ศรีจะเข้าร่างทรงได้ ธปู และพลู พลทู ีจ่ ีบไหว้แม่
ศรีมี 2 ใบประกบซ้ายขวา มธี ูปอยู่ตรงกลาง 1 ดอกโดยผู้เลน่ ตอ้ งนาธูปมาใส่ในมือท่ีพนมไว้ สว่ นธูปอกี 3 ดอก ปัก
ที่พื้นเพื่อขอทาง โดยจะเอาเหล้าขาวราดรดพื้นดินบริเวณที่ปักธูปไว้ใช้เป็นเส้นทางเข้าของแม่ศรี คว่าครกที่จะน่ัง
หันก้นครกขนึ้ วางสากมือ 2 อนั ไวท้ ี่หน้าครก หนั หน้าครกไปทางทศิ ตะวนั ตก เรม่ิ เล่นโดยผู้เปน็ รา่ งทรงแม่ศรีจะนั่ง
ลงบนครกหันหน้าไปทางทิศตะวันตกเอาเท้าทั้งสองซึ่งไม่ได้สวมรองเท้าวางไว้บนสากมือ นั่งพนมมือโดยมีธูปและ
พลอู ยใู่ นมือมีผ้าผูกตาไว้ ผ้ขู อทางจะนาธปู ไปปักตรงหน้าแม่ศรแี ล้วเอาเหลา้ ขาวราดที่พ้ืนดินเพื่อขอทางรวม 3 จุด
สว่ นผู้เลน่ อืน่ ๆ จะยนื ลอ้ มวงอยู่ด้านหลงั และดา้ นขา้ งของแม่ศรี เมื่อราดเหลา้ ขอทางแลว้ ทุกคนจะรว่ มกนั รอ้ งเพลง
เชิญแมศ่ รีเขา้ ทรงโดยปรบมือใหจ้ ังหวะ เนอื้ ร้องมีวา่
แม่ศรีเอย แม่ศรีสาวหงส์
เชิญเจา้ เข้าทรงเชิญนอ้ ง แมท่ องศรเี อยเชญิ พี่
แม่ศรีเอย แม่ศรีสาวสะ
ยกมือไหวพ้ ระ ว่าจะมคี นชม
ท้งั คว้ิ เจา้ ก็ต่อ ทงั้ คอเจ้าก็กลม
ชกั ผ้าปดิ นม ชมแม่ศรเี อย
ผู้ร้องจะร้องไปเช่นนี้ช้าไปซ้ามาจนกว่าแม่ศรีจะลง เมื่อแม่ศรีลงสังเกตได้จากกิริยาอาการมือสั่นตัวส่ัน
หลังจากลงแลว้ พ่เี ลย้ี งที่อยขู่ ้าง ๆ จะหยิบพลูและธูปออกมาจากมือแม่ศรีจากนนั้ คอยดูแลใหแ้ ม่ศรีออกราไปรอบ ๆ
ขณะเดียวกันผู้เล่นคนอื่นๆ ช่วยร้องเพลงประกอบการรา เช่น เพลงราศรีนวล เพลงเจ้าฉุยฉาย หรือเพลงเจ้า
การะเกด ทมี่ เี น้อื เพลงวา่
เจา้ การะเกดเอย เจา้ ขี่มา้ เทศลอยชายไปท้ายวัง ถือหอกทองแดง
หวังจะแทงฝรัง่ เมียหา้ มก็ไมฟ่ ัง ฉันรกั เจา้ การะเกดเอย
เจ้าฉยุ ฉายเอย เจา้ นงุ่ ผา้ ลายลอยชายไปหนา้ วดั มอื หน่งึ ถอื ใบบอน
มอื อกี มือหนง่ึ ชอ้ นปลากัด กอดแล้วกอดรัดไมถ่ นดั ใจเอย เจา้ การะเกดเอย
รอ้ งชา้ ไปซ้ามาจนพี่เล้ียงเห็นว่าแม่ศรีราเหนื่อยแล้วควรจะหยุดเล่น พ่เี ลย้ี งก็จะจูงกลับไปน่ังบนครกให้หัน
หน้าไปทางทิศตะวันตกเหมือนตอนแรก แล้วเป่าทีห่ อู ย่างแรงเพื่อให้แม่ศรีออกจากร่างทรง จากนั้นจึงแกะผ้าท่ผี ูก
ตาออก
7.2 การละเล่นพืน้ บ้าน
การละเลน่ พื้นบ้านของภาคตะวันออก มที ง้ั รูปแบบของระบาราฟ้อน และการละเล่นทดี่ าเนินเป็นเร่ืองราว
ใหค้ วามสนุกสนานความบันเทงิ ใจ การละเลน่ ทีเ่ ป็นพิธกี รรม การละเล่นที่เป็นศิลปะของการตอ่ สู้ และกีฬาพ้ืนบ้าน
การละเล่นพ้ืนบา้ นหลายชนิดคลา้ ยกับภาคอ่นื บา้ งตามลักษณะของกลมุ่ ชนทีเ่ ข้ามาอยู่อาศัยในภมู ิภาคน้ี
107
7.2.1 การละเล่นเพื่อความบันเทิง ของภาคตะวันออก มีลักษณะเป็น 2 รูปแบบ คือ การแสดงในรูป
ระบาราฟ้อน และการละเล่นท่ีดาเนินเป็นเร่ืองราว รา ระบาในภูมภิ าคน้ี ส่วนใหญค่ ลา้ ยกับภาคกลางและยังมีเล่น
ในปัจจบุ ัน ได้แก่
ราโทน กลองยาวพน้ื บ้าน ชาวบา้ น เรยี ก เถิดเทิง หรือเทงิ นอ้ งกลองยาว การละเลน่ ที่ดาเนินเป็นเร่ืองราว
ไดแ้ ก่ หนังใหญ่ หนังตะลุง ละครพนื้ บา้ น ลิเก
ตัวอยา่ ง การละเลน่ เพอ่ื ความบันเทงิ
(1) ราโทน เป็นการละเล่นของชาวบ้าน อาเภอบางน้าเปรี้ยว และอาเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่
นิยมกันมากในเทศกาลตรุษสงกรานต์ จัดสถานที่เป็นวงกลมให้กัน เป็นคู่ ๆ วนไปรอบบริเวณที่จัดให้มีการละเล่น
ราโทน ผเู้ ล่นฝ่ายหญงิ ที่เรยี กว่านางนงั่ ตรง ทีจ่ ดั ไว้ใหโ้ ดยเฉพาะซึ่งทาขน้ึ อย่างง่าย ๆ อาจเป็นกระดานแผ่นใหญ่มา
วางไวบ้ นขอนไมย้ ก ระดับให้สูงนง่ั หอ้ ยขาได้
1) วิธเี ลน่ เมอ่ื เร่ิมเล่นราโทนน้นั จะมกี องเชยี รร์ าโทนทาหนา้ ท่ีบรรเลงเพลง
ประกอบการราซึ่งเป็นเพลงแบบเก่า สมัยก่อนเมื่อเพลงขึ้นแลว้ ฝ่ายชายก็จะเข้าไปโค้งฝ่าย หญิงซึ่งหมายถงึ การให้
เกียรติเชิญฝ่ายหญิงออกมาด้วย โดยฝ่ายหญิงจะอยู่วงนอก และ ฝ่ายชายจะอยู่วงใน กันด้วยท่าทางที่อ่อนช้อยมี
ความสวยงามตามแบบพน้ื บา้ น
2) เครื่องดนตรี การที่เรียกว่าราโทนนั้น เรียกตามลักษณะของเครื่องดนตรี คือ “โทน” เป็นหลัก ซึ่งเดิม
เครื่องดนตรที ใ่ี ชป้ ระกอบในการราโทน จะใช้โทนและมี กรับ นงิ่ โหมง่ เปน็ เครอ่ื งประกอบจังหวะเพ่ือให้ดูครึกครื้น
ยิ่งข้ึน
ตัวอยา่ ง เพลงราโทน (ไศลรตั น์ คลอารมณ์ นพวรรณ เลาหบุตร และวริศรา เชนะโยธิน, 2543 108)
เพลงยามเมอ่ื อย่ใู กลเ้ ธอ
ยามเม่อื อยใู่ กลเ้ ธอ เอ้อเฮอเธอรา่ สวยจรงิ
ทุกสิ่งชวนให้ฉันมอง นวลน้องของพกี่ ็มา
เธอนี่แหละหนา พี่จะพาใหส้ ขุ ใจ
อยากจะมีเน้ือคู่ แต่ไมร่ ู้อยู่ไหน
หมอเขาทายไวใ้ ห้ วา่ จะได้ในวงฟ้อนรา (ซา้ )
(หรือ หมอทานายทายทกั ว่าคนรกั กาลังราวง)
มตี าหนิอยู่ท่ไี หน มีไฝอยทู่ ี่หนา้
มอี ะไรบอกมา มีตาใต้จมกู หมอทายไดถ้ กู มีจมกู ใต้ตา
เพลงเสียงกลอง 108
เสยี งกลองพรมึ ๆ
สาวน้อยปลาบปลืม้ มาสูว่ งรา
หวั ฝนก็โปรยลงมา ท้องฟา้ มเี มฆบงั ไว้
พอตกยามดึกฝนหายลมชา ท้องฟา้ สวา่ งไสว
ตะวันยอแสงเปน็ ประกาย (ซ้า) นกึ รักอยากได้ความรกั จากเธอ
เพลงแหวนประดบั น้วิ กอ้ ย สาวน้อยกาลังเดินมา
แหวนประดับนิว้ ก้อย ช่างงามสงา่ เมอ่ื เวลาฉันชม (ซ้า)
กะทดั รดั จริงนะแมเ่ อวกลม
ขอ้ มอื ผูกนาฬกิ า (ซ้า) มาเจออนงคแ์ มผ่ มดดั ลอน
เอวแมค่ าดเข็มขัด
เล่ียมฟันแถมยังดัดผม (ซ้า)
(2) เถิดเทิง หรือเทิงบ้องกลองยาว มีเล่นแพร่หลายทั่วไปตามหมู่บ้านของจังหวัดในภูมิภาคตะวันออกท่ี
เป็นกลุ่มของไทยภาคกลางอพยพเข้าไปอยู่ (สานักนายกรัฐมนตรี, 2542 ณ 138 -139) การเล่นจะแบ่งออกเป็น
สองฝ่าย คือ ฝ่าย และฝ่ายเลน่ กลอง ฝา่ ย จะต้องและเตน้ ใหล้ งกบั จังหวะกลอง ทา่ รากลองยาวของชาวบา้ นไม่มีท่า
ที่ตายตัว แต่ผู้ ต้องใช้ลีลาการที่ดูแล้วมีความสนุกสนาน สาหรับผู้ที่ตีกลองจะมีท่าทางต่าง ๆ บางพวก ท่าพลิก
แพลง กลอกหน้า ยักคิ้ว ยกคอไปมา ผู้ที่ชื่อว่าเป็นผู้ตีกลองเก่งจะมีวิธีตีกลอง แปลกออกไปอีก เช่น ใช้ถองหน้า
กลองด้วยศอก โขกด้วยคาง กระทงั่ ด้วยเข่า โหม่งดว้ ยหัว เป็นทส่ี นกุ สนานกนั มาก สาหรับกลองนัน้ กจ็ ะถูกไขว้หน้า
ไขว้หลงั จะถกู โยนหรอื เหวยี่ งดว้ ย วธิ ีพลิกแพลงตา่ ง ๆ สว่ นผ้ทู ีต่ ีฉิง่ ฉาบ กรับ โหมง่ ต้องออกท่าทางไปด้วย เพ่อื ให้
เกิดความ สนกุ สนานมากขึ้น จะมกี ารร้องของลูกคู่ขัดข้ึนมาเปน็ ระยะ ๆ ผรู้ อ้ งจะตอ้ งพยายามเปล่งเสยี ง ใหด้ งั ที่สุด
เทา่ ท่จี ะดังได้ เพือ่ ให้ดังแข่งกับเสยี งกลองสอดเสียงร้อง “แฮ่ แฮะ ๆ ๆ แฮะ แต่วบั ๆ ๆ กระทง่ั เข้ากับจังหวะเสียง
กลองดว้ ยกลอนส้นั เช่น
มาแลว้ โหวย มาแล้ววา มาแตข่ องเขาของเราไม่มา ตะละล้า
ใครมีมะกรดู มาแลกมะนาว ใครมลี กู สาวมาแลกลกู เขย
เอาวะเอาเหวย ลกู เขยกลองยาว
ยักค้วิ ยกั ค่อยเสียหนอ่ ยเถอะ ลอยหน้าลอยตาเสยี หน่อยเถิด ตะละล้า
1) การแตง่ กาย แตง่ ตามแบบพน้ื บา้ นตามท้องถ่ิน กลมุ่ พวกตกี ลองบางทจี ะ แต่งตวั กนั ตามสบาย บางทีก็
แต่งเปน็ ชุดสวยงามเหมือนกันทั้งกลมุ่ ผบู้ างคนจะน่งุ โจงกระเบน ห่มสไบ บางทอ้ งถ่ิน นงุ่ ผา้ ถงุ ยาวสวมเสื้อห่มสไบ
ส่วนมาก ผูน้ ิยมแตง่ กายเหมอื นกัน
109
2) โอกาสที่เล่น นิยมเล่นในงานตรุษสงกรานต์หรอื ประกอบขบวนแห่ เช่น แห่นาค แห่พระ แห่กฐิน เป็น
ตน้ ในระหวา่ งที่เดนิ ไปในเมือ่ มีที่กว้างพอเหมาะที่จะตั้งวง เล่นได้ กจ็ ะหยดุ ต้ังวงเล่นกลองฟ้อนรากนั เปน็ ระยะ ๆ
3) หนังตะลุง การเล่นหนังตะลุงในจังหวัดตราด ได้รับการถ่ายทอดมาจากภาคใต้ สานักนายกรัฐมนตรี,
2542 ฌ : 139 140) เนื่องจากสมัยก่อนการคมนาคมทางบก ยังไม่สะดวก จึงนิยมติดต่อกันทางทะเล คนทาง
ภาคใต้นิยมเดินทางมาแสวงโชค ทามาหากิน ในท้องถิ่นจังหวัดตราดอยู่เสมอ จากหนังสือของพระบูรณเขต
คณาจารย์ อดีตเจ้าคณะจังหวัด ได้เล่าถึงนักแสวงโชคจากทางภาคใต้ชื่อ นายศรีแก้ว ซึ่งเป็นครูหนังตะลุงของ
ภาคใต้ เดินทาง มาแสดงหนงั ตะลงุ ทีจ่ งั หวดั ตราด จนไดร้ บั ความนิยม
1) ตวั หนงั ตะลงุ ตวั หนังทีใ่ ชแ้ สดงสว่ นใหญ่ซ้ือมาจากภาคใต้ และทท่ี าขน้ึ เอง ภายหลังใช้วิธีลอก
ลายจากตัวหนังลงบนแผน่ กระดาษ แล้วนากระดาษร่างลวดลายปิดไป บนหนังววั หรอื หนังควายทเี่ ตรียมไว้ นิยมใช้
หนังวัว หนังควาย ที่มีอายุน้อยเพราะหนัง จะบางทาง่าย ใช้ตุ๊ดตู่และสิ่วขนาดต่าง ๆ ฉลุลงไปตามรอยที่เขียนไว้
เสร็จแล้วทาแขนให้ เคลื่อนไหวได้เหมือนกับมีชีวิต โดยเฉพาะตัวตลกจะมีไม้เล็ก ๆ โยงแขนหรือมือ เพื่อให้ออก
ทา่ ทางไดเ้ มื่อเวลาคนเชิดกระตกุ ทาให้เคล่ือนไหว โดยเฉพาะตวั ตลกจะมีไมช้ ักใหอ้ ้าปากพูดได้
2) โรงหนังตะลุง การเล่นหนังตะลุงต้องเตรียมสร้างโรงหนังโดยปลูกสร้าง ง่ายๆ ใช้เนื้อที่ราว 2
X 3 เมตร ยกเสา 4 เสา ยกพื้นสูงขนาดเดินลอดผ่านได้ ด้านหน้า จึงจอผ้าขาว ข้างหลังจอเหนือหัวนายหนังจะ
แขวนตะเกียงเจ้าพายุ ปัจจุบันใช้ไฟฟ้าหลอด กลมแทน ด้านล่างของจอมหยวกกล้วยยาว ๆ ไว้ปักตัวหนัง เรื่องท่ี
นิยมเลน่ ในจังหวดั ตราด ได้แก่ เรอื่ งรามเกยี รติ์ โดยจบั ตอนใดตอนหนึ่งมาเล่น
3) วธิ ีเลน่ เริม่ ใหล้ ูกคู่ “ตีเคร่ือง” หรอื โหมโรงเรยี กคนดูกอ่ น ตอ่ จากนน้ั จะออกรปู ฤาษี พระราม
พระลักษมณ์ ไหว้ครูชมุ นมุ เทวดา จากนั้นจึงออก “กาศหน้าบท หรือประกาศไหว้ครูอาจารย์ พระรัตนตรัย พ่อแม่
ตลอดจนผู้ชมทั้งหลาย ต่อด้วยเริ่มตั้งเมือง คือ ออกรูปกษัตริย์ ราชินี ต่อด้วยการบรรยายเหตุการณ์บ้านเมืองใน
เนื้อเรื่องที่กาลังจะเกิดขึ้น เพื่อเป็นการปูพื้นการดูหนังตะลุง เอกลักษณ์ของหนังตะลุงในจังหวัดตราด คือ มีไอ้
หลอด ไอ้เพิก ไอ้หนุ่ เป็นตัวตลกตา่ งไปจากหนังตะลุงภาคใต้ ผ้เู ชดิ หนังตอ้ งเสยี งท่ีมีความสามารถ ใชเ้ สียงได้หลาย
เสียงมีความรอบรู้สอดแทรกคาสั่งสอน เพิ่มความขบขันด้วยภาษาถิ่นเพื่อ เพิ่มความสนุกสนานยิ่งขึ้น และต้อง
สัมพันธ์กับเครื่องดนตรี ที่ใช้ ทั้งกลอง ซออู้ ซอด้วง นิ่ง กรับ มากหรือน้อยกว่านี้ตามความสะดวกของแต่ละคณะ
เจ้าภาพนิยมหาหนังตะลุงไปเล่นใน งานศพ งานบวชนาค ระยะเวลาในการแสดงขึ้นอยู่กับการตกลงกับทาง
เจ้าภาพทม่ี าว่าจา้ ง
4) หนังใหญ่ หนังใหญ่ของจังหวัดระยองอยู่ที่วัดบ้านตอน ตาบลเชิงเนิน จังหวัดระยอง "หนัง
ใหญว่ ัดบา้ นดอน
หนังใหญ่วัดบ้านดอน เป็นหนังใหญ่โรงเดียวในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีประวัติความเป็นมา
(สานักนายกรัฐมนตรี , 2542 ผ : 92 94) ว่า เจ้าคุณเฒ่า พระยา ศรีสมุทร โภคชัยโชคชิตสงคราม (เกตุ ยมจินดา)
เจ้าเมืองระยอง ได้พบหนังโรงนี้แสดงอยู่ ที่จังหวัดพัทลุง มีความพอใจได้ซื้อมา 200 ตัว ในราคาประมาณ 30 ช่ัง
110
(2,400 บาท) นามาโดยทางเรอื ตามที่มีเร่ืองเล่าให้ฟังว่า เรอื ถูกพายุ นางสดี าตกนา้ ไปติดอย่ทู ี่หางเสือเรือ เท่ียวหา
กันนานจึงพบ นามาแสดงในงานสาคัญ ๆ ของจังหวัด และได้เก็บรักษาไว้ที่วัดจันทอุดม (วัดเก่ง) ครั้นเมื่อสร้างวัด
บา้ นดอนขน้ึ แลว้ ได้นามาถวายวัดบ้านดอน (ประมาณ พ.ศ. 2431) เพราะคนเชดิ ท่ไี ดร้ ับการฝึกไวเ้ ป็นชาวบ้านดอน
ชากใหญ่ และดนตรีป่พี าทย์อยู่ทที่ ุ่งโพนา ตาขวัญ หนังใหญ่ซึ่งมอี ายุประมาณ 200 ปี อยทู่ วี่ ัดบา้ นดอน 100 กว่าปี
มาแล้ว ได้จัดแสดง ในงานสาคัญ ๆ ของจังหวัดตลอดมา แต่ในช่วงปี พ.ศ. 2500 ได้ว่างเว้นการแสดงไปบ้าง ครั้น
เมอื่ ปี พ.ศ. 2523 พัฒนาการจงั หวัดระยองพร้อมด้วยคณะกรรมการวัดบา้ นดอนและ ศูนยว์ ัฒนธรรมจังหวัดระยอง
ได้ตระหนักถึงคุณค่าของเรื่องนี้ นาหนังใหญ่ออกแสดงในวัน ประกวดหมู่บ้านชากใหญ่ และนาออกเผยแพร่ทาง
โทรทศั น์กองทัพบกช่อง 5 (สนามเป้า) เม่อื วันที่ 8 มิถนุ ายน พ.ศ. 2524 ในรายการของศาสตราจารย์ คุณหญิงเต็ม
ศริ ิ บณุ ยสิงห์ จากนนั้ ได้มีการพฒั นามาเป็นลาดับ แมว้ า่ ปู่สี รน่ื เรงิ (ครูหนัง ) นายหนด สระหมดั นาย สนทิ ราษฎร์
คนจ่ายหนงั และนายเฉลิม มณีแสง นายเจิม ขอบจรัญ คนพากย์ คนเชิดอกี หลายคนไดเ้ สียชีวิตไป พระครูปัญญา
วุฒิกร เจ้าอาวาสได้ให้งบประมาณสร้างอาคารเก็บหนัง เมื่อมรณภาพไปแล้ว พระอาจารย์วิรัตน์ อคฺคธมฺโม เจ้า
อาวาสองค์ต่อมาและคณะกรรมการ ได้อนุรักษ์หนังเก่าและลอกลายสร้างตัวหนังสาคัญ ๆ ขึ้นใหม่โดยได้รับความ
รว่ มมือจาก จงั หวัดและชาวระยองจนสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
การเล่นหนังสมัยก่อน ปักจอกลางแจ้ง ยาวประมาณ 9 เมตร กว้าง 4 เมตร สูงจาก พื้นดิน 1 เมตร (มี
กล่าวคาขอที่ดินตงั้ จอและว่าคาถา) แสดงในเวลากลางคืน นายหนงั หรือ ครูหนงั จะต้องทาพธิ ีปักจอยกร้านก่อกอง
ไฟ (นิยมใช้กะลามะพร้าวเป็นเชื้อไฟ เพราะให้แสงดี และอยู่ได้นาน) ทาราวพิงพักหนงั ได้ชัดเจน (ปัจจุบนั ใช้ไฟฟ้า
จึงไม่ยุ่งยากในการก่อกองไฟ ก่อนแสดงมีการไหว้ครู หรือเรียกว่า เบิกหน้าพระ ที่หน้าจอใช้หนังครู (ฤษี) และตัว
หนัง สาคญั อกี 2 ตวั เครอื่ งไหว้ครูมี บายศรี ขนมต้มขาวตม้ แดง หมู เหลา้ ผลไมล้ ิงกิน 7 อยา่ ง
ต่อจากไหว้ครูแลว้ การแสดงของหนังใหญต่ ้องแสดงเบิกโรงชดุ จับลงิ หวั ค่า คือการ สู้รบของลิงขาว (ฝ่าย
ธรรม) และลิงดา (ฝ่ายอธรรม) สกู้ ัน 3 จบั ฝา่ ยอธรรมกต็ ้องพ่ายแพ้ เปน็ คตเิ ตือนใจให้ผู้ชมไดส้ านึกในการกระทา
ดี เลิกประพฤติชั่ว ต่อจากนั้น จึงจับเรื่องรามเกียรตเิ ล่นเปน็ ตอน ๆ เช่น ตอนกาเนิดสองกุมาร (พระบุตร พระลบ)
พระรามปล่อยม้าอุปการ พระรามต่อสู้กับสองกุมาร เป็นต้น หนังวัดบ้านดอนที่แสดงมีชื่อเสียงสมัยก่อน คือเรื่อง
รามเกยี รติต์ อนนางสดี าลุยไฟ เพราะใช้นางละครแสดงร่วมราลยุ ไฟจริง ๆ ปจั จุบันเร่อื งตอนนี้ มไิ ด้แสดงแลว้
การแสดงหนงั ใหญว่ ัดบา้ นดอน ปัจจบุ นั แสดงไดท้ ัง้ กลางวนั และกลางคนื ถา้ แสดงกลางวัน จะไม่ใช้จอหรือ
จะใชจ้ อกไ็ ด้ แต่การแสดงกลางวนั จะใช้ตัวหนังระบายสี การดูหนังใหญ่ ต้องดลู ลี าท่าทางของคนเชดิ ด้านหน้าจอ ดู
ลวดลายเป็นหนังปรากฏบนจอ ฟังคนพากย์ บรรยายและเพลงหน้าพาทย์จากวงปี่พาทย์ ปัจจุบันแสดงเรื่อง
รามเกียรติ์ ตอนสองกุมาร ลาพระมารดาไปเทีย่ วป่า และถามหาพระราชบิดา มีพิธีปล่อยผ้าอปุ การ สามารถแสดง
ติดตอ่ กันไดถ้ งึ 3 - 4 คืน
ปัจจุบัน คณะกรรมการอนุรักษ์หนังใหญ่วัดบ้านดอน ได้มีการฝึกหัดผู้เชิดหนังใหญ่ ฝึกปี่พาทย์ คาพากย์
และบรรยาย รุ่นเยาว์ขึ้นเพื่อการสืบทอดและอนุรักษ์ไว้ นอกจากนี้หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ศูนย์
111
วัฒนธรรมจังหวดั ระยอง ยงั ได้ทาการบันทกึ ประวตั แิ ละภาพตัวหนังใหญ่ชดุ ดัง้ เดิมเป็นเล่มไวเ้ พ่ือการศึกษาลวดลาย
เปน็ มรดกตกทอดต่อไป
7.2.2 การละเล่นทีเ่ ปน็ พิธกี รรม
(1) เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งแห่นางแมว เป็นการละเล่นที่นิยมเล่นกันมากในจังหวัดสระแก้ว สานักนายกรัฐมนตรี,
2542 ล : 178) ประเพณีเซิ้งบั้งไฟเป็นการฟ้อนราตาม “ลาเซิ้ง ( แบบเดียวกับทางภาคอีสาน และมีขบวนฟ้อนรา
เซิ้งแห่นางแมวร่วมเป็นการฟ้อนราในพิธีกรรม ขอฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล เพื่อให้ได้พืชพันธุ์ธัญญาหารมีความ
อดุ มสมบูรณ์ ขบวนแห่ การฟอ้ นราทั้งสองประเพณีน้ีจะมีต้นเสียงร้องนา กลอนท่ใี ช้ในการร้องนิยมต้นกลอนสด ผู้
ที่ อยู่ในขบวนแห่จะต้องร้องรับ เซิ้งบั้งไฟและเซิ้งแห่นางแมวนี้ จะแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ตั้งขบวน แห่ไปเพื่อขอ
ปจั จยั ไปรว่ มกนั ทาบุญทวี่ ดั
(2) สวด การเล่นสวดเป็นการละเล่นพื้นบ้านที่ใช้เล่นในงานศพ หลังจากการ สวดอภิธรรม เหตุผลของ
การเล่นราสวด เพอื่ อยู่เป็นเพอ่ื นเจา้ ภาพ
1) วิธีเล่นราสวด เมื่อสวดพระอภิธรรมจบ เจ้าภาพจะปูเสื่อหน้าศพ แล้วยกตู้พระธรรมวางข้างหน้า
ที่ตั้งศพ เริ่มแรกนักสวดจะสวดอภิธรรม 3 จบ แล้วจึงเริ่มไหว้ครูด้วย เครื่องกาบล คือ เงิน 6 บาท ดอกไม้ ธูป
เทียน เหล้า บุหรี่ และหมากพลู ต่อจากนั้น นักแสดงจะร้องเพลงไหว้ครู โดยเริ่มไหว้พระรัตนตรัย พ่อแม่ ครู
อาจารย์ พระภูมิเจ้าที่ ต่อ จากน้ันจะเล่นเป็นเรื่อง ส่วนมากเล่นเรื่อง พระอภัยมณี สังข์ทอง ไกรทอง ขุนช้าง
ขนุ แผน ลักษณวงศ์ ผู้เลน่ แต่งตัวใส่ชุดดา และใช้ผ้าแถบสีคาดเอว
ตัวอย่าง เพลงสวด เร่ือง ลักษณวงศ์ (สานักนายกรฐั มนตรี, 2542 ฒ : 141)
จะกลา่ วถงึ สทิ ธาองค์ดาบส พระทรงพรตอยใู่ นไพรระหง
รกั ษากิจภาระเจรญิ องค์ หนังสอื ทรงผูกชฎาหญ้าคาครอง
พระมุนีนามมหาเมฆ อดิเรกโสภิไม่มีสอง
เธอเกบ็ นางได้ในบงกช พระดาบสเลย้ี งไวใ้ นไพรศรี
หอมกลิน่ บุปผาสมุ าลี ดังมาลเี สาวรสเรณนู วล
พระมนุ ีมศี กั ดิเ์ ธอรักใคร่ จึงเล้ียงไว้ในอาศรมส่สู งวน
จนเหตุการณน์ านเนนิ่ เจรญิ นวล อายุถว้ นแปดขวบประจวบปลาย
จึงถามนามตามศักดิ์สายสมร ชือ่ ทพิ ย์เกสรสาวสวรรค์
พระสิทธาหาเลย้ี งทกุ คืนวัน อยู่ในบรรณศาลากับอาจารย์
วันหนง่ึ ดาบสจะไปป่า เทยี่ วเสาะหาผลไม้ในไพรสนั ต์
จึงตรสั เรยี กธดิ าวิลาวลั ย์ แมแ่ จ่มจนั ทร์อย่าไปไกลศาลา
ชิงชา้ ตาปลกู ไว้จงไกวเลน่ เวลาเยน็ อยา่ ลืมเก็บบปุ ผา
ทีต่ าปลูกไวใ้ กล้บรรณศาลา แล้วเข้าปา่ ตามเพศพระไพร
112
การเล่นราสวด เชอื่ วา่ เล่นในงานศพเทา่ น้ัน นอกจากบทร้องหรือสวดแล้วจะมีเคร่ืองดนตรปี ระกอบจังหวะ
คือ กลอง กรับ และนิ่ง เล่นเป็นจังหวะตามบทร้องและการฟอ้ นรา การเล่นราสวดในปัจจบุ ันยังมีเลน่ อยู่ในจังหวัด
ตราด จันทบุรี ระยอง การสวดและ การฟ้อนรา อาจจะแตกต่างไปบ้างแต่ละท้องถิ่น การเล่นสวดแม้ว่าจะไม่ค่อย
เกี่ยวข้องกับ พิธีกรรมนัก แต่ก็เป็นส่วนหนึ่งของวิถชี ีวติ ที่เกี่ยวข้องกับความตาย และเล่นสวดเป็นประเพณี สืบต่อ
กนั มา
(3) ละครแก้บน ละครแก้บนทางภาคตะวันออกจะมีอยู่ 2 จังหวัด ที่คุ้นเคยและมี ผู้กล่าวถึงกันมาก คือ
ละครแก้บนวัดโสธร จังหวัดฉะเชิงเทรา และละครเทง่ ตุ๊กที่เล่นแกบ้ น อยู่ทวั่ ไปในจังหวัดจันทบรุ ี การบนบานต่อสิ่ง
ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ทิ ตี่ นเคารพเล่ือมใสในอภนิ หิ าร เพ่ือขอ ส่งิ ที่ตอ้ งการเป็นของคู่กันกับชวี ิตคนไทยมาช้านาน จะเห็นได้จาก
การแก้บนต่อหลวงพ่อ วัดโสธร ที่จังหวัดฉะเชิงเทราจะมีผู้ศรัทธามากราบไหว้หลวงพ่อและบนบานขอสิ่งที่ตน
ปรารถนา เช่น ขอให้มีบุตร ขอให้หายเจ็บป่วยหรือแม้แต่ให้ประสบความสาเร็จในการศึกษา และการ สมัครเข้า
ทางาน เมื่อสมปรารถนา ก็จะมาแก้บนด้วยการปิดทองและถวายสิ่งของ เช่น พวงมาลัย ผลไม้ หมู ไก่ ไข่ต้ม และ
จัดหาละครถวายแก้บน ละครแก้บนมีอยู่หลายคณะ แต่การราแก้บนจะมีอยู่ 2 รูปแบบ รูปแบบท่ีหนึ่ง คือเป็นชุด
ๆ แต่ละชุดจะมีจานวนผู้รา ไม่เท่ากัน ชุดเล็กจะมีผู้ 4 คน ชุดกลางจะมี 6 คน ชุดใหญ่มตี ั้งแต่ 8 -12 คน แต่งกาย
ยนื เครื่อง
เครื่องเป็นตัวพระ (ชาย) ตัวนาง หญิง) เป็นคู่ อีกรูปแบบ คือ การราแก้บน ที่เล่นเป็นเรื่อง ใช้วงปี่พาทย์
บรรเลงประกอบ เชน่ แก้วหน้ามา้ สงั ข์ทอง และไชยเชษฐ์ เปน็ ต้น
ส่วนละครแก้บนหรือละครพื้นบ้านของจังหวัดจันทบุรี ที่เรียกว่า ละครเท่งตุ๊ก ซึ่ง เป็นละครที่เล่นอยู่ใน
ท้องถนิ่ เรยี กชอื่ ตามลกั ษณะของเคร่ืองดนตรี “กลองเท่งตุ๊ก” ท่ีใช้ ประกอบในการแสดง เร่อื งทใ่ี ชแ้ สดงแต่โบราณ
นิยมนาวรรณกรรมพื้นบ้านมาแสดง ปัจจุบัน นิยมเรื่องราวชีวิตชาวบ้านแนวอิจฉาริษยา หรือเล่นตามเรื่องที่ผู้
วา่ จ้างตอ้ งการ
การแต่งกาย แตง่ กายยนื เครือ่ งพระนาง นิยมสวมถุงเทา้ ขาว
เครื่องดนตรี ที่ใช้ประกอบการแสดง ได้แก่ กลองเท่งตุ๊ก โทน นิ่ง กรับ ฉาบเล็ก ปัจจุบันใช้ระนาดร่วม
บรรเลงด้วย
โอกาสที่แสดง นอกจากจะใช้แสดงในงานเพื่อแก้บนแล้ว ยังแสดงในงานอ่ืน ๆ ตามแต่ ผู้ว่าจา้ งจะจ้างไป
แสดง เช่น งานทาบุญขึน้ บ้านใหม่ บวชนาค หรือในงานประจาปีต่าง ๆ
7.2.3 การละเลน่ ท่เี ปน็ ศลิ ปะของการตอ่ สู้ การแสดงทเี่ ปน็ ศลิ ปะของการต่อสูข้ อง ภาคตะวันออกนั้นไม่มี
ให้เหน็ ชดั เจน อาจจะเป็นเพราะในภูมิภาคน้ี ประชากรยา้ ยถนิ่ ฐาน มาจากท่ตี า่ ง ๆ เพ่อื จบั จองพน้ื ท่มี ุง่ ในการทามา
หากินเป็นส่วนใหญ่
113
7.2.4 กีฬาพื้นบ้าน มีเล่นกันอยู่มาก โดยเฉพาะเล่นในเทศกาลงานประเพณีของ ท้องถิ่น ได้แก่ สะบ้า
ชว่ ง ตะกรอ้ วง ตะกร้อลอดบว่ ง แยล้ งรู ชกั เย่อ ปนื เสานา้ มัน - และแขง่ เรอื ยาวชนไก่ เป็นตน้
ตัวอย่างกีฬาพ้ืนบา้ น
(1) ปืนเสาน้ามัน เป็นกีฬาที่นิยมเล่นแข่งขันกันในเทศกาลที่มีความสนุกสนานรื่นเริง เป็นการประลอง
ความแข็งแกรง่ และความสามารถของชายหนุ่มในหมู่บา้ นจะเล่นกัน เฉพาะผู้ชาย ไมจ่ ากดั จานวนผูเ้ ล่น อุปกรณ์ใน
การเลน่ คือ เสาไม้ไผ่สงู ประมาณ 5 - 6 เมตร ทาน้ามนั พืชให้ชุม่ บนยอดเสาจะตัดปล้องไมไ้ ผใ่ ห้สูง ประมาณ 5 - 6
นวิ้ ใส่นา้ มันพชื ไว้ใหเ้ ตม็ ปลายเสามีธงปกั ไว้ จานวน 4 - 6 เสา (ถา้ มีจานวนผูเ้ ล่นมากก็จะมีหลายเสา
วิธีการเล่น ผู้เล่นจะต้องแข่งขันกันปีนเสาไม้ไผ่ไปจนถึงบนสุดเพื่อหยิบเอาธงที่ปัก บนยอดเสาลงมาให้ได้
เร็วที่สุดก็จะได้รับชัยชนะ ในขณะที่ปีนเสาไม้ไผ่จะโอนเอนไปมา ทาให้ น้ามันพืชที่อยู่บนเสากระฉอกออกมารอบ
เสาทาให้เสาลืน่ ปนื ยาก ผู้เล่นอาจตกรดู ลงจาก เสาได้ผู้ชมก็จะเชยี ร์กันอยา่ งสนุกสนาน ปัจจุบันธงที่ปกั ไว้บนยอด
เสาจะใช้ธนบัตรใบละ 100 - 500 บาท เป็นส่งิ ยัว่ ยวนใจและเป็นรางวลั แทนธงผ้าในอดตี ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากการ
ปนี เสานา้ มัน เป็นการฝกึ ทกั ษะและการออกกาลงั กายได้ความสนุกสนานร่นื เริง
(2) ชนไก่ เป็นกีฬาพื้นบ้านที่มีการเดิมพัน และการพนันด้วย ในปัจจุบันต้องมีการ ขออนุญาตเปิดบ่อน
และให้ชนไก่ได้จากทางราชการ ในวันอาทติ ย์ท่ี 2 และ 4 ของเดอื น เทา่ นัน้ ผชู้ อบเล่นกฬี าชนไก่ ได้แก่ เจ้าของไก่
2 ฝา่ ย การชนไกจ่ ะต้องมีอุปกรณ์ในการจบั เวลา คือ กะลามะพรา้ วเจาะรู และกะละมงั ใส่น้า สาหรับให้น้าไก่
วธิ เี ล่น เจ้าของไกน่ าไก่มาเปรียบเทียบกนั โดยดูทข่ี นาด รูปร่าง เดอื ย หงอน ขา ว่าใกล้เคยี งกันหรอื ไม่ อยู่
ที่เจ้าของไก่จะพิจารณาตกลงกัน เมื่อตกลงที่จะชน (ตี) ไก่กันแล้ว ก็จะกาหนดยก หรือกาหนดเวลาในการชนไก่
เรียกว่า อัน (ยก) แต่ละอันกาหนดเวลา 15 นาที พัก 15 นาที รวมค่ลู ะ 8 อนั หรืออันละ 20 นาที พัก 20 นาที คู่
ละ 6 อนั แลว้ แตจ่ ะกาหนดการจับเวลา เคร่อื งมือท่ีกาหนดอันหรือยก คือกะลามะพรา้ วเจาะรูลอย น้าในกะละมัง
เมอ่ื นา้ เขา้ กะลาจนเต็มกจ็ ะจม เรียกว่า อนั จม นับเป็น 1 อนั (1 ยก เกณฑก์ ารตัดสนิ คือการที่ไก่ตัวแพ้ไม่สู้ เมื่อถูก
ตีจะร้องแล้ววิ่งหนี หรือวิ่งหนีแต่ไมร่ ้อง เมื่อ เอามาวางใหม่ 3 ครั้ง ถ้าไม่ถือว่าแพ้ ไก่บางตัวตีกัน จนหมดแรงแล้ว
เอาอกปะทะกัน เอาคอไขว้กันนิ่งอยู่ พอแยกออกก็วิ่งเข้าซุกกันอีกโดยไม่ทาร้ายกันและกัน ไม่มีฝ่ายใดห ถือว่า
เสมอกนั การต่อสูข้ องไกช่ นเป็นที่ชืน่ ชอบของผู้คน แม้ว่าจะมกี ารพนันขนั ตอ่ เข้าม เกีย่ วขอ้ งกย็ ังเป็นกีฬาเพ่ือความ
บันเทงิ ทมี่ ีศาสตรแ์ หง่ การเล้ยี ง และสรา้ งความสัมพนั ธ์ได้ ผู้คนไดพ้ บปะรู้จักมักคุ้นกันไดเ้ ป็นอย่างดี
(3) สะบ้า การละเล่นสะบ้าเป็นกีฬาพื้นบ้าน ที่เล่นกันทั่วไป แต่ที่จะกล่าวถึงในที่นี้เปน็ การเล่นสะบ้าของ
ตาบลหัวสาโรง อาเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ชาวบ้านในท้องถิ่นสืบเชื้อสายมาจากชาวเขมร จึงมีวิธีการ
เลน่ ทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะถน่ิ (ไศลรัตน์ ดลอารมณ์ นพวรรณ เลาหบุตร และวรศิ รา เชนะโยธนิ , 2543 : 70)
ลูกสะบ้าท่ใี ช้เล่นเปน็ เม็ดของตน้ ไมช้ นิดหนง่ึ ลักษณะต้นเปน็ เถาวัลยม์ เี ม็ดอย่ใู นฝักขาวคล้ายสะตอ เม่ือฝัก
แกจ่ ะนาเม็ดมาเล่นสะบ้า
114
วิธีเลน่ แบง่ เป็น 2 ฝ่าย คือ ชายและหญิง ไม่จากัดจานวนผู้เล่น แต่ต้องไม่เกินเม็ดสะบ้าทีม่ ี่อยู่ จากนั้นนา
เม็ดสะบ้ามาแบ่งกัน แต่ละฝ่ายกาหนดวัวขึ้นมา 2 ตัว วัวคือตัวแทนของแต่ละฝ่าย วัวที่ใช้เล่นจะเลือกเม็ดสะบา้ ที่
เลก็ ทีส่ ุดเท่าท่จี ะหาได้ในวงมาตง้ั บนพ้ืนทรายฝ่ายละ 2 ตัว จากนนั้ จับไม้ส้ันไม้ยาวเพ่ือหาผู้แพ้ผู้ชนะ ผู้ชนะจะทอย
ก่อนโดยทอยไปยังลูกสะบา้ ท่เี ป็นววั ของฝา่ ยตรงข้าม ทอยจนกวา่ ลกู สะบา้ ท่ีเป็นววั ของฝ่ายตรงข้ามจะล้มลง ถ้าล้ม
2 ตัวจะต้องพยายามทอยให้วัวอีกฝ่ายล้มให้ได้ 2 ตัวเท่ากัน หรือจนกว่าจะหมดเม็ดสะบ้า ในกรณีที่วัวล้มตัวเดียว
จะต้องทอยใหอ้ ีกฝ่ายลม้ ตวั เดยี วเชน่ กนั การแพ้ชนะตัดสนิ กันทฝ่ี า่ ยวัวลม้ แลว้ ไมส่ ามารถทอยกลบั คืนมาได้หมด จะ
ถูกปรบั เป็นแพ้การลงโทษใช้วิธีคลานเข่าและเขกเขา่
การคลานเข่าผู้เลานของฝา่ ยแพร้ ะหว่างคลานต้องร้องว่า ววั ๆ ๆ ๆ และไปคาบวัวของตนคืนมาจากฝ่ายผู้
ชนะและจะถูกผู้ชนะเขกเข่าด้วยลูกสะบ้า วิธีการเขกเข่า ผู้ชนะจะนาเม็ดสะบ้า 2 เม็ด มาใส่ในอุ้งมือ เม็ดบนใช้
นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้จับ เม็ดล่างใช้นิ้วกลางอุ้มไว้โดยเมด็ สะบ้าจะอยู่ห่างกันแลว้ นาไปเขกเข่าฝา่ ยแพ้ เมื่อเขกลงไป
จะมีเสียงดังก๊อก ๆ ซึ่งเป็นเสียงเม็ดสะบ้ากระทบกัน ถ้าฝ่ายหญิงชนะมักเขกแรง ๆ แต่ฝ่ายชายชนะจะสงสารเขก
เขา่ ฝา่ ยหญงิ เบา ๆ
(4) แข่งเรือยาว เป็นกีฬาพื้นบ้านทีเ่ ล่นอยู่ท่ัวไป โดยเฉพาะจงั หวดั ท่ีมีแม่น้าไหลผา่ น การแข่งขันเรอื ยาว
ทางภูมภิ าคตะวนั ออกถือเปน็ กีฬาพ้นื บ้าน ที่นิยมเล่นโดยเฉพาะทีจ่ ังหวัดระยอง จะมปี ระเพณีแขง่ เรือยาวในแต่ละ
อาเภอ แต่การแข่งเรอื ยาวท่ีปากน้าประแสร์ ในเขตอาเภอแกลง ชาวบ้านในแถบนม้ี ีความชานาญทางเรอื เป็นพิเศษ
นอกจากเป็นชาวประมง การจัดแข่งจึงถือเป็นประเพณีทีส่ าคัญนอกจากจะแข่งเพื่อความสนกุ สนานแล้วยังชว่ ยให้
งานทอดผ้าป่ากลางนา้ เปน็ ทนี่ ่าสนใจและประทบั ใจให้แกผ่ ชู้ มให้ดูคามสามารถของชาวเรือ เป็นการประชาสัมพันธ์
การละเล่นท้องถ่นิ (สานักนายกรฐั มนตรี, 2542 ผ : 120 – 121)
การแขง่ ขันเรอื ยาวจดั ขน้ึ ในวนั กลางเดือน 12 ตรงกบั งานทอดผา้ ปา่ กลางนา้ และวันลอยกระทง ณ บริเวณ
แมน่ า้ ประแสร์
วิธีการจัดการแข่งขัน จัดโดยคณะกรรมการจัดงานผ้าป่ากลางน้าของหมู่บ้าน จะมีเรือจากหมู่บ้านและ
ตาบลใกล้เคียงมาร่วมแข่งขัน บางปีมีเรือยาวจากจังหวัดจันทบุรี เข้าร่วมแข่งขันด้วย เรือยาวที่ร่วมแข่งขันจะเป็น
เรอื ประจาของวดั ตา่ ง ๆ ในตาบลน้ันและตาบลใกลเ้ คียง หรอื บางลาเป็นเรอื ของชาวบ้าน กาหนดการแขง่ ขันจะเริ่ม
งานตั้งแต่เวลา 09.00 น. เรือที่เข้ามาแข่งขันมีหลายขนาด เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง จานวนผู้พายจัดจานวนขนาด
พอเหมาะกับขนาดของเรือ มีการจัดตกแต่งเรอื ให้ดสู วยงาม ทั้งลาเรือและคนภายเรือ บางลามีฝพี ายเป็นชายล้วน
บางลากเ็ ป็นหญงิ ลว้ น บางลากม็ ที ้งั ชายและหญงิ ฝีพายมีทัง้ หน่มุ สาวและคนแก่
การแข่งขันจะเร่ิมด้วยการเปรียบเทียบจานวนฝีพายเท่า ๆ กนั หรอื อาจจะมากกวา่ กนั เล็กน้อย เมื่อได้แจ้ง
คณะกรรมการท่ีไดท้ าการแข่งขันเรียบร้อยแล้ว เรอื เหลา่ นัน้ จะพายไปตามลาแม่น้าเพื่อให้ประชาชนได้ชมและเพื่อ
ความสนุกสนานของฝีภาย ในเรือนั้นการแข่งขันจะมีทั้งประเภทสวยงาม ประเภทความคิด ประเภทตลกขบขัน
115
และประเภทฝีพายธรรมดา แต่ละลาจะมีการร้องราทาเพลงอย่างครึกคร้ืน บางลาก็พายไปมา บางลาก็จอดอยู่กับ
คณะกรรมการการจดั งาน และผู้ใจบุญจะแจกขา้ วหอ่ ขนมและเคร่ืองดืม่ ใหค้ นพายทุกคน
การประกวดเรอื ประเภทสวยงาม และประเภทความคิด จะประกวดในภาคเช้าหลังจากรับประทานอาหาร
กลางวันแล้ว จะเร่ิมการแข่งขนั เรือพายเวลาประมาณ 13.00 น. คราวละ 3-4 ลา ตามจานวนเรือที่เข้าแข่งขันและ
จานวนฝพี าย เมื่อไดเ้ รือชนะที 1 ของแต่ละรอบแลว้ เรือทีช่ นะรอบแรกจะไดเ้ ขา้ แข่งขันในรอบชนะเลิศอีกครั้งหน่ึง
ในการแขง่ ขนั จะมอบรางวัลให้เหลือท่ีเข้าประกวดและแข่งขนั ทุกลาเรือทช่ี นะเลิศจะได้รบั ของรางวัลมากเป็นพิเศษ
ส่วนมากของรางวลั เมอ่ื เรือแต่ละลาไดร้ บั ก็จะนาไปถวายวดั
เมื่อการแข่งขันเรือเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีการประกวดเทพีนาวาโดยจัดหาสาวสวยประจาเรือที่มารว่ มงาน
ประกวด
นอกจากนี้ผู้ที่มาชมงานแข่งเรือทั้งคนในตาบล ต่างตาบล ต่างจังหวัด จะได้นั่งเรือบริการฟรีของ
ชาวประมงประแสร์ ซ่ึงบริการรบั สง่ ใหต้ ลอดงาน จึงมีผมู้ าชมงานปีละมากๆ
(5) ช่วงชัย หรือชาวบ้านเรียกว่าช่วงรา หรือลูกช่วงก็ได้ ที่เรียกว่าลูกช่วงนี้อาจจะหมายถึงลูกโยนซึ่งใช้
ผ้าขาวมา้ บา้ ง หรือผา้ อะไรก็ได้ท่เี ป็นสีเ่ หลี่ยมพ้นื ผ้า เอาปลายผา้ ขา้ งหนึ่งมาบดิ รวมกันใหเ้ ป็นเกลียว แล้วเอาปลาย
อีกข้างหนึ่งที่คลี่อยู่มาม้วนรวมกันเข้าเป็นก้อนกลม หรือมัดให้แน่นเป็นลกู เพื่อใช้โยนหรือขวา้ งกัน ส่วนที่เรียกวา่
ช่วงรา น้ัน เพราะ เมื่อเล่นลูกโยนชว่ งไปหมดชว่ งหนง่ึ แล้วฝ่ายแพ้ตอ้ งถกู ปรบั ให้เปน็ ผรู้ า
ช่วงชัยเป็นการเล่นกีฬาพื้นบ้านนิยมเล่นหลายท้องถิ่นของภาคตะวันออก ที่จังหวัดปราจีนบุรีนิยมใช้
สถานท่ีทีเ่ ลน่ ชว่ งชยั ทลี่ านวัดในวนั สงกรานต์ เมอ่ื หนุ่มหนุ่ม สาวสาว ทาบุญตักบาตรเรยี บร้อยแล้วในช่วงเช้ามีการ
นัดแนะกันเพื่อเล่นหาความสนุกสนานรื่นเริง ก่อนถึงเวลาเลี้ยงพระเพลและสรงน้าต่อในตอนบ่าย และจะต่อด้วย
การก่อพระเจดยี ท์ รายในตอนเยน็ และจะได้ดกู ารแสดงตลอดจนได้ร่วมเลน่ การละเลน่ ต่อในตอนค่าคืนอีกดว้ ย การ
เล่นช่วงชัยเป็นการเล่นระหว่างชายหญิง โดยให้มีจานวนผู้เล่นที่เท่ากันโดยมากไม่ต่ากว่าข้างละ 5 คน จากนั้นก็
จัดทาลูกช่วงขึ้น ซึ่งที่จริงใช้เพียงเป็นสื่อในการเล่นให้สนุกเท่านั้น แล้วก็มาแบ่งเขตแดนและเลือกข้างกันด้วยการ
ปั่นแปะ หรือเป่ายิงฉุบ เมื่อเลือกข้างได้แล้วก็กาหนดขีดเส้นกั้นกลางเขตแดน และกาหนดเส้นเขตด้านหลังแต่ละ
ฝา่ ยไมใ่ หห้ นลี า้ ออกนอกเสน้ ด้วย
เมื่อเริ่มเล่นฝ่ายชายจะเป็นผู้โยนลูกช่วงไปยังฝ่ายหญิงก่อน ถ้าฝ่ายหญิงสามารถแย่งกันรับได้ ก็จะต้อง
ขวา้ งลกู ช่วงนั้นเขา้ ไปในแดนฝ่ายชาย หมายใหถ้ กู ผู้ใดผู้หน่ึงถา้ ไม่ถกู ก็ถึงตาที่จะต้องเป็นฝ่ายโยนลูกช่วง ให้ชายรับ
บ้างข้างฝ่ายชายเมื่อรบั แล้วก็จะต้องรบั ลูกช่วงน้ันเข้าไปในแดนฝ่ายหญงิ กะให้ถูกผู้ใดผู้หนึง่ เช่นกัน ผลัดกันโยนไป
โยนมาอย่างน้ีจนกว่าจะได้ผูแ้ พ้ผูช้ นะ หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกขว้างมาถกู ต้องตัวมากกว่าก็ถอื ว่าเป็นฝ่ายแพ้ปรบั ให้
รา มีข้อแม้หรือกติกาอยูว่ ่าการว่ิงไปขว้างลูกช่วงนัน้ จะวิ่งล้าแดนเส้นกลางไม่ได้และขา้ งฝ่ายที่จะต้องหลบหรือหนี
ลูกชว่ งนน้ั จะพ้นเส้นหลังแดนตัวเองไมไ่ ดเ้ ช่นกนั
การปรับรานน้ั ตามที่นิยมกนั มอี ยู่ 2 วิธี คือ
116
1) ทง้ั ผขู้ วา้ งและผูถ้ ูกขว้างจะต้องออกมารา โดยมคี นอ่ืน ๆ ล้อมวงกันเข้ามาขบั ร้องเป็นลูกคู่ แบบน้ีผู้รา
กจ็ ะมเี พียง 2 คน คอื ชายหญิงคทู่ ่ขี ว้างและถูกขวา้ ง
2) ปรบั ให้ผู้เลน่ ที่ถกู ขว้างเป็นฝ่ายแพต้ อ้ งราทง้ั คณะ โดยมีฝา่ ยชนะลอ้ มวงกันเขา้ เป็นผู้รอ้ งเพลง แบบนี้ผู้
ราอาจจะเป็นชายท้งั คณะหรือหญิงทั้งคณะก็ได้
(6) มวยป่าจาก เป็นการละเล่นของชาวบ้านอาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา นิยมเล่นในช่วง
สงกรานต์ โดยกาหนดใช้ใบจากพื้นเวทีมวย ใบจากเป็นไม้ป่าชายเลนที่มมี าก คู่ชกต้องปิดตาอาศยั เสียงเดินบนพื้น
ใบจากเป็นทศิ ทางการชก ใช้กะลาทีม่ ีรเู รียกวา่ กะลาตาเดียวบรรจนุ า้ เตม็ นา้ หมดก็หมดเวลาชก
(7) มวยทะเล เป็นการละเล่นของชาวอาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นการชกมวยบนคานไม้สูง
จากผิวน้า 1-2 เมตร โดยชกกันด้วยมือเท่านั้น ส่วนเท้าใช้ควบคุมร่างกายไม่ให้ตกหล่น หากใครโดนชกหล่นจาก
คานตกนา้ ถือเปน็ แพ้
117
เอกสารอา้ งองิ
คณะกรรมการประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, สานักนายกรัฐมนตรี. (2542 ค). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณ์และภมู ปิ ัญญา จงั หวัดจนั ทบุร.ี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ
กรมศิลปากร. (จัดพิมพเ์ น่อื งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม
2542).
__________. (2542 ธ). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวั ด
ปราจีนบุรี. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราช
พิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ด). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวั ด
นครนายก. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราช
พิธมี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ผ). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดระยอง.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ล). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสระแก้ว.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
ราชนครินทร์, สถาบันราชภัฏ, สานักศิลปวัฒนธรรม. เอกสารราชภัฏวัฒนธรรม 2 สัมผัสวัฒนธรรมพื้นบ้าน
จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา. สถาบันราชภฏั ราชนครนิ ทร.์
ไศลรัตน์ ดลอารมณ์, นพวรรณ เลาหบุตร และพวริศรา เชนะโยธิน. (2543). งานวิจัยเรื่อง วัฒนธรรมพื้นบ้าน
ตาบลหวั สาโรง. สถาบันราชภฏั ราชนครินทร์.
อภิชาติ ทวีโภคา. (2545). ประสารทสด๊กก๊อกธม : ประวัติศาสตร์และอารธรรมขอม สระแก้ว บันเตียเมียนเจย.
ช.ดารงชัยการพิมพ.์
อมรา กล่าเจริญ. (2542). งานวิจยั เรือ่ งระบาบ้านไร่ ศึกษาเฉพาะกรณี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สถาบันราชภัฏ
พระนครศรีอยุธยา.
บทที่ 8
เพลงและการละเลน่ พ้นื บา้ นภาคตะวันตก
ภาคตะวนั ตกของประเทศไทยประกอบด้วยพ้ืนที่ 5 จังหวดั ได้แก่ จังหวดั ตาก กาญจนบรุ ี ราชบุรีเพชรบุรี
และประจวบคีรีขันธ์ ลักษณะสภาพทางภูมิศาสตร์จึงมีพื้นที่ที่ติดกับทางภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง
วัฒนธรรมทางการละเล่นพ้นื บ้านในแถบนจ้ี ึงเป็นลกั ษณะการผสมผสานทางวัฒนธรรมของภาคเหนือและภาคกลาง
ส่วนทางดา้ นตะวันตกมีอาณาเขตติดกับพม่า มีเทอื กเขาเปน็ ส่วนที่แบ่งพรมแดนทาให้มีกลุ่มชนเช้ือสาย พม่า มอญ
และชาวเผ่ากะเหร่ียง อาศัยอยูแ่ ละในกลุ่มทรี่ าบลุ่มแม่น้าแมก่ ลอง ได้แกจ่ ังหวัดเพชรบุรรี าชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ มี
ชาว เขา มอญ จีน ไทยกลาง อาศัยอยู่ความหลากหลายของชุมชนที่ย่อมมีวัฒนธรรมประเพณีของแต่ละชุมชนที่
ยังคงรกั ษารปู แบบของตนเองไว้
เพลงและการละเล่นพื้นบ้านของภูมิภาคตะวันตก บางชนิดรูปแบบการเล่นคล้ายกันกับภาคกลาง บาง
ชนิดเป็นการละเล่นของชาวกะเหรี่ยง มอญ ไทย-ยวน ลาวโซ่ง ซึ่งพบได้ในช่วงเทศกาลต่าง ๆ ของท้องถิ่นเพลง
พื้นบ้านและการละเล่นในรูปแบบของการแสดงเพื่อความบันเทิง ที่เป็นพิธีกรรม ศิลปะการต่อสู้ และกีฬาพื้นบ้าน
ในภมู ิภาคน้มี วี ธิ กี ารเลน่ และวิธีการแสดงท่ีเปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะถิน่
หลงั จากศึกษาบทนี้แล้ว นกั ศกึ ษาควรเกดิ แนวคิดตอ่ ไปน้ี
1. เพลงและการละเล่นพ้ืนบา้ นภาคตะวันตก บางชนดิ ขายกนั กับของภาคกลาง และบางชนิดมคี วามแตกต่างกัน
ไปตามถิ่นทีอ่ ยอู่ าศยั แตล่ ะกลุ่มและเผ่าพนั ธ์ุ
2. เพลงและการละเล่นพ้ืนบ้านของภาคตะวันตก มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นที่ได้รับการอนุรักษ์ และสืบสาน
การละเล่นมาจนถึงปัจจุบนั
119
8.1 เพลงพืน้ บา้ น
เพลงพื้นบ้านภาคตะวันตก มีลักษณะหลากหลายรูปแบบตั้งแต่จังหวัดตาก ที่มีพื้นที่ติดกับภาคเหนือ
ตอนล่าง มีเพลงค่าว จ๊อย ละครซอ เพลงฉ่อย จังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี และประจวบคีรีขันธ์ มีเพลง
เหย่อย เพลงปรบไก่ เพลงพวงมาลัย เพลงระบาชาวไร่ โอกาสที่เล่นเพลงพื้นบ้านจะเล่นในงานตรุษสงกรานต์และ
งานสาคัญของท้องถิน่ สว่ นใหญ่เลน่ เพลงเพ่อื ความบันเทิงมากกว่าท่ีจะเปน็ เร่ืองของพิธกี รรม
ตวั อย่าง เพลงพ้ืนบ้านท่มี ีเลน่ ในภาคตะวันตก
8.1.1 จ๊อย เพลงพื้นบ้าน “จ๊อย” มีเล่นอยู่หลายหมู่บ้านในจังหวัดตาก ที่ตาบลบ้านนาเดิม ตาบล
ยกกระบตั ร อาเภอสามเงา ตาบลแมส่ ลดิ อาเภอบา้ นตาก การจอ๊ ยท่ีมีความสนุกสนาน คือการจ๊อยในการลงแขกตี
ขา้ ว (สานกั นายกรัฐมนตรี, 2542 ซ : 140 – 141)
การจ๊อย จะมผี ู้ชาย 1 คน เชิญชวนผู้หญิงมารว่ มจ๊อยดว้ ย การเลน่ จะมมี ากกว่า 1 คู่ มารว่ มร้องเล่นคนละ
1 วรรค ผู้ที่ไม่ได้ร้องจะเป็นลูกคู่รับว่า “เชย” การรับจะรับเปน็ ระยะ ๆ มีเสียงสูงต่าเป็นจังหวะ จ๊อยลงแขกตีข้าว
จะจ๊อยกนั จนกวา่ ตีข้าวหมดลาน ถ้ามลี านขา้ วอน่ื อีกกจ็ ะไปจอ๊ ยกันต่อ
8.1.2 ละครซอ คนไทยพื้นที่ราบพี่เป็นคนพื้นบ้านภาคตะวันตกตอนเหนือ นิยมเล่นละครซอการเล่นจะ
ประกอบด้วยผู้รอ้ งซอชายและผรู้ ้องซอหญงิ รอ้ งตอบโต้ดว้ ยถ้อยคา “ตัวคาซอ” เปน็ ท่สี นกุ สนานบทรอ้ งมเี น้อื ความ
ในเชิงเกี้ยวพาราสีกัน สอดแทรกคาสอนเตือนสติให้ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรม และแสดงเป็นเร่ื องมีเนื้อหาเป็น
ลักษณะละครบนั เทงิ ใจ
คาร้องของละครซอจะร้องและพูดเปน็ ภาษาเหนือใช้ถ้อยคาคล้องจองแทรกมุกตลกเป็นชว่ ง ๆ บางครั้งคา
ร้องจะกล่าวตรง ๆ และหยาบโลนตามลกั ษณะเพลงพน้ื บา้ น
(1) ดนตรีประกอบการซอ ไดแ้ ก่ ขลยุ่ ผวิ ปี่ ซอดว้ ง ซออู้ และซงึ
(2) โอกาสที่เล่น งานทาบุญอทุ ิศสว่ นกุศลให้ญาตพิ ่ีน้องท่ีตาย งานบวชนาค และงานรน่ื เรงิ ต่างๆ
ละครซอไม่มีราประกอบ แตเ่ ปน็ การร้องตอบโต้หรือพูดคุยกันของคู่เพลงบนเวทีใน ปัจจุบันบางแห่งมีการ
ประยกุ ตใ์ ช้เคร่อื งดนตรสี ากลประกอบ และมกี ารเต้นราผสมผสานรว่ มไปกบั การซอบา้ ง
8.1.3 เพลงฉ่อย การเล่นเพลงฉ่อยในภูมิภาคนี้ พบว่ามีเล่นอยู่ทั่วไปในจังหวัดตาก ราชบุรี มีพ่อเพลงแม่
เพลงทีม่ ีชอื่ เสยี งหลายท่าน บางทอ้ งที่เรยี กเพลงฉอ่ ยว่า เพลงวง ตามลกั ษณะการยืนเป็นวง บางท้องที่เรยี กเพลงฉ่า
ตามเสียงรอ้ งรับของลกู คู่
เพลงฉ่อยเป็นเพลงปฎพิ ากย์ โต้ตอบระวา่ งชายหญงิ บทท่รี อ้ งจะเป็นบทเกีย้ วพาราสี บทรกั เล่น เป็นชุดสู่
ขอ ลักหาพาหนี ชิงชู้ ตีหมากผัว ใช้ภาษาสองแง่สองง่าม บางทใช้ภาษาตรงในเรื่องเพศ บทสังวาส ใช้จังหวะ
ปรบมือเป็นเคร่ืองประกอบจังหวะช่วยเพื่อความครึกครื้น แต่ถ้าเพลงฉ่อยที่เล่นเป็นเรื่องราว เช่น เล่นเรื่องขุนช้าง
120
ขุนแผน แก้วหน้าม้า หรือนิทานพนื้ บ้านต่าง ๆ มวี งปพ่ี าทยเ์ พลงรับ จะเรยี กว่า เพลงทรงเครือ่ ง มกี ารแต่งกายเสริม
เพอื่ ให้ดสู มจรงิ ตามบทบาทของเรือ่ งทแี่ สดง
ตัวอย่าง เพลงฉ่อย ของผู้ใหญ่หลี ขามี เจ้าของคณะเพลงฉ่อย ที่เล่นในท้องที่บ้านสระคลุก ตาบลตลุก
กลางทุ่ง อาเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เล่นเป็นแบบเพลงทรงเครื่องเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วไปศึก
เชยี งใหม่ (สานักนายกรฐั มนตรี ช, 2542 : 134 – 135)
เออ เออ เอ้อ ลูกจะหยิบเรื่องเก่า ลูกจะสาวเรืองก๊ก จะช่วยพยุงหยิบหยก ถึงเรื่องเจา้ กัลยา เมื่อออกจาก
ห้องก็สองแถจะเข้าไปชมแนวพนา เออ เออ เอ้ย ไล่เมื่อจะออกจากห้องก็สองแถวจะออกจากห้องจะจากห้องสอง
แถวจะเข้าไปชมแนวพนาจะเข้าไปชมแนวพนา จะเข้าไปชมแนวพนา เออ เออ เออ เอ้อ ไล่ ละ ช่า ฉ่า ช่า ฉ่า ช่า
ฉ่า น่อยแม่ เออ เอ้ย จะกล่าวถึงพลายแก้วแววสุวรรณ พระเป็นยอดทหารอยู่เมืองใต้ พระเป็นยอดทหารรับ
ราชการบรุ ี ไดอ้ าสาข้นึ มาตถี ึงเชยี งใหม่ เมอื่ แรกมาตที ี่เชยี งเงนิ ไดเ้ ป็นสองแลว้ มาตีเชยี งทองได้เปน็ ลวดลาย อ้า เอ้ย
ก็ลายพอแลเห็นข้าศึกสมนึกว่าแน่เลยต้ังวัดท่าแคให้เรียกวา่ วัดธาตุไทย เอ ละช่า ฉ่าช่า ฉ่า ช่า ฉ่า น่อยแม่ ตั้งวดั
ท่าแคให้เรียกว่าวัดธาตุ ฉ่า ล่า ฉ่า น่อยแม่ ตั้งวัดท่านาตรงกับหนองบัวตาย กลับไปได้แม่พิมอยู่ที่สุพรรณ ได้อยู่
ด้วยกัน สามวันต้องจากไกล เอ ละ ช่า ฉ่า ล่า ฉ่า ล่า ฉ่า น่อยแม่ ได้อยู่ด้วยกันสามวันต้องจากไกล มาได้กลับบัว
คลี่อยู่ที่เมืองพิจิตร พ่อตาแกก็คิดแล้วขับไล่แล้วก็เลยมาได้กลับลาวทองนี่หมายจะเข้าครอบครองทั้งเวียงชัย แต่
เดี๋ยวนี้ทรงท่านองค์พระพันวสาท่านได้มีท้องตรามาทิ่มตา มิว่าข้างหลังเกิดความวุ่นวาย เอ ละ ข่า ฉ่า ข่า ฉ่า ข่า
ฉา่ น่อยแม่ ก็วา่ ข้างหลังวนุ่ วายตกลงมาบ่ายหนงึ ให้เลิกทัพกลบั ลอ่ ง ตกลงมาบา่ ยสองให้เลิกทัพกลับไปกลับไป ตก
ลงมาบ่ายสามกับประทับตาวา่ ขืนอยู่ชีวาจะวาย เอ ละ ช่า ฉ่า ล่า ฉ่า ล่า ฉ่า น่อยแม่ ว่าขืนอยู่ชวี าจะวายนะก็จะ
วาย จะจะเรียกกล่าวคาจะปรึกษากับเจ้าลาวทอง นี่หมายจะชวนน้องล่องไปใต้ เออ เอ้ย เอ ละ ล่า ฉ่า ล่า ฉ่า ช่า
ฉ่า น่อยแม่ ก็หมายจะชวนน้องล่องไปเมืองใต้ เจ้าจะไปหรือไม่ไปก็ยัง เจ้าจะไปหรือไม่ไปก็ยังไม่รู้ จะเรียกออมา
ถามดูให้แน่ใจ เอ ละ ช่า ฉ่า ช่า ฉ่า น่อยแม่ เวลานี้ทรงธรรมได้ยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยา จาเป็นต้องเรียกเจ้าลาว
ทองเมยี รกั ของเราออกมาถามดู จะชวนล่องกรงุ ศรีอยุธยาดว้ ยน้ัน เจ้าจะไปหรือไมไ่ ป กย็ งั หาทราบไม่ ก็ยังหาทราบ
ไม่
พูด...เออนแี่ น่เจา้ ลาวทองน้องรักของพ่ี เกยะ น้องหนาเจา้ ขาออกมาหาพ่ีสักหน่อยเถดิ นอ้ ง ไปทาอีหยังละ
เจา้ ขา มาเถิดน้องธุระของพี่มีพจ่ี ะปรกึ ษาหารือกับเจา้ ลาวทองน้องรัก สักหน่อยนะน้องนะ
เออ เออ เอย จะกล่าวถึงลาวทองผ่องโสภา อยู่ในห้องเคหาชั้นใน เออ ละ ช่า ฉ่า ช่า ฉ่า น่อยแม่ ก็นาง
กาลงั จีบหมากม้วนยาซึง่ ผวั เรียกหากอ็ อกไป เอ ละ ชา่ ฉ่า ชา่ ฉ่า ช่า ฉ่า นอ่ ยแม่ นางก็จึงยกเทา้ ก้าวออกมาจากใน
ห้องชั้นใน แตพ่ อมาถงึ ก็หมอบยุบยอกายแลว้ ค่อยคลานเข้ามาใกล้ แต่พอมาถงึ ตรงหน้าจึงยกมือวนั ทา อีฉนั ไหว้ เอ
ละ ชา่ ฉ่า ชา่ ฉ่า ชา่ ฉา่ นอ่ ยแม่
8.1.4 เห่เรือบก เป็นการเล่นเพลงพื้นบ้านดัดแปลงมาจากการเห่เรือน้า ซึ่งเป็นประเพณีดั้งเดิมของชาว
เพชรบุรี การห่เรือบกเริ่มมากว่า 20 ปี หลังจากสร้างเขื่อนเพชรปิดกั้นแม่น้าเพชรบรุ ีท่ีอาเภอท่ายาง ซึ่งเป็นผลให้
121
แมน่ ้าเพชรบรุ ีแหง้ ขอดลง และส่วนตอนกลางแม่นา้ ก็ตื้นเขิน ไม่เหมาะแกก่ ารเห่เรือน้าเหมือนในอดตี ผู้เคยเล่นเรือ
นั้นจึงคิดดัดแปลงลักษณะการเห่เรือน้ามาเล่นบนบก โดยเอาเนื้อร้องและทานองมาประยุกต์เพิ่มเติมให้เหมาะสม
กบั ท่าทางของฝีพาย ขณะเดินเห่ (สานักนายกรฐั มนตรี, 2542 น : 115)
ในอดีตการเห่เรือน้า นิยมเล่นกันในเทศกาลทอดกฐินและลอยกระทง ตั้งแต่กลางเดือน 11 จนถึง
กลางเดอื น 12 เพราะเปน็ ฤดนู า้ หลาก วดั ทีอ่ ยู่ใกลแ้ มน่ ้าลาคลองมักจะจัดให้มีการแข่งเรือในเทศกาลทอดกฐิน การ
เดินทางไปทอดกฐินตามวัดใกล้แมน่ า้ ลาคลอง โดยปกติเจา้ ภาพจะจดั เรือกฐนิ ให้สวยงาม และมีกระบวนเรือลาอน่ื
ๆ ห้อมล้อมตามไป ระหว่างทางจะมีการร้องราทาเพลงหรือขับเห่กันไปด้วย การทอดกฐินในลักษณะนี้เรียกว่า
“กฐินเรือ” หลังจากทอดกฐินแล้วจึงเป็นการเห่เรือและแข่งเรือ นิยมเล่นกันมากตามวัดริมแม่น้าในท้องที่ อาเภอ
บ้านลาด อาเภอเมืองเพชรบุรี และอาเภอบ้านแหลม
การละเล่นเห่เรือบก ใช้ผู้เล่นมีทั้งชายหญิงซึ่งเป็นทั้งฝีพายและลูกคู่ เรือจาลองจะประดับด้วยผ้าและ
ดอกไม้ให้สวยงาม เนื้อความที่ใช้ในการเห่เรือบกจะเริ่มด้วยบทไหว้ครู บทเกริ่น บทเกี้ยวพาราสี บทชมนกชมไม้
ต้นเสยี งจะเหบ่ ทเพลง ลูกคู่ ร้องรับ เมื่อเห็นว่าสมควรแก่เวลาจะเหบ่ ทอาลา และอวยพรให้ผู้ชม
8.1.5 เพลงปรบไก่ เป็นเพลงพ้ืนบ้านทเี่ ล่นอยู่ทวั่ ไปมาแตโ่ บราณ ในภาคตะวนั ตกเพลงปรบไก่มีเล่นอยู่ใน
จังหวัดราชบุรี และเพรชบุรี นิยมเลน่ ในเทศกาลตรุษสงกรานต์ ปัจจบุ นั ยังมเี ล่นอยู่ทขี่ ้างวดั เวยี งทุนอาเภอะวัดเพลง
จังหวัดราชบรุ ี นิยมเล่นเพื่อแก้บนที่ศาลเจ้าพ่อโคกกระตา่ ยซึ่งชาวเวยี งทนุ ให้ความเคารพนับถือ จังหวัดเพขรบุรีมี
เล่นที่บ้านดอนข่อย และเล่นกันเป็นประจาทุกปีในวันขึ้น 15 ค่าเดือน 6 เพื่อบวงสรวงศาลประจาหมู่บ้านและทา
พธิ ีขอฝน ในพิธบี วงสรวง เมื่อเสรจ็ พธิ ีเลีย้ งพระก็จะเร่ิมเล่นเพลงปรบไกจ่ นถึงเวลาเย็น
(1) วิธีเล่น จะแบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายชายและหญิง แต่ละฝ่ายจะมีพ่อเพลงแม่เพลง
ฝ่ายละ 1 คน มีลูกคู่อีกฝ่ายละประมาณ 4 คน คอยร้องรับว่า “เอ้ช้าไฮ้” หรือ “ฉ่าช้าไฮ้” พร้อมทั้งปรบมือให้
จังหวะ เนื้อหาในบทร้อง เริ่มตั้งแต่ บทไหว้ครู บทเกริ่น เกี้ยวพาราสี เรื่องวรรณกรรมพื้นบ้าน เรื่องเบ็ดเตล็ด จบ
ด้วยบทลา กระบวนการเล่นแต่ละท้องถิ่นจะแตกต่างกันไปบ้างในเรื่องการใช้ภาษาในการร้อง กลวิธีในการ
ดาเนนิ การเล่น และการแตง่ กายตามความนิยมของแต่ละทอ้ งถิน่
(2) การให้จังหวะ การเล่นเพลงปรบไก่แต่โบราณมาจะใช้การตบมือเปน็ จังหวะใช้กระแทกเสยี ง
ความสนกุ ของผเู้ ล่นทาให้การเล่นเพลงสนกุ สนานย่ิงข้ึน การเล่นเพลงปรบไก่ทเี่ ล่นกนั ในจังหวัดเพชรบุรี ปัจจุบันใช้
ดนตรีประกอบด้วย ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงเล็ก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน ปี่ กลอง และฉิ่ง บรรเลงประกอบการ
เล่นเพลงปรบไก่ (สานักนายกรัฐมนตรี, 2542 น : 116)
8.1.6 เพลงพวงมาลัย เป็นการเล่นเพลงพื้นบ้านที่มีมานาน เล่นสื่อต่อกันมาตั้งแต่โบราณ การเล่นเพลง
พวงมาลัยในภูมิภาคนี้ นิยมเล่นกันในจังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และเล่นกันในเทศกาล
นักขัตฤกษ์ เช่น งานมงคล โกนจุก บวชนาค ทอดกฐิน เปลี่ยนไปตามยุคสมัย ปรากฏว่าการเล่นเพลงพวงมาลัย
สมยั น้ี ไดเ้ ปลีย่ นจากการร้องครั้งละหลาย ๆ ประโยคมาเปน็ บทร้องสั้น ๆ และเรยี กช่ือตามลกั ษณะการร้อง ถ้าร้อง
122
ทีละหลาย ๆ ประโยคเรียกว่าพวงมาลัยยาวหรือพวงมาลัยช้า ถ้าร้องเป็นบทสั้น ๆ เรียกว่า พวงมาลัยสั้นหรือ
พวงมาลัยเรว็
วธิ เี ล่นเพลงพวงมาลัย เพลงประเภทนีน้ ิยมเล่นท้ังในนา้ และบนบก ถา้ เล่นเพลงบนบกผู้เล่นจะต้องยืนเป็น
วงกลม แบ่งเป็นฝา่ ยหญงิ และฝ่ายชายอย่ฝู ่ายละคร่ึงวงกลม แตล่ ะฝา่ ยมีแมเ่ พลงข้างละ 1 คน นอกจากน้ันเป็นลูก
คู่อย่างน้อยสามคน ลูกคู่มีหน้าที่รับและตบมือเป็นจังหวะ การร้องเป็นการร้องเกี้ยวพาราสีเชิงชู้สาว คาร้องเป็น
กลอนสดว่าแก้กัน เร่ิมเลน่ พ่อเพลงจะร้องเกรนิ่ ลูกคู่จะตบมือใหจ้ ังหวะ ฝา่ ยใดรอ้ งก็จะออกมารากลางวง เมื่อชาย
รอ้ งจบหญิงจะออกมารอ้ งแกเ้ พลง ผลดั กนั ร้องราไปจนจบการเลน่
ตวั อย่าง เพลงพวงมาลยั ช้า (สานักนายกรัฐมนตรี, 2542 ก : 218)
(ชาย) เอ้อระเหยลอยมา ลอยมากล็ อยไป
รกั น้องมานานต้ังแต่วันไปหา วนั นปี้ ระสบพบหน้าจะหนีไปไหน
เนอ้ื ออ่ นนอนอนุ่ อุดหนนุ สักหน่อย ไดก้ ับหนุม่ น้อยรักไมแ่ หนงไม่หนา่ ย
(หญิง) เออ้ ระเหยลอยลอย พอ่ กล่นิ ดอกกลอยหอมไกล
พีจ่ ะรักจริงหรอื รกั เล่น นอ้ งนี้ไม่เหน็ น้าใจ
พอ่ี ย่ามาหลอกกนิ กบั พอหมดสารับแล้วก็ไป
พวงเอ๋ยมาลยั ยังรกั ไม่ได้แลว้ เอย
(ชาย) เออ้ ระเหยลอยมา ลอยมาก็ลอยไป
ฉ.ฉ่ิงโฉมฉายพีช่ ายทาเฉย ชวดชมเชยจะได้ชนื่ ใจชาย
พวงเอย๋ มาลัย พร่ี ักเสยี ใหญ่เอย
(หญงิ ) เอ้อระเหยลอยมา ได้ฟงั วาจาของพี่ชาย
พี่มาถงึ จะมาพงึ่ ปะพกั ตร์ จะบอกว่ารกั วา่ ใคร่
อกี ท้ังลกู ท้งั ผัวนอ้ งกอ็ ยากจะมี แต่ยังหาคนดไี ม่ได้
มแี ตส่ บู ฝ่ินกนิ สรุ า จะเอามนั มาทาไม
พวงเอ๋ยมาลยั ยงั รักไม่ได้เอย
วิธีร้องเพลงพวงมาลัยชา้ พ่อเพลงจะร้องวรรคแรกแลว้ ลกู คูจ่ ะรบั ซ้า 1 ครั้ง แล้วพ่อเพลงจะรอ้ งต่อตอน
จบ ลูกคู่จะรับวรรคสุดท้ายอีก 1 ครั้ง การร้องนั้นอาจจะร้องสั้นหรือยาวกว่านี้ก็ได้ แต่ถ้าจะต้องลงเหมือนกัน คือ
ลงวา่ พวงเอย๋ มาลยั ยังรักไม่ไดแ้ ลว้ เอย หรอื คนพวงมาลยั นอ้ งรักไม่หายแล้วเอย
ตัวอย่าง เพลงพวงมาลัยเรว็ (สานักนายกรัฐมนตรี, 2542 ก : 219)
(ชาย) เอ้อระเหยลอยมา ลอยมาแต่ตอนงวิ้
เสียดายแตแ่ หวนที่สวมกอ้ ย เมอ่ื ไรจะลอยมาหาน้วิ
สาวน้อยดอนงวิ้ ปลิวไปตามลมเอย
123
(หญิง) เออ้ ระเหยลอยมา ลอยมาแตต่ อนง้วิ
เสยี ดายแต่แหวนมพี ลอย เม่อื ไหรจ่ ะลอยมาหานวิ้
หนุ่มนอ้ ยดอนงว้ิ ปลวิ ไปตามลมเอย
(ชาย) เอ้อระเหยลอยมา ลอยมาแต่ตอนงิ้ว
ชา่ งราหยดนายอ้ ย เชน่ หงิ่ หอ้ ยชมสวน
ภสั ดาหน้านวล ลอยมาเมือ่ จวนเย็นเอย
(หญงิ ) เอ้อระเหยลอยมา ลอยมาแต่บ้านทวน
ช่างราหยดรายอ้ ย ยังห่ิงหอ้ ยชมสวน
ภัสดาหน้านวล ลอยมาเมื่อจวนเย็นเอย
(ชาย) เอ้อระเหยลอยมา ลอยมาแตท่ ุ่งนา
พไี่ มร่ เู้ ลยรู้เลย วา่ น้องเปน็ เตยช่อนดอก
พูดจากลบั กลอก เช่ือไมไ่ ด้จริงเอย
(หญิง) เอ้อระเหยลอยมา ลอยมาแต่ทงุ่ นางหลอก
น้องไมร่ เู้ ลยรูเ้ ลย ว่าพ่ีปลกู เตยซอ่ นดอก
พูดจากลับกลอก เช่ือไมไ่ ดจ้ ริงเอย
วิธีร้องเพลงพวงมาลัยเร็ว นั้นแตกต่างจากเพลงพวงมาลัยช้าทั้งเนื้อร้องและท่วงทานองการร้องซึ่งเร็ว
กวา่ และผูร้ ้องจะออกมาราเองและร้องไปพร้อมกนั เพลงพวงมาลัยเร็วจะเล่นกันเฉพาะในหมู่บา้ นพนมทวนเท่านั้น
และจะร้องรวบรัดกว่าเพลงพวงมาลัยช้า ในวรรคแรกอาจจะร้องเหลือเพียงคาว่า “ลอยมา” เท่านั้น พ่อเพลงจะ
รอ้ งวรรคแรก แล้วลูกคซู่ า้ 1 ครง้ั แลว้ รอ้ งจนจบลูกคจู่ ะซา้ วรรคสดุ ท้าย 1 คร้งั
การเล่นเพลงพวงมาลัย นอกจากจะให้ความสนุกสนานและเพลิดเพลินในการชมถ้อยคาที่ร้องโต้ตอบกัน
ยังแสดงให้เหน็ ถงึ ไหวพริบ ปฏภิ าณของพ่อเพลงและแม่เพลง
8.1.7 เพลงหย่อย เป็นการละเล่นเพลงพื้นบ้านอย่างหนึ่งของจังหวัดกาญจนบุรีที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
ในปัจจุบันก็ยังนิยมเล่นกันอยู่โดยเฉพาะที่อาเภอพนมทวน นิยมเล่นกันมาก ในสมัยก่อนนิยมเล่นเมื่อมีงานนักขัต
ฤกษ์และวนั ตรุษสงกรานต์ ปจั จุบนั ถา้ มงี านท่เี ป็นพิธีการ เชน่ งานขน้ึ ปีใหม่ งานเลยี้ งตอ้ นรบั หรือเล้ียงสง่ ช้าราชการ
สาคัญของจังหวัด ทางอาเภอก็จะจัดการเลน่ เพลงเหยอ่ ยมาร่วมด้วย นับเป็นการละเล่นท่ีเชิดหน้าชูตาของจังหวัด
กาญจนบุรี และเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของท้องถิ่นอาเภอพนมทวน พ่อเพลงและแม่เพลงที่มีชื่อเสียงของพนม
ทวน ไดแ้ ก่ นายบุญชู คณุ พนั ธ์ นางทองเลอื่ น คุณพันธ์ (สานักนายกรฐั มนตรี, 2542 ก : 214) โดยมีผู้ท่ีเป็นญาติพี่
น้องและเพื่อนของพ่อเพลงและแมเ่ พลงร่วมเลน่ เพลงดว้ ย เพลงเหยอ่ ย มรี ูปแบบการเลน่ ทส่ี าคญั คือ
124
(1) การร้องเพลงเหย่อย เปน็ การร้องราทาเพลงเกย้ี วกนั ของฝา่ ยชายและหญิงแต่ละฝ่ายก็มีพ่อเพลง
แมเ่ พลงเปน็ ต้นเสยี ง นอกน้ันเป็นลกู คู่ช่วยร้องในขณะที่รอ้ งเพลงชายหญิงค่หู น่งึ หรือหลายคู่กจ็ ะออกไปราเกี้ยวกัน
กลางวง เมื่อเหนื่อยก็จะกลับเข้าวง คู่อื่นจะออกไปราแทนหมุนเวียนกันไป ปกติผู้ชายจะมีผ้าคล้องคอด้วย หาก
พอใจหญิงคนใดก็จะคลอ้ งคอให้หญงิ คนนัน้ ออกมารา
(2) เน้ือเพลง แคก่ อ่ นจะเป็นเนอ้ื เพลงทร่ี ้องไปเป็นลาดบั คอื ชกั ถามเก่ียวกบั ประวัติการราเหย่อยชม
นาง ผูกรัก หรือลักหาพาหนี แต่ในปัจจุบันมักแต่งเนื้อเพลงขึ้นใหม่ให้เหมาะสมกับเหตุการณ์ เช่น ไปเล่นในงาน
อะไรก็จะแตง่ เนื้อเพลงให้เขา้ กบั งานน้ัน ๆ
(3) เครื่องดนตรี เครื่องดนตรีประกอบการเล่นเพลงเหย่อย ได้แก่ วงกลองยาว บางทีใช้แคนร่วม
บรรเลงด้วย
(4) การแต่งกาย ปกตจิ ะแตง่ กายธรรมดาแบบชาวบา้ น แตถ่ า้ ไปเล่นเปน็ งานที่เป็นพิธีการอาจแต่งชุด
ไทยนงุ่ โจงกระเบน ชายสวมเสื้อคอกลม หญงิ สวมเส้ือแขนกระบอก
(5) วิธีเล่นเพลงเหย่อย เมื่อเริ่มเล่นชายและหญิงจะยืนเป็นวงกลมแต่แยกอยู่คนละฝ่าย เม่ือ
เสียงดนตรีขึ้น ฝ่ายชายจะร้องเชิญให้ฝ่ายหญิงออกมาเล่น ฝ่ายหญิงจะรับคาร้องตอบเมื่อฝ่ายหญิงออกมาร่วมรา
แล้ว ฝ่ายชายจะเริ่มร้องประวัติของเพลงเหย่อย ฝ่ายหญิงจะเป็นผู้ชักภามว่าเพลงเหย่อยนี้เกิดขึ้นที่ไหน เป็น
ประเพณีของใคร ต่อจากนั้นชายจะร้องชมหญิงคู่เล่น และร้องบทผู้รัก หรือลักหาพาหนี และส่วนใหญ่จะจบลงท่ี
บทลักหาพาหนกี ารเล่นนัน้ ผรู้ ้องและผ้รู าตา่ งก็ทาหน้าที่ของตวั ไป คนรอ้ งจะร้องถามร้องตอบหรือรอ้ งว่าร้องแก้กัน
เรื่อยไป คนราก็จะราเรื่อยไปเช่นเดียวกัน การราแต่เดิมนั้นไม่มีการคล้องผ้าภายหลังดัดแปลงขึ้นใหม่โดยเพิ่มการ
คลอ้ งผา้ ประกอบการรา่ ยรา
ตัวอย่างเพลง เพลงเหย่อยในบทชวนเล่นเพลง และบทถามถึงโอกาสที่เล่น (สานักนายกรัฐมนตรี,
2542 ก : 215-216)
(ชาย) จะเลน่ กับฉนั อย่านิ่งใหน้ านเลนเหย่อย
จะเลน่ ท่หี ัว อย่ามัวถอื ตวั เลยเหยอ่ ย
จะเลน่ กบั ข้า อย่ามวั ถอื ตัวเลยเหย่อย
จะราจะรอ่ น อยา่ ให้ออ้ นวอนเลยเหยอ่ ย
(หญิง) นยิ มเล่นฤดไู หน อยา่ ตอบไถลเลยเหยอ่ ย
(ชาย) เลน่ ยามตรษุ สงกรานต์ หรอื มีงานปเี หย่อย
(หญงิ ) โกนจุกและบวชนาค มีเล่นกันมากไหมเหยอ่ ย
(ชาย) บวชนาคและโกนจุก นกึ สนุกก็เล่นเหย่อย
(หญิง) วนั นจี้ ัดงาน เน่อื งในการใดเหย่อย
(ชาย) สหเทศบาล มาเยีย่ มบา้ นเราเหย่อย
125
(6) วิธีร้องเพลงเหย่อย เพลงเหย่อยเป็นเพลงท่ีมีจังหวะค่อนข้างเร็ว วิธีร้องพ่อเพลงหรือแม่เพลงจะ
ร้องเนื้อเพลงไปหนึ่งเที่ยว แล้วลกู คจู่ ะร้องซา้ ความเดมิ กับพอ่ เพลงแม่เพลงหน่ึงเทยี่ ว ดังตัวอย่าง
(ชาย) สวัสดีน้องหญิง ใจดจี รงิ น้องเหยอ่ ย
(ลูกค่)ู สวสั ดนี ้องหญงิ ใจดจี รงิ นอ้ งเหยอ่ ย
(หญิง) สวัสดีพ่ีชาย มากนั มากมายจรงิ เหยอ่ ย
(ลกู ค)ู่ สวสั ดีพชี่ าย มากักมากมายจริงเหยอ่ ย
คาลงทา้ ยทกุ คาของบทรอ้ งจะต้องร้องวา่ “เหย่อย” ซึง่ อาจจะมาจากคาวา่ “เอ” แต่ผรู้ ้องจะร้องวา่ เหย่อย
จงึ เรยี กการเลน่ เพลงชนิดน้ีวา่ “เพลงเหยอ่ ย”
8.1.8 เพลงระบาชาวไร่ เป็นเพลงพื้นบ้านอีกชนิดหนึ่งที่เล่นในภูมิภาคตะวนั ตกเพลงราบประเภทนี้นิยม
เลน่ ในชว่ งระยะเวลาทีว่ ่างงานเล่นเพอื่ เปน็ การพักผ่อนและในเทศกาลวันกุด (ตรษุ ) กบั วันหยดุ กาล (สงกรานต์) ซ่ึง
จะตรงกับเดือนเมษายนและนับเป็นวันขึน้ ปีใหมข่ องไทย แบบโบราณ มรี ปู แบบการเลน่ ดังนี้
(1) วิธีเล่น ระบาชาวไร่ ทเ่ี ลน่ ในจงั หวัดเพชรบรุ ี นยิ มใช้วงกลองยาว ตปี ระกอบการเลน่ เรม่ิ ด้วยพ่อเพลง
แม่เพลง ร้องบทไหว้ครู มีลูกคู่ร้องรับ ต่อจากนั้นเป็นบททักทายฝ่ายหญิงแล้วร้องโต้ตอบกันเมื่อสมควรแก้เวลาจึง
ร้องบทลา
(2) วิธีร้อง การรับของลูกคู่แบ่งเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรก ร้องรับเฉพาะวรรคแรกของเนื้อเพลงที่พ่อเพลง
หรือแม่เพลงร้อง ส่วนช่วงที่สองรับวรรคสุดท้ายและร้องต่อด้วยคาร้องว่า “โยพระแก้ว” (สานักนายกรัฐมนตรี,
2542 น : 122) เช่น
(พ่อเพลง) ระบาไหนเอย ระบาเกาะหลัก
(ลูกค)ู่ ระบาไหนเอย ระบาเกาะหลกั
(พ่อเพลง) คนอยทู่ างเหนือ ใส่เสอ้ื คอถัก
ฉนั อยากร้จู กั เสยี แล้วเอย
(ลูกคู)่ ฉันอยากรู้จกั เสียแลว้ นะเอย
โยพระแกว้ ย้าพระยวบ เพ้ยใย เพย้ ใย ใยเอย
เพลงระบาชาวไร่ นอกจากใช้ร้องเล่น ในช่วงเวลาดังกล่าว บางครั้งก็นาไปร้องเล่นร่วมกับการเล่นช่วงชัย
ซงึ่ เปน็ กีฬาพนื้ บ้าน ฝา่ ยแพจ้ ะถูกปรับให้เล่นเพลงระบาชาวไร่
126
8.2 การละเลน่ พน้ื บ้าน
การละเล่นพื้นบ้านภาคตะวันตก มีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปตามลักษณะของชุมชน และของชนกลุ่ม
น้อง ที่มีอยู่ทัว่ ไปในภมู ิภาคนี้ แบ่งรูปแบบการละเล่นออกเปน็ รูปแบบของการแสดงเพ่ือความบันเทงิ การละเล่นที่
เป็นพิธกี รรม การละเล่นทเี่ ป็นศิลปะของการตอ่ สู้ และกฬี าพ้นื บ้าน
8.2.1 การละเลน่ เพ่ือความบนั เทิง การละเล่นพน้ื บ้านในรูปแบบของการแสดงเพื่อความบันเทงิ มีทั้งการ
แสดงทีเ่ ป็นระบาราฟอ้ น การแสดงท่ดี าเนนิ การเล่นเปน็ เร่อื งราว
ระบาราฟ้อน ที่เล่นสบื ต่อมาแตโ่ บราณ และยังคงเล่นจะถึงปัจจุบนั ได้แก่ ฟ้อนแคน กลองยาว (เทิ้งเมือง
เพชร) ราโทน เต้นละครกะเหรี่ยง รามอญ เปน็ ต้น
การแสดงที่ดาเนินเป็นเรื่องราว ที่เล่นกันในภูมิภาคตะวันตก ได้แก่ ละครซอ ซึ่งยังมีพื้นที่ที่ติดต่อกับ
ภาคเหนือ ลเิ ก ห่นุ กระบอก หนังใหญ่ โขนสด ละครพ้ืนบา้ น เปน็ ตน้
ตวั อย่าง การละเล่นเพ่ือความบนั เทิง
(1) ฟ้อนแคนหรือราแคน มีเล่นอยู่เป็นจานวนมาก ในจังหวัดเพชรบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี ถ้าเป็นฟ้อน
แคนของชาวเพชรบุรี เป็นการละเล่นของชาวไทยทรงดาสืบเน่ืองมาจากประเพณีการเล่นอิน้ คอน คือ การเล่นโยน
ลูกช่วงของหนุ่มสาวไทยทรงดาเป็นการร้องเพลง ราเกย้ี วกับประกอบการเป่าแคน ชาวไทยทรงดาท่ีได้ผ่านวัยหนุ่ม
สาวแล้ว ส่วนใหญ่จะได้เคยผ่านการเล่นแคนฟ้อนแคนมาแล้วทุกคน มีคากล่าวว่า “บ่เคยอิ้นคอน” ฟ้อนแคน “บ่
แม่นผลู้ าว” (สานักนายกรฐั มนตรี, 2542 น : 122-123)
องคป์ ระกอบของการเลน่ ราแคน มดี ังน้ี
1) สถานที่ นยิ มใชล้ านบ้านของฝ่ายหญงิ ส่วนลานทใ่ี ช้เล่นราแคน เรียกว่า “ลานขวง”
2) วธิ ีเลน่ เล่นคอน ฝา่ ยชายประมาณ 5-10 คน ประกอบด้วย หมอแคน หมอขบั และหมอลา ส่วนฝา่ ย
หญิงจะมีกี่คนก็ได้ เมื่อฝ่ายชายมาถึงลานขวง จะมีผู้สร้างคนหนึ่งซึ่งเป็นสาวใหญ่ประจาลานชวงออกมาเจรจา
ต้อนรับ เมอื่ ตกลงว่าจะเล่นคอน ฝ่ายชายจะปรบมือ พร้อมท้งั เป่าแคนเดินเข้าไปยงั สถานที่จัดไว้เลน่ คอน
ต่อมาฝ่ายชายและฝ่ายหญิงเดินราออกมาเป็นคู่ ๆ ท่าราไม่กาหนดตายตัว จากนั้นจึงร้องเพลง(แอ่ว)
โต้ตอบกับระหว่างชายหญิง เนื้อร้องเกี่ยวกับชีวิตตวามเป็นอยู่ของชาวไทยทรงดา การทามาหากิน ประเพณีและ
การเกี้ยวพาราสผี ูท้ ่ีไมไ่ ดร้ อ้ งเพลงจะยืนปรบมือรับเป็นจังหวะเพ่ือเพิ่มความสนุกสนาน
ราแคน ทงั้ ชายและหญงิ เมอื่ ทอดลกู ชว่ งแล้วต่อดว้ ยราแคน ขณะราแคนก็จะว่าเพลงแก้กนั ตอ่ จากนน้ั ก็จะ
ราแคนตามกันเป็นแถว ส่วนคนที่ไม่ได้ราก็ยืนปรบมือใหจ้ ังหวะ การราแคนในช่วงนี้จะมีเนือ้ ร้องหรือไม่มีก็ได้ การ
ราแคนนไี้ ม่จากัดเวลา จะรากนั ไปเรอื่ ย ๆ เมือ่ สมควรแก่เวลาก็จะเลกิ เลน่
ถ้าเป็นการเล่นฟ้อนแคนของชาวไทย เชื้อสายลาวโซ่ง ซึ่งมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันไป เช่นไทยดา ไทยทรงดา
ลาวช่วงดา ลาวโซ่ง ฯลฯ แต่ชนกล่มุ น้ี เรียกตวั เองว่า “โซ่ง” หรือ “ไทยดา” และมีการเลน่ ฟอ้ นแคนเป็นเอกลักษณ์
ของท้องถน่ิ (สานักนายกรฐั มนตรี, 2542 ฝ : 168-169)
127
ชาวไทยลาวโซง่ ไดใ้ ชช้ ว่ งเวลาระหวา่ งเทศกาลสงกรานต์ เป็นวันท่นี ัดหมาย พบกนั ของกล่มุ ชนเชอื้ สายของ
ตน ถึงแมจ้ ะอยู่ตา่ งถิ่นตา่ งอาเภอต่างจังหวัดชาวไทยลาวโซง่ ทุกคนจะมาร่วมงานหมนุ เวียนสลับกันไปของแต่ละถ่ิน
ที่จัดงานขน้ึ ชว่ งเทศกาลสงกรานตก์ ารฟอ้ นแคน เปน็ การละเลน่ อย่างหน่ึงทช่ี าวลาวโซง่ ทกุ คนสามารถเขา้ ร่วมฟ้อน
ราตามเสียงจงั หวะลีลาของแคนทบี่ รรเลงให้จงั หวะอย่างครืน้ เครงพร้องเพรียงกัน
3 ) เคร่อื งดนตรี ไดแ้ ก่ แคน กลอง ฉ่ิง ฉาบ
4 ) การแต่งกาย การฟ้อนแคนเป็นการละเล่นที่นิยมในงานประเพณีของชาวไทยลาวโซ่งทุกคน เมื่อออก
งานสาคญั ทางประเพณีจะแตง่ กายทีเ่ ปน็ เอกลักษณ์ของโซง่ อย่างสมบูรณ์ เสือ้ ของผูช้ ายเปน็ เสื้อผา้ ฝ้ายแขนยาวสีดา
ผ่าหน้าตลอด ตดิ ดว้ ยกระดมุ เงินกลมยอดเหลม ประมาณ 10 - 15 เม็ด นยิ มใชผ้ ้าขาวมา้ เคยี นเอว ส่วนกางเกงเป็น
ขาก๊วยสีดาคล้ายกางเกงจีน ผ้หู ญงิ สวมเส้อื ก้อมทาจากฝ้ายสีดารัดรูปพอดีตวั เอวสั้นแขนกระบอกรัดข้อมือคอเส้ือ
คลา้ ยคอจีนผ่าหน้าตลอดติดกระดุมเงนิ เหมือนผชู้ าย ผ้านงุ่ ทาด้วยฝ้ายแกมไหมสีดามีลายสีขาวสลับเป็นทางเล็ก ๆ
ตดิ “ตีนซ่นิ ” ซึง่ ทอเปน็ ลวดลายขวาง กวา้ งประมาณ 2 - 3 นว้ิ นอกนี้ยังมผี า้ สไบคล้องคอหรือห่มพันรอบอก การ
นุง่ ซ่นิ ของหญิงลาวโซ่งมีวธิ ีการนุ่งเฉพาะที่เปน็ เอกลักษณ์คือจับผ้ามาทบกันท่หี น้าท้องแล้วดึงซิ่นด้านหน้าไว้สูงกว่า
ดา้ นหลงั เพอ่ื สะดวกในการก้าวเดนิ
นอกจากชุดธรรมดายังมีชุดพิเศษที่ใช้ในโอกาสสาคัญเรียกว่า “เสื้อฮี” เป็นเสื้อผู้ชายเป็นผ้าฝ้ายสีดายาว
คลุมสะโพกรัดรูปเล็กน้อย ผ่าข้างครึ่งตัวพร้อมปักตกแต่งงดงามผ่าหน้าตลอดติดกระดุมเพียงเม็ดเดียวที่คอเส้ือ
แขนทรงกระบอกตกแต่งตรงรกั แร้ด้วยผา้ ไหมหลากสี
ปักทับด้วยเสน้ ดว้ ยสีต่าง ๆ และติดกระจกชิ้นเลก็ เป็นลวดลาย ส่วนเสื้อฮีของผูห้ ญิงจะตัวหลวมคอแหลม
ลึกตกต่างด้วยเศษผ้าหลากสีรอบคอแขน เสื้อในตัวสามส่วนปักตกแต่งตะเข็บรอบตัว ลวดลายประดับปักด้วยเศษ
ผ้าหลากสแี ละตดิ กระจกสวยงาม
(2) การราของชาวไทยเชื้อสายกระเหรี่ยงราชบุรี ในพื้นที่ของจังหวัดราชบุรี มีชาวกะเหรี่ยงอาศัยอยู่
บริเวณแถบตะวันตกของจังหวัด ในพื้นที่สองอาเภอคือ อาเภอสวนผึ้งที่ตาบาลบ้านบึง ตาบลบ้านคาและตาบล
ตะนาวศรี และในเขตอาเภอปากท่อ ที่ตาบลยางหักกะเหรี่ยงในราชบุรีคือกะเหรี่ยงเผ่าโปว์ ปัจจุบันชายกะเหรี่ยง
เหล่านี้ยังไปมาหาสู่กันอยู่ประจาโดยเฉพาะประเพณีการกินข้าวห่อในเดือน 9 และประเพณีการทาบุญที่วัดแจ้ง
เจริญในเดือน 5 ของทุกปี (สานักนายกรฐั มนตรี, 2542 ฝ : 169-170)
(1) ลักษณะการเล่น การราพื้นบ้านเมืองของชาวกะเหรี่ยง เป็นการละเล่นร้องเพลงโต้ตอบกันระหว่าง
ชาย หญิง และคนเล่นดนตรี เครื่องดนตรีที่ใช้คือ แคน ลักษณะยาวประมาณ 5 – 6 ศอก มีกลองให้จังหวะ นัก
ดนตรีและนักร้องจะอยู่กลางวงมีนักราล้อมรอบเป็นวงกลมผู้ราจะยืนเปน็ คชู่ ายหญิงเสมอกนั (จะไม่ซ้อนตัวเหมือน
ราวงทั่วไป) เมื่อร้องจบ ผู้ราจะแสดงท่าราประกอบตามทานองเพลง โดยยกมือขึ้นสูงม้วนมือเป็นท่าราเดิน
เคลอื่ นไหวไปตามแถววงกลมสลับกบั การหยุดยนื และตบมอื ตามจังหวะปฏิบตั ิท่าราเชน่ นสี้ ลบั กนั ไป
128
(2) บทเพลง เพลงที่ใช้ในการร่ายรา คือ เพลงกะช่าก่องและเพลงกองก่องก๊วย คาว่า “กะช่าก่อง”
หมายถึง “พระพุทธเจ้า” ดังนั้นการรากะช่าก่องจึงมีลานาที่กล่างถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า เนื้อความในบท
เพลงจะเป็นสดุดีพระวิสุทธคุณ พระบารมีของพระพุทธเจ้าและเป็นการขอพรจากพระพุทธเจ้าช่วยคุ้มครองให้ผู้
ทมี่ าร่วมงานโชคดี รากะชา่ ก่องเป็นการราใช้ในงานรนื่ เรงิ ในโอกาสต้อนรบั อวนพรแกแ่ ขกผ้มู ีเกียรติ
อีกเพลงหน่งึ คอื เพลงกองก่องกว๊ ย หมายถงึ นกป่าชนดิ หน่งึ รูปรา่ งคลา้ ยนกแซงแซวแตเ่ สียงร้องคล้ายนก
กาเหว่า มักร้องหาคู่ตอนเย็น ๆ ว่า ก่องก๊วยซึ่งเสียงจะฟังดูเศร้าชวนให้ว่าเหว่ บทเพลงกองก่องก๊วย จะเป้นการ
ราพึงราพันถึงคู่รักที่ยังไม่สมหวังเหมือนนกกองก่องก๊วยร้องหาคู่ เนื้อหาจะเป็นการตัดพ้อต่อว่าและราพึงราพัน
เกี่ยวกับความรักการรากองก่องก๊วยจะใช้ในโอกาสงานรื่นเริง หรือเป็นการร้องด้นกลอนสดในงานประเพณีต่าง ๆ
ถงึ แมท้ านองจะเศรา้ สร้อง แต่ทา้ ยของบทเพลงก็จะกล่างถึงความสขุ สมหวงั
(3) การแต่งกาย แต่เดิมผู้ชายไว้ผมยาวโพกผ้าพันเป็นยอดแหลมออกมาตรงหน้าผาก คล้าย
งวงชา้ ง เปน็ ผา้ สีสดหลาย ๆ สี การนุ่งผ้าจะนงุ่ โจงกระเบน สวมเสือ้ สีน้าเงินแขนยาวคอตัง้ มีขลิบแดงท่ีคอเสอ้ื เวลา
แสดงจะใช้ผ้าสไบพาดเฉียงลงมาผูกที่ช้างเอวและใช้ผ้าผูกคาดเอว การแต่งกายผู้หญิงผู้ราที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปนุ่ง
ผา้ ซ่นิ ท่ีเป็นผา้ ทอดว้ ยมือลวดลายและปักด้วยเลื่อมทีช่ ายผา้ ซนิ่ สวยงาม สวมเส้อื ทรงกระสอบยาว ที่คอเส้ือรูปตัววี
แขนกุดเสื้อเปน็ ผ้าฝ้ายสีนา้ เงนิ เข้มสอดสีเป็นลวดลาย ซึ่งทอด้วยมอื ทชี่ ายเสื้อปักดว้ ยลูกปัด ส่วนผมจะหวีแบบแสก
กลาง ถ้าผมยาวจะมว้ นเป็นมวยไว้ดา้ นหลงั เครอื่ งประดับนยิ มทาดว้ ยเงนิ
(3.) เต้นละครกระเหรี่ยง การเต้นกระเหรี่ยง เป็นการราพื้นบ้านของจังหวัดตาก ดัดแปลงมากจากท่ารา
โดยปรับปรุงท่าเต้น ท่ารา ให้แตกต่างกันไป ส่วนเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการา คือวงมโหรีของพม่าทั้งหมด
(สานักนายกรัฐมนตรี,2542 ช:139) ปัจจุบันได้ลดจานวนเครื่องดนตรีลงโดยเหลือเพียงไม่กี่ชิ้น รูปแบบสาคัญใน
การเลน่ คือ
1.)วิธีเล่น เมื่อมีเทศกาลปีใหม่ สงกรานต์ งานบุญ งานบวช จะมีการบรรเลงดนตรี และคนที่ไป
ร่วมงานก็จะออกเต้นร่ายรา โดยผู้หญิงแต่งตัวผา้ ถุงกรอมเท้าต่อชายผ้ายาวออกไปอีก 1 เมตรผู้ชายสวมโสร่ง เต้น
ออกท่าทางไปมาตามจงั หวะดนตรี และร่วมร้องเพลงไปด้วย ไม่จากัดจานวนผเู้ ล่น
2.) เครอื่ งดนตรี ใชก้ ลองสองหน้า ฆ้องวง ปพี่ ม่า ไมป้ รบ (ใชไ้ มไ้ ผ่ ผา่ กลาง ลาทาท่ีจบั ประกบกัน
เวลาตีจะมีเสียง)
3.) โอกาสท่เี ล่น งานเทศกาลปีใหม่ ตรษุ สงกรานต์ งานบญุ งานบวช
(4.) รามอญ เป็นการราของชาวไทยเชื่อสายมอญราชบุรี มีหมู่บ้านอาศัยอยู่ระหว่าง ปากแม่น้าแม่กลอง
และแม่น้าเจ้าพราะยาและทางตอนเหนือของแม่น้าราชบุรีเป็นศูนย์รวมจิตใจเริ่มแรกของชาวมอญ คือที่วัดคงคา
ราม ตาบลคลองตาคต อาเภอโพธาราม จงั หวัดราชบุรี (สานักนายกรัฐมนตรี,2542 ฝ : 168)
129
-ชาวมอญยังมีความภูมิใจขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ตลอดจนภาษาพูด ที่เป็นเอกลักษณ์
เฉพาะตัว และยงั มีการแสดงรว่ มกันเพอ่ื ความรืน่ เรงิ ในงานประเพณขี องท้องถิ่น ได้แก่ รามอญ ซึง่ มีรปู แบบการเล่น
ดงั น้ี
1.) ลักษณะการรา รามอญ เป็นการราที่อ่อนช้อยนุ่มนวล ใช้ผู้แสดงเป็นหญิงล้วนร่ายราไปตาม
ทานองและจังหวะเพลง ดว้ ยลีลาทีเ่ ปน็ เอกลักษณ์ คอื วธิ ีเคลือ่ นไหวโย้ตวั ยึดยบุ เข่า พร้อมกับการกระเถิบเท้า ไป
ตามทานองและจังหวะเพลง
2.) เครื่องคนตรี ใช้ปี่พาทย์มอญ ได้แก่ ฆ้องวงใหญ่ ระนาดเอก ปี่มอญ เปิงมางคอก ตะโพน
มอญ และฉิ่ง ซ่งึ ใชบ้ รรเลงท้ังในงานมงคลและอวมงคล
3.) การแตง่ กาย ทรงผลเกลา้ เป็นมวยสูง ประดบั ด้วยลกู ปดั ท่รี อ้ ยรดั ออกแบบเป็นลวดลายท่ีท้าย
มวยผม สวมเสื้อคอกลม แขนกระบอกนิยมใช้ผ้าลูกไม้โปร่ง มีผ้าสไบ คล้องคอหรือห่มพันแบบมอญ นุ่งซิ่นยาวถึง
ขอ้ เท้า
4.) โอกาสที่เลน่ นิยมใชก้ ารรามอญ ทั้งในงานศพ และในงานมงคล เชน่ งานฉลอง งานประเพณี
สงกรานต์ งานต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง รามอญจัดว่าเป็นศิลปะของการราพื้นบ้าน ที่ได้รับการสืบทอดจนมาถึง
ปัจจุบัน
(5.) ราโทน การเล่นราโทนในภูมิภาคตะวันตก มีเล่นกันโดยทั่วไป โดยเฉพาะในสมัยจอมพล ป. พิบูล
สงคราม ที่สนับสนุนให้มีการราโทนทั่วไป ราโทนเป็นการราคู่กันระหว่างชายหญิง ดนตรีที่ใช้ได้แก่ โทน ฉิ่ง ฉาบ
กรับ บทรอ้ งจดจาสบื ต่อกันมาโดยไม่ทราบวา่ ผู้ใดเปน็ ผ้แู ตง่ บท เช่นเดียวกับการราโทนของภูมภิ าคอ่ืนๆ บทขับร้อง
สว่ นใหญจ่ ะเป็นบทเชิญชวนหยอกเย้า ชมโฉม เก้ียวพาราสรี ะหว่างหนุ่มสาว บทสา ซงึ่ แตล่ ะทอ้ งถน่ิ ก็จะมีบทเพลง
ทใ่ี ช้ราเป็นของตัวเอง จะจดจาเพลงท่อี ่ืนมารอ้ งบา้ งเปน็ ส่วนน้อย
ภาพท่ี: 8.1 ราโทนของชาวบ้านทีเ่ ลน่ ในจงั หวดั
(ห้องสมุดออนไลน์, 2564)
130
ตัวอย่าง เพลงราโทน จงั หวดั ตาก (สานกั นายกรฐั มนตรี,2542 ช : 130-131)
เพลงน้าใสไหลจากดอยสงู
นา้ ใสไหลจากดอยสูง ชะเออ ชะเอย สะดงุ้ หนาว
ถ้ามีสายชกั ได้อยา่ งกะวา่ ว (ซา้ ) ไหนเลยรักเก่าของเราจะจากไกล (ซ้า)
เพลงขอวอนเทพไท
ขอวอนเทพไท วงิ วอนเทวา ขอให้ลงมาชว่ ย
วิงวอนคนสวย ขอให้มาอย่ใู กล้ นางฟ้าจาแลงแปลงกายลงมา
ดังเทพธดิ ามาเริงระบา (ซา้ )
เพลงไทรยอ้ ย
ไทยย้อยห้อยระยา้ ลมพดั มาถลาลมปลวิ
แมพ่ ยุเอ๋ยบนิ สูงสิ่ว เออ้ ระเหย เปน็ ทวิ มา
สองคนเดนิ ชมสวน เกบ็ ดอกลาดวน
กระดงั งา ดอกอะไร ออ้ ,ออ้ เธอจา๋ เออ้ เฮ้อ เอย หอมชนื่ ใจ
เพลงสวนลุม
จากกนั ไปหน่ึงแรมวนั เหมือนเราจากกนั ไปหน่งึ แรมเดอื น
จากกนั ไปใครจะเหมือน (ซา้ ) มาคิดถงึ เพ่อื น อย่ทู ่ีไหน
สวนลุม สวนลุม เปน็ หลมุ ลอยลม หวั อกกระทม ทัง้ สาวและหน่มุ
วนั ไหนไม่ไดไ้ ปสวนลุม หวั อกฉนั กลุม้ สวนลุม คงคอย
โอ้สวนลุมที่นี้ นอ้ งกับพ่ีเคยไป สัญญาฝากรักกนั ไว้
ต่อไปจะไมล่ มื เลือน (ซา้ )
ชิก ชกิ ชกิ บาบู เพลงชิกบาบู
วนั นเี้ ป็นวนั รนื่ เรงิ ยยั ยยั ยยั ยัย
ร้องราตามแบบคิวบา บนั เทิงกนั ไดท้ ่ัวหนา้
ราคองก้าคิวบาบู (ซา้ )
131
ตวั อย่าง เพลงราโทน จังหวัดกาญจนบรุ ี (สานกั นายกรฐั มนตรี,2542 ก: 220-221)
เพลงหวอหวอหวอ
หวอ หวอ หวอ หวอทไ่ี รจติ ใจฉันนึกกลุ้ม
เสียงมันดงั บุม”บุม ชวนกนั ลงหลุมหลบภยั
หวอทไี ร ฟงั ๆ ไประเบดิ เวลา
อยุ้ กระต่ายจา๋ เพลงกระต่ายจา
โอพระจนั ทร์ทอดทงิ้ มันนา่ รักจรงิ
โอพระจันทร์ แลดูกเ็ ศร้าใจ
อกี สักเท่าใด นนั้ ลอยมาแตไ่ กล
จงึ จะไดช้ มจนั ทร์
เพลงดอกอะไร
ชาย: นน้ั แนะ่ ดอกอะไร เสยี บไวท้ บ่ี นเหนือหู
ฉันอยากจะรู้ วา่ ดอกไมน้ ่ัน
สง่ กลิน่ หอมเยน็ หรือจะเป็นมะลิวลั ย์
ขอให้ฉนั จะไดไ้ หมเธอ ขอใหฉ้ นั จะได้ไหมเธอ
ชาย: ขอดอกได้ไหม หญิง ไมไ่ ด้หรอกพี่
ชาย: สองดอกไหม หญิง ไมไ่ ด้หรอกพ่ี
หญงิ : เจา้ ของเขามี เอาไว้ชมเชย
นอกจากนี้ยังชาวลาวโซ่งบ้านตลาดควายเป็นหมู่บ้านในเขตตาบลจอมบึง อาเภอจอมบึง มีการแสดง
พ้นื บา้ นทีย่ งั แสดงกันอยู่คอื ราโทน เปน็ การแสดงที่นิยมแสดงกันตามลาน บ้านหรือลลานนวดข้าวโดยมีชายหญิงรา
เป็นคู่ ๆ ตามจังหวะราโทนที่ดัง ป๊ะ - โท่น - ป๊ะ - โท่น โท่น มีเนื้อเพลงที่ร้องค่อนข้างสั้น เวลาร้องมักร้องซ้า ๆ
สอง สามหรอื สี่เที่ยว
การราโทนของชาวตลาดควาย ทม่ี าจากการราโทนในสมัยสงครามโลกคร้ังที่ 2 เมือ่ ประมาณ 50 ปี ที่ผ่าน
มา ได้สืบทอดการละเล่นชนิดนี้มาจนถึงปัจจุบัน โดยได้ใช้เครื่องแต่งกายประจากลุ่มชนของลาวโซ่งซิ่งนับว่าเป็น
การอนรุ ักษ์การละเล่นของไทย และ่ ยงั รักษาความเปน็ เอกลักษณข์ องชนเผา่ (สานักนายกรฐั นมตรี,2542 ฝ : 169)
132
(6.) ลิเก ที่เล่นในภูมิภาคตะวันตก จะมีเล่นโดยทั่วไป แต่ส่วนใหญ่การแสดงลิเกกลุ่มนี้จะเป็นลิเกของ
จังหวัดราชบุรี ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักหากันไปแสดง เพื่อความบันเทิงในที่ต่าง ๆ นอกเหนือจากจังหวัดของ
ตัวเอง
ลิเกในจังหวัดราชบุรี อาเภอบ้านโป่งจักเป็นย่านหรือเมืองที่คณะลิเกเข้ามาตั้งหลักแหล่งทามาหากินมาก
ที่สดุ ในจังหวัดราชบรุ แี ละจังหวดั ใกลเ้ คียง มีคณะลเิ กทีร่ ับงานแสดงมากกวา่ 40 คณะ ประวัตคิ วามเป็นมาของการ
แสดงพื้นบ้านสาขานี้น่าจะมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นที่นิยมของชาวบ้านแถบนี้มาตั้งแต่ครั้งรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวและสันนิษฐานว่า ศิลปินพื้นบ้านเหล่านี้คงได้รับการถ่ายทอดศิลปะการแสดงลิเกจาก
กรุงเทพฯ ได้รับความนิยมแพร่หลายอย่างรวดเร็ว เพราะคนดูชอบลิเกที่แต่งตัวสวยงามสมจริงเล่นได้ขบขันผ่อน
คลายความเครียด และเดนิ เรือ่ งไดร้ วดเร็วทันใจมากกวา่ โขน ละครดังน้นั บรรดาคณะโขน ละคร ทีม่ ีอยู่หลายคณะ
ในอาเภอบา้ นโป่งจึงได้เปล่ยี นอาชีพมาเล่นลเิ กมากข้ึน ศลิ ปินลิเกทมี่ ชี อ่ื เสียงของอาเภอบ้านโป่งหลายคน มีพ้นื ฐาน
การแสดงมาจากโขนละครเปน็ สว่ นใหญ่ (สานักนายกรัฐมนตรี,2542 ฝ : 170-179 ) ตัวอย่าง เช่น
พระราชวรินทร์ (กุหลาบ โกสุม) ชาวสวนกล้วย อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นบุตรหลวงกมล ภักดี
(บวั โกสุม) รบั ราชการในกรมมหรสพ เม่อื ครั้งแผน่ ดินพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเจา้ อยู่หัว มีความเช่ียวชาญดนตรี
ไทยการตีระนาดเอก เลน่ โขนแสดงเป็น ทศกณั ฐ์ ชานาญบทเกีย้ วนางสีดา ตอนทศกณั ฐ์ลงสวน และยังเก่งการเล่น
ละครออกภาษาลาวเพราะชานาญมาจากลิเก จนเป็นที่โปรดปรานและได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระ-
ราชวรนิ ทร์” และพระราชทานเคร่ืองปพี่ าทย์เคร่ืองใหญ่ 1 ชุด พรอ้ มเรือนไมส้ ักทรงไทย 1 หลงั ตอ่ มาได้ทูลเกล้าฯ
ถวายบรรดาศักดคิ์ ืนละออกมาเล่นโขนลเิ กเปน็ การส่วนตัว
ขุนแก้ว กัทฑสีเขตร์ (แก้ว โกสุม) เป็นบุตรชายคนโตของหลวงกมลภักดี และเป็นพี่ชายของพระราชวริ
นทร์ เขา้ รบั ราชการในกรมมหรสพคร้ังรัชกาลเดยี วกัน มคี วามสามารถด้านการแสดงโขนเป็นตวั ทศกัณฐ์ ต่อมาได้
สมรสกับนางเชอื้ โกสุม (อคั นิทตั ) ซง่ึ มีความเชยี่ วชาญด้านการแสดงโขนเปน็ ตวั พระลักษณ์ และพระราม บุคคลท้ัง
สองนับเป็นองค์แห่งความรู้ด้านศิลปะการแสดงโขน ละคร ลิเก และดนตรีไทย ได้เป็นครูฝึกหัดลูกหลานชาวบ้าน
สวนกล้วย อาเภอบ้านโป่ง ใหส้ ามารถเล่นโขน ละครและลิเก ไดอ้ ยา่ งชานิชานาญ โขนละครขุนแกว้ มีชือ่ เสียงแลพ
เป็นที่รู้จักทัว่ ไป ในจังหวดั ราชบุรี เพชรบรุ ี และจังหวัดใกล้เคียง โดยใชช้ ่อื คณะ บารงุ โบราณนาฏ
นายประกอบ โกสุม เป็นบุตรของขุนแก้ว กัทฑลีเขตร์ (แก้ว โกสุม) และนางเชื้อ โกสุม เคยรับราชการครู
ต่อมาได้ลาออกจากกราการมาทางานสว่ นตัว เล่นโขน ละคร และลิเก ในการแสดงโขนมกั เลน่ เปน็ ตัวพระราม คูก่ ับ
นางประพิมพ์ อุตสาหะ ซึ่งเล่นเป็นตัวนางสีดา ในคณะบารุงโบราณนาฏ นางประกอบ โกสุม ได้รับการถ่ายทอด
วิชาความรู้ด้านศิลปะการแสดงจากบิดามารดา เป็นครูสอนการแสดงโขน ละคร ลิเก และดนตรีไทย แก่ลูกหลาน
บ้านสวนกลว้ ย ตลอดจนนักเรียนตามสถานศึกษาต่าง ๆ สามารถครอบครูโขน ละคร จึงเปน็ ทีร่ จู้ กั กนั ท่วั ไป
133
นายสมศักดิ์ ภักดี ฉายาลิเกเงินล้าน เป็นชาวดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี เดิมเคยเล่นลิเกคณะดาเนิน
ศิลปิน ต่อมาได้แยกตัวออกไปตั้งคณะลิเก สมศักดิ์ ภักดี มีบทบาทสาคัญต่อวงการลิเก คือ เป็นผู้ริเริ่มเปลี่ยนการ
แต่งตัวของลิเก จากเส้ือกั๊กมาเป็นเสื้อคอลึกแขนยาว โปร่งเป็นตะแกรงปักเพชรพราว เรียกว่า เสื้อดักแมงดา ใส่
เครื่องประดบั ศีรษะเกยี้ วยอดเรียกว่า หวั มอญ เปล่ยี นผ้านุง่ จากจบี โจงตปี ีกสูงมาเปน็ นงุ่ มอญ คือข้างขวานงุ่ โจงหาง
ข้างชา้ ยห้อยชาย โดยจบี หนา้ นางเป็นเกล็ดเล็ก ๆ นอกจากนย้ี งั นาเพลงลูกทงุ่ เข้ามาประกอบ การแสดงลิเก พร้อม
ทั้งใช้กลองชุดของดนตรีสากลเพอ่ื เพมิ่ ความสนุกสนานแกผ่ ู้ชม ซึ่งเป็นต้นฉบบั ของลิเกลูกทุง่
ลิเกท่ีจังหวดั ราชบรุ ี มชี ่อื เสยี ง และเลน่ สืบตอ่ มาจนถึงปัจจุบนั รปู แบบการเลน่ ลเิ ก ไมผ่ ิดแปลกไปจากลิเก
ที่เล่นในส่วนของภาคกลาง ความมีชื่อเสียงขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้แสดงและกลวิธีในการดาเนินการเล่นของ
แตล่ ะคณะทจี่ ะทาใหผ้ ชู้ มชืน่ ชอบ
(7.) โขนสด เป็นการละเล่นที่นาวิธีการแสดงหลาย ๆ อย่างมาผสมผสานจนเป็น ลักษณะเฉพาะการเล่น
โขนสดของชาวเพชรบรุ ี
การเล่นโขนสดของจังหวัดเพชรบรุ ีนั้น ไม่ปรากกฎหลักฐานแน่ชัดว่า เรมิ่ เม่อื ใด เร่ิมจากนายเล็ก นุชวิจิตร
เจา้ ของคณะโขนสดทองโปรย ประเชิญศิลป์ ได้รบั การถ่ายทอดมาจากครูโขนของคณะวจิ ิตรอาไพ กรงุ เทพมหานคร
ได้ตั้งคณะขึ้นเองชื่อ คณะโขนสดทองโปรย ประเชิญศิลป์ รับงานแสดงที่กรุงเทพมหานคร ภายหลังได้ย้ายมาอยู่
จังหวัดเพชรบุรี ซ่ึงขณะนั้นที่จังหวัดเพชรบุรีก็มีการแสดงโขนสดแล้ว คณะโขนสดทองโปรยประเชิญศิลป์รับงาน
แสดงเรื่อยมา และได้ฝึกหดั ลกู ศษิ ยข์ นึ้ มาหลายรุ่น บางคนได้แยกไปตง้ั คณะใหม่แตแ่ สดงได้ไมน่ านก็เลิกไป
ปัจจุบัน จังหวัดเพชรบุรีมีโขนสดหลายคณะ เช่น คณะทองโปรย ประเชิญศิลป์คณะสังวาลย์ เจริญย่ิง
คณะบญุ เฟือ่ งฟู คณะศริ ิ เขยี วออ่ น และคณะบญุ ชู ชนประทีป (สานกั นายกรฐั มนตรี,2542 น : 120)
วิธีการแสดงโขนสดดของจังหวัดเพชรบุรี มีขั้นตอนการแสดงดังนี้ เริ่มบูชาครูก่อนแสดงทุกครั้ง เมื่อบูชา
เสร็จแล้วปี่พาทย์จะบรรเลงเพลงโหมโรง จากนั้นเจ้าของคณะแต่งตัวเป็น ฤๅษีออกมาเบิกโรง ว่าบทสวดชุมนุม
เทวดา เบิกโรงนี้เปน็ การบูชา และขอพรจากครอู าจารย์ เพ่อื ใหก้ ารแสดงเปน็ ไปอยา่ งราบรื่น สนุกสนาน ตอ่ จากน้นั
จะกล่าวสวัสดีผู้ชม แล้วบอกเร่ือง ทแี่ สดงในคนื นัน้ ส่วนใหญน่ ยิ มแสดงเรอื่ ง รามเกยี รต์ิ แลว้ จงึ ร้องลาเป็นภาษาถ่ิน
ใต้ ป่ีพาทย์บรรเลงเพลงลา
(8.) หนังตะลุง ที่เล่นจังหวัดเพชรบุรีได้รับอิทธิพลมาจากจังหวัดพัทลุง เมื่อประมาณ 100 กว่าปีมาแล้ว
(สานักนายกรัฐมนตรี,2542 น : 119-120) นายเอี่ยม ซึ่งเป็นนายหนังชาวพัทลุง ได้นาหนังตะลุงมาเล่นที่จังหวัด
เพชรบุรี เวลาน้นั ไดร้ บั ความนิยมมากเน่ืองจากเปน็ การประยุกตก์ ารแสดงตามแบบฉบับเดิมให้เหมาะสมกับรสนิยม
ของชาวเพชรบุรี คือเล่นแบบในปนนอก (ใน หมายถึง การแสดงของชาวเพชรบุรี นอก เป็นการเล่นแบบฉบับ
ดั้งเดิมของชาวพัทลุง) ต่อมานายฉาย แสงกระจ่าง ชาวอาเภอท่ายาง ได้สมัครเป็นลูกศิษยข์ องครูเอี่ยม ติดตามครู
เอี่ยมไปอยู่ที่จังหวัดพัทลุง พร้อมทั้งฝึกหัดเล่นหนังตะลุงจนเกิดความชานาญ ครูเอี่ยมและครูนกแก้วพอใจมากจึง
134
มอบอุกรณ์การเล่นหนังตะลุงให้นายฉายทั้งหมด นายฉายจึงได้นาการเล่นหนังตะลุงมาประยุกต์ให้แปลกใหม่และ
ทันสมยั ท้งั ตวั การเชิด การรอ้ ง และคนตรี ได้รบั ความนยิ มมชี อื่ เสียงโด่งดัง
นายฉาย ได้ฝึกหัดนายพุด บุตรชาย ให้ฝึกเล่นหนังตะลุงคู่กับบิดาจนมีชื่อเสียงได้มีโอกาสเล่นถวายหน้า
พระที่นั่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงชมเชยว่าเล่นได้ดีมาก พร้อมทั้ง่าพระราชทานนามสกุลให้
ใหม่ว่า “เชดิ ชานาญ”
เมื่อนายฉายถึงแกก่กรรม นายพุด บุตรชายก็รับสืบทอดการแสดงหนังตะลุง ต่อมาโดยเล่นคู่กับนายแถม
น้องชาย ในครั้งนั้นมีลูกศิษย์มาฝึกหัดการเล่นหนังตะลุงจานวนมากซึ่ง นายพุดได้ประยุกต์ปรับปรุงการเล่นหนัง
ตะลงุ เพ่ิมข้ึนอกี หลายอย่าง จนได้รบั พระราชทานบรรดาศักด์ิเป็นหมืน่ เชดิ ชานาญ เม่ือหมนื่ เชดิ ชานาญถึงแก่กรรม
นายปว่ นผูเ้ ป็นนอ้ งชายเป็นผูร้ บั สืบทอดการเล่นหนงั ตะลงุ ต่อมา
องคป์ ระกอบการเล่นหนงั ตะลงุ มีดงั น้ี
1) สถานท่ีแสดง ตอ้ งปลูกโรงเปน็ รปู สีเ่ หล่ยี ม มจี อผ้าขาวขงึ ด้านหนา้ เพ่ือใช้เชดิ ตัวหนัง
2) วิธีแสดง เมื่อแสดงจะต้องเริ่มด้วยการทาพิธีไหว้ครู เบิกหน้าพระแล้วจึงเล่นเรื่องสั้น ๆ
เพือ่ เบกิ โรง คอื เร่ืองลงิ ขาวจับลิงดา หรอื ท่ีเรียกวา่ จบั ลงิ หัวคา่ ตอ่ จากน้ันจึงแสดงเร่ือง
ใหญต่ ามท่ีกาหนด
3) เครอื่ งดนตรี ประกอบดว้ ย ปี่ ฉงิ่ กลองชาตรี โทน กรบั ฉาบ ฆอ้ ง โหมง่
(9.) หนังใหญ่ เป็นการแสดงพื้นบ้านประเภทหนึ่งของเมืองเพชรบุรี ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าได้
แบบอย่างมาจากที่ใด พระอาจารย์ฤทธิ์ วัดพลับพลาชัย เปน็ ผูน้ ามาเลน่ เม่อื ประมาณปี พ.ศ.2398 โดยแกะสลกั ตัว
หนังเอง พร้อมกันนี้ได้ฝึกลูกศิษย์เล่นหนังใหญ่จนมี ชื่อเสียงรู้จักกันทั่วไปว่า “หนังใหญ่วัดพลับ” (สานัก
นายกรัฐมนตรี,2542 น : 117-119)
หนังใหญ่วัดพลับ มีชื่อเสียงการเล่นมาแต่โบราณ มีโอกาสเล่นในงานบาเพ็ญพระราชกุศล ครบรอบปี
สิ้นพระชนม์ ของพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอุรพงษ์รัชสมโภช พระโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าออยู่หัว และแสดงในงานพระราชทานเพลงิ ศพพระเพชรมุนี (กร) อดีตเจ้าอาวาสวัดพลับพลาชยั และ การเล่น
ครงั้ น้ี เปน็ การเล่นครัง้ สุดท้าย หลังจากนนั้ ไมป่ รากฏเล่นอีกเลย เนื่องจากขาดผู้สบื ทอดและฟ้ืนฟูการเล่น คงเหลือ
แตเ่ พยี งการเกบ็ รกั ษาไวเ้ พอ่ื การอนรุ กั ษ์ ณ วัดพลับพลาชัย จงั หวัดเพชรบรุ ี จานวน ๓๕ ตวั
องค์ประกอบการแสดงหนงั ใหญ่วดั พลับดงั นี้
1.)สถานที่ ใช้พื้นดินเป็นเวที ปักเสา 4 ต้น ขึงจอผ้าขาวสูง 6 เมตร ยาว 16-20 เมตร ปลายเสาปักธร
และหางนกยงู ชายผา้ ดด้านลา่ งพันดนิ 1 เมตร และหอ้ ยผา้ ดอก ดา้ นบนตดิ กระดาษทอง ทาเป็นระบายจอแบ่งเป็น
3 ส่วน ตรงกลางใช้ผ้าโปร่ง ด้านข้างใช้ผ้าด้ายดบิ ริมจอด้านนอกทั้งสี่ด้านขลบิ ด้วยผีสีแดง หลังจอใช้เสื่อลาแพน
กั้นเป็นครึ่งวงกลม สาหรับเป็นที่พักนักแสดง แลเก็บวางตัวหนัง หลังจอหนังมีร้านไฟสาหรับกองได้ที่จะจุดไฟ 2
ร้าน เหนอื ร้านไฟมีผ้าซงึ สงู ข้นึ ไป สาหรบั ช่วยสาดไฟใหส้ วา่ ง เรียกว่า บงั เพลิง
135
2.)ตวั หนงั นิยมใชห้ นังววั ตวั เมยี เพราะเป็นหนังบาง เมือ่ แสดงไฟผ่านตัวหนังจะสวยงามมาก ตัวหนังใหญ่
ของอาจารย์ฤทธ์ิ วัดพลบั พลาชยั แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
หนังเมือง ตัวหนังอาจจะมีตัวหนังตัวเดียวหรือหลายตัว เช่น ทศกัณฐ์อยู่ในปราสาท พระลักษณ์
อยู่ในพลับพลา หรือหนังรบเป็นภาพสุครพี กาลังรบกับกุมกัณฐ์ และหนังรักเป็นภาพหนุมานกาลงั อุ้มนางเบญกาย
เหาะ เปน็ ตน้ ตัวหนงั สูงประมาณ 2 เมตร
หนังเดี่ยว ตัวหนังจะมีตัวละครตัวเดียว เป็นภาพกาลังเข้าเฝ้า กาลังเดิน หรือกาลังทาท่าเงื้อง่า
อาวธุ ก็ได้ สูงประมาณ 1 เมตร ถงึ 1.50 เมตร
3.)วธิ แี สดงหนงั ใหญ่ ของวดั พลับพลาชยั เรม่ิ เวลาประมาณ 1 ทุ่ม คนคุมแสดงจุดใต้ คณะหนังทง้ั หมดโห่
3 ลา พิณพาทย์บรรเลงเพลงรัวและเพลงเชิด คนเชิดหนัง 3 คน นาตัวหนังเจ้า 3 ตัว ออกมาพิงกับจอ พระฤๅษีอยู่
กลาง สองข้างมีพระอิศวรและพระนารายณ์ เมื่อดนตรีหยุด ผู้กากับการแสดงจุดธูปเทียนบูชาหนังเจ้า ดนตรี
บรรเลงเพลงสาธุการ จบเพลงเริ่มพากย์ 3 ตระ รวม 3 ทวย เรียกว่า การเบิกหน้าพระ ดนตรีบรรเลงเพลงครอบ
จักรวาลนาหนังเจ้ากลับ เริ่มแสดงชุดเบิกโรงคือ จับลิงหัวค่าแล้วจึงแสดงเรื่องรามเกียรติ์ ตอนพระรามลงสรง
ตามลาดบั การแสดงตามแบบของอาจารย์ฤทธ์ิ แห่งวัดพลับพลาชัย มีขอ้ แตกตา่ งจากที่อน่ื คือ พิธีเบิกหน้าพระใช้
ตัวหนังเจ้า 4 ตวั มีรปู พระฤๅษี พระอิศวร พระนารายณ์ พระกุมาร (หมายถึง พระรามยงั เยาว์) เมือ่ จบกระบวนการ
พธิ ีเบกิ หนา้ พระแล้ว จะเล่นชุดเบกิ โรงสน้ั ๆ เร่ืองจบั ลงิ หวั คา่ จากนน้ั จึงเรม่ิ แสดงเรื่องตอ่ ไปตามลาดบั
4.)คนเชดิ หนงั ใหญ่ มปี ระมาณ 11 คน เป็นชายล้วน ไดแ้ ก่ ผูก้ ากับ 1 คน ผู้ควบคมุ แสง 1 คน ผ้พู ากย์ 2
คน อีก ๖ คน เป็นผเู้ ชดิ หนงั ผ้เู ชดิ ทกุ คนนุ่งผา้ พ้ืน โจงกระเบนสนี ้าเงิน สวมเสอ้ื คอกลมแขนส้ันมีผ้าขาวม้าคาดพุง
ยกเวน้ ผ้กู ากบั การแสดง สวมเสือ้ นอกคอปิดกระดุม 5 เม็ด ไม่ต้องคาดผา้ ขาวม้า ผ้เู ชิดหนงั ใหญจ่ ะนาตัวหนังมาเชิด
หน้าจอ กิรยิ าท่าทางการเตน้ ได้แบบอยา่ งมาจากการแสดงโขน ผเู้ ชดิ หนังใหญ่จะเชดิ หนา้ จอ กิริยาท่าเต้นเป็นการ
ผสมผสานระหวา่ งหนงั ตะลงุ และโขน
5.)เคร่ืองดนตรี ในการแสดงหนงั ใหญ่ของอาจารย์ฤทธ์ิ วัดพลับพลาชัย ใช้วงป่พี าทย์บรรเลงประกอบการ
แสดง
136
8.2.2 การละเล่นที่เป็นพิธีกรรม การละเล่นที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมของภูมิภาคตะวันตก ยังมีอยู่ตาม
ความเชื่อที่ทาสืบต่อกันมาตามกลุ่มชนที่เข้ามาอยู่อาศัยในท้องถิ่น เช่น การราตง ของชาวกะเหรี่ยง การเต้นแคน
ของชาวมง้ ละครชาตรเี มอื งเพชร การแหน่ าง เปน็ ต้น
ตวั อย่างการละเล่นท่ีเก่ียวข้องกบั พธิ กี รรม
(1) ราตง เป็นการราประกอบการร้องเพลง ของชาวกะเหรี่ยง ซึ่งมีการรามาตั้งแต่สมัยโบราณเป็นการ
แสดงเพื่อบวงสรวงเจ้าแม่พระโพสพของชาวกะเหรี่ยง ซึ่งมีความเชื่อว่าพระแม่โพสพเป็นผู้ประทานข้าวปลา
ธัญญาหารมาให้ และหลังจากฤดูเก็บเกี่ยวเสร็จแล้วชาวบ้านจะนาข้าวขึ้นยุ้งฉาง เวลากลางคืน จะมีการสมโภช
โดยการนาราตงมาแสดงในลานยุง้ ฉางขา้ วเพอ่ื ขอบคณุ แม่พระโพสพ
ราตง มีความหมายถงึ การเหยียบย่าใหเ้ ข้าจังหวะ โดยมีกระบอกไมไ้ ผเ่ ปน็ เครื่องเคาะจังหวะ เมื่อเคาะแล้วจะมีเสียง
ดัง ตง ตง ตง ต่อมามีผู้คิดค้นท่าราและเพลงก็จะตั้งชื่อเป็นคณะของตนเอง เช่น ตงคะเฉะ ตงอะประ ตงหมองโย่
ตงโค่งยอง ตงแจ้งละ เปน็ ตน้ (สานกั นายกรัฐมนตรี, 2542 ก : 222) ขั้นตอนการเล่นราตงประกอบดว้ ย
1) บทเพลงที่ร้อง เป็นภาษากะเหรี่ยง เนื้อหาของเพลงจะบรรยายถึงสภาพแวดล้อม สภาพความ
เป็นอยู่ การพลัดพราก ความเออ้ื อาทร เพลงปลุกใจ ตานานตา่ ง ๆท่ีเป็นคติสอนใจ เชน่ เรอ่ื งพระพุทธประวัติตอน
พระเจ้าสิทธัตถะไปพบคนแก่ คนเจ็บ คนตาย จึงอยากบวชเพื่อหาความจริงของชีวิต เป็นต้น และก่อนการแสดง
ทกุ คร้งั ทุกคณะจะต้องมบี ทเพลงไหวค้ รกู ่อน (นมัสการพระพทุ ธคณุ พระธรรมคุณ พระสงั ฆคุณ)
ภาพที่ 8.2 การเลน่ ราตง ของชาวกะเหรี่ยง จงั หวดั กาญจนบุรี
(สานกั ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏกาญจนบรุ ี, 2021)
2) วิธีเล่นราตง การเล่นราตงไม่จากัดจานวนผู้เล่น เช่น ถ้ามีผู้แสดงมาก ต้องใช้พื้นที่กว้างเพราะ
จะต้องเต้นไปพร้อมกับการแปรแถว ผู้แสดงยืนเข้าแถวเป็นแบบแถวตอนลึกประมาณ 5-6 แถว แล้วแต่จานวนคน
ยืนระยะหา่ งกนั ประมาณ 1 ชว่ งแขน ร้องและราพรอ้ มกนั
3) เครื่องดนตรี เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการร้อง เครื่องดนตรีที่ใช้ได้แก่ ไม้เคาะ(ตง) ฉิ่ง ปี่ ขลุ่ย
กลองสองหนา้ ระนาดเหล็ก
137
4) การแต่งกาย แต่งกายดว้ ยชุดแบะกะเหรยี่ งเป็นเสื้อคลมุ ยาว สว่ นใหญ่จะเป็นสีขาว บางคร้ังก็แต่ง
หลากสี
ปัจจุบัน การแสดงราตงนอกจากจะเป็นการเล่นเพื่อการบวงสรวงแล้ว ยังเล่นเพื่อความรื่นเริงของชาว
กะเหร่ียงในเทศกาลต่างๆ แลว้ ทางราชการยังนาการแสดงราตงมาต้อนรบั แขกผู้มาเยือนหรือในวันสาคัญด้วย เช่น
วนั ข้นึ ปใี หม่ วันนักขตั ฤกษ์ เป็นตน้
(2) เต้นแคน การเป่าแคนและเต้นประกอบจังหวะในท่าต่าง ๆ เป็นศิลปะดั้งเดิมของชาวม้งโดยจะเต้น
เดนิ ถอยหลัง เหวี่นงตัวไปมา ตลี งั กาและกระโดดท่าตา่ ง ๆโดยจะมีผูเ้ ปา่ แคนและตกี ลอง ซง่ึ ทาจากทอ่ นไมใ้ หญ่เป็น
การประกอบจงั หวะ การเต้นแคนจะสาคญั ท่ี
1) ผูแ้ สดง เปน็ ผูช้ ายทท่ี ีความสามารถในการเปา่ แคน และเต้นทา่ ต่าง ๆ ได้ โดยใชผ้ แู้ สดงเพียง 1 คน
แสดงบริเวณลานดินหน้าบ้านของผู้ตาย เพื่อเป็นการเรียกวิญญาณและส่งวิญญาณของผู้ตายให้สู่สรวงสวรรค์ การ
เตน้ แคน ใชใ้ นพธิ ีศพเท่าน้นั
2) เครอ่ื งดนตรี ดนตรีที่ใช้ได้แกแ่ คนและกลอง แคนมกี ารผลติ ช่วงเป่าใหย้ าวข้ึน กลองทาจากท่อนไม้
ใหญ่ นาหนังววั แห้งขงึ เป็นหนา้ กลองมลี กั ษณะเป็นกองหนา้ เดยี ว
(3) ละครชาตรเี มืองเพชร คือละครพ้นื บา้ นของจังหวัดเพชรบรุ ี ละครชาตรีเปน็ ละครทีช่ าวบ้านหามาเล่น
เพ่อื การแกบ้ นเป็นส่วนใหญ่ การแสดงเพ่อื แกบ้ นจะมีข้ันตอนเปน็ พธิ ีกรรมตามความเช่ือ(เหมือนกบั ละครแกบ้ นของ
ภาคกลางท่ไี ดก้ ลา่ วไปแลว้ )ความเปน็ มาของละครชาตรีในเมืองเพชรบุรี สนั นิษฐานวา่ เจา้ ของคณะละครชาตรีคณะ
แรกในเมืองเพชรบรุ ีคือ นายสุข หรอื หลวงอภยั จันทร์ศกุ ร์ (เสยี ชีวติ ไปแลว้ )(สานักนายกรัฐมนตรี,2542 น : 117)
ตามประวัติ นายสุขมีความสนใจละครมาตั้งแต่เด็กติดตามคณะละครไปเล่นในที่ต่างๆ ต่อมาได้ฝึกหัด
ละคร โดยแสดงเป็นตวั ประกอบเป็นครั้งแรก ตอ่ มานายสุขได้รวบรวมญาติพนี่ ้องต้ังคณะละครข้ึน เรียกกันท่ัวไปว่า
"คณะนายสขุ "
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อเสด็จฯ มาประทับแรมเมืองเพชรบุรี
โปรดเกล้าฯ ให้ละครหลวง (ละครใน) แสดงที่พระนครคีรี และโปรดให้ประชาชนเข้าชมด้วย ต่อมาละครของนาย
สขุ ได้มีโอกาสแสดงหนา้ พระท่ีนง่ั จนเปน็ ทพ่ี อพระราชหฤทัย จงึ โปรดเกลา้ แตง่ ตั้งให้นายสุขเป็นหลวงอภัยจันทร์สขุ
หลวงอภัยจันทร์สุขแต่งงานกับนางนุ่ม ซึ่งเป็นผู้แสดงละครด้วยกันและมีบุตรหลายคนซึ่งได้รับช่วงการ
แสดงละครชาตรีสืบต่อมา
138
องคป์ ระกอบของการแสดงละครชาตรี มดี ังนี้
1) สถานที่ ปัจจบุ ันนยิ มแสดงตามลานวัด หรอื อาจจะเป็นรา้ นบ้านท่ีเจ้าภาพกาหนดให้
2) วิธีแสดง เจ้าของคณะละครเป็นผู้บูชาครู ปี่พาทย์โหมโรง แล้วราถวายมือด้วยเพลงช้าเพลงเร็ว
จากนน้ั เจา้ ของคณะประกาศชือ่ เร่ืองทีจ่ ะแสดง แล้วจงึ เรม่ิ แสดง
3) การแต่งกาย เฉพาะตวั พระเอกนางเอก จะแต่งยนื เครื่องพระนาง ละครตวั อ่ืนไมพ่ ิถพี ถิ ันการแตง่ กาย
4) เครอื่ งดนตรี เดมิ ใชป้ ี่ชวา และเครือ่ งดนตรี เชน่ เดียวกับละครโนรา ภาคใต้ต่อมาไดต้ ามแบบอย่าง
ละครชาตรี คือ ใช้วงปพ่ี าทย์เครือ่ งห้า มาประกอบการแสดง
8.2.3 การละเล่นที่เป็นศิลปะของการต่อสู้ การละเล่นที่เป็นศิลปะของการต่อสู้ในภาคนี้ มีทั้งรูปแบบที่
เปน็ ศลิ ปะการต่อสู้แบบทางเหนอื ของจงั หวัดตาก ไดแ้ ก่ การฟอ้ นเจิงและยงั มศี ลิ ปะของการต่อสขู้ องภาคกลาง คือ
กระบี่กระบอง ศลิ ปะการต่อสู้ทั้งสองรูปแบบมีวธิ กี ารแสดงและเป็นเอกลกั ษณ์ของท้องถน่ิ
ตวั อยา่ ง การละเล่นท่ีเป็นศิลปะการตอ่ สู้
(1) ฟ้อนเจงิ เป็นศิลปะท่มี าจากการต่อสู้ ท้งั ใช้มอื เปลา่ และดาบมารา่ ยราเขา้ กบั จังหวะดนตรพี ้ืนบ้าน
แบบเดียวกับของภาคเหนือ โอกาสที่เลน่ ฟ้อนเจงิ ของจังหวัดตาก จะเล่นประกอบในพธิ ีเทศกาลของท้องถ่ิน ขบวน
แหเ่ ทียนพรรษา แหส่ งกรานต์ งานกฐนิ เปน็ ต้น
(2) กระบี่กระบอง เป็นการละเล่นที่แสดงถึงกลยุทธ์ในการต่อสู้เพื่อเอาชนะซึ่งกันและกัน
ประกอบด้วยอาวธุ ต่างๆ ได้แก่ กระบ่กี ระบอง ดาบ ทวน หอก งา้ ว ไมพ้ ลอง อกี ท้ังยงั เป็นการแสดงฝีมือเชิงต่อสู้ท่ี
มีลลี าเคล่อื นไหวทีส่ งา่ งามอีกดว้ ย
กระบี่กระบองเป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวบ้านดอนข่อย อาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ไม่ปรากฏ
หลักฐานแน่ชัดว่าเริ่มมีการละเล่นมาตั้งแต่ครั้งใด คณะกระบี่กระบองของชาวบ้านดอนข่อย มีครูผันเป็นหัวหน้า
และครหู นู ชูศรี เป็นผู้ช่วยฝกึ ซ้อมและเป็นลกู วง
ปัจจุบัน นายชาญ ชูศรี บุตรชายของครูหนู ได้สืบทอดวิชาการเล่นกระบี่กระบองจนกระทั่งถึงทุกวันนี้
(สานักนายกรัฐมนตรี, 2542 น : 121)
องคป์ ระกอบของการละเลน่ กระบกี่ ระบองมดี งั นี้
1) สถานที่ จะแสดงบนเวทีหรือการแจ้งกไ็ ด้
2) วธิ กี ารเลน่ ตอ้ งเลน่ ตามลาดับของอาวธุ และจะเรยี นทา่ ทางการร่ายรา และช้นั เชงิ ของการต่อสู้
3) ผแู้ สดง มีผเู้ ล่นทง้ั หญิงและชาย
4) การแตง่ กาย นยิ มนงุ่ ผา้ โจงกระเบนชายเส้ือ แลว้ คาดผา้ ขาวมา้ และคาดคนทศี่ ีรษะ
5) เครอ่ื งดนตรี ไดแ้ ก่ ปีช่ วา กลองแขกตวั ผู้ กลองแขกตวั เมยี และฉิง่
139
8.2.4 กฬี าพื้นบา้ น การละเลน่ ท่ีเป็นกีฬาพนื้ บา้ น ของภมู ิภาคตะวนั ตกเป็นกีฬาทเ่ี ล่นสืบทอดกันมา กีฬา
พื้นบ้านบางชนิดจะเล่นตามฤดูกาลของท้องถิ่น บางชนิดยังนิยมเล่นในงานเทศกาลตรุษสงกรานต์ งานบุญต่างๆ
จดุ ประสงคข์ องการเลน่ เพอ่ื ความสนุกสนานการพักผ่อนหย่อนใจ เพอ่ื คลายความเครียดจากการทางาน กฬี าที่นิยม
เล่น ไดแ้ ก่ การแข่งขนั ววั ลาน การละเล่นวัวเทียมเกวยี น การแข่งเรือยาว การเลน่ สะบา้ การเลน่ ลกู ช่วง การเลน่ ชัก
เยอ่ การเลน่ โล้ชงิ ชา้ ของชาวอกี ้อ เป็นตน้
ตัวอยา่ งกีฬาพื้นบ้านของภาคตะวันตก
(1) แข่งวัวลาน การแข่งวัวลานนิยมเล่นกันเกือบทุกจังหวัดในภูมิภาคนี้ เช่นที่จังหวัดเพชรบุรี เรียกแข่ง
วัวลานหรือวัวระดอก จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างการแข่งวัวลานที่จังหวัด
กาญจนบรุ ี เปน็ กีฬาพ้ืนบ้านทยี่ ังนิยมเลน่ กันในชนบท เชน่ ทอ่ี าเภอพนมทวน อาเภอท่ามว่ ง (สานักนายกรฐั มนตรี,
2542 ก : 222 - 223)
การเล่นววั ลานได้ววิ ฒั นาการและเปลย่ี นแปลงมาจากการใชว้ ัวนวดข้าวของชาวนาซง่ึ ใชว้ วั เดินวนนวดข้าว
รอบหลักในลานนวดวงกลม โดยนาวัวมาผูกตดิ กันเปน็ พรวนหลายๆตัว แล้วไล่วัวใหเ้ ดนิ วนบนกองข้าวฟ่อนที่เรยี ง
ไว้ในร้านนวดข้าว เพื่อใหเ้ มล็ดขา้ วหลุดจากรวงข้าวววั ท่ีนามานวดกจ็ ะเปน็ การเอาแรงกันของชาวบ้าน คอื ชาวบ้าน
จานดาวัวเอาแรงช่วยกันนวดข้าว เมื่อนวดข้าวบ้านนี้เสร็จก็จะไปช่วยนวดข้าวบ้านโน้นต่อไปจนครบ วัวตัวไหนที่
แขง็ แรงมีกาลังดี จะผกู ให้เดนิ รอบนอก ตัวไหนทก่ี าลงั น้อยจะเดินรอบในใกล้หลกั
ที่มาของการเล่น ในชว่ งเดอื น 4 หรือเดอื น 5 ซึ่งเป็นชว่ งที่ชาวนาว่างจากการทางานจึงได้เกิดการนาวัวตัว
ผู้มาวิ่งลานแข่งกันในคืนเดือนหงายโดยไม่มีการนวดข้าวแต่นามาวิ่งแข่งกันเพื่อความสนุกสนานและเป็นการ
ฝกึ ซอ้ ม เม่ือฝึกซอ้ มกันบ่อยๆ ก็ขยายวงกว้างไปเรื่อยจนเปน็ การแข่งขนั ลานวัวในปจั จุบนั
การแขง่ ขนั ววั ลานในจังหวัดกาญจนบุรี จะเรม่ิ แขง่ กนั ตง้ั แต่ตอนเย็นไปจนถึงรุ่งเช้าของอีกวันหนึ่ง แล้วนา
วัวไปผูกกับหลักกลางลานกว้างซึ่งเป็นที่โล่ง หลักนี้เรียกว่า เสาเกียด (ทาด้วยไม้ไผ่ลาใหญ่ ยาว ลาต้นตรง) วัวตัว
แรกทผี่ กู เชอื กกับหลักเรยี กว่า วัวเกียด จะเลือกวัวที่มีรปู รา่ งใหญ่ แขง็ แรง สวยงาม เช่ือง สภุ าพ ไม่ตื่นคนไม่ต่ืนไฟ
วัวตัวทถ่ี ดั จากววั เกียด เรยี กวา่ วัวคาน วัวคานจะเลือกจากวัวหนุ่มท่ีรา่ งกายแข็งแรงปราดเปรียว ประมาณ 19-20
ตัว ต่อจากววั คานเป็นววั ท่าสาม จะเป็นววั ท่าสอง หรือ เรยี กว่า วัวยืน หรือ วัวรอง ซ่ึงจะเป็นวัวทีจ่ ะแขง่ กบั วัวนอก
ซ่งึ อยู่ทา้ ยสุด ซ่งึ ววั ท้ังสองตวั น้ีจะผลัดกันผกู ไวด้ า้ นนอก ดา้ นในโดยวงิ่ ครัง้ ละ 3 รอบ
เมื่อผูกเชือกเรียบร้อยแล้ว กรรมการจะให้สัญญาณปล่อยวัวให้วิ่งในวงลาน ในการวิ่งจะมีคนทาหน้าที่รา
วัวให้หยดุ วง่ิ หรือปล่อยให้ว่ิงและสับเปลี่ยนตาแหน่งวัว เรียกวา่ เชน่ เมอื่ วิง่ ครบ 3 รอบแล้วกรรมการซึ่งมี 3 คน จะ
เปน็ ผูช้ ข้ี าดวา่ ววั ตัวใดชนะ ความต่ืนเต้นเร้าใจของคนดูจะอยู่ทเี่ ส้ยี ววนิ าทีของการแพ้ชนะ
การตัดสินแพ้ชนะจะดูกันที่วัวนอก (ตัวสุดท้าย) และวัวรอง (วัวรองสุดท้าย) เท่านั้น คือ ถ้าวัวนอก
สามารถวิง่ แข่งววั รองได้พน้ ชว่ งตัวและสามารถลากววั รองไปจนเสยี ขบวนและทาให้ววั รองปลิ้นออกจากแถว ถือว่า
วัวนอกเป็นฝา่ ยชนะ ถา้ ไม่สามารถแซงวัวรองไดถ้ ือว่าแพ้
140
การแต่งตัวววั ทจ่ี ะแขง่ ทางวัดทีจ่ ดั งานหรอื เจ้าภาพจะนยิ มนาผา้ ขาวม้ามาถูก ท่ีคอววั ทกุ ตัวทีจ่ ะว่ิงวัวลาน
ตวั ละ 1 ผนื เพื่อเปน็ การแต่งตัวใหส้ วยงาม โดยเฉพาะท่ีตาบลหนองขาวมีการทอผ้าขาวม้าที่สวยงาม มชี ือ่ เสียงเป็น
เอกลกั ษณข์ องหนองขาวทเี่ รยี กว่า ผา้ ขาวมา้ รอ้ ยสี วัวท่ีผูกผา้ ขาวมา้ จะมองดูสวยงามมาก
การแข่งวัวลาน นับว่าเป็นการเล่นทีเ่ ป็นกีฬาพื้นบ้านอย่างหนึ่งมีวิวัฒนาการมาจากวิถีชีวิตของชาวบ้านที่
รว่ มแรงรว่ มใจกนั ทางานและพักผ่อนหยอ่ นใจรว่ มกนั แม้ในปัจจุบันจะเน้นท่ีการแขง่ ขันมากกวา่ การพักผ่อนหย่อน
ใจ แตส่ ง่ิ ทไี่ ดจ้ ากการเลน่ ววั ลานก็คือความสุข สนุกสนาน และความบันเทงิ ร่วมกันของชาวบา้ น
(2) เล่นววั เทยี มเกวียน การเลน่ วัวเทยี มเกวยี น เป็นกฬี าพนื้ บ้านที่นยิ มเลน่ ของจงั หวัดเพชรบุรี ท่ีจัดให้มี
การประกวดวัวเทียมเกวียนทุกปี ต้องการที่จะอนุรักษ์และสืบทอดให้เป็นประเพณี ชาวบ้านจะนิยมนาวัวมา
ประกวด เพื่อแสดงให้เหน็ วัวที่มคี วามสมบรู ณ์ ซึ่งหมายถงึ ไดร้ ับการดูแลและบ่งบอกถงึ ฐานะความเปน็ อยู่ของววั
ลักษณะการประกวดวัวเทียมเกวียนจะประกวดครั้งละ 1 คู่ กล่าวคือ วัว จานวน 2 ตัว ต่อเกวียน 1 เล่ม
หรืออาจจะประกวดทัง้ สองคกู่ ็มี ขน้ึ อยู่กับความเหมาะสม การเดนิ ของววั ในระหวา่ งท่เี ดนิ จะมีเสาหลกั ปกั ไว้เป็นคู่ๆ
วัวเทียมเกวียนจะต้องเดินให้ครบ 3 รอบ และห้ามวัวเดินชนเสาหลัก ในระหว่างที่เดินของวัวอาจจะมีดนตรีช่วย
บรรเลงเพอ่ื ความสนุกสนานด้วย
ภาพท่ี 8.3 การเล่นวัวเทียมเกรยี น ของจังหวัดเพชรบุรี
(วารสารวัฒนธรรม,2021)
(3) แข่งเรือยาว ประเพณีการแข่งเรือยาวของจงั หวัดเพชรบุรี นิยมเล่นกันตามวัดต่างๆ ที่ตั้งอยู่รมิ แม่น้า
เพชรบุรี ตั้งแต่กลางเดือน 11 ถึงกลางเดือน 12 ซึ่งในวันแข่งเรือยาว ส่วนใหญ่จะเป็นวันเดียวกับที่เจ้าภาพนาผ้า
กฐนิ มาทอด ณ วดั นั้นๆ
การแข่งเรือจะมีขึ้นในเวลาประมาณเที่ยง แข่งขันเป็นคู่ ๆ เรื่อยไป เรือยาวลาใดชนะก็จะได้รางวัล
สมัยก่อนรางวัลไม่กาหนดแน่นอน ส่วนมากจะเป็นผ้าแถบผ้าแพรสีต่างๆโดยจะใช้ผูกหัวเรือ หรือมอบกับฝีพาย
หญิงที่นั่งพายคู่อยู่ที่สว่ นหัวเรือ ซึ่งจะมี 4-5 คู่ หรือมากกว่านั้นหรืออาจได้เป็นผ้าขาวม้า ซึ่งนิยมมอบให้กับฝีพาย
ผ้ชู าย ซึ่งอาจมี 8 คู่ 10 คนู่ ั่งอย่สู ่วนท้ายเรอื